14
1 เสนอในการประชุมทางวิชาการ และจัดทําหนังสือที่ระลึก “60 อุทกวิทยากรมชลประทาน”, 18-20 กรกฎาคม 2550 กรมชลประทาน 2 ศาสตราจารย ที่ปรึกษาศูนยวิจัยปาไม คณะวนศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร กาวขางหนาของอุทกวิทยาไทย 1 : นิพนธ ตั้งธรรม 2 1. คํานํา : ถาเปนผูรับราชการตามกติกาของรัฐบาลไทย เมื่ออายุ 60 ปเต็ม ก็ถึงวัยเกษียณ หมดหนาที่การ ทํางานทําการเปนทางการ แตเมื่อเปนหนึ่งในหนวยงานของรัฐ เมื่ออายุครบ 60 คงจะตองเปน ชวงเวลาที่หันมาทบทวน ความกาวหนา ความมั่นคง และความมีศักดิ์ศรีของหนวยงานนั้น วาปฏิบัติ หนาที่ตามที่รัฐกําหนดไดมีประสิทธิภาพเพียงไร และยิ่งเปนหนวยงานที่ตองพัฒนาดวยความรูทาง วิชาการใหเกิดความเปนศักดิ์เปนศรี และเปนที่ยอมรับของทั้งหนวยงานภายในประเทศ และสากล ประเทศเชนงานดานอุทกวิทยาอันเปนทรัพยากรสําคัญของประเทศ และของโลกดวยแลว ยิ่งจําเปน จะตองหันมาพิจารณากิจกรรมในทุกกาวยางที่ผานมา และที่จะกาวตอไปในอนาคตดวย คงไมมีใครกังขาวาทรัพยากรน้ําสําคัญตอชีวิตของปจเจกบุคล ทุกภูมิสังคมไทย ทั้งเกษตร อุตสาหกรรม และสังคมเมืองรวมทั้งสังโลกที่ตองอาศัยวัฏจักรของน้ําไมเฉพาะในประเทศใดประเทศ หนึ่งแตทั่วทุกทวีปเชื่อมโยงกันทั้งหมดในการกําหนดความผันผวนของภูมิอากาศทั้งโลก ดังนั้นงาน ดานอุทกวิทยาจึงเปนงานสําคัญไมเฉพาะระดับกรมกองเทานั้น แตยังกระเทือนไปถึงหลายหนวยงานทั้ง ในระดับประเทศ ระดับภูมิภาค และระดับนานาชาติ วัตถุประสงคของการเขียนเรื่องนีก็เพื่อตองการใหทุกคนที่เกี่ยวของมองยอนกลับในอดีตเมื่อ 60 ที่แลวจนถึงปจจุบันวางานอุทกวิทยาของไทยเราไดทําอะไรกันไวแลวบาง เมื่อเทียบเคียงกับความ เปนไปของการใชประโยชนขอมูล และองคความรูความเขาใจในเรื่องนี้กับนานาประเทศแลว เราอยู ตรงไหน แลวเราจะกาวกันไปอีกอยางไรตอไปในศตวรรษนีรวมทั้งพยายามตั้งเปนคําถามวาทําอยางไร เราจึงไปไดอยางที่ควรจะเปน? 2. ความเปนมาของการพัฒนาองคความรูทางอุทกวิทยา วิวัฒนาการขององคความรูทางอุทกวิทยากับงานดานการชลประทาน และการพัฒนาทรัพยากร น้ําเปนกิจกรรม และเหตุการณที่แยกออกจากกันไดยาก หากกลาวโดยทั่วไปแลว องคความรูทางอุทก วิทยามักจะเกิดตามมาหลังจากที่มนุษยไดใชประโยชนน้ําเพื่อการชลประทาน และดานอื่น ใน ชีวิตประจําวัน กอนที่จะเริ่มศึกษาพัฒนาใหเปนวิชาการ ดังทีLettermaier (2004) แบงทิศทางของ วิวัฒนาการของอุทกวิทยาไวเปน 2 สาย (pathways) ขนานกันคือ

ก าวข างหน าของอ ุทกวิทยาไทยkmcenter.rid.go.th/kmc03/2011/document/ex-a005.pdf · 1 เสนอในการประชุมทางว

  • Upload
    others

  • View
    2

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ก าวข างหน าของอ ุทกวิทยาไทยkmcenter.rid.go.th/kmc03/2011/document/ex-a005.pdf · 1 เสนอในการประชุมทางว

1 เสนอในการประชุมทางวิชาการ และจัดทําหนังสือที่ระลึก “60 ป อุทกวิทยากรมชลประทาน”, 18-20 กรกฎาคม 2550 ณ กรมชลประทาน 2 ศาสตราจารย ที่ปรึกษาศูนยวิจัยปาไม คณะวนศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

กาวขางหนาของอุทกวิทยาไทย 1: นิพนธ ตัง้ธรรม2

1. คํานํา : ถาเปนผูรับราชการตามกติกาของรัฐบาลไทย เมื่ออายุ 60 ปเต็ม ก็ถึงวัยเกษียณ หมดหนาที่การทํางานทําการเปนทางการ แตเมื่อเปนหนึ่งในหนวยงานของรัฐ เมื่ออายุครบ 60 ป คงจะตองเปนชวงเวลาที่หันมาทบทวน ความกาวหนา ความมั่นคง และความมีศักดิ์ศรีของหนวยงานนั้น ๆ วาปฏิบัติหนาที่ตามที่รัฐกําหนดไดมีประสิทธิภาพเพียงไร และยิ่งเปนหนวยงานที่ตองพัฒนาดวยความรูทางวิชาการใหเกิดความเปนศักดิ์เปนศรี และเปนที่ยอมรับของทั้งหนวยงานภายในประเทศ และสากลประเทศเชนงานดานอุทกวิทยาอันเปนทรัพยากรสําคัญของประเทศ และของโลกดวยแลว ยิ่งจําเปนจะตองหันมาพิจารณากิจกรรมในทุกกาวยางที่ผานมา และที่จะกาวตอไปในอนาคตดวย

คงไมมีใครกังขาวาทรัพยากรน้ําสําคัญตอชีวิตของปจเจกบุคล ทุกภูมิสังคมไทย ทั้งเกษตร อุตสาหกรรม และสังคมเมืองรวมทั้งสังโลกที่ตองอาศัยวัฏจักรของน้ําไมเฉพาะในประเทศใดประเทศหนึ่งแตทั่วทุกทวีปเชื่อมโยงกันทั้งหมดในการกําหนดความผันผวนของภูมิอากาศทั้งโลก ดังนั้นงานดานอุทกวิทยาจึงเปนงานสําคัญไมเฉพาะระดับกรมกองเทานั้น แตยังกระเทือนไปถึงหลายหนวยงานทั้งในระดับประเทศ ระดับภูมิภาค และระดับนานาชาติ

วัตถุประสงคของการเขียนเรื่องนี้ ก็เพื่อตองการใหทุกคนที่เกี่ยวของมองยอนกลับในอดีตเมื่อ 60 ป ที่แลวจนถึงปจจุบันวางานอุทกวิทยาของไทยเราไดทําอะไรกันไวแลวบาง เมื่อเทียบเคียงกับความเปนไปของการใชประโยชนขอมูล และองคความรูความเขาใจในเรื่องนี้กับนานาประเทศแลว เราอยูตรงไหน แลวเราจะกาวกันไปอีกอยางไรตอไปในศตวรรษนี้ รวมทั้งพยายามตั้งเปนคําถามวาทําอยางไร เราจึงไปไดอยางที่ควรจะเปน?

