410
รางกฎหมายปฏิรูปการศึกษา ตามขอเสนอของผูตรวจการแผนดิน โดย สํานักงานผูตรวจการแผนดิน

ปก 22-4-59 - ร่างกฎหมาย1 › 10 › documents › public › learn1...ล าด บ ร างกฎหมาย ๑๒ ร างพระราชบ ญญ

  • Upload
    others

  • View
    0

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

  • รางกฎหมายปฏิรูปการศึกษา

    ตามขอเสนอของผูตรวจการแผนดิน

    โดย

    สํานักงานผูตรวจการแผนดิน

  • รางกฎหมายปฏิรูปการศึกษาตามขอเสนอของผูตรวจการแผนดิน

    ลําดับ รางกฎหมาย

    ๑ รางพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. ....

    ๒ รางพระราชบัญญัติสภานโยบายและพัฒนาการศึกษา

    แหงชาติ พ.ศ. ....

    ๓ รางพระราชบัญญัติการวิจัยและพัฒนาระบบการศึกษา

    พ.ศ. ....

    ๔ รางพระราชบัญญัติการพัฒนาระบบหลักสูตรการศึกษา

    พ.ศ. ....

    ๕ รางพระราชบัญญัตินวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการ

    ศึกษา พ.ศ. ....

    ๖ รางพระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา พ.ศ. ....

    ๗ รางพระราชบัญญัติการอุดมศึกษา พ.ศ. ....

    ๘ รางพระราชบัญญัติสถาบันครุศึกษาแหงชาติ พ.ศ. ....

    ๙ รางพระราชบัญญัติการประกันคุณภาพการศึกษา

    พ.ศ. ....

    ๑๐ รางพระราชบัญญัติการรับรองคุณวุฒิการศึกษา พ.ศ. ....

    ๑๑ รางพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ

    กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ....

  • ลําดับ รางกฎหมาย

    ๑๒ รางพระราชบัญญัติการจัดการและบริหารการศึกษาของ

    องคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. ....

    ๑๓ รางพระราชบัญญัติการบริหารงานบุคคลของขาราชการ

    ครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ....

    ๑๔ รางพระราชบัญญัติการพิทักษระบบคุณธรรมการศึกษา

    พ.ศ. ....

    ๑๕ รางพระราชบัญญัติการกําหนดความผิดเก่ียวกับการสอบ

    การรับจาง และการจัดทําผลงานทางวิชาการเพื่อใหผูอื่น

    สําเร็จการศึกษา พ.ศ. ....

  • รางพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. ....

  • บันทึกหลักการและเหตุผล

    ประกอบรางพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ

    พ.ศ. ....

    หลักการ

    ปรับปรงุกฎหมายวาดวยการศกึษาแหงชาต ิ

    เหตุผล

    เพื่อใหการปฏิรูปการศึกษาสัมฤทธิ์ผลตามวัตถุประสงคที่ตองการพัฒนาการศึกษาอยางมีคุณภาพ และ

    มาตรฐาน ทันการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกและทันเหตุการณ จึงจําเปนตองมีการปฏริูปการจัดทํานโยบาย ระบบ

    และโครงสรางการบรหิารและการจัดการศึกษาของชาติขึ้นใหม และกําหนดหลักการของการปฏิรูปการศึกษาตาม

    อํานาจหนาที่ในการบริหารและจัดการศกึษา ซึ่งประกอบดวย การกําหนดนโยบายการศึกษาของชาติใหสอดคลอง

    กับพัฒนาการดานเศรษฐกิจและสงัคมโดยปราศจากการแทรกแซงทางการเมือง การบริหารและการจัดการศึกษาที่

    คํานึงถึงการมีสวนรวมในการจัดการศึกษาขององคกรปกครองสวนทองถิ่น เอกชน และองคกรภาคประชาสังคม

    ภายใตหลักการกระจายอํานาจในการจัดการศึกษาอยางแทจริง การสนับสนุนการจัดการศึกษาโดยหนวยงานที่มี

    ความรูความเชี่ยวชาญในการพัฒนาและสรางองคความรู มีการวิจัยและพัฒนาระบบการศึกษาและหลักสูตร

    การศึกษาของชาติอยางเปนระบบและตอเนื่อง อีกทั้งจัดใหมีการใชนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา เพื่อ

    พัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอนของครู อาจารย และบุคลากรทางการศกึษา เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพสงูสุด

    ในการจัดการเรียนการสอนแกผูเรียนทั้งระบบการศึกษา ตลอดจนจัดใหมีการตรวจสอบและประกันคุณภาพ

    การศึกษาที่มีความเขมขนและจริงจัง มีการจัดระบบบริหารงานบุคคลขึ้นใหม เพื่อใหเกิดขวัญและกําลังใจ และ

    ความเปนธรรมแกบุคลากรทางการศึกษา รวมทั้งมีระบบพิทักษคุณธรรมทางการศึกษาที่มีประสิทธิภาพใหความ

    เปนธรรมสอดคลองกับหลักธรรมาภิบาล จึงมีความจําเปนตองตราพระราชบัญญัตินี้

  • ราง

    พระราชบัญญัติ

    การศึกษาแหงชาต ิ

    พ.ศ. ....

    .......................................

    ....................................

    ..........................................

    ........................................................................................................................................

    โดยที่เปนการสมควรปรับปรุงกฎหมายวาดวยการศึกษาแหงชาติ

    ……………………………………………………………………………………………………………………………….…

    ..................................................................................................................................................

    .........................................................................................................................................................................

    มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. ....”

    มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา

    เปนตนไป

    มาตรา ๓ ใหยกเลิก

    (๑) พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒

    (๒) พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕

    (๓) พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓

    มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี ้

    “การศึกษา” หมายความวา กระบวนการเรียนรูเพื่อความเจริญงอกงามของบุคคลและสังคม

    โดยการถายทอดความรู การฝก การอบรม การสืบสานทางวัฒนธรรม การสรางสรรคจรรโลงความกาวหนาทาง

    วิชาการ การสรางองคความรูอันเกิดจากการจัดสภาพแวดลอม สังคม การเรียนรูและปจจัยเกื้อหนุนใหบุคคล

    เรียนรูอยางตอเนื่องตลอดชีวิต

    “ระบบการศึกษา” หมายความวา การจัดการศึกษาที่มีการกําหนดนโยบาย โครงสราง

    องคกรและกระบวนการเพื่อนําไปสูการปฏิบัติในการจัดการศึกษา รวมทั้งมีการประกันคุณภาพการศึกษาและ

  • ประเมินคุณภาพผูเรียนและผูสําเร็จการศึกษาทุกระดับ ทุกประเภท และทุกดาน โดยมีเปาประสงคใหคนไทย

    เปนมนุษยที่สมบูรณตามที่กําหนดในมาตรา ๖

    “การศึกษาภาคบังคับ” หมายความวา การจัดการศึกษาจํานวนเกาชั้นป สําหรับเด็กที่มีอายุ

    ยางเขาปที่สี่จนถึงปที่สิบสองเขาศึกษาโดยไมเสียคาใชจาย โดยเริ่มตนที่ระดับปฐมวัยปที่หนึ่งถึงประถมศึกษา

    ปที่หก

    “การศึกษาตลอดชีวิต” หมายความวา การศึกษาที่เกิดจากการผสมผสานระหวางการศึกษา

    ในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อใหสามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตไดอยางตอเนื่อง

    ตลอดชีวิต

    “สถานศึกษา” หมายความวา สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย โรงเรียน ศูนยการเรียน วิทยาลัย

    สถาบัน มหาวิทยาลัย หนวยงานการศึกษา หรือหนวยงานอื่นของรัฐหรือของเอกชน ที่มีอํานาจหนาที่หรือมี

    วัตถุประสงคในการจัดการศึกษา

    “สถาบันอุดมศึกษา” หมายความวา มหาวิทยาลัย วิทยาลัย หรือสถาบันที่เรียกชื่ออยางอื่น

    ซึ่งเทียบเทามหาวิทยาลัยหรือวิทยาลัย

    “มาตรฐานหลักสูตร” หมายความวา ขอกําหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ คุณภาพที่พึงประสงค

    และมาตรฐานที่ตองการในหลักสูตรการเรียนการสอนของสถานศึกษาทุกแหงในแตละระดับ และเพื่อใชเปน

    หลักในการเทียบเคียงสําหรับการสงเสริมและกํากับดูแลการตรวจสอบ การประเมินผล และการประกัน

    คุณภาพของหลักสูตรของสถานศึกษา

    “การประกันคุณภาพภายใน” หมายความวา การประเมินผล การควบคุมและการติดตาม

    ตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจากภายใน เพื่อใหเกิดการพัฒนาคุณภาพและ

    มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา โดยบุคลากรของสถานศึกษาน้ันเอง หรือโดยหนวยงานตนสังกัดที่มีหนาที่

    กํากับดูแลสถานศึกษาน้ัน

    “การประกันคุณภาพภายนอก” หมายความวา การประเมินผลและการติดตามตรวจสอบ

    คุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจากภายนอก โดยสํานักงานประกันคุณภาพการศึกษา

    แหงชาติหรือบุคคลหรือหนวยงานภายนอกที่สํานักงานดังกลาวรับรอง เพื่อใหเกิดการพัฒนาการประกัน

    คุณภาพ และพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

    “ครู” หมายความวา บุคลากรวิชาชีพซึ่งทําหนาที่หลักทางดานการเรียนการสอนและการ

    สงเสริมการเรียนรูของผูเรียนดวยวิธีการตาง ๆ ในสถานศึกษา

    “อาจารย” หมายความวา บุคลากรซึ่งทําหนาที่หลักทางดานการเรียนการสอนและการวิจัย

    ในสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาระดับปริญญาของรัฐและเอกชน รวมถึงการบริการวิชาการ และการทํานุบํารุง

    ศิลปวัฒนธรรม

    “ผูบริหารสถานศึกษา” หมายความวา บุคลากรวิชาชีพที่รับผิดชอบการบริหารสถานศึกษา

    แตละแหง ทั้งของรัฐและเอกชน

  • “ผูบริหารการศึกษา” หมายความวา บุคลากรวิชาชีพที่รับผิดชอบการบริหารการศึกษานอก

    สถานศึกษา

    “บุคลากรทางการศึกษา” หมายความวา ผูบริหารสถานศึกษา ผูบริหารการศึกษา รวมทั้ง

    ผูสนับสนุนการศึกษาซึ่งเปนผูทําหนาที่ใหบริการ หรือปฏิบัติงานเกี่ยวเนื่องกับการจัดกระบวนการเรียนการ

    สอน การนิเทศ และการบริหารการศึกษาในสถานศึกษาและหนวยงานการศึกษาตาง ๆ

    “กระทรวง” หมายความวา กระทรวงกลาโหม กระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา กระทรวง

    การพัฒนาสั งคมและความมั่นคงของมนุษย กระทรวง เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่ อสาร

    กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงมหาดไทย หรือกระทรวงวัฒนธรรม แลวแตกรณ ี

    “รัฐมนตรี” หมายความวา รัฐมนตรีผูรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้

