14
วัคซีน 615 เชื้อแบคทีเรีย Staphylococcus aureus เปน หนึ�งในเชื้อกอโรคสําคัญที่ทําใหคนเจ็บปวยลมตาย จาก การศึกษาในประเทศสหรัฐอเมริกา มีผูปวยโรคติดเชื้อ S. aureus ตองนอนโรงพยาบาลประมาณ 300,000 ราย ตอป และโรคที่เกิดขึ้นมีความรุนแรง พบวาผูปวยที่นอน โรงพยาบาลดวยโรคติดเชื้อ S. aureus มีระยะเวลานอน โรงพยาบาลและคาใชจายสูงกวาเชื้ออื่น 3 เทา และมี อัตราตายสูงกวา 5 เทา 1 อัตราการเสียชีวิตของผูปวยที่มี ภาวะติดเชื้อ S. aureus ชนิดลุกลาม (Invasive S. aureus infection) สูงถึงรอยละ 19-34 1 และอัตราการเสียชีวิต อาจสูงกวานั้นในประเทศกําลังพัฒนา ในประเทศไทยมี การศึกษาวิจัยพบวาภาวะติดเชื้อ S. aureus ชนิดลุกลาม มีอัตราตายรอยละ 26 2 และภาวะติดเชื้อในกระแสเลือด มีอัตราตายสูงถึงรอยละ 44-48 3,4 นอกเหน�อจากความรุนแรงของโรคแลว อีกปจจัย หนึ�งที่ยิ�งทําใหมีความจําเปนตองพัฒนาวัคซีนปองกันโรค ติดเชื้อสแตฟฟลโลคอคคัสคือ การที่เชื้อดื้อตอยา cloxa- cillin หรือ methicillin (Methicillin-resistance S. aureus หรือ MRSA) ซึ�งเปนปญหาสําคัญของทุกประเทศทั�วโลก ในทวีปเอเชียมีรายงานพบไดสูงถึงรอยละ 72-73 ของเชื้อ S. aureus ที่แยกไดจากประเทศญี่ปุนและเกาะฮองกง 5 สําหรับประเทศไทยพบ MRSA รอยละ 23-42 3,4,6,7 นอกจาก น�้ยังพบเชื้อที่ตอยาตานจุลชีพเกือบทุกชนิดโดยเฉพาะกลุglycopeptides ไดแก vancomycin ทั้งชนิดที่ดื้อในระดับ ปานกลาง (Vancomycin-intermediate resistance S. aureus - VISA) ซึ�งมีรายงานในประเทศไทยแลว 8,9 หรือ ดื้อในระดับสูง เรียกวา Vancomycin-resistance S. au- reus หรือ VRSA เชื้อ S. aureus สามารถแพรระบาดได งาย ยากตอการควบคุม ยาตานจุลชีพที่ใชรักษาเชื้อดื้อยา มีจํากัด วัคซีนปองกันโรคติดเชื้อสแตฟฟลโลคอคคัสจึงได รับการพัฒนาขึ้น เชื้อกอโรค S. aureus เปนเชื้อที่มีความสามารถในการ กอโรคไดรุนแรงที่สุดใน genus Staphylococci เปนแบคทีเรียทรงกลม ติดสีกรัมบวก อยูเดี่ยวๆ เปนคู เปนสาย หรือเปนกลุมทําใหเปนที่มาของชื่อ Staphy- lococcus ซึ�งในภาษากรีกหมายถึงพวงองุS. aureus มีลักษณะที่ทําใหกอโรครุนแรง และลักษณะนั้นก็ชวย จําแนกเชื้อจาก Staphylococci อื่นๆ ดวย เชน S. aureus สามารถสราง coagulase หรือมี clumping factor เปนตน นอกจากน�้การศึกษาทางพันธุกรรมยังพบวา S. aureus มี ยีนที่ควบคุมการสราง adhesin และ toxin มากกวา 20 และ 30 ตัว ในขณะที่ Coagulase-negative staphylococci พบยีน adhesin นอยกวา 10 ตัวและไมพบยีนที่กํากับการ สราง toxin 1 สวนประกอบที่สําคัญของเชื้อ ไดแก (รูปที่ 1) 10 1. Cell wall ประกอบดวย peptidoglycan เปน หลัก (รูปที่ 1) peptidoglycan มีคุณสมบัติเชนเดียว กับ endotoxin ของเชื้อแบคทีเรียกรัมลบที่กระตุใหมีการหลั�ง Cytokines อาจทําใหเกิดภาวะ Dis- seminated intravascular clotting (DIC) นอกจากน�วัคซ�นปองกันโรคติดเช้อ สแตฟฟลโลคอคคัส โรคติดเชื้อสแตฟฟลโลคอคคัส 47 ปยรัชต สันตะรัตติวงศ บทนํา

ป ยรัชต สันตะรัตติวงศ¸§ัคซีนป้องกันโรค... · 2.1 ลิ้นหัวใจอักเสบ (Infective endocarditis-IE)

  • Upload
    others

  • View
    1

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ป ยรัชต สันตะรัตติวงศ¸§ัคซีนป้องกันโรค... · 2.1 ลิ้นหัวใจอักเสบ (Infective endocarditis-IE)

วัคซีน 615วัคซ�นที่อยู�ระหว�างการว�จัย

เชื้อแบคทีเรีย Staphylococcus aureus เปน

หนึ�งในเชื้อกอโรคสําคัญที่ทําใหคนเจ็บปวยลมตาย จาก

การศึกษาในประเทศสหรัฐอเมริกา มีผูปวยโรคติดเชื้อ

S. aureus ตองนอนโรงพยาบาลประมาณ 300,000 ราย

ตอป และโรคที่เกิดขึ้นมีความรุนแรง พบวาผูปวยที่นอน

โรงพยาบาลดวยโรคติดเชื้อ S. aureus มีระยะเวลานอน

โรงพยาบาลและคาใชจายสูงกวาเชื้ออื่น 3 เทา และมี

อัตราตายสูงกวา 5 เทา1 อัตราการเสียชีวิตของผูปวยที่มี

ภาวะติดเชื้อ S. aureus ชนิดลุกลาม (Invasive S. aureus

infection) สูงถึงรอยละ 19-341 และอัตราการเสียชีวิต

อาจสูงกวานั้นในประเทศกําลังพัฒนา ในประเทศไทยมี

การศึกษาวิจัยพบวาภาวะติดเชื้อ S. aureus ชนิดลุกลาม

มีอัตราตายรอยละ 262 และภาวะติดเชื้อในกระแสเลือด

มีอัตราตายสูงถึงรอยละ 44-483,4

นอกเหน�อจากความรนุแรงของโรคแลว อกีปจจยั

หนึ�งที่ยิ�งทําใหมีความจําเปนตองพัฒนาวัคซีนปองกันโรค

ติดเชื้อสแตฟฟลโลคอคคัสคือ การที่เชื้อดื้อตอยา cloxa-

cillin หรือ methicillin (Methicillin-resistance S. aureus

หรือ MRSA) ซึ�งเปนปญหาสําคัญของทุกประเทศทั�วโลก

ในทวีปเอเชียมีรายงานพบไดสูงถึงรอยละ 72-73 ของเชื้อ

S. aureus ที่แยกไดจากประเทศญี่ปุนและเกาะฮองกง5

สาํหรบัประเทศไทยพบ MRSA รอยละ 23-423,4,6,7 นอกจาก

น�ย้งัพบเชือ้ทีต่อยาตานจลุชพีเกอืบทกุชนดิโดยเฉพาะกลุม

glycopeptides ไดแก vancomycin ทั้งชนิดที่ดื้อในระดับ

ปานกลาง (Vancomycin-intermediate resistance S.

aureus - VISA) ซึ�งมีรายงานในประเทศไทยแลว8,9 หรือ

ดื้อในระดับสูง เรียกวา Vancomycin-resistance S. au-

reus หรือ VRSA เชื้อ S. aureus สามารถแพรระบาดได

งาย ยากตอการควบคุม ยาตานจุลชีพที่ใชรักษาเชื้อดื้อยา

มีจํากัด วัคซีนปองกันโรคติดเชื้อสแตฟฟลโลคอคคัสจึงได

รับการพัฒนาขึ้น

เชื้อกอโรค

S. aureus เปนเชื้อที่มีความสามารถในการ

กอโรคไดรุนแรงที่สุดใน genus Staphylococci

เปนแบคทีเรียทรงกลม ติดสีกรัมบวก อยูเดี่ยวๆ เปนคู

เปนสาย หรือเปนกลุมทําใหเปนที่มาของชื่อ Staphy-

lococcus ซึ�งในภาษากรีกหมายถึงพวงองุน S. aureus

มีลักษณะที่ทําใหกอโรครุนแรง และลักษณะนั้นก็ชวย

จําแนกเชื้อจาก Staphylococci อื่นๆ ดวย เชน S. aureus

สามารถสราง coagulase หรอืม ีclumping factor เปนตน

นอกจากน�้การศึกษาทางพันธุกรรมยังพบวา S. aureus มี

ยีนที่ควบคุมการสราง adhesin และ toxin มากกวา 20

และ 30 ตวั ในขณะที ่Coagulase-negative staphylococci

พบยีน adhesin นอยกวา 10 ตัวและไมพบยีนที่กํากับการ

สราง toxin1

สวนประกอบที่สําคัญของเชื้อ ไดแก (รูปที่ 1)10

1. Cell wall ประกอบดวย peptidoglycan เปน

หลัก (รูปที่ 1) peptidoglycan มีคุณสมบัติเชนเดียว

กับ endotoxin ของเชื้อแบคทีเรียกรัมลบที่กระตุน

ใหมีการหลั�ง Cytokines อาจทําใหเกิดภาวะ Dis-

seminated intravascular clotting (DIC) นอกจากน�้

วัคซ�นป�องกันโรคติดเช�้อสแตฟฟ�ลโลคอคคัส

โรคติดเชื้อสแตฟฟลโลคอคคัส

47ปยรัชต สันตะรัตติวงศ

บทนํา

Page 2: ป ยรัชต สันตะรัตติวงศ¸§ัคซีนป้องกันโรค... · 2.1 ลิ้นหัวใจอักเสบ (Infective endocarditis-IE)