2. ความเปนมาของการพัฒนาองคความรูทางอุทกวิทยา

วิวัฒนาการขององคความรูทางอุทกวิทยากับงานดานการชลประทาน และการพัฒนาทรัพยากรน้ําเปนกิจกรรม และเหตุการณที่แยกออกจากกันไดยาก หากกลาวโดยทั่วไปแลว องคความรูทางอุทกวิทยามักจะเกิดตามมาหลังจากที่มนุษยไดใชประโยชนน้ําเพื่อการชลประทาน และดานอื่น ๆ ในชีวิตประจําวัน กอนที่จะเร่ิมศึกษาพัฒนาใหเปนวิชาการ ดังที่ Lettermaier (2004) แบงทิศทางของวิวัฒนาการของอุทกวิทยาไวเปน 2 สาย (pathways) ขนานกันคือ

Page 2: ก าวข างหน าของอ ุทกวิทยาไทยkmcenter.rid.go.th/kmc03/2011/document/ex-a005.pdf · 1 เสนอในการประชุมทางว

2

1) สายการพัฒนาทรัพยากรน้ํา (ซ่ึงจัดอยูในสายวิศวกรรม เชน การสรางเขื่อนและการจัดสรรน้ํา)

2) สายความรูความเขาใจทางวิทยาศาสตร (เชนการเรียนรูเร่ืองกําเนิดของน้ําทา, วัฏจักรของน้ํา)

ทั้งสองสายของประวัติศาสตรอุทกวิทยาไทยและเทศ พอสรุปไดดังนี้

2.1 กาวยางในอดีตของอุทกวิทยาไทย :

หากจะคิดวาแตละขวบปคือ 1 ยางกาวของการตรวจวัด และคนหา พรอมกับประยุกตองคความรูดานอุทกวิทยาแลว ดูเหมือนวากาวยางของอุทกวิทยาไทยมีความเปนมาเปนไปเชนเดียวกับที่ Lettermaier (2004) ไดกลาวไว คือ เร่ิมตนจากงานกอสราง เพื่อนนําน้ํามาใชประโยชนแลวตามมาดวย การพัฒนาองคความรูเพื่อความเขาใจในพฤติกรรมของน้ําทาในแมน้ําในภายหลัง ซ่ึงพอกลาวไดโดยสรุปวา นับตั้งแตเมื่อประมาณ 1300 ปกอนหนานี้ (ประมาณป พ.ศ. 1250) ไดเร่ิมรูจักสรางเหมืองฝายผันน้ําจากแมน้ําปงเขามาทํานา เ ร่ิมตั้งแต “ฝายพญาคํา” หนองผึ้ง ทาวังตาล จนไปถึง อ.จอมทอง (http://www.localtalk2004.com) ตอมาในสมัยพอขุนรามคําแหงมหาราช (ระหวางป พ.ศ. 1820 – 1860) พระองคไดทรงสรางเขื่อนดินแหงหนึ่ง คือ “สรีดภงค” หางจากตัวเมืองสุโขทัยไปทางทิศตะวันตกเฉียงใตเพื่อแกปญหาการขาดแคลนน้ํา หลายทานอาจจะตองยอนกลับไปอานบทความของอาจารยสุเทพ พิงศภัทย(2506) เร่ือง “นักอุทกวิทยาของประเทศไทย” ที่พออนุมานไดวางานอุทกวิทยาของไทยเริ่มมาตั้งแตปพ.ศ. 2374 เมื่อพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาฯ รัชกาลที่ 3 ทรงใชสถิติอุทกวิทยาซ่ึงเปนระดับน้ําของแมน้ําเจาพระยาที่วัดดวยเสาหินระดับน้ํา ที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เปนขอมูลในการเตรียมรับสถานการณทางเศรษฐกิจลวงหนา จากระดับสูงสุดของแมน้ํา และระดับต่ําสุดอันเกี่ยวของกับฤดูการทํานา และการเก็บเกี่ยว เสาหินวัดระดับนี้ ยังคงมีสถิติตอเนื่องจนมาถึงปจจุบัน โดยกรมชลประทานเปนผูเก็บสถิติ และใชประโยชน พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาจึงไดรับเทิดพระเกียรติวาเปนบิดาผูใหกําเนิดอุทกวิทยาของประเทศไทย(สํานักอุทกวิทยาและบริหารน้ํา http://water.rid.go.th/hydhome/-)

หากจะนับปพ.ศ.2374 เปนปเร่ิมตนของการตรวจวัด และการใชขอมูลทางอุทกวิทยาเปนประโยชนการพยากรณสภาวะของน้ําแลว กาวแรกของอุทกวิทยาของประเทศไทยนาจะเกิดมาเมื่อประมาณ 176 ปมาแลว ถือเปนการเริ่มตนคนหาองคความรูทางอุทกวิทยาของประเทศ แตนับจากนั้นมา การพัฒนาโครงสรางตาง ๆ ในการจัดการน้ําดูเหมือนจะเปนการขุดคลอง สรางระบบทดน้ําเขามาโดยมีการตั้ง “กรมคลอง” ขึ้นในป พ.ศ.2445 ในป พ.ศ. 2457 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหเปลี่ยนชื่อ “กรมคลอง” เปน “กรมทดน้ํา” ตามมาดวยการสราง “เขื่อนพระรามหก” ในปพ.ศ.2458 พรอมระบบชลประทานขนาดใหญบริเวณที่ลุมเจาพระยาตอนลางเสร็จสิ้นในปพ.ศ.

Page 3: ก าวข างหน าของอ ุทกวิทยาไทยkmcenter.rid.go.th/kmc03/2011/document/ex-a005.pdf · 1 เสนอในการประชุมทางว

3

2467 และเมื่อลวงมาถึงปพ.ศ. 2470 พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว ไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหเปลี่ยนชื่อ “กรมทดน้ํา” เปน “กรมชลประทาน” ซ่ึงดูเหมือนงานวิชาการดานอุทกวิทยาก็ยังไมไดเร่ิมจริงจังในปพ.ศ.ดังกลาวเนื่องจากหนาที่หลักยังเปนเรื่องของการจัดหาน้ําเพื่อใชในการเพาะปลูก (http://www.rid.go.th/kw_meanirri3.htm)จนอีก 10 ป ตอมา คือปพ.ศ. 2480 มล.ชูชาติ กําภู จึงไดเร่ิมวิเคราะหฝนในภาคตาง ๆ เพื่อการชลประทาน และพัฒนาแหลงน้ํา และไดเขียนตําราวาดวยน้ําฝน และน้ําทาของประเทศไทยไวเปนเลมแรกในปพ.ศ. 2485 ในสวนของการบริหารจัดการน้ํานั้น ลวงมาถึงป พ.ศ.2492 แผนกอุทกวิทยาจึงไดเกิดขึ้นโดยสังกัดอยูในกองสํารวจของกรมชลประทานและไดรับการยกฐานะใหเปน “สํานักอุทกวิทยา และบริหารน้ํา” เมื่อป พ.ศ. 2540 จนถึงปจจุบัน

2.2 กาวตอกาวของอุทกวิทยาไทย และอุทกวิทยาสากล :