    มาตรา ๕ ใหนายกรัฐมนตรีรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้

    ใหสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติ มีอํานาจในการออกระเบียบ หรือประกาศ

    เพื่อใหมีการปฏิบัติตามอํานาจหนาที่ที่กําหนดไวในพระราชบัญญัตินี้

    ระเบียบ และประกาศนั้น เมื่อไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลวใหใชบังคับได

    หมวด ๑

    หลักการจัดการศึกษาของชาต ิ

    มาตรา ๖ การจัดการศึกษาของชาติใหยึดหลัก ดังนี ้

    (๑) หลักการศึกษาและกระบวนการเรียนรูอยางตอเนื่องตลอดชีวิตสําหรับประชาชน

    (๒) หลักการมีสวนรวมในการจัดการศึกษาของประชาชน ชุมชน สถาบันศาสนา ภาคเอกชน

    และภาคประชาสังคม

    (๓) หลักการพัฒนาองคความรูดานครุศึกษาอยางตอเนื่อง

    มาตรา ๗ การจัดการศึกษาตองเปนไปอยางมีคุณภาพและมาตรฐาน เพื่อพัฒนาคนไทยให

    เปนมนุษยที่สมบูรณทั้งรางกาย จิตใจ สติปญญา มีคุณธรรมและจริยธรรม เปนพลเมืองดีของชาติ มีความรูทั้ง

    ดานวิชาการและทักษะการทํางาน มีความคิดริเริ่มสรางสรรคยังประโยชนใหแกสังคม มีจิตสาธารณะและ

    เสียสละเพื่อประโยชนสวนรวม ใชชีวิตอยูรวมกับผูอื่นในสังคมไดอยางมีความสุข และรูเทาทันการเปลี่ยนแปลง

    ของสังคมโลก

    การจัดการศึกษาภาคบังคับตองเปนไปตามวัตถุประสงคตามวรรคหนึ่ง และอยางนอยตองมุง

    ผลสัมฤทธ์ิใหผูเรียนมีคุณธรรมและจริยธรรมขั้นพื้นฐาน สามารถชวยเหลือตนเองในการดํารงชีวิตและใชชีวิต

  • อยูรวมกับผูอื่นในสังคมไดอยางมีความสุข รวมทั้งมีความสามารถอานและเขียนหนังสือไทยไดอยางแตกฉาน

    และสามารถคิดคํานวณทางคณิตศาสตรขั้นพื้นฐานไดดวยตนเอง

    มาตรา ๘ ในกระบวนการเรียนรูของการจัดการศึกษาทุกประเภทและทุกระดับ ตองมุง

    ปลูกฝงใหผูเรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค ดังตอไปนี้

    (๑) มีอุดมการณและจิตสํานึกที่ถูกตอง มีความภาคภูมิใจในความเปนไทย รวมทั้งยึดมั่นใน

    การเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข

    (๒) มีสุขภาพรางกายและจิตใจที่สมบูรณและแข็งแรง

    (๓) มีวินัยและเคารพกฎหมาย และศักดิ์ศรีความเปนมนุษย

    (๔) รูจักรักษาสิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาค

    (๕) ตระหนักถึงหนาที่ของตนเองและตอผูอื่น และมีน้ําใจนักกีฬา

    (๖) เสียสละเพื่อประโยชนสวนรวม คํานึงถึงผลประโยชนของชาติและของประชาชนมากกวา

    ประโยชนสวนตน

    (๗) มีความรูทั้งไทยและสากล และสามารถประกอบสัมมาชีพได รู จักพึ่งตนเอง ยึดหลัก

    เศรษฐกิจพอเพียง

    (๘) มีความคิดริเริ่ม สรางสรรค ใฝรูและเรียนรูไดดวยตนเองอยางตอเนื่องตลอดชีวิต

    (๙) ทํานุบํารุงศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรมของชาติ ภูมิปญญาไทยและภูมิปญญาทองถิ่น

    ตลอดจนอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

    มาตรา ๙ การจัดระบบ โครงสราง และกระบวนการจัดการศึกษา ใหยึดหลักดังนี ้

    (๑) หลักเอกภาพดานนโยบายและหลากหลายในการปฏิบัติ

    (๒) หลักการสงเสริมและพัฒนาครู อาจารย และบุคลากรทางการศึกษาใหไดมาตรฐานสากล

    อยางตอเนื่อง

    (๓) หลักการกระจายอํานาจทางการศึกษา งบประมาณ และทรัพยากรทางการศึกษาไปสู

    องคกรปกครองสวนทองถิ่นและสถานศึกษา

    (๔) หลักการจัดการศึกษาใหเปนไปตามหลักสูตรที่สอดคลองกับนโยบายและมาตรฐาน

    การศึกษาของชาต ิ

    (๕) หลักการประกันคุณภาพการศึกษาใหไดมาตรฐานสากล

    (๖) หลักการรับรอง ตรวจสอบ และจัดทําฐานขอมูลคุณวุฒิการศึกษาของผูเรียน ครู อาจารย

    และบุคลากรทางการศึกษา

    (๗) หลักการระดมทรัพยากรเพื่อประโยชนในการจัดการศึกษา

    (๘) หลักการสงเสริม พัฒนา และใชเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษาอยางมี

    ประสิทธิภาพ

  • (๙) หลักการมีสวนรวมของบุคคล ครอบครัว ชุมชน องคกรชุมชน องคกรปกครองสวนทองถิ่น

    เอกชน องคกรเอกชน องคกรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น

    หมวด ๒

    สิทธิทางการศึกษา และหนาที่ของรัฐ

    สวนที่ ๑

    สิทธิและหนาที่ทางการศึกษา

    มาตรา ๑๐ บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกันในการรับการศึกษา และไดรับการพัฒนา

