114
สรุปยอผูบริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม พฤศจิกายน 2551

สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

  • Upload
    others

  • View
    4

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

สรุปยอผูบริหาร

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิละสิ่งแวดลอม พฤศจิกายน 2551

Page 2: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

ขอมูลบรรณานุกรม โครงการจัดทํามาตรฐานคณุภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติประเภทโปงพุรอน ผูจัดทํา สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

กองอนุรักษสิ่งแวดลอมธรรมชาติและศิลปกรรม 60/1 ซอยพิบูลวัฒนา 7 ถนนพระรามที่ 6 พญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท 0 2265 6500 โทรสาร 0 2265 6510

ผูศึกษา ศูนยวิจัยปาไม คณะวนศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 50 ถนนพหลโยธิน ลาดยาว จตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท 0 2561 4755 โทรสาร 0 2561 4755

การอางอิง สํานกังานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม. 2551. โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาตปิระเภทโปงพุรอน. ศูนยวิจัยปาไม คณะวนศาสตร มหาวทิยาลัยเกษตรศาสตร. กรุงเทพฯ. 104 หนา

คําสืบคน โปงพุรอน มาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาต ิ

พิมพเม่ือ พฤศจิกายน 2551

จํานวนพิมพ 350 เลม

จํานวนหนา 104 หนา

สงวนลิขสิทธิใ์นประเทศไทย ตาม พ.ร.บ. ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 โดย สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2551

Page 3: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

รายชื่อผูดําเนินโครงการ สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่แวดลอม

และ กองอนุรักษสิ่งแวดลอมธรรมชาติและศลิปกรรม

1. นายวิเชียร จุงรุงเรือง เลขาธิการสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม 2. นายนพพล ศรีสุข รองเลขาธิการสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม 3. นางสาวสุทธิลักษณ ระวิวรรณ รองเลขาธิการสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม 4. นางจิตนา ทวีมา รองเลขาธิการสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม 5. นางรัชวดี ศรีประพัทธ ผูอํานวยการกองอนุรักษส่ิงแวดลอมธรรมชาติและศิลปกรรม 6. นายปราโมทย นิลถนอม หัวหนากลุมงานอนุรักษส่ิงแวดลอมธรรมชาติ 7. นายสุพินิจ บุณยมาลิก นักวิชาการสิ่งแวดลอม 8ว. 8. นางสาวกนกกาญจน โกติรัมย นักวิชาการสิ่งแวดลอม 6ว. 9. นางสาววรรณเพ็ญ สะอาดเอี่ยม เจาหนาที่วิเคราะหโครงการฯ 10. นางสาววาสนา มีระหันนอก เจาหนาที่วิเคราะหโครงการฯ 11. นางสาวเบญจวรรณ สอนจิตร เจาหนาที่ธุรการ

รายชื่อคณะผูศึกษา ศูนยวิจัยปาไม คณะวนศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

1. ผศ. สุรเชษฎ เชษฐมาส คณะวนศาสตร ม.เกษตรศาสตร

ที่ปรึกษา

2. รศ. ดร. เอกรินทร อนุกูลยุทธธน คณะสถาปตยกรรมศาสตร ม.เกษตรศาสตร

ทีปรึกษา

3. ผศ. ดร. ดรรชนี เอมพันธุ คณะวนศาสตร ม.เกษตรศาสตร

หัวหนาโครงการ

4. นายชัยพร ศิริพรไพบูลย สํานักอนุรักษและฟนฟูทรัพยากรน้ําบาดาล กรมทรัพยากรน้ําบาดาล

ดานธรณีวิทยา, นโยบาย/กฎหมาย

5. ผศ. ดร. วันชัย อรุณประภารัตน คณะวนศาสตร ม.เกษตรศาสตร

ดานระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร

6. รศ. ยุพยง เหมะศิลปน คณะสถาปตยกรรมศาสตร ม.เกษตรศาสตร

ดานสถาปตยกรรมศาสตรและ ภูมิสถาปตยกรรม

7. อ. เพกา เสนาะเมือง คณะสถาปตยกรรมศาสตร ม.เกษตรศาสตร

ดานสถาปตยกรรมศาสตร

8. อ. กัญญาภา อรามรักษ คณะสถาปตยกรรมศาสตร ม.เกษตรศาสตร

ดานสถาปตยกรรมศาสตร

9. นางสาวมยุรี นาสา คณะวนศาสตร ม. เกษตรศาสตร

ดานอุทยานและนันทนาการ/ระบบสารสนเทศ

10. นางสาวธีรนาฎ กาลปกษ ผูชวยนักวิจัย 11. นางสาวสุทธิณี พรพันธุไพบูลย ผูชวยนักวิจัย 12. นางสาวสิริรัตน สุขสุเสียง ผูชวยนักวิจัย

Page 4: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

รายชื่อ คณะอนุกรรมการอนุรักษสิ่งแวดลอมธรรมชาติและศิลปกรรม

1. นายวทัญู ณ ถลาง อนุกรรมการที่ปรึกษา 2. นายประสงค เอี่ยมอนันต ประธานอนุกรรมการ 3. เลขาธิการสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติ

และส่ิงแวดลอม รองประธานอนุกรรมการ

4. ผูแทนสํานักงบประมาณ อนุกรรมการ 5. ผูแทนกรมธนารักษ อนุกรรมการ 6. ผูแทนกรมทางหลวงชนบท อนุกรรมการ 7. ผูแทนกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง อนุกรรมการ 8. ผูแทนกรมทรัพยากรธรณี อนุกรรมการ 9. ผูแทนกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช อนุกรรมการ 10. ผูแทนกรมโยธาธิการและผังเมือง อนุกรรมการ 11. ผูแทนกรมสงเสริมการปกครองสวนทองถ่ิน อนุกรรมการ 12. ผูแทนกรมศิลปากร อนุกรรมการ 13. ผูแทนสํานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแหงชาติ อนุกรรมการ 14. ผูแทนการทองเท่ียวแหงประเทศไทย อนุกรรมการ 15. นายกสมาคมอนุรักษศิลปกรรมและสิ่งแวดลอม หรือผูแทน อนุกรรมการ 16. นายสุวิชญ รัศมิภูติ อนกุรรมการ 17. นายบุญญวัฒน ทิพทัส อนุกรรมการ 18. นายมานิตย ศิริวรรณ อนุกรรมการ 19. นายยงยุทธ จรรยารักษ อนุกรรมการ 20. นายสุรพล ดวงแข อนุกรรมการ 21. ผูอํานวยการกองอนุรักษส่ิงแวดลอมธรรมชาติและศิลปกรรม อนุกรรมการและเลขานุการ 22. เจาหนาที่สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติ

และส่ิงแวดลอม อนุกรรมการและผูชวยเลขานุการ

23. เจาหนาที่สํานักงานนโยบายและแผนทรพัยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดลอม

อนุกรรมการและผูชวยเลขานุการ

Page 5: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

(1)

สารบัญเร่ือง

เร่ือง หนา

1 หลักการและเหตุผล 1 2 แนวทางการอนุรักษ กฎหมาย ระเบียบปฏิบัติและหนวยงานที่เกี่ยวของกับแหลง

ธรรมชาติประเภทโปงพุรอน 2

2.1 นโยบายระดบัประเทศ 2 2.2 แนวทางการอนุรักษสิ่งแวดลอมธรรมชาติและแผนแมบทเพื่อการอนุรักษ

ทรัพยากรธรรมชาต ิ4

2.3 ความหมายและประเภทของโปงพุรอน 6 2.4 แผนการจัดการอนุรักษสิ่งแวดลอมธรรมชาติประเภทโปงพุรอน 8 2.5 แนวทางการอนุรักษแหลงธรรมชาติประเภทโปงพุรอน 8 2.6 บทบาทหนาที่ดานการอนุรักษสิ่งแวดลอมธรรมชาตปิระเภทโปงพุรอน 10 2.7 กฎหมาย ระเบียบปฏบิัตทิี่เกี่ยวของ 10

3 วิธีการศึกษา 12 4 ขอมูลพ้ืนฐานของแหลงธรรมชาติประเภทโปงพุรอน 25 4.1 จํานวนและการกระจายตัวของแหลงธรรมชาติประเภทโปงพุรอน 25 4.2 ผลการประเมนิคุณคาสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ศักยภาพในการคงคุณคา

สิ่งแวดลอมธรรมชาติ ความเสี่ยงตอการถกูทําลายและผลกระทบเบือ้งตนจากกิจกรรมการใชประโยชนของแหลงธรรมชาติประเภทโปงพุรอน

32

4.3 ผลการจัดลําดับความสําคญัของแหลงธรรมชาติประเภทโปงพุรอน 33 4.4 สรุปประเด็นปญหาของการจัดการสิ่งแวดลอมธรรมชาติประเภทโปงพุรอน 42

5 ปจจัยชี้วัดมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมประเภทโปงพุรอน 49 5.1 หลักการเปลี่ยนแปลงที่ยอมรับได (Limits of Acceptable Change, LAC) 49 5.2 ปจจัยชี้วัดคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาตปิระเภทโปงพุรอน 52

6 พ้ืนที่ศึกษา 60 6.1 ที่ตั้งและลักษณะพื้นที่ศึกษา 60 6.2 อุทกธรณีวิทยาน้ําพุรอน 61 6.3 ลักษณะทางชวีภาพ 63 6.4 การใชประโยชนที่ดินในปจจุบัน รูปแบบทางภูมิสถาปตยกรรมและ

สถาปตยกรรมของแหลงโปงพุรอนสํานักสงฆธารน้ํารอน 67

6.5 ผลการประเมนิปจจัยชี้วัดมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติประเภทโปงพุรอนสํานักสงฆธารน้ํารอน

68

6.6 การจําแนกเขตการจัดการเพื่ออนุรักษแหลงโปงพุรอน 78

Page 6: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

(2)

สารบัญเร่ือง (ตอ)

เร่ือง หนา

6.7 แนวทางการออกแบบทางกายภาพแหลงโปงพุรอนสํานักสงฆธารน้าํรอน ตําบลเขาถาน อําเภอทาฉาง จังหวัดสุราษฎรธาน ี

79

7 มาตรการในการอนุรักษและฟนฟูแหลงธรรมชาติโปงพุรอน 94 7.1 มาตรการดานการออกแบบกายภาพ และภูมิสถาปตยกรรม 94 7.2 มาตรการปองกันผลกระทบตอปริมาณน้ําและคุณภาพน้ําในแหลงธรรมชาติ

ประเภทโปงพุรอน 99

7.3 มาตรการปองกันดานผลกระทบตอชีวภาพ (พืชพรรณและสัตวปา) 100 8 การพัฒนาฐานขอมูลและโปรแกรมเพื่อการติดตามมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอม

ธรรมชาติประเภทโปงพุรอน 103

บรรณานุกรม 105

Page 7: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

(3)

สารบัญตาราง

หนา ตารางที่ 1 ตัวชี้วัด คาถวงน้ําหนัก (Wi) และเกณฑในการประเมิน (Ri) คุณภาพ

สิ่งแวดลอมของแหลงธรรมชาติประเภทโปงพุรอน 14

ตารางที่ 2 ตัวชี้วัด คาถวงน้ําหนัก (Wi) และเกณฑการประเมินความเหมาะสมดานสถาปตยกรรม

21

ตารางที่ 3 รายชื่อแหลงธรรมชาติประเภทโปงพุรอน 27 ตารางที่ 4 ผลการประเมนิคุณคา ศักยภาพ ความเสีย่งและผลกระทบเบื้องตน และผล

การจัดลําดับความสําคัญของแหลงธรรมชาติประเภทโปงพุรอน 34

ตารางที ่5 สรุปปจจัยชี้วดัและเกณฑการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมธรรมชาติประเภทโปงพุรอน

53

ตารางที่ 6 ปจจัยชี้วัดและผลการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมธรรมชาติประเภทโปงพุรอนของแหลงโปงพุรอนสํานักสงฆธารน้ํารอน

69

Page 8: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

(4)

สารบัญภาพ

หนา ภาพที่ 1 การกระจายของแหลงธรรมชาติประเภทโปงพุรอน 26 ภาพที่ 2 โปงพุรอนบานโปงชาง 42 ภาพที่ 3 การพัฒนาทางกายภาพบริเวณน้ําพุรอนโปงพระบาท อําเภอเมือง จังหวัด

เชียงราย 43

ภาพที่ 4 บริเวณน้ําพุรอนโปงพระบาท มีรูปแบบของสิ่งกอสรางที่ขาดความกลมกลืนกับธรรมชาต ิ

43

ภาพที่ 5 อาคารขนาดใหญกั้นทางน้ําธรรมชาติ ทําใหนํ้ารอนอุณหภูมิลดลง 44 ภาพที่ 6 การประดับตกแตงพันธุไมตางถิ่นที่บอนํ้ารอนบานพรรั้ง 45 ภาพที่ 7 การรักษาสังคมพืชด้ังเดิมหรือสภาพปาดั้งเดิมไวที่แหลงโปงพุรอนทาปาย 46 ภาพที่ 8 การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของลิงที่บอนํ้ารอนเขาชัยสน 47 ภาพที่ 9 ที่ตั้งและการเขาถึงแหลงโปงพุรอนสํานักสงฆธารน้ํารอน ตําบลเขาถาน

อําเภอทาฉาง จังหวัดสุราษฎรธานี 60

ภาพที่ 10 เสนทางการเขาสูพ้ืนที่จากทางหลวงหมายเลข 4112 จะพบทางเขารอง ทางเขาหลักกอนถึงบริเวณโปงพุรอน

61

ภาพที่ 11 ทัศนียภาพปาดิบแลงบริเวณแหลงโปงพุรอนสํานักสงฆธารน้ํารอน 64 ภาพที่ 12 ทัศนียภาพปาชายเลนบริเวณแหลงโปงพุรอนสํานักสงฆธารน้ํารอน 64 ภาพที่ 13 ทัศนียภาพสังคมพืชบริเวณเกาะแกวในแหลงโปงพุรอนสํานักสงฆธารน้ํารอน 65 ภาพที่ 14 ภาพตัวอยางสัตวเลี้ยงลูกดวยนมที่สํารวจพบบริเวณแหลงโปงพุรอนสํานัก

สงฆธารน้ํารอน 66

ภาพที่ 15 การแบงพ้ืนทีแ่หลงโปงพุรอนสํานักสงฆธารน้ํารอน ออกเปน 3 สวน 67 ภาพที่ 16 การจําแนกเขตการจัดการแหลงธรรมชาตอัินควรอนุรักษโปงพุรอน 78 ภาพที่ 17 แนวทางการจัดการใชประโยชนพ้ืนที่แหลงธรรมชาติโปงพุรอนสํานักสงฆ

ธารน้ํารอน 80

ภาพที่ 18 ผังบริเวณสวนสํานักสงฆธารน้ํารอนที่เกี่ยวของและสวนบริการและอาบน้ํารอนที่จะเกิดขึน้ใหม

81

ภาพที่ 19 ตัวอยางอาคารที่มีรายละเอียดรูปแบบสถาปตยกรรมทองถิ่นแบบภาคใต 83 ภาพที่ 20 ตัวอยางรูปแบบปายสื่อความหมายและวัสดุประกอบภูมิทัศน 86 ภาพที่ 21 ตัวอยางปายสื่อความหมายในศาลาเอนกประสงค 87 ภาพที่ 22 ตัวอยางปายสื่อความหมายบริเวณเสนทางศึกษาธรรมชาต ิ 87 ภาพที่ 23 ผังแสดงตําแหนงปายสื่อความหมายตามจุดตางๆ ที่สําคัญ 89 ภาพที่ 24 ตัวอยางโปงพุรอนปาแป 94

Page 9: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

(5)

สารบัญภาพ (ตอ)

หนา ภาพที่ 25 ตัวอยางโปงพุรอนสันกําแพง 95 ภาพที่ 26 ตัวอยางโปงพุรอนหวยหมากเลี่ยม 95 ภาพที่ 27 ตัวอยางของการพัฒนาโปงพุรอนที่ไมเหมาะสม ของโปงพุรอนโละจังกระ 96 ภาพที่ 28 ตัวอยางของการพัฒนาโปงพุรอนที่ไมเหมาะสม ของโปงพุรอนโปงพระบาท 96 ภาพที่ 29 ตัวอยางของการพัฒนาขอบบอที่ไมเหมาะสม ของโปงพุรอนพระรวง 97 ภาพที่ 30 ตัวอยางของการพัฒนาทางกายภาพที่ไมเหมาะสม ของโปงพุรอนรักษวาริน 97 ภาพที่ 31 ตัวอยางโปงบวับาน 98 ภาพที่ 32 ตัวอยางโปงพุรอนแจซอน 99 ภาพที่ 33 การประดับตกแตงพันธุไมตางถิ่นที่บอนํ้ารอนบานพรรั้ง 101 ภาพที่ 34 การรักษาสังคมพืชด้ังเดิมหรือสภาพปาดั้งเดิมไวที่แหลงโปงพุรอนทาปาย 101 ภาพที่ 35 การแชหนอไมที่บอนํ้าพุรอนโปงปูเฟอง ตําบลแมสรวย อําเภอแมสรวย

จังหวัดเชียงราย (ซาย) และแหลงโปงพุรอนดอยสะเก็ด ตําบลปาเม่ียง อําเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม (กลาง-ขวา)

103

Page 10: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม 1

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

สรุปยอผูบริหารสรุปยอผูบริหาร

1. หลักการและเหตุผล

แหลงธรรมชาติที่เปนประเภทโปงพุรอน นับเปนมรดกทางธรรมชาติที่มีคุณคาทางวิทยาการ และสุนทรียภาพควรอนุรักษเปนอยางยิ่ง แหลงธรรมชาติน้ีเม่ือถูกทําลายก็จะหมดสภาพไป ไมสามารถฟนฟูคืนสูสภาพเดิมไดอีก จากสถานการณที่เปนอยูในปจจุบัน ไดมีการใชประโยชนแหลงธรรมชาติประเภทโปงพุรอนทั้งดานการทองเที่ยว แหลงฟนฟูสุขภาพ และแหลงพลังงานอยางกวางขวาง จําเปนยิ่งที่จะตองใหทุกภาคสวนไดรับรูและดําเนินการรวมกันในการดูแล รักษาและใชประโยชนอยางระมัดระวัง รวมทั้งฟนฟู ทํานุบํารุงดูแลรักษาสิ่งแวดลอมธรรมชาติที่หายากเหลานั้นไว ซ่ึงจะทําใหคนทั้งรุนปจจุบันและอนาคต สามารถดํารงรักษามรดกทางธรรมชาติและคุณภาพสิ่งแวดลอมของแหลงธรรมชาติที่มีอยูในแตละชุมชนไดอยางพอเพียง เพ่ือความอยูดีมีสุขของชุมชน

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม จึงไดสนับสนุนใหมีการ

จัดทํา “มาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติประเภทโปงพุรอน” โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมแหลงธรรมชาติประเภทโปงพุรอน พรอมทั้งกําหนดแนวทางและมาตรการการอนุรักษ พัฒนา และฟนฟูคุณภาพสิ่งแวดลอม ในการรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติฯ รวมทั้งมีการจัดทําระบบประเมินและติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติของแหลงธรรมชาติประเภทโปงพุรอนดังกลาว โดยผานกระบวนการมีสวนรวมของชุมชน เพ่ือใชเปนเครื่องมือในการประเมินคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติประเภทโปงพุรอน เพ่ือใหจังหวัด องคกรปกครองสวนทองถิ่น และหนวยงานที่เกี่ยวของ สามารถนําไปใชประโยชนในการบริหารจัดการแหลงธรรมชาติอันควรอนุรักษประเภทโปงพุรอนไดอยางมีประสิทธิภาพบนฐานการพัฒนาอยางยั่งยืนและเหมาะสมกับลักษณะของแหลงธรรมชาติประเภทโปงพุรอนในแตละพ้ืนที่

สําหรับพ้ืนที่ดําเนินการประกอบดวย 1) พ้ืนที่ที่ศึกษารวบรวมขอมูลทั่วไปในพื้นที่แหลง

ธรรมชาติประเภทโปงพุรอน จํานวน 97 แหง จาก 124 แหง และ 2) กรณีศึกษาการติดตามมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติประเภทโปงพุรอนที่แหลงโปงพุรอนสํานักสงฆธารน้ํารอน ตําบลเขาถาน อําเภอทาฉาง จังหวัดสุราษฎรธานี

Page 11: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

2 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

22.. แนวทางการอนุรักษ แนวทางการอนุรักษ กฎหมาย กฎหมาย ระเบียบปฏิบัติและหนวยงานที่ระเบียบปฏิบัติและหนวยงานที่

เก่ียวของกับแหลงธรรมชาติประเภทโปงพุรอนเก่ียวของกับแหลงธรรมชาติประเภทโปงพุรอน

2.1 นโยบายระดับประเทศ

สําหรับนโยบายระดับประเทศที่มีสวนเกี่ยวของกับแหลงธรรมชาติประเภทโปงพุรอนประกอบดวย แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ.2550 - 2554) ซ่ึงใหความสําคัญในเรื่องการรักษาฐานทรัพยากรและความสมดุลของระบบนิเวศ การสรางสภาพแวดลอมที่ดีเพ่ือยกระดับคุณภาพชีวิตและการพัฒนาที่ยั่งยืน และการพัฒนาคุณคาความหลากหลายทางชีวภาพและภูมิปญญาทองถิ่น และนโยบายของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม ซ่ึงประกอบดวยนโยบายดานทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอม และดานการบริหารจัดการ คือ

1) ประเมินสถานภาพและศักยภาพของทรัพยากรธรรมชาติทุกประเภทและความหลากหลายทางชีวภาพ

2) สงวน อนุรักษ พัฒนา ฟนฟู เพ่ือดํารงสภาพสมบูรณของทรัพยากรธรรมชาติและจัดการใชประโยชน เพ่ือตอบสนองความตองการตามศักยภาพใหเกิดประโยชนอยางยั่งยืน

3) สรางมูลคาเพิ่มทั้งทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม ของทรัพยากร ธรรมชาติทุกประเภท เพ่ือการใชประโยชนอยางคุมคา

4) จัดทําระเบียบ กฎเกณฑ และระบบการเขาถึงทรัพยากรธรรมชาติของชุมชนทองถิ่นและประชาชนทุกกลุมอยางมีประสิทธิภาพ รวมทั้งแบงปนผลประโยชนอยางยุติธรรม ตลอดจนกําหนดขอเสนอแนะ แนวทาง และมาตรการการใชประโยชนทรัพยากร ธรรมชาติทุกประเภทอยางยั่งยืนและสอดคลองกับสถานการณบนฐานขอมูลจากการวิจัยและพัฒนา

5) ดําเนินการใหชุมชนทั้งในชนบทและในเมืองมีสภาพแวดลอมและคุณภาพชีวิตที่ดีโดยประสานการวางผังเมืองและจัดระเบียบชุมชน ใหสอดคลองกับศักยภาพของพื้นที่

6) ปองกัน รักษา และฟนฟูคุณภาพสิ่งแวดลอมใหดีขึ้น และอยูในระดับมาตรฐานที่ไมเปนอันตรายตอสุขอนามัยของประชาชน ตลอดจนใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอม

7) ดําเนินการปองกันและควบคุมสภาวะความเสี่ยงดานสิ่งแวดลอมที่เกี่ยวของกับสุขอนามัยที่จะมีผลกระทบตอการดํารงชีวิต และสงเสริมการสรางสภาพแวดลอมที่ดีเพ่ือคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชน

Page 12: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม 3

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

8) สรางกระบวนการเรียนรูเพ่ือใหชุมชนสามารถปกปอง คุมครอง และฟนฟูสิ่งแวดลอมชุมชน สิ่งแวดลอมธรรมชาติ สิ่งแวดลอมศิลปกรรมที่เกี่ยวของกับประวัติศาสตร โบราณคดี วัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิต และภูมิปญญาทองถิ่น เพ่ือใหเปนมรดกสืบทอดไปยังอนุชนรุนตอไป

9) บริหารจัดการและพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมแบบบูรณาการ โดยยึดหลักธรรมาภิบาลบนพื้นฐานการจัดการเชิงพ้ืนที่ การมีสวนรวม และการกระจายอํานาจ

10) เติมภูมิปญญาประชาชนทุกระดับ และเสริมสรางขีดความสามารถขององคกรทุกระดบัอยางตอเน่ือง

11) พัฒนาบุคลากรใหรูทักษะและมีประสิทธิภาพ ทั้งดานองคความรูและทักษะเพื่อใหสอดคลองกับบทบาทและภารกิจของกระทรวง

12) พัฒนาระบบและมาตรฐานในการบริหารจัดการและจัดทําฐานขอมูลโดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ และสามารถเชื่อมโยงเครือขายกับระบบฐานขอมูลสารสนเทศหลักของประเทศได

13) สงเสริมการวิจัยและพัฒนาเพื่อสนับสนุนการกําหนดนโยบาย การวางแผน และการปฏิบัติงานทุกระดับ

14) รณรงคและสรางจิตสํานึกของประชาชนทุกฝาย รวมทั้งสรางเครือขายการมีสวนรวมในการดําเนินงานอยางจริงจังและตอเน่ือง

15) ติดตามแกไขขอรองเรียนของราษฎรดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมรวมทั้งพัฒนาเครื่องมือและกลไกในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมใหมีประสิทธิภาพ

16) สรางแรงจูงใจโดยใชมาตรการทางเศรษฐศาสตร สังคม และกฎหมาย 17) พัฒนากลไกลดความขัดแยงในการใชทรัพยากรธรรมชาติและการแกไขปญหา

สิ่งแวดลอม สงเสริมกลไกการตลาดเพื่อสังคม เพ่ือสรางความสมดุลระหวางอุปสงคและอุปทานในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

18) ปรับปรุง แกไข เสนอรางกฎหมายใหมเพ่ือใชเปนเครื่องมือในการดําเนินการ และสามารถบังคับใชกฎหมายที่เกี่ยวของใหงานสัมฤทธิ์ผลสอดคลองกบัสถานการณ

19) เพ่ิมบทบาทดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในเวทีโลก เพ่ือพัฒนาความรวมมือและพิทักษผลประโยชนของประชาชนและประเทศชาติ

20) ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการดําเนินงานโดยมีตัวชี้วัดผลสัมฤทธิ์ชัดเจน

Page 13: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

4 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

2.2 แนวทางการอนุรักษสิ่งแวดลอมธรรมชาติและแผนแมบทเพื่อการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ หลังจากคณะรัฐมนตรีไดมีมติเห็นชอบในแนวทางการอนุรักษธรรมชาติ เม่ือวันที่ 21

กันยายน พ.ศ.2525 สํานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดลอมไดดําเนินการจัดทําหนังสือแนวทางการอนุรักษธรรมชาติ (สํานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดลอม, 2537) มีวัตถุประสงคเพ่ือกําหนดแนวทางการอนุรักษธรรมชาติ เผยแพรความรู ความเขาใจใหประชาชนเกิดความรูสึกรัก หวงแหน และตระหนักถึงคุณคาในการอนุรักษสิ่งแวดลอมธรรมชาติ นําไปสูความรวมมือในการสงเสริมและพิทักษรักษาคุณภาพของสิ่งแวดลอมและมรดกทางธรรมชาติไวไดตลอดไป สําหรับแนวทางอนุรักษแหลงธรรมชาติ สรุปประเด็นสําคัญคือ การสงวนหรือหวงหามและการสงเสริม รวมทั้งใหมีมาตรการทางดานกฎหมายและมาตรการทางดานบริหารควบคูกันไป

ในป พ.ศ.2531 สํานักงานคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ไดมอบหมายใหคณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ดําเนินการศึกษาและจัดทําแผนแมบทเพื่อการอนุรักษธรรมชาติขึ้น โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือหาแนวทางและระบบในการอนุรักษธรรมชาติที่มีประสิทธิภาพ ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว รวมทั้งเพ่ือใหไดมาซึ่งวิธีการ รูปแบบการอนุรักษ และมาตรการในการจัดการการอนุรักษธรรมชาติแตละประเภท โดยเนนในสวนของนโยบายและวิธีการปฏิบัติของหนวยงานรับผิดชอบแตละระดับที่เหมาะสมและถูกตองที่สุด ทั้งนี้ไดยึดแนวทางตามคณะกรรมการจัดทําแผนอนุรักษธรรมชาติที่ไดมีการกําหนดแนวทางเกี่ยวกับการอนุรักษธรรมชาติไวเม่ือ พ.ศ.2525 โดยการวางระบบการอนุรักษธรรมชาติเพ่ือใหมีประสิทธิภาพ ตองมีขั้นตอนตางๆ ดังน้ี ขั้นที่ 1 การสํารวจแหลงธรรมชาติ: เพ่ือเก็บรวบรวมขอมูลเบื้องตน ขั้นที่ 2 การประเมินคุณคาแหลงธรรมชาติ: เพ่ือตัดสินใจวาแหลงธรรมชาติที่สํารวจมานั้นมีแหลงใดบางที่มีคุณคาแกการอนุรักษ ขั้นที่ 3 การขึ้นทะเบียนแหลงธรรมชาติที่ควรอนุรักษ: เพ่ือรวบรวมขอมูลดานสถานภาพของแหลงธรรมชาติที่มีคุณคาของประเทศวามีกี่แหงและอยูที่ไหนบาง เพ่ือนํามาวางแผนในการควบคุมและติดตามงาน ขั้นที่ 4 การประกาศเขตอนุรักษแหลงธรรมชาติ: เพ่ือกําหนดแผนแมบทการใชพ้ืนที่ในแหลงธรรมชาติเฉพาะแหลงขึ้น โดยมีการกําหนดขอบเขตพื้นที่ควบคุมออกเปนชั้นๆ ตามแนวคิดการจัดการพื้นที่แหลงธรรมชาติอันควรอนุรักษ คือ

- พ้ืนที่สงวน (preserved area) หมายถึง พ้ืนที่ที่มีคุณคามากทางดานวิชาการและมีความออนไหวตอการเปลี่ยนแปลงหรือผลกระทบทําใหถูกทําลายไดงาย ดังนั้น จึงหวงหามมิใหกระทําการใดๆ ที่เปนการเปลี่ยนแปลงสภาพธรรมชาติโดยเด็ดขาด

Page 14: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม 5

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

- พ้ืนที่อนุรักษ (conserved area) หมายถึง พ้ืนที่แหลงธรรมชาติที่มีคุณคาปานกลางและมีความคงตัวไมถูกเปลี่ยนแปลงไดงาย แตอาจสงผลกระทบตอคุณคาของแหลงธรรมชาติในพ้ืนที่สงวนได ดังน้ัน จึงตองควบคุมกิจกรรมที่อาจกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงธรรมชาติและสงผลเสียหายตอแหลงธรรมชาติในพ้ืนที่สงวน

- พ้ืนที่พัฒนา (developed area) หรือพ้ืนที่บริการและการจัดการ หมายถึง พ้ืนที่โดยรอบของแหลงธรรมชาติที่มีคุณคาในตัวเองไมมากนักเม่ือเทียบกับพ้ืนที่สงวนและพ้ืนที่อนุรักษ แตมีบทบาทในการควบคุมหรือปองกันพ้ืนที่สงวนหรือพ้ืนที่อนุรักษใหมีคุณคาสูงอยูเสมอดวย

ขั้นที่ 5 การควบคุมและการประเมินผลการอนุรักษธรรมชาติ: เพ่ือตรวจสอบประสิทธิภาพในการอนุรักษแผนแมบทการอนุรักษแหลงธรรมชาติเฉพาะแหลง รวมทั้งประสิทธิภาพในการดําเนินงานของหนวยปฏิบัติการอนุรักษธรรมชาติดวย ขั้นที่ 6 การรวบรวมและจัดเก็บขอมูลแหลงธรรมชาติ: เพ่ือจัดสรางระบบจัดเก็บขอมูลแหลงธรรมชาติทุกแหลง ทุกประเภท ทําใหงายตอการติดตามและควบคุมการอนุรักษธรรมชาติ ขั้นที่ 7 การประชาสัมพันธ: เพ่ือใหหนวยงานตางๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน รวมทั้งประชาชนทั่วไปมีความเขาใจและเกิดทัศนคติที่ดีในการอนุรักษธรรมชาติ

ตอมา ในป พ.ศ.2546 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ได

รวมมือกับสถาบันวิจัยสภาวะแวดลอม จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ดําเนินการศึกษาแนวทางการจัดทําแผนแมบทเพ่ือการอนุรักษสิ่งแวดลอมธรรมชาติขึ้น โดยมีการทบทวนแผนแมบทฉบับเดิมและเสนอแนะเพ่ิมเติมสวนที่บกพรอง เพ่ือใหทันตอเหตุการณและสภาพแวดลอม โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือเปนกรอบและทิศทางใหหนวยงานที่เกี่ยวของสามารถดําเนินการไดอยางถูกตองเปนระบบ ทั้งแผนแมบทและแผนปฏิบัติการในการบริหารจัดการ โดยการมีสวนรวมตั้งแตเร่ิมตนของกระบวนการจัดทําแผนไปจนกระทั่งถึงการปฏิบัติ การติดตามประเมินผลและปรับปรุงแผน นอกจากนั้น ยังไดกําหนดแนวทางการอนุรักษแหลงธรรมชาติที่มีคุณคาประเภทตางๆ ซ่ึงรวมถึง ประเภทโปงพุรอนดวย

Page 15: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

6 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

2.3 ความหมายและประเภทของโปงพุรอน

2.3.1 ความหมาย

โปงพุรอน ในการจัดทําเกณฑมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ คณะผูศึกษาไดใชนิยาม “โปงพุรอน” ตามแผนแมบทเพ่ือการอนุรักษสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ป พ.ศ. 2547 ของสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ดังน้ี

โปงพุรอน (Thermal Spring) หมายถึง นํ้าพุรอนที่มีอุณหภูมิสูงกวาปกติจนอาจมี

อุณหภูมิสูงถึงจุดเดือด โปงพุรอนแตละแหงมีแรงดันไมเทากัน บางแหงพุงขึ้นมาเพียงเบาๆ บางแหงก็พุงสูง ซ่ึงโปงพุรอนบางแหงอาจมีแรงดันไมเทากันตลอดเวลา เปนชวงเวลา เม่ือมีแรงดันจากใตพ้ืนโลกมาก ก็จะดันน้ําพุงขึ้นสูง แตถามีแรงดันนอย ก็จะพุงขึ้นนอย ซ่ึงตามแผนแมบทเพื่อการอนุรักษสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ป พ.ศ. 2547 น้ัน ไดกําหนดใหโปงพุรอนเปนประเภทแหลงธรรมชาติที่ไมสามารถเคลื่อนไหว เปลี่ยนแปลงและฟนฟูสูสภาพเดิมได

อยางไรก็ดี โปงพุรอน ในความหมายจากพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน

หมายถึง นํ้าพุที่มีอุณหภูมิสูงกวาปกติจนอาจมีอุณหภูมิสูงถึงจุดเดือด โปงพุรอนแตละแหงมีแรงดันไมเทากัน บางแหงพุงขึ้นมาเล็กนอย บางแหงก็พุงสูง ซ่ึงโปงพุรอนบางแหงอาจมีแรงดันไมเทากันตลอดเวลา เปนชวงเวลา เม่ือมีแรงดันจากใตพ้ืนโลกมากก็จะดันน้ําพุงขึ้นสูง แตถามีแรงดันนอยก็จะพุงขึ้นมานอย และ จากศัพทธรณีวิทยา พุนํ้ารอน บอนํ้ารอน ยังหมายถึง แหลงที่นํ้าไหลขึ้นมาจากใตดินและมีอุณหภูมิสูงกวาอุณหภูมิรางกายของมนุษย เรียกวา พุนํ้ารอน นํ้าที่พุขึ้นมาอาจจะอุนๆ จนถึงเดือดพลาน อาจบริสุทธิ์หรือมีแรธาตุรวมทั้งแกสละลายอยูทําใหมีรสและกลิ่นตางๆ บางพุไหลแรง บางพุพุงกระเซ็นพนปากบอเพราะแรงดันของแกสที่ละลายเอาขึ้นมาจากใตดิน เชน แหลงโปงพุรอนฝาง อําเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม แหลงโปงพุรอนแมตึง อําเภอแมจัน จังหวัดเชียงราย

2.3.2 ประเภทของโปงพุรอนในประเทศไทย

กําเนิดของโปงพุรอนมีองคประกอบที่สําคัญ 3 ประการ คือ 1) แหลงความรอนใตโลก 2) นํ้าใตดิน และ 3) แหลงกักเก็บหรือชั้นหินอุมนํ้า (reservoir) นํ้าใตดินที่ไหลขึ้นมาเปนนํ้าพุรอนนี้ สวนใหญเปนน้ําฝนที่ไหลซึมลงไปตามชองวางของหินหรือตามรอยแตกและรอยเลื่อนของหิน และบางสวนอาจจะมาจากไอน้ําของหินหนืดขณะที่เย็นตัว และน้ําทะเลในอดีตที่ถูกกักเก็บอยูในชองวางของหิน เม่ือนํ้าไดรับการถายเทความรอนจากแหลงความรอนใตโลกก็จะไหลดันผานรอยแตก หรือรอยเลื่อนของหินขึ้นมายังพ้ืนดิน เกิดเปนโปงพุรอนขึ้น สําหรับแหลงโปงพุรอนในประเทศไทยนั้น จําแนกไดเปน 4 ประเภท (สถาบันวิจัยสภาวะแวดลอม จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2547) คือ

Page 16: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม 7

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

1) นํ้าพุรอน (hot spring หรือ thermal spring) เปนแหลงที่นํ้าไหลจากใตดินสูผิวดิน โดยอุณหภูมิของน้ําอาจรอนจัด หรือเพียงอุนๆ เทานั้น ตัวอยางแหลงนํ้าพุรอน เชน แหลงโปงพุรอนโปงกุม อําเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม แหลงโปงพุรอนสบโปง อําเภอเวียงปาเปา จังหวัดเชียงราย สวนแหลงพุนํ้าอุน ไดแก แหลงโปงพุรอนแมนะ อําเภอปาย จังหวัดแมฮองสอน

2) ไกเซอร (geyser) เปนโปงพุรอนที่มีอุณหภูมิและแรงดันของน้ําสูงมาก จนทําใหพุงออกมาพนพ้ืนดิน เปนลําน้ําและไอน้ําสูงขนาดใหญ โดยปกติมักพุงเปนพักๆ เชน แหลงโปงเดือดปาแป จังหวัดเชียงใหม มีนํ้าพุรอนพุงสูงขึ้นมาจากพ้ืนดินประมาณ 2-3 เมตร

3) พุแกส (fumaroles) มีลักษณะเปนรูหรือรอยแยกในดินที่มีแกสหรือไอรอนพุงออกมาจากภายใต มักมีกลิ่นคลายไขเนา เชน แหลงโปงพุรอนแมฝาง อําเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม และแหลงโปงพุรอนปาตึง อําเภอแมจัน จังหวัดเชียงราย