ประวัติศาสตรของการพัฒนาที่เกี่ยวของกับทางอุทกวิทยาของประเทศพัฒนาในอดีตเริ่มตนจากส่ิงกอสรางเพื่อนําน้ํามาใชประโยชนกอนที่จะสรางความรูความเขาใจทางวิทยาศาสตรดวยกันทั้งสิ้น เชน ส่ิงกอสราง อางเก็บน้ํา รางสงน้ําในตะวันออกกลาง ยอนหลังไป 5,000 ป กอนคริศตศักราช ตัวอยางเชน การสรางเขื่อนปดกั้นแมน้ําไนล (Nile) เพื่อนําน้ํามาใชในพื้นที่เกษตรกรรม ในราว 4000 ปกอนคริสตศักราช มีการสรางคันดินปองกันน้ําทวมของขาวเมโสโปเตเมีย (Mezopotamian) มีการสรางรางสงน้ําเหนือพื้นดินที่เรียกวา “Aquaducts” โดยชาวกรีกและชาวโรมัน ในขณะที่คนจีนสรางระบบชลประทาน และคันดินปองกันน้ําทวม บรรพบุรุษของชาวสิงหล (Sinhalese) เกาะศรีลังกา สรางระบบชลประทาน และอางเก็บน้ําที่ ช่ือวา “Valve Pit” ในยุคสมัยดังกลาวนี้ เปนตน (http://en.wikipedia.org/wiki/Hydrology)

เสนทางสายวิชาการทางอุทกวิทยานี้ดูเหมือนคอยเปนคอยไปเร่ือยมาจนถึงศตวรรษที่ 18 จึงไดเชื่อมโยงวา น้ําที่เรานํามาใชประโยชนนั้นมาจากบรรยากาศ ซ่ึงไมใชเสนทางของวิศวกรที่เปนไปในลักษณะ สรางอาง และรางสงน้ํา และไดเร่ิมหันเขามาใชศาสตรทางอุทกวิทยาอยางจริงจังในปลายศตวรรษที่ 19 ตอถึง ศตวรรษที่ 20 เมื่อ สํานักสํารวจทางธรณีของสหรัฐอเมริกา (USGS : United State Geological Survey) ไดกอตั้งขึ้น และมีการติดตั้งเครือขายการตรวจวัดขอมูลทางอุทกวิทยาทั่วสหรัฐอเมริกาโดยเนนเฉพาะการตรวจวัดน้ําทาเทานั้น (Streamflow alone) และไดมีการติดตั้งเครื่องวัดน้ําทาเครื่องแรก ในแมน้ํา Rio Grande ใกลเมือง Embudo ของมลรัฐ New Maxico ในป ค.ศ. 1889 (พ.ศ. 2432) จนกระทั่งถึงป ค.ศ. 1895 (พ.ศ. 2438) USGS จึงไดติดตั้งเครื่องวัดน้ําทา ไปทั่วประเทศ อยางนอยใน 24 มลรัฐ (Delaware River Commission, A Brief history of stream gauges อางโดย Lettermaier, 2004)

Page 4: ก าวข างหน าของอ ุทกวิทยาไทยkmcenter.rid.go.th/kmc03/2011/document/ex-a005.pdf · 1 เสนอในการประชุมทางว

4

ในสวนของการวิจัยดานอุทกวิทยานั้น วิวัฒนาการในเรื่องนี้เร่ิมตั้งแตป ค.ศ. 1980 เปนตนมา ประกอบไปดวย การศึกษาวิจัยที่ใชสถิติประเมินคาอนุกรมเวลาการไหลของน้ํา การทํานายน้ําหลาก น้ําทวม โดยอาศัยการสังเคราะห (Stochastic หรือ Synthetic hydrology) ขอมูลเพิ่มเติมขึ้นมาจากการตรวจวัด ตามมาดวยการสรางแบบจําลองเชิงมโนทัศน (conceptual hydrologic modeling) เพื่อเปนกรอบความคิดในการใชขอมูลน้ําทา รายวัน หรือรายครึ่งวัน (subdaily) ที่ตรวจวัดมาสรางแบบจําลองพยากรณ ออกแบบ และวิเคราะหสถานการณตางๆ เมื่อทราบเพียงขอมูลน้ําฝน และทายสุดมาถึงเรื่องการวิจัย และจําลองแบบกระบวนการทางอุทกวิทยาของพื้นที่ลาดเขา (Hillslope) ของพื้นที่ลุมน้ําขนาดเล็ก รวมไปถึง เร่ืองของน้ําใตดิน (Lettermaier, 2004)

หลังจากป ค.ศ. 1990 งานวิจัยทางอุทกวิทยาไดเร่ิมเนนการศึกษาปฏิสัมพันธระหวางพื้นโลกสวนที่เปนบก – มหาสมุทร – บรรยากาศ (Land – ocean – atmosphere interactions) มากขึ้นเชนผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงของพื้นผิวโลกตอลักษณะลมฟาอากาศ ทั้งในระดับภูมิภาค ทวีป ลงมาจนถึงระดับลุมน้ํา และทายที่สุดกอนยางเขาศตวรรษที่ 21 เร่ืองของการเปลี่ยนแปลงของลมฟาอากาศเนื่องจากภาวะโลกรอน ถือเปนประเด็นที่ถูกนํามาวิจัยดานอุทกวิทยาอยางหลีกเลี่ยงไมได และจะเปนหัวขอสําคัญของศตวรรษที่ 21 นี้ทีเดียว ทั้งในเรื่องการเปลี่ยนแปลงสมดุลของน้ํา และพลังงานของทั้งในระดับโลก ทวีป ประเทศ และระดับทองถ่ิน (Yevjevich .,1991)

หากจะนับกันกาวตอกาวในอดีตของพัฒนาการทางอุทกวิทยาของไทยและเทศแลว พอจะเทียบเคียงเชื่อมโยงกันได โดยสรุปดังตารางที่ 1 ตอไปนี้

ตารางที่ 1 ววิฒันาการทางอทุกวิทยาของมนุษยชาตนิับแตโบราณกาล และยุครวมสมัยกับอุทกวิทยาไทย

พ.ศ. ป ค.ศ. นานาชาติ ประเทศไทย ประมาณ 4500ปถึง 3500ปกอนพุทธศักราช

5000 B.C. ถึง 4000 B.C. (กอนปคริสตศักราช)

สิ่งกอสรางในตะวันออกกลาง* - แมน้ําไนลเริ่มถกูปดกั้นเพื่อปรับปรุงพื้นที่เกษตร - สรางคันดินปองกันทวมเมืองของอาณาจักรเมโสโปเตเมีย

- รางและรองสงน้ํา (Aqeducts) ไดเริ่มมีการกอสรางขึ้นในหลายเมืองท่ีอยูภายใตอาณาจักรของกรีก และโรมัน

* http://en.wikipedia.org/wiki/hydrology

Page 5: ก าวข างหน าของอ ุทกวิทยาไทยkmcenter.rid.go.th/kmc03/2011/document/ex-a005.pdf · 1 เสนอในการประชุมทางว

5

ตารางที่ 1 (ตอ) พ.ศ. ป ค.ศ. นานาชาติ ประเทศไทย

ประม าณ ป พ.ศ. 443

\ 1 0 0 B.C. กอนปคริสตศักราช

- ประเทศจีนเริ่มมีการสรางระบบชลประทาน และควบคุมอุทกภัยในลุมน้ําฮวงโห (Yellow River)

