48
หลักสูตรศิลปบัณฑิต ( ตอเนื่อง ) สาขาวิชาภาพพิมพ ( . . 2542 ) ภาควิชาศิลปกรรม คณะศิลปวิจิตร สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป กระทรวงศึกษาธิการ

ต อเนื่ ) อง - ffa.bpi.ac.thffa.bpi.ac.th/bk/printing.pdf · ข วัุตถประสงค ของสถาบ ัน 1. เพื่อผลัณฑิตทิี่มีตบ

  • Upload
    others

  • View
    1

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ต อเนื่ ) อง - ffa.bpi.ac.thffa.bpi.ac.th/bk/printing.pdf · ข วัุตถประสงค ของสถาบ ัน 1. เพื่อผลัณฑิตทิี่มีตบ

หลักสูตรศิลปบัณฑิต ( ตอเนื่อง )

สาขาวิชาภาพพิมพ ( พ. ศ. 2542 )

ภาควชิาศิลปกรรม คณะศิลปวิจิตร

สถาบันบัณฑติพัฒนศิลป กระทรวงศึกษาธิการ

Page 2: ต อเนื่ ) อง - ffa.bpi.ac.thffa.bpi.ac.th/bk/printing.pdf · ข วัุตถประสงค ของสถาบ ัน 1. เพื่อผลัณฑิตทิี่มีตบ

สารบัญ หนา ปรัชญาการศึกษา ก วัตถุประสงคของสถาบัน ข ช่ือหลักสูตร 1 ช่ือปริญญา 1 หนวยงานที่รับผิดชอบ 1 ปรัชญาและวตัถุประสงคของหลักสูตร 1 กําหนดการเปดสอน 2 คุณสมบัติของผูเขาศึกษา 2 การคัดเลือกผูเขาศึกษา 2 ระบบการศึกษา 2 ระยะเวลาการศึกษา 3 การลงทะเบียนเรียน 3 การวัดผลและการสําเร็จการศึกษา 4 อาจารยผูสอน 8 จํานวนนักศกึษา 10 สถานที่และอุปกรณการศึกษา 11 หองสมุด 11 งบประมาณ 11 หลักสูตร 12 - จํานวนหนวยกิตรวมตลอดหลักสูตร 12 - โครงสรางหลักสูตร 12 - รายวิชา 12 - ความหมายของรหัสรายวิชาและรหัสการจัดชั่วโมงเรยีน 20 - แผนการศกึษา 22 - คําอธิบายรายวิชา 24

Page 3: ต อเนื่ ) อง - ffa.bpi.ac.thffa.bpi.ac.th/bk/printing.pdf · ข วัุตถประสงค ของสถาบ ัน 1. เพื่อผลัณฑิตทิี่มีตบ

ปรัชญาการศกึษา

สถาบันบัณฑติพัฒนศิลป เปนสถาบันการศึกษาดานศิลปะที่มุงสรางสรรคศาสตรแหงศิลป ผลิตบัณฑิตที่มีความเปนเลศิทางศิลปะ ควบคูคุณธรรม เพื่อผดุงรักษาและสืบสานศิลปวัฒนธรรมของชาติ

Page 4: ต อเนื่ ) อง - ffa.bpi.ac.thffa.bpi.ac.th/bk/printing.pdf · ข วัุตถประสงค ของสถาบ ัน 1. เพื่อผลัณฑิตทิี่มีตบ

วัตถุประสงคของสถาบัน

1. เพื่อผลิตบัณฑติที่มีความรู ความสามารถ ความเชี่ยวชาญในงานศิลปกรรม นาฏศิลป และดุริยางคศิลป นําไปสูอาชีพศิลปกรรม ศิลปน ครูศิลปะ นักวิชาการศิลปะ และนักบริหารวิชาชีพ

2. เพื่อผลิตบัณฑติที่มีจริยธรรม คุณธรรม และเจตคติที่ดตีอวิชาชีพและสามารถประกอบอาชีพ ไดอยางมีประสิทธิภาพ

3. พัฒนาการเรียนการสอน ใหสามารถคนควา และประยุกต ใชความรูใหสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงและความกาวหนาทางเทคโนโลยี่ เพื่อความเปนเลิศในวิชาการศิลปะ

Page 5: ต อเนื่ ) อง - ffa.bpi.ac.thffa.bpi.ac.th/bk/printing.pdf · ข วัุตถประสงค ของสถาบ ัน 1. เพื่อผลัณฑิตทิี่มีตบ

หลักสูตรศิลปบัณทิต (ตอเนื่อง) สาขาวิชาภาพพิมพ

( หลักสูตรใหม พ. ศ. 2542 ) 1. ชื่อหลักสูตร 1.1 ช่ือภาษาไทย หลักสูตรศิลปบัณฑิต (ตอเนื่อง) สาขาวิชาภาพพิมพ 1.2 ช่ือภาษาองักฤษ Bachelor of Fine Arts in Graphic Art

( Continuing Program ) 2. ชื่อปริญญา 2.1 ช่ือเต็มภาษาไทย ศิลปบัณฑิต (ภาพพิมพ) 2.2 ช่ือยอภาษาไทย ศ.บ. (ภาพพิมพ) 2.3 ช่ือเต็มภาษาอังกฤษ Bachelor of Fine Arts (Graphic Art ) 2.4 ช่ือยอภาษาอังกฤษ B. F. A. (Graphic Art ) 3. หนวยงานที่รับผิดชอบ ภาควิชาศิลปกรรม คณะศิลปวจิิตร สถาบันบัณฑติพัฒนศิลป 4. ปรัชญาและวตัถุประสงคของหลักสูตร

4.1ผลิตบัณฑิตที่มีความรูความสามารถดานศิลปภาพพิมพสามารถนําความรูไปประกอบ อาชีพไดอยางเชี่ยวชาญ

4.2 ผลิตบัณฑิตที่มีทักษะทางดานศิลปภาพพิมพ มีความคิดริเร่ิมสรางสรรค สามารถปฏิบัติ งาน คนควา และพัฒนางานตามหลักวิชาอยางมปีระสิทธิภาพ

4.3 ผลิตบัณฑิตดานศิลปภาพพิมพที่มีคุณธรรมและจริยธรรม 4.4ผลิตบัณฑิตดานศิลปภาพพิมพเพื่ออนรัุกษสืบทอดและเผยแพรมรดกทางวัฒนธรรมของ

ชาติ 5. กําหนดการเปดสอน ภาควิชาศิลปกรรม คณะศิลปวิจิตร เปดสอนสาขาวิชาศิลปภาพพิมพ ในปการศึกษา 2542

Page 6: ต อเนื่ ) อง - ffa.bpi.ac.thffa.bpi.ac.th/bk/printing.pdf · ข วัุตถประสงค ของสถาบ ัน 1. เพื่อผลัณฑิตทิี่มีตบ

6. คุณสมบัตขิองผูเขาศึกษา 6.1 เปนผูสําเร็จการศึกษา ระดับประกาศนยีบตัรศิลปศึกษาชั้นสูง หรือหลักสูตรศิลปกรรม

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชพีช้ันสูง หรือเทียบเทา หรือระดับอนุปริญญาใน สาขวิชาเอกใน หลักสูตร

6.2 ไมเปนคนวิกลจริต 6.3 ไมเคยตองโทษตามคําพิพากษาของศาล เวนแตในกรณีโทษนั้นเกดิจากความผิดอันได กระทําโดยประมาท 6.4 ไมเปนโรคติดตอรายแรง

การรับนักศึกษาโดยการสอบคัดเลือก หรือโดยการรบัเขาตามโครงการพิเศษ 7. การคัดเลือกผูเขาศึกษา โดยการสอบคัดเลือกตามประกาศสถาบันบัณฑิตพัฒนศลิป เร่ืองการรับสมัครนักศึกษาเขาศึกษาตอระดบัปริญญาตรี 8. ระบบการศึกษา

8.1 ภาคการศกึษา การจัดการศึกษาในสถาบันใชระบบทวิภาค ( Semester System) โดยแบงเวลาในแตละ ปการศึกษาออกเปน 2 ภาคการศึกษาปกติ ดังนี ้ 8.1.1 ภาคการศึกษาที่หนึ่ง ( First Semester) ตั้งแตสัปดาหแรกของเดือนมิถุนายนเปนตน

ไป เปนเวลา 18 สัปดาห รวมเวลาสําหรับการสอบดวย 8.1.2 ภาคการศึกษาที่สอง ( Second Semester )ตั้งแตสัปดาหแรกของเดือนพฤศจิกายน เปน

ตนไปเปนเวลา 18 สัปดาห รวมเวลาสําหรับการสอบดวย สถาบันอาจจะจัดการศึกษาภาคฤดูรอน ( Summer Session ) ตอจากภาคการศึกษาที่อีกก็ได ซ่ึงเปนภาคการศกึษาที่ไมบังคบั ใชเวลาศึกษา 6-9 สัปดาห รวมเวลาสําหรับการสอบดวย โดยใหเพิ่มช่ัวโมงสําหรับการศึกษาในแตละรายวิชาใหเทากับภาคการศึกษาปกต ิ 8.2 การคิดหนวยกิต หนวยกิต หมายถึง หนวยทีใ่ชแสดงปริมาณการศึกษาในแตละรายวิชาจะมีหนวยกิตกําหนดไวตามหลักเกณฑดังนี ้

Page 7: ต อเนื่ ) อง - ffa.bpi.ac.thffa.bpi.ac.th/bk/printing.pdf · ข วัุตถประสงค ของสถาบ ัน 1. เพื่อผลัณฑิตทิี่มีตบ

8.2.1 รายวิชาที่นกัศกึษาใชเวลาฟงบรรยายสัปดาหละ 1 ช่ัวโมงตลอดภาคการศึกษาให มีคาเทากับ 1 หนวยกิต 8.2.2 รายวิชาที่นกัศกึษาใชฝกปฏบิัติ ทดสอบ อภิปราย หรือสัมมนา สัปดาหละ 2-3 ช่ัว โมงตลอดภาคการศึกษา ใหมีคาเทากับหนึง่หนวยกิต

8.2.3 การฝกงานหรอืฝกภาคสนาม ใชเวลาฝกสัปดาหละ 3-6 ช่ัวโมงตลอดภาคการ ศึกษาใหมีคาเทากับ 1 หนวยกิต

8.2.4 การกําหนดคาหนวยกิตของรายวิชาที่เรียนในการศึกษาภาคฤดูรอน ใหกําหนดชัว่โมงเรียนทุกหนวยกิตไมนอยกวาจํานวนชั่วโมงเรียนที่ตองใชในภาคการศึกษาปกต ิ

9. ระยะเวลาการศึกษา ระยะเวลาการศึกษาหลักสูตรตอเนื่อง นักศึกษาจะตองใชเวลาในการศึกษาตามที่ระบไุวในหลักสูตรโดยตองไมนอยกวา 4 ภาคการศกึษาปกต ิ และไมเกิน 4 ปการศึกษา การนับเวลาการศึกษา ใหนบัเฉพาะภาคการศึกษาปกติทีค่ณะวิชาเปดทาํการสอน แตไมนับรวมเวลาที่นกัศึกษาไดรับอนุมัติใหลาพกัการศึกษากรณถูีกเกณฑหรือระดมพลเขารับราชทหารกองประจําการ 10. การลงทะเบียน

10.1 การลง ทะเบียนเรียนแยกเปน 2 ประเภท คือการลงทะเบียนเรียนปกติ และการลง ทะเบียนลาชา

10.2 การลงทะเบียนเรียนปกติ จะกระทําไดกอนวันเปดภาคเรียนของแตละภาคการศึกษา 10.3 การลงทะเบียนลาชาจะกระทําไดภายใน 2 สัปดาหแรกของภาคการศึกษานัน้หรือภายใน

สัปดาหแรกของภาคฤดูรอน 10.4 กาํหนดวัน เวลา และวิธีการลงทะเบียนเรียนทั้ง 2 ประเภท ใหเปนไปตามประกาศของ

สถาบัน 10.5 นักศึกษาตองลงทะเบียนเรียนในภาคการศึกษาหนึ่งๆ ไมต่ํากวา 9 หนวยกิตและไม

เกิน 22 หนวยกิต สวนการศึกษาภาคฤดูรอนจะลงทะเบียนเรยีนไดไมเกิน 10 หนวยกิต

10.6 นักศึกษาที่ประสงคจะลงทะเบียนนอกเหนือไปจากที่กําหนดไวในขอ 10.5 จะตองยื่นคํารองเปนลายลักษณอักษรตอคณบดีคณะที่นกัศึกษาสังกัดเพื่อขออนุมัติเปนกรณีพิเศษยกเวนในกรณีทีน่ักศึกษาเหลือจํานวนหนวยกิตที่ตองลงทะเบียนหลักสูตรนอยกวาที่กําหนดไวในขอ 10.5 ใหลงทะเบียนเรียนไดโดยไมตองขออนุมัติ

Page 8: ต อเนื่ ) อง - ffa.bpi.ac.thffa.bpi.ac.th/bk/printing.pdf · ข วัุตถประสงค ของสถาบ ัน 1. เพื่อผลัณฑิตทิี่มีตบ

10.7 การเรียนโดยไมนับหนวยกิต ใหเปนไปตามการลงทะเบียนเรียน และการเรียนตามปกติโดยรายวิชาทีล่งทะเบียนเรียนไมนับรวมกบัจํานวนหนวยกิตที่ต่ําสุด หรือที่สูงสุดที่นักศึกษาจะตองลงทะเบียนเรียนในภาคการศึกษานั้น และจํานวนหนวยกิตไมนับรวมในหนวยกิจคํานวณรายภาคและหนวยกิตคาํนวณสะสม

10.8 การขอเพิ่มรายวิชาจะกระทําไดภายใน 2 สัปดาหแรกของภาคการศึกษาปกต ิ หรือภาย ในสัปดาหแรกของภาคฤดูรอนนับจากวันที่กําหนดใหลงทะเบยีน โดยไดรับการอนุมัติ อาจารยที่ปรึกษา และอาจารยประจําวชิา โดยไมขัดกับจํานวนหนวยกิตตอภาคการศึกษา