4) พุโคลน (mud pot) เปนโคลนเดือดที่พุงขึ้นมาจากภายใตผิวโลก มักเกี่ยวของกับพุนํ้ารอนไกเซอรและพุนํ้ารอนอ่ืนๆ ในบริเวณภูเขาไฟ ปกติมักมีกํามะถันมาก แหลงในไทยเคยมีอยูใกลโปงนํ้ารอน บานบางเตียว ตําบลคลองทอมเหนือ อําเภอคลองทอม จังหวัดกระบี่ แตปจจุบันบริเวณพุโคลนนี้ถูกกลบทับไปแลว

นอกจากนั้น ยังแบงโปงพุรอนไดตามอุณหภูมิของน้ํา มี 2 ประเภทคือ

1) โปงพุรอนชนิดรอนจัด คือมีอุณหภูมิของน้ําระหวาง 50–100 องศาเซลเซียส และมีปริมาณสารละลายคอนขางสูง ไดแก แหลงโปงพุรอนสันกําแพง แหลงโปงพุรอนโปงเดือดปาแป และแหลงโปงพุรอนแมฝาง จังหวัดเชียงใหม เปนตน

2) โปงพุรอนชนิดอุน คือมีอุณหภูมิจะต่ํากวา 50 องศาเซลเซียส และมีปริมาณของสารละลายคอนขางต่ํา ไดแก แหลงโปงพุรอนแมนะ อําเภอปาย จังหวัดแมฮองสอน เปนตน

โปงพุรอนยังอาจจะแบงไดตามองคประกอบของสารละลายและแรธาตุในน้ํา เชน โปงพุรอนคารบอเนต โปงนํ้าพุรอนเกลือ โปงนํ้าพุรอนโซเดียม-ไฮโดรเจน-คารบอเนต ฯลฯ แตการแบงประเภทเชนนี้มักเปนไปเพื่อประโยชนในการทําธาราบําบัด หรือวารีบําบัด คือใชการอาบน้ํารอนเปนเครื่องกระตุนสุขภาพ การไหลเวียนของโลหิต และการบรรเทาโรคหรืออาการบางอยาง

Page 17: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

8 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

2.4 แผนการจัดการอนุรักษสิ่งแวดลอมธรรมชาติประเภทโปงพุรอน

แหลงธรรมชาติประเภทโปงพุรอนอันควรอนุรักษในประเทศไทยที่มีการประกาศไวใน พ.ศ.2532 มีจํานวน 3 แหง ในพ้ืนที่ 2 จังหวัด ในภาคเหนือและภาคใตของประเทศไทย ไดแก

1) โปงเดือดปาแป อําเภอแมแตง จังหวัดเชียงใหม 2) บอนํ้ารอนฝาง อําเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม 3) บอนํ้ารอนแรธรรมชาติ อําเภอเมือง จังหวัดระนอง

ปจจุบันไดมีการจัดทําแผนการจัดการอนุรักษสิ่งแวดลอมธรรมชาติเฉพาะแหลงประเภทโปงพุรอน 2 แหลง ดังน้ี

1) แผนการจัดการอนุรักษสิ่งแวดลอมธรรมชาติบริเวณโปงเดือดปาแป ผาจอ จังหวัดเชียงใหม จัดทําโดย ศูนยวิจัยปาไม คณะวนศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร กันยายน พ.ศ.2539

2) แผนการจัดการอนุรักษสิ่งแวดลอมธรรมชาติบริเวณธารน้ํารอนบอคลึง อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี จัดทําโดย คณะสิ่งแวดลอมและทรัพยากรศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ.2534

2.5 แนวทางการอนุรักษแหลงธรรมชาติประเภทโปงพุรอน

สถาบันวิจัยสภาวะแวดลอม จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (2546) ไดมีการเสนอกลยุทธและมาตรการในการจัดการอนุรักษแหลงธรรมชาติซ่ึงมีความเกี่ยวของกับแหลงธรรมชาติประเภทโปงพุรอนไวดังน้ี

กลยุทธที่ 1 วิจัยพัฒนา รวบรวมและเผยแพรขอมูลเกี่ยวกับแหลงธรรมชาติอันควรอนุรักษ

ประเภทโปงพุรอน รวมทั้งใชเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการ

มาตรการที่ 1 สงเสริมการวิจัยและพัฒนาเพื่อพัฒนาขอมูลและองคความรู รวมทั้งเพ่ือทําความเขาใจแหลงธรรมชาติโปงพุรอนในฐานะระบบนิเวศที่เชื่อมโยงกับระบบนิเวศอื่น ๆ โดยรอบ และสงเสริมการพัฒนานวัตกรรมที่สอดคลองกับการบริหารจัดการแหลงธรรมชาติอันควรอนุรักษประเภทโปงพุรอน

มาตรการที่ 2 สงเสริมและดําเนินการวิจัยและพัฒนาในลักษณะตอยอด รวมทั้งสรางเครือขายความรวมมือและการแลกเปลี่ยนการวิจัยที่สอดคลองกับการแกไขปญหาและเปนพ้ืนฐานในการเพิ่มประสิทธิภาพการอนุรักษแหลงธรรมชาติอันควรอนุรักษประเภทโปงพุรอน

มาตรการที่ 3 สรางกระบวนการกําหนดนโยบาย การวางแผน การตัดสินใจและการแกไขปญหาบนพื้นฐานของฐานขอมูลที่เชื่อถือได เพ่ือนําไปสูกระบวนการปฏิบัติอยางเปนรูปธรรม

Page 18: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม 9

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

กลยุทธที่ 2 มาตรการที่ 4 ควบคุม ปองกัน และแกไขการทําลายแหลงธรรมชาติอันควรอนุรักษ

โดยกําหนดระเบียบและกฎเกณฑที่เกี่ยวของ มาตรการที่ 5 เสนอแนะแนวทางปฏิบัติใหแกหนวยงานทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน

องคกรพัฒนาเอกชน และองคกรทองถิ่นที่มีหนาที่ในการกํากับ ควบคุม เฝาระวังและตรวจสอบคุณภาพแหลงธรรมชาตอัินควรอนุรักษประเภทโปงพุรอน

มาตรการที่ 6 ปรับปรุงและเพ่ิมประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน และการบังคับใชกฎหมายเพ่ือปองกัน ควบคุมและแกไขปญหาที่เกิดในแหลงธรรมชาติอันควรอนุรักษประเภทโปงพุรอน

กลยุทธที่ 3 สงวน อนุรักษ และกําหนดการใชประโยชนแหลงธรรมชาติอันควรอนุรักษ

ประเภทโปงพุรอนโดยการมีสวนรวมของทุกภาคสวน มาตรการที่ 7 สงเสริมใหประชาชนรวมเสนอขอคิดเห็นเกี่ยวกับการสงวนอนุรักษ

และกําหนดการใชประโยชน รวมทั้งรวมเฝาระวังปองกันและแกไขปญหาที่เกิดในแหลงธรรมชาติ มาตรการที่ 8 ลดความขัดแยง เพ่ิมความรวมมือระหวางภาคสวน ปรับทัศนคติ

พฤติกรรมและเสริมสรางความเขาใจ รวมทั้งพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพทั้งของเจาหนาที่และประชาชนในทองถิ่นใหมีจิตสํานึก ความรู ความเขาใจในสิทธิหนาที่ในการอนุรักษทรัพยากร ธรรมชาติอันควรอนุรักษประเภทโปงพุรอน

มาตรการที่ 9 เสริมสรางความเขมแข็งของชุมชน องคกรชุมชน องคกรทองถิ่นและองคกรเอกชน สรางเครอืขายองคในพ้ืนที่ไวคอยดูแลใหแหลงธรรมชาติอันควรอนุรักษคงสภาพเดิม

มาตรการที่ 10 สงเสริมการสืบทอดภูมิปญญาทองถิ่นในการรักษาเอกลักษณวัฒนธรรมและประเพณีที่เกื้อกูลกันตอการอนุรักษแหลงธรรมชาติอันควรอนุรักษ รวมถึงการฟนฟูสภาพสิ่งแวดลอมโดยรวมรอบพื้นที่

กลยุทธที่ 4 สรางความสมดุลระหวางการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมกับการอนุรักษแหลง

ธรรมชาติอันควรอนุรักษประเภทโปงพุรอน มาตรการที่ 11 บูรณะและฟนฟูแหลงธรรมชาติอันควรอนุรักษประเภทโปงพุรอน ที่

เสื่อมโทรมใหกลับมามีสภาพสมบูรณและสามารถเอื้อประโยชนตอเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดลอม โดยเนนการฟนฟูโดยฐานชุมชน (Community Based Restoration)

กลยุทธที่ 5 สรางกลไกและติดตามการรายงานอยางเปนระบบและประเมินผลการ

ดําเนินงานโดยมีตัวชี้วัดที่ชัดเจน มาตรการที่ 12 พัฒนาเครื่องมือและกลไกการติดตามตรวจสอบและประเมินผลการ

ดําเนินงานแหลงธรรมชาติอันควรอนุรักษประเภทโปงพุรอนทุกระดับ โดยกําหนดตัวชี้วัดที่ชัดเจน

Page 19: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

10 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

รวมทั้งศึกษาและพัฒนาวิธีการ ตลอดจนเครื่องมือในการวัดผลการดําเนินงานเหมาะสมและสามารถนําไปใชปฏิบัติไดอยางมีประสิทธิภาพ

มาตรการที่ 13 กําหนดและใชมาตรฐานจูงใจทางสังคมและทางเศรษฐศาสตรในการเฝาระวัง ควบคุม ปองกัน แกไขและฟนฟูคุณภาพสิ่งแวดลอมในแหลงธรรมชาติอันควรอนุรักษประเภทโปงพุรอน

2.6 บทบาทหนาที่ดานการอนุรักษสิ่งแวดลอมธรรมชาติประเภทโปงพุรอน

หนวยงานที่มีบทบาทหนาที่หลักที่เกี่ยวของกับทรัพยากรธรรมชาติประเภทโปงพุรอน คือกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ซ่ึงมีหนวยงานในสังกัดที่เกี่ยวของกับการจัดการแหลงมีดังน้ี สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม กรมควบคุมมลพิษ กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช กรมทรัพยากรธรณี กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง กรมทรัพยากรน้ํา กรมทรัพยากรน้ําบาดาล องคการจัดการน้ําเสีย และกรมปาไม

นอกจากกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมที่เปนหนวยงานหลักดานการดูแลรักษาสิ่งแวดลอมธรรมชาติประเภทโปงพุรอนแลว ยังมีหนวยงานอื่นๆ ที่มีอํานาจหนาที่หรือความเกี่ยวของในดานการจัดการและอนุรักษสิ่งแวดลอมธรรมชาติประเภทโปงพุรอนดวย ดังน้ี กรมประมง กรมพัฒนาที่ดิน กรมชลประทาน ภายใตกระทรวงเกษตรและสหกรณ กรมการขนสงทางน้ําและพานิชยนาวี กระทรวงคมนาคม กรมโยธาธิการและผังเมือง กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น กรมที่ดิน กรมการปกครอง ภายใตกระทรวงมหาดไทย สํานักงานพัฒนาการทองเที่ยว และการทองเที่ยวแหงประเทศไทย กระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา กรมศิลปากร และกรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร กระทรวงอุตสาหกรรมสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน สํานักงบประมาณ และสํานักคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี กระทรวงสาธารณสุข และสํานักงานตํารวจแหงชาติ

2.7 กฎหมาย ระเบียบปฏิบัติที่เก่ียวของ

กฎหมายและระเบียบปฏิบัติที่เกี่ยวของกับโปงพุรอนมีอยูดวยกันหลายฉบับ สรุปไดดังน้ี

1) รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550

2) กฎหมายที่กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมรับผิดชอบ

Page 20: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม 11

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

(1) พระราชบัญญัตินํ้าบาดาล พ.ศ. 2520 แกไขเพ่ิมเติมโดย (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2535 และ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2546

(2) พระราชบัญญัติอุทยานแหงชาติ พ.ศ. 2504

(3) พระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2535

(4) พระราชบัญญัติแร พ.ศ. 2510

(5) พระราชบัญญัติปาไม พ.ศ.2484

(6) พระราชบัญญัติปาสงวนแหงชาติ พ.ศ.2507

(7) พระราชบัญญัติสงวน และคุมครองสัตวปา พ.ศ.2535

(8) พระราชบัญญัติสวนปา พ.ศ.2535

3) กฎหมายที่กระทรวงสาธารณสุขรับผิดชอบ

(1) พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535

(2) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 199) พ.ศ. 2543 เรื่อง นํ้าแรธรรมชาติ

4) กฏหมายที่กระทรวงมหาดไทยรับผิดชอบ

(1) พระราชบัญญัติองคการบริหารสวนจังหวัด พ.ศ.2540 (แกไขเพ่ิมเติมถึง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2546)

(2) พระราชบัญญัติสภาตําบล และองคการบริหารสวนตําบล พ.ศ.2537 (แกไขเพ่ิมเติมถึง (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2546)

(3) พระราชบัญญัติกําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจใหแกองคการปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ.2542

(4) พระราชบัญญัติการใชประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ.2479

(5) พระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ.2518

(6) พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522

(7) พระราชบัญญัติการขุดดิน และถมดิน พ.ศ.2543

5) กฎหมายที่กระทรวงเกษตรและสหกรณรับผิดชอบ ไดแก พระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพ่ือการเกษตร พ.ศ.2518

6) กฎหมายที่กระทรวงคมนาคมรับผิดชอบ พระราชบัญญัติการเดินเรือนานน้ําไทย พ.ศ.2456

Page 21: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

12 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

7) กฎหมายที่กระทรวงพลังงานรับผิดชอบ พระราชบัญญัติการสงเสริมการอนุรักษพลังงาน พ.ศ.2535

8) กฎหมายที่กระทรวงการทองเที่ยวและกีฬารับผิดชอบ ไดแก พระราชบัญญัติการทองเที่ยวแหงประเทศไทย พ.ศ.2550 (ฉบับที่ 2 แกไขเพ่ิมเติมจากพระราชบัญญัติการทองเที่ยวแหงประเทศไทย พ.ศ.2522)

3. วิธีการศึกษา การจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติประเภทโปงพุรอนประกอบดวยขั้นตอน

และวิธีการศึกษาดังตอไปน้ี ข้ันตอนที่ 1 การศึกษาขอมูลทุติยภูมิ

1.1 ศึกษาแนวคิดการมาตรฐาน (การจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติประเภทโปงพุรอน)

1.2 ใชนิยามศัพทเกี่ยวกับ “สิ่งแวดลอมธรรมชาติ” ตามมติคณะรัฐมนตรี เม่ือวันที่ 21 กันยายน พ.ศ.2525 และใชนิยามศัพท “แหลงธรรมชาติประเภทโปงพุรอน” ตามโครงการแนวทางการจัดทําแผนแมบทเพื่อการอนุรักษสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ป พ.ศ. 2547 ของสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

1.3 ศึกษา รวบรวม วิเคราะห ขอบังคับ ระเบียบ หรือกฎหมายทองถิ่นในพื้นที่สิ่งแวดลอมธรรมชาติประเภทโปงพุรอน

1.4 ศึกษาขอมูลเปรียบเทียบการบริหารจัดการแหลงธรรมชาติประเภทโปงพุรอนในประเทศกับตางประเทศ ในดานนโยบาย กฎหมายบังคับใช องคกรบริหาร เปาหมาย วิธีการดําเนินการ เชน การมีสวนรวม และมาตรการตางๆ เปนตน

1.5 ศึกษาตัวชี้วัดและเกณฑสําหรับประเมินคุณคาสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ศักยภาพในการคงคุณคาสิ่งแวดลอมธรรมชาติ และการประเมินความเสี่ยงตอการถูกทําลายของแหลงธรรมชาติประเภทโปงพุรอนจากคูมือการจัดการแหลงธรรมชาติประเภทภูเขา ซ่ึงจัดทําโดย สํานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดลอม ป พ.ศ.2545 ซ่ึงคณะผูศึกษาไดทําการปรับปรุงและกําหนดเกณฑเพ่ิมเติม เพ่ือใหการประเมินครอบคลุม 4 ประเด็นหลัก คือ การประเมินดานคุณคาสิ่งแวดลอมธรรมชาติ การประเมินศักยภาพในการคงความเปนธรรมชาติตามลักษณะคุณคาของแหลงธรรมชาติประเภทโปงพุรอน การประเมินดานความเสี่ยงตอการถูกทําลายและการประเมินผลกระทบ

Page 22: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม 13

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

เบื้องตนจากกิจกรรมการใชประโยชน โดยมีรายละเอียดของเกณฑที่ใชในการประเมิน ดังน้ี

1) การประเมินดานคุณคาสิ่งแวดลอม ประกอบดวย 7 ตัวชี้วัด ที่แสดงใหเห็นถึงคุณคาของแหลงธรรมชาติ โดยเฉพาะเปนประเภทที่ไมสามารถฟนฟูคืนสูสภาพเดิมได เม่ือถูกทําลายลงแลวก็จะหมดสภาพไป ปจจัยชี้วัดและเกณฑดังแสดงในตารางที่ 1

2) การประเมินศักยภาพในการคงความเปนธรรมชาติตามลักษณะคุณคาของแหลงธรรมชาติประเภทโปงพุรอน ประกอบดวย 5 ตัวชี้วัด ปจจัยชี้วัดและเกณฑดังแสดงในตารางที่ 1

3) การประเมินดานความเสี่ยงตอการถูกทําลาย ประกอบดวย 7 ตัวชี้วัด ประกอบดวยความเสี่ยงจากการใชประโยชนและการพัฒนาในดานตางๆ ปจจัยชี้วัดและเกณฑดังแสดงในตารางที่ 1

4) การประเมินผลกระทบเบื้องตนจากกิจกรรมการใชประโยชน ประกอบดวย 9 ตัวชี้วัด ผลกระทบเบื้องตนที่เกิดขึ้นจากการใชประโยชนแหลงธรรมชาติประเภทโปงพุรอน ปจจัยชี้วัดและเกณฑดังแสดงในตารางที่ 1

1.6 การใหคาคะแนนแตละตัวชี้วัด (คา rated score หรือ คา Ri) กําหนดใหการประเมินคุณคาสิ่งแวดลอมธรรมชาติ การประเมินศักยภาพในการคงคุณคาสิ่งแวดลอมธรรมชาติ และการประเมินความเสี่ยงตอการถูกทําลาย เปน 5 ระดับ จากคาคะแนนระดับ 1 ถึง 5 และการประเมินผลกระทบเบื้องตนจากกิจกรรมการใชประโยชน เปน 6 ระดับ จากคาคะแนนระดับ 0 ถึง 5 โดยพิจารณาเทียบเคียงกับเกณฑการประเมินที่กําหนดขึ้น แลววิเคราะหขอมูลที่ไดจากการประเมิน โดยใชสมการถวงน้ําหนักอยางงาย (weighting score equation)

จากน้ันทําการเปรียบเทียบระดับคะแนนกับเกณฑที่กําหนด เพ่ือบงชี้สถานภาพปจจุบันของแหลงธรรมชาติประเภทโปงพุรอน ซ่ึงแบงเปน 3 ระดับ ดังน้ี

1.00-2.33 = ระดับต่ํา (low level) 2.34-3.67 = ระดับปานกลาง (moderate level) 3.68-5.00 = ระดับสูง (high level)

Page 23: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

14 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

ตารางที่ 1 ตัวชี้วัด คาถวงน้ําหนัก (Wi) และเกณฑในการประเมิน (Ri) คุณภาพสิ่งแวดลอมของแหลงธรรมชาติประเภทโปงพุรอน

ที่ ตัวชี้วัด คาถวงนํ้าหนัก

(Wi) เกณฑในการประเมิน (Ri)

1) การประเมินดานคุณคาสิ่งแวดลอมธรรมชาต ิ1 ลักษณะของน้ําพุรอนหรือ

แหลงโคลนเดอืด (เฉพาะแหลงธรรมชาติ)

3 1=เปนแหลงนํ้าอุนๆ แฉะๆ ไมมีลักษณะเปนบอ 2=มีแหลงนํ้ารอนขังอยูไมมากนัก เปนบอเล็กๆ 3=มีแองนํ้ารอนหรือโคลนรอนๆ ผุดขึ้นมาเล็กนอย

ตลอดเวลา 4=มีนํ้าพุรอนไหลออกมาตลอดเวลาแมจะไมพุงสูงแตก็

เห็นวามีแรงดันออกมาจากพื้น (หากถูกกั้นนํ้าพุรอนก็จะพุงสูงขึ้นมาได)

5=มีนํ้าพุงขึ้นมาสูงกวา 3 เมตร โดยธรรมชาติอาจไมตองพุงสูงตลอดเวลา

2 ความรอนของน้ําหรือโคลน 2 1=แทบไมรอนเลย 2=อุนๆ 3=รอนพอประมาณ 4=รอนขนาดตมไขสุกได 5=รอนมาก แตะไมได

3 กลิ่นของกํามะถัน 2 1=มีกลิ่นรุนแรงมากแสบจมูกจนทนไมได 2=มีกลิ่นแรง ยังพอทนได แตไมนาน 3=มีกลิ่นพอควรพอทนอยูไดนาน 4=มีกลิ่นเล็กนอยอาจรูสึกรําคาญบาง แตทนได 5=โดยทั่วๆ ไป อาจพูดไดวาไมมีกลิ่น

4 ปริมาณน้ํารอนที่ออกมา หรือถาเปนแหลงโคลนเดือดก็เปรียบเทียบความรุนแรงและความกวางในการเดือดตามลําดับเชนเดียวกบัปริมาณน้ํา

3 1=มีนอยมากแทบจะมีลักษณะเปนบริเวณแฉะๆ เทานั้น 2=มีนอยขังอยูเปนแองๆ และลนออกไปเรื่อยๆ 3=มีพอประมาณ ออกมาตลอดเวลา เปนที่นาสนใจ 4=มีมาก สามารถตอทอไปใชไดบาง แตไมมากนัก 5=มีมากทีเดียว มีนํ้ารอนออกมามากมายจนสามารถตอ

ทอนําไปใชประโยชนได ถาเปนแหลงโคลนเดือดก็มีบริเวณกวางและมีการเดือดอยางรุนแรง

Page 24: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม 15

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

ตารางที่ 1 (ตอ)

ที่ ตัวชี้วัด คาถวงนํ้าหนัก

(Wi) เกณฑในการประเมิน (Ri)

5 สภาพธรรมชาติบริเวณรอบๆ โปงพุรอน

2 1=สภาพไมนาสนใจ 2=สภาพน้ําพุรอนที่เล็กๆ ไมสําคัญ 3=สภาพน้ําพุรอนปกติไมสวยเดน 4=สภาพสวยพอควร 5=สภาพดีสวยงามมาก

6 โปงพุรอนเปนสวนหนึ่งของน้ําตก

1 1=ไมมีสภาพน้ําตก 2=มีบางสวนเปนนํ้าตกเล็กๆ 3=มีนํ้าพุรอนออกมามาก แตไมมีลักษณะเปนน้ําตกทั้งหมด 4=นํ้าพุรอนน้ีมีลักษณะเปนนํ้าตก แตไมเดนนัก 5=นํ้าพุรอนน้ีเปนนํ้าตกที่สวยงามมาก

7 ประเภทของโปงพุรอน 1 1=มีประเภทพุนํ้ารอนเทานั้น 2=มีประเภทพุนํ้ารอนและพุแกส 3=มีประเภทพุนํ้ารอนและไกเซอร 4=มีประเภทบอโคลน 5=มีมากกวา 2 ประเภท

2) การประเมินศักยภาพในการคงคุณคาสิ่งแวดลอมธรรมชาต ิ1 สภาพความสมบูรณของ

ธรรมชาตบิริเวณโดยรอบ 3 1=แทบไมมีธรรมชาติเหลือ

2=ธรรมชาติถกูดัดแปลงไปพอควร 3=ธรรมชาติเสื่อมโทรม แตไมถูกดัดแปลง 4=ธรรมชาติไมถูกดัดแปลงและมีสภาพดี 5=ธรรมชาติไมถูกดัดแปลงและมีสภาพสมบูรณดีมาก

2 มีทางเขาถึงโปงพุรอน 1 1=มีทางเขาสะดวกมากและธรรมชาตถิูกดัดแปลงมาก 2=มีทางเขาสะดวกและธรรมชาติเสียหายบาง 3=มีทางเขาสภาพดีและทําใหธรรมชาตเิสื่อมโทรมบาง 4=มีทางเขาไดแตยังมีลักษณะธรรมชาต ิ5=มีทางเขาถงึไดและไมทําลายธรรมชาต ิ

Page 25: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

16 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

ตารางที่ 1 (ตอ)

ที่ ตัวชี้วัด คาถวงนํ้าหนัก

(Wi) เกณฑในการประเมิน (Ri)

3 มีการดัดแปลงที่โปงพุรอน

3 1=ถูกกอสรางจนไมเหลือลักษณะธรรมชาต ิ2=มีการดัดแปลงบางสวนแตธรรมชาติเสื่อมโทรม 3=มีการดัดแปลงเพื่อใชประโยชน แตพยายามรักษา

ธรรมชาต ิ4=มีการดัดแปลงเล็กนอยแตยังคงสภาพธรรมชาติดี 5=ไมมีการดัดแปลง

4 เปนที่มีผูคนนยิมมาอาบนํ้าแรเพ่ือการรักษาโรค

2 1=มีผูคนมามาก 2=มีผูคนมาคอนขางมาก 3=มีผูคนมาพอควร 4=มีผูคนมานอย 5=ไมมี คงสภาพธรรมชาตมิาก

5 ความโดดเดนของภูมิทัศน

1 1=มีลักษณะภูมิทัศนที่ไมสวยงาม เกิดทัศนอุจาด ควรปรับปรุงอยางเรงดวน

2=มีลักษณะภูมิทัศนที่พบเห็นไดงาย ไมโดดเดนสวยงามเทาที่ควร

3=มีลักษณะภูมิทัศนที่โดดเดนสวยงามปานกลาง 4=มีลักษณะภูมิทัศนที่โดดเดนสวยงาม พบเห็นไดทั่วไป 5=มีลักษณะภูมิทัศนที่โดดเดนสวยงามมาก แปลกตาและ

เปนเอกลักษณ

3) การประเมินดานความเสี่ยงตอการถูกทําลาย 1 การใชประโยชนจากโปง

พุรอน 3 1=ไมมีการใชประโยชน

2=มีการใชประโยชนนอย (รอยละ 30 ของพื้นที่) 3=มีการใชประโยชนปานกลาง (รอยละ 50 ของพื้นที่) 4=มีการใชประโยชนสูง (รอยละ 70 ของพ้ืนที่) 5=มีการใชประโยชนสูงและไมมีการดูแลรักษา (ทั้งพ้ืนที่)

Page 26: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม 17

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

ตารางที่ 1 (ตอ)

ที่ ตัวชี้วัด คาถวงนํ้าหนัก

(Wi) เกณฑในการประเมิน (Ri)

2 การเดินทางเขาถึงโปงพุรอน

2 1=เขาถึงยากมาก (ตองเดินเทามากกวา 1 กม. เขาถึงโปงพุรอน)

2=เขาถึงคอนขางยาก (มีเสนทางเดินเทาเขาถึงโปงพุรอน อยางชัดเจน)

3=เขาถึงคอนขางงาย (ถนนลูกรังหรือถนนดิน รถยนตเขาถึงได)

4=เขาถึงงาย (อยูติดถนน หรือถนนลาดยาง รถยนตเขาถึงไดทุกประเภท)

5=เขาถึงไดโดยสะดวก (อยูติดถนนสายหลัก หรือ ถนนลาดยาง สองชองทางขึ้นไป)

3 การถูกบุกรุกและเปลี่ยนแปลงสภาพโปงพุรอน

3 1=ไมมีการบกุรุกและเปลี่ยนแปลง 2=มีการบุกรกุและเปลี่ยนแปลงสภาพเลก็นอยเพ่ือเขาไป

ใชประโยชน 3=มีการบุกรกุเขาไปใชประโยชนหลายอยาง แตบริเวณ

โปงพุรอนยังเปนธรรมชาต ิ4=มีการบุกรกุดัดแปลงโปงพุรอนทําใหเสียสภาพ

ธรรมชาตบิาง 5=มีการบุกรกุมาก มีกิจกรรมตางๆ ทําใหเสียสภาพ

ธรรมชาต ิ

4 มีสิ่งกอสรางที่ไมกลมกลืนกับบริเวณโดยรอบโปงพุรอน

2 1=ไมมี 2=มีสิ่งกอสราง แตไมขัดธรรมชาต ิ3=มีสิ่งกอสราง และขัดธรรมชาต ิ4=มีสิ่งกอสรางปานกลาง 5=มีสิ่งกอสรางมาก

Page 27: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

18 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

ตารางที่ 1 (ตอ)

ที่ ตัวชี้วัด คาถวงนํ้าหนัก

(Wi) เกณฑในการประเมิน (Ri)

5 มีโครงการดัดแปลงโปงพุรอนเพ่ือประโยชนดานตางๆ

3 1=ไมมีโครงการเลย 2=มีโครงการดัดแปลงเล็กนอย 3=มีโครงการเล็กๆ ที่ดัดแปลงธรรมชาตเิล็กนอย 4=มีแผนทําโครงการดัดแปลง แตยังไมไดเริ่มทํา ถาทําจะ

เสียสภาพธรรมชาต ิ5=มีโครงการทําใหเปลีย่นสภาพจากธรรมชาติแลว

6 ขยะ 1 1=ไมพบเห็นขยะและสิ่งปฏิกูล 2=พบเห็นขยะและสิ่งปฏิกลูบริเวณโปงพุรอนเล็กนอย

(รอยละ 10 ของพ้ืนที่) 3=พบเห็นขยะและสิ่งปฏิกลูบริเวณโปงพุรอนบาง (รอยละ

20 ของพื้นที่) 4=พบเห็นขยะและสิ่งปฏิกลูบริเวณโปงพุรอนปานกลาง

(รอยละ 30 ของพ้ืนที่) 5=พบเห็นขยะและสิ่งปฏิกลูบริเวณโปงพุรอนมาก (รอยละ

40 ของพื้นที่)

7 ความเสี่ยงจากภัยธรรมชาต ิ

2 1=ไมมีภัยธรรมชาต ิ2=มีภัยธรรมชาติเกิดนอย 3=มีภัยธรรมชาติเกิดปานกลาง เชน นํ้าทวม ไฟปา ดินถลม4=มีภัยธรรมชาติเกิดคอนขางบอยครั้ง เชน นํ้าทวม ไฟปา

ดินถลม แผนดินไหว 5=มีภัยธรรมชาติเกิดบอยคร้ัง เชน นํ้าทวม ไฟปา ดินถลม

แผนดินไหว

4) การประเมินผลกระทบเบือ้งตนจากกิจกรรมการใชประโยชน 1 พืชพรรณที่ถกูหัก/เด็ด - 0=ไมปรากฏเลย

1=รุนแรงนอย 2=รุนแรงคอนขางนอย 3=รุนแรงปานกลาง

Page 28: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม 19

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

ตารางที่ 1 (ตอ)

ที่ ตัวชี้วัด คาถวงนํ้าหนัก

(Wi) เกณฑในการประเมิน (Ri)

4=รุนแรงคอนขางมาก 5=รุนแรงมาก

2 ลูกไมขนาดเลก็ถูกเหยียบย่ํา

- 0=ไมปรากฏเลย 1=รุนแรงนอย 2=รุนแรงคอนขางนอย 3=รุนแรงปานกลาง 4=รุนแรงคอนขางมาก 5=รุนแรงมาก

3 สัตวปาถูกรบกวน - 0=ไมปรากฏเลย 1=รุนแรงนอย 2=รุนแรงคอนขางนอย 3=รุนแรงปานกลาง 4=รุนแรงคอนขางมาก 5=รุนแรงมาก

4 สารแขวนลอยในน้ํา - 0=ไมปรากฏเลย 1=รุนแรงนอย 2=รุนแรงคอนขางนอย 3=รุนแรงปานกลาง 4=รุนแรงคอนขางมาก 5=รุนแรงมาก

5 ของเสียมนุษย - 0=ไมปรากฏเลย 1=รุนแรงนอย 2=รุนแรงคอนขางนอย 3=รุนแรงปานกลาง 4=รุนแรงคอนขางมาก 5=รุนแรงมาก

6 กลิ่นที่ไมพึงปรารถนา - 0=ไมปรากฏเลย 1=รุนแรงนอย 2=รุนแรงคอนขางนอย

Page 29: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

20 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

ตารางที่ 1 (ตอ)

ที่ ตัวชี้วัด คาถวงนํ้าหนัก

(Wi) เกณฑในการประเมิน (Ri)

3=รุนแรงปานกลาง 4=รุนแรงคอนขางมาก 5=รุนแรงมาก

7 การบดบังทัศนียภาพโดยสิ่งปลูกสราง

- 0=ไมปรากฏเลย 1=รุนแรงนอย 2=รุนแรงคอนขางนอย 3=รุนแรงปานกลาง 4=รุนแรงคอนขางมาก 5=รุนแรงมาก

8 ความขัดแยงระหวางกิจกรรมการใช ประโยชนพ้ืนที่ (ระหวางกิจกรรมทองเที่ยวดวยกันเอง)

- 0=ไมปรากฏเลย 1=รุนแรงนอย 2=รุนแรงคอนขางนอย 3=รุนแรงปานกลาง 4=รุนแรงคอนขางมาก 5=รุนแรงมาก

9 ขยะ (ปริมาณ) - 0=ไมปรากฏเลย 1=รุนแรงนอย 2=รุนแรงคอนขางนอย 3=รุนแรงปานกลาง 4=รุนแรงคอนขางมาก 5=รุนแรงมาก

หมายเหตุ: (-) หมายถึง ไมนําคาถวงน้าํหนัก (Wi) มาคํานวณ

Page 30: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม 21

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

1.7 การประเมินทางสถาปตยกรรมและภูมิสถาปตยกรรม ทําการสํารวจและรวบรวมขอมูลทางสถาปตยกรรมและภูมิสถาปตยกรรมภาคสนาม โดยใชแบบบันทึกขอมูลเกี่ยวกับสุนทรียภาพ การพัฒนาทางกายภาพ และประเด็นปญหาที่พบในพื้นที่ จากนั้น ทําการประเมินผลกระทบดานสิ่งแวดลอมทางกายภาพของแหลงธรรมชาติประเภทโปงพุรอนโดยใชแบบประเมินความเหมาะสม ซ่ึงประกอบดวยตัวชี้วัด 5 ตัวชี้วัด โดยมีคาคะแนนตั้งแต 1 ถึง 4 โดย 1 = เหมาะสมนอยที่สุด จนถึง 4 = เหมาะสมมากที่สุด รายละเอียดดังแสดงในตารางที่ 2

ตารางที่ 2 ตัวชีว้ัด คาถวงน้ําหนัก (Wi) และเกณฑการประเมินความเหมาะสมดานสถาปตยกรรม

ตัวชี้วัด คาถวง

นํ้าหนัก (Wi) เกณฑในการประเมิน (Ri)

1. คุณคาดานการใชประโยชนของมนุษย (การใชประโยชนอาคาร)

4 4=ใหประโยชนดานการใชงานสูงสุด 3=ใหประโยชนปานกลาง 2=ไมใหประโยชน 1=สงผลกระทบดานการใชงานที่ไมเหมาะสม

2. คุณคาดานสุนทรียภาพของพื้นที่ (ความสอดคลองกับสภาพพื้นที่)

4 4=ใหคุณคาสูงสุด 3=ใหคุณคาปานกลาง 2=ไมใหคุณคาแตอยางใด 1=สงผลกระทบและความขัดแยง

3. ความเหมาะสมดานตําแหนงที่ตั้ง (ตําแหนงที่ตั้งอาคาร)

3 4=ที่ตั้งเหมาะสม 3=ที่ตั้งเหมาะสมปานกลาง 2=ที่ตั้งไมเหมาะสม 1=ที่ตั้งกอใหเกิดปญหา

4. ความกลมกลนืดานสัณฐาน (ขนาดอาคาร)

2 4=กลมกลืนเหมาะสมดี 3=เหมาะสมปานกลาง 2=ไมขัดแยง 1=ขัดแยงจนทําลายคุณคาของธรรมชาติ

5. ความสอดคลองดานรูปลักษณ (วัสดุและการตกแตงอาคาร)

1 4=รูปลักษณเหมาะสมกลมกลืน 3=รูปลักษณสะทอนตัวตนในพื้นที่ 2=รูปลักษณไมกลมกลืน 1=รูปลักษณสรางปญหาและสงผลกระทบ

Page 31: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

22 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

ข้ันตอนที่ 2 สํารวจและประเมินคุณคาของสิ่งแวดลอมธรรมชาติประเภทโปงพุรอน 2.1 จับพิกัดทางภูมิศาสตรของแหลงธรรมชาติประเภทโปงพุรอนทั่วประเทศ ดวย

อุปกรณเครื่องจับพิกัดทางภูมิศาสตร (Global Positioning System, GPS) 2.2 จัดทําแผนที่ฐานโดยใชแผนที่สภาพภูมิประเทศ มาตราสวน 1:50,000 พรอม

ระบุขอบเขตของพื้นที่ศึกษาและแหลงธรรมชาติประเภทโปงพุรอนลงในแผนที่ ประกอบดวย แผนที่การกระจายแหลงธรรมชาติประเภทโปงพุรอน แผนที่ระดับคุณคาสิ่งแวดลอมธรรมชาติ แผนที่ระดับศักยภาพในการคงคุณคาสิ่งแวดลอมธรรมชาติ แผนที่ระดับความเสี่ยงของการถูกทําลาย แผนที่ระดับผลกระทบเบื้องตน และแผนที่ประเภทกลุมแหลงธรรมชาติประเภทโปงพุรอน

2.3 สํารวจขอมูลสถานการณสิ่งแวดลอมและประเมินคุณคา ศักยภาพ ความเสี่ยงผลกระทบเบื้องตนของแหลงธรรมชาติประเภทโปงพุรอน และประเมินความเหมาะสมทางสถาปตยกรรม จํานวน 124 แหง

2.4 จัดลําดับความสําคัญแหลงธรรมชาติประเภทโปงพุรอน โดยนําผลการประเมินคุณคาสิ่งแวดลอมธรรมชาติ มาพิจารณารวมกับการประเมินศักยภาพในการคงคุณคาสิ่งแวดลอมธรรมชาติ แลวนําการประเมินความเสี่ยงตอการถูกทําลายและผลการประเมินผลกระทบเบื้องตนจากกิจกรรมการใชประโยชนของแหลงธรรมชาติ มาใชพิจารณาจัดกลุมไดเปน 4 กลุม คือ กลุมที่ 1 คุณคาความสําคัญสูง ความเสี่ยงสูง กลุมที่ 2 คุณคาความสําคัญสูง ความเสี่ยงต่ํา กลุมที่ 3 คุณคาความสําคัญต่ํา ความเสี่ยงต่ํา กลุมที่ 4 คุณคาความสําคัญต่ํา ความเสี่ยงสูง