- ชาวสิงหล (Sinhalese) ชนกลุมนอยในประเทศศรีลังกาสรางระบบชลประทานที่เรียกวา Valve Pit ทําใหเปนอางเก็บน้ําขนาดใหญ และคันคูคลอง ซึ่งยังใชอยูจนปจจุบัน

- มาคัส วิทรูเวียส (Marcus Vitruvius) เริ่มอธบิายทฤษฎีวัฏจักรของน้ําวาฝนตกลงบนภูเขาแลวซึมผานผิวดินแลวกลายเปนน้ําทา และน้ําซับลงสูพื้นที่ลุมน้ํา

- ตอมาลีโอนาโด ดาวินซี Leonardo da Vinci) และเบอรนารด ปาลิสซี (Bernard Palissy) ตางก็สรางภาพ และวัฏจักรของน้ําไดอยางสมบุรณ (อยางไรก็ตามตองรอมาจนถึงศตวรรษที่ 17 ตัวแปรตาง ๆ ในวัฏจักรของน้ําจึงไดเริ่มเกิดข้ึนและมีการประมาณเชิงตัวเลข)*

ป ร ะ ม า ณ ปพ.ศ. 643

A.D. 100+52 - เมื่อง Petra (ปจุบันอยูในประเทศจอรแดน)ถูกครอบครองโดยอาณาจักรโรมัน ไดมีการสรางอางเก็บน้ํ า และถังน้ํ า (cirterns) ท่ีมีความสามารถในการสงน้ําไดมากกวา 12 ลานแกลลอนในเมืองหุบเขาแหงนี้

ประมาณ พ.ศ.550 (ประมาณ 2000ปกอน)

- ระบบชลประทานใตดินคันเออรจิ่ง (Kares Irrigation System) ในประเทศจีนคิดคนโดยชาวฮั๋นเมื่อกวา 2000 ปกอนเพื่อนําน้ําจากเทือกเขาเทียนซานมาหลอเลี้ยงชีวิตผูคนและสัตวเลี้ยงในเมืองทูรูฟานที่มีลักษณะเปนแองกะทะ ระบบชลประทานใตดินนี้มีมากกวา 1500 สาย รวมระยะทางกวา 5000 กม. ถือเปนตนแบบของระบบชลประทานในทะเลทรายทั่วโลก (ไดจากการไปทองเที่ยวเส็นทางสายไหม)

Leonado da Vinci Bernard Palissy

Page 6: ก าวข างหน าของอ ุทกวิทยาไทยkmcenter.rid.go.th/kmc03/2011/document/ex-a005.pdf · 1 เสนอในการประชุมทางว

6

ตารางที่ 1 (ตอ) พ.ศ. ป ค.ศ. นานาชาติ ประเทศไทย

ปพ .ศ .1200-1300

ป คศ.657-757 -ชุมชนลานนารูจักใชเหมืองฝายผันน้ําเขานามาต้ังแต 1300 ปกอน (ประมาณปพ.ศ. 1250) ไดสรางฝายรวมกับ 11 ลูก ไลต้ังแตฝายพญาคํา หนองผึ้ง ทาวังตาล ชลประทานแมปงเกา และฝายอีกหลายลูกจนไปถึงอ.จอมทอง(อานเพิ่มเติมจาก http://www.localtalk2004.com)

1800 – 1900

1357 – 1457

-พอขุนรามคําแหงมหาราชไดสรางเขื่อนดินแหงหนึ่งคือ “สรีดภงค” (A WIKIPEDIA Project, 2007. อาณาจักรสุโขทัย-วิกิพีเดีย http://th.wikipedia. org/wiki/) หางจากตัวเมืองไปทางทิศตะวันตกเฉียงใตสําหรับเก็บกักน้ําในลําธารที่มีมากในฤดูฝน เพื่อแกปญหาการขาดแคลนน้ําใชสําหรับเพาะปลูกของพื้นที่สวนหนึ่ง และมีการทําทอสงน้ําจากตัวเขื่อนมาใชในเมือง

> 1900 -2000 > 1457 – 1557 > 2000 – 2200 สมัยกรุงศรีอยุธยา

> 1557 – 1657

- ประมาณ พ.ศ. 2176 สมเด็จพระเจาประสาททองไดทรงสรางเขื่อนเก็บน้ําธารทองแดง ในบริเวณพระราชนิเวศนธารเกษม ที่พระพุทธบาท จ.สระบุรี

> 2200 – 2300 สมัยกรุงศรีอยุธยา

> 1657 – 1757

- เริ่มยุคอุทกวิทยาสมัยใหม เริ่มมีการวัดน้ําฝน น้ําทา และพื้นที่ลุมน้ํา พรอมกับคํานวณน้ําที่ไหลลงแมน้ํา เซน (Sein), Marriotte วัดความเร็วกระแสน้ํา พ้ืนที่หนาตัดแมน้ํา เพื่อคํานวณปริมาตรการไหลของน้ําในแมน้ํา Sein ในขณะที่ Halley Perrualt พบวาการระเหยน้ําจากทะเลเมดิเตอรเรเนียนเปนแหลงที่ มาของไอน้ําที่กลั่นตัวเปนฝนและกลายเปนน้ําทาในแมน้ําที่ไหลกลับสูทะเล

- ประมาณ พ.ศ. 2204 สมเด็จพระนารายณมหาราชไดทรงสรางเขื่อนเก็บน้ําที่หวยขี้เหล็ก ที่เมืองลพบุรี ในสมัยตอๆมา มีการขุดคลองเขื่อนแมน้ําสายตางๆ ในบริเวณทุงราบภาคกลางเพื่อใชดานคมนาคม และใขในการปลูกขาวตามบริเวณสองฝงลําน้ํา

Sein

ฝายพญาคํา

“เขื่อนสรีดภงค”

Page 7: ก าวข างหน าของอ ุทกวิทยาไทยkmcenter.rid.go.th/kmc03/2011/document/ex-a005.pdf · 1 เสนอในการประชุมทางว

7

ตารางที่ 1 (ตอ) พ.ศ. ป ค.ศ. นานาชาติ ประเทศไทย

> 2243

> 1700 – 1800

- ไดเริ่มมีการประมาณคา ตัวแปรตางๆ ของ วัฏจักรของน้ําเชิงตัวเลข หลังจากที่ ลีโอนาโด ดาวินชี และ เบอรนาโด ปาลิสซี่ ไดสรางภาพแสดงวัฏฏจักรของน้ําในชวงศตวรรษที่ 15

> 2300 - 2400

> 1800 - 1900

- ลวงมาถึง ศตวรรษที่ 18 ปองคความรู เรื่อง Bernoulli piezometer และสมการของ Bernoulli, Pilot tube และ สูตรของ Cherzy ไดมีการเสนอในที่ประชุมทางวิชาการ และมีการนําไปใชประโยชน