    ศักยภาพของตนในระดับสูงสุด ภายใตการจัดการและการสงเสริมจากรัฐ

    บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกันในการรับการศึกษาจํานวนเกาป โดยเริ่มจากระดับปฐมวัย

    จนถึงระดับประถมศึกษา ทั้งนี้ รัฐตองจัดใหอยางทั่วถึงและมีคุณภาพ โดยไมเก็บคาใชจายใด ๆ ทั้งทางตรงและ

    ทางออม

    มาตรา ๑๑ บุคคลซึ่งมีอายุยางเขาปที่สี่จนอายุเขาปที่สิบสองมีหนาที่รับการศึกษาภาคบังคับ

    จํานวนเกาป โดยเริ่มจากระดับปฐมวัยจนถึงระดับประถมศึกษา ทั้งนี้ หลักเกณฑและวิธีการนับอายุใหเปนไป

    ตามที่คณะกรรมการการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษากําหนด

    บุคคลซึ่งสอบผานช้ันปที่เกาของการศึกษาภาคบังคับกอนอายุสิบสองป ใหถือวาผูนั้นสําเร็จ

    การศึกษาภาคบังคับ

    มาตรา ๑๒ บุคคลที่เขารับการศึกษาตั้งแตระดับมัธยมศึกษาขึ้นไป ซึ่งเปนผูมีคุณธรรม

    จริยธรรม มีผลการเรียนดีหรือมีความคิดริเริ่มสรางสรรคยังประโยชนใหแกสังคม มีสิทธิไดรับการจัดสรร

    ทุนการศึกษาจากรัฐ

    หลักเกณฑและวิธีการในการจัดสรร การทดสอบ หรือการคัดเลอืกบคุคลเพื่อรับทุนการศึกษา

    จากรัฐตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไปตามระเบียบที่สภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติกําหนด

    มาตรา ๑๓ บุคคลที่เขารับการศึกษาตั้งแตระดับมัธยมศึกษาจนถึงระดับปริญญาตรีมีสิทธิ

    กูยืมเงินเพื่อการศึกษา ทั้งนี้ ตามกฎหมายวาดวยการกูยืมเงินเพื่อการศึกษา

    มาตรา ๑๔ บุคคลดังตอไปนี้มีสิทธิและโอกาสไดรับการศึกษาเปนพิเศษจากรัฐ

  • (๑) บุคคลซึ่งมีความบกพรองทางรางกาย จิตใจ สติปญญา การเขาสังคม การสื่อสาร และ

    การเรียนรู หรือมีรางกายพิการหรือทุพพลภาพ ใหจัดการศึกษาตั้งแตแรกเกิดหรือพบความพิการโดยไมเสีย

    คาใชจาย

    (๒) บุคคลซึ่งไมสามารถพึ่งตนเองได หรือไมมีผูดูแล หรือดอยโอกาส

    สิทธิและโอกาสไดรับการศึกษาเปนพิเศษจากรัฐ ใหหมายความรวมถึงการไดรับสิ่งอํานวย

    ความสะดวก สื่อ บริการ และความชวยเหลืออื่นใดทางการศึกษา ตามหลักเกณฑและวิธีการที่กําหนด

    ในระเบียบของสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติ

    มาตรา ๑๕ ผูเรียนมีสิทธิไดรับการพัฒนาขีดความสามารถในการใชเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา

    ในโอกาสแรกที่ทําได เพื่อใหมีความรูและทักษะเพียงพอที่จะใชเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาในการแสวงหา

    ความรูดวยตนเองไดอยางเนื่องตลอดชีวิต

    มาตรา ๑๖ การจัดการศึกษาสําหรับบุคคลซึ่งมีความสามารถพิเศษ ตองจัดดวยรูปแบบที่

    เหมาะสมโดยคํานึงถึงศักยภาพของบุคคลนั้น

    มาตรา ๑๗ บิดา มารดา หรือผูปกครองมีหนาที่จัดใหบุตรหรือบุคคลซึ่งอยูในความดูแลไดรับ

    การศึกษาภาคบังคับตามพระราชบัญญัตินี้ และตามกฎหมายที่เกี่ยวของ ตลอดจนใหไดรับการศึกษา

    นอกเหนือจากการศึกษาภาคบังคับ ตามความพรอมของครอบครัว

    มาตรา ๑๘ บิดา มารดา หรือผูปกครองมีสิทธิไดรับสิทธิประโยชน ดังตอไปนี ้

    (๑) การสนับสนุนจากรัฐ ใหมีความรูความสามารถในการอบรมเลี้ยงดู และการใหการศึกษา

    แกบุตรหรือบุคคลซึ่งอยูในความดูแล ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายกําหนด

    (๒) เงินอุดหนุนจากรัฐสําหรับการจัดการศึกษาภาคบังคับของบุตรหรือบุคคลซึ่งอยูในความ

    ดูแลที่ครอบครัวจัดให ใหอุดหนุนเปนเวลาเกาปนับแตเริ่มเขารับการศึกษาภาคบังคับ ทั้งนี้ ตามที่กฎหมาย

    กําหนด

    (๓) การดูแลและเสรมิสรางพัฒนาการการเรยีนรูของเด็กตั้งแตแรกเกิดจนเขาสูการศึกษาภาค

    บังคับโดยไดรับการอุดหนุนจากองคกรปกครองสวนทองถิ่น ทั้งนี้ ตามที่กําหนดในกฎหมายวาดวยการจัดการ

    และบริหารการศึกษาขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

    (๔) การลดหยอนหรือยกเวนภาษีสําหรับคาใชจายการศึกษาตามที่กฎหมายกําหนด

    มาตรา ๑๙ บุคคล ครอบครัว ชุมชน องคกรชุมชน องคกรเอกชน องคกรวิชาชีพ สถาบัน

    ศาสนา สถานประกอบการและสถาบันสังคมอื ่น ซึ ่งสนับสนุนหรือจัดการศึกษาระดับปฐมวัยและ

    ประถมศึกษา มีสิทธิไดรับสิทธิประโยชนตามควรแกกรณี ดังตอไปนี้

  • (๑) การสนับสนุนจากรัฐใหมีความรูความสามารถในการอบรมเลี้ยงดูบุคคลซึ่งอยูในความ

    ดูแลรับผิดชอบ ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายกําหนด

    (๒) เงินอุดหนุนจากรัฐสําหรับการจัดการศึกษาระดับปฐมวัยและประถมศึกษา ทั้งนี้ ตามที่

    กฎหมายกําหนด

    (๓) การลดหยอนหรือยกเวนภาษีสําหรับคาใชจายการศึกษา ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายกําหนด

    สวนที่ ๒

    หนาที่ของรัฐ

    มาตรา ๒๐ ใหรัฐ และองคกรปกครองสวนทองถิ่นมีหนาที่ในการจัดการศึกษา ตลอดจนให

    บุคคล ครอบครัว องคกรชุมชน เอกชน องคกรเอกชน องคกรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ

    และสถาบันสังคมอื่น มีสิทธิในการจัดการศึกษา และไดรับการอุดหนุนที่เหมาะสมจากรัฐรวมทั้งงบประมาณ

    เทาที่จําเปน ทั้งนี้ ใหเปนไปตามที่กําหนดในกฎหมายวาดวยสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติและ

    นโยบายการศึกษาของชาติ

    มาตรา ๒๑ ใหรัฐจัดสรรงบประมาณแผนดินเพื่อการศึกษา ในฐานะที่มีความสําคัญสูงสุดตอ

    การพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศ ดังนี ้

    (๑) จัดสรรเงินอุดหนุนทั่วไปเปนคาใชจายรายบุคคลที่เหมาะสมและเทาเทียมกันแกผูเรียน

    ซึ่งอยูในการศึกษาภาคบังคับที่จัดโดยรัฐ องคกรปกครองสวนทองถิ่น และเอกชน

    (๒) จัดสรรทุนการศึกษาใหแกบุคคลตามมาตรา ๑๒ ทั้งนี้ การจัดสรรทุนการศึกษาดาน

    อาชีวศึกษา ตองสอดคลองกับนโยบายของสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติ นโยบายการศึกษาของ

    ชาติและความตองการของประเทศ

    (๓) จัดสรรทุนการศึกษาในรูปของกองทุนกูยืมใหแกผูเรียนตามมาตรา ๑๓ ที่มาจาก

    ครอบครัวที่มีรายไดนอยตามความจําเปนและความเหมาะสม โดยวางหลักการในการจัดการกองทุนกูยืมใหมี

    ประสิทธิภาพ สรางวินัยในการชําระคืนทุนเงินกู และทั้งใหมีการกําหนดมาตรการเพื่อจูงใจใหผูกูชําระคืนทุน

    เงินกูตามกําหนด ทั้งนี้ ใหเปนไปตามกฎหมายวาดวยกองทุนกูยืมเพื่อการศึกษา

    (๔) จัดสรรงบประมาณและทรัพยากรทางการศึกษา ใหเหมาะสมและสอดคลองกับความ

    จําเปนในการจัดการศึกษาสําหรับบุคคลที่เปนผูเรียนตามมาตรา ๑๑ โดยคํานึงถึงความเสมอภาคในโอกาสทาง

    การศึกษาและความเปนธรรม ทั้งนี้ ใหเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการที่กําหนดในระเบียบสภานโยบายและ

    พัฒนาการศึกษาแหงชาติ

  • (๕) จัดสรรงบประมาณใหเหมาะสมและสอดคลองกับการจัดการศึกษาสําหรับบุคคลที่เปน

    ผูเรียนตามมาตรา ๑๒ เพื่อการพัฒนาศักยภาพสูงสุดของผูนั้น ทั้งนี้ ใหเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการ

    ที่กําหนดในระเบียบสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาต ิ

    (๖) จัดสรรงบประมาณเปนคาใชจายในงบดําเนินการและงบลงทุนใหสถานศึกษาของรัฐตาม

    นโยบายการศึกษาของชาติและภารกิจของสถานศึกษา โดยใหมีอิสระในการบริหารงบประมาณและทรัพยากร

    ทางการศึกษา ทั้งนี้ ใหคํานึงถึงคุณภาพและความเสมอภาคในโอกาสทางการศึกษา

    (๗) จัดสรรงบประมาณในลักษณะเงินอุดหนุนทั่วไปใหสถานศึกษาระดับต่ํากวาอุดมศึกษา

    ที่อยูในกํากับของรัฐหรือเปนองคการมหาชน

    (๘) จัดสรรงบประมาณในลักษณะเงินอุดหนุนทั่วไปใหสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาของรัฐ

    ที่เปนนิติบุคคล หรืออยูในกํากับของรัฐ

    (๙) จัดสรรเงินอุดหนุนการศึกษาที่จัดโดยบุคคล ครอบครัว องคกรชุมชน องคกรเอกชน

    องคกรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น ตามความเหมาะสมและความจําเปน