2.5 คัดเลือกแหลงธรรมชาติประเภทโปงพุรอนที่อยูในกลุม 1 หรือกลุมที่ 2 ซ่ึงมีคาคะแนนของคุณคาความสําคัญ (คะแนนเต็ม 100 คะแนน) และความเสี่ยง (คะแนนเต็ม 100 คะแนน) รวมมากที่สุดในอันดับตนๆ เพ่ือเปนตัวอยางในการศึกษาจัดทํามาตรฐานสิ่งแวดลอมธรรมชาติ (พ้ืนที่ศึกษานํารอง) ซ่ึงผลการศึกษาพบวา สํานักสงฆธารน้ํารอน อําเภอทาฉาง จังหวัดสุราษฎรธานีมีคาคะแนนรวมมากที่สุด คือ 120.12 จึงคัดเลือกเปนพ้ืนที่ศึกษานํารอง

ข้ันตอนที่ 3 ศึกษาสถานการณคุณภาพสิ่งแวดลอมปจจุบันของแหลงธรรมชาตปิระเภท

โปงพุรอน 3.1 ศึกษาสถานการณคุณภาพสิ่งแวดลอมปจจุบันของแหลงธรรมชาติโปงพุรอน

ในพื้นที่ศึกษานํารอง ในดานกายภาพ ชีวภาพ คุณคาการใชประโยชนของชุมชนในปจจุบัน และโครงการพัฒนาที่มีผลกระทบตอแหลงธรรมชาติในพ้ืนที่ดําเนินการในชวงระยะเวลา 5 ปที่ผานมา

Page 32: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม 23

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

3.2 ศึกษาวิเคราะหสาเหตุ ปญหา อุปสรรคและผลกระทบที่เกิดขึ้น

ข้ันตอนที่ 4 กําหนดตัวชี้วัดและเกณฑมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติประเภทโปงพุรอนซึ่งผูที่ เกี่ยวของและรับผิดชอบในการบริหารจัดการในพื้นที่เปาหมายสามารถนําไปใชเปนกรอบในการดําเนินงานไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยมีรายละเอียดดังน้ี

4.1 กําหนดเปาของการอนุรักษแหลงธรรมชาติประเภทโปงพุรอนในพื้นที่ศึกษานํารอง

4.2 กําหนดปจจัยชี้วัดผลกระทบและเกณฑมาตรฐาน โดยใชหลักการ Limits of Acceptable Change (LAC)

4.3 จัดประชุมกลุมยอยเพ่ือระดมสมองเกี่ยวกับมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมของแหลงธรรมชาติโปงพุรอน

ข้ันตอนที่ 5 ประเมินผลกระทบเปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐานที่กําหนดขึ้น 5.1 สํารวจรวบรวมขอมูลปฐมภูมิตามปจจัยชี้วัดผลกระทบที่กําหนดขึ้น ในพ้ืนที่

ศึกษานํารอง 5.2 เปรียบเทียบขอมูลที่สํารวจไดกับเกณฑมาตรฐานเพื่อระบุสถานภาพดาน

คุณภาพสิ่งแวดลอมของแหลงธรรมชาติโปงพุรอนที่คัดเลือกเปนพ้ืนที่ศึกษานํารอง

5.3 กําหนดรูปแบบการติดตามตรวจสอบประเมินผลการพัฒนาและการบริหารจัดการสําหรับทองถิ่นและชุมชนอยางมีสวนรวม รวมถึงสรางกลไกในการประชาสัมพันธ

ข้ันตอนที่ 6 จัดทําฐานขอมูลของแหลงธรรมชาติประเภทโปงพุรอนในรูปแบบสารสนเทศ

ทางภูมิศาสตรและระบบขอมูลสารสนเทศ (IS) ในการติดตามผลกระทบสิ่งแวดลอมของแหลงธรรมชาติประเภทโปงพุรอน

6.1 รวบรวมและวิเคราะหความตองการของหนวยงาน โดยจากการสํารวจความตองการของผู ใชงานและลักษณะการทํางานในการประเมินคุณภาพสิ่งแวดลอมประเภทโปงพุรอนในปจจุบันของหนวยงานในพื้นที่ รวมทั้งหนวยงานดูแลเครื่องใหบริการเว็บเพจและบริการฐานขอมูลของสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

6.2 นําตัวชี้วัดและเกณฑสําหรับประเมินคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติประเภทโปงพุรอนมาออกแบบจัดทําระบบสารสนเทศเพื่อการประเมินและติดตามคุณภาพสิ่งแวดลอม

6.3 วิเคราะหโครงสรางการทํางานของฐานขอมูลและระบบสารสนเทศ

Page 33: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

24 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

6.4 จัดทําระบบฐานขอมูลสถานภาพปจจุบันของแหลงโปงพุรอน 6.5 พัฒนาแอพพลิเคชั่น สําหรับการประเมินคุณภาพสิ่งแวดลอมฯ พรอมทั้งสราง

ตัวตนแบบ (prototype) พรอมทั้งทําการทดสอบคุณภาพไปพรอมๆ กับการปรับปรุงแอพพลิเคชั่นใหเหมาะสมกับการใชงาน

6.6 การติดตั้งระบบสารสนเทศที่ไดทดสอบคุณภาพการใชงานแลวและทดสอบการใชงานจริงทั้งในหนวยงานกลางและหนวยงานในพื้นที่

ข้ันตอนที่ 7 กําหนดกรอบนโยบาย แนวทาง มาตรการ และการบริหารจัดการที่เหมาะสม

ในการดําเนินงานดานการอนุรักษสิ่งแวดลอมธรรมชาติประเภทโปงพุรอน ที่มีความเหมาะสมกับศักยภาพของพื้นที่ มีความเปนไปไดในทางปฏิบัติ และสอดคลองกับเกณฑมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติประเภทโปงพุรอน เสนอแนวคิดดานการอนุรักษและการพัฒนา (เทาที่จําเปน) อยางยั่งยืนสําหรับกรณีตัวอยาง เชน การวางระบบสาธารณูปโภค การกอสรางสิ่งอํานวยความสะดวก การจัดภูมิทัศนบริเวณโดยรอบ รวมถึงรูปแบบการใชประโยชนที่จําเปนและเหมาะสมในแตละพ้ืนที่ การพัฒนาชุมชน เศรษฐกิจ-สังคม การรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมและวิถีชีวิตชุมชน โดยเนนการรักษาและคงความเปนธรรมชาติรวมทั้งระบบนิเวศธรรมชาติที่มีอยูในบริเวณโปงพุรอนเดิมใหมากที่สุด

ข้ันตอนที่ 8 จัดประชุมสัมมนาเพ่ือประชาสัมพันธการจัดทํามาตรฐานและมีสวนรวมในการ

จัดทําแผนฯ ในพ้ืนที่แหลงธรรมชาติของทองถิ่นรวมทั้งสรางจิตสํานึกใหทุกภาคสวนมีสวนรวมในการอนุรักษสิ่งแวดลอมธรรมชาติประเภทโปงพุรอนเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพใหทุกภาคีสามารถดําเนินการบริหารจัดการสิ่งแวดลอมธรรมชาติในเชิงรุก ประกอบดวย ผูทรงคุณวุฒิ ผูแทนภาคประชาชน ทองถิ่น หนวยงานภาครัฐ ผูประกอบการ และภาคเอกชน รวม 1 ครั้ง และรวบรวมขอมูลที่ไดจากการศึกษา สํารวจ และรับฟงความคิดเห็นของชุมชนในพื้นที่ รวมทั้งประเด็นปญหา ขอจํากัด ขอเสนอแนะจากทุกภาคสวน มาประกอบการจัดทําแนวทางการอนุรักษสิ่งแวดลอมแหลงธรรมชาติประเภทโปงพุรอน

Page 34: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม 25

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

4. ขอมูลพื้นฐานของแหลงธรรมชาติประเภทโปงพุรอน

4.1 จํานวนและการกระจายตัวของแหลงธรรมชาติประเภทโปงพุรอน

ปจจุบันพบแหลงธรรมชาติประเภทโปงพุรอนจํานวน 124 แหลง ดังแสดงในภาพที่ 1 และตารางที่ 3 กระจายตัวอยูทั่วไปในทุกภูมิภาคของประเทศไทย ยกเวนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (กรมทรัพยากรธรณี, 2544; สถาบันวิจัยสภาวะแวดลอม, 2547; จากการสํารวจภาคสนาม, 2551) ในภาคเหนือ มีแหลงโปงพุรอนอยูมากที่สุด จํานวน 68 แหง เน่ืองจากภาคเหนือประกอบไปดวยเทือกเขาและภูเขา และโปงพุรอนมักเกิดขึ้นบริเวณที่เปลือกโลกมีการเคลื่อนไหวตัว บริเวณลาดเขาหรือไหลเขาที่เปนรอยเล่ือนรอยแตกและเปนจุดตัดระหวางชั้นของหินกับชั้นของดิน หากสํารวจลึกลงไปใตดิน จะพบวาภาคเหนือมีธารน้ํารอนและโปงนํ้ารอนกระจายอยูทั่วไป และธารน้ํารอนน้ีจะผุดพุงขึ้นตามรอยแตกของเปลือกโลกออกมาในลักษณะของน้ําพุรอน ภาคใตมีจํานวนแหลงโปงพุรอนรองลงมา คือ 36 แหง ซ่ึงแสดงใหเห็นวาบริเวณภาคใตก็มีรอยเลื่อนใตผิวโลกที่ทําใหนํ้าที่กักเก็บอยูภายใตชั้นหินถูกดันขึ้นมา แตโปงพุรอนในภาคใตมีแรงดันไมมากนัก เปนเพียงน้ําไหลรินออกมาสูธารน้ําหรือบอนํ้า และอุณหภูมิของน้ําก็ไมสูงนัก มักจะต่ํากวา 50 องศาเซลเซียส สวนภาคกลางพบ 18 แหงและภาคตะวันออกพบ 2 แหง

Page 35: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

26 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

ภาพที่ 1 การกระจายของแหลงธรรมชาติประเภทโปงพุรอน

Page 36: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม 27

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

ตารางที่ 3 รายชื่อแหลงธรรมชาติประเภทโปงพุรอน

ท่ีต้ังตามการปกครอง ท่ี

รหัสแหลง

ชื่อแหลง บาน ตําบล อําเภอ จังหวัด ภูมิภาค

หนวยงานดูแล

1 CM1 สันกําแพง โปงฮอม บานสหกรณ

แมออน เชียงใหม เหนือ กลุมน้ําพุรอนสันกําแพง

2 CM2 ดอยสะเก็ด (โปงกุม) โปงสามัคคี ปาเมี่ยง ดอยสะเก็ด เชียงใหม เหนือ อบต.ปาเมี่ยง 3 CM3 แมฝาง อช.ดอยผา

หมปก โปงน้ํารอน ฝาง เชียงใหม เหนือ อช.ดอยผาหมปก

4 CM4 ปาแป แมแสะ ปาแป แมแตง เชียงใหม เหนือ อช.หวยน้ําดัง 5 CM5 เทพพนม อมขูด กองแขก แมแจม เชียงใหม เหนือ อช.ออบหลวง 6 CM6 โปงเหม็น โปงเหม็น กองแขก แมแจม เชียงใหม เหนือ อช.แมโถ/อบต.

กองแขก 7 CM7 ปงโคง ปงโคง ปงโคง เชียงดาว เชียงใหม เหนือ อบต.ปงโคง 8 CM8 โปงอาง โปงอาง เมืองนะ เชียงดาว เชียงใหม เหนือ อช.ผาแดง 9 CM9 ยางปูโตะ

(โปงโรงวัว) ยางปูโตะ เชียงดาว เชียงดาว เชียงใหม เหนือ อบต.เชียงดาว

10 CM10 ยางทุงโปง ยางทุงโปง แมนะ เชียงดาว เชียงใหม เหนือ อบต.แมนะ 11 CM11 บานโปง บานโปง บานโปง พราว เชียงใหม เหนือ เอกชน/อบต.บานโปง

12 CM12 หนองครก หนองครก สันทราย พราว เชียงใหม เหนือ อบต.สันทราย 13 CM13 หวยงู หวยงู แมปง พราว เชียงใหม เหนือ เทศบาลตําบลแมปง 14 CM14 โปงเย็น โปงเย็น สันทราย พราว เชียงใหม เหนือ อบต.สันทราย 15 CM15 บานประดู บานประดู พราว เชียงใหม เหนือ 16 CM16 มะลิกา

(โปงเมืองงาม) เมืองงาม ทาตอน แมอาย เชียงใหม เหนือ อบต.ทาตอน

17 CM17 แมจา เปยงหลวง ทุงขาวพวง เชียงดาว เชียงใหม เหนือ อช.ผาแดง 18 CM18 โปงบัวบาน โปงบัวบาน แมปง พราว เชียงใหม เหนือ เทศบาลตําบลแมปง 19 CM19 แมโต แมโต แมสาบ สะเมิง เชียงใหม เหนือ อช.ขุนขาน 20 CR1 โปงนาคํา โปงนาคํา ดอยฮาง เมือง เชียงราย เหนือ อบต.ดอยฮาง 21 CR2 หวยหมากเลี่ยม

(ยางผาเคียว) อช.ลําน้ํากก ดอยฮาง เมือง เชียงราย เหนือ อช.ลําน้ํากก

22 CR3 ผาเสริฐ (โปงน้ํารอน) ผาเสริฐ ดอยฮาง เมือง เชียงราย เหนือ อบต.ดอยฮาง 23 CR4 ปาตึง (แมจัน) โปงน้ํารอน ปาตึง แมจัน เชียงราย เหนือ อบต.ปาตึง

Page 37: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

28 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

ตารางที่ 3 (ตอ)

ท่ีต้ังตามการปกครอง ท่ี

รหัสแหลง

ชื่อแหลง บาน ตําบล อําเภอ จังหวัด ภูมิภาค

หนวยงานดูแล

24 CR5 โปงปูเฟอง โปงปูเฟอง แมสรวย แมสรวย เชียงราย เหนือ อบต.แมสรวย

25 CR6 สบโปง โปงปา แมเจดียใหม

เวียงปาเปา

เชียงราย เหนือ อบต.แมเจดียใหม

26 CR7 หวยทรายขาว หวยทรายขาว

ทรายขาว พาน เชียงราย เหนือ แขวงการทางเชียงรายที่ 1

27 CR8 โปงพระบาท โปงพระบาท บานดู เมือง เชียงราย เหนือ เทศบาลตําบลบานดู

28 CR9 นาโปง แมสลองนอก ศรีค้ํา แมจัน เชียงราย เหนือ เอกชน/อบต.ศรีค้าํ

29 KP1 พระรวง ลานดอกไม

ลานดอกไม เมือง กําแพงเพชร เหนือ อบจ.กําแพงเพชร

30 KP2 สํานักสงฆโปงน้ํารอน โปงน้ํารอน โปงน้ํารอน คลองลาน กําแพงเพชร เหนือ อบต.โปงน้ํารอน 31 KP3 แมวงก อช.แมวงก ปางตาไว ปางศิลาทอง กําแพงเพชร เหนือ อช.แมวงก 32 KP4 โปงแกสธรรมชาติ

คลองโปง อช.คลองวังเจา

เชียงทอง วังเจา ตาก เหนือ อช.คลองวังเจา

33 KP5 โปงแกสธรรมชาติเตาดํา

อช.คลองวังเจา

โปงน้ํารอน

คลองลาน กําแพงเพชร เหนือ อช.คลองวังเจา

34 LN1 เหมืองเทพนิธิ ทากาศ ทากาศ แมทา ลําพูน เหนือ เอกชน/อบต.ทาขุมเงิน

35 LN2 หนองหลม หนองหลม ศรีบัวบาน เมือง ลําพูน เหนือ อบต.ศรีบัวบาน

36 LP1 แจซอน อช.แจซอน แจซอน เมืองปาน ลําปาง เหนือ อช.แจซอน

37 LP2 เวียงเหนือ เวียงทอง เมืองยาว หางฉัตร ลําปาง เหนือ อบต.เมืองยาว

38 LP3 โปงรอน โปงรอน ใหมพัฒนา เกาะคา ลําปาง เหนือ อบต.ใหมพัฒนา

39 LP4 โปงน้ํารอน โปงน้ํารอน เสริมกลาง เสริมงาม ลําปาง เหนือ อบต.เสริมกลาง 40 LP5 โปงเหม็น แมตาลนอย เวียงตาล หางฉัตร ลําปาง เหนือ อช.ดอยขุนตาล 41 LP6 หวยน้ํารอน

(โปงน้ํารอน) แมงาว แมตีบ งาว ลําปาง เหนือ อช.แมยม

42 LP7 หวยเรียน หวยเรียน เวียงตาล หางฉัตร ลําปาง เหนือ อช.ดอยขุนตาล

43 MH1 ผาบอง ผาบอง ผาบอง เมือง แมฮองสอน เหนือ อบต.ผาบอง

44 MH2 โปงสัก ตาลเจ็ดตน เวียงเหนือ ปาย แมฮองสอน เหนือ อช.หวยน้ําดัง/อบต.เวียงเหนือ

45 MH3 ทาปาย (โปงไหม) ทาปาย แมฮี้ ปาย แมฮองสอน เหนือ อช.หวยน้ําดัง

Page 38: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม 29

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

ตารางที่ 3 (ตอ)

ท่ีต้ังตามการปกครอง ท่ี

รหัสแหลง

ชื่อแหลง บาน ตําบล อําเภอ จังหวัด ภูมิภาค

หนวยงานดูแล

46 MH4 โปงปะ ตาลเจ็ดตน เวียงเหนือ ปาย แมฮองสอน เหนือ อช.หวยน้ําดัง/อบต.เวียงเหนือ

47 MH5 เหมืองแร เหมืองแร เมืองแปง ปาย แมฮองสอน เหนือ อบต.เมืองแปง 48 MH6 แมนะ (ไทรงาม) แมนะ/ไทร

งาม แมนาเติง ปาย แมฮองสอน เหนือ ขสป.ลุมน้ํา

ปาย/อบต.แมนาเติง

49 MH7 เมืองแปง เมืองแปง เมืองแปง ปาย แมฮองสอน เหนือ อบต.เมืองแปง 50 MH8 แมฮี้ แมฮี้ แมฮี้ ปาย แมฮองสอน เหนือ อบต.แมฮี้ 51 MH9 แมฮุ หวยหมากไฟ แมลานอย แมลานอย แมฮองสอน เหนือ อบต.แมลานอย

52 MH10 แมอุมลอง แมอุมลอง ปาแป แมสะเรียง แมฮองสอน เหนือ อบต.ปาแป 53 MH11 หนองแหง หนองแหง เมืองปอน ขุนยวม แมฮองสอน เหนือ อบต.เมืองปอน 54 MH12 โปงจะจา ปาย แมฮองสอน เหนือ N/A 55 MH13 หวยโปง หวยโปง ผาบอง เมือง แมฮองสอน เหนือ อบต.ผาบอง 56 NN1 น้ํากิ น้ํากิ ผาทอง ทาวังผา นาน เหนือ อช.นันทบุรี 57 PR1 ปนเจน ปนเจน แมเกิ๋ง วังชิ้น แพร เหนือ อบต.แมเกิ๋ง 58 PR2 แมจอก แมจอก แมปาก วังชิ้น แพร เหนือ อบต.แมปาก 59 PR3 แมหลู แมหลูฝง

ตะวันออก แมปาน ลอง แพร เหนือ อบต.แมปาน

60 PR4 วัดสะแลง นาหลวง หวยออ ลอง แพร เหนือ อบต.หวยออ 61 SK1 โปรงลําปาง โปรงลําปาง แมสิน ศรีสัชนาลัย สุโขทัย เหนือ อบต.แมสิน

62 SK2 บอน้ํารอน สุเมน แมสิน ศรีสัชนาลัย สุโขทัย เหนือ อบต.แมสิน

63 TK1 แมกาษา โพธิ์ทอง แมกาษา แมสอด ตาก เหนือ กลุมน้ําพุรอนแมกาษา

64 TK2 หวยโปงรอน (หมองวา)

หมองวา ขะเนจื้อ แมระมาด ตาก เหนือ อบต.ขะเนจื้อ

65 TK3 หวยน้ํานัก (พาเจริญ)

ชองแคบ ชองแคบ พบพระ ตาก เหนือ อช.น้ําตกพาเจริญ

66 TK4 หวยแมแล เขาโมโกจู แมละมุง อุมผาง ตาก เหนือ อบต.อุมผาง

67 TK5 หวยแมกลอง หวยแมกลอง แมกลอง อุมผาง ตาก เหนือ ขสป.อุมผาง 68 UT1 สมอทอง สมอทอง ทองหลาง หวยคต อุทัยธานี เหนือ อบต.ทองหลาง 69 CP1 ถํ้าเขาพลู (ละแม) ดวด สวนแตง ละแม ชุมพร ใต อบต.สวนแตง

70 KB1 บานหวยยูงตก หวยยูงตก หวยยูง เหนือคลอง กระบ่ี ใต เอกชน

Page 39: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

30 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

ตารางที่ 3 (ตอ)

ท่ีต้ังตามการปกครอง ท่ี

รหัสแหลง

ชื่อแหลง บาน ตําบล อําเภอ จังหวัด ภูมิภาค

หนวยงานดูแล

71 KB2 คลองบอน้ํารอน ตลาดเหนือคลอง

เหนือคลอง

เหนือคลอง กระบ่ี ใต เทศบาลตําบลเหนือคลอง

72 KB3 บางผึ้ง บางผึ้ง โคกยาง คลองทอม กระบ่ี ใต เอกชน 73 KB4 บานน้ํารอน น้ํารอน หวยน้ําขาว คลองทอม กระบ่ี ใต อบต.หวยน้ําขาว 74 KB5 บานบางคราม บางคราม คลองทอม

เหนือ คลองทอม กระบ่ี ใต อบต.คลองทอม

เหนือ 75 NS1 บานบอน้ํารอน วัดน้ํารอน ทุงสง นครศรีธรรมราช ใต 76 NS2 อุทยานบอน้ํารอน น้ํารอน บางขัน นครศรีธรรมราช ใต 77 PG1 คลองปลายพู

(ปากพู) ปลายพู ทานา กะปง พังงา ใต อบต.ทานา

78 PG2 รมณีย รมณีย รมณีย กะปง พังงา ใต อบต.รมณีย 79 PG3 บานบอดาน บอดาน โคกกลอย ทายเหมือง พังงา ใต เอกชน 80 PL1 เขาชัยสน เขาชัยสน เขาชัยสน เขาชัยสน พัทลุง ใต อบต.เขาชัยสน 81 PL2 โละจังกระ โละจังกระ คลองเฉลิม กงหรา พัทลุง ใต ชุมชนบานโละ

จังกระ 82 PL3 บานนาทุงโพธิ์ นาทุงโพธิ์ คลองเฉลิม กงหรา พัทลุง ใต ขสป.เทือกเขา

บรรทัด 83 PL4 บานระหวางควน ระหวางควน ประดุมวัง ควนขนุน พัทลุง ใต ชุมชนบาน

ระหวางควน 84 RN1 รักษวาริน สวนรุกขชาติ

รักษวาริน หาดสมแปน เมือง ระนอง ใต เทศบาลเมือง

ระนอง 85 RN2 บานทุงยอ

(พรุหลุมพี) ทุงยอ บางริ้น เมือง ระนอง ใต อบต.บางริ้น

86 RN3 บานพรรั้ง พรรั้ง หงาว เมือง ระนอง ใต อช.น้ําตกหงาว 87 RN4 คลองบางริ้น ทุงยอ บางริ้น เมือง ระนอง ใต อบต.บางริ้น 88 RN5 ราชกรูด หวยน้ําใส ราชกรูด เมือง ระนอง ใต คายรัตนรังสรรค 89 RN6 หาดยาย อช.ลําน้ํา

กระบุรี บางพระเหนือ

ละอุน ระนอง ใต อช.ลําน้ํากระบุรี

90 SL1 บอน้ํารอน ถํ้าตลอด เขาแดง สะบายอย สงขลา ใต อบต.เขาแดง 91 SR1 บอนอก น้ําพุรอน เลม็ด ไชยา สุราษฎรธานี ใต อบต.เลม็ด 92 SR10 บอน้ําพุรอน อช.แกงกรุง ตะกุกเหนือ วิภาวดี สุราษฎรธานี ใต อช.แกงกรุง

93 SR2 สวนโมกนานาชาติ ในเขา เลม็ด ไชยา สุราษฎรธานี ใต สวนโมกนานาชาติ

Page 40: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม 31

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

ตารางที่ 3 (ตอ)

ท่ีต้ังตามการปกครอง ท่ี

รหัสแหลง

ชื่อแหลง บาน ตําบล อําเภอ จังหวัด ภูมิภาค

หนวยงานดูแล

94 SR3 วังหิน วังหิน เพ่ิมพูนทรัพย

บานนาสาร สุราษฎรธานี ใต อบต.เพ่ิมพูนทรัพย

95 SR4 บอน้ํารอน บอน้ํารอน กรูด กาญจนดิษฐ สุราษฎรธานี ใต อบต.กรูด 96 SR5 สํานักสงฆธารน้ํารอน ธารน้ํารอน เขาถาน ทาฉาง สุราษฎรธานี ใต อบต.เขาถาน 97 SR6 เขานอย (วัดถํ้าสิงขร) เขานอย ถํ้าสิงขร คีรีรัฐนิคม สุราษฎรธานี ใต อบต.ถํ้าสิงขร 98 SR7 รัตนโกสัย

(ทาสะทอน) ทาสะทอน ทาสะทอน พุนพิน สุราษฎรธานี ใต อบจ.สุราษฎร

ธานี 99 SR8 เขาพลู เขาพลู ทาเรือ บานนาเดิม สุราษฎรธานี ใต อบต.ทาเรือ 100 SR9 เขาตอก เขาตอก เขาตอก เคียนซา สุราษฎรธานี ใต ขหล.หนองทุง

ทอง 101 ST1 บานโดนปาหนัน โดนปาหนัน ทุงนุย ควนกาหลง สตูล ใต อบจ.สตูล 102 TR1 กันตัง ควนแคง บอน้ํารอน กันตัง ตรัง ใต วนอุทยานบอน้ํา

รอนกันตัง

103 TR2 บานควรสระ (โตนน้ํารอน)

ควนสระ สุโสะ ปะเหลียน ตรัง ใต อบต.สุโสะ

104 YL1 ตาเนาะแมเราะ ตาเนาะแมเราะ

เบตง เบตง ยะลา ใต อบต.ตะเนาะแมเราะ

105 CB1 บางพระ อางเก็บน้ําบางพระ

ศรีราชา ชลบุรี ตะวันออก อบต.บางพระ

106 CN1 โปงน้ํารอน โปงน้ํารอน โปงน้ํารอน จันทบุรี ตะวันออก อบต.โปงน้ํารอน 107 KC1 ทองชาง ทองชาง ไทรโยค กาญจนบุรี กลาง เอกชน 108 KC2 หินดาด หินดาด หินดาด ทองผาภูมิ กาญจนบุรี กลาง อบต.หินดาด 109 KC3 หนองเจริญ หนองเจริญ ล่ินถ่ิน ทองผาภูมิ กาญจนบุรี กลาง อบต.ล่ินถ่ิน 110 KC4 เขาพัง เขาพัง วังกระแจะ ไทรโยค กาญจนบุรี กลาง อบต.วังกระแจะ 111 KC5 บานตนลําไย N/A N/A หนองปรือ กาญจนบุรี กลาง N/A 112 KC6 พุน้ํารอน พุน้ํารอน บานเกา เมือง กาญจนบุรี กลาง อบต.บานเกา 113 KC7 โปงชาง โปงชาง หนองปรือ หนองปรือ กาญจนบุรี กลาง อบต.หนองปรือ 114 KC8 วัดวังขนาย วังขนาย วังขนาย ทามวง กาญจนบุรี กลาง วัดวังขนาย 115 LB1 เขาสมโภชน เขาสมโภชน หนอง

ยายโตะ ชัยบาดาล ลพบุรี กลาง อบต.หนอง

ยายโตะ 116 PB1 น้ํารอน น้ํารอน น้ํารอน เมือง เพชรบูรณ กลาง อบต.น้ํารอน 117 PB2 วังขาม วังขาม สระกรวด ศรีเทพ เพชรบูรณ กลาง อบต.สระกรวด 118 PB3 พุขาม พุขาม พุขาม วิเชียรบุรี เพชรบูรณ กลาง อบต.พุขาม

Page 41: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

32 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

ตารางที่ 3 (ตอ)

ท่ีต้ังตามการปกครอง ท่ี

รหัสแหลง

ชื่อแหลง บาน ตําบล อําเภอ จังหวัด ภูมิภาค

หนวยงานดูแล

119 PB4 พุเตย พุเตย พุเตย วิเชียรบุรี เพชรบูรณ กลาง เทศบาลตําบลพุเตย

120 PB5 หนองยาง หนองยาง พุเตย วิเชียรบุรี เพชรบูรณ กลาง เอกชน 121 PT1 หนองหญาปลอง ใหมพุน้ํารอน ยางกลัด

เหนือ หนองหญาปลอง

เพชรบุรี กลาง อบจ.เพชรบุรี

122 RB1 บอคลึง หวยผาก หวยผาก สวนผึ้ง ราชบุรี กลาง เอกชน 123 RB2 โปงกะทิง พุน้ํารอน บานบึง บานคา ราชบุรี กลาง อช.เฉลิมพระ

เกียรติไทยประจนั

124 SP1 พุน้ํารอน พุน้ํารอน พุน้ํารอน ดานชาง สุพรรณบุรี กลาง อบต.พุน้ํารอน

ที่มา: กรมทรัพยากรธรณี (2544); สถาบันวิจัยสภาวะแวดลอม (2547);

จากการสํารวจภาคสนาม, (2551)

4.2 ผลการประเมินคุณคาสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ศักยภาพในการคงคุณคาสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ความเสี่ยงตอการถูกทําลายและผลกระทบเบื้องตนจากกิจกรรมการใชประโยชนของแหลงธรรมชาติประเภทโปงพุรอน

จากการสํารวจแหลงธรรมชาติประเภทโปงพุรอนในภาคสนามทั้งหมด 97 แหงทั่วประเทศ (กรกฎาคม, 2551) พบวา ผลการประเมินคุณคาสิ่งแวดลอมธรรมชาติ อยูในระดับสูง จํานวน 7 แหง คิดเปนรอยละ 5.65 อยูในระดับปานกลาง จํานวน 69 แหง คิดเปนรอยละ 55.66 และอยูในระดับต่ํา จํานวน 17 แหง คิดเปนรอยละ 13.7 โดยมีแหลงโปงพุรอนเมืองแปง อําเภอปาย จังหวัดแมฮองสอน มีคาคะแนนสูงสุด รองลงมาไดแก แหลงโปงพุรอนปาแป อุทยานแหงชาติหวยนํ้าดัง อําเภอแมแตง จังหวัดเชียงใหม และแหลงโปงพุรอนแมฝาง อุทยานแหงชาติดอยผาหมปก อําเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม

ผลการประเมินศักยภาพในการคงคุณคาสิ่งแวดลอมธรรมชาติ อยูในระดับสูง จํานวน 19

แหง คิดเปนรอยละ 15.32 อยูในระดับปานกลาง จํานวน 42 แหง คิดเปนรอยละ 33.87 และอยูในระดับต่ํา จํานวน 32 แหง คิดเปนรอยละ 25.81 โดยมีแหลงโปงพุรอนหวยน้ํารอน อุทยานแหงชาติแมยม อําเภองาว จังหวัดลําปาง รองลงมาไดแก แหลงโปงพุรอนหวยยูงตก อําเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่ และแหลงโปงพุรอนบานโปง อําเภอพราว จังหวดัเชียงใหม

ผลการประเมินความเสี่ยงตอการถูกทําลาย อยูในระดับสูง จํานวน 23 แหง คิดเปนรอยละ 18.55 อยูในระดับปานกลาง จํานวน 41 แหง คิดเปนรอยละ 33.06 และอยูในระดับต่ํา จํานวน 29

Page 42: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม 33

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

แหง คิดเปนรอยละ 23.39 โดยมีแหลงโปงพุรอนแมฮ้ี อําเภอปาย จังหวัดแมฮองสอน มีคาคะแนนสูงสุด รองลงมาไดแก แหลงโปงพุรอนโปงชาง อําเภอหนองปรือ จังหวัดกาญจนบุรี และแหลงโปงพุรอนแมจอก อําเภอวังชิ้น จังหวัดแพร

ผลการประเมินผลกระทบเบื้องตนจากกิจกรรมการใชประโยชน อยูในระดับปานกลาง

จํานวน 19 แหง คิดเปนรอยละ 15.32 และอยูในระดับต่ํา จํานวน 74 แหง คิดเปนรอยละ 59.68 โดยมีแหลงโปงพุรอนแมฮ้ี อําเภอปาย จังหวัดแมฮองสอน รองลงมาไดแก แหลงโปงพุรอนโปงพระบาท อําเภอเมือง จังหวัดเชียงราย และแหลงโปงพุรอนสํานักสงฆธารน้ํารอน อําเภอทาฉาง จังหวัดสุราษฎรธานี รายละเอียดดังแสดงในตารางที่ 4

4.3 ผลการจัดลําดับความสําคัญของแหลงธรรมชาติประเภทโปงพุรอน

จากผลการประเมินคุณคาสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ศักยภาพในการคงคุณคาสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ความเสี่ยงตอการถูกทําลายและผลกระทบเบื้องตนจากกิจกรรมการใชประโยชนของแหลงธรรมชาติประเภทโปงพุรอนในหัวขอ 5.3 ไดนํามาพิจารณาเพื่อจัดกลุมตามเกณฑการพิจารณาและจัดลําดับความสําคัญของแหลงธรรมชาติประเภทโปงพุรอน พบวา แหลงธรรมชาติประเภทโปงพุรอนที่จัดอยูในกลุม 1 คือมีคาคะแนนคุณคาความสําคัญสูงและมีคาคะแนนความเสี่ยงสูง มีจํานวน 15 แหง คิดเปนรอยละ 16.1 แหลงโปงพุรอนที่จัดอยูในกลุม 2 คือมีคาคะแนนคุณคาความสําคัญสูงแตมีคาคะแนนความเสี่ยงนอย มีจํานวน 51 แหง คิดเปนรอยละ 54.8 แหลงโปงพุรอนที่จัดอยูในกลุม 3 คือมีคาคะแนนคุณคาความสําคัญนอยและมีคาคะแนนความเสี่ยงนอย มีจํานวน 14 แหง คิดเปนรอยละ 15.1 และแหลงโปงพุรอนที่จัดอยูในกลุม 4 คือมีคาคะแนนคุณคาความสําคัญนอยแตมีคาคะแนนความเสี่ยงสูง มีจํานวน 13 แหง คิดเปนรอยละ 14.0 ดังตารางที่ 4

Page 43: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

34 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

ตารางที่ 4 ผลการประเมินคุณคา ศักยภาพ ความเสี่ยงและผลกระทบเบื้องตน และผลการจัดลําดับความสําคญัของแหลงธรรมชาติประเภทโปงพุรอน

คาคะแนนคุณคาความสําคัญ คาคะแนนความเสี่ยงตอการถูกทําลาย คุณคา ศักยภาพ ความเสี่ยง ผลกระทบเบื้องตน

ที่ รหัสแหลง

รายชื่อ แหลงโปงพุรอน

อําเภอ จังหวัด

ความ

พรอม

ของ

หนวย

งานด

แูลพื้น

ที่ 1/

คว

ามเหมา

ะสมด

าน

สถาปต

ยกรรม

2/

คะแนน 3/

ระดับ รอยละ คะแนน

3/ ระดับ รอยละ

รอยล

ะเฉล

ี่ย

คะแนน 3/

ระดับ รอยละ คะแนน

4/ ระดับ รอยละ

รอยล

ะเฉล

ี่ย

ผลร

วมรอ

ยละเฉล

ี่ย

(เต็ม

200)

กลุม 1 1 CM3 แมฝาง ฝาง เชียงใหม มาก ดีมาก 3.90 H 78.00 2.60 M 52.00 65.00 3.75 H 75.00 1.28 L 25.56 50.28 115.28

2 MH11 หนองแหง ขุนยวม แมฮองสอน ปานกลาง - 3.27 M 65.33 3.20 M 64.00 64.67 3.00 M 60.00 2.00 M 40.00 50.00 114.67

3 CM5 เทพพนม แมแจม เชียงใหม มาก ดีมาก 3.77 H 75.33 2.45 M 49.00 62.17 3.88 H 77.50 1.33 L 26.67 52.08 114.25

4 RB2 โปงกะทิง (อช.เฉลิมพระเกียรติไทยประจนั)

บานคา ราชบุรี ปานกลาง ปานกลาง 3.47 M 69.33 2.63 M 52.67 61.00 3.38 M 67.50 1.70 M 34.07 50.79 111.79

5 SR6 เขานอย (วัดถ้ําสิงขร)

คีรีรัฐนิคม สุราษฎรธาน ี มาก ปานกลาง 3.07 M 61.33 2.50 M 50.00 55.67 3.54 M 70.83 2.06 M 41.11 55.97 111.64

6 CM1 สันกําแพง แมออน เชียงใหม มาก ดี 3.39 M 67.78 2.35 M 47.00 57.39 3.50 M 70.00 1.89 M 37.78 53.89 111.28

7 CR4 ปาตึง (แมจนั) แมจนั เชียงราย ปานกลาง วิกฤติ 3.20 M 64.00 1.93 L 38.67 51.33 3.88 H 77.50 2.11 M 42.22 59.86 111.19

8 SR1 บอนอก ไชยา สุราษฎรธาน ี ปานกลาง N/A 3.38 M 67.56 2.37 M 47.33 57.44 3.54 M 70.83 1.81 M 36.30 53.56 111.01

9 PL1 เขาชัยสน เขาชัยสน พัทลุง N/A ปานกลาง 3.17 M 63.33 2.10 L 42.00 52.67 4.00 H 80.00 1.72 M 34.44 57.22 109.89

10 TK1 แมกาษา แมสอด ตาก นอย ดี 3.84 H 76.89 1.57 L 31.33 54.11 3.83 H 76.67 1.74 M 34.81 55.74 109.85

11 PT1 หนองหญาปลอง หนองหญาปลอง

เพชรบุร ี มาก ดี 3.27 M 65.33 2.30 L 46.00 55.67 3.65 M 72.92 1.52 L 30.37 51.64 107.31

Page 44: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 35

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

ตารางที่ 4 (ตอ)

คาคะแนนคุณคาความสําคัญ คาคะแนนความเสี่ยงตอการถูกทําลาย คุณคา ศักยภาพ ความเสี่ยง ผลกระทบเบื้องตน

ที่ รหัสแหลง

รายชื่อ แหลงโปงพุรอน

อําเภอ จังหวัด

ความ

พรอม

ของห

นวยงาน

ดูแลพื้

นที่ 1

/

คว

ามเหมา

ะสมด

าน

สถาปต

ยกรรม

2/

คะแนน 3/

ระดับ รอยละ คะแนน

3/ ระดับ รอยละ

รอยล

ะเฉล

ี่ย

คะแนน 3/

ระดับ รอยละ คะแนน

4/ ระดับ รอยละ

รอยล

ะเฉล

ี่ย

ผลร

วมรอ

ยละเฉล

ี่ย

(เต็ม

200)