วัคซีน616 วัคซ�นที่อยู�ระหว�างการว�จัย บทที่ 47 วัคซ�นป�องกันโรคติดเช�้อสแตฟฟ�ลโลคอคคัสวัคซ�นที่อยู�ระหว�างการว�จัย

S. aureus สามารถสรางแคปซูลได และสวน capsular

polysaccharide (CP) ของเชื้ออาจเปนปจจัยความรุนแรง

อยางหนึ�งของ S. aureus โดยพบเชื้อที่สรางแคปซูล

ทั้งหมด 12 ซีโรทัยพ เชื้อที่มี CP5 และ CP8 ทําใหเกิด

โรคในคนรอยละ 85 ของเชื้อที่ตรวจได จึงไดมีการนํา

CP5 และ CP8 มาสรางเปนวัคซีนและมีการศึกษาวิจัย

แลวในมนุษย10

2. Surface protein มีหลายชนิด โปรตีนที่สําคัญ

คือ Protein A มีฤทธิ์ปองกันไมใหเชื้อถูกจับกิน (Anti-

phagocytic) โปรตีนที่ผิวของเชื้อ S. aureus (รูปที่ 1) จะ

มีคุณสมบัติเปนตัวยึดเกาะ (Adhesin) กับเซลลชนิดตางๆ

เรียกวา “Microbial Surface Components Recognizing

Adhesive Matrix Molecules (MSCRAMM)” มีผลตอ

พยาธิกําเนิดคือ ทําใหเชื้อสามารถเกาะติดและกอโรคได

แทบทุกอวัยวะของคน นอกจากน�้แอนตีบอดีตอโปรตีน

เหลาน�้ยังถูกนํามาศึกษาวิจัยสําหรับใชเปน passive

immunization ปองกันโรคติดเชื้อ S. aureus ดวย10

3. สารที่แบคทีเรียสรางขึ้น (Extracellular

products) (ตารางที่ 1) ไดแก1,10

3.1 Superantigens ไดแก Enterotoxins ทําให

เกิดโรคอาหารเปนพิษ Epidemiolytic toxins (Exfoliatin

A และ B) ทําใหเกิด Scalded skin syndrome และ Toxic

shock toxin-1

3.2 Cytotoxin ไดแก Hemolysin มีฤทธิ์ทําลาย

เซลลที่ติดเชื้อ แตแอนติบอดีตอ Hemolysin กลับไม

สามารถปองกันโรคติดเชื้อลุกลามจาก S. aureus ได

Leukocidin โดยเฉพาะ Panton-Valentine

leukocidin (PVL) มีฤทธจําเพาะตอเม็ดเลือดขาวที่ติดเชื้อ

ชวยให S. aureus ไมโดนจับกิน และมีขอมูลวา PVL อาจ

มีบทบาทตอการเกิดโรคชนิดลุกลามจึงไดมีการศึกษาวิจัย

โดยนําเอาแอนติบอดีตอ PVL มาใชรักษาโรค

3.3 เอนไซม S. aureus สรางเอนไซมหลายชนิด

เชน Coagulase, Hyaluronidase อาจจะมีบทบาทในการ

ลุกลามเฉพาะที่เมื่อติดเชื้อ

S. aureus สามารถอยูอาศัยในคนโดยยังไมทาํให

เกิดโรค (Colonization) พบวารอยละ 30 และ 50 ของ

ผูใหญและเด็กที่แข็งแรงมีเชื้อ S. aureus อยูในรางกาย11

โดยอาศัยอยูในชองจมูกดานหนา และอาจพบไดบริเวณ

รักแร ขาหน�บ รอบอวัยวะเพศหญิง และรอบรูทวาร การ

ทีเ่ชือ้สามารถอาศยัในคนโดยไมกอโรคและบางครัง้อาจปน

เปอนทีผ่วิหนงัโดยเฉพาะทีม่อื เปนปจจยัสาํคญัทีท่าํใหเชือ้

ดื้อยาคงอยู และแพรระบาดโดยเฉพาะ MRSA1,11

ระบาดวิทยา

เชื้อ S. aureus ทําใหเกิดโรคหลากหลายตั้งแต

การติดเชื้อที่ผิวหนัง เชน แผลพุพอง จนกระทั�งการติด

เชื้อแบบลุกลาม เชน การติดเชื้อภายในอวัยวะตางๆ หรือ

แมกระทั�งโรคทีเ่กดิจากทอ็กซนิ ทาํใหยากตอการประมาณ

รูปที่ 1 แสดงสวนประกอบของเชื้อ S. aureus

(ดัดแปลงจากเอกสารอางอิงหมายเลข 10)

Page 3: ป ยรัชต สันตะรัตติวงศ¸§ัคซีนป้องกันโรค... · 2.1 ลิ้นหัวใจอักเสบ (Infective endocarditis-IE)

วัคซ�นที่อยู�ระหว�างการว�จัย วัคซีน 617บทที่ 47 วัคซ�นป�องกันโรคติดเช�้อสแตฟฟ�ลโลคอคคัสวัคซ�นที่อยู�ระหว�างการว�จัย

อุบัติการณของการติดเชื้อน�้ทั้งหมด การศึกษาในตาง

ประเทศพบอุบัติการณของโรคติดเชื้อ S. aureus แบบ

ลุกลาม 28-35 คนตอแสนประชากรตอป12,13 กลุมอายุ

ที่พบมากไดแกอายุนอยกวา 1 ปและ 65 ปขึ้นไป12 ปจจัย

เสี่ยงที่พบมากที่สุดไดแกการลางไตทั้ง hemodialysis

และ peritoneal dialysis ปจจัยเสี่ยงอื่นๆ ไดแก การติด

เชือ้เอชไอว ีการปลกูถายอวยัวะ ผูปวยโรคหวัใจ โรคมะเรง็

การฉ�ดยาเสพติดเขาเสน โรคพิษสุราเรื้อรัง เบาหวาน โรค

หลอดเลือดสมอง COPD โรคเอสแอลอี และ Rhumotoid

arthritis12,13

การศกึษาในผูใหญในตางประเทศพบภาวะการตดิ

เชื้อ S. aureus ในกระแสเลือด 38 คนตอแสนประชากร

ตอป โดยพบในเพศชายมากกวาเพศหญิง พบมากในคน

ที่อายุตั้งแต 60 ปขึ้นไป และมีอัตราสวนของ MRSA

เพิ�มขึ้นรอยละ 20 ตอป14 ในประเทศสหรัฐอเมริกา S.

aureus เปนเชื้อที่แยกไดเปนอันดับหนึ�งจาก sterile site

ของผูปวยในและเปนอนัดบัสองของผูปวยนอก (รอยละ 19

และ 15 ตามลําดับ)15 ในผูปวยเด็กพบวาเชื้อ S. aureus

เปนสาเหตุอันดับตนๆ ของการติดเชื้อในกระแสเลือด และ

การติดเชื้อแบคทีเรียชนิดลุกลาม เชน ปอดอักเสบที่มี

หนองในชองเยื่อหุมปอด เปนตน โรคจาก S. aureus มี

แนวโนมเพิ�มขึ้น ในขณะที่โรคที่เกิดจากเชื้ออื่นๆ ซึ�งมี

การฉ�ดวัคซีนปองกัน เชน Hemophilus influenzae type

B และ Streptococcus pneumoniae อัตราการเกิดโรค

ลดลง16-18

ในประเทศไทยยงัไมมกีารศกึษาในระดบัประชากร

แตจากการศึกษาในโรงพยาบาล พบวา S. aureus เปน

สาเหตุอันดับ 3 ของการติดเชื้อในกระแสเลือด โดยพบ

มากในผูปวยเดก็เลก็ และผูสงูอาย ุการตดิเชือ้แบบลกุลาม

มีอัตราการเสียชีวิตรอยละ 26 ปจจัยที่สัมพันธกับการ

เสียชีวิตคือ ผูปวยสูงอายุ ทารกคลอดกอนกําหนด ผูที่มี

โรคเรื้อรังไดแก โรคไต โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคทาง

เดนิหายใจ การตดิเชือ้ทีเ่กีย่วของกบัโรงพยาบาล (Health-

care-associated infection) เปนเชือ้ชนดิ MRSA และการ

ไดรับยาตานจุลชีพที่เหมาะสมชาเกินไป2-4

MRSA ทาํใหเกดิปญหาการตดิเชือ้ในโรงพยาบาล

ตารางที่ 1 ปจจัยภายนอกเซลล (Extracellular Factors) ของ S. aureus ที่เกี่ยวของกับการกอโรค1

ชนิด หนาที่หรือการกอโรค

Surface proteinsProtein A Anti-immune, anti-PMNCollagen BP Collagen bindingFibronectin BPA and B Fibronectin bindingClumping factor A and B Fibrinogen binding

Capsular polysaccharidesPolysaccharide capsule type 5 Anti-phagocytosis?Polysaccharide capsule type 8 Anti-phagocytosis?