- สมัยกรุงรัตนโกสินทร นับแตป พ.ศ. 2325 ไดมีการขุดคลองเขื่อนทางน้ําและแมน้ําตางๆในบริเวณทุงราบภาคกลาง เพิ่มมากขึ้น เพื่อประโยชนในการเพาะปลูกไดมากยิ่งขึ้น - สมัยกรุงรัตนโกสินทร : สมัยพระบาทสมเดจ็พระนั่งเกลารัชกาลที่ 3 - เริ่มมีการวัดระดับน้ําสูงสุดของแมน้ําเจาพระยา ท่ี จ.อยุธยา ในสมัยรัชกาลที่ 3 (เปนพระองคแรกที่ทรงใชสถิติทางอุทกวิทยา) เริ่มเก็บสถิติตั้งแต ป พ.ศ. 2375 (ค.ศ. 1831) เปนตนมา เพื่อนํามาเตรียมรับสถานการณทางเศรษฐกิจลวงหนา เสาวัดระดับน้ําท่ียังคงมีสถิติตอเนื่องมาจนถึงปจจุบัน

> 2400 - 2500

> 1900

- ราวศตวรรษที่ 19 หรือ นับตั้งแตป พ.ศ. 2443 ก็ไดมีการพัฒนาองคความรูดานอุทกวิทยาน้ําใตดิน (Groundwater hydrology) ซึ่งประกอบดวย Darcy’s Law, สูตรบอน้ําบาดาล Depuit – Thiem และสมการ Hagen – Poisewille capillary flow

- ป พ.ศ. 2445 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหวั ทรงพระกรุณาโปรดเกลาตั้ง “กรมคลอง” ใหรับผิดชอบการพัฒนาการชลประทานขนาดใหญบริเวณทุงราบภาคกลาง - ป พ.ศ. 2457 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหวั ไดทรงพระกรณุาโปรดเกลาฯ ใหเปลี่ยนชื่อ “กรมคลอง” เปน “กรมทดน้ํา”

Page 8: ก าวข างหน าของอ ุทกวิทยาไทยkmcenter.rid.go.th/kmc03/2011/document/ex-a005.pdf · 1 เสนอในการประชุมทางว

8

ตารางที่ 1 (ตอ) พ.ศ. ป ค.ศ. นานาชาติ ประเทศไทย > 2400 - 2500

> 1900

- ค.ศ. 1985 (พ.ศ. 2438) มีการติดตั้งเครื่องวัดน้ําทาเครื่องแรกในสหรัฐอเมริกาที่เมือง Embudo มลรัฐ New maxico ในแมน้ํา Rio Grande - การวิเคราะหหาปจจัยเหตุที่ทําใหเกิดผลลัพทของกระบวนการทางอุทกวิทยาเริ่มเขามาแทนที่สมการเอ็มไพริคัลในราว ศตวรรษที่ 20 โดยหนวยงานของประเทศสหรัฐอเมริกาที่เกี่ยวของกับงานดานอุทกวิทยา เริ่มมีโครงการวิจัย ที่สําคัญไดแก การสรางองคความรูเรื่อง “Unit hydrograph ของ Leroy Sherman ทฤษฏีการซึมน้ําผานผิวดินของ Robert E. Horton และสมการอธิบายการไหลของน้ําบาดาลของ Theis (Thies equation) - นับแตป ค.ศ. 1950 (พ.ศ. 2493) เปนตนมา ความรูเชิงทฤษฏีทางอุทกวิทยาไดพัฒนาเพิ่มขึ้นเปนอยางมาก โดยอาศัยคําอธิบายที่มีฐานมาจากความรูดานฟสิกส คณิตศาสตร คอมพิวเตอร และระบบสารสนเทศภูมิศาสตร (GIS) ทําใหเขาใจกระบวนการทางอุทกวิทยาละเอียดถี่ถวนมากขึ้น

- ป พ.ศ. 2458 ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหสรางเขื่อนพระราม 6 ปดก้ันแมน้ําปาสัก ที่ตําบลทาหลวง อ.ทาเรือ จ.พระนครศรีอยุธยา พรอมระบบชลประทานขนาดใหญเสร็จสิ้นทั้งโครงการในป พ.ศ. 2467 - ปพ.ศ. 2470 พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหเปลี่ยนช่ือ “กรมทดน้ํา” เปน “กรมชลประทาน” ทําหนาที่วางแผนและดําเนินการเกี่ยวกับการจัดหาน้ําเพื่อนําไปใชในการเพาะปลูก - ป พ.ศ. 2480 ม.ล. ชูชาติ กําภู ศึกษาวิเคราะหฝนในภาคตางๆ ของประเทศเพื่อกิจการชลประทาน และสภาวะของแหลงน้ําตางๆ - ป พ.ศ. 2485 ม.ล. ชูชาติ กําภู ไดเขียนตําราวาดวย น้ําฝน น้ําทา ในประเทศไทย ไวเปนเลมแรก - ป พ.ศ. 2492 ต้ังแผนกอุทกวิทยา สังกัดกองสํารวจ

> พ.ศ. 2500 - 2550

> ค.ศ. 1957 - 2007

- ป พ.ศ. 2503 การวิเคราะหขอมูลทางอุทกวิทยามาถึงขั้น การจําลองสถาน การณตอเนื่อง (Continuous hydrologic simulation) (Hydrocomp, Inc) ซึ่งตอมา--ในป พ.ศ.2509 Crawford และ Linsley(1996) ไดพัฒนาแบบจําลอง Stanford Watershed Model เปนครั้งแรก - อังกฤษจัดตั้งสมาคมอุทกวิทยาขึ้นในป พ.ศ. 2526 (ค.ศ. 1983) เพื่อพัฒนาองคความรูดานนี้ใหกาวหนายิ่งขึ้น

- ป พ.ศ. 2518 ยกฐานะแผนกอุทกวิทยาของกรมชลประทาน ขึน้เปนกองอุทกวิทยา - ป พ.ศ.2540 เช่ือมโยง กองอุทกวิทยาเขากับ กองจัดสรรน้ําและบํารุงรักษาเปน “สํานักอุทกวิทยาและบริหารน้ํา”

Page 9: ก าวข างหน าของอ ุทกวิทยาไทยkmcenter.rid.go.th/kmc03/2011/document/ex-a005.pdf · 1 เสนอในการประชุมทางว

9

3. กาวทายสุดขององคความรูดานอุทกวิทยากอนสิ้นศตวรรษที่20

นับแตองคความรูดานอุทกวิทยาไดสะสมกันมาดวยนักวิทยาศาสตรในประเทศตาง ๆ กอนสิ้นศตวรรษที่ 2 0 ได มี ก า ร จํ า แนกองค ค ว ามรู ท า งอุ ทกวิ ย า ออก เป นสาข าต า ง ๆ ได ดั ง นี้ (http://en.wikipedia.org/wiki/Hydrology)

• อุทกวิทยาพื้นผิวดิน (Surface hydrology) การศึกษากระบวนการทางอุทกวิทยาที่เกิดขึ้นบน และเหนือผิวโลก

• อุตุ-อุทกวิทยา(Hydrometorology) การศึกษาการเปลี่ยนรูปของน้ําและพลังงานระหวางพื้นที่บก และผิวน้ํา และบรรยากาศชั้นลาง (lower atmosphere)

• อุทกวิทยาธรณี (Hydrogeology) ศึกษาการปรากฏพลังงาน การเกิดการกระจายและการเคลื่อนที่ของน้ํ าใตดินทั้ งในชั้นดินและหิน ที่ เปนเปลือกโลกบางที่ก็ ใชภาษาอังกฤษวา “Geohydrology” นักอุทกวิทยาและวิศวกรมักใช Geohydrology ขณะที่นักธรณีจะเรียกวา “Hydrogeology”