10.9 การถอนรายวชิาตองไดรับการอนุมัติจากอาจารยที่ปรึกษา โดยไมขัดกับจํานวนหนวยกิตตอภาคการศกึษา และตองถอนภายใน 2 สัปดาหแรกนับจากวนัสิ้นสุดการลงทะเบียนของภาคการศึกษาปกติ หรือภายในสัปดาหแรกของภาคฤดูรอนนับถัดจากวันที่กําหนดใหลงทะเบียน รายวิชาที่ขอถอนนั้นจะไมบนัทึกในรายงานผลการศึกษา

10.10 การถอนรายวิชาภายหลังระยะเวลาที่กําหนดจะตองทําคํารองขออนุมัติเปนกรณีเศษจากหัวหนาภาควชิา ถาไดรับการอนุมัติใหถอนได รายวิชาที่ขอถอนจะบันทกึ ลักษณ "W " โดยไมไดรับคาหนวยกิตคืน แตถาไมไดรับการอนมุัตินักศึกษาจะตองศึกษาวิชานั้นตอไป

11. การวัดผลและการสําเร็จการศึกษา 11.1 เกณฑการวัดผล 11.1.1 เวลาเรยีน นักศึกษาจะตองมีเวลาในรายวิชาหนึ่งๆ ทัง้ภาคทฤษฏี และภาคปฏิบัติ และ/ หรือฝกงานไมนอยกวารอยละ 80 จึงจะมีสิทธิเขาสอบในรายวิชานั้น ยกเวน มีเหตุสุดวิสัยและไดรับอนุมตัิจากคณบดีคณะที่อํานวยการสอบรายวิชานั้น 11.1.2 วิธีการวัดและประเมนิผลการศึกษา 1) มีการวดัผลเมื่อส้ินสุดภาคการศึกษา สวนในระหวางภาคการศึกษา อาจมี การวัดผลดวยก็ได ยกเวนรายวิชาที่หลักสูตรกําหนดไวเปนอยางอื่น 2) การสอบใหถือปฏิบัติตามระเบียบของสถาบัน 3) การประเมลิผลการศึกษาใหกระทําตอเนื่องเมื่อส้ินภาคการศึกษา 11.1.3 สัญลักษณของการประเมิลผลการศึกษา การประเมิลผลการศึกษาใชระบบระดับคะแนน ( grade ) ซ่ึงมีคาระดับ คะแนน ( grade - point ) และความหมายดงัตอไปนี ้

Page 9: ต อเนื่ ) อง - ffa.bpi.ac.thffa.bpi.ac.th/bk/printing.pdf · ข วัุตถประสงค ของสถาบ ัน 1. เพื่อผลัณฑิตทิี่มีตบ

สัญลักษณ คาระดบัคะแนน ความหมาย A 4.00 ดีเยีย่ม ( Excellent ) B+ 3.50 ดีมาก ( Very Good ) B 3.00 ดี ( Good ) C+ 2.50 คอนขางดี ( Fairy Good) C 2.00 พอใช ( Fair ) D+ 1.50 ออน (Poor) D 1.00 ออนมาก ( Very Poor ) F 0.00 ตก ( Fail ) ในกรณีที่ไมสามารถประเมิลผลเปนระดับคะเเนนดังกลาวได ใหใชสัญลักษณตอไปนี้ สัญลักษณ ความหมาย I ยังไมสมบูรณ ( Incomplete ) S ผลการศึกษาผาน ( Satisfactory ) U ผลการศึกษาไมผาน ( Unsatisfactory ) Au การศึกษาโดยไมนับหนวยกติ ( Audit ) IP การศึกษายังไมส้ินสุด ( In- progress ) W การถอนรายวชิาโดยไดรับการอนุมัติ(Withdrawal) NR ไมไดรับรายงานผลการศึกษา ( No- Report ) นักศึกษาที่มีผลการศึกษาตั้งแตระดับคะเเนน D ขึ้นไป ถือวาสอบไดในวิชานัน้ ยกเวนรายวิชาที่หลักสูตรกําหนดไวเปนอยางอื่น การใหสัญลักษณ ระดับคะแนน A , B+, B, C+, C, D+, D และ F จะกระทําไดในกรณี ตอไปนี ้ 1) รายวิชาทีน่กัศึกษาเขาสอบและ/ หรือมีผลงานที่ประเมินผลไดเปนระดับคะแนน 2) เปลี่ยนจากสัญญาลักษณ I ภายใน 5 สัปดาหนับจากวันกําหนดสงผลการเรียน การให F จะกระทําไดในกรณีตอไปน้ี 1) นักศกึษาเขาสอบและสอบตก

Page 10: ต อเนื่ ) อง - ffa.bpi.ac.thffa.bpi.ac.th/bk/printing.pdf · ข วัุตถประสงค ของสถาบ ัน 1. เพื่อผลัณฑิตทิี่มีตบ

2) นักศกึษาขาดสอบโดยไมไดรับการอนุมตัิจากคณบดีหรือผูที่ไดรับมอมหมายให อนุมัติ

3) นักศกึษาทุจริตในการสอบ 4) นักศึกษามีเวลาเรียนภาคทฤฎี ปฎิบัติและ/หรือ ฝกงานไมถึงรอยละ 80 ของเวลา เรียนในรายวิชานั้น

5) เปลี่ยนจากสัญลักษณ I เพราะนกัศึกษาไมทําการสอบหรือทํางานที่อาจารยผูสอน กําหนดให เพือ่ใหอาจารยผูสอนรายงานผลการประเมินภายใน 5 สัปดาหนับจาก

เวนกําหนดสงผลการเรียน การให I จะกระทําไดในกรณตีอไปนี ้

1) นักศกึษาปวยกอนสอบหรือระหวางสอบ เปนเหตใุหไมสามารถเขาสอบในบางราย วิชาหรือทั้งหมดได และปฎิบัติถูกตองตามระเบียบการลาปวย โดยมีใบรับรองแพทย และ/ หรือใบแสดงการรับรองการรักษาของสถานพยาบาลของทางราชการ หรือเอกชน และไดรับการอนุมัติจากคณบดี หรือผูที่ไดรับมอบหมาย แตทั้งนี้นักศึกษาจะตองมเีวลาเรียนใน แตละรายวิชาไมนอยกวารอยละ 80

2) นักศึกษาขาดสอบโดยมีเหตุสุดวิสัยและคณบดีหรือผูไดรับมอบหมายอนมุัติ 3) นักศึกษาทํางานที่เปนสวนประกอบรายวิชาที่ศึกษายังไมสมบูรณและอาจารยผูสอน

เห็นสม ควรใหรอผลการศึกษาโดยความเห็นชอบของหวัหนาภาควิชา และ / หรือคณบดีหรือผูทีไ่ดรับมอบหมายและแจงใหฝายทะเบยีนและประมวลผลของสถาบันทราบเปนลายลักษณอักษร

4) การเปลี่ยนสัญลักษณ I จะตองทําใหเสร็จสิน้ภายใน 5 สัปดาหนับจากวันกําหนดสงผลการเรียน

การให S หรือ U จะกระทําไดเฉพาะรายวิชาทีนักศึกษาลงทะเบียนโดยไมนบัหนวยกิตดังรายละเอียดตอไปนี ้

1) การให Sจะกระทําไดเมื่อนกัศกึษาสามารถเขียนรายวิชานัน้ผานแตจะไมนับ หนวยกติสะสม

2) การให U จะกระทําเมื่อนกัศึกษาไมสามารถเขียนรายวิชานั้นผาน ลักษณะการเรียนและเงื่อนไขตางๆ เชนเดียวกับการใหสัญลักษณ S

การให W จะกระทําไดในกรณีตอไปนี ้ 1) ในรายวิชาที่นักศึกษาอนมุัตใิหถอน โดยไดรับการอนุมัติจากหัวหนาภาควิชา 2) นักศกึษาลาพักการศึกษา 3) นักศกึษาถูกสั่งพักการศกึษาในภาคการศึกษานั้น

Page 11: ต อเนื่ ) อง - ffa.bpi.ac.thffa.bpi.ac.th/bk/printing.pdf · ข วัุตถประสงค ของสถาบ ัน 1. เพื่อผลัณฑิตทิี่มีตบ

4) คณบดีอนุมัติใหเปลี่ยนจากI เนื่องจากการปวยหรือเหตุอันสุดวสัิยนั้นยังไมส้ินสุด 5) การใหรายวิชาที่นักศกึษากระทําผิดเงื่อนไขการลงทะเบียน

การให IP จะกระทําไดเฉพาะรายวิชาที่มกีารเรียนหรีอปฎิบัติงานอยางตอเนื่องมากกวา 1 ภาคการศึกษา และ/หรือการศึกษาในรายวชิานั้นยังไมส้ินสุด สัญลักษณ IP จะถูกเปลี่ยนเมื่อการเรียนหรือปฎิบัติงานในรายวิชานัน้สิ้นสุด และมีการประเมิลผลการศกึษาเปนสญัลักษณที่มีคาระดับ

การให NR จะกระทําไดเฉพาะในรายวิชาที่ฝายทะเบียนหรือประมวลผลยังไมไดรับรายงานผลการประเมิลการศึกษาของรายวิชานั้นๆ ตามกําหนด การให Au จะกระทําไดในรายวิชาทีน่ักศึกษาลงทะเบียนโดยไมนับหนวยกิตและแจงความประสงคใหมีการประเมิลผล 11.1.4 การตัดสินผลการเรียนใหถือปฎิบัติดังนี ้ 1) พิจารณาตดัสินผลการเรียน 2) รายวิชาทีน่บัวาไดหนวยกิตตองเปนรายวิชาที่ไดระดบัผลการเรียนตั้งแต D ขึ้นไป 3) กรณีที่ไดรับระดับผลการเรียน F หรือ W ในรายวิชาบังคับ จะตองลงทะเบียน เรียน

รายวิชานัน้ซ้ําอีกหรือเลือกลงทะเบียนรายวิชาอื่นแทนกไ็ด 4) เมือ่ลงทะเบียนเรียนไปแลวสองภาคการศึกษาปกติ ไดคาระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมต่ํา

กวา 1.80 ตองพนสภาพการเปนนักศกึษา 11.2 เกณฑการสําเร็จการศึกษาตามหลักสตูร

ผูสําเร็จการศึกษาตองมีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ 11.2.1 สอบไดรายวิชาครบตามโครงสรางของหลักสูตรภายในระยะเวลาที่

กําหนด 11.2.2 ไดระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรไมต่ํากวา 2.00 และมีคาระดับ

คะแนนเฉลี่ยสะสมในกลุมวชิาชีพบังคับตลอดหลักสูตรไมต่ํากวา 2.00 11.2.3 นักศึกษาเปนผูมีความประพฤติที่ไมขัดตอระเบียบของสถาบันซึ่ง

คณะกรรมการสถาบันจะเปนผูพิจารณาอนมุัติปริญญา

Page 12: ต อเนื่ ) อง - ffa.bpi.ac.thffa.bpi.ac.th/bk/printing.pdf · ข วัุตถประสงค ของสถาบ ัน 1. เพื่อผลัณฑิตทิี่มีตบ

12.อาจารยผูสอน 12.1อาจารยประจําสาขาวิชาภาพพมิพ

ลําดับท่ี ชื่อ - สกุล คุณวุฒ ิ ตําแหนง 1.

2.

3.

4. 5.

6.

7.

8.

นายเฉลิมศักดิ ์ รัตนจันทร นายศุภชัย สุกขีโชติ นางฉายนภา แปนเหมือน นายชัยยุทธ พิพัฒพันธุ นายชัยศรี เทพหัสดิน ณ อยุธยา นายเดน หวานจริง นางสมหมาย เทียบเทียม นางรชฎา กอแกว

ศ.บ.(ภาพพิมพ) ศ.ม.(ภาพพิมพ) ศ.บ.(จิตรกรรม ) ศ.ม.(จิตรกรรม) ศ.บ.(ประติมากรรม) ศ.ม.(ประมาตกิรรม) ศษ.บ.(ออกแบบตกแตง) ศ.บ.(ออกแบบตกแตง) ศ.บ.(ศิลปไทย) ศ.ม.(ศิลปไทย) กศ.บ.(ภาษาไทย) อ.ม.(ภาษาไทย) อ.บ.(ฝร่ังเศส) อ.ม.(ฝร่ังเศส) Diplome de Hautes Etudes de Langue et de Civilization Francaises

อาจารย 2 ระดับ 7 อาจารย 2 ระดับ 7 อาจารย 2 ระดบั 7 อาจารย 2 ระดับ 6 อาจารย 2 ระดับ 7 อาจารย 1 ระดับ 4 อาจารย 3 ระดับ 9 อาจารย 3 ระดับ 8

Page 13: ต อเนื่ ) อง - ffa.bpi.ac.thffa.bpi.ac.th/bk/printing.pdf · ข วัุตถประสงค ของสถาบ ัน 1. เพื่อผลัณฑิตทิี่มีตบ

9.

10.

11.

12.

13.

นางยุพา ประเสริฐยิ่ง นางงามตา บุญมา นางรัตนา ประชาทัย นางสาวพจนารถ มงคล นางสาวอุษาภรณ บุญเรือง

ค.บ. (ภาษาไทย) ค.ม. (การสอนภาษาไทย) อ.บ. (ประวัตศิาสตร) อ.ม. (ประวัติศาสตร) กศ.บ. (ภาษาองักฤษ) กศ.ม. (การแนะแนว) วท.บ. (โภชนวิทยา) ค.ม. (การวัดและการประเมินผลการศึกษา) กศ.บ. (เคมี) กศ.ม. (การสอนวิทยาศาสตร)

อาจารย 2ระดับ 8 อาจารย 2 ระดับ 7 อาจารย 2 ระดับ 7 อาจารย 2 ระดับ 7 อาจารย 2 ระดับ 6

12.2 ลูกจางชัว่คราว

ลําดับท่ี ชื่อ – สกุล คุณวุฒ ิ1. 2. 3.