Cytotoxinsα, β, δ, and γ-hemolysin Hemolysin, cytotoxinPanton-Valentine leukocidin (PVL) Leucolysin

SuperantigensEnterotoxin A-D Food poisoning, Toxic shock syndromeExfoliatin A, B Scaled skin syndromeToxic shock syndrome toxin-1 (TSST-1) Toxic shock syndrome

EnzymesV8 protease, Hyaluronidase, Coagulase,

Staphylokinase, etc.

Spreading factor, Clotting, Clot digestion, Plasminogen

activator, etc.

Page 4: ป ยรัชต สันตะรัตติวงศ¸§ัคซีนป้องกันโรค... · 2.1 ลิ้นหัวใจอักเสบ (Infective endocarditis-IE)

วัคซีน618 วัคซ�นที่อยู�ระหว�างการว�จัย บทที่ 47 วัคซ�นป�องกันโรคติดเช�้อสแตฟฟ�ลโลคอคคัสวัคซ�นที่อยู�ระหว�างการว�จัย

อยางมาก รายงาน MRSA ระยะแรก ไดถูกจําแนกเปน

การติดเชื้อในและนอกโรงพยาบาล จากการเฝาระวัง

MRSA ทั�วโลกในป ค.ศ. 1997-1999 พบวาอัตราสวน

MRSA แตกตางไปในแตละภมูภิาค โดยสงูทีส่ดุในประเทศ

กลุม Western-Pacific คือ รอยละ 46 สหรัฐอเมริกา

รอยละ 34 และยุโรปรอยละ 26 แตที่เหมือนกันคือการ

ติดเชื้อในโรงพยาบาลพบ MRSA มากกวา และ MRSA มี

แนวโนมเพิ�มขึ้นอยางตอเน��อง5 ตอมาในป ค.ศ. 2000 ได

มกีารจาํแนกใหมเปนการตดิเชือ้ในโรงพยาบาล (Nosoco-

mial) การติดเชื้อที่เกี่ยวของกับโรงพยาบาล (Healthcare-

associated) และการติดเชื้อในชุมชน (Community-

acquired) พบวา MRSA เปนสาเหตรุอยละ 61, 52 และ 14

ของการติดเชื้อในกระแสเลือดในโรงพยาบาล ที่เกี่ยวของ

กับโรงพยาบาล และในชุมชนตามลําดับ19

ปจจุบันนักวิทยาศาสตรทราบลักษณะพันธุกรรม

ของ MRSA ทีม่าจากชมุชน และทีเ่กีย่วของกบัโรงพยาบาล

(CA-MRSA และ HA-MRSA) ซึ�งมีความแตกตางกัน จาก

ขอมูลการเฝาระวัง MRSA ทั�วเอเชียรวมทั้งประเทศไทย

พบอัตราสวนของ MRSA รอยละ 26 และ 67 ของการติด

เชื้อ S. aureus ในชุมชน และการติดเชื้อที่เกี่ยวของกับ

โรงพยาบาลตามลําดับ แตพบสายพันธุกรรมของทั้งสอง

ฝายปะปนกนัไดบาง ซึ�งแสดงถงึการแพรตดิตอของ MRSA

ไมวาจะเปน CA-MRSA หรือ HA-MRSA20 อยางไรก็ตาม

ยังไมมีรายงานผูปวย CA-MRSA ที่ยืนยันแน�นอนในคน

ไทย เน��องจากอาจจะยังไมมีผูศึกษาวิจัยโดยเฉพาะศึกษา

ในผูปวยที่ไมไดรับไวในโรงพยาบาล และการตรวจเพื่อ

แยกลักษณะทางพันธุกรรมของเชื้อ MRSA ที่แยกไดใน

ประเทศไทยยังมีนอย2,7,21

พยาธิกําเนิด

S. aureus กอโรคไดทั้ง toxin-mediated

และเกิดจากตัวเชื้อเองที่มี virulence เขาสูรางกาย

และกอโรคขึ้น โรคจาก toxin-mediated เกิดจาก

เชื้อ S. aureus ที่อาศัยอยูบริเวณเยื่อบุของรางกาย

ปกติ หรืออยูที่บาดแผล อยูบนสิ�งแปลกปลอม เชน

ผาอนามัยแบบสอด หวงคุมกําเนิด แมกระทั�งอุปกรณ

ทางการแพทยที่คาไวในรางกาย เชน สายสวนหลอดเลือด

หรือเชื้อที่อาศัยอยูในหลอดลม สรางท็อกซิน ที่สําคัญ

ไดแก1,10,11

1. Exfoliative toxin A และ B กระจายไป

ทั�วรางกาย ทําใหมีการหลุดลอกที่ชั้นของผิวหนังสวน

epidermis เปนแผนๆ เกิดโรค Scalded skin syndrome

หรืออยูเฉพาะที่เกิด Bullous impetigo

2. Toxic shock syndrome toxin -1 (TSST-1)

มีคุณสมบัติเปน Superantigen คือสามารถกระตุน

เม็ดเลือดขาว T-lymphocyte ไดโดยตรงโดยไมจําเปน

ตองผานขั้นตอนปกติ ทําใหมีการหลั�ง cytokines

จํานวนมหาศาล เกิดลักษณะเดียวกันกับการกระตุน

ดวย endotoxin ของเชื้อแบคทีเรียกรัมลบ มีการรั�วซึม

ของพลาสมาจากหลอดเลือด มีการเปลี่ยนแปลงของ

hemodynamic นําไปสูภาวะช็อก และมีการทํางานของ

อวัยวะตางๆ ลมเหลวตามมา

3. Enterotoxin เชือ้ S. aureus สราง enterotoxin

ออกมาปนเปอนอาหารหรือเครื่องดื่มโดยที่ท็อกซิน น�้จะ

ไมถูกทําลายโดยความรอนจากการปรุงอาหาร มีผลทําให

คนทีก่นิอาหารปนเปอนทอ็กซนิ มอีาการปวดทอง อาเจยีน

ทองเสียในเวลา 2-6 ชั�วโมง

โดยปกติผิวหนัง หรือเยื่อบุของรางกายจะเปนตัว

ปองกันเชื้อ S. aureus อยางดี เมื่อผิวหนังมีบาดแผลโดย

เฉพาะเมือ่มสีิ�งแปลกปลอมเชือ้จะสามารถเขาสูรางกายได

และทาํใหเกดิโรคไดทัง้จากการทีเ่ชือ้กระจายไปตามกระแส

เลอืดหรอืเชือ้ทาํลายเน�อ้เยือ่เฉพาะที ่เมือ่เชือ้มกีารทาํลาย

เฉพาะที่จะทําใหรางกายตอบสนอง โดยเกิดการอักเสบขึ้น

และสรางผนังไฟบริน มีเม็ดเลือดขาวชนิดนิวโทรฟลมา

จับกินเชื้อ ทําใหเชื้อสวนใหญตาย มีการทําลายเปนหนอง

(Liquefaction necrosis) อยูภายใน เกดิเปนฝหนองซึ�งเปน

ลกัษณะทีส่าํคญัของ S. aureus อาจเกดิไดตัง้แตอวยัวะชัน้

ตืน้ๆ เชน ผวิหนงั กลามเน�อ้ ตอมน้าํเหลอืงใตผวิหนงั หรอื

อวัยวะที่ลึกลงไป เชน กระดูกและขอ ไต ตับ นอกจากน�้

เชื้ออาจจะสามารถหลุดเขาสูระบบเลือด หรือแพรกระจาย

Page 5: ป ยรัชต สันตะรัตติวงศ¸§ัคซีนป้องกันโรค... · 2.1 ลิ้นหัวใจอักเสบ (Infective endocarditis-IE)

วัคซ�นที่อยู�ระหว�างการว�จัย วัคซีน 619บทที่ 47 วัคซ�นป�องกันโรคติดเช�้อสแตฟฟ�ลโลคอคคัสวัคซ�นที่อยู�ระหว�างการว�จัย