• อุทกวิทยานิเวศ (Ecohydrology) เปนสาขาใหมที่เชื่อมอุทกวิทยากับนิวเศวิทยาเขาดวยกันเพื่อศึกษาปฏิสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตและวัฏจักรของน้ํา : ศึกษาบทบาทของพืชพรรณในลุมน้ําตอกระบวนการทางอุทกวิทยา

• อุทกวิทยาเกษตรกรรม (Agricultural hydrology) ศึกษาผลกระบทบจากระบบเกษตรกรรม-การเปลี่ยนแปลงการใชที่ดินตอกระบวนการและผลผลิตของน้ําทาในพื้นที่ลุมน้ํา

• อุทกวิทยาไอโซโทป (Isotope hydrology) ศึกษารูปแบบของไอโซโทปของน้ํา (isotopic signature) เปนการใชไอโซโทปคาดประมาณอายุ แหลงที่มา และการเคลื่อนที่ของน้ํา ตามวัฏฏจักรของมัน

• อุทกวิทยาเคมี (Chemical hydrology): การศึกษาเกี่ยวกับลักษณะทางเคมีของน้ํา • สารสนเทศอุทกวิทยา (Hydro informatics) การปรับใชเทคนิคทางสรสนเทศเพื่อการ

ประยุกตทางอุทกวิยาและทรัพยากรน้ํา เปนสาขาหนึ่งที่ประยุกตเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICTs) เขามาชวยแกปญหาการจัดการทรัพยากรน้ําทีมีหลายวัตถุประสงคใหเกิดความเสมอภาคและมีประสิทธิภาพ

นอกจากนี้ยังมีสาขาที่เกี่ยวของที่มีพื้นฐานเชื่อมโยงมาจากวิชาสาขาอื่น ๆ หรือจากวิชาอุทกวิทยาเขาไปเสริมวิชาอื่นๆ ใหสามารถอธิบายกระบวนการและพฤติกรรมที่เกิดขึ้นได วิชาที่เกี่ยวของดังกลาวไดแก เคมีของน้ํา (Aquatic chemistry) วิศวกรรมโยธา อุตุนิยมวิทยา วิศวกรรมสิ่งแวดลอม

Page 10: ก าวข างหน าของอ ุทกวิทยาไทยkmcenter.rid.go.th/kmc03/2011/document/ex-a005.pdf · 1 เสนอในการประชุมทางว

10

สัณฐานธรณีวิทยา วิศวกรรมชลศาสตร ชลชีววิทยา (Limnology) สมุทรศาสตร และภูมิศาสตรกายภาพ เปนตน ผูสนใจโปรดเขาไปที่ website: http://en.wikipedia.org/wiki/Hydrology

จากการประชมุของ IAHS ( International Association of Hydrological Sciences http:// www.cig.ensmp.fr/~iahs/handbook/iahs80forweb.pdf) ทําใหทราบวา แผนงานขั้นทายสุดในการดําเนินการดานอุทกวิทยาระดับนานาชาตนิี้ จะแบงออกเปน 2 กลุม กลุมแรกเรียกวา “Hydrology 2000 Working Group” หาหนทางการพัฒนาอทุกวิทยาในอกี 20 ปขางหนาวาจะทําอะไรกันบาง กลุมที่สองคือ “Prediction of Ungauged Basin (PUBs) Working Group” จะใชทั้งภาคทฤษฏีทางอุทกวิทยา การสํารวจระยะไกล (Remote Sensing) การตรวจวดัภาคสนาม และการจําลองแบบทั้งดานปริมาณและคุณภาพของพฤติกรรมทางอุทกวิทยา รวมกับการเสริมสรางศักยภาพบุคลากรเพื่อใหเกิดความสามารถในการใชเทคโนโลยีใหมๆ และความกาวหนาของวิชาอุทกศาสตร (Hydrological Science) พยากรณพฤติกรรมของกระบวนการทางอุทกวิทยาใหแมนยํายิ่งขึน้ในอนาคต, PUBs กําลังสรางเครือขายขึ้นทั้วโลกเพื่อใหผลงานทั้ง 2 กลุมไปถึงเปาหมาย

4. จะกาวกันอยางไร ตอไป ท้ังไทยและเทศ: หากพิจารณากาวทายสุดที่กลาวมาแลว จะเห็นไดวา วิวัฒนาการดานอุทกวิทยาในระดับ

สากล เปนไปอยางรวดเร็วมากทั้งจํานวนสาขาที่เพิ่มขึ้นและผลงานการวิจัยที่ไดรับการตีพิมพทั้งในวารสาร และเอกสารรวมจากการประชุมระดับนานาชาติ ขณะเดียวกันนักอุทกวิทยาระดับนานาชาติหลายทานก็ช้ีแนวโนมใหเห็นวา ทิศทางขางหนาของอุทกวิทยาระดับสากลจะเปนไปในลักษณะตอไปนี้

• จะมีการประยุกตแบบจําลองคณิตศาสตร และคอมพิวเตอรเชื่อมโยงปฎิสัมพันธของวัฎจักรของน้ําทั้งโลก เขาดวยกันเพื่อใชทํานายเหตุการณทางอุตุ-อุทกวิทยาที่เกิดจากการเปลี่ยนปลงภูมิอากาศของโลก การเปลี่ยนแปลงการใชที่ดิน การขยายเมืองและอุตสาหกรรม ที่จะสงผลกระทบตอมนุษยทั้งในระดับภาพรวมของทั้งโลก ในแตละทวีป ภูมิภาค ลงไปจนถึงในระดับแตละประเทศและแตละลุมน้ําหลัก และลุมน้ํายอย

• จะมีการประยุกตใช Remote Sensing(RS) เขามาชวยพยากรณลวงหนา (Early warning)ในเรื่องของพายุ ฝน โอกาสที่จะเกิดฝนทั้งความหนักเบา- และระยะเวลาในการตก รวมทั้งการกระจายครอบคลุมพื้นที่ทั่วทุกมุมโลก พรอมทั้งระบุพื้นที่ที่จะมีโอกาสเสี่ยงตอการเกิดอุทกภัย น้ําทวมฉับพลัน และอุทกภัยพื้นที่ลุมน้ําขนาดใหญ

• จะมีการใชทั้งความผันผวนของอุณหภูมิน้ําทะเลทั้งระดับผิวน้ําและระดับลึกในมหาสมุทรตาง ๆ รวมกับ การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิผิวพื้นสวนที่เปนพื้นที่บกดิน รวมทั้งความผันผวนลักษณะอากาศ แนวตั้งของบรรยากาศ เขามาชวยอธิบายและ

Page 11: ก าวข างหน าของอ ุทกวิทยาไทยkmcenter.rid.go.th/kmc03/2011/document/ex-a005.pdf · 1 เสนอในการประชุมทางว

11

ทํานายความผันผวนตาง ๆ ดานอุตุ-อุทกวิทยา อยางกวางขวางกวาที่ใชปรากฎการณ เอลนิโญ-ลานิญา/เอนโซ และอื่น ๆ ในซีกโลกอื่น ๆ อยางที่ใชกันอยู

• องคความรูดานอุทกวิทยากายภาพ อุทกวิทยาเคมี อุทกวิทยาธรณี รวมทั้งวิชาอุทกวิทยาปาไม อุทกวิทยาการใชที่ดิน จะถูกนํามาใชอธิบายกระบวนการตาง ๆ ทางอุทกวิทยาทั้งปริมาณ คุณภาพ ชวงเวลาการไหลของน้ําทา ทั้งลุมน้ําขนากเล็ก ขนาดใหญ รวมอยูในวิชาที่เรียกวา อุทกวิทยาระบบนิเวศ (Eco-hydrology)กันมากขึ้น