นางสาวสุจิตตา บุญทรง นางสาวจิตราวด ี ศิริทวี นางสาวดวงหทัย พงศประสิทธิ์

ศ.บ. ( ศิลปไทย) สถ.บ. (สถาปตยกรรมไทย) ศ.บ. (จิตรกรรม) ศ.ม. (จิตรกรรม)

12.3 อาจารยพิเศษ ลําดับท่ี ชื่อ - สกุล คุณวุฒ ิ ตําแหนง

1.

2.

3.

นายกลม สุวุฒโฑ นางสาวศรีวรรณ เจนหัถการกิจ นายนพินธ โอราฬนิเวศน

ศ.บ.(ภาพพิมพ) ศ.ม.(ภาพพิมพ) ศ.บ.(ภาพพิมพ) ศ.ม.(ภาพพิมพ) ศ.บ.(ภาพพิมพ) ศ.ม.(ภาพพิมพ)

ผูอํานวยการวทิยาลัยชางศิลป ระดับ 8 ผูชวยศาสตราจารยระกับ 8 มศว. ประสานมิตร มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

Page 14: ต อเนื่ ) อง - ffa.bpi.ac.thffa.bpi.ac.th/bk/printing.pdf · ข วัุตถประสงค ของสถาบ ัน 1. เพื่อผลัณฑิตทิี่มีตบ

ลําดับท่ี ชื่อ - สกุล คุณวุฒ ิ ตําแหนง

4.

5.

6.

7.

8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15.

นายนภพงศ กูแร นายอรรถสิทธิ์ อนุวัตชน นายอนุพงษ คชาชีวะ นายวรา ชัยนติย

นายสิทธิรัตน ศรีพฤกษชาติ นายชลสินธุ ชอสกุล นายสิขเรศ ศิริไพบูลย นายสรรเพ็ชญ โองเพชร นายอดนิันท ดามะอ ูนายยุทธนา นิม่เกต ุนายเกรยีงไกร เรือนแกว นาวเรวดี สกลุพาณิชย

ศ.บ.(ภาพพิมพ) ศ.ม.(ภาพพิมพ) ศ.บ.(ภาพพิมพ) ศ.ม.(ภาพพิมพ) ศ.บ.(ภาพพิมพ) ศ.ม.(ภาพพิมพ) ศ.บ.(ภาพพิมพ) ศ.ม.(ภาพพิมพ) ศ.บ.(ภาพพิมพ) ศ.บ.(ภาพพิมพ) ศ.บ.(ภาพพิมพ) ศ.บ.(ภาพพิมพ) ศ.บ.(ภาพพิมพ) ศ.บ.(ภาพพิมพ) ศ.บ.(ภาพพิมพ) น.บ.

อาจารย ระดับ 5 วิทยาลัยชางศิลป ศิลปนอิสระ อาจารย ระดับ 4 สถาบันเทคโนโลยีพระเจาเกลาคุณทหารลาดกระบัง อาจารย 1 ระดับ 4 วิทยาลัยชางศิลป อาจารย 2 ระดบั 5 วิทยาลัยชางศิลป ศิลปนอิสระ อาจารย 1 ระดับ 4 วิทยาลัยชางศิลป อาจารย 1 ระดับ 4 วิทยาลัยชางศิลป อาจารย 1 ระดับ 4 วิทยาลัยชางศิลป อาจารย 1 ระดับ 4 วิทยาลัยชางศิลป ศิลปนอิสระ นิติกร 8ว. กลุมงานนิติการ กรมศิลปากร

12.4 ผูเชี่ยวชาญพิเศษ ลําดับท่ี ชื่อ – สกุล คุณวุฒ ิ สถานที่ทํางาน

1.

2

นายสวัสดิ ์ตันติสุข นายประเวศ ลิมปรังษี

ศ.บ.(จิตรกรรม) ผูเชี่ยวชาญสถาปตยกรรมไทย

ศิลปนแหงชาติ สาขาทัศนศิลป ขาราชการบํานาญ กรมศิลปากร ศิลปนแหงชาติ สาขาทัศนศิลป ขาราชการบํานาญ กรมศิลปากร

Page 15: ต อเนื่ ) อง - ffa.bpi.ac.thffa.bpi.ac.th/bk/printing.pdf · ข วัุตถประสงค ของสถาบ ัน 1. เพื่อผลัณฑิตทิี่มีตบ

13. จํานวนนักศึกษา นักศึกษาระดับปริญญาตร ี 2542 2543 2544 2545 2546

ช้ันปที่ 1 20 15 15 15 15 ช้ันปที่ 2 - 20 15 15 15 รวม 20 35 30 30 30

คาดวาจะสําเร็จการศึกษา - 20 15 15 15

14. สถานที่และอุปกรณการสอน

ใชสถานที่และอุปกรณการสอนของวิทยาลัยชางศิลป วทิยาลัยนาฎศิลป สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป กรมศิลปากร กระทรวงศกึษาธิการ

15. หองสมุด

15.1 หองสมุดวิทยาลยัชางศิลป จํานวนหนังสือประมาณ 40,000 เลม 15.2 หอสมุดแหงชาต ิ จํานวนหนังสือประมาณ 300,000 เลม

16. งบประมาณ ใชงบประมาณจัดตั้งประจําปของ สถาบันบัณฑิตพฒันศิลป โดยกําหนดคาใชจายเฉพาะงบดําเนินการผลิตบัณฑิตตอคนตอป ประมาณ 8,120.86 บาท 1. คาวัสดุตอหัวนักศกึษา 1,800.00 บาท 2. คาเสื่อมราคาครุภัณฑเฉล่ียตอปตอหัวนกัศึกษา 1,400.00 บาท

3. คาสอน (ปละ 29 วิชา) โดยเฉลี่ยวิชาละ 48 คาบละ 200 บาท / 115 คน 2,420.86 บาท 4. คาบริการทางวิชาการ (เอกสารสื่อการสอน วัสดุสํานักงาน ฯลฯ 2,500.00 บาท

รวม 8,120.86 บาท

Page 16: ต อเนื่ ) อง - ffa.bpi.ac.thffa.bpi.ac.th/bk/printing.pdf · ข วัุตถประสงค ของสถาบ ัน 1. เพื่อผลัณฑิตทิี่มีตบ

17. หลักสูตร 17.1 จํานวนหนวยกิตรวมตลอดหลักสูตร 80 หนวยกิต 17.2 โครงสรางหลักสูตร 1.หมวดวิชาศกึษาทั่วไป จํานวน 18 หนวยกิต 1.1 กลุมวิชาสังคมศาสตร จํานวน 6 หนวยกิต 1.2 กลุมวิชามนุษยศาสตร จํานวน 4 หนวยกิต 1.3 กลุมวิชาภาษา จํานวน 4 หนวยกิต 1.4 กลุมวิชาวทิยาศาสตร จํานวน 4 หนวยกิต และ

คณิตศาสตร 2. หมวดวิชาเฉพาะ จํานวน 58 หนวยกิต 2.1 กลุมวิชาพื้นฐานวิชาชพี จํานวน 13 หนวยกิต 2.2 กลุมวิชาชพีบังคับ จํานวน 30 หนวยกิต 2.3 กลุมวิชาชพีเลือก จํานวน 15 หนวยกิต 3. หมวดวิชาเลือกเสรี จํานวน 4 หนวยกิต

17.3 รายวิชา 1. หมวดรายวิชาศึกษาทั่วไป 18 หนวยกิต ประกอบดวย 1.1 กลุมวิชาสังคมศาสตร นักศึกษาจะตองเรียนรวม 6 หนวยกิต จากรายวิชา ตอไปนี ้ รายวิชา จํานวนหนวยกิต ( บรรยาย - ปฏิบัติ - ศึกษาดวยตนเอง ) 300 - 1101 พื้นฐานวัฒนธรรมไทย 2 ( 2-0-4 ) ( Foundations of Thai Culture ) 300 - 1102 กฎหมายทรพัยสินทางปญญาและมรดกทางวัฒนธรรม 2 ( 2-0-4 ) ( Low on The Protection of Intellectual Property and Cultural Heritage ) 300 - 1103 เศรษฐกิจประเทศไทย 2 ( 2-0-4 ) ( Thai Economy ) 300 - 1104 สภาวการณโลก 2 ( 2-0-4 ) ( Global Situation ) 300 -1105 พื้นฐานการวิจยั 2 ( 2-0-4 ) ( Fundamental Research )

Page 17: ต อเนื่ ) อง - ffa.bpi.ac.thffa.bpi.ac.th/bk/printing.pdf · ข วัุตถประสงค ของสถาบ ัน 1. เพื่อผลัณฑิตทิี่มีตบ

1.2. กลุมวิชามนุษยศาสตร นักศึกษาจะตองเรียน 4 หนวยกิตจากรายวิชาตอไปน้ี รายวิชา จํานวนหนวยกิต ( บรรยาย - ปฏิบัติ - ศึกษาดวยตนเอง ) 300 - 1201 ปรัชญาเบื้องตน 2 ( 2-0-4 ) ( Introduction to Philosophy ) 300 - 1202 จริยศาสตร 2 ( 2-0-4 ) ( Ethics ) 300 - 1203 ตรรกวิทยาเบือ้งตน 2 ( 2-0-4 ) ( Introduction to Logic ) 300 - 1204 จิตรวิทยาทัว่ไป 2 ( 2-0-4 ) ( General Psychology )

1.3 กลุมวิชาภาษา นักศึกษาจะตองเรียน 4 หนวยกิต จากรายวิชาตอไปน้ี รายวิชา จํานวนหนวยกิต ( บรรยาย - ปฏิบัติ - ศึกษาดวยตนเอง ) 300 - 1301 การเขียนเพื่อการสื่อสาร 2 ( 2-0-4 ) ( Writing for Communication ) 300 - 1302 วิเคราะหวรรณกรรมไทยปจจุบัน 2 ( 2-0-4 ) ( Contemporary Thai Literature Analysis ) 300 - 1303 ภาษาอังกฤษเพื่อศิลปะและวัฒนธรรม 2 ( 2-0-4 ) ( English For Art and Culture ) 300 - 1304 ภาษาอังกฤษเฉพาะดาน 2 (2-0-4 ) ( English For Special Purposes ) 1.4 กลุมวิชาวทิยาศาสตร และ คณิตศาสตร นักศึกษาจะตองเรียนรวม 4 หนวยกิต จากรายวิชาตอไปนี ้ รายวิชา จํานวนหนวยกิต ( บรรยาย - ปฏิบัติ - ศึกษาดวยตนเอง ) 300 - 1401 วิทยาศาสตรกบัการอนุรักษ 2 ( 2-0-4 ) ( Sciences For Conservation ) 300 -1402 วิทยาศาสตรส่ิงแวดลอม 2 ( 2-0-4 ) ( Environmental Sciences ) 300 - 1403 สถิติเบื้องตน 2 ( 2-0-4 ) ( Introduction to Statistics )

Page 18: ต อเนื่ ) อง - ffa.bpi.ac.thffa.bpi.ac.th/bk/printing.pdf · ข วัุตถประสงค ของสถาบ ัน 1. เพื่อผลัณฑิตทิี่มีตบ

300 - 1404 คณิตศาสตรเพือ่การตัดสินใจ 2 ( 2-0-4 ) ( Mathematics For Decision Making ) 2. หมวดวิชา เฉพาะ 58 หนวยกิต ประกอบดวย 2.1 กลุมวิชาพื้นฐานวชิาชีพ นักศึกษาจะตองเรียน 13 หนวยกิต จากรายวิชา ตอไปนี ้ รายวิชา จํานวนหนวยกิต ( บรรยาย - ปฏิบัติ - ศึกษาดวยตนเอง ) 100 - 2101 สุนทรียศาสตร 2 ( 2-0-4 ) ( Aesthetics ) 100 -2102 วาดเสน 2 ( 2-0-2 ) ( Drawing ) 100 -2103 องคประกอบศิลป 2 ( 2-0-2 ) ( Composition ) 100 - 2104 ศิลปวิจารณ 2 ( 2-0-4 ) ( Art Criticism ) 100 -2105 ศิลปะเปรียบเทียบ 2 ( 2-0-4 ) ( Comparative Arts ) 100 - 2106 สัมมนา 3 ( 2-2-5 ) ( Seminar)

2.2 กลุมวิชาชพีบังคับ นักศึกษาจะตองเรียน 30 หนวยกิต จากรายวชิาตอไปนี ้ รายวิชา จํานวนหนวยกิต ( บรรยาย - ปฏิบัติ - ศึกษาดวยตนเอง ) 104 - 2201 กระบวนการภาพพิมพ 4 ( 2-6-4 ) (Printmaking Process ) 104- 2202 ภาพพิมพขัน้สูง 1 4 ( 2-6-4 ) ( Advanced Printmaking I ) 104 - 2203 ภาพพิมพขัน้สูง 2 4 ( 2-6-4 ) ( Advanced Printmaking II ) 104 -2204 โครงการงานภาพพิมพขัน้สูง 1 4 ( 2-6-4 ) ( Advanced Printmaking Project I ) 104- 2205 ภาพพิมพเฉพาะบุคคล 4 ( 2-6-4 ) ( Individual Printmaking )

Page 19: ต อเนื่ ) อง - ffa.bpi.ac.thffa.bpi.ac.th/bk/printing.pdf · ข วัุตถประสงค ของสถาบ ัน 1. เพื่อผลัณฑิตทิี่มีตบ