12 PR2 แมจอก วังชิ้น แพร ปานกลาง ปานกลาง 3.62 M 72.44 1.70 L 34.00 53.22 4.08 H 81.67 1.30 L 25.93 53.80 107.02

13 KC2 หินดาด ทองผาภมู ิ กาญจนบุร ี มาก ปานกลาง 2.82 M 56.44 2.27 L 45.33 50.89 4.03 H 80.63 1.33 L 26.67 53.65 104.53

14 KB3 บางผึ้ง คลองทอม กระบี ่ N/A ปานกลาง 3.70 H 74.00 1.55 L 31.00 52.50 3.78 H 75.63 1.28 L 25.56 50.59 103.09

15 KP1 พระรวง เมือง กําแพงเพชร มาก ปานกลาง 3.40 M 68.00 1.63 L 32.67 50.33 3.90 H 77.92 1.37 L 27.41 52.66 103.00

กลุม 2 1 SR5 สํานักสงฆธารน้ํา

รอน ทาฉาง สุราษฎรธาน ี มาก - 3.29 M 65.78 4.18 H 83.67 74.72 2.35 M 47.08 2.19 M 43.70 45.39 120.12

2 MH7 เมืองแปง ปาย แมฮองสอน N/A - 4.17 H 83.33 4.30 H 86.00 84.67 2.19 L 43.75 1.00 L 20.00 31.88 116.54

3 SR9 เขาตอก เคียนซา สุราษฎรธาน ี นอย ดี 3.49 M 69.78 3.47 M 69.33 69.56 2.81 M 56.25 1.61 L 32.22 44.24 113.79

4 CM4 ปาแป แมแตง เชียงใหม มาก ดีมาก 3.97 H 79.33 3.70 H 74.00 76.67 2.56 M 51.25 1.06 L 21.11 36.18 112.85

5 CM17 แมจา เชียงดาว เชียงใหม ปานกลาง - 3.44 M 68.89 4.37 H 87.33 78.11 2.02 L 40.42 1.30 L 25.93 33.17 111.28

6 MH3 ทาปาย ปาย แมฮองสอน มาก ดีมาก 3.43 M 68.67 3.85 H 77.00 72.83 2.38 M 47.54 1.33 L 26.67 37.10 109.93

7 CM2 ดอยสะเก็ด (โปงกุม)

ดอยสะเก็ด เชียงใหม มาก ปรับปรุง 3.67 M 73.33 2.70 M 54.00 63.67 3.03 M 60.63 1.44 L 28.89 44.76 108.42

8 MH10 แมอมุลอง แมสะเรยีง แมฮองสอน ปานกลาง ปานกลาง 3.53 M 70.67 3.30 M 66.00 68.33 2.31 L 46.25 1.67 M 33.33 39.79 108.13

9 SR8 เขาพลู บานนาเดิม สุราษฎรธาน ี ปานกลาง - 3.13 M 62.67 4.37 H 87.33 75.00 1.96 L 39.17 1.22 L 24.44 31.81 106.81

Page 45: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

36 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

ตารางที่ 4 (ตอ)

คาคะแนนคุณคาความสําคัญ คาคะแนนความเสี่ยงตอการถูกทําลาย คุณคา ศักยภาพ ความเสี่ยง ผลกระทบเบื้องตน

ที่ รหัสแหลง

รายชื่อ แหลงโปงพุรอน

อําเภอ จังหวัด

ความ

พรอม

ของห

นวยงาน

ดูแลพื้

นที่ 1

/

คว

ามเหมา

ะสมด

าน

สถาปต

ยกรรม

2/

คะแนน 3/

ระดับ รอยละ คะแนน

3/ ระดับ รอยละ

รอยล

ะเฉล

ี่ย

คะแนน 3/

ระดับ รอยละ คะแนน

4/ ระดับ รอยละ

รอยล

ะเฉล

ี่ย

ผลร

วมรอ

ยละเฉล

ี่ย

(เต็ม

200)

10 TK3 หวยน้ํานัก (อช.น้ําตกพาเจริญ)

พบพระ ตาก ปานกลาง ปานกลาง 3.47 M 69.33 3.40 M 68.00 68.67 2.28 L 45.63 1.52 L 30.37 38.00 106.66

11 RB1 บอคลึง สวนผึ้ง ราชบุรี นอย ดี 3.47 M 69.33 3.57 M 71.33 70.33 2.31 L 46.25 1.26 L 25.19 35.72 106.05

12 CR5 โปงปูเฟอง แมสรวย เชียงราย มาก ปานกลาง 3.62 M 72.44 3.03 M 60.67 66.56 2.56 M 51.25 1.26 L 25.19 38.22 104.77

13 CP1 ถ้ําเขาพลู ละแม ชุมพร นอย ดี 2.62 M 52.44 2.90 M 58.00 55.22 3.27 M 65.42 1.59 L 31.85 48.63 103.86

14 SR4 บอน้ํารอน กาญจนดิษฐ สุราษฎรธาน ี มาก ปานกลาง 2.82 M 56.44 2.57 M 51.33 53.89 3.31 M 66.25 1.61 L 32.22 49.24 103.13

15 LP1 แจซอน เมืองปาน ลําปาง มาก ดี 3.38 M 67.56 2.80 M 56.00 61.78 2.83 M 56.52 1.26 L 25.19 40.85 102.63

16 CM8 โปงอาง เชียงดาว เชียงใหม มาก ดีมาก 3.07 M 61.33 3.40 M 68.00 64.67 2.79 M 55.83 1.00 L 20.00 37.92 102.58

17 CR3 ผาเสริฐ เมือง เชียงราย มาก ดี 3.62 M 72.44 1.93 L 38.67 55.56 3.54 M 70.83 1.15 L 22.96 46.90 102.45

17 SK2 บอน้ํารอน (สเุมน) ศรีสัชนาลัย สุโขทัย ปานกลาง - 2.98 M 59.56 3.53 M 70.67 65.11 2.10 L 42.08 1.63 L 32.59 37.34 102.45

19 LP6 หวยน้ํารอน (อช.แมยม)

งาว ลําปาง ปานกลาง - 3.00 M 60.00 4.60 H 92.00 76.00 1.44 L 28.75 1.19 L 23.70 26.23 102.23

20 CM11 บานโปง พราว เชียงใหม ปานกลาง - 3.13 M 62.67 4.43 H 88.67 75.67 1.83 L 36.67 0.78 L 15.56 26.11 101.78

21 MH5 เหมืองแร ปาย แมฮองสอน N/A - 3.20 M 64.00 4.40 H 88.00 76.00 2.06 L 41.25 0.33 L 6.67 23.96 99.96

22 TK2 หวยโปงรอน แมระมาด ตาก ปานกลาง - 2.87 M 57.33 4.10 H 82.00 69.67 1.92 L 38.33 1.11 L 22.22 30.28 99.94

23 CM16 มะลิกา (โปงเมืองงาม)

แมอาย เชียงใหม N/A ปรับปรุง 2.60 M 52.00 2.65 M 53.00 52.50 2.63 M 52.50 2.11 M 42.22 47.36 99.86

Page 46: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 37

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

ตารางที่ 4 (ตอ)

คาคะแนนคุณคาความสําคัญ คาคะแนนความเสี่ยงตอการถูกทําลาย คุณคา ศักยภาพ ความเสี่ยง ผลกระทบเบื้องตน

ที่ รหัสแหลง

รายชื่อ แหลงโปงพุรอน

อําเภอ จังหวัด

ความ

พรอม

ของห

นวยงาน

ดูแลพื้

นที่ 1

/

คว

ามเหมา

ะสมด

าน

สถาปต

ยกรรม

2/

คะแนน 3/

ระดับ รอยละ คะแนน

3/ ระดับ รอยละ

รอยล

ะเฉล

ี่ย

คะแนน 3/

ระดับ รอยละ คะแนน

4/ ระดับ รอยละ

รอยล

ะเฉล

ี่ย

ผลร

วมรอ

ยละเฉล

ี่ย

(เต็ม

200)

24 MH6 แมนะ (ไทรงาม) ปาย แมฮองสอน นอย - 3.07 M 61.33 3.70 H 74.00 67.67 2.31 L 46.25 0.89 L 17.78 32.01 99.68

25 SR7 รัตนโกสัย พุนพิน สุราษฎรธาน ี มาก ดีมาก 3.53 M 70.67 1.65 L 33.00 51.83 3.94 H 78.75 0.83 L 16.67 47.71 99.54

26 CM7 ปงโคง เชียงดาว เชียงใหม ปานกลาง - 2.49 M 49.78 2.77 M 55.33 52.56 3.23 M 64.58 1.46 L 29.26 46.92 99.48

27 RN3 พรรั้ง เมือง ระนอง N/A ปานกลาง 3.23 M 64.67 3.05 M 61.00 62.83 2.97 M 59.38 0.61 L 12.22 35.80 98.63

28 CR2 หวยหมากเลี่ยม เมือง เชียงราย ปานกลาง ดีมาก 3.22 M 64.44 3.60 M 72.00 68.22 2.28 L 45.63 0.74 L 14.81 30.22 98.44

29 CM12 หนองครก พราว เชียงใหม นอย ปานกลาง 3.67 M 73.33 1.83 L 36.67 55.00 3.29 M 65.83 0.96 L 19.26 42.55 97.55

30 PG1 คลองปลายพู กะปง พังงา นอย วิกฤติ 2.67 M 53.33 2.80 M 56.00 54.67 2.72 M 54.38 1.50 L 30.00 42.19 96.85

31 KB4 น้ํารอน คลองทอม กระบี ่ N/A วิกฤติ 3.00 M 60.00 4.00 H 80.00 70.00 2.06 L 41.25 0.56 L 11.11 26.18 96.18

32 KB5 บางคราม คลองทอม กระบี ่ N/A ดี 3.10 M 62.00 2.85 M 57.00 59.50 2.94 M 58.75 0.67 L 13.33 36.04 95.54

33 LN2 หนองหลม เมือง ลําพูน นอย - 2.33 L 46.67 3.15 M 63.00 54.83 2.19 L 43.75 1.83 M 36.67 40.21 95.04

34 PL3 นาทุงโพธิ์ กงหรา พัทลุง N/A - 2.90 M 58.00 4.25 H 85.00 71.50 1.88 L 37.50 0.44 L 8.89 23.19 94.69 35 PL4 ระหวางควน ควนขนุน พัทลุง N/A - 3.23 M 64.67 3.75 H 75.00 69.83 2.13 L 42.50 0.33 L 6.67 24.58 94.42

36 CM18 โปงบัวบาน พราว เชียงใหม มาก วิกฤติ 2.91 M 58.22 2.83 M 56.67 57.44 2.27 L 45.42 1.33 L 26.67 36.04 93.49

37 KP2 สํานักสงฆโปงน้ํารอน

คลองลาน กําแพงเพชร มาก ปรับปรุง 2.27 L 45.33 3.13 M 62.67 54.00 2.41 M 48.13 1.41 L 28.15 38.14 92.14

38 PL2 โละจังกระ กงหรา พัทลุง N/A วิกฤติ 2.80 M 56.00 2.20 L 44.00 50.00 2.94 M 58.75 1.22 L 24.44 41.60 91.60

39 KB1 หวยยูงตก เหนือคลอง กระบี ่ N/A - 2.63 M 52.67 4.45 H 89.00 70.83 1.31 L 26.25 0.72 L 14.44 20.35 91.18

Page 47: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

38 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

ตารางที่ 4 (ตอ)

คาคะแนนคุณคาความสําคัญ คาคะแนนความเสี่ยงตอการถูกทําลาย คุณคา ศักยภาพ ความเสี่ยง ผลกระทบเบื้องตน

ที่ รหัสแหลง

รายชื่อ แหลงโปงพุรอน

อําเภอ จังหวัด

ความ

พรอม

ของห

นวยงาน

ดูแลพื้

นที่ 1

/

คว

ามเหมา

ะสมด

าน

สถาปต

ยกรรม

2/

คะแนน 3/

ระดับ รอยละ คะแนน

3/ ระดับ รอยละ

รอยล

ะเฉล

ี่ย

คะแนน 3/

ระดับ รอยละ คะแนน

4/ ระดับ รอยละ

รอยล

ะเฉล

ี่ย

ผลร

วมรอ

ยละเฉล

ี่ย

(เต็ม

200)

40 RN1 รักษวาริน เมือง ระนอง มาก วิกฤติ 3.77 H 75.33 1.35 L 27.00 51.17 3.56 M 71.25 0.39 L 7.78 39.51 90.68

41 SR2 สวนโมกนานาชาติ ไชยา สุราษฎรธาน ี นอย ปรับปรุง 3.16 M 63.11 2.95 M 59.00 61.06 1.98 L 39.58 0.96 L 19.26 29.42 90.48

42 CM9 ยางปูโตะ เชียงดาว เชียงใหม ปานกลาง - 2.24 L 44.89 2.60 M 52.00 48.44 2.42 M 48.33 1.30 L 25.93 37.13 85.57

43 RN5 ราชกรูด เมือง ระนอง N/A - 2.50 M 50.00 3.00 M 60.00 55.00 2.56 M 51.25 0.44 L 8.89 30.07 85.07

44 LP7 หวยเรยีน (อช.ดอยขุนตาล)

หางฉัตร ลําปาง ปานกลาง - 1.96 L 39.11 3.92 H 78.33 58.72 1.29 L 25.83 0.96 L 19.26 22.55 81.27

45 LP5 โปงเหม็น (อช.ดอยขุนตาล)

หางฉัตร ลําปาง ปานกลาง - 1.93 L 38.67 3.33 M 66.67 52.67 1.40 L 27.92 1.37 L 27.41 27.66 80.33

46 CR8 นาโปง แมจนั เชียงราย นอย - 1.89 L 37.78 4.13 H 82.67 60.22 1.19 L 23.75 0.56 L 11.11 17.43 77.65

47 CR1 โปงนาคํา เมือง เชียงราย นอย - 2.27 L 45.33 2.58 M 51.67 48.50 2.42 M 48.33 0.48 L 9.63 28.98 77.48

48 MH4 โปงปะ ปาย แมฮองสอน ปานกลาง - 1.97 L 39.33 4.20 H 84.00 61.67 1.04 L 20.85 0.39 L 7.78 14.32 75.98 49 MH2 โปงสัก ปาย แมฮองสอน ปานกลาง - 1.83 L 36.67 4.20 H 84.00 60.33 1.07 L 21.40 0.00 L 0.00 10.70 71.04

50 PB1 น้ํารอน เมือง เพชรบูรณ นอย - 3.27 M 65.33 2.75 M 55.00 60.17 3.78 H 75.63 0.33 L 6.67 41.15 101.31

51 LB1 เขาสมโภชน ชัยบาดาล ลพบุรี ปานกลาง - 2.67 M 53.33 3.40 M 68.00 60.67 2.06 L 41.25 0.14 L 2.86 22.05 82.72

กลุม 3 1 SR3 วังหิน บานนาสาร สุราษฎรธาน ี ปานกลาง ปานกลาง 2.67 M 53.33 2.27 L 45.33 49.33 3.58 M 71.67 1.33 L 26.67 49.17 98.50

2 LP3 โปงรอน เกาะคา ลําปาง มาก ปานกลาง 3.22 M 64.44 1.53 L 30.67 47.56 3.81 H 76.25 0.89 L 17.78 47.01 94.57

Page 48: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 39

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

ตารางที่ 4 (ตอ)

คาคะแนนคุณคาความสําคัญ คาคะแนนความเสี่ยงตอการถูกทําลาย คุณคา ศักยภาพ ความเสี่ยง ผลกระทบเบื้องตน

ที่ รหัสแหลง

รายชื่อ แหลงโปงพุรอน

อําเภอ จังหวัด

ความ

พรอม

ของห

นวยงาน

ดูแลพื้

นที่ 1

/

คว

ามเหมา

ะสมด

าน

สถาปต

ยกรรม

2/

คะแนน 3/

ระดับ รอยละ คะแนน

3/ ระดับ รอยละ

รอยล

ะเฉล

ี่ย

คะแนน 3/

ระดับ รอยละ คะแนน

4/ ระดับ รอยละ

รอยล

ะเฉล

ี่ย

ผลร

วมรอ

ยละเฉล

ี่ย

(เต็ม

200)

3 TR2 ควรสระ ปะเหลียน ตรัง N/A - 1.97 L 39.33 2.80 M 56.00 47.67 3.00 M 60.00 1.61 L 32.22 46.11 93.78

4 KC8 วัดวังขนาย ทามวง กาญจนบุร ี มาก ปานกลาง 3.19 M 63.78 1.17 L 23.33 43.56 3.77 H 75.42 1.07 L 21.48 48.45 92.00

5 PR4 วัดสะแลง ลอง แพร มาก ปานกลาง 3.17 M 63.33 1.65 L 33.00 48.17 3.22 M 64.38 1.11 L 22.22 43.30 91.47

6 LP4 โปงน้ํารอน เสริมงาม ลําปาง ปานกลาง - 2.40 M 48.00 2.20 L 44.00 46.00 2.40 M 47.92 1.96 M 39.26 43.59 89.59

7 SK1 โปรงลําปาง ศรีสัชนาลัย สุโขทัย นอย - 2.58 M 51.56 2.17 L 43.33 47.44 2.94 M 58.75 1.26 L 25.19 41.97 89.41

8 RN2 ทุงยอ (พรุหลุมพี) เมือง ระนอง N/A ปานกลาง 2.37 M 47.33 1.60 L 32.00 39.67 3.66 M 73.13 1.00 L 20.00 46.56 86.23

9 PR1 ปนเจน วังชิ้น แพร N/A - 2.49 M 49.78 2.50 M 50.00 49.89 2.06 L 41.25 1.15 L 22.96 32.11 82.00

10 LP2 เวียงเหนอื หางฉัตร ลําปาง นอย - 2.16 L 43.11 2.83 M 56.67 49.89 1.81 L 36.25 1.07 L 21.48 28.87 78.75

11 MH13 หวยโปง เมือง แมฮองสอน นอย - 2.37 M 47.33 1.85 L 37.00 42.17 2.13 L 42.50 1.17 L 23.33 32.92 75.08

12 PB3 พุขาม วิเชียรบุร ี เพชรบูรณ N/A - 3.38 M 67.56 1.33 L 26.67 47.11 3.94 H 78.79 0.50 L 10.00 44.39 91.51

13 UT1 สมอทอง หวยคต อุทัยธาน ี ปานกลาง - 3.00 M 60.00 1.63 L 32.50 46.25 2.94 M 58.75 1.00 L 20.00 39.38 85.63 14 SP1 พุน้ํารอน ดานชาง สุพรรณบุร ี N/A - 1.89 L 37.78 1.89 L 37.78 37.78 2.44 M 48.75 1.13 L 22.50 35.63 73.40

กลุม 4 1 CR6 สบโปง เวียงปาเปา เชียงราย มาก ปรับปรุง 3.67 M 73.33 1.27 L 25.33 49.33 4.04 H 80.83 1.41 L 28.15 54.49 103.82

2 KC4 เขาพัง ไทรโยค กาญจนบุร ี มาก วิกฤติ 2.60 M 52.00 1.96 L 39.17 45.58 3.35 M 67.08 1.74 M 34.81 50.95 96.53

3 MH1 ผาบอง เมือง แมฮองสอน ปานกลาง วิกฤติ 2.67 M 53.33 1.85 L 37.00 45.17 3.94 H 78.75 1.44 L 28.89 53.82 98.99

Page 49: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

40 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

ตารางที่ 4 (ตอ)

คาคะแนนคุณคาความสําคัญ คาคะแนนความเสี่ยงตอการถูกทําลาย คุณคา ศักยภาพ ความเสี่ยง ผลกระทบเบื้องตน

ที่ รหัสแหลง

รายชื่อ แหลงโปงพุรอน

อําเภอ จังหวัด

ความ

พรอม

ของห

นวยงาน

ดูแลพื้

นที่ 1

/

คว

ามเหมา

ะสมด

าน

สถาปต

ยกรรม

2/

คะแนน 3/

ระดับ รอยละ คะแนน

3/ ระดับ รอยละ

รอยล

ะเฉล

ี่ย

คะแนน 3/

ระดับ รอยละ คะแนน

4/ ระดับ รอยละ

รอยล

ะเฉล

ี่ย

ผลร

วมรอ

ยละเฉล

ี่ย

(เต็ม

200)

4 CR7 หวยทรายขาว พาน เชียงราย N/A วิกฤติ 2.78 M 55.56 1.37 L 27.33 41.44 3.83 H 76.67 1.44 L 28.89 52.78 94.22

5 MH9 แมฮุ แมลานอย แมฮองสอน มาก - 1.83 L 36.67 2.15 L 43.00 39.83 3.53 M 70.63 1.81 M 36.25 53.44 93.27

6 CR8 โปงพระบาท เมือง เชียงราย นอย ปานกลาง 2.84 M 56.89 1.07 L 21.33 39.11 3.38 M 67.50 2.72 M 54.44 60.97 100.08

7 PR3 แมหลู ลอง แพร N/A - 2.22 L 44.44 1.50 L 30.00 37.22 3.40 M 67.92 1.74 M 34.81 51.37 88.59

8 KB2 คลองบอน้ํารอน เหนือคลอง กระบี ่ N/A วิกฤติ 2.13 L 42.67 1.15 L 23.00 32.83 3.91 H 78.13 1.78 M 35.56 56.84 89.67

9 MH8 แมฮี้ ปาย แมฮองสอน ปานกลาง วิกฤติ 2.07 L 41.33 1.15 L 23.00 32.17 4.31 H 86.25 3.28 M 65.56 75.90 108.07

10 KC7 โปงชาง หนองปรือ กาญจนบุร ี นอย วิกฤติ 2.13 L 42.67 1.03 L 20.67 31.67 4.14 H 82.71 1.39 L 27.78 55.24 86.91

11 PB2 วังขาม ศรีเทพ เพชรบูรณ N/A - 2.53 M 50.67 1.13 L 22.67 36.67 3.94 H 78.79 1.48 L 29.63 54.21 90.88

12 PB4 พุเตย วิเชียรบุร ี เพชรบูรณ N/A - 2.61 M 52.22 1.47 L 29.33 40.78 4.43 H 88.57 0.81 L 16.25 52.41 93.19

13 PB5 หนองยาง วิเชียรบุร ี เพชรบูรณ N/A - 2.92 M 58.33 1.60 L 32.00 45.17 4.43 H 88.57 0.83 L 16.67 52.62 97.79

กลุม 5 5/ 1 KC3 หนองเจริญ ทองผาภมู ิ กาญจนบุร ี N/A - - - - - - - - - - - - - - - - 2 KC6 พุน้ํารอน เมือง กาญจนบุร ี N/A - - - - - - - - - - - - - - - - 3 LN1 เหมืองเทพนิธ ิ แมทา ลําพูน N/A - - - - - - - - - - - - - - - - 4 RN4 คลองบางริ้น เมือง ระนอง N/A - - - - - - - - - - - - - - - -

Page 50: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 41

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

หมายเหตุ: 1/ ความพรอมของหนวยงานดูแลพื้นที่ในการติดตามมาตรฐานคุณภาพโปงพุรอน

ความพรอมมาก = ตองการเปนพื้นที่นํารอง / มีบุคลากรในการติดตามมาตรฐาน / มีระบบคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ตที่เหมาะสมมาก ความพรอมปานกลาง = ตองการเปนพื้นที่นํารอง / ไมมี และ/หรือ มีบุคลากรในการติดตามมาตรฐาน / มีระบบคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ตที่เหมาะสมปานกลาง ความพรอมนอย = ไมตองการ และ/หรือ ตองการเปนพื้นที่นํารอง / ไมมีบคุลากรในการตดิตามมาตรฐาน / ไมมีระบบคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ต

2/ ความเหมาะสมดานสถาปตยกรรม มีรายละเอียดดังนี้ มากกวา รอยละ 90 = อยูในเกณฑ ดีมาก รอยละ 75 – 90 = อยูในเกณฑ ดี รอยละ 60 – 75 = อยูในเกณฑ ปานกลาง รอยละ 50 – 60 = อยูในเกณฑ ตองปรับปรุง นอยกวา รอยละ 50 = อยูในเกณฑวิกฤต ิ(-) = ไมสามารถประเมินได

3/ ดานคุณคาสิ่งแวดลอมธรรมชาติ / ดานศักยภาพ / ดานความเสี่ยง ระดับคะแนน มีรายละเอียดดังนี้ 1.00-2.33 = ระดับต่ํา (Low level, L) 2.34-3.67 = ระดับปานกลาง (Moderate level, M) 3.68-5.00 = ระดับสูง (High level, H)

4/ ดานผลกระทบเบื้องตน ระดับคะแนน มีรายละเอียดดังนี้ 0.00-1.66 = ระดับต่ํา (Low level, L) 1.67-3.33 = ระดับปานกลาง (Moderate level, M) 3.34-5.00 = ระดับสูง (High level, H)

5/ เปนแหลงโปงพุรอนที่ไมสามารถประเมินคุณคา ศกัยภาพ ความเสี่ยงและผลกระทบเบื้องตนได เนื่องจากที่ตั้งของแหลงโปงพุรอนอยูในลําน้ําหรืออางเก็บน้ํา

Page 51: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

42 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

4.4 สรุปประเด็นปญหาของการจัดการสิ่งแวดลอมธรรมชาติประเภทโปงพุรอน

4.4.1 ดานสถาปตยกรรม ภูมิสถาปตยกรรมและสุนทรยีภาพในแหลงธรรมชาติประเภทโปงพุรอน

1) การวางผังบริเวณ และการพัฒนาทางกายภาพ

รูปแบบการพัฒนาของหนวยงานทองถิ่น มักขาดการวางแผนดานการวางผังบริเวณ หรือการแบงพ้ืนที่ใชสอย (zoning) การวางตําแหนงอาคารและสิ่งกอสรางมักอยูใกลกับโปงพุรอน อาคารมีขนาดใหญไมกลมกลืนกับสภาพแวดลอม ขาดการออกแบบที่เปนเอกลักษณ และการพัฒนาที่ไมเหมาะสม เชน การสรางพื้นดาดแข็งคลุมทับทั่วบริเวณโปงพุรอน และลานจอดรถ และการสรางอาคารรานคาใกลกับโปงพุรอน ทําใหเกิดปญหาความแออัดของกิจกรรมและสิ่งแวดลอมเสื่อมโทรม ดังภาพที่ 2

2) การออกแบบ และความกลมกลืนของวัสดุ อาคาร สิ่งกอสราง และสิง่อํานวยความสะดวกกับสภาพธรรมชาติโดยรอบ

โปงพุรอนถือเปนทรัพยากรทางธรรมชาติที่สําคัญ แตจากการสํารวจทางกายภาพโปงพุรอนทั่วประเทศพบวาภาพลักษณ และรูปแบบของแบบองคประกอบทางภูมิทัศนของโปงพุรอนแตละแหงมีความแตกตางกัน แหลงโปงพุรอนที่พัฒนาเปนแหลงทองเที่ยวหลายแหงมีการผสมผสานระหวางโครงสรางที่เปนวัสดุธรรมชาติ และกออิฐถือปูนแตสวนใหญเกิดความขัดแยงในเรื่องของสีสัน ที่พบมากไดแก สีของอาคาร และหลังคาที่ไมเหมาะสม อาคารมักมีขนาดใหญรูปแบบไมเหมาะสม ดูแข็งกระดาง อีกทั้งยังขาดการวางผัง และการจัดกลุมอาคารทําใหพ้ืนที่เต็มไปดวยสิ่งกอสราง และขาดความเปนระเบียบ ระบบการสัญจรถูกกําหนดตามตําแหนงอาคาร สงผลใหทางเดินบางชวงขาดความตอเน่ือง และสับสน มักมีการสรางลานหรือบอขนาดใหญซอนทับ หรืออยูใกลกับโปงพุรอนเกินไป และอาศัยการสูบนํ้าเย็นเขามาผสม ในสวนของโปงพุรอน สวน ใหญเปนบอ

ภาพที่ 2 โปงพุรอนบานโปงชาง อําเภอหนองปรือ จังหวัดกาญจนบุรี มีการสรางสระแชตัวทับบริเวณโปงพุรอน และสิ่งอํานวยความสะดวกที่ไมมีการใชงานในปจจุบัน สิ่งกอสรางมีการใชวัสดุ และสีสัน ที่ไมกลมกลืนกับธรรมชาติ และมีขนาดใหญโตเกินไป

Page 52: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม 43

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

กออิฐฉาบปูน (กรุหิน กระเบื้อง ศิลาแลง หรือปูนเปลือย) อาจยกสูง หรือลอมโครงสรางเหล็กหรือ แสตนเลสเพื่อกันตก แตขาดความสวยงามและขาดความเปนเอกลักษณ และดัดแปลงไปจากสภาพธรรมชาติเดิมมากเกินไป

กรณีตัวอยางที่มีการพัฒนาทางกายภาพที่ไมเหมาะสม เชน นํ้าพุรอนโปงพระบาท ตําบลบานดู อําเภอเมือง จังหวัดเชียงราย ซ่ึงปจจุบันไดพัฒนาเปนแหลงทองเที่ยว แตขาดการวางผัง หรือการแบงพ้ืนที่เพ่ือปองกันการทําลายสิ่งแวดลอมจากการทองเที่ยว หรือการพัฒนาสิ่งกอสราง จึงพบการพัฒนาสิ่งอํานวยความสะดวกเพื่อรองรับการทองเที่ยวบริเวณโปงพุรอนมากเกินไปและมีรูปแบบไมเหมาะสมขัดตอสภาพธรรมชาติ เชน มีรูปปนไดโนเสาร และมีการสรางลานคอนกรีตปกคลุมทั่วบริเวณ ดังแสดงในภาพที่ 3 และ 4

ภาพที่ 3 การพัฒนาทางกายภาพบริเวณน้ําพุรอนโปงพระบาท อําเภอเมือง จังหวัดเชียงราย

ภาพที่ 4 บริเวณน้ําพุรอนโปงพระบาท มีรูปแบบของสิง่กอสรางที่ขาดความกลมกลืนกับธรรมชาต ิ

Page 53: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

44 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

4.4.2 ดานผลกระทบตอปริมาณน้ําและคุณภาพน้ําในแหลงธรรมชาติประเภทโปงพุรอน

ในการพัฒนาน้ําพุรอนขึ้นมาใชประโยชนในดานตางๆ น้ัน จําเปนที่ตองมีความรู และความเขาใจดานธรณีวิทยาและอุทกธรณีวิทยา (สภาพของแหลงน้ําบาดาล) ของแหลงนั้นๆ ซ่ึงนํ้าพุรอนในประเทศไทยสวนใหญเปนน้ําพุรอนที่เกิดจากน้ําผิวดินที่ซึมลงสูเบื้องลาง จนกลายเปนน้ําใตดิน หรือนํ้าบาดาลซึ่งจะไหลลงไปดานใตดินในระดับลึกจนถึงบริเวณที่มีหินรอนมีอุณหภูมิสูงอยู นํ้าบาดาลนั้นจึงถูกตมจนมีความรอนสูงแลวดันตัวไหลยอนขึ้นมาตามรอยแตก หรือชองวางตางๆ ในหิน เชนรอยเลื่อนจนมาสูผิวดินกลายเปนน้ําพุรอน หรือโปงพุรอนดังที่ปรากฏใหเห็นในพื้นที่ตางๆ

จากการสํารวจในภาคสนามพบวา ในการพัฒนาพื้นที่ที่เปนน้ําพุรอน กิจกรรมของมนุษยบางอยางอาจสงผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลงตอปริมาณน้ําและคุณภาพน้ําในแหลงธรรมชาติประเภทโปงพุรอนได หากไมมีความเขาใจธรรมชาติของโปงพุรอนในแตละแหง ซ่ึงโดยทั่วไปแลวกอนดําเนินการใดๆ ควรมีการสํารวจดานธรณีวิทยา อุทกธรณีวิทยา (นํ้าบาดาลหรือนํ้าใตดิน) และอุทกวิทยา (นํ้าผิวดิน) เสียกอน เพราะน้ําพุรอนในแตละแหงน้ันจะมีลักษณะเฉพาะ การกอสรางหรือการปรับเปลี่ยนภูมิประเทศใดๆ อาจสงผลใหสภาพของน้ําพุรอนเปลี่ยนไปทั้งปริมาณและคุณภาพ (ภาพที่ 5)

ภาพที่ 5 อาคารขนาดใหญกั้นทางน้ําธรรมชาติ ทําใหนํ้ารอนอุณหภูมิลดลง

4.4.3 ดานผลกระทบตอชีวภาพ (พืชพรรณและสัตวปา) ในแหลงธรรมชาติประเภทโปงพุรอน

ในการพัฒนาแหลงโปงพุรอน สิ่งสําคัญที่ไมอาจละเลยไดก็คือความรูความเขาใจในดานชีวภาพ ของพ้ืนที่น้ันๆ วามีลักษณะ บทบาท และหนาที่อยางไร ซ่ึงจะสามารถชวยใหการจัดการทรัพยากรธรรมชาติประเภทโปงพุรอนน้ันมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลที่ดี ทั้งเปนการปองกัน และชวยลดผลกระทบซึ่งอาจเกิดขึ้น ทั้งจากกิจกรรมการใชประโยชน แหลงโปงพุรอน และตัวผูใชประโยชนเอง ซ่ึงผลกระทบตอชีวภาพที่เกิดขึ้นบริเวณแหลงโปงพุรอน สามารถสรุป โดยแบงเปนประเภทของผลกระทบได ดังน้ี

Page 54: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม 45

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

(1) ผลกระทบตอพืชพรรณ

การนําพันธุไมตางถิ่นเขามาในพื้นที่โปงพุรอน เปนผลกระทบประเภทหนึ่งที่พบเห็นไดจากการสํารวจ ซ่ึงพบวา แหลงโปงพุรอนที่มีการพัฒนาเปนแหลงทองเที่ยวโดยสวนใหญจะมีการประดับตกแตงดวยพันธุไมประดับตางๆ ซ่ึงเปนไมตางถิ่นที่สามารถจะแพรขยายพันธุและรุกรานออกนอกพื้นที่ได จนอาจทําใหสังคมพืชในบริเวณน้ันๆ เสื่อมโทรมและเปลี่ยนแปลงไป อาทิเชน บอนํ้ารอนบานพรรั้ง อุทยานแหงชาตินํ้าตกหงาว อําเภอเมือง จังหวัดระนอง (ดังภาพที่ 6) บอนํ้ารอนในอุทยานแหงชาติแจซอน อําเภอเมืองปาน จังหวัดลําปาง (ดังภาพที่ 6) ซ่ึงเปนพ้ืนที่อนุรักษ จึงจําเปนอยางยิ่งที่จะตองปองกัน และแกไขปญหาการรุกรานของพันธุไมตางถิ่นในพื้นที่

ดังน้ันวิธีการที่จะชวยปองกันผลกระทบดังกลาวที่อาจเกิดขึ้น รวมทั้งสามารถเสริมสรางความสวยงามโดดเดนใหกับพ้ืนที่ไดน้ัน คือการเลือกใชพันธุไมในถิ่นมาใชในการประดับตกแตง ซ่ึงจะชวยทําใหเกิดความสวยงาม และมีความกลมกลืนกับสภาพแวดลอมโดยรอบได ทั้งน้ี จากการสํารวจภาคสนาม พบวา แหลงโปงพุรอนที่ไดรับการพัฒนาที่ยังไมพบปญหาการนําไมตางถิ่นเขาไปในพื้นที่ อันเนื่องจากการยังคงรักษาสังคมพืชด้ังเดิมหรือสภาพปาดั้งเดิมเอาไวโดยที่ไมไดนําพันธุไมตางถิ่นเขาไปประดับตกแตง เชน แหลงโปงพุรอนรอนทาปาย อําเภอปาย จังหวัดแมฮองสอน (ภาพที่ 7) ภาพที่ 6 การประดับตกแตงพันธุไมตางถิ่นที่บอนํ้ารอนบานพรรั้ง อุทยานแหงชาตินํ้าตกหงาว

อําเภอเมือง จังหวัดระนอง (ซาย) บอนํ้ารอนแจซอน อุทยานแหงชาติแจซอน อําเภอเมืองปาน จังหวัดลําปาง (ขวา)

Page 55: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

46 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

ภาพที่ 7 การรักษาสังคมพืชด้ังเดิมหรือสภาพปาดั้งเดิมไวที่แหลงโปงพุรอนทาปาย อุทยานแหงชาติหวยน้ําดัง อําเภอปาย จังหวัดแมฮองสอน

(2) ผลกระทบตอสัตวปา

จากการสอบถามยังเจาหนาที่ผูดูแลรับผิดชอบบริเวณโปงพุรอนหลายแหงพบวามีการลดจํานวนลงของสัตวปา อันมีสาเหตุมาจากการพัฒนา ปรับปรุงพ้ืนที่ในดานตางๆ การเปดพื้นที่เปนแหลงทองเที่ยว และเขามาใชประโยชนในพ้ืนที่ของนักทองเที่ยว สงผลกระทบตอลิงเปนจํานวนมาก เชนที่บอนํ้ารอนถ้ําเขาพลู อําเภอละแม จังหวัดชุมพร เจาหนาที่เลาวาแตเดิมมีลิงอาศัยอยูเปนจํานวนมาก และคอยๆ ลดจํานวนลง และหายไปจากพื้นที นอกจากนั้นยังพบวาบางแหงกอใหเกิดผลกระทบตอพฤติกรรมของสัตวปา อาทิเชน บอนํ้ารอนเขาชัยสน อําเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง (ดังภาพที่ 8) พบวาในพื้นที่มีลิงอาศัยอยูเปนจํานวนมาก โดยลิงเหลานี้มักจะไดรับอาหารจําพวกขนมขบเคี้ยว จากนักทองเที่ยวที่เขามาใชประโยชนจากบอนํ้าพุรอน ทําใหลิงเกิดพฤติกรรมการหาอาหารที่เปลี่ยนไปจากธรรมชาติ เปนการรอ การขโมย หรือการแยงอาหารจากนักทองเที่ยว และนอกจากนี้การคุยเขี่ยขยะ เพ่ือหาอาหาร อาจทําใหลิงกิน หรือกลืนเอาโฟม ถุงพลาสติก หรือวัสดุที่ไมสามารถกินไดลงไป และอันตรายถึงแกชีวิตได

Page 56: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม 47

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

ภาพที่ 8 การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของลิงที่บอนํ้ารอนเขาชัยสน ตําบลเขาชยัสน อําเภอเขาชัยสน

จังหวัดพัทลุง

4.4.4 ดานผลกระทบตอชุมชนทองถิ่นโดยรอบแหลงธรรมชาติประเภทโปงพุรอน

เน่ืองจากแหลงโปงพุรอนหลายแหงตั้งอยูในพ้ืนที่การใชประโยชนของชุมชน ดังน้ันการพัฒนา หรือการจัดการใดๆ จึงไมสามารถหลีกเลี่ยงผลกระทบดันอาจเกิดขึ้นกับชุมชนไดเลย เพียงแตผลกระทบที่เกิดขึ้นจะเปนไปในทางบวกหรือทางลบ ซ่ึงนั้นก็ขึ้นกับวิธีการ และแนวทางในการจัดการของหนวยงานที่รับผิดชอบ โดยจากการสํารวจแหลงโปงพุรอนพบวามีผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นตอชุมชนได ดังตอไปน้ี