ทางเลอืดโดยตรง ทาํใหเกดิโรคทีอ่วยัวะตางๆ เชน กระดกู

ปอด และลิ้นหัวใจ1,10,11

อาการทางคลินิกและภาวะแทรกซอน

S. aureus ทาํใหเกดิอาการทางคลนิกิหลากหลาย

อาจจัดเปนกลุมไดดังตอไปน�้

1. การติดเชื้อในตําแหน�งที่อยูตื้น ไดแก การ

ติดเชื้อที่ผิวหนังและชั้นใตผิวหนัง ที่ตอมน้ําเหลือง

ตอมน้ําลายพาโรติด การติดเชื้อที่แผล เปนตน อาการ

เริ�มดวยมกีารอกัเสบเฉพาะที่ไดแก มลีกัษณะปวด บวมแดง

รอน สวนใหญไมคอยมีไขและไมคอยมีภาวะแทรกซอน

แตบางรายถามีการอักเสบเปนวงกวางอาจจะมีไขได เชน

cellulitis หรือ pyomyositis บางครั้งมีลักษณะเปนฝหนอง

ผูปวยบางรายอาจเกดิภาวะแทรกซอนจากการที ่S. aureus

เขาสูกระแสเลือดหรือสรางท็อกซิน นอกจากน�้ S. aureus

สามารถทําใหเกิด necrotizing fasciitis ได ซึ�งลักษณะการ

อักเสบเฉพาะที่จะรุนแรง มีอาการปวดมาก มีการทําลาย

เน��อเยื่อและเชื้อสรางท็อกซิน ทําใหเกิดภาวะช็อก จําเปน

ตองใหการรักษาดวยการผาตัดและใหยา1

2. การติดเชื้อโดยแพรกระจายทางกระแสเลือด

การที่เชื้อ S. aureus เขาสูกระแสเลือดทําใหเกิดโรคที่

อวัยวะตางๆ อาการและอาการแสดงจะเปนไปตามระบบ

อวยัวะนัน้ๆ แตลกัษณะโดยรวมทีพ่บ คอืผูปวยมไีขสงู ปวด

ตามตวั ปวดทอง คลืน่ไสอาเจยีน บางรายโดยเฉพาะผูปวย

ที่ตรวจพบแบคทีเรียในเลือด จะมีอาการของ systemic

inflammatory response หรอืมภีาวะเซพสสิรวมดวย ผูปวย

จะมีอาการหายใจเร็ว หวัใจเตนเร็ว ตรวจพบเมด็เลือดขาว

ต่ําหรือสูงกวาปกติ มีเกร็ดเลือดต่ํา และพบภาวะ DIC ได

การติดเชื้อ S. aureus ชนิดลุกลาม เชน

2.1 ลิ้นหัวใจอักเสบ (Infective endocarditis-IE)

S. aureus ทําใหเกิดลิ้นหัวใจอักเสบเฉ�ยบพลัน (Acute IE)

นอกจากอาการทั�วไปขางตนแลว ผูปวยจะมีอาการหอบ

เหน��อยซึ�งอาจเกดิจากภาวะหวัใจลมเหลว หรอื pulmonary

emboli ถาเปนทีห่วัใจดานขวา การตรวจรางกายอาจจะพบ

cardiac murmur จากลิ้นหัวใจรั�ว และตรวจพบลักษณะ

ของ septic emboli ที่ผิวหนังหรือเยื่อบุ (รูปที่ 2) ผูปวย

บางรายอาจมีอาการทางระบบประสาท เชน hemiplegia

จาก septic emboli ไปยังสมอง1,22

2.2 เยื่อหุมหัวใจอักเสบมีหนอง (Purulent peri-

carditis) ผูปวยมีอาการเจ็บตรง precordial เหน��อย ตรวจ

รางกายอาจไดยินเสียง friction rub หรือไดยินเสียงหัวใจ

เบาลง เห็นภาพรังสีมีหัวใจโต ภาวะแทรกซอนที่รุนแรง

คือ cardiac tamponade ผูปวยมักตองทํา pericardiocen-

thesis จะมีน้ําลักษณะขุน หรือเปนหนอง บางรายตองทํา

surgical drainage1,22

2.3 ปอดอักเสบ โดยทั�วไปแยกไมไดจากปอด

อักเสบที่เกิดจากแบคทีเรียชนิดอื่น แต S. aureus pneu-

monia มักจะอาการรุนแรง มีการทําลายเน�้อปอดมาก

(Necrotizing pneumonia) อาจเห็นลักษณะโพรงหรือถุง

ลมในภาพรังสีปอด มีภาวะแทรกซอนเฉพาะที่คือเปนฝใน

ปอด และเปนหนองในชองเยื่อหุมปอดไดบอย1

2.4 ขออักเสบ S. aureus เปนสาเหตุของขอ

รูปที่ 2 Osler’s node และ Janeway lesion ในผูปวย S. aureus

septicemia with acute IE

Page 6: ป ยรัชต สันตะรัตติวงศ¸§ัคซีนป้องกันโรค... · 2.1 ลิ้นหัวใจอักเสบ (Infective endocarditis-IE)

วัคซีน620 วัคซ�นที่อยู�ระหว�างการว�จัย บทที่ 47 วัคซ�นป�องกันโรคติดเช�้อสแตฟฟ�ลโลคอคคัสวัคซ�นที่อยู�ระหว�างการว�จัย

อักเสบเฉ�ยบพลันไดมากที่สุด ผูปวยจะมีอาการปวด

และอักเสบบริเวณขอที่เปนอยางรุนแรง สวนใหญเกิด

ที่ขอขนาดใหญ มักเปนขอเดียว แตอาจจะเปนหลาย

ตําแหน�งไดโดยเฉพาะเด็กทารก23 บางครั้งพบรวมกับการ

ติดเชื้อแบบแพรกระจายที่ตําแหน�งอื่นดวยโดยเฉพาะเด็ก

เล็กและผูปวยภูมิคุมกันบกพรอง

2.5 กระดูกอักเสบ แบงเปนเฉ�ยบชนิดพลัน

และเรื้อรัง (Acute or Chronic osteomyelitis) ชนิด

เฉ�ยบพลันมักพบในเด็กเล็กและผูสูงอายุที่มีการติดเชื้อ

S. aureus ในกระแสเลือด มีอาการทาง systemic รวม

กับอาการปวดและไมคอยขยับตําแหน�งที่มีการติดเชื้อ

ภาพรังสีจะเห็นความผิดปกติของกระดูกหลังจากการ

ติดเชื้อ 2-3 สัปดาหแลว สวนการติดเชื้อชนิดเรื้อรังมัก

มีอาการทาง systemic นอยแตจะมีการทําลายเฉพาะที่

เชน มีหนองหรือชิ้นสวนของกระดูกที่ถูกทําลาย อาจ

กลายเปน fistula tract

นอกจากน�้ S. aureus อาจทําใหเกิดการติดเชื้อ

ไดที่ตําแหน�งสําคัญอื่นๆ เชน brain abscess, epidural

abscess, discitis และ cavernous sinus thrombosis

แตไมทําใหเกิดเยื่อหุมสมองอักเสบ ยกเวนมีสิ�งแปลก

ปลอม เชน venticuloperitoneum shunt11

3. โรคที่เกิดจากท็อกซิน เชน

3.1 Staphylococcal scalded skin syndrome

(SSSS) เกิดจาก epidermolytic toxin ของ S. aureus

ที่กระจายไปยังผิวหนังทั�วรางกายทําใหผิวหนังลอกหลุด

เปนแผน พบเฉพาะในเด็กเล็ก น้ําในตุมจะใสและไมมี

เชื้ออยู อาจจะมีไข ออนเพลีย ปวดเมื่อยตามตัว

กรณ�ที่ท็อกซินเกิดขึ้นเฉพาะที่ในทารกซึ�งมี anti-toxin

antibodyจากมารดา จะมีตุมและผิวหนังลอกเฉพาะที่

ตรวจพบเชื้อในตุมน้ํา เรียกวา Bullous impetigo

(รูปที่ 3, 4)

3.2 Staphylococcal toxic shock syndrome

เกิดจาก TSST-1 ถาเปนชนิดที่สัมพันธกับการใชผา

อนามัยแบบสอดจะเกิดอาการใน 1-2 วันหลังจากมีประจํา

เดือน หรือเกิดหลังจากการติดเชื้อ S. aureus ตําแหน�ง

อื่นๆ เชน เล็บขบ แผลผาตัด ซึ�งบริเวณที่ติดเชื้อเองมัก

จะไมคอยมกีารอกัเสบ เชือ่วาทอ็กซนิสามารถสกดักัน้เมด็

เลอืดขาวไมใหมาทีต่าํแหน�งทีต่ดิเชือ้1 อาการทีส่าํคญัคอืไข

รูปที่ 3 Bullous impetigo ตุมพองขนาดใหญและผิวหนังลอกเกิด

จาก epidermolytic toxin ของ S. aureus

(รูปโดย ศรีศุภลักษณ สิงคาลวณิช)

รูปที่ 4 ผูปวย SSSS พบเชื้อ S. aureus ในโพรงจมูก และมี

ผิวหนังลอกหลุด

(รูปโดย ศรีศุภลักษณ สิงคาลวณิช)

Page 7: ป ยรัชต สันตะรัตติวงศ¸§ัคซีนป้องกันโรค... · 2.1 ลิ้นหัวใจอักเสบ (Infective endocarditis-IE)

วัคซ�นที่อยู�ระหว�างการว�จัย วัคซีน 621บทที่ 47 วัคซ�นป�องกันโรคติดเช�้อสแตฟฟ�ลโลคอคคัสวัคซ�นที่อยู�ระหว�างการว�จัย

สงู ผืน่แดงตามตวั ความดนัโลหติต่าํ และมอีาการทีอ่วยัวะ

อืน่รวมดวย เชน คลืน่ไสอาเจยีน ทองเดนิ กลามเน�อ้อกัเสบ

การทาํงานของไตลดลง ตรวจพบเมด็เลอืดขาวในปสสาวะ

เกร็ดเลือดต่ํา หรือมีการทํางานของตับผิดปกติ1,11

การวินิจฉัย

การวนิจิฉยัทาํไดโดยการแยกเชือ้ไดจากตาํแหน�ง

ที่มีการติดเชื้อ เชน ตุมหนองที่ผิวหนัง หนองจากขอ

กระดูก หรือจากอวัยวะตางๆ เชน เยื่อหุมปอด เยื่อหุม

หัวใจ ฝในตับ หรืออื่นๆ การตรวจเบื้องตนที่สําคัญคือการ

ยอมสกีรมั แตการยนืยนัคอืการเพาะเชือ้ เชือ้แบคทเีรยี S.