104 - 2206 โครงการงานภาพพิมพขัน้สูง 2 4 ( 2-6-4 ) ( Advanced Printmaking Project II ) 104 - 2207 ศิลปนิพนธ 6 ( 0-12-6 ) ( Art Thesis ) 2.3 กลุมวิชาชพีเลือก 15 หนวยกิต นักศึกษาจะตองเลือกเรียนรายวิชาตางๆ รวม ซ่ึงไมซํ้ากบัวิชาบงัคับ จากรายวิชา ตอไปนี ้ รายวิชา จํานวนหนวยกิต (บรรยาย - ปฏิบัติ - ศึกษาดวยตนเอง ) 101 - 2301 คอมพิวเตอรในงานสถาปตยกรรม 3 ( 2-2-5 ) ( Computer in Architectural Drawing ) 101 - 2302 ลายไทย 3 ( 2-2-5 ) ( Thai Traditional Drawing ) 101 -2303 ภูมิสถาปตยกรรมในงานสถาปตยกรรม 3 ( 2-2-5 ) ( Landscape in Architecture ) 101 - 2304 การคํานวณโครงสรางงานระบบสําหรับงานออกแบบสถาปตยกรรม 3 ( 2-2-5 ) ( Structural Calculation and Mechanical System For Architectural Design ) 101 - 2305 การจัดการและการประมาณราคางานออกแบบสถาปตยกรรม 3 (2-2-5 ) ( Management and Cost Estimation For Architectural Design ) 101 - 2306 จิตรกรรมไทยศึกษา 3 (2-2-5 ) ( Thai Painting Study ) 101 - 2307 เทคนิคในงานจิตรกรรมไทย 3 (2-2-5 ) ( Applied Thai Painting ) 101 - 2308 จิตรกรรมไทยประเพณ ี 3 (2-2-5 ) ( Thai Painting in Tradition ) 101 - 2309 จิตรกรรมไทยประยุกต 3 ( 2-2-5 ) ( Applied Thai Painting ) 101 - 2310 จิตรกรรมไทยทางการตกแตง 3 (2-2-5 ) ( Thai Painting in Decoration ) 101 - 2311 เครื่องเบญจรงค 3 ( 2-2-5 ) ( Ben-Ja-Rong )

Page 20: ต อเนื่ ) อง - ffa.bpi.ac.thffa.bpi.ac.th/bk/printing.pdf · ข วัุตถประสงค ของสถาบ ัน 1. เพื่อผลัณฑิตทิี่มีตบ

101 - 2312 ประวัติงานประณีตศิลปไทย 3 (2-2-5 ) ( History of Thai Minor Art ) 101 - 2313 คติความเชื่อและคุณคาในงานหัตถศิลปไทย 3 ( 2-2-5 ) ( The Belief and Values in Thai Crafts ) 101 - 2314 ลายรดน้ํา 3 ( 2-2-5 ) ( Thai Lacquer and Gilt ) 102- 2301 การเขียนภาพคน 3 ( 2-2-5 ) ( Portrait Painting ) 102 - 2302 การเขียนภาพทิวทัศน 3 ( 2-2-5 ) ( Landscape Painting ) 102 - 2303 การเขียนภาพหุนนิ่ง 3 ( 2-2-5 ) ( Still life Painting ) 101 - 2304 คอมพิวเตอรกบังานศิลปะ 3 ( 2-2-5 ) ( Computer and Art ) 103 - 2301 ประติมากรรมรูปเหมือน 3 ( 2-2-5 ) ( Portrait Sculpture ) 103 - 2302 ประติมากรรมรูปเหมือนเต็มตัว 3 ( 2-2-5 ) ( Figure Sculpture ) 103 - 2303 การทําแมพิมพและการหลอ 3 ( 2-2-5 ) ( Molding and Casting ) 103 - 2304 การแกะสลัก 3 (2-2-5 ) ( Carving ) 103 - 2305 ประติมากรรมวิเคราะห 3( 2-2-5 ) ( Analysis Sculpture ) 104 - 2301 ภาพพิมพพื้นฐาน 3 (2-2-5 ) ( Basic Printmaking ) 104 - 2302 ภาพพิมพลายฉลุ 3 ( 2-2-5 ) ( Screen Printing ) 104 - 2303 ภาพพมิพนูน 3 (2-2-5) ( Relief Printing ) 104 - 2304 ภาพพิมพพิมพรองลึก 3 ( 2-2-5 ) ( Intaglio )

Page 21: ต อเนื่ ) อง - ffa.bpi.ac.thffa.bpi.ac.th/bk/printing.pdf · ข วัุตถประสงค ของสถาบ ัน 1. เพื่อผลัณฑิตทิี่มีตบ

104 - 2305 ภาพพิมพหิน 3 ( 2-2-5 ) ( Litmography ) 105 - 2301 การออกแบบตกแตงภายในแบบไทย 3 ( 2-2-5 ) ( Thai Interior Design) 105 - 2302 การออกแบบเครื่องเรือน 3 ( 2-2-5 ) ( Furniture Design ) 105 - 2303 พันธไมและการออกแบบจดัสวน 3 (2-2-5 ) ( Plants and Garden Design ) 105 - 2304 คอมพิวเตอรกบังานออกแบบ 3 ( 2-2-5 ) ( Computer and Design ) 105 - 2305 แนวคดิและการนําเสนองานออกแบบตกแตงภายใน 3 (2-2-5 ) ( Interior Design Concept and Presentation ) 3. หมวดวิชาเลือกเสรี 4 หนวยกิต นักศึกษาเลือกเรียนรายวชิาตางๆ จํานวน 4 หนวยกิต จากรายวิชาตอไปนี ้ รายวิชา จํานวนหนวย กิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง) 100 - 3001 คอมพิวเตอรกราฟฟค 2 ( 1-2-3 ) ( Computer Graphics ) 101 - 3001 ศิลปะพื้นบาน 2 ( 2-0-4 ) ( Folk Arts ) 101 - 3002 พุทธศิลป 2 ( 2-0-4 )

( Art in Buddhism ) 105 - 3001 การออกแบบเครื่องเรือนถอดประกอบ 2 ( 1-2-3 )

( Knock -Down Furniture Design ) 105 - 2302 การสรางหุนจาํลอง 2 ( 1-2-3 )

( Model Making ) 105- 3003 การออกแบบฉาก 2 ( 1-2-3 )

( Scenic Design ) 105 - 3004 การจัดแสดงเพื่อการตกแตงภายใน 2 ( 1-2-3 )

( Lighting For Interior Design ) 105 - 3005 การออกแบบนิทรรศการ 2 ( 1-2-3 ) ( Exhibition Design )

Page 22: ต อเนื่ ) อง - ffa.bpi.ac.thffa.bpi.ac.th/bk/printing.pdf · ข วัุตถประสงค ของสถาบ ัน 1. เพื่อผลัณฑิตทิี่มีตบ

201 - 3001 มัคคุเทศกทางศิลปวัฒนธรรม 2 ( 2-0-4 ) ( Guide For Cultural Art ) 201 - 3002 แจสเบื้องตน 2 ( 0-4-2 ) ( The Basis of Jazz Dance ) 300 - 3001 วาทการ 2 ( 2-0-4 ) ( Speech ) 300 - 3002 ภาษาไทยเพื่อวิชาชีพ 2 ( 2-0-4 ) ( Thai For Professional Purposes ) 300 - 3003 เอกลักษณไทยในวรรณคด ี 2 ( 2-0-4 ) ( Thai Unique Character in Literature ) 300 - 3004 ภาษาอังกฤษเพื่อวิชาชีพ 2 ( 2-0-4 ) ( English For Professional Purposes ) 300 - 3005 ภาษาอังกฤษมคัคุเทศก 2 ( 2-2-4 ) ( English For Guide ) 300 - 3006 ภาษาฝรั่งเศสเบื้องตน 2 ( 2-0-4 ) ( Fundamental French ) 300 - 3007 ประวัติอารยธรรม 2 ( 2-0-4 ) ( Historical Civilization ) 300 - 3008 ความรูพื้นฐานทางการเมือง 2 ( 2-0-4 ) ( Fundamental Politics ) 300 - 3009 สารเคมีในชีวติประจําวนั 2 ( 2-0-4 ) ( Chemistry in Daily Life ) 300 - 3010 สถิติเพื่อการวจิัย 2 ( 2-0-4 ) (Statistics For Research ) 300 - 3011 คณิตศาสตรในชีวิตประจําวนั 2 ( 2-0-4 ) ( Mathematics in Daily Life ) 300 - 3012 ลีลาศ 2 ( 1-2-3 ) ( Social Dance ) 301 - 3001 กระบี่กระบอง 2 ( 1-2-3 ) ( Krabi Krabong : Thai Martial Arts ) 303 - 3001 ทักษะขิม 2 ( 0-4-2 ) ( Basic Khim Training )

Page 23: ต อเนื่ ) อง - ffa.bpi.ac.thffa.bpi.ac.th/bk/printing.pdf · ข วัุตถประสงค ของสถาบ ัน 1. เพื่อผลัณฑิตทิี่มีตบ

303 - 3002 เพลงรองสําหรับเด็ก 2 ( 0-4-2 ) ( Songs for Children ) 304 - 3001 คีรบอรด 2 ( 0-4-2 ) ( Keyboard ) 304 - 3002 ซอลเฟจจิโอ และการขับรอง 2 ( 0-4-2 ) ( Solfeggio and Vocal Training ) 304 - 3003 การขับรองเพลงประเภทปอป- แจส 2 ( 1-2-3 ) ( Jazz and Pop Vocal Style )

Page 24: ต อเนื่ ) อง - ffa.bpi.ac.thffa.bpi.ac.th/bk/printing.pdf · ข วัุตถประสงค ของสถาบ ัน 1. เพื่อผลัณฑิตทิี่มีตบ

17.4 ความหมายของรหสัรายวิชาและรหัสการจัดชั่วโมงเรียน ความหมายของรหัสรายวิชา คณะ สาขาวิชา หมวดวิชา กลุมวิชา ลําดับวิชา X X X X X X X รหัสวิชาท่ีใชกําหนดเปนตัวเลข 7 หลัก ดังตอไปนี ้ ตําแหนงท่ี 1 หมายถึง คณะ เลข 1 หมายถึง คณะศิลปวจิิตร ตําแหนงท่ี 2-3 หมายถึง สาขาวชิา เลข 01 หมายถึง สาขาวิชาศิลปไทย เลข 02 หมายถึง สาขาวิชาจิตรกรรม เลข 03 หมายถึง สาขาวิชาประติมากรรม เลข 04 หมายถึง สาขาวิชาภาพพิมพ เลข 05 หมายถึง สาขาวิชาออกแบบตกแตงภายใน ตําแหนงท่ี 4 หมายถึง หมวดวิชา เลข 1 หมายถึง หมวดวิชาศึกษาทั่วไป เลข 2 หมายถึง หมวดวิชาเฉพาะ เลข 3 หมายถึง หมวดวิชาเลือกเสรี

Page 25: ต อเนื่ ) อง - ffa.bpi.ac.thffa.bpi.ac.th/bk/printing.pdf · ข วัุตถประสงค ของสถาบ ัน 1. เพื่อผลัณฑิตทิี่มีตบ

ตําแหนงท่ี 5 หมายถึง กลุมวิชา หมวดวิชาศึกษาทั่วไป เลข 1 หมายถึง กลุมวิชาสังคมศาสตร เลข 2 หมายถึง กลุมวิชามนุษยศาสตร เลข 3 หมายถึง กลุมวิชาภาษา เลข 4 หมายถึง กลุมวิชาวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร หมวดวิชาเฉพาะ เลข 1 หมายถึง กลุมวิชาพื้นฐานวิชาชีพ เลข 2 หมายถึง กลุมวิชาชีพบงัคับ เลข 3 หมายถึง กลุมวิชาชีพเลือก ตําแหนงท่ี 6-7 หมายถึง ลําดับวิชา ความหมายของรหัสการจัดชัว่โมงเรียน หนวยกิต ช่ัวโมงเรียน ช่ัวโมงเรียนปฏิบัติ

ช่ัวโมงการศึกษาดวยตนเอง X ( X - X - X )

Page 26: ต อเนื่ ) อง - ffa.bpi.ac.thffa.bpi.ac.th/bk/printing.pdf · ข วัุตถประสงค ของสถาบ ัน 1. เพื่อผลัณฑิตทิี่มีตบ

17.5 แผนการศึกษา

แผนการศึกษาหลักสูตรศิลปบัณฑิต (ตอเนื่อง) สาขาวิชาจิตรกรรม

ภาควชิาศิลปกรรม คณะศิลปวิจิตร ชั้นปท่ี 1 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา ชือ่วิชา จํานวนหนวยกิต 300-1101 300-1204 100-2101 100-2102 104-2201 104-2202 ................ ................

พื้นฐานวัฒนธรรมไทย จิตวิทยาทั่วไป สุนทรียศาสตร วาดเสน กระบวนการ ภาพพิมพ ภาพพิมพขัน้สูง 1 วิชาชีพเลือก 1 วิชาชีพเลือก 2

2 (2-0-4) 2 (2-0-4) 2 (2-0-4) 2 (0-4-2) 4 (2-6-4) 4 (2-6-4) 3 (2-2-5) 3 (2-2-5)

รวม 22 ชั้นปท่ี 1 ภาคการศึกษาที่ 2 รหัสวิชา ชื่อวิชา จํานวนหนวยกิต 300-1301 300-1105 300-1403 100-2103 104 -2203 104 -2204 ............... ...............

การเขียนเพื่อการสื่อสาร พื้นฐานการวิจยั สถิติเบื้องตน องคประกอบศิลป ภาพพิมพขัน้สูง 2 โครงการงานภาพพิมพขัน้สูง 1 วิชาชีพเลือก 3 วิชาชีพเลือก 4

2 (2-0-4) 2 (2-0-4) 2 (2-0-4) 2 (0-4-2) 4 (2-6-4) 4 (2-6-4) 3 (2-2-5) 3 (2-2-5)

รวม 22

Page 27: ต อเนื่ ) อง - ffa.bpi.ac.thffa.bpi.ac.th/bk/printing.pdf · ข วัุตถประสงค ของสถาบ ัน 1. เพื่อผลัณฑิตทิี่มีตบ

ชั้นปท่ี 2 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา ชื่อวิชา จํานวนหนวยกิต 300-1303 300-1102 100-2104 104 -2205 104 -2206 ................ ...............