(1) ความขัดแยงระหวางการใชประโยชนของชุมชนและนักทองเที่ยว หรือกลุมผูใชประโยชนอ่ืน

โปงพุรอนบางแหงนอกจากจะมีการใชประโยชนเปนสถานที่ทองเที่ยว พักผอนหยอนใจแลว ยังใชประโยชนเพ่ือการสรางรายไดดวย โดยในสวนนี้ไมไดหมายรวมถึงการสรางรายไดจากการประกอบกิจการรานคาตางๆ ในพ้ืนที่ แตหมายถึงการใชประโยชนจากน้ํารอนโดยตรง เชน การนําหนอไมมาแชในบอนํ้ารอนเพ่ือทําใหหนอไมมีรสชาดหวานกรอบ สงผลใหชาวบานในชุมชนสามารถขายหนอไมไดราคาดี และเปนที่ตองการของตลาด ทําใหบอนํ้ารอนบางแหงมีการใชประโยชนจากชาวบานในกิจกรรมดังที่กลาวมาแลว หากมีการเปดใหบริการเปนแหลงทองเที่ยวเพียงอยางเดียวนั้น อาจกอใหเกิดความขัดแยงระหวางกิจกรรมขึ้นได เน่ืองจากการแชหนอไมน้ัน จะทําใหเกิดความไมสวยงามของบอนํ้ารอน ซ่ึงทําใหนักทองเที่ยวมีความรูสึกไมพึงพอใจ และการจัดการของหนวยงานดูแลพ้ืนที่ก็ไมสามารถกําหนดเวลาการแชหนอไมได เน่ืองจากเปนวิถีชีวิตด้ังเดิมของชาวบานกอนมีการพัฒนาเพื่อการทองเที่ยว ดังเชนที่บอนํ้าพุรอนโปงปูเฟอง

Page 57: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

48 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

อําเภอแมสรวย จังหวัดเชียงราย และจากการสํารวจภาคสนาม พบวา บางแหลงน้ัน หนวยงานดูแลพ้ืนที่ ไดมีการจัดสรรชวงเวลาการแชหนอไม จําแนกบอแชหนอไม บอสําหรับอาบ และสําหรับกิจกรรมอื่น ไว ซ่ึงผูเขาใชประโยชนบอนํ้ารอนจะสามารถใชไดในระยะเวลาเดียวกัน เชน แหลงโปงพุรอนดอยสะเก็ด ตําบลปาเม่ียง อําเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม

โปงพุรอนบางแหง มีการใชประโยชนจากน้ําพุรอนโดยตรง โดยการตอทอนํานํ้าพุรอนไปใชอุปโภคในครัวเรือน ตัวอยางเชน แหลงโปงพุรอนเขาพัง ตําบลวังกระแจะ อําเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี ซ่ึงทางองคการบริหารสวนจังหวัดกาญจนบุรีไดสนับสนุนงบประมาณในการพัฒนาพื้นที่บริเวณโปงพุรอนเขาพัง เพ่ือรองรับกิจกรรมการทองเที่ยวดวยการกอสรางสระน้ําสําหรับกิจกรรมแชนํ้ารอน หองนํ้า หองสุขาและลานจอดรถ หากแตในปจจุบันยังไมสามารถเปดบริการดานการทองเที่ยวได เน่ืองจากชุมชนบานเขาพังไมยินยอมใหมีการทองเที่ยวในแหลงโปงพุรอนแหงนี้ รวมทั้งไมตองการใชนํ้าอุปโภคจากแหลงน้ําอ่ืนๆ ที่ทางองคการบริหารสวนตําบลวังกระแจะจัดหามาให เชน ประปาบาดาล เพราะมีความตองการใชนํ้าอุปโภคจากแหลงโปงพุรอนเขาพังที่เปนแหลงนํ้าที่ใชอุปโภคมาโดยตลอด

4.4.5 แหลงสรางรายไดของชุมชนทองถิ่น

แหลงโปงพุรอนบางแหงที่อยูในการดูแลครอบครองของภาคเอกชน มักจะมีการพัฒนาเปนแหลงทองเที่ยว และมีการจัดการเพื่อการรองรับนักทองเที่ยว และการตลาดไดอยางดี ทั้งในเรื่องสิ่งอํานวยความสะดวก และบริการตางๆ และในสวนนี้เองไดชวยใหชุมชนในทองถิ่นมีโอกาสไดเขามาประกอบกิจการรานคา และใหบริการในรูปแบบตางๆ เชน การนวดแผนโบราณ ซ่ึงกอใหเกิดรายได โดยหากไมมีการพัฒนาจากภาคเอกชน หรือผูประกอบการภายนอก อาจไมเกิดการพัฒนาและปรับปรุงพ้ืนที่โปงพุรอน หรือหากมีการพัฒนาอาจมีศักยภาพไมเพียงพอที่จะพัฒนาพ้ืนที่ได ซ่ึงปญหาสําคัญที่พบเน่ืองมาจากเรื่องของงบประมาณ เชน บอนํ้ารอนปาตึง อําเภอแมจัน จังหวัดเชียราย และบอนํ้าพุรอนโปงปูเฟอง อําเภอแมสรวย จังหวัดเชียงราย

แมวาหนวยงานภาคเอกชนจะเขามามีสวนชวยในการพัฒนาแหลงโปงพุรอนไดอยางดี แตไมไดหมายความถึงการจัดการที่มีประสิทธิภาพ หากผูประกอบการไมคํานึงผลกระทบทางลบที่อาจเกิดขึ้นกับแหลงโปงพุรอน ก็จะสงผลใหทรัพยากรเสื่อมโทรมลง สงผลถึงจํานวนนักทองเที่ยวที่ลดลง สงผลถึงอาชีพและรายไดของชาวบานทองถิ่นดวย

Page 58: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม 49

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

5. ปจจัยชี้วัดมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมประเภทโปงพุรอน

มาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติประเภทโปงพุรอน หมายถึงคามาตรฐานที่แสดงถึงคุณภาพของสภาวะแวดลอม ภายใตแนวคิดที่วา การเปลี่ยนแปลงสภาวะแวดลอมดังกลาวตองอยูภายใตระดับที่ยอมรับหรือกําหนดขึ้น อันจะไมทําใหเกิดความเสื่อมโทรมของแหลงธรรมชาติโปงพุรอนนั้นๆ

5.1 หลักการเปลี่ยนแปลงที่ยอมรับได (Limits of Acceptable Change, LAC)

หลักการเปลี่ยนแปลงที่ยอมรับได หรือ “The Limits of Acceptable Change (LAC)” พัฒนาโดยหนวยงาน USDA Forest Service (Stankey, 1985) หมายถึง คาสูงสุดของการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดลอมซ่ึงเปนที่ยอมรับรวมกันของผูเกี่ยวของทุกฝาย โดยมีเปาหมายในการรักษาสภาพสิ่งแวดลอมใหมีการใชประโยชนอยางยั่งยืนและอยูในสภาพที่ไมเสื่อมโทรม (ระดับของผลกระทบที่ไมเปนอันตรายตอระบบนิเวศ)

การศึกษาปจจัยชี้วัดมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติประเภทโปงพุรอน ใชหลักการและแนวคิดจาก “The Limits of Acceptable Change (LAC)” อันเปนแนวคิดที่สามารถประยุกตใชในการจัดการเพื่อรักษามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมในพื้นที่ธรรมชาติตางๆ แนวคิดนี้ตั้งอยูบนพ้ืนฐานของการตัดสินใจวาการเปลี่ยนแปลงจากสภาพธรรมชาติหรือผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการกระทําของมนุษยที่วัดหรือสังเกตไดน้ันยังอยูในระดับที่ยอมรับไดหรือไม ถาหากระดับของการเปลี่ยนแปลงหรือผลกระทบที่เกิดขึ้นเกินกวาที่กําหนดไวเปนคามาตรฐาน ก็หมายถึงแหลงธรรมชาติน้ันมีการใชประโยชนที่เกินคามาตรฐานสิ่งแวดลอมธรรมชาติไปแลว จําเปนตองมีมาตรการในการจัดการเพื่อควบคุมหรือลดผลกระทบดังกลาวใหอยูภายใตมาตรฐานที่กําหนด

การประยุกตหลักการนี้ในการกําหนดมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติน้ัน ผูศึกษาจะตองเริ่มตนจากการกําหนดเปาหมายที่ตองการสําหรับแหลงธรรมชาติประเภทโปงพุรอนเสียกอน แลวจึงกําหนดปจจัยชี้วัดคุณภาพสิ่งแวดลอม ซ่ึงเปนการวัดระดับของผลกระทบที่มีผลตอคุณภาพของสิ่งแวดลอม แลวจึงกําหนดเกณฑเพ่ือใชในการตัดสินใจวาผลกระทบที่เกิดขึ้นตามปจจัยชี้วัดนั้นยังอยูในระดับที่ยอมรับไดหรือไม

หลังจากกําหนดเกณฑในการตัดสินใจระดับของผลกระทบสูงสุดที่ยอมใหเกิดขึ้นไดแลว กิจกรรมตอไปก็คือ การไปสํารวจขอมูลผลกระทบจากกิจกรรมของมนุษยที่มีตอทรัพยากรและระบบนิเวศในโปงพุรอน ขอมูลสําคัญที่ตองมีการเก็บรวบรวมคือ ระดับของผลกระทบตามปจจัยชี้วัดผลกระทบที่กําหนดไวแลว โดยการวัดผลกระทบตองใหความสําคัญตอวิธีการ และหนวยของการวัดใหเปนไปที่ไดกําหนดไว เพราะหากเปลี่ยนแปลงวิธีการหรือหนวยของการวัดอาจทําใหไมสามารถเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงของผลกระทบอยางตอเน่ืองตามนัยของการเปลี่ยนแปลงระยะเวลาได นอกจากนั้นการบันทึกขอมูลตองระบุวัน เวลา และสถานที่ ในการเก็บขอมูลอีกดวย

Page 59: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

50 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

การวิเคราะหผลกระทบจากการใชประโยชนวายังอยูในระดับที่ยอมรับไดหรือไมน้ัน สามารถกระทําไดหลายวิธี เชน เม่ือมีการกําหนดปจจัยและเกณฑมาตรฐานไวเรียบรอยแลว การไปสํารวจและติดตามผลกระทบที่เกิดขึ้นสามารถนําไปเปรียบเทียบกับเกณฑดังกลาวไดเลย โดยสามารถจําแนกระดับของผลกระทบที่ยอมรับใหเกิดขึ้นในแหลงทองเที่ยวแตละแหงเปน 3 ระดับ คือ ระดับผลกระทบยังยอมรับไดอยู (acceptable impact) ระดับผลกระทบถึงขั้นกําลังจะยอมรับไมได (approaching or at acceptable impact) และระดับของผลกระทบที่รุนแรงมากจนไมสามารถยอมรับผลกระทบดังกลาวใหเกิดขึ้นตอไปได (unacceptable impact) ตองมีการจัดการแกไขโดยทันที

สิ่งที่สําคัญก็คือ นักจัดการผลกระทบจากการทองเที่ยวตองใหความสําคัญตอผลกระทบที่เกินระดับที่ยอมรับไดที่กําหนดไว โดยตองมีกิจกรรมหรือการจัดการวิธีตางๆในการลดผลกระทบดังกลาวใหอยูในระดับที่ยอมรับไดใหได สวนผลกระทบที่ถึงระดับยอมรับไมไดหรือเกือบจะถึงระดับสูงสุดที่ยอมใหเกิดผลกระทบไดน้ัน ก็ตองใหความสําคัญเชนกัน เพราะผลกระทบดังกลาวมีโอกาสนําไปสูความเสื่อมโทรมระยะยาวไดในที่สุด จึงควรตองหาวิธีการจัดการควบคุมผลกระทบใหลดลงและเฝาระวังไมใหระดับของผลกระทบเกินขีดที่กําหนดไว ทายสุดผลกระทบที่ยังไมเกินระดับสูงสุดที่ยอมรับได หมายถึงมาตรการจัดการในปจจุบันเหมาะสมดีอยูแลว ไมจําเปนตองมีการเปลี่ยนแปลงในขณะนี้

การคนหาถึงสาเหตุของผลกระทบที่เกิดขึ้นในแหลงธรรมชาติเปนอีกหนึ่งกิจกรรมในขั้นตอนน้ี เม่ือใดที่พบวาระดับของผลกระทบที่ตรวจวัดในแหลงธรรมชาติชี้วาเกินระดับที่ยอมรับได ผูรับผิดชอบแหลงฯจําเปนอยางยิ่งที่ตองหาทางแกไขผลกระทบดังกลาว ซ่ึงจําเปนในเบื้องตนที่ตองคนหาถึงเหตุของปญหา หรือสาเหตุที่ทําใหเกิดผลกระทบ โดยทั่วไปแลวในขั้นตอนถัดไปของกระบวนการจัดการผลกระทบก็คือ การคัดเลือกกลยุทธหรือวิธีการจัดการผลกระทบที่เหมาะสม ซ่ึงการคัดเลือกวิธีการที่เหมาะสมที่สุดในการจัดการกับผลกระทบนั้นจะไดผลดีเพียงใดขึ้นกับความเขาใจและความสามารถในการระบุสาเหตุของปญหาไดละเอียดถูกตอง ซ่ึงสาเหตุของผลกระทบอาจเน่ืองมาจาก จํานวนผูใชประโยชน ประเภทของการใชประโยชนหรือกิจกรรม บริเวณที่มีการใชประโยชน ชวงเวลาและระยะเวลาในการใชประโยชน หรือดวยสาเหตุมาจากพฤติกรรมของนักทองเที่ยว หรือเปนผลรวมกันจากหลายสาเหตุ

สําหรับการกําหนดมาตรฐานสิ่งแวดลอมธรรมชาติประเภทโปงพุรอนโดยใชหลักการ LAC ตองทําการศึกษาวามีกิจกรรมใดบาง ณ โปงพุรอนและบริเวณโดยรอบ ที่จะสงผลกระทบตอแหลงธรรมชาติ และสงผลกระทบดานใดบางโดยเฉพาะตอเปาการอนุรักษของโปงพุรอน เพ่ือนําไปพิจารณากําหนดปจจัยชี้วัดผลกระทบ พรอมกันน้ี ยังตองมีการกําหนดเกณฑมาตรฐานวาผลกระทบรุนแรงขนาดใดเปนคาสูงสุดที่ยอมใหเกิดขึ้น หรือ ที่เรียกวา คาวิกฤติ (threshold level) ซ่ึงหมายถึงวา ถาผลกระทบมีคาสูงไปกวานี้เม่ือใด จะกอใหเกิดผลเสียหายหรือเปนอันตรายตอระบบนิเวศโปงพุรอน

Page 60: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม 51

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

เน่ืองจากการอนุรักษโปงพุรอนจําเปนตองตอบสนองวัตถุประสงคของการสงวนรักษาและการใชประโยชนโปงพุรอนอยางยั่งยืน ดังนั้นจึงนําแนวคิดเรื่องระดับของการเปลี่ยนแปลงที่ยอมรับได (Limits of Acceptable Change, LAC) มาใชในการกําหนดมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมของแหลงธรรมชาติ ซ่ึงหลักการสําคัญก็คือ การใชประโยชนโปงพุรอนยอมมีโอกาสทําใหเกิดผลกระทบหรือการเปลี่ยนแปลงตอทรัพยากร แตตองมีการกําหนดวา ในโปงพุรอนแตละแหงที่เปดใหมีการใชประโยชนน้ัน ระดับของขีดความสามารถในการรองรับการใชประโยชนสูงสุดควรเปนเทาไร โดยกําหนดจากระดับของผลกระทบจากกิจกรรมของมนุษยที่ยอมรับใหเกิดขึ้นได ภายใตหลักการที่จะตองไมทําลายหรือเปลี่ยนแปลงธรรมชาติจนหมดสภาพไป หรือธรรมชาติไมสามารถฟนฟูไดดวยตัวเองในระยะเวลาที่เหมาะสม

การประเมินมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติประเภทโปงพุรอนน้ี สามารถนําเสนอโดยโมเดลการประเมินคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ จากแนวคิด Limits of Acceptable Change โดยกําหนดตัวแปรตางๆ ที่ชี้วัดระดับผลกระทบจากกิจกรรมของมนุษย เพ่ือบงชี้วาการใชประโยชนดังกลาวนั้น อยูในภาวะที่เกินขีดความสามารถในการรองรับไดในดานตางๆ หรือไม อยางไร และประเมินคุณคาของสิ่งแวดลอมธรรมชาติประเภทโปงพุรอนตามเกณฑมาตรฐานที่กําหนดขึ้นโดยใชสมการถวงน้ําหนัก

โมเดลในลักษณะเชนน้ี สามารถชวยใหนักจัดการพื้นที่ทราบวาโปงพุรอน มีผลกระทบใดบางที่เกินคามาตรฐาน (Exceeding standard) หรือ กําลังมีแนวโนมที่จะเกิดขึ้น (At and Approaching standard) หรือ เปนระดับการใชประโยชนที่กอใหเกิดผลกระทบในระดับต่ําที่ยังยอมรับได (Below standard) ซ่ึงสามารถใชเปนขอมูลในการพิจารณากําหนดมาตรการในการจัดการแกไขผลกระทบดังกลาวตอไป

การกําหนดมาตรฐานและระบบการประเมินผลกระทบโดยใชโมเดลดังกลาว ยังสามารถใหรายละเอียดถึงประเภท ลักษณะของผลกระทบ ระดับความรุนแรงของผลกระทบเมื่อเปรียบเทียบกับความสามารถของระบบในการรองรับผลกระทบดังกลาว จุดที่เกิดผลกระทบ และแนวโนมในอนาคต หากมีการวางแผนเก็บรวบรวมขอมูลอยางตอเน่ือง

นอกจากนั้น เม่ือมีการเก็บรวบรวมขอมูลอยางตอเน่ืองมากพอโดยเฉพาะอยางยิ่ง ขอมูลผลกระทบตอระบบนิเวศ และขอมูลปริมาณการใชประโยชนหรือประกอบกิจกรรมตางๆ ยังสามารถกําหนดถึงระดับการใชประโยชนที่เหมาะสมเปนจํานวนคนตอชวงเวลาไดในอนาคต หรือสามารถกําหนดขีดความสามารถในการรองรับการใชประโยชนน่ันเอง

Page 61: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

52 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

5.2 ปจจัยชี้วัดคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติประเภทโปงพุรอน

ปจจัยชี้วัดที่นํามาใชในการกําหนดมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมแหลงธรรมชาติประเภทโปงพุรอนแบงออกเปน 4 ดาน คือ ดานสิ่งแวดลอม/ระบบนิเวศ ดานภูมิสถาปตยกรรม ดานสถาปตยกรรมและดานการบริหารจัดการ ซ่ึงรายละเอียดแสดงในตารางที่ 5 ทั้งน้ี ในแตละแหลงธรรมชาติโปงพุรอน อาจกําหนดตัวชี้วัดที่แตกตางกันไป ไมจําเปนตองมีการประเมินครบทุกปจจัยชี้วัดที่เสนอมานี้ ซ่ึงขึ้นอยูกับลักษณะทางธรรมชาติของโปงพุรอน และลักษณะการใชประโยชนของโปงพุรอน

สวนเกณฑมาตรฐานนั้น ไดกําหนดไวเปน 3 ระดับดังกลาวขางตนแลว คือ ระดับไมมีผลกระทบหรือผลกระทบนอย ระดับผลกระทบปานกลาง และระดับผลกระทบสูงหรือรุนแรงซึ่งหมายถึงมีผลกระทบเกินคามาตรฐานที่ไดกําหนดไว ซ่ึงการตรวจวัดและติดตามผลกระทบดานตางๆ เปนประจํา จะทําใหมีขอมูลทราบถึงสถานภาพของแหลงธรรมชาติประเภทโปงพุรอน วามีคุณภาพของสิ่งแวดลอมและองคประกอบตางๆ เปนอยางไร มีปญหาหรือผลกระทบมากนอยเพียงใด ในดานใด และสามารถติดตามสาเหตุของผลกระทบเพื่อนํามาพิจารณาหาทางแกไขไดทันการ

Page 62: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 53

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

ตารางที่ 5 สรุปปจจัยชี้วัดและเกณฑการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมธรรมชาติประเภทโปงพุรอน

ปจจัยชี้วัด หนวยการวัด ระดับผลกระทบ ลักษณะบงชี้คามาตรฐาน เกณฑมาตรฐาน คาถวงน้ําหนัก ดานสิ่งแวดลอม/ระบบนิเวศ

ไมมี / ต่ํา 0 – 31.25 ผลกระทบปานกลาง > 31.25 – 125.00

1. ปริมาณดินชะลางพังทลายแบบรองลึก

ตันตอไรตอป

ผลกระทบสูงมาก > 125.00

>125 ตัน/ไร/ป 3

ไมมี / ต่ํา 0 – 25 ผลกระทบปานกลาง > 25 – 50

2. การปกคลุมของรากไมโผล คารอยละของการปกคลุมของรากไมโผล

ผลกระทบสูงมาก > 50 – 100

>50% 3

3. คุณภาพน้ําในโปงพุรอน ไมมี / ต่ํา คาอุณหภูมิเฉลี่ยตอป ณ ปแรกที่เริ่มเก็บ

ผลกระทบปานกลาง คาอุณหภูมิเฉลี่ยตอป ณ ปแรกที่เริ่มเก็บ – 3° C

3.1) อุณหภูมิน้ํา องศาเซลเซียส

ผลกระทบสูงมาก คาอุณหภูมิเฉลี่ยตอป ณ ปแรกที่เริ่มเก็บ – 5° C

-5 ° C ของคาอุณหภูมิเฉลี่ยตอป ณ ปแรกที่เริ่ม

เก็บ 5

ไมมี / ต่ํา < 3 ผลกระทบปานกลาง 3 – 5

3.2) ความขุน 1 Unit = 1 mg/l Silica

ผลกระทบสูงมาก > 5 5 units 5

ไมมี / ต่ํา คาความเปนกรดดาง ณ ปแรกที่เริ่มเก็บ ผลกระทบปานกลาง คาความเปนกรดดาง ณ ปแรกที่เริ่มเก็บ ± 1

3.3) การเปนกรด-ดาง -

ผลกระทบสูงมาก คาความเปนกรดดาง ณ ปแรกที่เริ่มเก็บ ± 2

คาความเปนกรดดาง ณ ปแรกที่เริ่มเก็บ ± 2

5

ไมมี / ต่ํา ไมพบ ผลกระทบปานกลาง <5 ชิ้นตอบอหรือเสนธารน้ํารอน

3.4) จํานวนปริมาณขยะ ชิ้น

ผลกระทบสูงมาก >= 5 ชิ้นตอบอหรือเสนธารน้ํารอน

>= 5 ชิ้นตอบอหรือเสนธารน้ํารอน

5

Page 63: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

54 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

ตารางที่ 5 (ตอ)

ปจจัยชี้วัด หนวยการวัด ระดับผลกระทบ ลักษณะบงชี้คามาตรฐาน เกณฑมาตรฐาน คาถวงน้ําหนัก ไมมี / ต่ํา < 3,000

ผลกระทบปานกลาง 3,000 – 5,000 3.5) Total coliform bacteria MPN/100 mg

ผลกระทบสูงมาก > 5,000 5,000 MPN/100 mg 5

ไมมี / ต่ํา < 500 ผลกระทบปานกลาง 500 – 1,000

3.6) Fecal coliform bacteria MPN/100 mg

ผลกระทบสูงมาก > 1,000 1,000 MPN/100 mg 5

ไมมี / ต่ํา คาเฉลี่ยอัตราการไหลของน้ําที่วัดไดในแตละเดือน ณ ปแรกที่เริ่มเก็บขอมูล

ผลกระทบปานกลาง คาเฉลี่ยอัตราการไหลของน้ําที่วัดไดในแตละเดือน ณ ปแรกที่เริ่มเก็บขอมูล – 10%

4. การเปลี่ยนแปลงอัตราการไหลของน้ําพุรอน

ลบ.ม/ชั่วโมง

ผลกระทบสูงมาก คาเฉลี่ยอัตราการไหลของน้ําที่วัดไดในแตละเดือน ณ ปแรกที่เริ่มเก็บขอมูล – 20%

คาเฉลี่ยอัตราการไหลของน้ําที่วัดไดในแตละเดือน ณ ปแรกที่

เริ่มเก็บขอมูล – 20% 5

ไมมี / ต่ํา <1 ผลกระทบปานกลาง 1 – 3

5. จํานวนปริมาณขยะตกคางเฉลี่ยในแหลง (บนบก)

ชิ้นตอตร.ม.

ผลกระทบสูงมาก > 3 > 3 ชิ้นตอตร.ม. 3

ไมมี / ต่ํา ไมไดกลิ่นในระยะ 20 เมตร ผลกระทบปานกลาง มีกลิ่นบางเบาในระยะ 20 เมตร มีกลิ่นรุนแรงในระยะ 20 เมตร

6. กลิ่นจากขยะตกคาง บริเวณภาชนะรองรับขยะมูลฝอย

-

ผลกระทบสูงมาก มีกลิ่นรุนแรงในระยะ 20 เมตร 3

ไมมี / ต่ํา ไมเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มขึ้น ผลกระทบปานกลาง ลดลง รอยละ 25 ลดลง รอยละ 50

7. การเปลี่ยนแปลงจํานวนของชนิดพันธุพืชที่เปนเปาอนุรักษ

จํานวนของชนิดพันธุพืชที่เปนเปาอนุรักษ

ผลกระทบสูงมาก ลดลง รอยละ 50 3

Page 64: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 55

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

ตารางที่ 5 (ตอ)

ปจจัยชี้วัด หนวยการวัด ระดับผลกระทบ ลักษณะบงชี้คามาตรฐาน เกณฑมาตรฐาน คาถวงน้ําหนัก ไมมี / ต่ํา ขนาดเสนทางเทาเดิม

ผลกระทบปานกลาง ขยายตัวเกินอัตรารอยละ 5 ตอป 8. การขยายตัวของเสนทางเดินเทา ระยะความกวางของ

เสนทางที่ขยายออกไป ผลกระทบสูงมาก ขยายตัวเกินอัตรารอยละ 10 ตอป

รอยละ 10 ตอป 3

ไมมี / ต่ํา ไมเปลี่ยนแปลง หรือเพิ่มขึ้น ผลกระทบปานกลาง ลดลง รอยละ 5

9. ระดับความชุกชุมของสัตวที่เปนเปาการอนุรักษ

คารอยละความถี่

ผลกระทบสูงมาก ลดลง รอยละ 10 ลดลง รอยละ 10 3

ไมมี / ต่ํา ไมเปลี่ยนแปลง หรือเพิ่มขึ้น ผลกระทบปานกลาง ลดลง รอยละ 5

10. ความถี่ในการพบเห็นตัวหรือรองรอยของชนิดพันธุที่เปนเปาการอนุรักษ

คาความถี่ในการพบเห็น (ครั้ง)

ผลกระทบสูงมาก ลดลง รอยละ 10 ลดลง รอยละ 10 3

ไมมี / ต่ํา 0 ผลกระทบปานกลาง 2

11. การเปลี่ยนแปลงการใชที่ดิน รอยละตอป

ผลกระทบสูงมาก >2 >2% 5

ไมมี / ต่ํา 0 ผลกระทบปานกลาง 2

12. การบุกรุกพื้นที่ รอยละตอป

ผลกระทบสูงมาก >2 >2% 5

ไมมี / ต่ํา >200 ผลกระทบปานกลาง 100-200

13. ระยะหางจากโรงงานอุตสาหกรรมและแหลงสรางมลภาวะตางๆ

เมตร

ผลกระทบสูงมาก <100 <100 3

ไมมี / ต่ํา ไมมี/นอย ผลกระทบปานกลาง ปานกลาง

14. การถูกทําลายโดยธรรมชาติ ประเมิน

ผลกระทบสูงมาก สูง สูง 3

Page 65: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

56 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

ตารางที่ 5 (ตอ)

ปจจัยชี้วัด หนวยการวัด ระดับผลกระทบ ลักษณะบงชี้คามาตรฐาน เกณฑมาตรฐาน คาถวงน้ําหนัก ไมมี / ต่ํา ไมมี/นอย

ผลกระทบปานกลาง ปานกลาง 15. การถูกทําลายจากมนุษย ประเมิน

ผลกระทบสูงมาก สูง สูง 5

ดานองคประกอบทางภูมิสถาปตยกรรมและสถาปตยกรรม

16. ดานการแบงเขตการใชที่ดิน (zoning)

ประเมิน ไมมี / ต่ํา มีการเวนระยะหางจากโปงพุรอนออกเปนสวนตางๆ อยางชัดเจน สามารถควบคุมกิจกรรม และการเขาถึงพื้นที่แตละสวนไดสอดคลองกัน ทําใหเกิดความสะดวกในการบริหารจัดการ เชน การเวนระยะหางของสวนบริการโดยไมกอใหเกิดผลกระทบจาก การพัดพาน้ําผิวดินมาจากสวนบริการ หรือมลภาวะทางเสียง และกลิ่น

ผลกระทบปานกลาง การเวนระยะหางจากโปงพุรอนไมชัดเจน พื้นที่ถูกแบงเปนสวนตางๆ อยางอยาบๆ แตสามารถควบคุมการเขาทํากิจกรรมใหสอดคลองกับพื้นที่แตละสวนได

ผลกระทบสูงมาก 3

ผลกระทบสูงมาก ไมมีการเวนระยะหางจากโปงพุรอนออกเปนสวนตางๆ (พื้นที่ธรรมชาติ 1 พื้นที่กันชน หรือสวนบริการและที่ทําการ 2 และสวนการเขาถึง 3) เชน สวนบริการอยูติดกับโปงพุรอน สามารถเขาทํากิจกรรมตางๆ บริเวณโปงพุรอนไดโดยตรง กอใหเกิดความเสื่อมโทรม และการปนเปอนตอคุณภาพน้ํา

Page 66: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 57

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

ตารางที่ 5 (ตอ)

ปจจัยชี้วัด หนวยการวัด ระดับผลกระทบ ลักษณะบงชี้คามาตรฐาน เกณฑมาตรฐาน คาถวงน้ําหนัก 17. ดานขีดความสามารถทาง

กายภาพ ประเมิน ไมมี / ต่ํา ไมพบการขยายเขตพื้นที่ของสวนบริการ และการเขาถึง หรือ

การพัฒนารุกล้ําพื้นที่ธรรมชาติ เปนการพัฒนาที่รวมกิจกรรมตางๆ ไวดวยกันอยางเหมาะสมทําใหพบเห็นอาคาร

สิ่งกอสราง และสิ่งอํานวยความสะดวกในปริมาณนอย เกิดที่โลง และมีทัศนียภาพที่สวยงาม

ผลกระทบปานกลาง พบการขยายเขตพื้นที่ของสวนบริการ และการเขาถึง แตไมพบการพัฒนารุกล้ําพื้นที่ธรรมชาติ การพัฒนาอาคาร สิ่งกอสราง และสิ่งอํานวยความสะดวก ยังมีลักษณะกระจายตัว แตมีปริมาณนอย และไมเกิดความแออัด

ผลกระทบสูงมาก 3

ผลกระทบสูงมาก พบการขยายเขตพื้นที่ของสวนบริการ และการเขาถึงสูง หรือมีการพัฒนารุกล้ําพื้นที่ธรรมชาติมาก การพัฒนาอาคาร สิ่งกอสราง และสิ่งอํานวยความสะดวก มีลักษณะกระจายเต็มพื้นที่ มีปริมาณมาก จนเกิดความแออัด ทําใหทัศนียภาพเสื่อมโทรม ไมสวยงาม

18. ดานสุนทรียภาพและความงาม ประเมิน ไมมี / ต่ํา ไมมีสิ่งกอสรางซอนทับบริเวณโปงพุรอน แตอาจมีราวกันตกที่ใชวัสดุธรรมชาติ โดยมีขนาด และความสูง ไมบดบังความงามของโปงพุรอน หรือมีการปรับปรุงภูมิทัศนรอบนอกอยูเสมอ เพื่อเผยรูปโฉมโปงพุรอนใหมีความโดดเดนและสรางความประทับใจ เชน การสางโปรงบริเวณโคนไมยืนตน

Page 67: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

58 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

ตารางที่ 5 (ตอ)

ปจจัยชี้วัด หนวยการวัด ระดับผลกระทบ ลักษณะบงชี้คามาตรฐาน เกณฑมาตรฐาน คาถวงน้ําหนัก ผลกระทบปานกลาง สิ่งกอสราง และพื้นดาดแข็ง (hard scape) มีนอย จนไม

สงผลตอทัศนียภาพ หรือใชวัสดุ และสีสันเลียนแบบธรรมชาติ หรือมีการตกแตงภูมิทัศนเพื่อลดทอนขนาดและความแข็งกระดาง โดยไมบดบังความงามของโปงพุรอน

ผลกระทบสูงมาก 3

ผลกระทบสูงมาก สิ่งกอสราง และพื้นดาดแข็ง (hard scape) บริเวณโปงพุรอนมีมาก เชน ขอบบอ และลานรอบบอ สงผลการทบตอ

ทัศนียภาพ สีสันและวัสดุขาดความกลมกลืนกับธรรมชาติ หรือมีขนาด และความสูง บดบังความงามของโปงพุรอน

19. ความเหมาะสมของขนาดอาคาร สิ่งกอสราง รูปทรงการออกแบบ วัสดุ และการใชสี

ประเมิน ไมมี / ต่ํา สัณฐานหรือขนาดอาคารมีความกลมกลืน ไมใหญโตเกินไป มีตําแหนงที่ตั้งเหมาะสม หรือและมีความสอดคลองกับสภาพภูมิประเทศ การใชวัสดุ และสีสัน ในการตกแตงมีความสอดคลองดานรูปลักษณ อาคารสามารถใชประโยชนไดมาก และสงเสริมสุนทรียภาพของพื้นที่

ผลกระทบปานกลาง มีการตกแตงภูมิทัศนเพื่อลดทอนขนาด และความแข็งกระดางของอาคาร มีการเลือกใชวัสดุ และสีสันที่เปนธรรมชาติ หรือเลียนแบบธรรมชาติ อาคารสามารถใชประโยชนไดคอนขางมาก

ผลกระทบสูงมาก 3

ผลกระทบสูงมาก สัณฐานหรือขนาดอาคารมีขนาดใหญโต ตําแหนงไมเหมาะสม หรือขัดตอสภาพภูมิประเทศ การออกแบบ และการเลือกใชวัสดุ และสีสันไมกลมกลืนกับธรรมชาติ ขาดความสวยงาม อาคารสามารถใชประโยชนไดนอย

Page 68: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 59

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

ตารางที่ 5 (ตอ)

ปจจัยชี้วัด หนวยการวัด ระดับผลกระทบ ลักษณะบงชี้คามาตรฐาน เกณฑมาตรฐาน คาถวงน้ําหนัก ดานการบริหารจัดการ

ไมมี / ต่ํา มีการบํารุงสิ่งกอสรางอยูเสมอ เมื่อเกิดการชํารุด ผลกระทบปานกลาง มีการบํารุงสิ่งกอสรางปละ 1 ครั้ง

20. การดูแลบํารุงรักษาสิ่งอํานวยความสะดวก/สิ่งกอสรางในพื้นที่

-

ผลกระทบสูงมาก ไมมีการบํารุงรักษาสิ่งกอสราง ไมมีการบํารุงรักษาสิ่งกอสราง 2

21. ความสะอาดของหองสุขา ความถี่ของการทํา ไมมี / ต่ํา ทุกวัน ความสะอาด ผลกระทบปานกลาง วันเวนวัน ผลกระทบสูงมาก ไมมีการทําความสะอาดเลย

ไมมีการทําความสะอาดเลย 2

ไมมี / ต่ํา การกําหนดโดยมีกฎระเบียบและมีการดูแลใหปฎิบัติตาม ผลกระทบปานกลาง การกําหนดโดยมีกฎระเบียบแตไมมีการดูแลใหปฏิบัติตาม

อยางจริงจัง

22. การกําหนดชวงเวลาการใช -

ผลกระทบสูงมาก ไมมีกฎระเบียบกําหนดไว

ไมมีกฎระเบียบกําหนดไว 1

ไมมี / ต่ํา มีเจาหนาที่ดูแลประจําในพื้นที่ (ทุกวันหยุดราชการ) ผลกระทบปานกลาง มีเจาหนาที่มาดูแลบาง (มากกวา 12 ครั้งตอป)

23. การมีเจาหนาที่ดูแลประจําในพื้นที่

-

ผลกระทบสูงมาก มีเจาหนาที่มาดูแลนอยมาก (นอยกวา 12 ครั้งตอป)

เจาหนาที่มาดูแลนอยมาก (นอยกวา 12 ครั้งตอป)

2

Page 69: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

60 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

6. พื้นที่ศึกษา

6.1 ที่ตั้งและลักษณะพื้นที่ศึกษา

แหลงโปงพุรอนสํานักสงฆธารน้ํารอน ตั้งอยูที่บานธารน้ํารอน ตําบลเขาถาน อําเภอทาฉาง จังหวัดสุราษฎรธานี ตั้งอยูริมทางหลวงหมายเลข 4112 (พุนพิน-ทาชนะ) บริเวณกิโลเมตรที่ 20 หางจากที่วาการอําเภอทาฉาง ประมาณ 5 กิโลเมตร หางจากอําเภอเมืองสุราษฎรธานี ประมาณ 41 กิโลเมตรและบางสวนของธารน้ํารอนอยูติดกับทางรถไฟ ที่ตั้งตามพิกัดภูมิศาสตร คือ 47P E 522096.178 N 1031871.239 (ภาพที่ 9) ขนาดของพื้นที่ประมาณ 57 ไร มีลักษณะเดนเปนตาน้ํารอน บอนํ้ารอนและธารน้ํารอน จํานวน 4 จุด ระบบนิเวศอยูในบริเวณเชื่อมตอของปาชายเลน ปาดิบแลงและปาชายหาด จึงทําใหพบพันธุพืชของปาทั้งสามประเภทขึ้นปะปนกัน สําหรับลักษณะการไหลของน้ําจากการสํารวจภาคสนามพบวาเปนทิศทางที่ไหลมาจากเขาธารน้ํารอนซ่ึงอยูดานขางของลานธารน้ํารอนแลวไหลผานปาชายเลนออกสูทะเล จุดที่นาสนใจอื่นๆ ไดแกบริเวณลานโลกพระจันทร ซ่ึงเปนลักษณะเกิดจากการตกตะกอนทางเคมีของน้ําพุรอน เปนการตกผลึกของแรแคล-ไซต (ภาพที่ 10)

ภาพท่ี 9 ที่ตั้งและการเขาถึงแหลงโปงพุรอนสํานักสงฆธารนํ้ารอน ตําบลเขาถาน อําเภอทาฉาง

จังหวัดสุราษฎรธานี

แหลงโปงพุรอนสํานักสงฆธารน้ํารอน

Page 70: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม 61

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

ภาพที่ 10 เสนทางการเขาสูพ้ืนที่จากทางหลวงหมายเลข 4112 จะพบทางเขารอง ทางเขาหลักกอนถึงบริเวณโปงพุรอน