aureus เติบโตไดดีทั้งใน blood agar และ liquid media

เชน Mueller-Hinton broth เชื้อขึ้นเร็วใน 18-24 ชั�วโมง1

สําหรับโรคที่เกิดจากท็อกซิน นั้นการวินิจฉัยอาศัยอาการ

ทางคลินิก รวมกับควรตรวจหาเชื้อจากตําแหน�งที่สงสัย

เน��องจาก S. aureus ที่สรางท็อกซิน อาจจะอาศัยอยูโดย

ไมกอโรค การตรวจพบเชือ้ทีส่รางทอ็กซนิอยางเดยีวจงึไม

สามารถยืนยันการวินิจฉัยได11

การแยกเชื้อสามารถดูจากลักษณะทางกายภาพ

(Phenotypic tests) ซึ�งทาํในหองปฏบิตักิารสวนใหญ ไดแก

การตรวจ Coagulase ใหผลบวกและตรวจ Agglutination

test ใหผลบวก ซึ�งเปนการตรวจคุณสมบัติของ surface

proteins ตางๆ ทีส่ามารถทาํใหม ีagglutination พบเฉพาะ

ใน S. aureus โดยไมพบใน Staphylococci อื่นๆ1

การติดเชื้อ S. aureus ชนิดลุกลามควรเพาะเชื้อ

จากเลือดดวยเสมอ และควรทําอยางนอย 2 ครั้งโดยไม

จําเปนตองรอตรวจครั้งที่ 2 หรือรอตรวจตอนมีไขกอนที่

จะใหยาตานจุลชีพ โดยทั�วไปภาวะ IE มักจะตรวจพบเชื้อ

จากเลอืด ในขณะทีป่อดอกัเสบพบเชือ้จากเลอืดไดนอยกวา

รอยละ 50 และพบเชื้อจากเลือดประมาณครึ�งหนึ�งสําหรับ

การติดเชื้อจากกระดูกและขอ1,10 การศึกษาเด็กที่มีการติด

เชื้อเฉ�ยบพลันจากกระดูกและขอ ณ สถาบันสุขภาพเด็ก

แหงชาติมหาราชิน� ระหวางป พ.ศ. 2539-2549 สามารถ

ตรวจยืนยันเชื้อสาเหตุไดรอยละ 80 ในจํานวนนั้นสามารถ

ตรวจพบเชือ้จากเลอืดไดรอยละ 44 และเชือ้สาเหตเุกดิจาก

S. aureus รอยละ 65 โดยเปน MSSA และ MRSA รอยละ

47 และ 18 ตามลาํดบั23 เมือ่แยกเชือ้ไดควรตรวจหาความ

ไวตอยาตานจลุชพี หองปฏบิตักิารทั�วไปมกัจะใชการตรวจ

ดวย Agar diffusion เชน Kirby-Bauer และ E-test1

การวินิจฉัยโดยอณูชีววิทยา (Molecular diagnosis)

ปจจุบันมีการนํามาใชมากขึ้น เน��องจากสามารถ

แยกเชื้อดื้อยาไดผลเร็วภายในเวลาเปนชั�วโมง1 โดยการ

ตรวจหา Staphylococcal Cassette Chromosome mec

(SCCmec) ซึ�งเปนกลุมของยีนที่มียีน mecA อยู ยีน

mecA น�้มีหนาที่ถายทอดลักษณะของ Penicillin-Binding

Protein 2 (PBP2) ใหเปลี่ยนเปน PBP2a หรือ PBP2’ ซึ�ง

ทาํใหยาตานจลุชพีกลุมเบตาแลคแตม ไมสามารถเขาสูตวั

แบคทีเรียและออกฤทธิ์ยับยั้งการสรางผนังเซลลได กลุม

ของ SCCmec ทีส่มัพนัธกบั MRSA ถกูจาํแนกได 8 ชนดิ24

จากการระบาดของ MRSA วิธีการที่ถูกนํามาใช

ตรวจวินิจฉัย เชน Pulsed Field Gel Electrophoresis

(PFGE), Multi-locus Sequence Typing (MLST) และการ

ทํา SCCmec Typing ดวยเทคนิคตางๆ วิธี MLST ทําได

เฉพาะหองปฏิบัติการที่สามารถทํา sequencing ยีนได

โดยเปรียบเทียบกับ http://www.mlst.net มีขอดีคือ ทําให

ปจจุบันสามารถสืบที่มาของสายพันธุ MRSA ได ตัวอยาง

เชน สายพันธุ ST30-MRSA-IV (ST30 คือ Sequencing

type 30) Southwest Pacific clone มาจาก ST30-MSSA

สายพันธุ 80/81 ที่รับ SCCmec type IV มานั�นเอง24

การวินิจฉัยเชื้อดื้อยา

HA-MRSA ดื้อตอยาตานจุลชีพกลุมเบตา

แลคแตมและดื้อยากลุมอื่นดวย ไดแก aminoglycosides,

erythromycin, clindamycin, fluoroquinolone และ tetra-

cycline จึงจําเปนตองใชยาในกลุม Glycopeptides ไดแก

vancomycin เสมอ ในขณะที่เชื้อ CA-MRSA ดื้อตอยา

เบตาแลคแตม แตอาจจะยังไวตอยากลุมอื่นอยู ในพื้นที่

ซึ�งมีผูปวยติดเชื้อ MRSA ทั้ง 2 ชนิดจึงไมจําเปนตองใช

vancomycin ทุกครั้งที่พบเชื้อ MRSA ถาวินิจฉัยวาการ

Page 8: ป ยรัชต สันตะรัตติวงศ¸§ัคซีนป้องกันโรค... · 2.1 ลิ้นหัวใจอักเสบ (Infective endocarditis-IE)

วัคซีน622 วัคซ�นที่อยู�ระหว�างการว�จัย บทที่ 47 วัคซ�นป�องกันโรคติดเช�้อสแตฟฟ�ลโลคอคคัสวัคซ�นที่อยู�ระหว�างการว�จัย

ติดเชื้อนั้นเกิดจาก CA-MRSA มีความพยายามจําแนก

ลักษณะของ HA-MRSA และ CA-MRSA ไว ดังแสดง

ในตารางที่ 225 อยางไรก็ตามลักษณะดังกลาวไมสามารถ

ใชไดทัง้หมด ในการรกัษาผูปวยตองอาศยัการแยกเชือ้และ

ดูจากผลการทดสอบการดื้อยาโดยคา Minimal Inhibitory

Concentration (MIC) เปนสําคัญ เชื้อ S. aureus ที่มีคา

MIC 4 มคก./มล. หรือมากกวาจัดเปน MRSA

เชื้อ CA-MRSA ที่ไวตอ clindamycin แตดื้อตอ

erythromycin มีโอกาสดื้อ clindamycin เมื่อเริ�มนํามาใช

รกัษาจรงิไดเรยีกวา “Clindamycin-inducible resistance”

การทดสอบการดือ้ยาทั�วไปจะไมสามารถหาการดือ้ยาน�้ได

จําเปนจะตองทดสอบเพิ�มเติมโดยการทดสอบที่เรียกวา

“D-zone test” ซึ�งจะเห็นวาเมื่อวางแผนยา erythromycin

และ clindamycin ในจานเดยีวกนั เชือ้จะไมสามารถเตบิโต

ไดรอบแผนยา clindamycin ยกเวนตําแหน�งที่ใกลกับยา

erythromycin จึงเห็นเปน zone รูปตัว D (รูปที่ 5)10

นอกจาก MRSA แลว เชื้อ S. aureus อาจจะดื้อ

ตอยา vancomycin เมื่อพบวาเปน MRSA และมีคา MIC

ตอ vancomycin สูงกวา 4 มคก./มล. จะตองตรวจยืนยัน

รายงานและใชมาตรการควบคุมการแพรกระจายโรคอยาง

เขมขน โดยเฉพาะถาพบวาเปน VRSA (MIC เกิน 16

มคก./มล.) เน��องจาก VRSA เกิดจากการรับเอายีน vanA

จากเชื้อ Enterococci ซึ�งสามารถถายทอดตอไดและจะ

ทําใหมีปญหาในการรักษาอยางมาก10,11

การรักษา

โรคติดเชื้อ S. aureus ทั้งการติดเชื้อในตําแหน�ง

ที่อยูตื้น และการติดเชื้อลุกลามเปนโรคที่พบบอยทําให

ในประเทศที่มีอุบัติการณของ MRSA สูงทั้ง HA-MRSA

และ CA-MRSA มีปญหาในการรักษา คือไมสามารถใช

cloxacillin หรือยาอื่นในกลุมเบตาแลคแตมได แนวทาง

การรักษาสําหรับการติดเชื้อที่ผิวหนังและเน�้อเยื่อ (Skin

and soft tissue infection, SSTIs) ในประเทศเหลาน�้

ตารางที่ 2 ลักษณะที่อาจชวยจําแนก HA-MRSA และ CA-MRSA25

ลักษณะ HA-MRSA CA-MRSA

ทางคลินิก การติดเชื้อแผลผาตัด และ

การติดเชื้อชนิดลุกลาม

การติดเชื้อที่ผิวหนังหรือเน�้อเยื่อออน

(มีรายงานปอดอักเสบ)