ภาษาอังกฤษเพื่อศิลปะและวัฒนธรรม กฎหมายวาดวยการคุมครองทรัพยสินทางปญญาและมรดก ทางวัฒนธรรม ศิลปวิจารณ ภาพพิมพเฉพาะบุคคล โครงการงานภาพพิมพขัน้สูง 2 วิชาชีพเลือก 5 วิชาเลือกเสร ี1

2 (2-0-4) 2 (2-0-4) 2 (2-0-4) 4 (2-6-4) 4 (2-6-4) 3 (2-2-5) 2 (X-X-X)

รวม 19

ชั้นปท่ี 2 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา ชื่อวิชา จํานวนหนวยกิต 300-1202 300-1402 100-2105 100-2106 104-2207 ..............

จริยศาสตร วิทยาศาสตรส่ิงแวดลอม ศิลปะเปรียบเทียบ สัมมนา ศิลปนิพนธ วิชาเลือกเสร ี2

2 (2-0-4) 2 (2-0-4) 2 (2-0-4) 3 (2-2-5) 6 (0-12-6) 2 (X-X-X)

รวม 17

Page 28: ต อเนื่ ) อง - ffa.bpi.ac.thffa.bpi.ac.th/bk/printing.pdf · ข วัุตถประสงค ของสถาบ ัน 1. เพื่อผลัณฑิตทิี่มีตบ

17.6 คําอธิบายรายวิชา 1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 1.1 กลุมวิชาสังคมศาสตร

300 - 1101 พื้นฐานวัฒนธรรมไทย 2 ( 2-0-4 ) ( Foundations of Thai Culture )

ศึกษาความหมายโครงสราง และลักษณะของวัฒนธรรมไทย สมัยตางๆ ปจจัยกําหนดลักษณะเอกลกัษณ และคานิยมของสังคมไทย อิทธิพลของวัฒนธรรมตางชาติ ที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมไทย สภาพปญหาทางวัฒนธรรมตลอดจนวิธีการแกไข

300 - 1102 กฎหมายวาดวยการคุมครองทรัพยสินทางปญญาและ 2 ( 2-0-4 )

มรดกทางศิลปวัฒนธรรม ( Law on the Protection of Intellectual Property and Cultural Heritage )

คือกฎหมายที่เกี่ยวของกับการคุมครองทรัพยสินทางปญญา พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ ที่ใหความคุมครองแกงานศิลปะ พระราชกฤษฎีกาที่คุมครองลิขสิทธิ์ระหวางประเทศ ศึกษารัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย ที่เกี่ยวของกับการคุมครองมรดกทางศิลปวฒันธรรม พระราชบัญญัติโบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ และพิพิธภณัฑ-สถานแหงชาต ิ รวมทั้งพระราชบัญญัติ สงเสริมและรักษาคุณภาพสิง่แวดลอมแหงชาติ

300 - 1103 เศรษฐกิจประเทศไทย 2 (2-0-4 ) ( Thai Economy )

ศึกษาสภาพเศรษฐกิจประเทศไทย ที่ไดรับผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิจโลก ศึกษาปญหา สาเหตุของปญหา และแนวทางแกไขโดยพิจารณาจากขอมูลที่ปรากฎ

300 - 1104 สภาวการณโลก 2 ( 2-0-4 )

( Global Situation )

Page 29: ต อเนื่ ) อง - ffa.bpi.ac.thffa.bpi.ac.th/bk/printing.pdf · ข วัุตถประสงค ของสถาบ ัน 1. เพื่อผลัณฑิตทิี่มีตบ

ศึกษาเหตุการณโลกภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 จนถึงปจจุบันทีม่ีผลตอเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การสื่อสารและเทคโนโลยี ความขัดแยงในภูมิภาคตาง ๆ ของโลก ความรวมมือในการเเกไขปญหาเพื่อใหเกิดสันติภาพ

300 - 1105 พื้นฐานการวิจยั 2 ( 2-0-4 ) ( Fundamental Research ) ศึกษาแนวคิด ความหมาย หลักและวิธีการวิจัยเบื้องตน ขั้นตอน

และกระบวนการของการวจิัย ตั้งแตการกําหนดหวัขอ เร่ือง ปญหาที่สมมติ ฐาน การศึกษาขอมูล การเก็บรวบรวมขอมูล การวิเคราะหตลอดจนวินิจฉยั ขอมูล และการเขียนรายงาน เพื่อเปนแนวทางในการทํา ศิลปนิพนธไดอยางมีประสิทธิภาพ

1.2 กลุมวิชามนุษยศาสตร 300 - 1201 ปรัชญาเบื้องตน 2 ( 2-0-4 ) ( Introduction to Philosophy ) ศึกษา ความหมายที่มา ลักษณะและขอบขายวิชาปรัชญาการจัด

ประเภทและปญหาทางปรัชญา ที่เปนสวนประกอบของปรชัญาบริสุทธิ์ ความสัมพันธระหวางปรัชญากับศาสตรตาง ๆ แนวคิดของนักปรัชญา วิวัฒนาการทางความคิดของนักปรัชญาที่มีอิทธิพลตอสังคม ปรัชญาชีวิตของสังคมไทยตามหลักคําสอนของศาสนา

300 - 1202 จริยศาสตร 2 ( 2-0-4 ) ( Ethics )

ศึกษาความหมายของจริยศาสตร จริยธรรม คุณธรรม แนวคิดของนักปรัชญาที่เกี่ยวกับจริยศาสตร การพิจารณาคุณคาทางจรยิธรรม หลักเกณฑทีใ่ชตัดสินการกระทํา ปญหาจริยธรรมและการแกปญหา

300 - 1203 ตรรกวิทยาเบือ้งตน 2 ( 2-0-4 ) ( Introduction to Logic )

ศึกษาความหมาย ขอบขาย ประเภท และประโยชนของตรรกวทิยา ความสัมพันธ ระหวางตรรกวิทยากับศาสตรอ่ืน ๆ การใชเหตุผลตามหลัก ตรรกวิทยา การวิเคราะห และพิจารณาคาของการใชเหตุผลในเชิงนิรนัยและอุปนัย

Page 30: ต อเนื่ ) อง - ffa.bpi.ac.thffa.bpi.ac.th/bk/printing.pdf · ข วัุตถประสงค ของสถาบ ัน 1. เพื่อผลัณฑิตทิี่มีตบ

300 - 1204 จิตวิทยาทั่วไป 2 ( 2-0-4 ) ( General Psychology )

ศึกษาความหมายความเปนมา ขอบขาย แนวทัศนะของนักจิตวิทยากลุมตาง ๆ และวิธีการ ศึกษาทางจิตวทิยาพื้นฐานทางสรีรวิทยาที่เกี่ยวของกับพฤติกรรม พฒันาการของมนุษย พนัธุกรรมและสิ่งแวดลอม การจูงใจ อารมณ เชาวนปญญา การเรียนรูการรับรู บุคลิกภาพ ตลอดจนสุขภาพจติ และการปรับตัวเพื่อเปนพื้นฐานในการทําความเขาใจพฤติกรรมของมนุษย

1.3 กลุมวิชาภาษา 300 - 1301 การเขียนเพื่อการสื่อสาร 2 ( 2-0-4 ) ( Writing for Communication )

ศึกษา และฝกทักษะการเขียนคํา และประโยชนใหถูกตอง มีการเวนวรรคตอน ยอหนา การเลอืกใชถอยคํา สํานวนโวหาร อยางเหมาะสมและมีวิจารณญาณเพื่อแสดงขอเทจ็จริง และความคิดเห็นในการเขยีนรูปแบบตางๆ เชน จดหมาย เรียงความ ยอหนา บทความ สารคดี เปนตน

300 - 1302 การวิเคราะหวรรณกรรมไทยปจจุบนั 2 ( 2-0-4 ) ( Contemporary Thai Literature Analysis )

ศกึษาความหมายและลักษณะเฉพาะของวรรณกรรมไทยปจจุบนั วิวัฒนาการของวรรณกรรมไทยปจจุบนั อิทธิพลของวรรณกรรมในงานศิลปกรรมแตละสมัย วิเคราะหวรรณกรรมในแนวปรชัญา สังคม คานิยม คติความเชื่อ กลวิธีในการประพันธสุนทรียะในภาษา และการพัฒนาสงเสริมใหเกิดความคดิสรางสรรคในสังคม

300 - 1303 ภาษาอังกฤษเพื่อศิลปะและวัฒนธรรม 2 ( 2-0-4 )

( English for Art and Culture ) ศึกษาคําศัพท โครงสราง ไวยกรณ และรูปประโยคทีซั่บซอน จากสื่อ

ชนิดตาง ๆ ที่เกี่ยวกบัศิลปวฒันธรรม พฒันาทักษะการพัง พูด อาน และเขียน เพื่อใหส่ือความหมายได

Page 31: ต อเนื่ ) อง - ffa.bpi.ac.thffa.bpi.ac.th/bk/printing.pdf · ข วัุตถประสงค ของสถาบ ัน 1. เพื่อผลัณฑิตทิี่มีตบ

300 - 1304 ภาษาอังกฤษเฉพาะดาน 2 ( 2-0-4 ) ( English for Special Purposes )

พัฒนาทักษะการสื่อสารดานการพูดและเขยีนภาษาอังกฤษ ในระดับสูงขึ้น การอานบทความเฉพาะสาขาวิชา การอธิบายขั้นตอน การใชอุปกรณ วิธีการทํางานดานศิลปะ การนําเสนอผลงานตลอดจนฝกทักษะการฟงเพื่อจับใจความสําคัญในการนําไปประยุกตใชในการประกอบอาชีพ

1.4 กลุมวิชาวิทยาศาสตร และคณิตศาสตร 300 - 1401 วิทยาศาสตรกบัการอนุรักษ 2 ( 2-0-4 ) ( Sciences and Conservation )

ศึกษาความหมาย ของวตัถุทางวัฒนธรรม ประเภท บทบาทของกระบวนการทางวิทยาศาสตรกับวัตถุทางวฒันธรรม อายุการเสื่อมสภาพของวัตถุทางวัฒนธรรม ปฎิกิริยาของสารเคมีที่มีผลตอวัตถุทางวัฒนธรรม สาเหตุการเสื่อมสภาพทางชีววิทยา อากาศ แสงอาทติย น้ํา ที่มีผลตอการ เปลี่ยนแปลงของวัตถุ การใชสารเคมี วิธีการทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มาจดัในรูปแบบกระบวนการอนุรักษ

300 - 1402 วิทยาศาสตรส่ิงแวดลอม 2 ( 2-0-4 ) ( Environmental Sciences )

ศึกษาความหมายกระบวนการวิทยาศาสตร ส่ิงแวดลอมระบบนิเวศ ความสัมพันธของวิทยาศาสตรกับสิ่งแวดลอมการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติความกาวหนาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ที่มีผลตอส่ิงแวดลอม สาเหตุที่ทําใหเกดิปญหาสิ่งแวดลอม การแกไขปญหาสิ่งแวดลอม การประกันคณุภาพของสิ่งแวดลอม ( ISO 14000 ) การจัดการสิ่งแวดลอมใหเกิดสมดุลธรรมชาติ

300 - 1403 สถิติเบื้องตน 2 ( 2-0-4 ) ( Introduction to Statistics )

ศึกษาความหมาย และประโยชนของสถิติ ระเบียบวิธีการสถิติ การนําเสนอขอมูลในรูปแบบตาง ๆ การแจกแจงความถี่และความถี่สะสม การวัดและการเปรียบเทียบตําแหนง การวดัแนวโนมเขาสูสวนกลาง การวดัการกระจายคามาตรฐานและแจกแจงปกติ

Page 32: ต อเนื่ ) อง - ffa.bpi.ac.thffa.bpi.ac.th/bk/printing.pdf · ข วัุตถประสงค ของสถาบ ัน 1. เพื่อผลัณฑิตทิี่มีตบ

300 - 1404 คณิตศาสตรเพือ่การตัดสินใจ 2 ( 2-0-4 ) ( Mathematics for Decision Making )

ศึกษาการคิดตนทุน การกําหนดราคาขาย การหาแหลงเงินกู การคิดดอกเบี้ย นายหนา การจํานอง การจํานํา การเชาชื้อ การขายฝาก หุน ดัชนีราคา กําหนดการเชิงเสน ในการสรางแบบจําลองทางคณิตศาสตร กราฟของสมการ และอสมการ 2 ตัวแปร และการตัดสินใจในกราฟของสมการ และอสมการสมการในการตัดสินใจ

2. วิชาหมวดวชิาเฉพาะ 2.1 กลุมวิชาพื้นฐานวชิาชีพ 100 - 2101 สุนทรียศาสตร 2 ( 2-0-4 ) ( Aesthetics )

ศึกษาความหมาย หลักและทฤษฎีทางสุนทรียศาสตรแนวความคิดและทัศนคติของนักปรัชญาที่เกี่ยวของกับความงามในแตละยคุสมัย เพื่อเปนแนวทางใหเกดิความคดิสรางสรรค สามารถนํามาพัฒนาภูมิปญญาแกปญหาและประเมินคุณคาทางศิลปะ

100 - 2102 วาดเสน 2 ( 0-4-2 ) ( Drawing )

ศึกษาและปฎบิัติงาน การใชและจดัสัดสวนของทัศนธาตุในทางศิลปะ เชน เสน แสงเงา น้ําหนกั พื้นผิว จังหวะ ชองวาง ความกลมกลืน ความแตกตางของวสัดุ เทคนิคพืน้ฐาน เชนการใชดนิสอ ถานหิน หมึก ฯลฯ เทคนิคพิเศษ เชน การตัดกระดาษปะปด หรือการใชเศษวัสดุตางๆ ในการสรางงานวาดเสนใหสัมพันธกับแนวความคิด ปรัชญา ความหมายในผลงานวาดเสน พัฒนาและทดลอง แนวความคิดสรางสรรค

100 -2103 องคประกอบศิลป 2 ( 0-4-2 )

( Composition ) ศึกษาและปฎบิัติงานการใชและจัดสัดสวนของทัศนธาตุ ทดลองใช

เทคนิค และวสัดุตาง ๆ ใหสัมพันธกับเสน สี รูปทรง น้ําหนัก ความกลมกลืน ปรัชญาแนวความคิด และจนิตนาการ ในการสรางสรรคผลงานอยางมีคุณคาทางศิลปะ