• องคความรูดานอุทกวิทยาไอโซโทปจะไดรับการประยุกตใหใชกับการศึกษาคุณภาพน้ําผิวดิน น้ําใตดิน รวมทั้งหาทั้งแหลงที่มาของมลพิษ และการเคลื่อนตัวของมลพิษลงสูแหลงน้ําตาง ๆ ทั้งใตดิน ผิวดิน ในอางเก็บน้ําและน้ําที่ไหลลงสูทะเลมหาสมุทร

ในสวนของกิจกรรมดานวิศวกรรมเพื่อพัฒนาทั้งแหลงน้ําและการชลประทานนั้น กาวตอไปขางหนา ในสากลประเทศเทาที่จะประมวลได นาจะประกอบดวย :-

• กรอบความคิดและแนวทางปฎิบัติในเรื่องการจัดการทรัพยากรน้ําแบบบูรณาการ (integrated water resources management, IWRM) คงจะตองรับการนําไปใชกันมากขึ้นในสถานการณน้ําของทั้งโลกและแตละประเทศที่วิกฤติหนักขึ้นอันเนื่องมาจากทั้งประชากรที่เพิ่มขึ้น การใชที่ดินที่ขยายมากขึ้น และปญหาโลกรอน ที่กําลังจะตามมา อยางเดนชัดขึ้นทุกป

• ในเรื่องของระบบชลประทาน การผันน้ําแบบประเพณีดั้งเดิม ในลักษณะมีคลองสงน้ํานาจะมีแนวโนมลดลงเนื่องจากปริมาณน้ําจะมีจํากัดมากขึ้น ระบบชลประทานนาจะเปลี่ยนแปลงไปในลักษณะการใหน้ําตามทอใตผิวดิน หรือระบบน้ําหยด ระบบน้ําฝอยกระจาย ใหน้ําในดินมีพอเพียงในระดับความชื้นสนาม (field capacity, FC) แทนระบบน้ําขังเชนอดีต ระบบการควบคุมการสงน้ํานาจะปรับเปลี่ยนไปดวยระบบควบคุมอัตโนมัติ จากการตรวจวัดความชื้นในดิน แลวกําหนดการปดเปดน้ําไดเอง เพื่อใหการใชน้ํามีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

• การสงถายความรูอยางตอเนื่องแกผูใชน้ํา/ผูใชที่ดินใหเกิดความรูความเขาใจในเรื่องการใชน้ําอยางมีประสิทธิภาพ นาจะไดรับการสนับสนุนและเปนนโยบายเรงดวน เพื่อใหเกิดการบูรณาการการใชทรัพยากรน้ําและการมีสวนรวมของผูใชน้ําทุกระดับทุกอาชีพ อยางจริงจัง

• การศึกษาวิจัยทั้งรูปแบบของ IWRM และการมีสวนรวมของผูใชน้ําอยางเหมาะสมในแตละภูมิสังคมตั้งแตตนน้ําถึงปลายน้ํา เพื่อใหเกิดความเขาใจรวมกันในการใชทรัพยากรน้ําใหเกิดความยั่งยืน นาจะไดรับการสงเสริมใหเกิดขึ้นอยางจริงมากขึ้น

Page 12: ก าวข างหน าของอ ุทกวิทยาไทยkmcenter.rid.go.th/kmc03/2011/document/ex-a005.pdf · 1 เสนอในการประชุมทางว

12

ในสวนของการวิจัยเพื่อพัฒนาดานอุทกวิทยานั้น ทิศทางในอนาคตในระดับสากล นาจะประกอบไปดวยการศึกษาในเรื่อง :-

• ความผันผวนทางอุตุ-อุทกวิทยาในภูมิภาคตาง ๆ ของโลกอันเนื่องมาจากสภาวะโลกรอน

• ผลกระทบจากฝุนละอองขนาดเล็กจากการเผาปา-วัชพืชเกษตร และจากเมือง-โรงงานอุตสาหกรรมตอการตกและการกระจายของฝน รวมทั้งความผันผวนของฤดูกาลในภูมิภาคตาง ๆ โดยใชเทคนิคการตรวจสอบระยะไกล (RS)

• การใชสัญชาติญาณของสัตวปาและสัตวบานชวยเตือนภัยลวงหนา ในภัยพิบัติทางอุทกวิทยา (การเกิดฝนตกหนัก,การเกิดน้ําทวมฉับพลัน,แผนดินถลม)

• การประยกุตใชเทคโนโลยี 3S (RS, GIS และ GPS) ในการพัฒนาระบบเตือนภัยลวงหนา และจุดอพยพเพื่อความปลอดภยัที่เหมาะสม

• การพัฒนาเครือ่งมือตรวจวดัและออกแบบระบบเครือขายในการพยากรณการเกดิอุทกภัยตามเวลาจรงิ พรอมสัญญาณเตอืนภัยในที่พื้นที่ ๆ มีประสิทธิภาพมากขึ้น

• การพัฒนาแบบจําลองคอมพิวเตอรที่สามารถใหทุกภาคสวนมีสวนรวมเขามาใชในการแกปญหาพิบตัภิัยในทางอุทกวิทยา ที่เกิดจากภาวะโลกรอนที่จะตามมาในอนาคต (ดูตัวอยางการพฒันา The Real S-2 Project : Development of a metamodel tool for regional integrated climate change management (Department of Environment, Food & Rural Affairs) ที่ http://www.silsoe.cranfield.ac.uk/iwe/projects/regis/regis2.htm

5. ประเทศไทยจะกาวเคียงขางนานาชาติไดอยางไร? หกสิบปที่ผานมา ทั้งหนวยงานรัฐและหลายมหาวิทยาลยัที่มีคณะวิชาที่เกี่ยวของกับอุทกวิทยาและทรัพยากรน้ํา ไดพัฒนาบุคลากรมามากพอสมควร และสวนใหญ ก็ไดองคความรูของทางตะวันตกมาจากทั้งตางประเทศและในประเทศ ประสบการณที่เกีย่วกับปญหาดานอุทกวิทยาที่เกดิขึ้นมาแลว และภูมิปญญาที่คาดวาจะมีอะไรเกดิขึ้นตามมาบางในอนาคต ดังนั้นคงจะตองถามตัวเราเองวาถาหากนักอุทกวิทยา และนักพัฒนาแหลงน้ํายังอยูกับที่หรือคอย ๆ กาวไปตามแบบฉบบัที่เคยเปนมาเราคงจินตนาการไดวาจะเราจะกาวเคียงบาเคียงไหลกับชาติพฒันาไดหรือไมเพียงใด? เราติดตามองคความรูดานอุทกวิทยาและหลายอยางเลียนแบบประเทศพฒันาที่เขาทําเพื่อแกปญหาของเขามานานพอสมควร หากจะถามวาเรามีองคความรูและรากฐานการนาํไปประยกุตอะไรบางที่เปนของเราเอง ที่จะชวยเยียวยาปญหาเรื่องน้ําดีกวานี้บาง หลายคนทีไ่มไดติดตามงานวิจยัและพัฒนาในหลายประเทศอาจไมสามารถตอบตัวเองได เปนตนวา การประยกุตใช Unit Hydrograph