    (๑๐) จัดสรรกองทุนกูยืมดอกเบี้ยต่ําใหสถานศึกษาเอกชน เพื่อใหพึ่งตนเองได

    มาตรา ๒๒ รัฐตองจัดระบบการตรวจสอบ ติดตาม และประเมินประสิทธิภาพและ

    ประสิทธิผลการใชจายงบประมาณการจัดการศึกษาและการอุดหนุนการจัดการศึกษาใหสอดคลองกับหลัก

    การศึกษา แนวการจัดการศึกษาและคุณภาพมาตรฐานการศึกษา โดยหนวยงานภายในและหนวยงานของรัฐ

    ที่มีหนาที่ตรวจสอบภายนอก

    หลักเกณฑและวิธีการในการตรวจสอบ ติดตามและการประเมิน ใหเปนไปตามที่กําหนดใน

    ระเบียบสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติ

    หมวด ๓

    ประเภทการจัดการศึกษา

    มาตรา ๒๓ การจัดการศึกษามีสามประเภท คือ การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ

    และการศึกษาตามอัธยาศัย

    (๑) การศึกษาในระบบ เปนการศึกษาที่กําหนดจุดมุงหมาย วิธีการศึกษา หลักสูตร

    ระยะเวลาของการศึกษา และการวัดและประเมินผล ซึ่งเปนเงื่อนไขของการสําเร็จการศึกษาที่แนนอน

    (๒) การศึกษานอกระบบ เปนการศึกษาที่มีความยืดหยุนในการกําหนดจุดมุงหมาย รูปแบบ

    วิธีการจัดการศึกษา ระยะเวลาของการศึกษา และการวัดและประเมินผล ซึ่งเปนเงื่อนไขสําคัญของการสําเร็จ

  • การศึกษา โดยเนื้อหาและหลักสูตรจะตองมีความเหมาะสมสอดคลองกับสภาพปญหาและความตองการของ

    บุคคลแตละกลุม

    (๓) การศึกษาตามอัธยาศัย เปนการศึกษาที่ใหผูเรียนไดเรียนรูดวยตนเองตามความสนใจ

    ศักยภาพ ความพรอม และโอกาส โดยศึกษาจากบุคคล ประสบการณ สังคม สภาพแวดลอม สื่อ หรือแหลง

    ความรูอื่น ๆ

    สถานศึกษาสามารถจัดการศึกษาในประเภทใดประเภทหนึ่งหรือทั้งสามประเภทก็ได

    ใหมีการเทียบโอนผลการเรียนที่ผูเรียนสะสมไวในระหวางประเภทเดียวกันหรือตางประเภทได

    ไมวาจะเปนผลการเรียนจากสถานศึกษาเดียวกันหรือไมก็ตาม รวมทั้งจากการเรียนรูนอกระบบ ตามอัธยาศัย

    การฝกอาชีพ หรือจากประสบการณการทํางาน

    มาตรา ๒๔ การศึกษาในระบบมีสามระดับ คือ การศึกษาภาคบังคับ การศึกษาระดับกอน

    อุดมศึกษา และการศึกษาระดับอุดมศึกษา

    การศึกษาภาคบังคับประกอบดวย การศึกษาปฐมวัย และการศึกษาระดับประถมศึกษา

    การแบงระดับและประเภทของการศึกษาภาคบังคับ ใหเปนไปตามที่กําหนดในระเบียบของ

    สภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติ

    การศึกษาระดับกอนอุดมศึกษา ประกอบดวย

    (๑) การศึกษาระดับมัธยมศึกษา คือ การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนตนดานสามัญ

    การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนตนดานเตรียมอาชีวศึกษา และการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายดาน

    สามัญ

    (๒) การศึกษาระดับอาชีวศึกษา คือ การศึกษาดานอาชีวศึกษาระดับพื้นฐานหรือ

    ประกาศนียบัตรวิชาชีพ การศึกษาดานอาชีวศึกษาระดับกลางหรือประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง

    และการศึกษาดานอาชีวศึกษาระดับสูงหรือปริญญาตรีขึ้นไป

    การศึกษาระดับอุดมศึกษาประกอบดวยการศึกษาระดับอุดมศึกษาซึ่งจัดการเรียนการสอนใน

    สถาบันอุดมศึกษา และการศึกษาระดับอุดมศึกษาซึ่งจัดการเรียนการสอนในสถาบันอาชีวศึกษา

    การศึกษาระดับอุดมศึกษาซึ่งจัดการเรียนการสอนในสถาบันอุดมศึกษาแบงเปนสองระดับ

    คือ ระดับอนุปริญญา และระดับปริญญา

    การศึกษาระดับอุดมศึกษาซึ่งจัดการเรียนการสอนในสถาบันอาชีวศึกษา แบงเปนสองระดับ

    คือ ระดับกลางหรือประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง และระดับสูงหรือปริญญาขึ้นไป

    ใหสถานศึกษาที่จัดการศึกษาในระบบตามมาตรานี้มีฐานะเปนนิติบุคคล เวนแต สถานศึกษา

    ตามมาตรา ๒๖ (๑) และ (๓)

    มาตรา ๒๕ การแบงระดับหรือการเทียบระดับการศึกษานอกระบบหรือการศึกษา

    ตามอัธยาศัยใหเปนไปตามที่กําหนดในระเบียบของสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติ

  • ๑๐

    มาตรา ๒๖ การจัดการศึกษาภาคบังคับ ใหจัดในสถานศึกษาดังตอไปนี้

    (๑) สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย ไดแก ศูนยเด็กเล็ก ศูนยพัฒนาเด็กเล็ก ศูนยพัฒนาเด็กกอน