Page 33: ต อเนื่ ) อง - ffa.bpi.ac.thffa.bpi.ac.th/bk/printing.pdf · ข วัุตถประสงค ของสถาบ ัน 1. เพื่อผลัณฑิตทิี่มีตบ

100 - 2104 ศิลปวิจารณ 2 ( 2-0-4 ) ( Art Criticism )

ศึกษาทฤษฎีและหลักการวิจารณศิลปะ ฝกเขียนวิจารณผลงานศิลปะ วิเคราะหแนวความคิด ปรัชญา ความเชื่อ รูปแบบ เทคนิคการสรางสรรคผลงาน และกระบวนการสรางสรรคงานศิลปะ ของศิลปนที่มีช่ือเสียงในอดีตและปจจุบนั

100 - 2105 ศิลปะการเปรียบเทียบ 3 ( 2-2-5 ) ( Comparative Arts )

ศึกษาแบบอยางและลักษณะเฉพาะ เปรียบเทียบความแตกตางและความใกลเคยีงระหวางศิลปะในประเภททัศนศิลปดวยกัน และตางสาขา เชน วรรณกรรม ดนตร ี ศิลปะการแสดง โดยอาศัยหลักทางสุนทรียศาสตรในการเปรียบเทียบประเมินคุณคาทางศิลปะ

100 - 2106 สัมมนา 3 ( 2-2-5 )

( Seminar ) ศึกษาคนควาและปฎิบัติงาน ทําความเขาใจ นําเสนอขอคิดเห็น แสดงเหตุผล และปญหาขอขัดแยง ของการสรางสรรคผลงานศิลปะ ปรัชญาแนวความคิด คุณคาของผลงานศิลปะ เพื่อนําไปเปนแนวทางในการพัฒนาผลงาน ในแตละสาขาวิชา

2.2 กลุมวิชาชีพบงัคับ 104 - 2201 กระบวนการการพิมพ 4 ( 2-6-4 ) ( Printmaking Process )

ศึกษาคนควาคุณลักษณะ กระบวนการ ขอบขาย เทคนิค และทดลองสรางงานภาพพิมพ โดยกระบวนการพิมพ แมพิมพนูน ( Relief Printing ) แมพิมพรองลึก ( Intaglio ) แมพิมพพืน้ราบ ( Plano Graphic ) แมพิมพลายฉลุ ( Serigraphic ) แมพิมพโดย กระบวนการถายภาพ ( Photomechanical Process ) คอมพิวเตอรกราฟฟค ( Computer Graphic ) เพื่อตอบสนองความคิดในการสรางสรรค

Page 34: ต อเนื่ ) อง - ffa.bpi.ac.thffa.bpi.ac.th/bk/printing.pdf · ข วัุตถประสงค ของสถาบ ัน 1. เพื่อผลัณฑิตทิี่มีตบ

104 - 2202 ภาพพิมพช้ันสูง 1 4 ( 2-6-4 ) ( Advanced Printmaking I )

ศึกษาและปฏิบัติงาน ภาพพิมพช้ันสูง โดยไมจํากัดเทคนิค ทดลองสรางสรรคงานโดยใชคณุลักษณะพิเศษ จากกระบวนการพิมพที่เหมาะสม กับรูปแบบการแสดงออก ทางศิลป ใหสอดคลองกับอารมย ความรูสึกในการสรางสรรค ตามเนื้อหาเรื่องราวที่กําหนด

104- 2203 ภาพพิมพขัน้สูง 2 4 ( 2-6-4 )

( Advanced Printmaking II ) ศึกษาคนควาทดลองและปฏิบัติงานภาพพิมพ ช้ันสูง โดยใชเทคนคิการ

ทําแมพิมพที่เหมาะสมกับแนวคิดรูปแบบการแสดงออกเนนการวิเคราะหปญหาระหวางความคิด รูปแบบ และเทคนิค

104 - 2204 โครงการงานภาพพิมพขัน้สูง 1 4 ( 2-6-4 )

( Advanced Printmaking Project I ) ศึกษาแนวความคิด วิเคราะห เปรียบเทียบ ผลงานจิตรกรรมที่มีความสัมพันธกับสภาพแวดลอม ทดลองปฎิบัติงาน จิตรกรรม ใชเทคนิควิธีการ วัสด ุที่เหมาะสมกับสภาพแวดลอมที่จะตดิตั้งผลงาน

104 - 2205 ภาพพิมพเฉพาะบุคคล 4 ( 2-6-4 ) ( Individual Printmaking )

ศึกษาคนควาปฏิบัติงานภาพพิมพ ตอเนื่องจากโครงการงาน ภาพพิมพขั้นสูง 1 พัฒนาแนวทางการสรางสรรค โดยการวิเคราะหถึงเนื้อหาสาระปญหาขั้นสูงระหวางแนวความคิด รูปแบบและเทคนิค พรอมทั้งเปรียบเทียบและสรุปผล นําเสนอโครงการภาพพิมพ ทั้งเอกสารและผลงานของแตละบคุคล

104 - 2206 โครงการงานภาพพิมพขัน้สูง 2 4 (2-6-4 )

( Advanced Printmaking Project II ) ศึกษาวเิคราะหวิจยัและปฏิบัติงานภาพพมิพขั้นสูง ตอเนื่องกับรายวิชา

104 - 2204 เนนเนื้อหาแนวทางสรางสรรคศิลปเฉพาะบุคคล โดยกําหนดเปนโครงการภาพพมิพ ที่มีจุดมุงหมายชัดเจน นําเสนอโครงการภาพพิมพทั้งเอกสารและผลงานแตละบุคคลเพื่อเปนแนวทางในการทําวิทยานิพนธ

Page 35: ต อเนื่ ) อง - ffa.bpi.ac.thffa.bpi.ac.th/bk/printing.pdf · ข วัุตถประสงค ของสถาบ ัน 1. เพื่อผลัณฑิตทิี่มีตบ

102 - 2207 ศิลปนิพนธ 6 ( 0-12-6 ) ( Art Thesis )

ศึกษาและปฎบิัติงาน โครงการศิลปนิพนธสาขาภาพพิมพ ตามหัวขอเฉพาะบุคคล ที่ไดรับอนุมตัิจากคณะกรรมการพิจารณาหัวขอและโครงการศิลปนิพนธ ประกอบดวยผลงานภาพพมิพ และเอกสารอธิบายกระบวนการสรางสรรคผลงานภาพพิมพ

2.3 กลุมวิชาชพีเลือก 101 - 2301 คอมพิวเตอรในงานสถาปตยกรรม 3 ( 2-2-5 ) ( Computer in Architectural Drawing )

ศึกษาประวัติคอมพิวเตอร หลักพื้นฐานในการนําคอมพิวเตอรมาใชในงานออกแบบสถาปตยกรรม ฝกหัดการใชโปรแกรม ที่เกี่ยวกับการออกแบบและเขียนแบบ โดยเนนการนําไปใชกับงานจริงแบบ 2 มิติ พรอมทั้งศึกษาการสรางขอมูล เพื่อเชื่อมโยงกับโปรแกรมอื่น ๆ

101 - 2302 ลายไทย 3 ( 2-2-5 ) ( Thai Traditional Drawing )

ศึกษาประวัติความเปนมา แรงบันดาลใจจากธรรมชาติของลายไทยประเภทตาง ๆ ปฎิบัติการเขียนลาย ผูกลาย และการออกแบบลายใหเหมาะสมกับงาน ขนาด เนื้อที่วาง และวัสดุของชิน้งานนั้น ๆ

101 - 2303 ภูมิสถาปตยกรรมในงานสถาปตยกรรม 3 ( 2-2- 5 ) ( Landscape in Architecture )

ศึกษาปฎิบัติการออกแบบเกีย่วกับภูมิทัศนที่มีความสัมพันธในงานสถาปตยกรรม และการวางผังบริเวณ โดยคํานึงถึงสภาพแวดลอมของชุมชน ลักษณะภูมิประเทศ และนิเวศนวิทยา ศึกษาววิัฒนาการของเมือง องคประกอบตางๆ ที่มีอิทธิพลตอการเปลี่ยนแปลงทางดานกายภาพของเมือง ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการขยายตัวของเมือง ความหมาย จุดประสงค และแนวความคิด ในการวางผังและวิธีควบคุม ใหเปนไปตามผงั

Page 36: ต อเนื่ ) อง - ffa.bpi.ac.thffa.bpi.ac.th/bk/printing.pdf · ข วัุตถประสงค ของสถาบ ัน 1. เพื่อผลัณฑิตทิี่มีตบ

101 -2304 การคํานวณโครงสรางงานระบบสําหรับงานออกแบบ 3 ( 2-2-5 ) ( Structural Calculation and Mechanical System For Architectural Design ) ศึกษาคุณสมบตัิตางๆ ของวัสดุโครงสรางและพฤติกรรมเมื่อมีแรงกระทํา ทฤษฎีและคําจํากัดความของหนวยแรงตางๆ ความสัมพันธของหนวยแรงประลัยของวัสดุและหนวยแรงที่เหมาะสมในการออกแบบโครงสราง ศึกษาวิธีการกอสรางงาน คอนกรีต คอนกรีตเสริมเหล็กและองคประกอบ โครงสรางระบบตางๆ ใหเขาใจในกลวิธีการรับและการกระจายถายเทน้ําหนักแรงตาง ๆ ที่เกิดขึ้น การทรงตัวของโครงสราง ใชหลักสถิติศาสตรพื้นฐานในการวิเคราะหโครงสรางแบบงาย ๆ น้ําหนกัตางๆที่กระทําตอโครงสราง การวิเคราะหหาแรงปฎิกิริยา โมเมนตดัด แรงเฉือนและอื่นๆ รวมทัง้การเขียนไดอะแกรมของแรงเฉือนและโมเมนดัด ความเหมาะสมและความเปนไปได ของโครงสราง

101 - 2305 การจัดการและการประมาณราคางานออกแบบ 3 (2-2-5 ) ( Management and Cost Estimation for Architectural Design ) ศึกษาปฎิบัติการวางแผนบรหิาร แกปญหาโครงการกอสราง และ

หลักการตางๆ ที่ใชในการวางแผน การตัดสินใจปญหาของการทํางานกอสราง ที่เกี่ยวกับสถาปนิกและวิศวกร ศึกษาราคาประมาณงานคากอสราง มาตรฐานการกอสรางและแรงงาน การคิดคํานวณอุปกรณ และคาใชจายในการกอสราง การกําหนดแบบ และรายการ ใหไดในเงนิงบประมาณรวมทั้งการเปรียบเทียบราคาองคประกอบของอาคาร

101 - 2306 จิตรกรรมไทยศึกษา 3 ( 2-2-5 )

( Thai Painting in Study ) ศึกษาคุณคาและเอกลักษณไทย จากงานจิตรกรรมที่มีคุณคาในสมัย

ตางๆ จากเรื่องราวทางพุทธศาสนา วัฒนธรรม ประเพณ ี ทั้งในดานประวัติศาสตร สภาพแวดลอม รูปแบบ ความคิดเทคนคิวิธีการ เพื่อนําความรูที่ไดไปปฎิบัตงิานเพื่อศึกษาการสรางสรรคงานจิตรกรรมไทย

101 - 2307 เทคนิคในงานจิตรกรรมไทย 3 ( 2-2-5 ) ( Techniques in Thai Art )

Page 37: ต อเนื่ ) อง - ffa.bpi.ac.thffa.bpi.ac.th/bk/printing.pdf · ข วัุตถประสงค ของสถาบ ัน 1. เพื่อผลัณฑิตทิี่มีตบ

ศึกษาววิัฒนาการวิเคราะห และปฎิบัติงานคนควา ทดลอง เทคนคิประเภทตางๆ ของงานจิตรกรรมไทยตั้งแต ยุคประวัตศิาสตรจนถึงสมัยปจจุบนั เพื่อใหเกิดความรูความเขาใจในเทคนิคของงานจิตรกรรมไทย

101 - 2308 จิตรกรรมไทยประเพณ ี 3 ( 2-2-5 ) ( Thai Painting in Tradition )

ศึกษา วิเคราะห เปรียบเทียบ รูปแบบลักษณะเฉพาะของงานจิตรกรรมไทย ที่มีคุณคา ในสมัยตาง ๆ ตั้งแตยุคประวัติศาสตรจนถึงปจจุบัน ปฎิบัติงานดวยเทคนิค ประเภทตาง ๆ ตามแนวทางจติรกรรมไทยประเพณ ี

101 - 2309 จิตรกรรมไทยประยุกต 3 ( 2-2-5 ) ( Applied Thai Painting )

ศึกษา คนควา ทดลอง และปฎิบัติงานจิตรกรรมไทย โดยไมจาํกัดเทคนิควิธีการ เพื่อหาแนวทางในการสรางงานจิตรกรรมไทยประยุกต รูปแบบตางๆจากธรรมชาติ และจินตนาการสวนบุคคล โดยใชแนวคดิในการสรางภาพที่มีเอกลักษณไทย

101 - 2310 จิตรกรรมไทยทางการตกแตง 3 ( 2-2-5 )

( Thai painting in Decoration ) ศึกษา ปฎิบัติงาน การออกแบบ การจําลองพื้นที่ในการตกแตง

สราง สรรคจิตรกรรมไทยประยุกตจากรูปแบบ ความคดิตลอดจนการใชเทคนิคตาง ๆ ของศิลปไทย เพื่อนํามาเปนแนวทางในการตกแตง ใหเขากับพื้นที่ภายในสถาปตยกรรมประเภทตางๆ ตามความเหมาะสมและถูกตองตามหลักการสรางภาพจิตรกรรมไทย

101- 2311 เครื่องเบญจรงค 3 ( 2-2-5 ) ( Ben - Ja - Rong )

ศึกษาคุณคาและเอกลักษณไทย วิเคราะหลักษณะพิเศษ ดานเนื้อหารูปแบบและการใชเทคนิคตาง ๆ ของงานเบญจรงค ปฎิบัติงานสรางสรรคเครื่องเบญจรงค