Page 13: ก าวข างหน าของอ ุทกวิทยาไทยkmcenter.rid.go.th/kmc03/2011/document/ex-a005.pdf · 1 เสนอในการประชุมทางว

13

(UH) ที่ฝร่ังใชกันมาตั้งแตป ค.ศ. 1934 จะยังคงเปนอมตะของบานเราอยูไหม หรือวาจะตองดดัแปลงใหเขายุคสมัย และเทคโนโลยีทีเ่ปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเรว็อยางไรกันบาง IWRM อยางเดียวกันจะเพียงพอที่จะแกวกิฤติในทศวรรษนี้และในชวงตอของศตวรรษหนาเมื่อภาวะโลกรอนวิกฤติหนักไดหรือไม องคความรูเหลานี้อาจไมไดเกิดจากใครคนหนึ่งคนเดียว นั่งคดิแลวเขียน แตหากไดรวมกนัคิด รวมกันคน รวมกันศึกษา ทั้งในหมูนักวิชาการ นักบรหิาร และผูที่จะไดรับประโยชน หรือผูมีสวนไดสวนเสียทุกหมูเหลาแลว เราอาจกาวเคยีงขางหรือลํ้าหนาตามแบบฉบับของเราได ในสวนของกรมชลประทาน และกรมทรัพยากรน้ําคงจะตองประยุกตใชขอมูลในอดีตที่รวบรวมไวจากการตรวจวัด รวมทั้งขอมูลของการพลังานในอดีตผนวกกับขอมูลทางอุตุนิยมวิทยาของกรมอุตุนิยมวิทยา รวมทั้งขอมูลที่กําลังดําเนินการตรวจวัดกันอยูใหเกิดประโยชนสูงสุด โดยการระดมสมองรวมกันคิดรวมกันวิจัยในเรื่องตาง ๆ ที่จะทําใหเกิดการใชน้ําอยางยั่งยืนเปนตนวา

• จะใชขอมูลในอดีตยอนรอยพฤติกรรมทางอุทกวิทยาของทั้ง 25 ลุมน้ําหลักของประเทศเพื่อหาทางทํานายพฤติกรรมที่อาจจะเปลี่ยนไปในอนาคตเมื่อภาวะโลกรอนรุนแรงขึ้นกันอยางไร ? การพัฒนาเมืองที่อยูอาศัยการใชประโยชนที่ดินในแตละลุมจะสงผลตอปริมาณความตองการ ปริมาณ และคุณภาพรวมทั้งชวงเวลาการหลาก การไหลทั้งในฤดูฝน ฤดูแลง ปน้ํามาก ปน้ํานอย มากนอยเพียงไร? หรือไม?

• จะใชเทคโนโลยี 3S (GIS, RS และ GPS? และเครื่องมือตรวจวัดน้ําที่ทันสมัยเขามาชวยทํานาย พยากรณเหตุการณ/พฤติกรรมของฝน และน้ําทา การหลากทวมตามเวลาจริง (real time) กันไหม? ใครจะเปนเจาภาพหรือจะบูรณาการทั้งความคิด งบประมาณ บุคลากร ชวยกันอยางไร? ชาวบานจึงจะไดรับประโยชนดีที่สุด

• จะใชวิชาการ และงานวิจัยที่ทํากันไปแลว และกําลังคิดจะนําไปใชประโยชนในการบริหารจัดการใหมากยิ่งขึ้นในฐานะที่เปนกรมกองดานวิชาการ และการบริหารที่สําคัญในเร่ืองทรัพยากรน้ํา คือ ชีวิต ใหมีประสิทธิผลมากขึ้นหรือไม ? หรือจะปลอยใหเปนไปตามประเพณีนิยมที่ผานมา

งานดานอุทกวทิยา มิไดอยูที่กรมชลประทานแตเพยีงแหงเดยีว กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ ทั้งกระทรวง มหาวิทยาลยัหลายแหง รวมทั้งหลายหนวยงานที่เกี่ยวของที่ดูแล และผูทีจ่ะไดรับประโยชนจากนักอุทกวิทยาอีกมากมาย ควรจะไดรับโอกาสเขามาชวยกันคดิ ชวยกันทํา และ องคความรูทางอุทกวิทยาไมวา เมื่อ 60 ปที่ผานมาและทีก่ําลังจะกาวตอไป ถาหากปราศจากการเรยีนรูจากอนุชนรุนหลัง ใหเขาใจทั้งปญหาและสาเหตุแลว เราจะมหีนทางปลดทกุขของประเทศเราใหพนจากการขาดแคลนน้ําในอนาคตไดอยางไร?

Page 14: ก าวข างหน าของอ ุทกวิทยาไทยkmcenter.rid.go.th/kmc03/2011/document/ex-a005.pdf · 1 เสนอในการประชุมทางว

14

เอกสารอางอิง เวปทองถ่ินสนทนา (Local talk) (เปดเมื่อวันที่ 10 เมษายน 2550). ฝายพญาคํา: ระบบการจัดการน้าํที่ไม

เคยเกา. บทสมัภาษณ สุมนมาลย สิงหะ-ผูชวยนกัวจิัย โครงการคืนความสัมพันธชุมชนลานนา กับทรัพยากรน้ํา กรณีฝายพญาคํา อ.สารภี จ.เชียงใหม (http://www.localtalk2004.com)

สํานักอุทกวิทยาและบรหิารน้ํา.ความเปนมาของสํานักอุทกวิทยาและบริหารน้ํา(http://water.rid.go.th/hydhome/history.htm (http://water.rid.go.th/hydhome/-) กรมชลประทาน.(http://water.rid.go.th/hydhome/-)

สุเทพ พิงศภทัิย .2506. “นกัอุทกวิทยาของประเทศไทย” อุทกวิทยา 48 ป, บทความพิมพในอกสารที่ประชุมทรัพยากรธรรมชาติ คร้ังที่ 10 ที่ ESCAP กรุงเทพฯ พ.ศ. 2506

Crawford N. H., and R.K. Linsley, Digital Simulation in Hydrology: Stanford Watershed Model IV, Stanford Univ., Dept. Civ. Eng. Tech. Rep.39, 1966.

Department of Environment, Food & Rural Affairs The REGIS Project (Phase 2) Development of a metamodel tool for regional integrated climate change management (http://www.silsoe.cranfield.ac.uk/iwe/projects/regis/regis2.htm)

Hydrocomp( Hydrocomp, Inc.) Hydrologic Simulation Program - Fortran (HSPF) http://www.hydrocomp.com/HSPFinfo.htm

Hydrology:History From Wikipedia, the free encyclopedia http://en.wikipedia.org/wiki/Hydrology IAHS ( International Association of Hydrological Sciences).International Hydrology Today. ( http://

www.cig.ensmp.fr/~iahs/handbook/iahs80forweb.pdf) Lettenmaier D. P. 2004. The evolution of hydrology in an interdisciplinary earth science setting.

Department of Civil and Environmental Engineering University of Washington AMS Walter Orr Roberts Lecture San Diego January 19, 2004 www.hydro.washington.edu/Lettenmaier/Presentations/2005/lettenmaier_roberts_lecture.ppt

Yevjevich V.,1991. Tendencies in hydrology research and its applications for 21st century. Jour. Water Resources Management . Volume 5, Number 1 / March, 1991

(http://www.springerlink.com/content/gvqv36616838925g/)