ทางระบาดวิทยา ผูปวยสูงอายุหรือทารก

เกี่ยวของกับโรงพยาบาล

ผูปวยแข็งแรง

คายทหาร กลุมนักกีฬา

ผลความไวตอยา ดื้อเบตาแลคแตมและยาอื่น ดื้อเบตาแลคแตม

อณูชีววิทยา PVL

SCCmec I-III

PVL

SCCmec IV-V

รูปที่ 5 การทดสอบ Clindamycin-inducible resistance ดวย

D-zone test

(จากเอกสารอางอิงหมายเลข 10)

Page 9: ป ยรัชต สันตะรัตติวงศ¸§ัคซีนป้องกันโรค... · 2.1 ลิ้นหัวใจอักเสบ (Infective endocarditis-IE)

วัคซ�นที่อยู�ระหว�างการว�จัย วัคซีน 623บทที่ 47 วัคซ�นป�องกันโรคติดเช�้อสแตฟฟ�ลโลคอคคัสวัคซ�นที่อยู�ระหว�างการว�จัย

จงึมุงไปทีก่ารเจาะดดูเอาหนองออกและใชยาตานจลุชพีใน

ผูปวยเฉพาะกลุม11,26 ไดแก

• การติดเชื้อขนาดใหญ หรือเปนหลายตําแหน�ง

• เปน cellulitis ที่อาการเพิ�มขึ้นเร็ว

• มีอาการทั�วไปรวมดวย เชน มีไข

• ผูปวยทีม่โีรคประจาํตวั มภีาวะภมูคิุมกนับกพรอง

สูงอายุ

• เปนฝในตําแหน�งที่การดูดเอาหนองออกทําได

ไมดี

• มีการอักเสบของหลอดเลือดรวมดวย (septic

phlebitis)

• ไมดีขึ้นจากการรักษาดวยการเจาะดูดหนอง

ยาที่เลือกใชไดแก clindamycin, trimethoprim-

sulfamethoxazole (TMP/SMX), doxycycline ในเด็ก

อายุเกิน 7 ป และ linezolid และถาตองการครอบคลุม

เชือ้ Streptococcus group A ดวย อาจเลอืก clindamycin

หรือ linezolid อยางเดียว หรือ TMP/SMX หรือ doxy-

cycline รวมกับยากลุมเบตาแลคแตม เชน amoxicillin

ในเด็กที่เปน impetigo หรือแผลติดเชื้อไมมาก อาจเลือก

ใชยาทา 2% mupirocin ointment26 สําหรับประเทศไทย

ยังคงเลือกใช cloxacillin เปนทางเลือกแรกสําหรับการติด

เชื้อที่ไมไดเปนการติดเชื้อในโรงพยาบาล

ในการตดิเชือ้ SSTIs ทีม่ภีาวะแทรกซอนและตอง

นอนโรงพยาบาล ในประเทศที่มี CA-MRSA ยาที่เลือก

ใชไดแก vancomycin, linezolid หรือ clindamycin กรณ�

ที่อุบัติการณของการดื้อตอยา clindamycin นอยกวารอย

ละ 1026

สําหรับการติดเชื้อชนิดลุกลามแนวทางการใหยา

ตานจุลชีพดังแสดงในตารางที่ 311 ทั้งน�้การรักษาจะตอง

รวมกบัพยายามเจาะดดูหนองออก ไมวาจะเปนการตดิเชือ้

ในตาํแหน�งใด และ/หรอืการเอาสิ�งแปลกปลอมออกสาํหรบั

การตดิเชือ้ S. aureus เสมอ11,26 อยางไรกต็ามขอพจิารณา

สําหรับประเทศไทยคือ ยังไมมีรายงานผูปวยพิสูจนยืนยัน

CA-MRSA ดังนั้น cloxacillin ยังคงเปนทางเลือกแรก

สําหรับผูปวยที่ติดเชื้อมาจากชุมชน นอกจากน�้ในกรณ�ที่

ทราบผลความไววาเปน MSSA ควรใช cloxacillin รักษา

เน��องจากเปนยาทีม่ปีระสทิธภิาพสงูในการรกัษาการตดิเชือ้

S. aureus ชนิดลุกลาม และเปนการลดการเกิดเชื้อดื้อยา

vancomycin และ clindamycin11

สิ�งหนึ�งที่ตองปฏิบัติเสมอสําหรับการควบคุมการ

แพรกระจายของ S. aureus คือการปองกัน เน��องจาก

ติดเชื้อจากการสัมผัสโดยทางตรงและทางออม ดังนั้น

มาตรการที่ดีที่สุดคือการลางมือ โดยผูที่จะนําพาเชื้อที่

สาํคญัคอื บคุลากรทางการแพทย ดงันัน้จะตองลางมอืกอน

และหลงัสมัผสัผูปวย มาตรการอืน่ๆ ไดแก การใสเสือ้กาวน

การใสถุงมือ เปนตน

เน��องจากกลุมผูปวยที่มีโอกาสติดเชื้อไดงาย

และมีโอกาสเกิดโรครุนแรงจากเชื้อ S. aureus สวนหนึ�ง

เปนผูปวยซึ�งอาจจะสรางภูมิคุมกันไดไมดี เชน เด็กทารก

ผูปวยลางไต (ซึ�งมีภาวะไตวายอยู) เปนตน ดังนั้นการให

Passive immunization จึงเปนทางออกในการปองกันโรค

ไดมกีารพฒันา Passive immunization หลายชนดิ ไดแก27

1. Veronate (INH-A21)

ทําจากอิมมูโนโกลบุลินของคนที่มีแอนติบอดี

ตอ Clumping factor A (Clf A) ซึ�งเปน surface protein

ของ S. aureus ที่ใชในการจับกับ fibrinogen Clf A

มีสวนในการทําใหเชื้อสามารถยึดเกาะกับผิวเซลล เกิด

กอน clot และทาํลายเซลลเยือ่บหุลอดเลอืด การศกึษาวจิยั

ระยะที่ 2 มีแนวโนมวา Veronate อาจจะชวยลดอัตราตาย

ของทารก แตเมือ่ทาํวจิยัระยะที ่3 ในทารกแรกเกดิน้าํหนกั

ตัวนอยพบวาไมสามารถปองกัน late-onset sepsis จาก

S. aureus ได28

2. AltaStaph

เปนแอนติบอดีตอ Capsular Polysaccharide

5 และ 8 การศึกษาวิจัยในทารกแรกเกิดน้ําหนักตัวนอย

Passive immunization

Page 10: ป ยรัชต สันตะรัตติวงศ¸§ัคซีนป้องกันโรค... · 2.1 ลิ้นหัวใจอักเสบ (Infective endocarditis-IE)

วัคซีน624 วัคซ�นที่อยู�ระหว�างการว�จัย บทที่ 47 วัคซ�นป�องกันโรคติดเช�้อสแตฟฟ�ลโลคอคคัสวัคซ�นที่อยู�ระหว�างการว�จัย

พบวาไมสามารถปองกันภาวะติดเชื้อในกระแสเลือดจาก

S. aureus และไมลดอัตราตายเมื่อใชเปน adjunctive

therapy ในผูปวยทารกที่ติดเชื้อในกระแสเลือดดวย27

3. Paglibaximab

เปนแอนติบอดีตอ Lipoteichoic acid ซึ�งเปน

สวนของผนังเซลลของเชื้อแบคทีเรียกรัมบวก (รูปที่ 1)

และมีสวนสรางภูมิคุมกันโรค การศึกษาวิจัยระยะที่ 1/2

ในทารกแรกเกิดมีแนวโนมวาจะปองกัน S. aureus sepsis

ได และทางบริษัทผูผลิตกําลังดําเนินการวิจัยตอในระยะที่

2/3 ตอไป27,29

นอกจากน�้ยังมีแอนติบอดีตอ Surface proteins

ของ S. aureus อีกหลายชนิดที่ไดรับการพัฒนา เชน

Tefibazumab หรือแอนติบอดีตอ MSCRAMM (รูปที่ 1)

อาจจะมีโอกาสนํามาใชปองกันโรคติดเชื้อ S. aureus

หรือใชเปน adjunctive therapy ตอไปในอนาคต แต

ขณะน�้ยังไมแนะนําใหใช Passive immunization ในการ

ปองกันการติดเชื้อ S. aureus ในทารกแรกเกิด30 และยัง

ตองการขอมลูเพิ�มเตมิซึ�งอยูระหวางการศกึษาวจิยัในผูปวย

กลุมอื่น เชน ผูปวยลางไต27

ในขณะทีว่คัซนีปองกนัโรคตดิเชือ้แบคทเีรยีหลาย

ชนิดประสบความสําเร็จในการนํามาใช แตวัคซีนปองกัน

โรคติดเชื้อสแตฟฟลโลคอคคัส แมจะมีความพยายามของ

นักวิทยาศาสตรมากมายแตยังอยูในระหวางการพัฒนา

เทานั้น อุปสรรคอยางหนึ�งคือความรุนแรงของโรคติดเชื้อ

ตารางที่ 3 แนวทางการใชยาตานจุลชีพในผูปวยติดเชื้อ S. aureus11

Susceptibility Antimicrobial Agents Comments

1. Initial empiric therapy (unknown susceptibility) Vancomycin +

Cloxacillin + GentamicinLife-threatening infections

Cloxacillin Nonlife-threatening infection when rate of MRSA are lowClindamycin Nonlife-threatening infection when rate of MRSA are substantial AND

prevalence of clindamycin resistance is lowVancomycin Nonlife-threatening infection when rate of MRSA are substantial AND

prevalence of clindamycin resistance is high

2. Methicillin-susceptible S. aureusCloxacillinCefazolinClindamycin Serious penicillin allergy AND clindamycin susceptible strain AND

nonlife-threatening infectionVancomycin Serious penicillin allergy AND clindamycin resistant strain