Page 38: ต อเนื่ ) อง - ffa.bpi.ac.thffa.bpi.ac.th/bk/printing.pdf · ข วัุตถประสงค ของสถาบ ัน 1. เพื่อผลัณฑิตทิี่มีตบ

101- 2312 ประวัติงานประณีตศิลปไทย 3 ( 2-2-5 ) ( Applied Thai Minor Art )

ศึกษาและปฎบิัติงานประณตีศิลปไทยจากประวัติความเปนมาคติความเชื่อ ตนกําเนดิทางความคิด ขนบนิยมตลอดจนขบวนการสรางสรรค ของงานประณีตศิลปของไทยสมัยตางๆที่มีคุณคา เพื่อใหเกิดความรูความเขาใจและความสามารถวิเคราะหวิจารณ รูปแบบ เนื้อหาของงาน

101 - 2313 คติความเชื่อและคุณคาในงานหัตถศิลปไทย 3 ( 2-2-5 ) ( The Belief and Values in Thai Crafts )

ศึกษาและปฎบิัติงานหัตถศลิปไทยเกีย่วกบัคุณคาคติความเชื่อคุณลักษณะพิเศษของงานหัตถศิลปไทย ดานประวัตศิาสตร คตินิยม รูปแบบความคิด เทคนิคขบวนการสรางสรรค งานประดับมุก งานประดับกระจก งานเครื่องรัก

101 - 2314 ลายรดน้ํา 3 ( 2-2-5 ) ( Thai Lacquer and Gilt )

ศึกษาประวัติความเปนมารูปแบบความคิด เทคนิควิธีการความบันดาลใจจากธรรมชาติ ของลายรดน้ําไทยสมัยตางๆและปฏิบัติงาน เขียนลายการออกแบบลาย การจดัสวนเนื้อที่วาง ในการสรางลายรดน้ํา

102 - 2301 การเขียนภาพคน 3 ( 2-2-5 ) ( Portrait Painting )

ศึกษา และ ปฏิบัติงานจิตรกรรมสีน้ํามันโดยวเิคราะหเทคนิคจากผลงาน ผลงานของศิลปนที่มีช่ือเสียงในอดีตและปจจุบันการใชสีบรรยากาศการใชสีผิวเนื้อ การใชสีเขียนเสื้อผา และสวนประกอบ การใชแสงเงา การจัดวาง การใชส่ือ วัสดุ และความกลมกลืนของสี รูปทรง น้ําหนกั การใชเงา การใชทาทางของแบบ จากแบบคนครึ่งตัว หรือเต็มตัว

102 - 2302 การเขียนภาพทิวทัศน 3 ( 2-2-5 ) ( Landscape Painting )

ศึกษางานจิตรกรรมสีน้ํามันของศิลปนที่มีช่ือเสียงในอดตีและปจจุบันโดยวเิคราะหเทคนิคการจัดภาพการเลือกใชเร่ืองราวเนื้อหาการใชฝ

Page 39: ต อเนื่ ) อง - ffa.bpi.ac.thffa.bpi.ac.th/bk/printing.pdf · ข วัุตถประสงค ของสถาบ ัน 1. เพื่อผลัณฑิตทิี่มีตบ

แปรงลักษณะตางๆ การใชสีและแสงในเวลาตางๆ ปฏิบัติงานเขียนภาพทิวทัศน การเขียนตนไม การเขียนอาคารสถาปตยกรรม การเขียนเรือ การเขียนน้ํา การเขียนน้ําทะเล และสภาพแวดลอมในธรรมชาติ

102 - 2303 การเขียนภาพหุนนิ่ง 3 ( 2-2-5 ) ( Still life Painting )

ศึกษาความรูทัว่ไปเกีย่วกับรูปแบบเทคนิคการเตรียมพื้นการผสมสีการใชผูกัน การรางภาพ การกําหนดสัดสวน และการใชวัสดุตางๆ ในงานจิตรกรรม ปฏิบัติงานจิตรกรรม สีน้ํามันจากหุนนิ่ง ทิวทัศน ภาพคน สภาพแวดลอม ฯลฯ

102 - 2304 คอมพิวเตอรกบังานศิลปะ 3 (2-2-5 ) ( Computer and Arts )

ศึกษาและปฏิบัติงานการใชคอมพิวเตอรการบํารุงรักษาการเปดปดเครือ่งสวนตางๆของเครื่อง การเชื่อมตอระบบกับสวนตางๆการบันทึกขอมูลการพิมพ ออกทางเครื่องพิมพการใชเครื่องมือในการสรางภาพจากโปรแกรมสําเร็จรูปทางดานกราฟฟค การนําผลของคอมพิวเตอรไปใชงานศิลปะหรือเปนสวนหนึ่งของผลงานศิลปะในการออกแบบสรางสรรคผลงานศิลปะ

103 - 2301 ประติมากรรมรูปเหมือน 3 (2-2-5)

(Portrait Sculpture) ศึกษาและปฏิบัติงานปนรูปเหมือนคนครึ่งตัวจากแบบคนชายหญิงดวยเทคนิคการขึ้นรูป การขึ้นดนิ โดยเนนโครงสราง สัดสวนและกายวภิาคที่ถูกตอง รวมทั้งการแสดงออกทางอารมณและบุคลิกภาพของผูเปนแบบ

103 - 2302 ประติมากรรมรูปเหมือนเต็มตัว 3 (2-2-5) (Figure Sculpture)

ศึกษาและปฏิบัติงานปนรูปเหมือนคนเต็มตัวจากแบบคนชายหญิงดวยเทคนิคการขึ้นรูป การขึ้นดนิ โดยเนนโครงสรางสัดสวน ทาทางกายวภิาคที่ถูกตอง รวมทัง้การแสดงทางอารมณ และบุคลิกภาพของผูเปนแบบ

103 -2303 การทําแมพิมพและการหลอ 3 (2-2-5)

(Molding and Casting)

Page 40: ต อเนื่ ) อง - ffa.bpi.ac.thffa.bpi.ac.th/bk/printing.pdf · ข วัุตถประสงค ของสถาบ ัน 1. เพื่อผลัณฑิตทิี่มีตบ

ศึกษาและปฏิบัติงานประตมิากรรมโดยใชเทคนิคและกระบวนการทําแมพิมพทุบแมพิมพช้ิน และแมพิมพยาง และกระบวนการหลอขั้นพื้นฐานดวย ปูนปลาสเตอร ขี้ผ้ึง

103 -2304 การแกะสลัก 3 (2-2-5) (Carving)

ศึกษาและปฏิบัติงานประตมิากรรมดวยการสรางรูปทรงเฉพาะบุคคล ทดลองทําแบบรางและขยายแบบ เพื่อนํามาแกะสลักลงบนปูน ปูนผสมทรายไม หิน ฯลฯ ใหเกิดความงามทางศิลปะ ความสัมพันธในเนื้อหาสาระภายในรูปทรง ความสัมพันธของจังหวะลีลาและความกลมกลืนกับวัสดทุี่ใช

103 - 2305 ประติมากรรมวิเคราะห 3 (2-2-5) (Analysis Sculpture)

ศึกษาและปฏิบัติงานประตมิากรรมดวยรูปแบบที่วิเคราะหตัดทอน เพื่อ หาเอกลักษณเฉพาะบุคคลในแนวสรางสรรคใหสัมพันธกับแนวคิด เทคนิคและวิธีการดวยเทคนิคอิสระ

104 -2301 ภาพพิมพพื้นฐาน 3 (2-2-5) (Basic Printmaking)

ศึกษาคุณลักษณะของศิลปะภาพพิมพทีแ่ตกตางจากศิลปะแขนงอืน่ ประวัต ิ กระบวนการพิมพ และปฏิบัติเทคนิคภาพพิมพเบื้องตน

104 - 23032 ภาพพิมพลายฉลุ 3 ( 2-2-5 ) (Screen Printing)

ศึกษาประวัต ิ ความเปนมาของภาพพิมพลายฉลุ ทดลองและประยุกตใชเทคนิคภาพพมิพลายฉลุในการสรางสรรคผลงานศิลปะ

104 - 2303 ( ภาพพิมพนูน ) 3 ( 2-2-5 ) ( Relief Printing )

ศึกษาประวัติความเปนมาของภาพพิมพนูนทดลองและประยุกตใชเทคนิคภาพพมิพนูนในการสรางสรรคงานศิลปะ

Page 41: ต อเนื่ ) อง - ffa.bpi.ac.thffa.bpi.ac.th/bk/printing.pdf · ข วัุตถประสงค ของสถาบ ัน 1. เพื่อผลัณฑิตทิี่มีตบ

104 - 2304 ( ภาพพิมพรองลึก ) 3 ( 2-2-5 ) ( Intaglio ) ศึกษาประวัติความเปนมาของภาพพิมพรองลึก ทดลองและประยกุต ใช เทคนิคภาพพิมพรองลึก ในการสรางสรรคงานศิลปะ

104 - 2305 ( ภาพพิมพหนิ ) 3 ( 2-2-5 ) ( Lithography )

ศึกษาประวัติความเปนมาของภาพพิมพหินทดลองและประยุกตใชเทคนิค ภาพพิมพหินในการสราสรรคงานศิลปะ

105 -2301 การออกแบบตกแตงภายในแบบไทย 3 (2-2-5) (Thai Interior Design)

ศึกษาและฝกปฏิบัติ งานออกแบบตกแตงเครื่องเรือน เครื่องใช เครื่องใช เครื่องตกแตงของไทยทั้งภายในและภายนอกอาคาร โดยศึกษาขอมูลในการออกแบบทั้งดานการใชสอยในสภาพปจจบุันอันไดแกลักษณะของลวดลายประเภทตางๆ ความเหมาะสมของการใชลวดลายประดบัในแตละแหง การใชสีและพฤติกรรมการใชใหเหมาะสมกับสภาพปจจุบัน โดยคงเอกลักษณและรูปแบบของไทยไว

105 -2302 การออกแบบเครื่องเรือน 3 (2-2-5) (Furniture Design)

ศึกษาหลักการและทฤษฎีการออกแบบเครื่องเรือนประเภทตางๆ ปฏิบัติงานเขียนแบบเครื่องเรือน ขยายแบบโครงสรางและการเขาไมรวมถึงการออกแบบเครื่องเรือนหวาย ไมไผ โลหะ การบุนวม และเครื่องเรือนสํานักงาน

105 - 2303 พันธุไมและการออกแบบจดัสวน 3 (2-2-5) (Plants and Garden Design)

ศึกษาลักษณะและชนิดของพันธไมที่ใชในการออกแบบตกแตงภายใน และภายนอกอาคาร รวมถึงปลูกเลี้ยง บํารุงรักษาและขยายพนัธุตลอดจนศึกษาและปฏิบัติการออกแบบ จดัสวนในลักษณะตางๆ ใหสอดคลองกับการออกแบบภูมิสถาปตย การวางผัง และการออกแบบที่วางสาธารณะ

Page 42: ต อเนื่ ) อง - ffa.bpi.ac.thffa.bpi.ac.th/bk/printing.pdf · ข วัุตถประสงค ของสถาบ ัน 1. เพื่อผลัณฑิตทิี่มีตบ

105 -2304 คอมพิวเตอรกบังานออกแบบ 3 (2-2-5) (Computer and Design)

ศึกษาประวัติคอมพิวเตอร หลักการพื้นฐานในการนําคอมพิวเตอรมาใชโปรแกรมสําเร็จรูปที่เกี่ยวของกับงานออกแบบ และเขยีนแบบโดยเนนการนําไปประยุกตใชงานจริง แบบ 2 มิติ ศึกษาการสรางขอมูลเพื่อถายทอด เชื่อมโยงกับโปรแกรมสําเร็จรูปอื่นเพื่อใชในการออกแบบ

105 - 2305 แนวคดิและการนําเสนองานออกแบบตกแตงภายใน 3 (2-2-5) (Interior Design and Presentation)

ศึกษาวิธีการ สรางแนวความคิด ในการออกแบบตกแตงภายใน สถานที่ประเภทตางๆ วเิคราะหขอมูล การใชพืน้ที่ การใชสอย พฤติกรรมของผูใชเพื่อกําหนดแนวคดิใหเหมาะสม ตลอดจนวิเคราะหผลงานออกแบบตกแตงภายใน หาขอดีขอเสียอันจะเปนแนวทางในการสรางที่คุณภาพตอไป ศึกษาวิธีการนําเสนอผลงานดวยการพูด การเขียนและการใชโสตทัศนูปกรณตางๆ

3. หมวดวิชาเลือกเสรี 4 หนวยกิต นักศึกษาจะตองเลือกเรียนวิชาตาง ๆจํานวน 4 หนวนกิต จากรายวชิาตอไปนี ้ รายวิชา จํานวนหนวยกิต ( บรรยาย - ปฏิบัติ - ศึกษาดวยตนเอง ) 100 - 3001 คอมพิวเตอรกราฟฟค 2 (1-2-3) (Computer Graphics)

ศึกษาและปฏิบัติงาน การใชคอมพิวเตอรเบื้องตน การบํารุงรักษา กรเปดปดเครื่อง สวนตางๆของเครื่อง การเชื่อมตอระบบกับสวนตางๆ การบันทึกขอมูล การพิมพออกทางเครื่องพิมพ การใชเครื่องในการสรางภาพ จากโปรแกรมสําเร็จรูปทางดานกราฟฟค ในการออกแบบสรางสรรคผลงานศิลปะ

101 - 3001 ศิลปะพื้นบาน 2 (2-0-4) (Folk Arts)

ศึกษาประวัติความเปนมา คติ ความเชื่อ ที่มาแหงความบันดาลใจ ตนกําเนิดทางความคิด ขนบธรรมเนียมนยิม แบบอยางการสรางงานศิลปะพื้นบานของไทยในแตละภาค เปรียบเทียบรูปแบบ วัสดุเทคนิคกระบวนการในการสรางสรรคงาน ที่ใหคุณคา ความงาม ดานวัฒนธรรมกลมกลืนกับธรรมชาติแวดลอม มีความเปนเอกลักษณเฉพาะถิ่น