6.2 อุทกธรณีวิทยาน้ําพุรอน 1) ลักษณะการเกิดนํ้าพุรอน คาดวาจะเกิดจากน้ําใตดินหรือนํ้าบาดาลที่มีความเย็น

ไหลลงไปตามรอยแตก หรือชองวางของหินจนไปถึงบริเวณที่เปนหินรอนในระดับลึก จึงทําใหนํ้าเหลานั้นไดรับการถายเทความรอนจนกลายเปนน้ํารอน รวมกับ/หรือ เปนการแพรกระจายของน้ํารอน (hydrothermal) จากหินหลอมเหลว (magma) ในระดับลึก แลวไหลยอนกลับขึ้นมาที่ผิวดิน จนกลายเปนน้ําพุรอน

2) ลักษณะและทิศทางการไหล นํ้าพุรอนมีการไหลออกมาจากดานลางสูผิวดินผานรอยแตกในชั้นหินและมีทิศทางการไหลจากทิศตะวันตกบริเวณบอลางบาป และ มีการผสมกับนํ้าบาดาลระดับตื้น ซ่ึงเปนน้ําเย็นบางบริเวณโดยเฉพาะในสวนที่ติดกับเชิงเขา ซ่ึงหลักฐานที่พบคือบอนํ้าตื้นที่เปนบอขุดบริเวณใกลบันไดทางขึ้นยอดเขา ทําใหนํ้าพุรอนมีอุณหภูมิลดลงบางสวน และเม่ือถึงใกลผิวดินจะไหลไปสูบริเวณที่เปนธารน้ํารอนดานตะวันออกของพื้นที่ลานโลกพระจันทร ซ่ึงทิศทางการไหลน้ีจะสอดคลองกับระดับความสูงของพ้ืนที่ ที่มีความลาดเอียงจากทิศตะวันตกไปทางทิศตะวันออก

3) อุณหภูมิของนํ้ารอน มีอุณหภูมิระหวาง 42.5 ถึง 61.7 องศาเซลเซียส และคาดวาในระดับลึกอุณหภูมิของน้ํารอนจะสูงกวานี้

ทางเขาหลัก

บริเวณโปงพุรอน

N

สํานักสงฆธารน้ํารอน (สาขาวัดพระธาตุไชยา)

4112

ทางเขารอง

Page 71: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

62 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

4) อัตราการไหลน้ําพุรอน จากการวัดอัตราการไหลในภาคสนาม 3 บริเวณพบวา มีอัตราการไหล ตั้งแต 20 ถึง 52.6 ลูกบาศกเมตรตอชั่วโมง กลาวคือ นํ้าพุรอนน้ีถือไดวาเปนน้ําบาดาลประเภทหนึ่ง ที่เรียกวาชั้นน้ําไรแรงดัน (unconfined aquifer) แตมีบางสวนที่เปนชั้นน้ําบาดาลที่มีแรงดัน (confined aquifer) ทั้งนี้เพราะชั้นทราเวอรทีนดานบนบางสวนเปนชั้นกั้นน้ํา และหลักฐานที่แสดงวาเปนชั้นน้ําบาดาลแบบมีแรงดัน ไดแกบอนํ้า (บอปูน) บริเวณทิศตะวันออกเฉียงใตของลานโลกพระจันทร พบวามีแรงดันสูงกวาระดับผิวดินในบริเวณนั้นประมาณ 25 เซนติเมตร

บริเวณบอลางบาป (จุดที่ 1) มีอัตราการไหลประมาณ 20 ลูกบาศกเมตรตอชั่วโมง

บริเวณปลายธารน้ํารอน (จุดที่ 2) มีอัตราการไหลประมาณ 33 ลูกบาศกเมตรตอชั่วโมง

บริเวณจุดที่รอนที่สุด (60°C) (จุดที่ 3) มีอัตราการไหลประมาณ 52.6 ลูกบาศกเมตรตอชั่วโมง

5) การเกิดลานโลกพระจันทร การเกิดลานโลกพระจันทร เกิดจากการตกตะกอนทางเคมีของน้ําพุรอน เปนการตกผลึกของแรแคลไซต (Calcite : CaCO3) ที่มีชื่อเฉพาะวาทราเวอรทีน (travertine) ซ่ึงเปนอีกรูปแบบหนึ่งของแรแคลไซต มีลักษณะเปนรูพรุนมีสีนํ้าตาลออน ถึงนํ้าตาลแกมเหลือง กระบวนการเกิดนั้น เกิดจากสารแคลเซียมไบคารบอเนต(CaHCO3) ที่ละลายในน้ํารอนเม่ือไหลมาบนผิวดินจะคายกาซคารบอนไดออกไซดออกไป ทําใหตกผลึกเปนแรแคลไซต ดังแสดงใน สมการที่ [1]

H20 + CO2 + Ca2+ + 2(HCO3) 2(H+) + 2(HCO3) + CaCO3 [1]

[เกิดการละลาย] [นํ้า +หินปูน (แรแคลไซต)]

ลานโลกพระจันทรแหงน้ีมีลักษณะคลายลานตะพักของลําน้ํา (river terrace) แตจะเกิดจากการตกตะกอนทางเคมี (chemical sedimentation) ของสารแคลเซียมคารบอเนต ทําใหเกิดการพอกตัวของหินทราเวอรทีนที่เกิดจากน้ําพุรอนตั้งแตในอดีตตอเน่ืองมาจนถึงปจจุบัน แตเน่ืองจากระดับนํ้าทะเลในปจจุบันน้ันไดลดต่ํากวาระดับนํ้าทะเลในอดีตเม่ือหลายพันปที่ผานมา ทําใหระดับของน้ําพุรอนซึ่งเปนน้ําบาดาลประเภทหนึ่งมีระดับนํ้าลดลงไปดวย จึงทิ้งรองรอยใหเห็นเปนลานตะพักดังที่ปรากฏใหเห็นในปจจุบัน และในขณะเดียวกันระดับทองนํ้าของธารน้ํารอนก็ถูกกัดเซาะในแนวดิ่ง (down cutting) ใหลึกลงอยางสอดคลองกับการลดระดับของ

Page 72: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม 63

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

นํ้าทะเลในอดีตจนถึงปจจุบันจนเปนรองลึก และเปนเหตุใหเกิดจุดน้ําพุรอนไหลออกมาบริเวณผนังฝงตะวันตกของรองน้ําดังกลาว

6) จุดนํ้าพุ ในบริเวณตอนกลางของลานโลกพระจันทร พบวามีระดับนํ้าใกลผิวดินมากคือประมาณ 20-25 เซนติเมตร และบางสวนพบวามีระดับนํ้าอยูสูงกวาผิวดิน จึงสรุปไดวาในบริเวณลานโลกพระจันทรการไหลของน้ํารอนจะมีทิศทางการไหลจากทิศตะวันตกไปทางตะวันออก และไปปรากฏเปนจุดที่มีนํ้ารอนไหลออกมาทางขอบฝงตะวันตกของธารน้ํารอน ซ่ึงจุดที่เปนน้ําพุรอนในบริเวณนี้จะเปนน้ําพุ (spring) แบบ water table spring และจากการสังเกตพบวาจุดที่นํ้าพุไหลออกมานั้น มีแรกํามะถันพบเปนคราบสีเหลือง ซ่ึงสอดคลองกับผลการวิเคราะหปริมาณกํามะถันจากน้ําตัวอยาง จํานวน 5 ตัวอยาง ซ่ึงมีกํามะถันอยูประมาณรอยละ 1.13 ถึง 1.78 อุณหภูมิอยูในชวง 42.5 – 61.7 องศาเซลเซียส มีคา pH เทากับ 7.76

7) ธารนํ้ารอน ในธารน้ํารอนจะมีสาหรายบางชนิดที่สามารถทําใหสารหินปูนเกาะและตกตะกอนเปนของแข็ง ดังน้ันในบางสวนโดยเฉพาะดานตะวันออกของธารน้ํารอน ซ่ึงเดิมเคยมีนํ้ารอนไหลผานแตในปจจุบันทางน้ําไดกัดเซาะทองนํ้าลึกลงไปทําใหไมมีนํ้ารอนมาหลอเลี้ยงในบริเวณนั้นอีก จึงทําใหเกิดการแหงตัว แตเน่ืองจากบริเวณนั้นมีสาหรายที่มีสารหินปูนตกตะกอนแทรกสลับในชั้นซากของสาหรายประกอบกับยังมีความชื้นอยูบางจึงทําใหเกิดเปนชั้นดินที่มีความนุม

6.3 ลักณะทางชวีภาพ

ในบริเวณพื้นที่ศึกษาบริเวณธารน้ํารอน ตําบลเขาถาน อําเภอทาฉาง จังหวัดสุราษฎรธานี พบสังคมพืชหลักๆ 3 ชนิด ไดแก

1) สังคมพืชปาดิบแลง (Dry evergreen forest) สภาพโดยทั่วไปของปาดิบแลงบริเวณบนเขาใกลพ้ืนที่บอนํ้ารอนยังคงมีสภาพที่

สมบูรณดีมาก แมวาจะมีพ้ืนที่บางสวนถูกทําลายไปเนื่องจากมีการขุดทําลายคาดวาเพื่อนําดินลูกรังไปใช (ภาพที่ 11 ) โดยพรรณไมที่มีคาดัชนีความสําคัญใน 5 อันดับแรก ไดแก สักดอน (Vatica harmandiana) พลองใบใหญ (Memecylon ovatum) กระเบากลัก (Hydnocarpus ilicifolia) Euonymus sp. และ หัน (Knema globularia) เรือนยอดของสังคมพืชปาดิบแลงบริเวณนี้สามารถแบงออกไดเปน 3 ชั้นเรือนยอด โดยเรือนยอดชั้นบนมีความสูงประมาณ 15-25 เมตร พรรณไมที่พบในเรือนยอดชั้นนี้สวนใหญจะเปน สักดอน กระบาก (Anisoptera costata) และหวาเปนหลัก เรือนยอดชั้นรองมีความสูงประมาณ 5-15 เมตร พรรณไมที่พบในเรือนยอดชั้นนี้คอนขางหลากหลาย เชน พลองใหญ กระเบากลัก Euonymus sp. หัน พลับพลา ตังหน สําเภา นน ชะมวง ออยชาง และ มะหาด เปนตน สําหรับในเรือนยอดชั้นลางนั้น มีความสูงประมาณ 3-5 เมตร พรรณไมที่พบเชน พริกไทยดง ผักหวานเมา ปลาไหลเผือก รวมถึงไมวัยรุนของเรือนยอดชั้นบนและชั้นรอง

Page 73: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

64 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

ภาพที่ 11 ทัศนียภาพปาดิบแลงบริเวณแหลงโปงพุรอนสํานักสงฆธารน้ํารอน

2) สังคมพืชปาชายเลน (Mangrove forest) สังคมพืชปาชายเลนที่พบในพื้นที่ศึกษาจัดเปนแถบบริเวณดานหลังของปาชาย

เลนในภาพรวม (ภาพที่ 12) ดินจะเปนเลนแข็งและโดยปกติแลวจะมีนํ้าทะเลทวมถึงเฉพาะชวงที่นํ้าทะเลขึ้นสูงสุด สภาพโดยทั่วไปไมคอยสมบูรณเหมือนปาชายเลนทั่วๆ ไปทั้งน้ีอาจเนื่องมาจาก การถูกกีดกันทางเดินของน้ําทั้งโดยทางรถยนตและทางรถไฟ รวมถึงพ้ืนที่เกษตรกรรมใกลเคียง ฝาดดอกแดง (Lumnitzera littorea) เปนชนิดพันธุที่มีคาดัชนีความสําคัญสูงที่สุด (IVI=199.8) โดยทั่วไปแลวเรือนยอดของสังคมพืชปาชายเลนมักจะมีเพียงชั้นเดียว สูงประมาณ 7-10 เมตร ทั้งน้ีเน่ืองจากองคประกอบของพรรณไมในสังคมมักเปนพวกที่ตองการแสงมากในการเจริญเติบโตจึงมักสงเรือนยอดมาอยูในระดับใกลเคียงกันเพ่ือใหมีแสงเพียงพอตอการเจริญเติบโต ประกอบกับปจจัยในเรื่องของลมทําใหไมมีไมชนิดไหนสูงโดดเดนเหนือพรรณไมอ่ืนๆ ในพ้ืนที่ศึกษาจะพบพันธุไมอีกชนิดหน่ึงแตเปนไมพุม บางครั้งกึ่งเลื้อยพาด คือตนรังแค มีคาดัชนีความสําคัญสูงเปนอันดับสองรองจากฝาดดอกแดง (IVI=55.06) โดยจะพบเปนพันธุไมเดนภายใตเรือนยอดของฝาดดอกแดง

ภาพที่ 12 ทัศนียภาพปาชายเลนบริเวณแหลงโปงพุรอนสํานักสงฆธารน้ํารอน

3) สังคมพืชบริเวณเกาะแกว สังคมพืชบริเวณน้ีคอนขางยากตอการจําแนกวาเปนสังคมพืชแบบไหน

เน่ืองจากพรรณไมที่พบขึ้นในสังคมจะผสมกันไปของพรรณไมเดนๆ จาก 3 ชนิดสังคมพืช คือ ปา

Page 74: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม 65

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

ดิบแลง ปาชายหาด (beach forest) และ ปาชายเลน (ภาพที่ 13) โดยพรรณไมที่มีคาดัชนีความสําคัญใน 5 อันดับแรก ไดแก เกด (Manilkara hexandra) โกงกางหูชาง (Guettarda speciosa) หงอนไกทะเล (Heritiera littoralis) กะลิง (Diospyros pilosanthera) และ งาไซ (Pouteria obovata) อยางไรก็ตามหากพิจารณาจากองคประกอบของพรรณไมโดยภาพรวมโดยไมพิจารณาวาคาดัชนีความสําคัญจะเปนอยางไรนั้น สังคมพืชบริเวณนี้นาจะมีความใกลเคียงกับปาดิบแลงมากที่สุด

การสํารวจสัตวปา ในบริเวณพื้นที่ศึกษาแหลงโปงพุรอนสํานักสงฆธารน้ํารอน ตําบลเขาถาน อําเภอทาฉาง จังหวัดสุราษฎรธานี ในชวงวันที่ 5-7 กรกฎาคม 2551 พบนก 9 อันดับ 22 วงศ 53 ชนิด สัตวเลี้ยงลูกดวยนม 3 อันดับ 6 วงศ 12 ชนิด สัตวสะเทินนํ้าสะเทินบก 1 อันดับ 4 วงศ 11 ชนิด และ สัตวเลื้อยคลาน 2 อันดับ 5 วงศ 12 ชนิด พบเปนสัตวปาคุมครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุมครองสัตวปา พุทธศักราช 2535 รวมทั้งหมด 49 ชนิด มีรายละเอียดดังตอไปน้ี

1) การสํารวจนกทั้ง 3 สังคมพืช พบนกทั้งหมด 53 ชนิด ซ่ึงมีสถานภาพเปนสัตวปาคุมครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุมครองสัตวปา พุทธศักราช 2535 ถึง 44 ชนิดดวยกัน สถานภาพตามสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (ONEP, 2006) มีสถานภาพใกลถูกคุกคาม (Near Threatened: NT) จํานวน 2 ชนิด คือ นกออก (Haliaeetus leucogaster (Gmelin) 1788.) และนกปรอดหัวโขน (Pycnonotus jocosus (Linnaeus) 1758.) และสถานภาพตาม อนุสัญญาวาดวยการคาระหวางประเทศ ซ่ึงชนิดสัตวปาและพืชปาที่ใกลจะสูญพันธุ (CITES, 2005) เปนชนิดพันธุแนบทายบัญชีหมายเลข 2 จํานวน 1 ชนิด คือ นกเคากู (Otus bakkamoena Pennant, 1769.) และเปนชนิดพันธุแนบบัญชีหมายเลข 3 จํานวน 1 ชนิด คือ นกยางควาย (Bubulcus ibis (Linnaeus) 1758.)

2) การสํารวจสัตวเลี้ยงลูกดวยนม ดวย harp trap (ใชสํารวจคางคาว) และการเดินสํารวจ พบสัตวเลี้ยงลูกนมทั้งหมด 12 ชนิด ไดแก กระแตใต กระรอกปลายหางดํา และคางคาวอีก 10 ชนิดไดแก คางคาวกินผลไม 2 ชนิดและคางคาวกินแมลง 8 ชนิด พบวา เปนสัตวปาคุมครอง

ภาพท่ี 13 ทัศนียภาพสังคมพืชบริเวณเกาะแกวในแหลงโปงพุรอนสํานักสงฆธารน้ํารอน

Page 75: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

66 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุมครองสัตวปา พุทธศักราช 2535 จํานวน 3 ชนิด คือ คางคาวหนายักษสามหลืบ (Hipposideros larvatus (Horsfield) 1823.) คางคาวหนายักษเล็ก (Hipposideros pomona Andersen, 1918.) และคางคาวมงกุฎเลียนมลายูหางสั้น (Rhinolophus stheno Anderson, 1905.) ตามสถานภาพของความเสี่ยงตอการสูญพันธุของสัตวปาตาม สหภาพนานาชาติเพ่ือการอนุรักษธรรมชาติและทรัพยากรธรรมชาติ (IUCN, 2006) พบวาสัตวเลี้ยงลูกดวยนมทั้งหมดที่พบมีสถานภาพมีความเสี่ยงนอยตอการสูญพันธุ (Least Concern: LC)

ในการสํารวจสัตวเลี้ยงลูกดวยนมพบคางคาวกินแมลงหลายชนิด โดยพบคางคาวบินอยูรอบๆ ปาดิบแลงเปนจํานวนมาก คาดวานาจะมีจํานวนชนิดของคางคาวมากกวา 10 ชนิด โดยเฉพาะคางคาวกินผลไมที่ตองใชตาขายในการดัก ในกลุมของคางคาวกินแมลงบางชนิดที่จับไดนาจะมาจากถ้ําซึ่งอยูในรัศมี 20 กิโลเมตรมายังพ้ืนที่ศึกษาคือแหลงโปงพุรอนสํานักสงฆธารนํ้ารอนเพ่ือหากินแมลงหรือบินผานไปยังพ้ืนที่หากินอ่ืนบริเวณใกลเคียง (ภาพที่ 14)

ภาพที่ 14 ภาพตัวอยางสัตวเลี้ยงลูกดวยนมที่สํารวจพบบริเวณแหลงโปงพุรอนสํานักสงฆธารน้ํารอน

3) การเดินสํารวจสัตวเลื้อยคลานและสัตวสะเทินนํ้าสะเทินบก พบทั้งหมด 11 ชนิด จาก 5 วงศ 2 อันดับ พบ 1 ชนิดที่เปนสัตวปาคุมครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุมครองสัตวปา พุทธศักราช 2535 ไดแก เห้ีย (Varanus salvator (Laurenti) 1768) นอกจากนี้ มี 1 ชนิด ไดแก จ้ิงเหลนตนไม (Dasia olivacea Gray, 1839) ถูกจัดใหอยูในสถานภาพใกลถูกคุกคาม (Near Threatened: NT) ตามสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (ONEP, 2006) สวนที่เหลืออีก 9 ชนิดนั้นจัดอยูในสถานภาพเปนกังวลนอยที่สุด (Least concern: LC) ทั้งน้ียังพบสัตวเฉพาะถิ่นจํานวน 1 ชนิด คือ จ้ิงเหลนหลากลาย (Mabuya macularia (Blyth, 1853)) นอกจากนี้จากการสํารวจพบสัตวสะเทินน้ําสะเทินบกทั้งหมด 11 ชนิด 10 ชนิดถูกจัดใหอยูในสถานภาพเปนกังวลนอยที่สุด (Least concern: LC) ตามสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (ONEP, 2006) อีก 1 ชนิด จัดอยูในสถานภาพขอมูลไมเพียงพอ (Data Deficient: DD) ไดแก กบหนอง (Fejervarya limnocharis (Gravenhorat, 1829)) และตามสถานภาพของความเสี่ยงตอการสูญพันธุของสัตวปาตามสหภาพนานาชาติเพ่ือการอนุรักษธรรมชาติและทรัพยากรธรรมชาติ (IUCN, 2006) พบวาสัตวสะเทินนํ้าสะเทินบกทั้ง 11 ชนิด มีสถานภาพเปนกังวลนอยที่สุด (Least concern: LC)

Page 76: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม 67

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

6.4 การใชประโยชนที่ดินในปจจุบัน รูปแบบทางภูมิสถาปตยกรรมและสถาปตยกรรมของแหลงโปงพุรอนสํานักสงฆธารน้ํารอน

6.4.1 ขอมูลดานกายภาพและสิง่อํานวยความสะดวก

พ้ืนที่โปงพุรอน สํานักสงฆธารน้ํารอน สามารถแบงพ้ืนที่ออกเปน 3 สวนหลักๆ ไดแก สวนสํานักสงฆธารน้ํารอน สวนพื้นที่บริการและอาบน้ํารอน และสวนพ้ืนที่ธรรมชาติโปงพุรอน ซึ่งพ้ืนที่แตละสวนดังกลาวจะมีสิ่งอํานวยความสะดวกที่มีความเกี่ยวของกับพ้ืนที่รองรับอยู ยกเวนสวนพ้ืนที่ธรรมชาติโปงพุรอนที่ยังคงมีสภาพทางกายภาพที่มีความเปนธรรมชาติอยู (ภาพที่ 15)

ภาพที่ 15 การแบงพ้ืนที่แหลงโปงพุรอนสํานักสงฆธารน้ํารอน ออกเปน 3 สวน

6.4.2 ขอมูลดานการบริหารจัดการ

จากขอมูลขององคการบริหารสวนตําบลเขาถาน ตําบลเขาถาน อําเภอทาฉาง จังหวัดสุราษฎรธานี สําหรับดานบริหารจัดการแหลงโปงพุรอนสํานักสงฆธารน้ํารอน พบวา องคการบริหารสวนตําบลเขาถานในฐานะเปนผูดูแลพ้ืนที่ของรัฐ ไดดําเนินการใหสํานักงานที่ดินจังหวัดสุราษฎรธานีทําการรังวัดพื้นที่ดังกลาว ตอมาไดมีการออกหนังสือสําคัญที่หลวง เลขที่ระวาง

N

สวนพื้นที่ ปาชายเลน

สวนพื้นโปงพุรอน

สวนสํานักสงฆ ธารนํ้ารอน

สวนพื้นที่บริการอาบน้ํารอน

Page 77: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

68 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

4827IV2230-1 ใหพ้ืนที่ดังกลาวอยูในการครอบครองของกระทรวงมหาดไทย ในเนื้อที่ประมาณ 57 ไร 3 งาน 08 ตารางวา ปจจุบันการใชประโยชนในพ้ืนที่โปงพุรอน มีรูปแบบของการทองเที่ยวและใชบริการอาบน้ําแตยังไมเปนที่แพรหลาย เน่ืองจากพื้นที่ยังไมไดรับการพัฒนาทางกายภาพ และพ้ืนที่บางสวนก็มีสภาพทรุดโทรมยังไมเปนที่ดึงดูดใจ อีกทั้งงบประมาณในการบริหารจัดการ และงบประมาณในการบํารุงรักษายังไมเพียงพอ แตอยางไรก็ตามพื้นที่ดังกลาวมีความเหมาะสมที่จะเปนแหลงเรียนรูสําหรับผูสนใจศึกษาระบบนิเวศที่เปนเอกลักษณในรูปแบบของการทองเที่ยวเชิงนิเวศ โดยจุดมุงหมายของการบริหารจัดการนั้น เนนใหพ้ืนที่ดังกลาวเปนที่ที่มีความยั่งยืนในดานการศึกษาระบบธรรมชาติ และไมมุงเนนการสรางสิ่งปลูกสรางที่ไมจําเปน และสําหรับการพัฒนาพ้ืนที่ในอนาคต พบวา มีการเตรียมการดานบุคลากรในการเฝาระวังเพียงดานเดียว ซ่ึงบุคลากรเหลานี้เปนอาสาสมัครปองกันฝายพลเรือนสังกัดองคการบริหารสวนตําบลเขาถาน จํานวน 50 นาย และไดรับการอบรมกูชีพ และกูภัย เพ่ือปองกันปญหาในดานตางๆ ไมวาจะเปนปญหาดานอาชญากรรม การปองกันชีวิตและทรัพยสินหรือการลักทรัพย เปนตน ดังนั้นในสวนนี้จึงมีการรวบรวมขอมูลเพ่ือนําเสนอแนวทางในการบริหารจัดการดานอ่ืนๆ ไดแก แนวทางการจัดการพื้นที่เม่ือแบงตามเขตการทองเที่ยว และการบริหารจัดการดานการใชประโยชนที่ดิน เปนตน

6.5 ผลการประเมินปจจัยชี้วัดมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติประเภทโปงพุรอนสํานักสงฆธารน้ํารอน

จากการสํารวจขอมูลสําหรับการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมธรรมชาติประเภทโปงพุรอนใน

พ้ืนที่แหลงโปงพุรอนสํานักสงฆธารนํ้ารอน ตําบลเขาถาน อําเภอทาฉาง จังหวัดสุราษฎรธานี พบวา คุณภาพของสิ่งแวดลอมธรรมชาติโดยรวมมีคาเทากับ 1.29 จัดวามีผลกระทบระดับต่ํา ทั้งนี้ คุณภาพดานสิ่งแวดลอม/ระบบนิเวศจัดวามีผลกระทบระดับต่ํา คาคะแนนเทากับ 1.07 คุณภาพสิ่งแวดลอมดานภูมิสถาปตยกรรมและสถาปตยกรรมจัดวามีผลกระทบระดับต่ํา คาคะแนนเทากับ 1.5 และคุณภาพสิ่งแวดลอมของแหลงโปงพุรอนสํานักสงฆธารน้ํารอนดานการบริหารจัดการจัดวามีผลกระทบระดับรุนแรง คาคะแนนเทากับ 3.0 รายละเอียดดังตารางที่ 6

Page 78: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 69

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

ตารางที่ 6 ปจจัยชี้วัดและผลการประเมนิผลกระทบสิง่แวดลอมธรรมชาติประเภทโปงพุรอนของแหลงโปงพุรอนสํานักสงฆธารน้ํารอน

ปจจัยชี้วัด หนวยการวัด ระดับผลกระทบ ลักษณะบงชี้คามาตรฐาน ระดับคะแนนการประเมินผลกระทบ

คาถวงน้ําหนัก

ขอมูลดิบ

ดานสิ่งแวดลอม/ระบบนิเวศ คาคะแนนเฉลี่ย = 1.07ผลกระทบต่ํา

1. คุณภาพน้ําในโปงพุรอน ไมมี / ต่ํา

(1) คาอุณหภูมิเฉลี่ยตอป ณ ปแรกที่เริ่มเก็บ

ผลกระทบปานกลาง (2)

คาอุณหภูมิเฉลี่ยตอป ณ ปแรกที่เริ่มเก็บ -3° C

1.1) อุณหภูมิน้ํา

องศาเซลเซียส

ผลกระทบสูงมาก (3)

คาอุณหภูมิเฉลี่ยตอป ณ ปแรกที่เริ่มเก็บ - 5° C

1 5

จุดที่ 1: 43.58 จุดที่ 2: 46.34 จุดที่ 3: 61.73 จุดที่ 4: 42.50 (เดือน กค.)

ไมมี / ต่ํา < 3

ผลกระทบปานกลาง 3 – 5

1.2) ความขุน

1 Unit = 1 mg/l Silica

ผลกระทบสูงมาก > 5

2 5

จุดที่ 1: 3.53 จุดที่ 2: 3.34 จุดที่ 3: 3.59 จุดที่ 4: 3.57 (เดือน กค.)

ไมมี / ต่ํา คาความเปนกรดดาง ณ ปแรกที่เริ่มเก็บ

ผลกระทบปานกลาง คาความเปนกรดดาง ณ ปแรกที่เริ่มเก็บ ± 1

1.3) การเปนกรด-ดาง

-

ผลกระทบสูงมาก คาความเปนกรดดาง ณ ปแรกที่เริ่มเก็บ ± 2

1 5

จุดที่ 1: 8.07 จุดที่ 2: 7.90 จุดที่ 3: 7.52 จุดที่ 4: 7.54 (เดือน กค.)

Page 79: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

70 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

ตารางที่ 6 (ตอ)

ปจจัยชี้วัด หนวยการวัด ระดับผลกระทบ ลักษณะบงชี้คามาตรฐาน ระดับคะแนนการประเมินผลกระทบ

คาถวงน้ําหนัก

ขอมูลดิบ

ไมมี / ต่ํา ไมพบ ผลกระทบปานกลาง <5 ชิ้นตอบอหรือเสนธารน้ํารอน

1.4) จํานวนปริมาณขยะที่ยอยสลายไมไดที่พบในน้ํา ชิ้น

ผลกระทบสูงมาก >= 5 ชิ้นตอบอหรือเสนธารน้ํารอน 1 5

0 ชิ้นตอบอหรือเสนธารน้ํารอน

ไมมี / ต่ํา < 3,000

ผลกระทบปานกลาง 3,000 – 5,000

1.5) Total coliform bacteria

MPN/100 mg

ผลกระทบสูงมาก > 5,000

1 5

จุดที่ 1: 540 จุดที่ 2: <2 จุดที่ 3: <2 จุดที่ 4: 8

(เดือน กค.) ไมมี / ต่ํา < 500

ผลกระทบปานกลาง 500 – 1,000

1.6) Fecal coliform bacteria

MPN/100 mg

ผลกระทบสูงมาก > 1,000

1 5

จุดที่ 1: 170 จุดที่ 2: <2 จุดที่ 3: <2 จุดที่ 4: <2 (เดือน กค.)

ไมมี / ต่ํา คาเฉลี่ยอัตราการไหลของน้ําที่วัดไดในแตละเดือน ณ ปแรกที่เริ่มเก็บขอมูล

ผลกระทบปานกลาง คาเฉลี่ยอัตราการไหลของน้ําที่วัดไดในแตละเดือน ณ ปแรกที่เริ่มเก็บขอมูล – 10%

2. อัตราการไหลของน้ําพุรอน

ลบ.ม/ชม.

ผลกระทบสูงมาก คาเฉลี่ยอัตราการไหลของน้ําที่วัดไดในแตละเดือน ณ ปแรกที่เริ่มเก็บขอมูล – 20%

1 5

จุดที่ 1: 20 จุดที่ 2: 33 จุดที่ 3: 52.6 จุดที่ 4: N/A (เดือน กค.)

Page 80: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 71

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

ตารางที่ 6 (ตอ)

ปจจัยชี้วัด หนวยการวัด ระดับผลกระทบ ลักษณะบงชี้คามาตรฐาน ระดับคะแนนการประเมินผลกระทบ

คาถวงน้ําหนัก

ขอมูลดิบ

ไมมี / ต่ํา <2 ผลกระทบปานกลาง 2 – 5

3. จํานวนปริมาณขยะตกคางเฉลี่ยในแหลง (บนบก) ชิ้นตอตร.ม.

ผลกระทบสูงมาก > 5 1 3

0.6 (เดือน กค.)

ไมมี / ต่ํา ไมไดกลิ่นในระยะ 20 เมตร ผลกระทบปานกลาง มีกลิ่นบางเบาในระยะ 20 เมตร

4. กลิ่นจากขยะตกคาง บริเวณภาชนะรองรับขยะมูลฝอย -

ผลกระทบสูงมาก มีกลิ่นรุนแรงในระยะ 20 เมตร 1 3

ไมไดกลิ่นในระยะ 20 เมตร

(เดือน กค.)

ไมมี / ต่ํา ไมเปลี่ยนแปลง หรือเพิ่มขึ้น

ผลกระทบปานกลาง ลดลง รอยละ 5

5. ระดับความชุกชุมของนกที่เปนเปาการอนุรักษ

คารอยละความถี่

ผลกระทบสูงมาก ลดลง รอยละ 10

1 3

นกออก :11.1 นกปรอดหัวโขน:

NA (เดือน กค.)

ไมมี / ต่ํา ไมเปลี่ยนแปลง หรือเพิ่มขึ้น

ผลกระทบปานกลาง ลดลง รอยละ 5

6. การพบเห็นตัวหรือรองรอยของชนิดพันธุที่เปนเปาการอนุรักษ 6.1) คางคาวหนายักษสามหลืบ 6.2) คางคาวหนายักษเล็ก 6.3) คางคาวมงกุฎเลียนมลายู

หางสั้น 6.4) เหี้ย 6.5) จิ้งเหลนตนไม 6.6) จิ้งเหลนหลากลาย

การพบเห็น (ครั้ง)

ผลกระทบสูงมาก ลดลง รอยละ 10

1 3 พบเห็นตัว (เดือน กค.)

Page 81: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

72 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

ตารางที่ 6 (ตอ)

ปจจัยชี้วัด หนวยการวัด ระดับผลกระทบ ลักษณะบงชี้คามาตรฐาน ระดับคะแนนการประเมินผลกระทบ

คาถวงน้ําหนัก

ขอมูลดิบ

ไมมี / ต่ํา 0 ผลกระทบปานกลาง 2

7. การเปลี่ยนแปลงการใชที่ดิน รอยละตอป

ผลกระทบสูงมาก >2 1 5

1

ไมมี / ต่ํา 0 ผลกระทบปานกลาง 2

8. การบุกรุกพื้นที่ รอยละตอป

ผลกระทบสูงมาก >2 1 5

ไมม ี

ไมมี / ต่ํา >200 ผลกระทบปานกลาง 100-200

9. ระยะหางจากโรงงานอุตสาหกรรม/แหลงเกิดมลพิษ เมตร

ผลกระทบสูงมาก <100 1 3 >200

ไมมี / ต่ํา ไมมี/นอย ผลกระทบปานกลาง ปานกลาง

10. การถูกทําลายจากธรรมชาติ ประเมิน

ผลกระทบสูงมาก สูง 1 3 ไมม ี

ไมมี / ต่ํา ไมมี/นอย ผลกระทบปานกลาง ปานกลาง

11. การถูกทําลายจากมนุษย ประเมิน

ผลกระทบสูงมาก สูง 1 5 ขุดบอลูกรัง

Page 82: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 73

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

ตารางที่ 6 (ตอ)

ปจจัยชี้วัด หนวยการวัด ระดับผลกระทบ ลักษณะบงชี้คามาตรฐาน ระดับคะแนนการประเมินผลกระทบ

คาถวงน้ําหนัก

ขอมูลดิบ

ดานองคประกอบทางภูมิสถาปตยกรรมและสถาปตยกรรม คาคะแนนเฉลี่ย = 1.5 ผลกระทบต่ํา

ไมมี / ต่ํา (1)

มีการเวนระยะหางจากโปงพุรอนออกเปนสวนตางๆ อยางชัดเจน สามารถควบคุมกิจกรรม และการเขาถึงพื้นที่แตละสวนไดสอดคลองกัน ทําใหเกิดความสะดวกในการบริหารจัดการ เชน การเวนระยะหางของสวนบริการโดยไมกอใหเกิดผลกระทบจาก การพัดพาน้ําผิวดินมาจากสวนบริการ หรือมลภาวะทางเสียงกลิ่น

ผลกระทบปานกลาง (2)

การเวนระยะหางจากโปงพุรอนไมชัดเจน พื้นที่ถูกแบงเปนสวนตางๆ อยางอยาบๆ แตสามารถควบคุมการเขาทํากิจกรรมใหสอดคลองกับพื้นที่แตละสวนได

12. ดานการแบงเขตการใชที่ดิน (zoning)

-

ผลกระทบสูงมาก (3)

ไมมีการเวนระยะหางจากโปงพุรอนออกเปนสวนตางๆ (พื้นที่ธรรมชาติ1 พื้นที่กันชน หรือสวนบริการและที่ทําการ2 และสวนการเขาถึง3) เชน สวนบริการอยูติดกับโปงพุรอน สามารถเขาทํากิจกรรมตางๆ บริเวณโปงพุรอนไดโดยตรง กอใหเกิดความเสื่อมโทรม และการปนเปอนตอคุณภาพน้ํา

2 3

การเวนระยะหางจากโปงพุรอนไมชดัเจน พื้นที่ถูกแบงเปนสวนตางๆ อยางอยาบๆ แตสามารถควบคุม

การเขาทํากิจกรรมใหสอดคลองกับพื้นที่แตละสวนได

Page 83: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

74 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

ตารางที่ 6 (ตอ)

ปจจัยชี้วัด หนวยการวัด ระดับผลกระทบ ลักษณะบงชี้คามาตรฐาน ระดับคะแนนการประเมินผลกระทบ

คาถวงน้ําหนัก

ขอมูลดิบ

ไมมี / ต่ํา ไมพบการขยายเขตพื้นที่ของสวนบริการ และการเขาถึง หรือการพัฒนารุกล้ําพื้นที่ธรรมชาติ เปนการพัฒนาที่รวมกิจกรรมตางๆ ไวดวยกันอยางเหมาะสมทําใหพบเห็นอาคาร สิ่งกอสราง และสิ่งอํานวยความสะดวกในปริมาณนอย เกิดที่โลง และมีทัศนียภาพที่สวยงาม

ผลกระทบปานกลาง พบการขยายเขตพื้นที่ของสวนบริการ และการเขาถึง แตไมพบการพัฒนารุกล้ําพื้นที่ธรรมชาติ การพัฒนาอาคาร สิ่งกอสราง และสิ่งอํานวยความสะดวก ยังมีลักษณะกระจายตัว แตมีปริมาณนอย และไมเกิดความแออัด

13. ดานขีดความสามารถทางกายภาพ

-

ผลกระทบสูงมาก พบการขยายเขตพื้นที่ของสวนบริการ และการเขาถึงสูง หรือมีการพัฒนารุกล้ําพื้นที่ธรรมชาติมาก การพัฒนาอาคาร สิ่งกอสราง และสิ่งอํานวยความสะดวก มีลักษณะกระจายเต็มพื้นที่ มีปริมาณมาก จนเกิดความแออัด ทําใหทัศนียภาพเสื่อมโทรม ไมสวยงาม

2 3

พบการขยายเขตพื้นที่ของสวนบริการ และการเขาถึง แตไมพบการพัฒนารุกล้ําพื้นที่ธรรมชาติ การพัฒนาอาคาร สิ่งกอสราง และสิ่ง

อํานวยความสะดวก ยังมี

ลักษณะกระจายตัว แตมีปริมาณนอย และไมเกิดความ

แออัด

Page 84: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 75

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

ตารางที่ 6 (ตอ)

ปจจัยชี้วัด หนวยการวัด ระดับผลกระทบ ลักษณะบงชี้คามาตรฐาน ระดับคะแนนการประเมินผลกระทบ

คาถวงน้ําหนัก

ขอมูลดิบ

ไมมี / ต่ํา ไมมีสิ่งกอสรางซอนทับบริเวณโปงพุรอน แตอาจมีราวกันตกที่ใชวัสดุธรรมชาติ โดยมีขนาด และความสูง ไมบดบังความงามของโปงพุรอน หรือมีการปรับปรุงภูมิทัศนรอบนอกอยูเสมอ เพื่อเผยรูปโฉมโปงพุรอนใหมีความโดดเดน และสรางความประทับใจ เชน การสางโปรงบริเวณโคนไมยืนตน