3. MRSA (Oxacillin MIC 4 มคก./มล. หรือมากกวา)HA-MRSA VancomycinAlternatives TMP/SMX, Linezolid

Fluoroquinolone(If susceptible)

CA-MRSA Vancomycin Life-threatening infectionsClindamycin(If susceptible)

Pneumonia, septic arthritis, osteomyelitis, SSTIs

4. VISA (MIC 4-16 มคก./มล.)Choices Linezolid, daptomycin

TigecyclineOptimal therapy is not known, depend on susceptibility test results

วัคซีนปองกันโรคติดเชื้อสแตฟฟลโลคอคคัส

Page 11: ป ยรัชต สันตะรัตติวงศ¸§ัคซีนป้องกันโรค... · 2.1 ลิ้นหัวใจอักเสบ (Infective endocarditis-IE)

วัคซ�นที่อยู�ระหว�างการว�จัย วัคซีน 625บทที่ 47 วัคซ�นป�องกันโรคติดเช�้อสแตฟฟ�ลโลคอคคัสวัคซ�นที่อยู�ระหว�างการว�จัย

S. aureus ขึ้นอยูกับสวนประกอบและปจจัยของเชื้อหลาย

ประการ29,31 อยางไรกต็ามวคัซนีตนแบบหลายชนดิมคีวาม

เปนไปได บางชนิดไดมีการทดสอบในมนุษยแลว (ระยะที่

1, 2 หรือ 3) แตยังไมมีวัคซีนที่ประสบความสําเร็จในการ

ศึกษาวิจัยระยะที่ 3 (ตารางที่ 4)27,29,31,32

โดยทั�วไปความพยายามสรางวคัซนีปองกนัโรคตดิ

เชือ้สแตฟฟลโลคอคคสัมทีศิทางทีจ่ะเลอืกใช Component

proteins มาเปนตัวกระตุนใหเกิดภูมิคุมกัน การศึกษา

วิจัยวัคซีนชนิด Conjugated capsular polysaccharide

(CP) 5 และ 8 (StaphyVAX) ในระยะที่ 2 พบวาน�าจะมี

ประสิทธิภาพในการลดการติดเชื้อ S. aureus ในกระแส

เลือดในผูปวยลางไตได แตเมื่อทําการวิจัยระยะที่ 3 ในผู

ปวยลางไต 3,600 ราย กลับพบวาไมมีประสิทธิภาพใน

การปองกันภาวะติดเชื้อ S. aureus ในกระแสเลือดเมี่อ

เทียบกับกลุมควบคุม ทางกลุมผูสรางวัคซีนจึงไดพัฒนา

วัคซีนใหม เปนวัคซีนชนิดคอนจูเกตที่มีสวนประกอบเพิ�ม

ขึ้นรวม 5 components ไดแก CP5, CP8, Teichoic acid,

Non-toxic mutants ของ α-toxin และ PVL ชื่อวัคซีน

PentaStaph กําลังอยูในการศึกษาวิจัยตอไป27

นอกจากน�้ยังมี Component proteins หรือ

แอนติเจนอื่นๆ โดยเทคนิคใหมๆ ที่ไดรับการพัฒนาเพื่อ

นํามาใชเปนวัคซีนปองกันโรคติดเชื้อ S. aureus เชน

Heteropolymers, Lipoteichoic acid (LTA) conjugated

และ Autoinducing peptides (AIPs) ที่มาจาก Accessory

gene regulator (agr) เปนตน27,29 และบางกลุมไดทําการ

ศึกษาวิจัยวัคซีนเพื่อลดการ colonization ซึ�งยังอยูในการ

ศึกษาวิจัยในสัตวทดลองเทานั้น

บทเรียนจากการศึกษาวิจัยวัคซีนปองกันโรค

ติดเชื้อ S. aureus ที่ผานมาไดแก เชื้อ S. aureus มีปจจัย

กอโรคหลายปจจัย จําเปนตองใชวัคซีนซึ�งประกอบดวย

แอนติเจนหลายชนิด และกระตุนกลไกตอตานการเกิดโรค

หลายดาน เชน กระตุนแอนติบอดี กระตุน Opsonization

ของเมด็เลอืดขาว บทเรยีนอกีดานหนึ�งคอื การศกึษาวคัซนี

ในผูปวยกลุมเสี่ยงที่เปนผูปวยภูมิคุมกันบกพรอง เชน ผู

ปวยไตวาย ทําใหระดับการตอบสนองของวัคซีนต่ํากวา

ปกติ กลุมเปาหมายในการศึกษาวิจัยจึงน�าจะเปนผูปวย

ภมูคิุมกนัปกตทิีม่คีวามเสีย่งกอน เชน ผูทีก่าํลงัเขารบัการ

ผาตัด อยางไรก็ตามการศึกษาวิจัยในกลุมดังกลาวจะไม

ชวยปองกันโรคชนิดรุนแรงซึ�งมักเกิดในคนที่มีภูมิคุมกัน

บกพรอง27

ตารางที่ 4 วัคซีนปองกันโรคติดเชื้อสแตฟฟลโลคอคคัส27,29,31,32

สวนประกอบ ผูผลิต หรือชื่อวัคซีน ศึกษาใน สถานะ

Live whole-cell - สัตวทดลอง ไดผลเฉพาะที่

Killed whole-cell Staphypen™ ผูปวยลางไต ไมสามารถปองกันโรค

Component Protein or Capsule

Conjugated CP5 and CP8 StaphyVAX (Nabi) ผูปวยลางไต ระยะ 3 ไมไดผล

IsdB

(Iron surface determinant B)

V710 (Merck) ผูปวยผาตัดหัวใจ

ผูปวยลางไต

กําลังอยูในระยะ 2

Multi-components

(IsdA, IsdB, SdrE, SdrD)

- สัตวทดลอง ไดผลในสัตวทดลอง

Exotoxin

Mutant of α-hemolysin - สัตวทดลอง

ผูปวยลางไต

ไดผลในสัตวทดลอง

ไมไดผลในคน

Mutant of TSST-1 - สัตวทดลอง ไดผลในสัตวทดลอง

Page 12: ป ยรัชต สันตะรัตติวงศ¸§ัคซีนป้องกันโรค... · 2.1 ลิ้นหัวใจอักเสบ (Infective endocarditis-IE)

วัคซีน626 วัคซ�นที่อยู�ระหว�างการว�จัย บทที่ 47 วัคซ�นป�องกันโรคติดเช�้อสแตฟฟ�ลโลคอคคัสวัคซ�นที่อยู�ระหว�างการว�จัย

ความทาทายของการเลือกใชแอนติเจนเพื่อเปน

สวนประกอบของวัคซีนปองกันโรคติดเชื้อ S. aureus คือ

จะตองเลอืกตวัทีม่คีณุสมบตักิระตุนภมูคิุมกนัโรคและพบได

จากสายพันธุกอโรคสวนใหญ ควรจะสามารถเสริมการจับ

กนิเชือ้โดยเมด็เลอืดขาวได และควรประกอบดวยแอนตเิจน

ซึ�งสามารถกระตุนภูมิคุมกันสําหรับยับยั้งการเกาะติดของ

เชื้อ S. aureus ยับยั้งการสราง Biofilm และ neutralize

toxin ของเชื้อไดดวย นอกจากน�้การทดสอบประสิทธิภาพ

ของวคัซนีควรจะสามารถปองกนัโรคตดิเชือ้ชนดิลกุลามได

หลากหลาย เชน การติดเชื้อที่ลิ้นหัวใจ ติดเชื้อในกระแส

เลือด ติดเชื้อแผลผาตัด และปอดอักเสบ เปนตน

ซึ�งนอกจากการพัฒนาวัคซีนแลว การศึกษาวิจัย

ในเรื่องของ Passive immunization และการรักษาโรคติด

เชื้อ S. aureus ดวยแอนติบอดี (Immunotherapy) ควรจะ

พฒันาไปพรอมกนั จากเทคโนโลยทีางการแพทยทีก่าวหนา

ขึ้น เชื่อวาวัคซีนปองกันโรคติดเชื้อสแตฟฟลโลคอคคัส

น�าจะเปนผลสําเร็จไดในอนาคต

เอกสารอางอิง

1. Que Y, Moreillon P. Staphylococcus aureus

(Including Staphylococcal Toxic Shock). In: Mandell

GL, Bennett JE, Dolin R, editors. Mandell, Douglas,

and Bennett’s Principles and Practice of Infectious

Diseases. 7th ed. Philadelphia: Elsevier Inc.; 2010. p.