Page 43: ต อเนื่ ) อง - ffa.bpi.ac.thffa.bpi.ac.th/bk/printing.pdf · ข วัุตถประสงค ของสถาบ ัน 1. เพื่อผลัณฑิตทิี่มีตบ

101 - 3002 พุทธศิลป 2 ( 2-0-4 ) ( Art in Buddhism )

ศึกษาความหมาย และปรัชญาของพุทธศิลปไทยวิเคราะห งานพุทธศิลปไทย สาขาสถาปตยกรรม จติรกรรม ประติมากรรม และประณตีศิลป ศึกษาที่มาของคตินิยม ประเพณนีิยม และรูปแบบของงานพุทธศิลป

105 - 3001 การออกแบบเครื่องถอดประกอบ 2 ( 1-2-3 ) ( Knock - Down Furniture Design )

ศึกษาวัสดแุละอุปกรณที่ใชกบัการออกแบบและผลิตเครื่องเรือนถอดประกอบ รวมทั้งกระบวนการผลิต ลักษณะและคุณสมบัติตางๆ ของเครื่องเรือนถอดประกอบ ฝกปฏิบัติออกแบบเครื่องเรอืนถอดประกอบ

105 - 3002 การสรางหุนจาํลอง 2 ( 1-2-3 ) ( Model Making )

ศึกษาและปฏิบัติงานการทําหุนจําลองตามวิธีการและเทคนิคการสรางหุน เพื่อนําเสนอความคิดในการออกแบบตกแตงภายใน ใหมีความสมบรูณ โดยกําหนดขนาดสัดสวน ตามมาตราสวนที่ถูกตองและเหมาะสม เพื่อแสดงใหเห็นถึงการกําหนดเนื้อที่ในสวนตางๆพรอมการจัดวางขององคประกอบในการตกแตง รวมทั้งโครงสรางวัสดุ และแนวทางการใชสีที่ถูกตอง ไดสมจริง

105 - 3003 การออกแบบฉาก 2 ( 1-2-3 ) ( Scenic Design )

ศึกษาปฏิบัติการออกแบบฉากวิธีสรางองคประกอบที่เกีย่วของ เชน การจัดแสงเสียงเครื่องแตงกายเพือ่สรางบรรยากาศของงานออกแบบใหมีความสมบูรณ

105 - 3004 การจักแสดงเพื่อการออกแบบตกแตงภายใน 2 ( 1-2-3 )

( Lighting for Interior Design )

Page 44: ต อเนื่ ) อง - ffa.bpi.ac.thffa.bpi.ac.th/bk/printing.pdf · ข วัุตถประสงค ของสถาบ ัน 1. เพื่อผลัณฑิตทิี่มีตบ

ศึกษาการใชงานลักษณะของดวงไฟประเภทตาง ๆ หลักการจดัแสง ภายในอาคารตามลักษณะของการใชงานโดยคํานึงถึงความงามความรูสึกและวิเคราะหประโยชนของการใชสอย รวมทั้งฝกระบุรายการวัสด ุ และอุปกรณไฟฟาชนดิตาง ๆ

105 - 3005 การออกแบบนิทรรศการ 2 (1-2-3 ) ( Exhibition Design ) ศึกษาถึงหลัก วิธีการ รูปแบบ และโครงสรางในลักษณะตาง ๆ ที่

ใชสําหรับการจัดนิทรรศการ การจัดแสง การกําหนดวัสดุ และกําหนดพื้นที ่ใชสอย ปฏิบัติงานออกแบบ จัดนิทรรศการ แบบชั่วคราวและถาวร

201 - 3001 มัคคุเทศกทางศิลปวัฒนธรรม 2 (2-0-4 ) ( Guide For Cultural Art )

ศึกษาองคประกอบพื้นฐาน ของงานมัคคุเทศกบทบาทหนาที ่ และจรรยาบรรณของมัคคุเทศกในการอนุรักษ เผยแพร และบํารุงรักษาศิลป วัฒนธรรม

201 - 3002 แจสเบื้องตน 2 ( 1-2-3 ) ( The Basic of Jazz Dance )

ศึกษาประวัติความเปนมาของระบําแจสองคประกอบของแจสศัพทเทคนิคของการเตนแจส ฝกฝน การปฏิบัติการเตนแจส ในระดับพืน้ฐาน ใหสอดคลองกับวงดนตรีสมัยนิยม

300 - 3001 วาทการ 2 (2-0-4 )

( Speech ) ศึกษาความหมาย หลักการพูดอยางมวีาทศิลป และสุนทรียะทางภาษา

กลวิธีการจูงใจ และการเสริมสรางบุคลิกภาพ ฝกการพูดแบบตาง ๆ เชน การอภิปราย โตวาท ี การกลาวรายงาน การพูดแสดงความคิดเห็น การนําเสนอผลงาน การกลาวสรุป การกลาวแนะนําและขอบคุณวิทยากร การพูดจูงใจ การพูดโนมนาวใจ ใหเหมาะสมกับระดับบุคคล และกาลเทศะ

Page 45: ต อเนื่ ) อง - ffa.bpi.ac.thffa.bpi.ac.th/bk/printing.pdf · ข วัุตถประสงค ของสถาบ ัน 1. เพื่อผลัณฑิตทิี่มีตบ

303 - 3002 ภาษาไทยเพื่อวิชาชีพ 2 ( 2-0-4 ) ( Thai for Professional Purposes )

ศึกษาการใชความหมายตามกระบวนการ ของธุรกิจแตละประเภท ฝกทักษะการเขียนดวยประโยชนในวิชาชีพรูปแบบตาง ๆ เชน จดหมายสมัครงาน จดหมายธุรกิจ จดหมายราชการ คํารอง เอกสาร สัญญา ฯลฯ ฝกการตีความ การจัดแนวคดิสําคัญ การถายทอดและเรียบเรียงความคิดในการนําเสนอขอเท็จจริง และความคิดเหน็อยางกระชับ มีเหตุผลนาเชือ่ถือ และมีวิจารณญาณ

300 - 3003 เอกลักษณไทยในวรรณคด ี 2 (2-0-4) (Thai Unique Character in Literature)

ศึกษาเอกลักษณไทยจากวรรณคด ีสมัยสุโขทัย สมัยอยุธยา และสมัย รัตนโกสินทร ในดานศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณ ี แนวคิด ความเชื่อ ปรัชญา คานิยม อันมีอิทธิพลตอการดําเนินชวีิต สังคม และวรรณกรรมอื่น

300 - 3004 ภาษาอังกฤษเพื่อวิชาชีพ 2 (2-0-4) (English for Professional Purposes)

ศึกษาทักษะการฟง พูด อาน และเขียนภาษาอังกฤษที่เกี่ยวกับการแสดงและงานศิลปกรรมในระดับที่สูงขึ้น เพื่อเปนพื้นฐานในการประกอบอาชีพได

300 - 3005 ภาษาอังกฤษมคัคุเทศก 2 (2-0-4) (English for Guide)

ฝกทักษะในการฟง พูด อาน เขียนภาษาอังกฤษเกีย่วกบัศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณ ี เพื่อบรรยายเรือ่งราวเกีย่วกับงานแสดงขนบธรรมเนียมประเพณไีทยผลงานทางศิลปะ หรือสถานที่ทองเที่ยวอยางงายๆ ฝกอานจับใจความสําคัญจากเอกสารประเภทแผนผับ ปายประกาศ ตลอดจนบทความจาก หนังสือพิมพ วารสาร และนิตยสารเกีย่วกับการทองเทีย่ว

300 - 3006 ภาษาฝรั่งเศสเบื้องตน 2 (2-0-4) (Fundamental French)

Page 46: ต อเนื่ ) อง - ffa.bpi.ac.thffa.bpi.ac.th/bk/printing.pdf · ข วัุตถประสงค ของสถาบ ัน 1. เพื่อผลัณฑิตทิี่มีตบ

ศึกษาทักษะเบือ้งตน สําหรับผูเร่ิมเรียนภาษาฝรั่งเศสในการฟงการพูด การอาน และการเขียนในชวีิตประจําวัน ฝกออกเสียงใหถูกตองฝกอานออกเสียงและสนทนาโตตอบเกี่ยวกับชีวิตประจําวัน ฝกเขียนประโยคสั้นๆ

300 - 3007 ประวัติอารยธรรม 2 (2-0-4) (Historical Civilization)

ศึกษาประวัติและวิวนัฒนาการของอารยธรรมตะวันออกและอารยธรรมตะวนัตกของชนชาติตาง ๆ ในแตละยคุ การถายทอดและการผสมผสานอารยธรรมของแตละชนชาติการเปลี่ยนแปลงอารยธรรม และมรดกทางอารยธรรม

300 - 3008 ความรูพื้นฐานทางการเมือง 2 (2-0-4)

(Fundamental Politics) ศึกษาเรื่องรัฐ รูปแบบและหนาที่ของรัฐบาล สถาบันและกระบวน การ

ทางเมือง แนวคิดและอุดมการณทางการเมืองที่มีอิทธิพลตอการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พัฒนาการทางการเมืองและรัฐบาลกับการบริหารประเทศ

300 - 3009 สารเคมีในชีวติประวัน 2 (2-0-4 ) ( Chemistry in Daily Life )

ศึกษาความหมาย แหลงที่มาของสารเคมี ซ่ึงมาจากอินทรียเคมีอนินทรียเคมี ชีวเคม ี ประเภทองคประกอบของสารเคมีแตละชนิด ปฏิกิริยาทางเคม ี สารประกอบและการสลายตัวของสารเคมี ปฏิกิริยาทางเคมีในรางกาย ประโยชนและโทษของสารเคมี ความสัมพันธของสารเคมีกับมวลมนุษยชาต ิ

300 - 3010 สถิติเพื่อการวจิัย 2 ( 2-0-4 )

( Statistics for Research ) ศึกษาความหมายของประชากรและตวัอยางวิธีการสุมตัวอยางการกําหนดตัวแปรในการวจิัยการตั้งสมมติฐานการทดสอบสมมติฐานโดยใช T - test , F - test และการทดสอบไครสแควร เพื่อใหสามารถเลือกใชสถิติ ไดเหมาะสมกับการวจิัย

300 - 3011 คณิตศาสตรในชีวิตประจําวนั 2 ( 2-0-4 ) ( Mathematics in Daily Life )

Page 47: ต อเนื่ ) อง - ffa.bpi.ac.thffa.bpi.ac.th/bk/printing.pdf · ข วัุตถประสงค ของสถาบ ัน 1. เพื่อผลัณฑิตทิี่มีตบ

ศึกษาการวัดปริมาณ เศษสวนกับรอยละ หุนสวน - กําไร - ขาดทุนภาษี ดอกเบี้ย ตั๋วเงนิและการเชาซื้อ

300 - 3012 ลีลาศ 2 ( 1-2-3 ) ( Social Dance )

ศึกษาประวัติความเปนมาของการลีลาศทิศทางและการจบัคูที่ถูกตอง ความรูเบื้องตนเกี่ยวกบัการลีลาศ บุคลิกภาพและมารยาทในการลีลาศ การลีลาศรูปแบบตางๆ คุณคาและความสําคัญของการลีลาศ

301 - 3001 กระบี่กระบอง 2 (1-2-3 )

( Krabi Krabong : Thai Martial Arts ) ศึกษาและปฏิบัติการฝกหัดเบื้องตนของกระบี่กระบองวธีิการใชดาบ

จับคูฟน แมไม และลูกไมตาง ๆ รวมทั้งศึกษาและปฏิบัติ ตามระเบยีบแบบแผน ของการไหวครูกระบี่กระบอง

303 - 3001 ทักษะขิม 2 ( 0-4-2 ) ( Basic Khim Training )

ศึกษาและปฏิบัติเครื่องดนตรีขิมตั้งแตวิธีการนั่งจับไม การไลเสียงการฝกหัดทักษะเบื้องตนและปฏิบัติเพลงประเภทสองชั้นไมนอยกวา 5 เพลง

303 - 3002 เพลงรองสําหรับเด็ก 2 ( 0-4-2 )

( Songs for Children ) ศึกษาและปฏิบัติขับรองเพลงสําหรับเด็กจากเพลงไทยสมัยโบราณถึงปจจุบัน ที่มีเนื้อรองงาย ๆ ทํานองสั้น ๆ และมีจังหวะรวดเร็วสนกุสนาน

304 - 3001 คียบอรด 2 ( 0-4-2 ) ( Keyboard ) ปฏิบัติบันไดเสียง เมเจอร ไมเนอร คอรดตาง ๆ ในจังหวะธรรมดา

และอัตราผสม จําตําแหนงตัวโนตบนคยีบอรด ฝกปฏิบัติบทเพลงจากแบบ ฝกหัด ที่เหมาะสม

Page 48: ต อเนื่ ) อง - ffa.bpi.ac.thffa.bpi.ac.th/bk/printing.pdf · ข วัุตถประสงค ของสถาบ ัน 1. เพื่อผลัณฑิตทิี่มีตบ

304 - 3002 ซอลเฟจจิโอ และการขับรอง 2 ( 0-4-2 ) ( Solfeggio and Vocal Training )

ศึกษาและรองโนตในบันไดเสียงไดโตนิคทุกบันไดเสียงแบบ"โดเคล่ือนที่ " ใหถูกตองตามเสียง และจังหวะ ฝกการจัดแบงวรรคและประโยคของเพลง ฝกการขับรองใหถูกตองทั้งเนื้อเพลงโนตและจังหวะการใสอารมณตามความรูสึก ที่เหมาะสมกับบทเพลง

304 - 3003 การขับรองเพลงประกอบ ปอปแจส 2 ( 1-2-3 ) ( Jazz and Pop Vocal Style )

ศึกษาลักษณะบทเพลงประเภท ปอป-แจส ฝกการขับรองเสียงที่ถูกหลัก ฝกหัดรอง ซอลเฟจจิโอ ฝกขับรองในสไตลปอป-แจส โดยเนนเพลง Standard เทคนิคคีตปฎิภาณ ใสอารมณตามความรูสึกที่เหมาะสมกับบทเพลง ฝกอริยาบท เวทีสําหลับการแสดง สามารถแสดงตอสาธารณชนได