ผลกระทบปานกลาง สิ่งกอสราง และพื้นดาดแข็ง (hard scape) มีนอย จนไมสงผลตอทัศนียภาพ หรือใชวัสดุ และสีสันเลียนแบบธรรมชาติ หรือมีการตกแตงภูมิทัศนเพื่อลดทอนขนาด และความแข็งกระดาง โดยไมบดบังความงามของโปงพุรอน

14. ดานสุนทรียภาพและความงาม -

ผลกระทบสูงมาก สิ่งกอสราง และพื้นดาดแข็ง (hard scape) บริเวณโปงพุรอนมีมาก เชน ขอบบอ และลานรอบบอ สงผลการทบตอทัศนียภาพ สีสันและวัสดุขาดความกลมกลืนกับธรรมชาติ หรือมีขนาด และความสูง บดบังความงามของโปงพุรอน

1 3

ไมมีสิ่งกอสรางซอนทับบริเวณโปงพุรอน แตอาจมีราวกันตกที่ใชวัสดุธรรมชาติ โดยมี

ขนาด และความสูง ไมบดบังความงามของโปงพุรอน

หรือมีการปรับปรุงภูมิทัศนรอบนอกอยูเสมอ เพื่อเผยรูปโฉมโปงพุรอนใหมีความโดดเดน และสรางความ

ประทับใจ เชน การสางโปรงบริเวณโคนไมยืนตน

Page 85: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

76 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

ตารางที่ 6 (ตอ)

ปจจัยชี้วัด หนวยการวัด ระดับผลกระทบ ลักษณะบงชี้คามาตรฐาน ระดับคะแนนการประเมินผลกระทบ

คาถวงน้ําหนัก

ขอมูลดิบ

ไมมี / ต่ํา สัณฐานหรือขนาดอาคารมีความกลมกลืน ไมใหญโตเกินไป มีตําแหนงที่ตั้งเหมาะสม หรือและมีความสอดคลองกับสภาพภูมิประเทศ การใชวัสดุ และสีสัน ในการตกแตงมีความสอดคลองดานรูปลักษณ อาคารสามารถใชประโยชนไดมาก และสงเสริมสุนทรียภาพของพื้นที่

ผลกระทบปานกลาง มีการตกแตงภูมิทัศนเพื่อลดทอนขนาด และความแข็งกระดางของอาคาร มีการเลือกใชวัสดุ และสีสันที่เปนธรรมชาติ หรือเลียนแบบธรรมชาติ อาคารสามารถใชประโยชนไดคอนขางมาก

15. ความเหมาะสมของขนาดอาคาร สิ่งกอสราง รูปทรงการออกแบบ วัสดุ และการใชสี

-

ผลกระทบสูงมาก สัณฐานหรือขนาดอาคารมีขนาดใหญโต ตําแหนงไมเหมาะสม หรือขัดตอสภาพภูมิประเทศ การออกแบบ และการเลือกใชวัสดุ และสีสันไมกลมกลืนกับธรรมชาติ ขาดความสวยงาม อาคารสามารถใชประโยชนไดนอย

1 3

สัณฐานหรือขนาดอาคารมีความกลมกลืน ไม

ใหญโตเกินไป มีตําแหนงที่ตั้ง

เหมาะสม หรือและมีความสอดคลองกับสภาพภูมิประเทศ การใชวัสดุ และสีสัน ในการตกแตงมีความสอดคลองดาน

รูปลักษณ อาคารสามารถใช

ประโยชนไดมาก และสงเสริม

สุนทรียภาพของพื้นที่

Page 86: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 77

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

ตารางที่ 6 (ตอ)

ปจจัยชี้วัด หนวยการวัด ระดับผลกระทบ ลักษณะบงชี้คามาตรฐาน ระดับคะแนนการประเมินผลกระทบ

คาถวงน้ําหนัก

ขอมูลดิบ

ดานการบริหารจัดการ คาคะแนนเฉลี่ย = 3.0 ผลกระทบรุนแรง

ไมมี / ต่ํา มีการบํารุงสิ่งกอสรางอยูเสมอ เมื่อเกิดการชํารุด

ผลกระทบปานกลาง มีการบํารุงสิ่งกอสรางปละ 1 ครั้ง

16. การดูแลบํารุงรักษาสิ่งอํานวยความสะดวก/สิ่งกอสรางในพื้นที่

-

ผลกระทบสูงมาก ไมมีการบํารุงรักษาสิ่งกอสราง

3 2 ไมมีการบํารุงรักษา

สิ่งกอสราง

ไมมี / ต่ํา ทุกวัน ผลกระทบปานกลาง วันเวนวัน

17. ความสะอาดของหองสุขา ความถี่ของการทําความสะอาด

ผลกระทบสูงมาก ไมมีการทําความสะอาด 3 2

ไมมีการทําความสะอาด

ไมมี / ต่ํา มีกฎระเบียบและมีการดูแลใหปฎิบัติตาม ผลกระทบปานกลาง มีกฎระเบียบแตไมมีการดูแลใหปฎิบัติตาม

อยางจริงจัง

18. การกําหนดชวงเวลาการใช -

ผลกระทบสูงมาก ไมมีกฎระเบียบกําหนดไว

3 1 ไมมีกฎระเบียบกําหนดไว

ไมมี / ต่ํา มีเจาหนาที่ดูแลประจําในพื้นที่ (ทุกวันหยุดราชการ)

ผลกระทบปานกลาง มีเจาหนาที่มาดูแลบาง (มากกวา 12 ครั้งตอป)

19. การมีเจาหนาที่ดูแลประจําในพื้นที่

-

ผลกระทบสูงมาก มีเจาหนาที่มาดูแลนอยมาก (นอยกวา 12 ครั้งตอป)

3 2 มีเจาหนาที่มาดูแลนอยมาก (นอยกวา

12 ครั้งตอป)

คาคะแนนเฉลี่ยรวม = 1.29 ระดับของคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติของสํานักสงฆธารน้ํารอน อยูในระดับต่ํา

Page 87: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

78 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

6.6 การจําแนกเขตการจัดการเพื่ออนุรักษแหลงโปงพุรอน

แหลงโปงพุรอนสํานักสงฆธารน้ํารอนไดมีการกําหนดขอบเขตพื้นที่ควบคุมออกเปนชั้นๆ ตามแนวคิดการจัดการพื้นที่แหลงธรรมชาติอันควรอนุรักษ ดังตอไปน้ี (ภาพที่ 16)

- พื้นที่สงวน (preserved area) หมายถึง พ้ืนที่ที่มีคุณคามากทางดานวิชาการและมีความออนไหวตอการเปลี่ยนแปลงหรือผลกระทบทําใหถูกทําลายไดงาย ดังน้ัน จึงหวงหามมิใหกระทําการใดๆ ที่เปนการเปลี่ยนแปลงสภาพธรรมชาติโดยเด็ดขาด ไดแกบริเวณบนเขาธารน้ํารอน และปาชายเลนโดยรอบ

- พื้นที่อนุรักษ (conserved area) หมายถึง พ้ืนที่แหลงธรรมชาติที่มีคุณคาปานกลางและมีความคงตัวไมถูกเปลี่ยนแปลงไดงาย แตอาจสงผลกระทบตอคุณคาของแหลงธรรมชาติในพื้นที่สงวนได ดังน้ัน จึงตองควบคุมกิจกรรมที่อาจกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงธรรมชาติและสงผลเสียหายตอแหลงธรรมชาติในพ้ืนที่สงวน ไดแกบริเวณลานโลกพระจันทร และที่ตั้งของบอนํ้ารอนทั้ง 4 จุด

- พื้นที่พัฒนา (developed area) หรือพ้ืนที่บริการและการจัดการ หมายถึง พ้ืนที่โดยรอบของแหลงธรรมชาติที่มีคุณคาในตัวเองไมมากนักเม่ือเทียบกับพ้ืนที่สงวนและพ้ืนที่อนุรักษ แตมีบทบาทในการควบคุมหรือปองกันพ้ืนที่สงวนหรือพ้ืนที่อนุรักษใหมีคุณคาสูงอยูเสมอดวย ไดแกบริเวณสํานักสงฆธารน้ํารอนและสวนพ้ืนที่บริการและอาบน้ํารอน

ภาพที่ 16 การจําแนกเขตการจัดการแหลงธรรมชาติอันควรอนุรักษโปงพุรอน

พ้ืนที่สงวน

พ้ืนที่พัฒนา

พ้ืนที่อนุรักษ

Page 88: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม 79

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

6.7 แนวทางการออกแบบทางกายภาพแหลงโปงพุรอนสํานักสงฆธารน้ํารอน ตําบลเขาถาน อําเภอทาฉาง จังหวัดสุราษฎรธานี

6.7.1 ผังบริเวณ

การกําหนดผังการใชประโยชนที่ดินแบงกลุมการใชงานออกเปน 3 สวนหลัก (ภาพที่ 17 และ 18) คือ

สวนที่ 1 สวนทางเขาโครงการ เสนอแนะคงกิจกรรมการใชงานของอาคารไว โดยปรับแตงภูมิทัศนโดยรอบใหเปนสัดสวนชัดเจน

สวนที่ 2 สวนบริการและอาบน้ํารอน เสนอแนะใหจัดสวนบริการที่จอดรถของโครงการ พรอมทั้งจัดใหมีบริเวณลานพักผอน สวนรานคาและศูนยบริการขอมูล เพ่ือเปนจุดรวมคนกอนและหลังเดินชมพื้นที่ ปรับปรุงพ้ืนที่สวนหองนํ้าเดิมใหเปนหองแตงตัวและบอแชนํ้ารอนสวนตัว และปรับปรุงสวนบอคอนกรีตเดิมเปนลานนั่งเลนและบอแชเทา

สวนที่ 3 สวนเสนทางศึกษาธรรมชาติโปงพุรอน เสนอแนะใหทําเสนทางเดินศึกษาธรรมชาติ เน่ืองจากสภาพพื้นที่โดยรอบมีคุณคาดานชีวภาพและธรณีวิทยาสูง โดยเปนทางเดินยกระดับ ทางเดินระดับพ้ืนราบบนแผนหินสังเคราะห และทางเดินธรรมชาติ ขึ้นอยูกับสภาพพื้นที่

Page 89: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

80 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

ภาพที่ 17 แนวทางการจัดการใชประโยชนพ้ืนที่แหลงธรรมชาติโปงพุรอนสํานักสงฆธารน้ํารอน

3

21

Page 90: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 81

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

ภาพที่ 18 ผังบริเวณสวนสํานักสงฆธารน้ํารอนที่เกี่ยวของและสวนบริการและอาบน้ํารอนที่จะเกิดขึ้นใหม

สวนที่ สวนที่ 11 ทางเขาโครงการทางเขาโครงการ สวนที่ สวนที่ 22 สวนบริการและอาบน้ํารอนสวนบริการและอาบน้ํารอน

สวนที่ สวนที่ 33 สวนพื้นที่ศึกษาธรรมชาติสวนพื้นที่ศึกษาธรรมชาติ

Page 91: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

82 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

6.7.2 รูปแบบสถาปตยกรรม

แนวทางในการออกแบบรูปแบบทางสถาปตยกรรมสําหรับพ้ืนที่โปงพุรอนสํานักสงฆธารน้ํารอน ไดแก อาคารจะตองมีความสอดคลองกลมกลืนกับพ้ืนที่ กลาวคือ ขนาด รูปทรง วัสดุ และสีสันของอาคารจะตองมีขนาดที่เหมาะสมกับสภาพแวดลอม ขนาดอาคารไมใหญจนเกินไป วัสดุและสีสันที่เลือกใชควรเปนวัสดุที่สามารถหาไดงายและมีความกลมกลืนกับธรรมชาติ

สวนสํานักสงฆธารน้ํารอน: สําหรับอาคารในสวนบริเวณสํานักสงฆธารนํ้ารอนน้ัน อาคารที่มีอยูมีลักษณะการใชวัสดุและสีสันที่มีความกลมกลืนกับธรรมชาติ ขนาดอาคารไมใหญจนเกินไป อีกทั้งอาคารทั้ง 2 สวนนั้นเปนสวนของสํานักสงฆซ่ึงไมสามารถเปลี่ยนแปลงรูปแบบได ดังน้ันแนวทางในการออกแบบจึงยังคงอาคารไวคงเดิม เน่ืองจากอาคารที่มีอยูเดิมมีลักษณะและการใชประโยชนที่มีความเหมาะสม

สวนพื้นที่บริการและอาบน้ํารอน: อาคารในสวนพ้ืนที่บริการและอาบน้ํารอนน้ัน จากที่กลาวมาแลววาสามารถแบงพ้ืนที่ออกเปน 3 สวนหลักๆ ไดแก สวนศาลาอเนกประสงค สวนศาลาพระ และสวนบริการสําหรับแชนํ้ารอน รูปแบบสถาปตยกรรมที่มีอยูใน 3 พ้ืนที่จะมีความแตกตางกันออกไป แตในสวนของศาลาพระรูปแบบสถาปตยกรรมที่มีอยูคอนขางจะมีความกลมกลืนกับสภาพแวดลอมในบริเวณพื้นที่น้ีมากที่สุด โดยขนาดของอาคารที่มีขนาดไมใหญโตจนเกินไป รูปทรง สีสัน และวัสดุที่ใชมีความเหมาะสมกับพ้ืนที่ สวนศาลาอเนกประสงคน้ัน ลักษณะรูปแบบอาคารมีขนาดใหญเกินไป ประกอบกับตําแหนงที่ตั้งที่ไมเหมาะสม ทําใหบดบังทัศนียภาพ สาเหตุอาจเนื่องมาจากตอนกอสรางยังไมมีความชัดเจนในเรื่องการใชประโยชนของอาคาร จึงสรางอาคารขึ้นมาเปนอาคารลักษณะเปดโลงเพ่ือสามารถปรับรูปแบบการใชงานใหมีความหลากหลายได สวนพื้นที่บริการสําหรับแชนํ้ารอน รูปแบบของอาคารมีความขัดแยงกับพ้ืนที่โดยรอบอยางชัดเจน เน่ืองมาจากขนาด รูปทรง และวัสดุที่ใชในการกอสรางอาคารมีความขัดแยงกับพ้ืนที่โดยรอบ ขนาดอาคารมีขนาดใหญเกินไป รูปแบบของการใชประโยชนพ้ืนที่ของอาคารยังมีความไมเหมาะสม วัสดุและสีสันมีความขัดแยงกับสภาพแวดลอมทางธรรมชาติ

แนวทางในการออกแบบและปรับปรุงรูปแบบทางสถาปตยกรรมโดยรวม คือ อาคารจะตองมีความสอดคลองกับกลมกลืนกับพ้ืนที่ ขนาด รูปทรงอาคารไมใหญจนเกินไป วัสดุและสีสันที่เลือกใชควรเปนวัสดุที่สามารถหาไดงายและมีความกลมกลืนกับธรรมชาติหรือสอดคลองกับลักษณะเอกลักษณของทองถิ่น ตัวอยางเชน

รูปทรงของอาคาร สวนใหญจะเปนอาคารทรงปนหยา มีชายคายื่นออกมาเพื่อกันฝนเน่ืองจากมีภูมิประเทศและภูมิอากาศที่ฝนตกชุก มีการยกใตถุนอาคาร เพ่ือหนีการไหลบาของน้ํา ตีนเสาที่เปนคอนกรีตเพ่ือทนตอความชื้น (ภาพที่ 19)

Page 92: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม 83

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

โครงสรางและวัสดุ สวนใหญจะใชโครงสรางไมทั้งหมด มีแตสวนตีนเสาที่เปนคอนกรีตเนื่องจากเปนวัสดุที่สามารถหาไดงายในทองถิ่น ประเภทไมที่ใชจะเปนไมยาง ไมตะเคียน หรือไมมะพราวขึ้นอยูกับไมที่มีอยูในทองถิ่น สวนหลังคาจะเปนกระเบื้องดินเผาหางวาวเปนสวนใหญ

ภูมิปญญา สวนใหญเสา พ้ืน ผนัง จะใชไมที่ตัดมาจากในปา และวัสดุที่ใชในทองถิ่น ตีนเสาเปนคอนกรีตที่ในสมัยกอนจะไดมาจากการใชหินจากภูเขาหรือแมนํ้ามาผสมกับปูนหลอเปนแทงฐาน ซ่ึงเปนภูมิปญญาการกอสรางที่สืบทอดตอกันมา เหตุที่ตองมีการทําฐานเสาปูน เน่ืองจากเพื่อปองกันเสาไมผุและกันแมลงตางๆ ตลอดจนงายตอการรื้อถอน

ภาพที่ 19 ตัวอยางอาคารที่มีรายละเอียดรูปแบบสถาปตยกรรมทองถิ่นแบบภาคใต

แนวทางในการออกแบบและปรับปรุงรูปแบบทางสถาปตยกรรมสําหรับพ้ืนที่บริการและอาบน้ํารอน ไดแก

พ้ืนที่สวนศาลาอเนกประสงค แนวทางในการออกแบบและปรับปรุงรูปแบบทางสถาปตยกรรม คือ ปรับเปลี่ยนรูปแบบของอาคารใหมีลักษณะสอดคลองกับสภาพแวดลอมในพ้ืนที่เพ่ิมมากขึ้น โดยใชวัสดุสวนใหญเปนไม หลังคาเปนทรงจั่วหรือปนหยา

Page 93: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

84 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

พ้ืนที่สวนศาลาพระ แนวทางในการออกแบบและปรับปรุงรูปแบบทางสถาปตยกรรม คือ ปรับรูปแบบอาคารทั้ง 2 สวนใหมีความสอดคลองกันทั้งในดานของรูปทรงอาคาร วัสดุ สีสันของอาคาร โดยอาคารทั้ง 2 สวนเดิมมีขนาดอาคารที่ไมใหญโตจนเกินไป มีขนาดอาคารที่พอเหมาะและเพียงพอตอการใชงาน ดังนั้นขนาดอาคารจึงไมตองมีการปรับปรุง แตในสวนของรูปทรง และวัสดุน้ันตองมีการปรับปรุงรูปแบบใหสอดคลองกัน

พ้ืนที่สวนบริการสําหรับแชนํ้ารอน แนวทางในการออกแบบและปรับปรุงรูปแบบทางสถาปตยกรรม คือ ลดขนาดอาคารที่มีอยูเดิมใหมีขนาดที่เล็กลงเพื่อไมใหขัดแยงกับสภาพแวดลอม รวมทั้งใชวัสดุ และสีสันที่มีความกลมกลืนกับธรรมชาติ โดยอาจใชวัสดุที่มาจากไมรวมกับคอนกรีตเพ่ือลดความแข็งกระดางของวัสดุลง การลดขนาดอาคารนั้นอาจลดตามประโยชนหรือหนาที่ในการใชงาน โดยอาจแบงอาคารออกเปนสวนของหองสุขาและสวนของหองอาบนํ้า หรืออาจแบงสวนของอาคารออกเปนสวนของผูชายและสวนของผูหญิง สวนของหลังคาอาจใชหลังคาทรงจั่วหรือทรงปนหยา

6.7.3 ปายสื่อความหมาย และปายสัญลักษณ

ปายสื่อความหมาย และปายสัญลักษณ เปนสิ่งอํานวยความสะดวกที่มีไวเพ่ือจัดการการทองเที่ยวอยางหนึ่ง เปนเครื่องมือชวยในการควบคุมพฤติกรรมของนักทองเที่ยว เชน ปองกันผลกระทบจากกิจกรรมตางๆ ของมนุษยตอทรัพยากรธรรมชาติ และตอบสนองความจําเปนและความตองการตองของนักทองเที่ยว เชน ใชเปนเครื่องมือในการสื่อความหมาย บอกเลา หรืออธิบายขอมูล เพ่ือใหเกิดความรูความเขาใจ ขณะเที่ยวชม หรือเรียนรูความสําคัญของธรรมชาติและสิ่งแวดลอมรอบตัว ในแหลงทองเที่ยวนั้นๆ สําหรับปายสัญลักษณ มักใชสื่อความหมายแบบใชระยะเวลาอันสั้น สามารถเขาใจไดงาย มักแสดงดวยภาพ หรือสัญลักษณที่นักทองเที่ยวสามารถเขาใจไดตรงกัน สวนประเภทของปายนั้น กรมปาไม (2543) ไดกลาวถึงการจัดทําปายในอุทยานแหงชาติ ซ่ึงสามารถแบงตามวัตถุประสงคของการใชประโยชน ไดดังน้ี

1. ปายบอกทาง (directional sign) เพ่ือบอกทิศทาง และแนะนํานักทองเที่ยวไปสูพ้ืนที่เปาหมายที่เปนแหลงทองเที่ยว สิ่งอํานวยความสะดวก พ้ืนที่กิจกรรมนันทนาการ และจุดสําคัญอ่ืนๆ ใหกับนักทองเที่ยว ใหสามารถเขาถึงไดอยางรวดเร็ว ปลอดภัย และไมหลงทาง สําหรับการศึกษาครั้งน้ีมีตัวอยางดังแสดงในภาพที่ 20 ปาย B

2. ปายขอบังคับและเตือน (regulatory and warming sign) ใชแนะนําใหนักทองเที่ยวทราบถึงกฎระเบียบและขอหาม รวมทั้งขอปฏิบัติที่จําเปนและควรทราบในการใชพ้ืนที่ นอกจากนี้ยังใชเตือน บอกขอควรระวังและขอแนะนําใหนักทองเที่ยวทราบลวงหนาเกี่ยวกับอันตรายและอุบัติเหตุซ่ึงมีสาเหตุจากสภาพพื้นที่และกิจกรรมนันทนาการตางๆ เพ่ือใหเกิดความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสินของนักทองเที่ยว และลดผลกระทบที่อาจเกิดกับสภาพ

Page 94: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม 85

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

พ้ืนที่และสิ่งแวดลอม ซ่ึงจะชวยในการคุมครองรักษาทรัพยากรในพื้นที่ตอไป สําหรับการศึกษาครั้งน้ีมีตัวอยางดังแสดงในภาพที่ 20 ปาย B และ H

3. ปายสถานที่ (identification) เพ่ือใชแสดงตําแหนง ประเภท และชื่อสถานที่ทองเที่ยว สิ่งอํานวยความสะดวก และจุดสําคัญอ่ืนๆ ภายในพื้นที่ ทําใหนักทองเที่ยวทรายวากําลังเขาสูและไปถึงสถานที่น้ันๆ สําหรับการศึกษาครั้งน้ีมีตัวอยางดังแสดงในภาพที่ 20 ปาย A

4. ปายสื่อความหมาย (interpretation sign) เพ่ือบอก แสดงหรืออธิบายขอมูลและเร่ืองราวที่นารูนาสนใจในพื้นที่ เชน ลักษณะทางธรรมชาติ ประวัติศาสตร และวัฒนธรรมเปนตน เพ่ือใหนักทองเที่ยวไดรับรูและเขาใจขอมูลหรือเรื่องราว ทั้งยังสามารถใชเปนอุปกรณในการจัดการนักทองเที่ยว โดยการอธิบายเพื่อใหเกิดความเขาใจและเกิดความตระหนักถึงคุณคารวมถึงใหความรวมมือในการใชทรัพยากรทองเที่ยวอยางถูกวิธี สําหรับการศึกษาครั้งนี้มีตัวอยางดังแสดงในภาพที่ 20 ปาย C, D, E, F, G และ H

Page 95: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

86 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

ภาพที่ 20 ตัวอยางรูปแบบปายสื่อความหมายและวสัดุประกอบภูมิทัศน

สําหรับการเลือกใชวัสดุ โครงสรางและฐานรากของปายและสิ่งอํานวยความสะดวกคํานึงถึงการออกแบบที่กลมกลืนกับสภาพพื้นที่ การใชวัสดุและโครงสรางที่เนนความคงทน แข็งแรงเน่ืองจากสภาพแวดลอมที่ดินและน้ํามีสภาพกรอยถึงเค็ม จึงเหมาะที่จะออกแบบวัสดุตกแตงใหเลียนแบบธรรมชาติและตกแตงดวยวัสดุทองถิ่นเพ่ือเพ่ิมความเปนเอกลักษณ ซ่ึง

Page 96: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม 87

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

เหมาะกวาการเลือกใชวัสดุธรรมชาติทั้งหมด ในการศึกษาครั้งน้ีไดเสนอการออกแบบปายและสิง่อํานวยความสะดวกโดยมีแนวทางการเลือกใชวัสดุและโครงสราง ดังตัวอยางในภาพที่ 21

1. โครงสรางปายสื่อความหมายในศาลาเอนกประสงค

1. ตัวปาย วัสดุเปนแผนอะคริลิกใสพนสีดานหลัง ปะกบแผน 2 ชั้นกันลอก กรอบไมเน้ือแข็งอาบน้ํายา

2. โครงสรางฐาน วัสดุโครงเหล็ก (ทาสีกันสนิม) กรุไมโกงกางทาสีนํ้าตาลดํา

ภาพที่ 21 ตัวอยางปายสื่อความหมายในศาลาเอนกประสงค

2. โครงสรางปายสื่อความหมายบริเวณเสนทางศึกษาธรรมชาต ิ(ภาพที ่22)

ภาพที่ 22 ตัวอยางปายสื่อความหมายบริเวณเสนทางศึกษาธรรมชาต ิ

จากแนวคิดการออกแบบปายสื่อความหมายและปายสัญลักษณ สามารถแสดงตําแหนงการติดตั้งที่เหมาะสมโดยมีจุดเริ่มตนจากบริเวณทางแยกบันไดธรรมจากทางเขาหลักจนถึงบอนํ้ารอนบอสุดทายจํานวน 10 จุด ดังแสดงในภาพที่ 23 สําหรับความนาสนใจของจุดพักแตละจุดนั้นมีรายละเอียดดังน้ี

จุดที่ 1 บริเวณทางแยกบันไดธรรมจากทางเขาหลัก เพ่ือบอกทิศทางการเขาถึงโปงพุรอนและสวนบริการตางๆ แบบแนวคิดการออกแบบปายสื่อความหมายและสิ่งอํานวยความสะดวก A, B, I และ J

1. ตัวปาย วสัดุเปนแผนอะคริลิกใสพนสีดานหลัง ปะกบแผน 2 ชั้นกันลอก รับดวยปูนเลียนแบบตอไมผาซีก ทาสีนํ้าตาลดํา

2. โครงสรางฐาน เชื่อมระหวางปายและฐานวัสดุโครงเหล็ก (ทาสีกันสนิม) กรุฝงแปนเหลก็ลงในปูน ตกแตงผวิและทาสีเลียนแบบพ้ืนผิวลานโลกพระจันทร

Page 97: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

88 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

จุดที่ 2 บริเวณลานรวมพล เพ่ือแสดงผังบริเวณทั้งหมดและแหลงทองเที่ยวที่สําคัญของจังหวัด แบบแนวคิดการออกแบบปายสื่อความหมายและสิ่งอํานวยความสะดวก I, J และ C

จุดที่ 3 บริเวณศาลาอเนกประสงค เพ่ือแสดงเรื่องราว ผังบริเวณ เสนทางศึกษาธรรมชาติ หุนจําลอง ขอมูลทั่วไปดานอุทกธรณีวิทยาน้ําพุรอน และขอมูลดานชีวภาพ ไดแก ลักษณะของสังคมพืชและสัตวปาที่พบ แบบแนวคิดการออกแบบปายสื่อความหมาย D, E และ I สวนลานรวมพลบริเวณศาลาพระ แสดงที่ตั้งของสํานักสงฆ และบอกทิศทางไปยังสวนที่สําคัญในพ้ืนที่ แบบแนวคิดการออกแบบปายสื่อความหมาย A, B และ J

จุดที่ 4 บริเวณลานหินขางสระลางบาป (บอที่ 1) เพ่ือแสดงขอมูลเกี่ยวกับการเกิดลานโลกพระจันทร และเสนทางศึกษาธรรมชาติ แบบแนวคิดการออกแบบปายสื่อความหมาย G และ F

จุดที่ 5 บริเวณเฉลียงใหญ เพ่ือแสดงขอมูลเกาะเกดและสภาพแวดลอมโดยรอบ แบบแนวคิดการออกแบบปายสื่อความหมาย G และ F

จุดที่ 6 บริเวณขอบบอนํ้ารอนบอที่ 2 ดานทิศใต เพ่ือแสดงขอมูลการขุดเจาะน้ําและชั้นตะกอนปากบอนํ้ารอนบอที่ 2 แบบแนวคิดการออกแบบปายสื่อความหมาย G และ F

จุดที่ 7 บริเวณลานดินดานทิศเหนือของบอนํ้ารอนบอที่ 2 เพ่ือแสดงวิถีการกําเนิดของน้ํารอนที่พบในบริเวณโปงพุรอน แบบแนวคิดการออกแบบปายสื่อความหมาย F

จุดที่ 8 บริเวณรอยตอบอนํ้ารอนบอที่ 2 และเกาะแกว เพ่ือใหขอมูลระบบนิเวศในบอและใหขอมูลดานปาชายหาดและปาดิบแลง (บริเวณภูเขาซึ่งสามารถมองเห็นไดชัดเจนบริเวณนี้) แบบแนวคิดการออกแบบปายสื่อความหมายและสิ่งอํานวยความสะดวก F, J และ H

จุดที่ 9 บริเวณบอนํ้าจืด เพ่ือแสดงขอมูลระบบนิเวศบอนํ้าจืดและความสําคัญดานชีวภาพ แบบแนวคิดการออกแบบปายสื่อความหมาย F

จุดที่ 10 บริเวณบอนํ้ารอนบอที่ 3 เพ่ือแสดงวิธีการอนุรักษบอนํ้ารอน โดยการขุดลอกตะกอนและคืนสภาพเดิมใหมากที่สุด แบบแนวคิดการออกแบบปายสื่อความหมาย F

Page 98: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม 89

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

ภาพที่ 23 ผังแสดงตําแหนงปายสื่อความหมายตามจุดตางๆ ที่สําคญั

6.7.4 การจัดภูมิทัศนและแนวคิดในการออกแบบพืชพนัธุ

สําหรับการออกแบบภูมิทัศนในแตละพ้ืนที่ มีความเฉพาะตัวที่ตองคํานึงถึงโดยเฉพาะดานพืชพันธุ ซ่ึงจะเปลี่ยนแปลงไปตามภูมิประเทศ ภูมิอากาศของทองถิ่น ซ่ึงการเลือกใชวัสดุพืชพันธุมีหลักการเดียวกัน คือ

1) การรักษาตนไมเดิมในพื้นที่ ไมควรวางผังอาคารหรือออกแบบสงกอสรางตางๆ ที่กอใหเกิดผลกระทบตอตนไมเดิม ควรกําหนดตําแหนงสิ่งกอสรางขนาดใหญในบริเวณที่มีตนไมไมหนาแนน หรือมีแตตนไมขนาดเล็ก ควรมีการสํารวจเพ่ือบงชี้พืชพันธุที่มี

1 2

3

4

5

6

7

8

9

10

3-1

Page 99: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

90 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

ความสําคัญและเปราะบาง เพ่ือทําการรักษาไว และควรมีการปลูกพืชทดแทนในสัดสวน 2:1 ของพืชพันธุเดิม

2) เลือกใชพันธุไมที่เหมาะสม ไมควรนําไมตางถิ่นเขาไปใชในพ้ืนที่ ควรใชไมทองถิ่นที่มีคุณสมบัติเหมาะสมกับสภาพภูมิประเทศและสภาพอากาศในบริเวณดังกลาว เพื่อลดคาใชจายในการดูแลรักษาและปองกันการแพรกระจายของโลกแมลงและไมตางถิ่นสงผลกระทบตอระบบนิเวศในพื้นที่ ควรหลีกเลี่ยงการใชพืชมีพิษ มีหนาม โดยเฉพาะในบริเวณที่เปนทางเทา ไมควรใชพืชพันธุที่ตองตัดแตงมาก ควรเลือกพืชที่ทนทานและเลือกใชพันธุที่มีความหลากหลายประเภทเพื่อสรางความสวยงามกลมกลืนกับสภาพแวดลอมโดยรอบซึ่งมีความหลากหลายทางธรรมชาติสูง นอกจากนี้ในการเลือกพันธุไมยังควรพิจารณาถึงประเภทและคุณสมบัติที่ตางกันดวย เชน

- ไมยืนตน (Tree) สูง 6 เมตรขึ้นไป สามารถชวยบังแดด กรองฝุน กันเสียงและบดบังแบงแยกบริเวณ

- ไมพุม (Shrubs) ที่สูงไมเกิน 5 เมตร สามารถใชบังลม เปนฉากกั้นเพ่ือกําหนดขอบเขตทางเดินและแบงแยกบริเวณ

- ไมเลื้อย (Vines) ใหความรูสึกออนชอย เคลื่อนไหว ใหประโยชนในการบังสายตา กันฝุน กันลม บังแดด เปนตน (ศูนยวิจัยปาไม, 2541)

- นอกเหนือจากที่กลาวมายังควรพิจารณาถึงขนาด อัตราการเติบโต ทรงพุม สีของใบและดอกรวมดวย

3) การเลือกตําแหนงในการตกแตงดวยตนไม ในเขตพ้ืนที่สงวนไวเปนพ้ืนที่ธรรมชาติ เชน นํ้าตก ถ้ํา ฯลฯ ไมควรจัดแตงตนไมเพ่ิมเติมจนมีลักษณะไมเปนธรรมชาติ แตในบริเวณองคประกอบหลัก เชน ที่ทําการอุทยานฯ ศูนยบริการนักทองเที่ยว บานพัก อาจตกแตงดวยตนไมไดตามสมควร ไมควรปลูกตนไมที่ตองตัดแตง เชน หญา ในพื้นที่หางไกลที่เขาไปดูแลรักษายาก ควรปลูกในพื้นที่ที่มีความลาดชันนอยๆ และควรปลูกตามลักษณะภูมิประเทศ ปลูกใหหลากหลายทั้งชนิดและขนาดใหใกลเคียงกับสภาพแวดลอมเดิม

- การใชตนไมเพ่ือนประโยชนใชสอยดานอ่ืนๆ ในแหลงทองเที่ยว การปลูกตนไมเพ่ือความสวยงาม : ควรใชไมทั้ง 4 ประเภทประกอบกัน โดยในบริเวณทางเขาแหลงทองเที่ยว รอบสํานักงานหรือศูนยรวมการใหบริการ ควรตกแตงภูมิทัศนใหสวยกวาจุดอ่ืนๆ ควรปลูกเพื่อเนนหรือนําสายตาไปสูพ้ืนที่ที่มีมุมมองสวยงาม

- การใชตนไมเปนฉากกั้น ควรใชตนไมเปนฉากกั้นเพ่ือบังสายตาไมใหเห็นทัศนียภาพที่ไมเหมาะสม ในพ้ืนที่สวนบริการตางๆ เชน ที่ทิ้งขยะ หองนํ้า และอาจใชตนไมชวยแบงแยกบริเวณที่มีกิจกรรมขัดแยงออกจากกัน

Page 100: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม 91

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

- การใชตนไมเพ่ือใหรมเงา ควรทําในบริเวณที่ผูใชประโยชนจําเปนตองแวะพัก เชน บริเวณลานจอดรถ ลานสําหรับพักผอน บริเวณปกนิก เปนตน โดยควรใชไมยืนตนที่มีพุมคอนขางหนาแนนตลอดป พุมใบกวาง เจริญเติบโตเร็ว แข็งแรงและกิ่งไมเปราะหักงาย

- การใชตนไมเพ่ือปองกันการพังทลายของหนาดิน ควรใชกับบริเวณที่มีความลาดชันมากๆ ซ่ึงมีความเสี่ยงตอการพังทลายโดยอาจใชไดทั้งไมยืนตน ไมพุม และไมคลุมดิน นอกจากที่กลาวมายังอาจใชตนไมเพ่ือการนําสายตาและปลูกตนไมที่ทนไฟสูงเปนแนวกันไฟรอบพื้นที่ไดอีกดวย

4) รูปแบบของการออกแบบ ควรออกแบบใหมีลักษณะเปนธรรมชาติ (informal style) เรียบงาย กลมกลืนกับสภาพธรรมชาติด้ังเดิมของพื้นที่ ซ่ึงสามารถดูแลรักษางายและกอใหเกิดผลกระทบตอระบบนิเวศนอยมากกวาเปนแบบประดิษฐหรือตัดแตง (formal style) ควรสรางความปลอดภัยในพื้นที่ดวยการจัดองคประกอบทางภูมิทัศนในพ้ืนที่อยางเหมาะสม ในบริเวณที่จําเปนตองมีการปลูกหญาเพื่อความสวยงาม อาจตองมีการทําขอบกั้นดวยวัสดุที่กลมกลืนกับธรรมชาติ เพ่ือปองกันการกระจายของหญาไปยังพ้ืนที่สวนอ่ืน

5) การปรับพื้นที่ ควรออกแบบใหมีการปรับพ้ืนที่นอยที่สุด ลดการทําลายพืชพันธุทองถิ่นและสภาพภูมิประเทศเดิม สภาพภูมิทัศนที่เกิดขึ้นใหมควรมีลักษณะที่กลมกลืน ไมขัดแยงกับสภาพแวดลอมโดยรอบ ไมควรปรับระดับในพื้นที่ที่เปนแนวน้ําหยด (drip line) ของพืช ควรออกแบบใชกําแพงกันดินในพื้นที่สวนที่ความชัน 3:1 ขึ้นไป ควรใหความสําคัญกับการระบายน้ําในพื้นที่ ปรับพ้ืนที่ใหระบายน้ําออกจากอาคาร ที่จอดรถ ถนน ทางเดินและพื้นที่ลาดแข็งอ่ืนๆ

อยางไรก็ตามระดับของการปรับแตงพ้ืนที่เพ่ือใหเกิดความสะดวกสบายแกนักทองเที่ยวนั้น จะขึ้นอยูกับประเภทของแหลงทองเที่ยวดวยวามีความสันโดษมากนอยแคไหน เปนพ้ืนที่ทองเที่ยวประเภทผจญภัยหรือธรรมชาติทั่วไป และนักทองเที่ยวกลุมไหนที่จะเดินทางมายังพ้ืนที่ดวย เชน เสนทางจักรยานที่เนนใหเกิดประสบการณแบบผจญภัย ก็อาจไมตองปรับปรุงเสนทางมากนัก แตเสนทางที่เนนกลุมนักทองเที่ยวที่มาเปนครอบครัว เนนการชมธรรมชาติก็ตองมีการปรับพ้ืนที่มากขึ้นเพ่ือกอใหเกิดความปลอดภัยและสะดวกสบายมากขึ้น เปนตน

6) การใชวัสดุประกอบภูมิทัศน ในกรณีที่ตองนําวัสดุอ่ืนๆ เชน โคมไฟ แผนทางเดิน หรือหินขนาดตางๆ ควรเลือกวัสดุที่กลมกลืนกับสภาพธรรมชาติ ราคาไมแพง ทนทาน ดูแลรักษางาย ควรเนนวัสดุที่หาไดในทองถิ่น แตตองไมทําลายธรรมชาติเพ่ือเอาวัสดุน้ันมาใช