2543-78.

2. Nickerson EK, Wuthiekanun V, Wongsuvan

G, Limmathurosakul D, Srisomang P, Mahavanakul

W, et al. Factor predicting and reducing mortality in

patients with invasive Staphylococcus aureus Disease

in a developing country. PLoS ONE. 2009;4:e6512.

3. Nickerson EK, Wuthiekanun V, Day NP,

Chaowagul W, Peacock SJ. Meticillin-resistant

Staphylococcus aureus in rural Asia. Lancet Infect

Dis. 2006;6:70-1.

4. Nickerson EK, Hongsuwan M, Limmathu-

rosakul D, Wuthiekanun V, Shah KR, Srisomang P,

et al. Staphylococcus aureus bacteraemia in a tropi-

cal setting: patient outcome and impact of antibiotic

resistance. PloS ONE. 2009;4:e4308.

5. Diekema DJ, Pfaller MA, Schmitz FJ,

Smayevsky J, Bell J, Jones RN, et al. Survey of in-

fections due to Staphylococcus species: frequency of

occurrence and antimicrobial susceptibility of isolates

collected in the United States, Canada, Latin America,

Europe, and the Western Pacific region for the SEN-

TRY Antimicrobial Surveillance Program, 1997–1999.

Clin Infect Dis. 2001;32(suppl 2):S114-32.

6. Tishyadhigama P, Dejsirilert S, Thongmali

O, Sawanpanyalert P, Aswapokee N, Piboonbanakit

D. Antimicrobial Resistance among Clinical Isolates

of Staphylococcus aureus in Thailand from 2000 to

2005. J Med Assoc Thai. 2009;92(Suppl 4):S8-18.

7. Mekviwattanawong S, Srifuengfung S,

Chokepaibulkit K, Lohsiriwat D, Thamlikitkul V. Epide-

miology of Staphylococcus aureus infections and the

prevalence of infection caused by community-acquired

Methicillin-Resistant Staphylococcus aureus in hospi-

talized patients at Siriraj Hospital. J Med Assoc Thai.

2006;89(Suppl 5):S106-17.

8. Lulitanond A, Chanawong A, Sribenjalux

P, Khewkes W, Vorachit M, Chongtrakool P, et al.

Detection of heterogenous, intermediate-vancomycin-

resistant Staphylococcus aureus (hVISA) using low-

concentration vancomycin disks. Southeast Asian J

Trop Med Public Health. 2006;37:761-7.

9. Phongsamart W, Srifeungfung S, Tiensasi-

torn C, Vanprapar N, Chearskul S, Chokephaibulkit K.

The first pediatric case of Staphylococcus aureus with

Page 13: ป ยรัชต สันตะรัตติวงศ¸§ัคซีนป้องกันโรค... · 2.1 ลิ้นหัวใจอักเสบ (Infective endocarditis-IE)

วัคซ�นที่อยู�ระหว�างการว�จัย วัคซีน 627บทที่ 47 วัคซ�นป�องกันโรคติดเช�้อสแตฟฟ�ลโลคอคคัสวัคซ�นที่อยู�ระหว�างการว�จัย

heterogenous resistant to vancomycin endocarditis

in Thailand. J Med Assoc Thai. 2005; 88(Suppl 8):

S264-8.

10. Kaplan SL, Hulten KG, Mason EO. Sta-

phylococcus aureus infections (Coagulase-positive

Staphylococci). In: Feigin RD, Cherry JD, Demmler-

Harrison GL, Kaplan SL editors. Feigin and Cherry’s

Textbook of Infectious Diseases. 6th ed. Philadelphia:

Elsevier Inc.; 2009. p. 1197-212.

11. Committee on Infectious Diseases, Ameri-

can Academy of Pediatrics. Staphylococcal infections.

In: Pickering LK, Baker CJ, Kimberlin DW, Long SS,

eds. Red Book: 2009 Report of the Committee on

Infectious Diseases. 28th ed. Elk Grove Village, IL:

American Academy of Pediatrics; 2009. p. 601-15.

12. Laupland KB, Church DL, Mucenski M,

Sutherland LR, Davies HD. Population-Based Study

of the Epidemiology of and the Risk Factors for Inva-

sive Staphylococcus aureus Infections. J Infect Dis.

2003;187:1452–9.

13. Jacobsson G, Dashti S, Wahlberg T, An-

dersson R. The epidemiology of and risk factors for

invasive Staphylococcus aureus infections in western

Sweden. Scand J Infect Dis. 2007; 39: 6-13.

14. El Atrouni WI, Knoll BM, Lahr BD, Eckel-

Passow JE, Sia IG, Baddour LM. Temporal Trends in

the Incidence of Staphylococcus aureus Bacteremia

in Olmsted County, Minnesota, 1998 to 2005: A Pop-

ulation-Based Study. Clin Infect Dis. 2009;49:e130-8.

15. Styers D, Sheehan DJ, Hogan P, Sahm DF.

Laboratory-based surveillance of current antimicrobial

resistance patterns and trends among Staphylococ-

cus aureus: 2005 status in the United States. Ann Clin

Microbiol Antimicrob. 2006;5:2.

16. Henderson KL, Johnson AP, Muller-Pe-

body B, Charlett A, Gilbert R, Sharland M. The chang-

ing aetiology of paediatric bacteraemia in England and

Wales, 1998-2007. J Med Microbiol. 2010;59: 213-9.

17. Laupland KB, Gregson DB, Vanderkooi

OG, Ross T, Kellner JD. The changing burden of

pediatric bloodstream infections in Calgary, Canada,

2000-2006. Pediatr Infect Dis J. 2009;28:114-7.

18. Grijalva CG, Nuorti JP, Zhu Y, Griffin MR.

Increasing incidence of empyema complicating child-

hood community-acquired pneumonia in the United

States. Clin Infect Dis. 2010;50:805-13.

19. Friedman ND, Kaye KS, Stout JE, McGarry

SA, Trivette SL, Briggs JP, et al. Health care-asso-

ciated bloodstream infections in adults: a reason to

change the accepted definition of community-acquired

infections. Ann Intern Med. 2002;137:791-7.

20. Song JH, Hsueh PR, Chung DR, Ko KS,

Kang CI, Peck KR, et al. Spread of methicillin-resistant

Staphylococcus aureus between the community and

the hospitals in Asian countries: an ANSORP study. J

Antimicrob Chemother. 2011; 66: Epub February 20,

2011.

21. Nickerson EK, West TE, Day NP, Peacock

SJ. Staphylococcus aureus disease and drug resist-

ance in resource-limited countries in South and East

Asia. Lancet Infect Dis. 2009;9:130-5.

22. Starke JR. Infective endocarditis. In: Fei-

gin RD, Cherry JD, Demmler-Harrison GL, Kaplan SL

editors. Feigin and Cherry’s Textbook of Infectious

Diseases. 6th ed. Philadelphia: Elsevier Inc.; 2009. p.

365-89.

23. Sukswai P, Kovitvanitcha D, Jeerathan-

yasakun Y, Thumkunanon V, Chotpitayasunondh T,

Sangtawesin V. Acute hematogenous osteomyelitis

and septic arthritis in children: Clinical characteristics

Page 14: ป ยรัชต สันตะรัตติวงศ¸§ัคซีนป้องกันโรค... · 2.1 ลิ้นหัวใจอักเสบ (Infective endocarditis-IE)

วัคซีน628 วัคซ�นที่อยู�ระหว�างการว�จัย

and outcomes study. J Med Assoc Thai 2011 (In

Press).

24. Woodford N, Livermore DM. Infections

caused by Gram-positive bacteria: a review of the

global challenge. J Infect. 2009;59(Suppl 1):S4-16.

25. Matouskova I, Janout V.Current knowledge

of Methicillin-resistant Staphylococcus aureus and

community-associated methicillin-resistant Staphy-

lococcus aureus. Biomed Pap Med Fac Univ Palacky

Olomouc Czech Repub. 2008;152:191-202.

26. Liu C, Bayer A, Cosgrove SE, Daum RS,

Fridkin SK, Gorwitz RJ, et al. Clinical Practice Guide-

lines by the Infectious Diseases Society of America for

the treatment of Methicillin-resistant Staphylococcus

aureus infections in adults and children. Clin Infect Dis.

2011;52:e18-55.

27. Schaffer AC, Lee JC. Staphylococcal

vaccines and immunotherapies. Infect Dis Clin N Am.

2009;23:153-71.

28. DeJonge M, Burchfield D, Bloom B, et

al. Clinical trial of safety and efficacy of INH-A21 for

the prevention of nosocomial staphylococcal blood-

stream infection in premature infants. J Pediatr. 2007;

151:260-5.

29. Shinefield HR. Use of a conjugate polysac-

charide vaccine in the prevention of invasive staphy-

lococcal disease: Is an additional vaccine needed or

possible? Vaccine. 2006;24 (suppl 2):S65-9.

30. Shah PS, Kaufman DA. Antistaphylococcal

immunoglobulins to prevent staphylococcal infection

in very low birth weight infants. Cochrane Database

Syst Rev. 2009;15:CD006449.

31. Robert S. Daum. Staphylococcus aureus

vaccines. In: Plotkin SA, Orenstein WA, Offit PA. eds.

Vaccines. 5th ed. Philadelphia: Elsevier Inc.; 2008. p.

1307-15.