7) การดูแลรักษา การดูแลรักษาวัสดุพืชพันธุ ควรจะเหมาะสมกับพืชแตละชนิดที่มีความตองการน้ํา แสงแดด และการดูแลรักษาที่ตางกัน สําหรับชวงแรกที่มีการปลูกพืช

Page 101: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

92 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

อาจใชตาขายและฟางคลุมเมล็ดพืชไวเพ่ือชวยรักษาความชื้น ในแหลงทองเที่ยวที่สามารถวางระบบรดน้ํา (irrigation) ได ก็ควรเลือกใชอุปกรณประเภทที่ประหยัดทนทาน คงทนตอสภาพอากาศและพื้นที่ ไมควรเลือกใชระบบที่มีความซับซอนสูง

6.7.5 การบริหารจัดการ

สําหรับขอเสนอดานการบริหารจัดการทางกายภาพของแหลงธรรมชาติโปงพุรอนสํานักสงฆธารน้ํารอน ตําบลเขาถาน อําเภอทาฉาง จังหวัดสุราษฎรธานี ไดยกตัวอยางการบริหารจัดการสิ่งอํานวยความสะดวกภายหลังการพัฒนา ไดแก การจัดการดานการประหยัดพลังงานและการลดของเสีย การบํารุงรักษาสิ่งอํานวยความสะดวก การตรวจสอบติดตามผลการพัฒนาและจัดการกับผลกระทบ และการเปดโอกาสใหทองถิ่นมีสวนรวมในการจัดการ ซ่ึงแนวทางการบริหารจัดการในแตละดานนั้น ศูนยวิจัยปาไม (2541) ไดเสนอไวดังน้ี

1) การจัดการดานการประหยัดพลังงานและการลดของเสีย

ในการจัดการดานการประหยัดพลังงานและการลดของเสีย เชน การออกแบบอาคารใหมีลักษณะเปดโลงมีอากาศถายเทที่ดี เนนใหมีการใชแสงสวางจากธรรมชาติ หรือการติดตั้งหลอดไฟที่ประหยัดพลังงาน การศึกษาทิศทางที่ตั้งของอาคาร การกําหนดชวงเวลาเปด-ปดไฟ พรอมออกกฎระเบียบใหนักทองเที่ยวปฏิบัติตามอยางเครงครัด หรือใชวิธีการออกแบบที่ปองกันการใชไฟฟา เชน ไมติดตั้งปลั๊กไฟ หรือการสงเสริมการใชพลังงานแสงอาทิตย เปนตน ในการออกแบบใหประหยัดการใชนํ้าอาจมีการสรางจุดบริการน้ําใชเทาที่จําเปนเทานั้น สวนการลดของเสีย โดยเฉพาะขยะที่ยอยสลายไดยากหรือจัดเก็บไดยาก และมักพบบอยครั้ง เชน แกว และขวดแตก ขวดพลาสติก ขยะชิ้นเล็กชิ้นนอย หรือฝากระปองตางๆ ควรมีการออกกฎระเบียบหามนําขยะเขาไปในพื้นที่ หรือรณรงคใหรานคาจําหนายน้ําดื่มแบบคืนขวด และสงเสริมใหมีการนําขยะ หรือวัสดุกลับมาปรับปรุงใชใหม และการออกกฎใหนักทองเที่ยวนําขยะกลับออกไปทิ้งนอกพื้นที่ เปนการชวยลดปริมาณขยะ และชวยกระตุนจิตสํานึกในการทองเที่ยวเชงิอนุรักษไดอีกวิธีหน่ึง

2) การบํารุงรักษาสิ่งอํานวยความสะดวก

สําหรับการบํารุงรักษาสิ่งอํานวยความสะดวก เปนการรักษาสภาพแวดลอมของแหลงทองเที่ยวใหสะอาด และดูแลรักษาสิ่งอํานวยความสะดวกใหสามารถพรอมใชงานไดอยูเสมอโดยมีการบํารุงรักษาในสองสวนหลักๆ ไดแก การซอมแซมสวนชํารุดของอาคารสถานที่ หรือโครงสรางตางๆ เชน แผนปาย ราวจับ เสนทางเดินเทา และการเปลี่ยนอุปกรณที่ชํารุด และการบํารุงรักษาสิ่งอํานวยความสะดวกที่มีอยูใหมีประสิทธิภาพพรอมใชงานอยูเสมอ เชน การเปลี่ยนวัสดุมุงหลังคาบางสวนจากกระเบื้องทึบแสงเปนกระเบื้องใส เพ่ือเพ่ิมแสงใน

Page 102: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม 93

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

อาคาร การซอมแซมที่น่ังใหมีความแข็งแรง และสะอาดพรอมใช ซ่ึงในสวนนี้แมจะจําเปนตองอาศัยงบประมาณในการดูแล แตการกําหนดมาตรการ และกําหนดระยะเวลาในบํารุงรักษา หรืออาจมีการมอบหมายใหมีเจาหนาที่ดูแลใหชัดเจนจะเปนการลดปริมาณงาน และลดงบประมาณในการบํารุงรักษาในระยะยาว

3) การตรวจสอบติดตามผลการพัฒนาและจัดการกับผลกระทบ

แมวาการพัฒนาสิ่งอํานวยความสะดวก และสิ่งกอสรางตางๆ จะชวยสงเสริมการประกอบกิจกรรม หรือชวยอํานวยความสะดวกใหกับนักทองเที่ยวแตพบวา ผลกระทบที่เกิดจากการพัฒนาสิ่งอํานวยความสะดวกนั้นมีผลกระทบตอสิ่งแวดลอม รูปแบบกิจกรรมนันทนาการ และปริมาณการใชประโยชนพ้ืนที่นันทนาการ โดยผลกระทบสิ่งแวดลอมอันเน่ืองมาจากการพัฒนากิจกรรมการใชประโยชนภายหลังการพัฒนา สามารถจําแนกได 3 กลุม คือ ผลกระทบทางชีวภาพที่เกิดกับสังคมพืชและสัตวปา ผลกระทบทางกายภาพ เชน การพังทลายของดิน ปริมาณน้ําและคุณภาพน้ํา การบดบังทัศนียภาพของสิ่งปลูกสราง เปนตน และผลกระทบทางสังคม เชน ผลกระทบตอคุณคาทางนันทนาการของนักทองเที่ยว และผลตอคุณภาพชีวิตของชาวบานในถิ่นที่น้ัน เชน แหลงโปงพุรอนที่มีการพัฒนารานคาอยางหนาแนนกอใหเกิดความวุนวาย และขาดบรรยากาศธรรมชาติซ่ึงมีผลตอความพึงพอใจ และความประทับใจของนักทองเที่ยว ซ่ึงแนวทางการจัดการโดยเฉพาะแหลงทองเที่ยวที่ยังไมมีการพัฒนาทางกายภาพควรมีการพิจารณาดานการออกแบบวางผังบริเวณ มีการพัฒนาสิ่งอํานวยความสะดวกอยางรอบคอบเทาที่จําเปน และมีการจํากัดปริมาณการใชประโยชนอยางจริงจัง

4) การเปดโอกาสใหทองถิ่นมีสวนรวมในการจัดการ

สําหรับการเปดโอกาสใหทองถิ่นมีสวนรวมในการจัดการ ถือเปนกระบวนการมีสวนรวมที่ใหประสิทธิผลอยางสูงหากมีการปฏิบัติไดอยางตอเน่ือง โดยจุดเริ่มตนนั้นมาจากความตองการของชุมชนที่มีความตระหนักถึงความสําคัญของแหลงธรรมชาติ และเปนผูที่รวมรับผลประโยชนอันเกิดจากการบํารุงรักษาทรัพยากรนั้นหรือ การมีรายไดเสริมจากการทองเที่ยวที่เกิดขึ้น โดยมีการวางแผนชุมชนในดานการรองรับนักทองเที่ยว เชน การแบงหนาที่รับผิดชอบรวมทั้งการกระจายรายไดไปสูกิจกรรมตางๆ เชน มีผูประสานงานในการติดตอและตอนรับนักทองเที่ยว มีมัคคุเทศกทองถิ่น มีชาวบานที่มีความรูความเชี่ยวชาญเปนวิทยากรบรรยาย มีการเขารวมประชุมเพ่ือเสนอประเด็นปญหา การเสนอแนวทางแกไขและการเสนอแนวทางการพัฒนาใหดีขึ้น และการจัดสรรงบประมาณสําหรับสวนกลางเพื่อใชในการบริหารจัดการพื้นที่ ซ่ึงการสรางแผนงานโดยชุมชน และการรวมบริหารจัดการโดยชุมชนจะสงผลให ชุมชนรวมกันปกปองและหาแนวทางการปรับปรุงใหทรัพยากรนั้นสามารถดํารงความเปนธรรมชาติ เพ่ือสามารถเอื้อประโยชนใหแกผูที่เกี่ยวของทุกฝายไดอยางยั่งยืน

Page 103: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

94 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

7. มาตรการในการอนุรักษและฟนฟูแหลงธรรมชาติโปงพุรอน

7.1 มาตรการดานการออกแบบกายภาพ และภูมิสถาปตยกรรม

สําหรับโปงพุรอนที่มีความสวยงามตามธรรมชาติและมีคุณคาอันควรอนุรักษ ควรมีการอนุรักษสภาพธรรมชาติเดิมใหมากที่สุด การตกแตงและการปรับปรุงภูมิทัศนบริเวณโปงพุรอนควรเนนความกลมกลืน และความเรียบงาย เลือกใชสีสันที่กลมกลืนกับสิ่งแวดลอม เชน การสรางทางเดินลื่นไหลไปตามแนวหิน ไปนักทองเที่ยวสามารถชื่นชมความงามตามธรรมชาติของโปงพุรอนไดอยางเต็มที่ ไมควรพัฒนาสิ่งกอสรางหรือสิ่งอํานวยความสะดวกใดๆ ที่เกิดความโดดเดน และใหญโตจนขัดกับธรรมชาติ สําหรับแนวทางปรับปรุงแกไขสิ่งกอสรางตางๆ ในพ้ืนที่ เม่ือมีการวางผังหลัก และมีการจัดสรรการใชประโยชนที่ดินตามความเหมาะสมของพื้นที่แลว ควรดําเนินการรื้อถอน และปรับเปลี่ยนโครงสราง ขนาด หรือรูปแบบ ไปพรอมกับการวางตําแหนงที่สอดคลองกับสภาพภูมิประเทศ ภูมิอากาศ และสัมพันธกับกิจกรรมที่กําหนดขึ้น ทั้งน้ีแนวคิดการออกแบบและการสรางเอกลักษณขององคประกอบตางๆ น้ันควรสอดคลองกับเอกลักษณของทองถิ่น

ภาพที่ 24 ตัวอยางโปงพุรอนปาแป ตั้งอยูที่บานแมแสะ ต.ปาแป อ.แมแตง จ.เชียงใหม อยูในความดูแลของอุทยานแหงชาติหวยน้ําดัง ปจจุบันมีความสวยงามของพื้นที่ตามธรรมชาติจึงไมตองการการปรุงแตงพ้ืนที่หรือการสรางขอบบอ แตบริเวณรอบนอกโปงพุรอนอาจมีการปรับปรุงจุดชมวิวใหมีขนาดเล็กและออกแบบใหเกิดความปลอดภัย

Page 104: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม 95

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

ภาพท่ี 25 ตัวอยางโปงพุรอนสันกําแพง ตั้งอยูที่หมูบานโปงฮอม ต.บานสหกรณ อ.แมออน จ.เชียงใหม อยูในความดูแลของกลุมนํ้าพุรอนสันกําแพง ขอบบอมีการดัดแปลงสภาพ และมีการพัฒนาพื้นที่สูง แตมีการปรับปรุงภูมิทัศนที่มีความเรียบงาย เลือกใชวัสดุในพ้ืนที่ และมีสีสันที่กลมกลืนกับสิ่งแวดลอมรอบๆ จึงทําใหสิ่งกอสรางดูไมแข็งกระดางเกินไป

ภาพที่ 26 ตัวอยางโปงพุรอนหวยหมากเลี่ยม ตั้งอยูที่อุทยานแหงชาติลําน้ํากก ต.ดอยฮาง อ.เมือง จ.เชียงราย อยูในความดูแลของอุทยานแหงชาติลําน้ํากก มีการปรับพ้ืนที่ใหมีความโปรง และสรางบรรยากาศของพื้นที่สีเขียวรอบๆ ทําใหโปงพุรอนเกิดความโดดเดนสวยงาม สามารถสรางราวกั้นตกไดโดยใชวัสดุธรรมชาติหรือมีรูปแบบและสีสันตามธรรมชาติ ไมควรมีโครงสรางใหญโต สามารถสื่อถึงการกําหนดขอบเขตไดจึงไมจําเปนตองสูง และควรมีความโปรงเพ่ือไมใหเกิดความรูสึกอึดอัดในการปดลอม

Page 105: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

96 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

ภาพที่ 27 ตัวอยางของการพัฒนาโปงพุรอนที่ไมเหมาะสม ของโปงพุรอนโละจังกระ ตั้งอยูที่บานโละจังกระ ต.ดอยเฉลิม อ.กงหรา จ.พัทลุง อยูในความดูแลของชุมชนบานโละจังกระ โดยมีการพัฒนาทางกายภาพของพื้นที่สูง ถนนถูกสรางติดกับโปงพุรอน ขอบบอขาดการออกแบบกอสรางที่เหมาะสม วัสดุที่ใชไมเหมาะสมที่จะนํามาใชในแหลงธรรมชาติ ปจจุบันพ้ืนที่มีความเสื่อมโทรม เน่ืองจากขาดการจํากัดการใชประโยชนพ้ืนที่ การเขาถึง และมาตรการในการอาบนํ้ารอน

ภาพที่ 28 ตัวอยางของการพัฒนาโปงพุรอนที่ไมเหมาะสม ของโปงพุรอนโปงพระบาท ตั้งอยูที ่ ต.บานประดู อ.เมือง จ.เชียงราย

Page 106: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม 97

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

ภาพที่ 29 ตัวอยางของการพัฒนาขอบบอที่ไมเหมาะสม ของโปงพุรอนพระรวง ที่ตั้งบานลานดอกไม อ.เมือง จ.กําแพงเพชร ในความรับผิดชอบของ อบจ.กําแพงเพชร

ภาพที่ 30 ตัวอยางของการพัฒนาทางกายภาพที่ไมเหมาะสม ของโปงพุรอนรักษวาริน ที่ตั้งสวนรุกขชาติรักษวาริน ต.หาดสมแปน อ.เมือง จ.ระนอง ในความรับผิดชอบของ เทศบาลเมืองระนอง มีการปรับปรุงภูมิทัศนจนไมหลงเหลือสภาพธรรมชาติ และมีองคประกอบทางภูมิทัศนที่ไมเหมาะสม

Page 107: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

98 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

ภาพที่ 31 ตัวอยางโปงบัวบาน ที่ตั้งบานโปงบัวบาน ต.แมปง อ.พราว จ.เชียงใหม ในความรับผิดชอบของเทศบาลตําบลแมปง มีลักษณะเปนบอดิน และมีนํ้ารอนผุดทั่วไปเปนลานกวาง ดินโดยรอบมักแฉะและยุบตัว ซ่ึงลักษณะของโปงพุรอนแบบน้ีจึงไมควรมีการกอสราง จากภาพทําใหเกิดลักษณะของการฝนธรรมชาติ โดยน้ํารอนพยายามดันตัวพังคอนกรีตที่กดทับดานบน

สําหรับปญหาการเหยียบย่ําจากการเขาถึงซึ่งปจจุบันเกิดเปนแนวทางเดิน ที่เห็นเปนแถบสีจางเมื่อเทียบกับหินบริเวณอื่นๆ หากไมมีการจํากัดบริเวณเปนเสนทางเดินเทาที่ชดัเจน ผูที่เขามาในพื้นที่จะเดินไปทั่วบริเวณ เพราะเกิดความสนในกับสภาพลานหินที่ดูแปลกตา ซ่ึงแนวทางพัฒนาสําหรับโปงพุรอนที่มีองคประกอบของลานหินในหลายพื้นที่ พบวา มีการสรางเสนทางเดินศึกษา โดยใชวัสดุเลียนแบบเสนทางเดิมใหมากที่สุด มีขนาดเล็ก และลื่นไหลไปตามสภาพพื้นที่ และเดินไปสูสิ่งที่นาดึงดูดใจ มีการสอดแทรกความรูระหวางเสนทาง โดยเนนการสื่อความหมายโดยใชวัสดุธรรมชาติ มีการออกแบบขอมูลดวยสัญลักษณที่เขาใจงาย มีสีสันและรูปแบบที่เปนมาตรฐานเดียวกันทั้งพ้ืนที่ มีขนาดและความสูงที่พอเหมาะ และสามารถควบคุมปริมาณผูใชงาน และทิศทางการสัญจรไดในเวลาเดียวกัน

Page 108: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม 99

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

ภาพที่ 32 ตัวอยางโปงพุรอนแจซอน ตั้งอยูที่อุทยานแหงชาติแจซอน ต.แจซอน อ.เมืองปาน จ.ลําปาง อยูในความดูแลของอุทยานแหงชาติแจซอน มีการสรางเสนทางเดินปูนที่มีลักษณะลื่นไหล และมีการเลียนแบบลานหินเดิม เปนรูปแบบที่ไมขัดแยงกับธรรมชาติ

สําหรับการจัดการปญหาขยะนั้น สามารถควบคุมไดดวยการกําหนดเขตการใช

ประโยชนพ้ืนที่ โดยจํากัดเขตพื้นที่บริการ ที่มีความสับสนวุนวายใหสามารถจําหนายเครื่องด่ืม อาหาร หรืออนุญาตใหพกพาขยะประเภทพลาสติกฯ ไดในเฉพาะบริเวณนี้เทานั้น และแยกสวนน้ีใหอยูหางจากสวนพ้ืนที่ธรรมชาติโปงพุรอน และเขตปาสงวน เพ่ือใหผูมาเยือนไดมีการเตรียมพรอมกอนเขาสูพ้ืนที่ธรรมชาติ และยังสงเสริมสรางจิตสํานึกดานการอนุรักษใหแกผูมาเยือน ทั้งนี้ควรมีมาตรการในการควบคุมอยางเครงครัด ซ่ึงอาจสงผลกระทบกับวิถีชีวิตเดิมของผูที่เคยเขามาใชประโยชนพ้ืนที่ เชน การนําขนมหรืออาหารเขาไปทานในขณะอาบน้ํา ดังนั้นควรมีการเสนอแนะแนวทางหรือรวมวางกฎกติการะหวางผูมีหนาที่พิทักษรักษา และกลุมผูใชประโยชนซ่ึงอาจเปนชาวบานที่มีสวนรวมในการบริหารจัดการ เพ่ือสามารถวางกฎเกณฑที่ทุกฝายเห็นดวยในการนําไปปฏิบัติ

7.2 มาตรการปองกันผลกระทบตอปริมาณนํ้าและคุณภาพน้ําในแหลงธรรมชาติประเภท

โปงพุรอน

นํ้าพุรอนในประเทศไทยสวนใหญเปนน้ําพุรอนที่เกิดจากน้ําผิวดินที่ซึมลงสูเบื้องลาง จนกลายเปนน้ําใตดิน หรือนํ้าบาดาลซึ่งจะไหลลงไปดานใตดินในระดับลึกจนถึงบริเวณที่มีหินรอนมีอุณหภูมิสูงอยู นํ้าบาดาลนั้นจึงถูกตมจนมีความรอนสูงแลวดันตัวไหลยอนขึ้นมาตามรอยแตก หรือชองวางตางๆ ในหิน เชนรอยเลื่อนจนมาสูผิวดินกลายเปนน้ําพุรอน หรือโปงพุรอนดังที่ปรากฏใหเห็นในพื้นที่ตางๆ ในการพัฒนาพื้นที่ที่เปนนํ้าพุรอน กิจกรรมของมนุษยบางอยางอาจสงผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลงตอปริมาณน้ําและคุณภาพน้ําในแหลงธรรมชาติประเภทโปงพุรอนได หากไมมีความเขาใจธรรมชาติของโปงพุรอนในแตละแหง ซ่ึงโดยทั่วไปแลวกอน

Page 109: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

100 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

ดําเนินการใดๆ ควรมีการสํารวจดานธรณีวิทยา อุทกธรณีวิทยา (นํ้าบาดาลหรือนํ้าใตดิน) และอุทกวิทยา (นํ้าผิวดิน) เสียกอน เพราะน้ําพุรอนในแตละแหงน้ันจะมีลักษณะเฉพาะ การกอสรางหรือการปรับเปลี่ยนภูมิประเทศใดๆ อาจสงผลใหสภาพของน้ําพุรอนเปลี่ยนไปทั้งปริมาณและคุณภาพ

7.3 มาตรการปองกันดานผลกระทบตอชีวภาพ (พืชพรรณและสัตวปา)

ในการพัฒนาแหลงโปงพุรอน สิ่งสําคัญที่ไมอาจละเลยไดก็คือความรูความเขาใจในดานชีวภาพ ของพ้ืนที่น้ันๆ วามีลักษณะ บทบาท และหนาที่อยางไร ซ่ึงจะสามารถชวยใหการจัดการทรัพยากรธรรมชาติประเภทโปงพุรอนน้ันมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลที่ดี ทั้งเปนการปองกัน และชวยลดผลกระทบซึ่งอาจเกิดขึ้น ทั้งจากกิจกรรมการใชประโยชน แหลงโปงพุรอน และตัวผูใชประโยชนเอง ซ่ึงผลกระทบตอชีวภาพที่เกิดขึ้นบริเวณแหลงโปงพุรอน สามารถสรุป โดยแบงเปนประเภทของผลกระทบได ดังน้ี

1) ผลกระทบตอพืชพรรณ

การนําพันธุไมตางถิ่นเขามาในพื้นที่โปงพุรอน เปนผลกระทบประเภทหนึ่งที่พบเห็นไดจากการสํารวจ ซ่ึงพบวา แหลงโปงพุรอนที่มีการพัฒนาเปนแหลงทองเที่ยวโดยสวนใหญจะมีการประดับตกแตงดวยพันธุไมประดับตางๆ ซ่ึงเปนไมตางถิ่นที่สามารถจะแพรขยายพันธุและรุกรานออกนอกพื้นที่ได จนอาจทําใหสังคมพืชในบริเวณนั้นๆ เสื่อมโทรมและเปลี่ยนแปลงไป อาทิเชน บอนํ้ารอนบานพรรั้ง อุทยานแหงชาตินํ้าตกหงาว อําเภอเมือง จังหวัดระนอง (ดังภาพที่ 33) บอนํ้ารอนในอุทยานแหงชาติแจซอน อําเภอเมืองปาน จังหวัดลําปาง (ดังภาพที่ 33) ซ่ึงเปนพ้ืนที่อนุรักษ จึงจําเปนอยางยิ่งที่จะตองปองกัน และแกไขปญหาการรุกรานของพันธุไมตางถิ่นในพื้นที่

ดังน้ันวิธีการที่จะชวยปองกันผลกระทบดังกลาวที่อาจเกิดขึ้น รวมทั้งสามารถเสริมสรางความสวยงามโดดเดนใหกับพ้ืนที่ไดน้ัน คือการเลือกใชพันธุไมในถิ่นมาใชในการประดับตกแตง ซ่ึงจะชวยทําใหเกิดความสวยงาม และมีความกลมกลืนกับสภาพแวดลอมโดยรอบได ทั้งน้ี จากการสํารวจภาคสนาม พบวา แหลงโปงพุรอนที่ไดรับการพัฒนาที่ยังไมพบปญหาการนําไมตางถิ่นเขาไปในพื้นที่ อันเนื่องจากการยังคงรักษาสังคมพืชด้ังเดิมหรือสภาพปาด้ังเดิมเอาไวโดยที่ไมไดนําพันธุไมตางถิ่นเขาไปประดับตกแตง เชน แหลงโปงพุรอนรอนทาปาย อําเภอปาย จังหวัดแมฮองสอน (ภาพที่ 34)

Page 110: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม 101

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

ภาพที่ 33 การประดับตกแตงพันธุไมตางถิ่นที่บอนํ้ารอนบานพรรั้ง อุทยานแหงชาตินํ้าตก

หงาว อ.เมือง จ.ระนอง (ซาย) บอนํ้ารอนแจซอน อุทยานแหงชาติแจซอน อ.เมืองปาน จ.ลําปาง (ขวา)

ภาพที่ 34 การรักษาสังคมพืชด้ังเดิมหรือสภาพปาดั้งเดิมไวที่แหลงโปงพุรอนทาปาย อุทยานแหงชาติหวยน้ําดัง อ.ปาย จ.แมฮองสอน

2) ผลกระทบตอสัตวปา

2.1) การสูญหาย หรือการลดลงของสัตวปา

จากการสอบถามยังเจาหนาที่ผูดูแลรับผิดชอบบริเวณโปงพุรอนหลายแหงพบวามีการลดจํานวนลงของสัตวปา อันมีสาเหตุมาจากการพัฒนา ปรับปรุงพ้ืนที่ในดานตางๆ การเปดพื้นที่เปนแหลงทองเที่ยว และเขามาใชประโยชนในพ้ืนที่ของนักทองเที่ยว สงผลกระทบตอลิงเปนจํานวนมาก อาทิเชนที่บอนํ้ารอนถ้ําเขาพลู อําเภอละแม จังหวัดชุมพร

Page 111: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

102 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

เจาหนาที่เลาวาแตเดิมมีลิงอาศัยอยูเปนจํานวนมาก และคอยๆ ลดจํานวนลง และหายไปจากพ้ืนที่ มาตรการสําคัญในการปองกันผลกระทบดังกลาวคือกําหนดเขตการจัดการพื้นที่ ใหมีสวนที่สงวนไวสําหรับเปนถิ่นที่อาศัยของสัตวปา กําหนดจํานวนนักทองเที่ยวที่เหมาะสม และหรือกําหนดชวงเวลาหรือฤดูกาลในการเขาไปใชประโยนใหเหมาะสม

2.2) การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของสัตวปา

จาการสํารวจบริเวณแหลงโปงพุรอนพบวาบางแหงกอใหเกิดผลกระทบตอพฤติกรรมของสัตวปา อาทิเชน บอนํ้ารอนเขาชัยสน อําเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง พบวาในพื้นที่มีลิงอาศัยอยูเปนจํานวนมาก โดยลิงเหลานี้มักจะไดรับอาหารจําพวกขนมขบเคี้ยว จากนักทองเที่ยวที่เขามาใชประโยชนจากบอนํ้าพุรอน ทําใหลิงเกิดพฤติกรรมการหาอาหารที่เปลี่ยนไปจากธรรมชาติ เปนการรอ การขโมย หรือการแยงอาหารจากนักทองเที่ยว และนอกจากนี้การคุยเขี่ยขยะ เพ่ือหาอาหาร อาจทําใหลิงกิน หรือกลืนเอาโฟม ถุงพลาสติก หรือวัสดุที่ ไมสามารถกินไดลงไป และอันตรายถึงแกชีวิตได มาตรการสําคัญคือการประชาสัมพันธใหความรูความเขาใจแกนักทองเที่ยวในการงดการใหอาหารสัตวปา

7.3.1 มาตรการปองกันผลกระทบจากการใชประโยชนโปงพุรอนของชุมชนทองถิ่น

โปงพุรอนบางแหงนอกจากจะมีการใชประโยชนเปนสถานที่ทองเที่ยว พักผอนหยอนใจแลว ยังใชประโยชนเพ่ือการสรางรายไดดวย โดยในสวนนี้ไมไดหมายรวมถึงการสรางรายไดจากการประกอบกิจการรานคาตางๆ ในพ้ืนที่ แตหมายถึงการใชประโยชนจากนํ้ารอนโดยตรง เชน การนําหนอไมมาแชในบอนํ้ารอนเพ่ือทําใหหนอไมมีรสชาดหวานกรอบ สงผลใหชาวบานในชุมชนสามารถขายหนอไมไดราคาดี และเปนที่ตองการของตลาด ทําใหบอนํ้ารอนบางแหงมีการใชประโยชนจากชาวบานในกิจกรรมดังที่กลาวมาแลว หากมีการเปดใหบริการเปนแหลงทองเที่ยวเพียงอยางเดียวนั้น อาจกอใหเกิดความขัดแยงระหวางกิจกรรมขึ้นได เ น่ืองจากการแชหนอไม น้ัน จะทําใหเกิดความไมสวยงามของบอนํ้ารอน ซ่ึงทําใหนักทองเที่ยวมีความรูสึกไมพึงพอใจ และการจัดการของหนวยงานดูแลพ้ืนที่ก็ไมสามารถกําหนดเวลาการแชหนอไมได เน่ืองจากเปนวิถีชีวิตด้ังเดิมของชาวบานกอนมีการพัฒนาเพื่อการทองเที่ยว ดังเชนที่บอนํ้าพุรอนโปงปูเฟอง อําเภอแมสรวย จังหวัดเชียงราย และจากการสํารวจภาคสนาม พบวา บางแหลงนั้น หนวยงานดูแลพ้ืนที่ ไดมีการจัดสรรชวงเวลาการแชหนอไม จําแนกบอแชหนอไม บอสําหรับอาบ และสําหรับกิจกรรมอ่ืน ไว ซ่ึงผูเขาใชประโยชนบอนํ้ารอนจะสามารถใชไดในระยะเวลาเดียวกัน เชน แหลงโปงพุรอนดอยสะเก็ด ตําบลปาเม่ียง อําเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม

Page 112: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม 103

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

ภาพที่ 35 การแชหนอไมที่บอนํ้าพุรอนโปงปูเฟอง ต.แมสรวย อ.แมสรวย จ.เชียงราย (ซาย) และแหลงโปงพุรอนดอยสะเก็ด ต.ปาเม่ียง อ.ดอยสะเก็ด จ.เชียงใหม (กลาง-ขวา)

โปงพุรอนบางแหง มีการใชประโยชนจากน้ําพุรอนโดยตรง โดยการตอทอนําน้ําพุรอนไปใชอุปโภคในครัวเรือน ยกตัวอยางเชน แหลงโปงพุรอนเขาพัง ตําบลวังกระแจะ อําเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี ซ่ึงทางองคการบริหารสวนจังหวัดกาญจนบุรีไดสนับสนุนงบประมาณในการพัฒนาพื้นที่บริเวณโปงพุรอนเขาพัง เพ่ือรองรับกิจกรรมการทองเที่ยวดวยการกอสรางสระน้ําสําหรับกิจกรรมแชนํ้ารอน หองนํ้า หองสุขาและลานจอดรถ หากแตในปจจุบันยังไมสามารถเปดบริการดานการทองเที่ยวได เน่ืองจากชุมชนบานเขาพังไมยินยอมใหมีการทองเที่ยวในแหลงโปงพุรอนแหงนี้ รวมทั้งไมตองการใชนํ้าอุปโภคจากแหลงน้ําอ่ืนๆ ที่ทางองคการบริหารสวนตําบลวังกระแจะจัดหามาให เชน ประปาบาดาล เพราะมีความตองการใชนํ้าอุปโภคจากแหลงโปงพุรอนเขาพังที่เปนแหลงนํ้าที่ใชอุปโภคมาโดยตลอด โปงพุรอน

ทั้งน้ี มาตรการสําคัญคือการใหชุมชนทองถิ่นมีสวนรวมในการตัดสินใจจัดการพื้นที่ และควรตองมีมาตรการการใหความรูความเขาใจถึงการพัฒนาและการใชประโยชนโปงพุรอนที่เหมาะสมและไมสรางผลกระทบสิ่งแวดลอมตามมา ตลอดจนกระตุนใหทองถิ่นมีการติดตามประเมินผลกระทบจากการใชประโยชนโปงพุรอนอยางตอเน่ือง

8. การพัฒนาฐานขอมูลและโปรแกรมเพื่อการติดตามมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติประเภทโปงพุรอน

ฐานขอมูลและโปรแกรมเพื่อการติดตามมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติประเภทโปงพุรอน เริ่มตนการทํางานทั้งการบันทึก แกไข ลบและแสดงขอมูล โดยการทํางานของระบบจะทํางานบนระบบปฏิบัติการวินโดวส โดยจะแบงออกเปน 3 สวน คือ ฐานขอมูลแหลงโปงพุรอนทั่วประเทศที่แสดงในรูปแบบของตารางขอมูลที่ผูใชงานทั่วไปสามารถเขาถึงได ฐานขอมูลแหลงโปงพุรอนทั่วประเทศที่แสดงในรูปแบบของ SVG (Scalable Vector Graphic) และการประเมินมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติประเภทโปงพุรอนซึ่งเปนสวนที่กําหนดใหใชงานเฉพาะผูที่เกี่ยวของกับการประเมินผลกระทบเทานั้น เชน หนวยงานองคการบริหารสวน

Page 113: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

104 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

ตําบลที่เปนผูดูแลแหลงโปงพุรอนและหนวยงานสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ประกอบดวย

1) หนาจอหลัก ในการเริ่มตนการใชงานโปรแกรมเพื่อการติดตามมาตรฐานฯ น้ัน เม่ือผูใชงานเปดเขาใชงานโดยเรียกระบบฯ จากเว็บเบราเซอร (web browser) เชน Internet Explorer เปนตน โดยรูปแบบของหนาจอการทํางาน ผูจัดทําไดกําหนดใหมีความสอดคลองกับหนาจอของเว็บไซตของหนวยงานกองอนุรักษสิ่งแวดลอมและศิลปกรรม สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ซ่ึงเปนหนวยงานที่จะรับผิดชอบในสวนของการดูแลฐานขอมูลตอไป

2) หนาจอการบันทึกและปรับปรุงขอมูล สําหรับผูใชงานที่เปนหนวยงานดูแลแหลงโปงพุรอนและกองอนุรักษสิ่งแวดลอมและศิลปกรรม จะมีชื่อและรหัสผานในการเขาใชงานระบบฯ ซ่ึงจะสามารถบันทึกและปรับปรุงขอมูลแหลงโปงพุรอน

3) หนาจอการแสดงผลขอมูลแหลงโปงพุรอน สําหรับผูใชงานทั่วไปสามารถเรียกดูขอมูลแหลงโปงพุรอนได โดยผูใชงานคลิกที่เมนู “ขอมูลโปงพุรอน” ในบริเวณเมนูหลักของหนาเว็บเพจ จะปรากฏหนาเว็บเพจแสดงรายชื่อแหลงโปงพุรอนทั่วประเทศ และเม่ือคลิกที่ชื่อแหลงโปงพุรอนที่ตองการเรียกดูขอมูลเพ่ิมเติม จะปรากฏหนาเว็บเพจรายละเอียดขอมูลแหลงโปงพุรอน

4) หนาจอการนําเสนอขอมูลแหลงโปงพุรอนทั่วประเทศที่แสดงในรูปแบบของ SVG (Scalable Vector Graphic) โดยผูใชงานสามารถเรียกดูขอมูลแผนที่โดยการคลิกที่เมนู “แผนที่โปงพุรอน” ในบริเวณเมนูหลักของหนาเว็บเพจ

5) การประเมินมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติประเภทโปงพุรอนและตัวอยางหนาเว็บเพจสําหรับการประเมินในพ้ืนที่นํารอง การประเมินและติดตามคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติประเภทโปงพุรอนสําหรับแหลงโปงพุรอนสํานักสงฆธารนํารอน ซ่ึงเปนพ้ืนที่นํารองน้ัน ผูศึกษาไดนําตัวชี้วัดคุณภาพสิ่งแวดลอม มาออกแบบหนาเว็บเพจสําหรับการประเมินคุณภาพสิ่งแวดลอม โดยผูใชงานจะตองมีชื่อและรหัสผาน ซ่ึงสามารถบันทึกและปรับปรุงขอมูลแหลงโปงพุรอนไดเฉพาะแหลงโปงพุรอนที่อยูในความรับผิดชอบ โดยผูใชงานคลิกที่เมนู “ประเมินผลกระทบ” ในบริเวณเมนูหลักของหนาเว็บเพจ จะปรากฏหนาเว็บเพจกรอกชื่อและรหัสผาน จากน้ันจะปรากฏหนาจอการบันทึกและปรับปรุงขอมูล (สําหรับในปถัดๆ ไปของการสํารวจขอมูล) และสําหรับหนาจอการบันทึกขอมูลการติดตามผลกระทบจากตัวชี้วัดตางๆ จะปรากฏหนาเว็บเพจเพื่อใหผูใชงานกรอกขอมูลตางๆ สําหรับตัวชี้วัดทั้ง 4 ดาน ไดแก ดานสิ่งแวดลอม/ระบบนิเวศ ดานองคประกอบทางภูมิสถาปตยกรรม ดานองคประกอบทางสถาปตยกรรมและดานการบริหารจัดการ และจะปรากฏผลการประเมินวามีระดับผลกระทบอยูในระดับใด

Page 114: สรุปย อผู บริหาร โครงการจัดทํามาตรฐานค ุณภาพส ิ่งแวดล อม ... · ด านระบบสารสนเทศทางภ

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม 105

โครงการจัดทํามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ประเภทโปงพุรอน สรุปยอผูบริหาร

บรรณานุกรม กรมปาไม. 2543. สัญลักษณ. ฝายบริการและพัฒนาสวนอุทยานแหงชาติทางทะเล สํานักอนุรักษ

ทรัพยากรธรรมชาติ. กรมปาไม.

กองเศรษฐธรณีวิทยา. 2544. แผนที่แหลงนํ้าพุรอนประเทศไทย. กรมทรัพยากรธรณี กระทรวงอุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ.

คณะวิทยาศาสตรและสถาบันวิจัยสภาวะแวดลอม จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. 2545. คูมือการจัดการแหลงธรรมชาติ ประเภทภูเขา. สํานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดลอม. กรุงเทพฯ.

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและสถาบันวิจัยสภาวะแวดลอม. 2551. แนวทางการวางรูปแบบการพัฒนาแหลงทองเที่ยวเชิงสุขภาพน้ําพุรอนธรรมชาติใหสอดคลองกับมาตรฐานแหลงทองเที่ยวเชิงสุขภาพน้ําพุรอนธรรมชาต.ิ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. กรุงเทพฯ

ศูนยวิจัยปาไม. 2541. คูมือพัฒนาและออกแบบสิ่งอํานวยความสะดวกในแหลงทองเที่ยวแบบการทองเที่ยวเชิงอนุรักษ. กรุงเทพฯ

สถาบันวิจัยสภาวะแวดลอม จุฬาลงกรณ. 2547. โครงการแนวทางการจัดทําแผนแมบทเพื่อการอนุรักษสิ่งแวดลอมธรรมชาต.ิ สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิละสิ่งแวดลอม, กรุงเทพฯ.

สํานักงานเกษตรอําเภอทาฉาง. 2551. ธารน้ํารอนและสถานีพัฒนาทรัพยากรปาชายเลน. แหลงที่มา: http://thachang.suratthani.doae.go.th/news/N_06.htm, 4 สิงหาคม 2551

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. 2551. ประเภทของกฎหมาย. แหลงที่มา: http://www.krisdika.go.th/lawChar.jsp?head=3&item=3&process=displayLawList&id=2, 6 พฤษภาคม 2551.

สํานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดลอม. 2539. แนวทางการอนุรักษธรรมชาติ. กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี, กรุงเทพฯ.