    เกณฑของสถาบันศาสนา ศูนยบริการชวยเหลือระยะแรกเริ่มของเด็กพิการและเด็กซึ่งมีความตองการพิเศษ

    หรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยที่เรียกช่ืออยางอื่น

    (๒) โรงเรียน ไดแก โรงเรียนของรัฐ โรงเรียนเอกชน และโรงเรียนที่สังกัดสถาบันพุทธศาสนา

    หรือศาสนาอื่น

    (๓) ศูนยการเรียน ไดแก สถานที่เรียนที่หนวยงานจัดการศึกษานอกโรงเรียน บุคคล ครอบครัว

    ชุมชน องคกรชุมชน องคกรปกครองสวนทองถิ่น องคกรเอกชน องคกรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ

    โรงพยาบาล สถาบันทางการแพทย สถานสงเคราะห และสถาบันสังคมอื่นเปนผูจัด

    มาตรา ๒๗ การจัดการศึกษาระดับกอนอุดมศึกษา ใหจัดในสถานศึกษาตามมาตรา ๒๖ (๒)

    และ (๓) เวนแตกรณีการจัดการศึกษาระดับกอนอุดมศึกษาที่เปนอาชีวศึกษาใหเปนไปตามมาตรา ๒๘

    มาตรา ๒๘ การจัดการอาชีวศึกษา การฝกอบรมวิชาชีพ ใหจัดในสถานศึกษาของรัฐ สถานศึกษา

    ของเอกชน สถานประกอบการ หรือพื้นที่ประกอบการอุตสาหกรรมหรือกสิกรรม โดยความรวมมือระหวาง

    สถานศึกษากับผูประกอบการ ทั้งนี้ ใหเปนไปตามกฎหมายวาดวยการอาชีวศึกษาและกฎหมายที่เกี่ยวของ

    มาตรา ๒๙ การจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาใหจัดในมหาวิทยาลัย สถาบัน วิทยาลัย

    หนวยงานที่ เรียกชื่ออยางอื่น หรือจัดรวมกับสถานประกอบการภาคเอกชน หรือพื้นที่ประกอบการ

    อุตสาหกรรมหรือกสิกรรม ทั้งนี้ ใหเปนไปตามกฎหมายวาดวยการอุดมศึกษา กฎหมายวาดวยการจัดตั้ง

    สถานศึกษาน้ัน ๆ และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวของ

    มาตรา ๓๐ กระทรวง ทบวง กรม รัฐวิสาหกิจ และหนวยงานอื่นของรัฐ อาจจัดการศึกษา

    เฉพาะทางตามความตองการและความชํานาญของหนวยงานนั้นได โดยคํานึงถึงนโยบายและมาตรฐาน

    การศึกษาของชาติ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่กําหนดในระเบียบของสภานโยบายและพัฒนา

    การศึกษาแหงชาติ

    มาตรา ๓๑ ใหสถานศึกษาของรัฐหรือขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ที่มีฐานะเปนนิติบุคคล

    มีอํานาจในการปกครอง ดูแล บํารุงรักษา ใช และจัดหาผลประโยชนจากทรัพยสินของสถานศึกษา ทั้งที่เปนที่

    ราชพัสดุ ตามกฎหมายวาดวยที่ราชพัสดุ และที่ เปนทรัพยสินอื่น รวมทั้งจัดหารายไดจากบริการของ

    สถานศึกษา และเก็บคาธรรมเนียมการศึกษาที่ไมขัดหรือแยงกับนโยบาย วัตถุประสงค และภารกิจหลักของ

    สถานศึกษา

  • ๑๑

    บรรดาอสังหาริมทรัพยที่สถานศึกษาตามวรรคหนึ่งไดมาโดยมีผูอุทิศให หรือโดยการซื้อหรือ

    แลกเปลี่ยนจากรายไดของสถานศึกษา ไมถือเปนที่ราชพัสดุ และใหเปนกรรมสิทธิ์ของสถานศึกษา

    บรรดารายไดและผลประโยชนของสถานศึกษาตามวรรคหนึ่ง รวมทั้งผลประโยชนที่เกิดจาก

    ที่ราชพัสดุ เบี้ยปรับที่เกิดจากการผิดสญัญาลาศึกษา และเบี้ยปรับที่เกดิจากการผดิสัญญาการซื้อทรัพยสนิหรือ

    จางทําของที่ดําเนินการโดยใชเงินงบประมาณ ไมเปนรายไดที่ตองนําสงกระทรวงการคลังตามกฎหมายวาดวย

    เงินคงคลังและกฎหมายวาดวยวิธีการงบประมาณ

    บรรดารายไดและผลประโยชนของสถานศึกษาตามวรรคหนึ่งที่ไมเปนนิติบุคคล รวมทั้ง

    ผลประโยชนที่เกิดจากที่ราชพัสดุ เบี้ยปรับที่เกิดจากการผิดสัญญาลาศึกษา และเบี้ยปรับที่เกิดจากการผิด

    สัญญาการซื้อทรัพยสินหรือจางทําของที่ดําเนินการโดยใชเงินงบประมาณใหสถานศึกษาสามารถจัดสรรเปน

    คาใชจายในการจัดการศึกษาของสถานศึกษานั้น ๆ ไดตามระเบียบที่กระทรวงการคลังกําหนด

    มาตรา ๓๒ ใหมีการวิจัยและการพัฒนาระบบการศึกษาของชาติ โดยมีเจตนารมณเพื่อให

    เกิดองคความรูและฐานขอมูลที่เกิดขึ้นจากการวิจัยระบบการศึกษา อันเปนประโยชนตอการพัฒนาระบบ

    การศึกษาและนโยบายการศึกษาของชาติใหมีประสิทธิภาพ และเหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจและสังคมของ

    ประเทศ และทันตอสถานการณความเปลี่ยนแปลงในสังคมโลก

    ใหสถาบันวิจัยและพัฒนาระบบการศึกษาแหงชาติตามมาตรา ๕๘ มีอํานาจหนาที่ในการ

    ดําเนินการตามที่กําหนดไวในพระราชบัญญัตินี้ และกฎหมายวาดวยการวิจัยและพัฒนาระบบการศึกษา

    หมวด ๔

    แนวการจัดการศึกษา

    มาตรา ๓๓ การจัดการศึกษาตองยึดหลักวาผูเรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรูและพัฒนา

    ตนเองได และถือวาผูเรียนมีความสําคัญที่สุด

    มาตรา ๓๔ การจัดการศึกษา ทั้งการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษา

    ตามอัธยาศัย ตองเนนความสําคัญทั้งความรู คุณธรรม จริยธรรม กระบวนการเรียนรูและบูรณาการตาม

    ความเหมาะสมของแตละระดับการศึกษาในเรื่องตอไปนี ้

    (๑) ความรูความเขาใจเรื่องเกี่ยวกับตนเอง ครอบครัว ชุมชน ชาติ และสังคมโลก

    ประวัติศาสตรความเปนมาของสังคมไทยและระบบการเมือง และความสัมพันธของตนเองกับสังคม

    (๒) ความรูและทักษะดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี รวมทั้งความรูความเขาใจและ

    ประสบการณเรื่องการจัดการ การบํารุงรักษา และการใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

    อยางสมดุลยั่งยืน

  • ๑๒

    (๓) ความรูเกี่ยวกับศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม การกีฬา ภูมิปญญาไทย และการประยุกตใช

    ภูมิปญญา

    (๔) ความรูและทักษะดานคณิตศาสตร

    (๕) ความรูและทักษะดานภาษาและการสื่อสาร เนนการใชภาษาไทยอยางถูกตองและสื่อสารได

    (๖) ความรูและทักษะในการประกอบอาชีพและการดํารงชีวิตอยางมีความสุข

    มาตรา ๓๕ การจัดกระบวนการเรียนรู ใหสถานศึกษาและหนวยงานที่เกี่ยวของดําเนินการ

    ดังตอไปนี้

    (๑) จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมใหสอดคลองกับความสนใจและความถนัดของผูเรียน

    โดยคํานึงถึงความแตกตางระหวางบุคคล

    (๒) ฝกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ และการประยุกตความรู

    มาใชเพื่อปองกันและแกไขปญหา

    (๓) จัดกิจกรรมใหผูเรียนไดเรียนรูจากประสบการณจริง ฝกการปฏิบัติใหทําได คิดเปน

    ทําเปน รักการอาน และเกิดการใฝรูอยางตอเนื่อง

    (๔) จัดการเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระความรูดานตาง ๆ อยางไดสัดสวนสมดุลกัน

    รวมทั้งปลูกฝงคุณธรรม คานิยมที่ดีงาม และคุณลักษณะอันพึงประสงคไวในทุกวิชา

    (๕) สงเสริมสนับสนุนใหครูและอาจารยสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดลอม สื่อการเรียน

    และอํานวยความสะดวก เพื่อใหผูเรียนเกิดการเรยีนรูและมีความรอบรู รวมทั้งสามารถใชการวิจัยเปนสวนหนึ่ง

    ของกระบวนการเรียนรู ทั้งนี้ ครูและอาจารยและผูเรียนอาจเรียนรูไปพรอมกันจากสื่อการเรียนการสอนและ

    แหลงวิทยาการประเภทตาง ๆ

    (๖) จัดการเรียนรูใหเกิดขึ้นไดทุกเวลาทุกสถานที่ มีการประสานความรวมมือกับบิดา

    มารดา ผูปกครอง และบุคคลในชุมชนทุกฝาย เพื่อรวมกันพัฒนาผูเรียนตามศักยภาพ

    มาตรา ๓๖ รัฐตองสงเสริมการดําเนินงานและการจัดตั้งแหลงการเรียนรูตลอดชีวิตทุก

    รูปแบบ ไดแก หองสมุดประชาชน พิพิธภัณฑ หอศิลป สวนสัตว สวนสาธารณะ สวนพฤกษศาสตร อุทยาน

    วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ศูนยการกีฬาและนันทนาการ แหลงขอมูล และแหลงการเรียนรูอื่นอยางพอเพียงและ

    มีประสิทธิภาพ

    มาตรา ๓๗ ใหสถานศึกษาจัดการประเมินผูเรียนโดยพิจารณาจากพัฒนาการของผูเรียน

    ความประพฤติ การสังเกตพฤติกรรมการเรียน การรวมกิจกรรมและการทดสอบควบคูไปในกระบวนการเรียน

    การสอนตามความเหมาะสมของแตละประเภทและระดับการศึกษา

  • ๑๓

    มาตรา ๓๘ ใหสถานศึกษาใชวิธีการที่หลากหลายในการจัดสรรโอกาสการเขาศึกษาตอ และให

    นําผลการประเมินผูเรียนตามมาตรา ๓๗ มาใชประกอบการพิจารณาดวย

    มาตรา ๓๙ ใหสถานศึกษารวมกับบุคคล ครอบครัว ชุมชน องคกรชุมชน องคกรปกครอง

    สวนทองถิ่น เอกชน องคกรเอกชน องคกรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น

    สงเสริมความเขมแข็งของชุมชนโดยจัดกระบวนการเรียนรูภายในชุมชน เพื่อใหชุมชนมีการจัดการศึกษาอบรม

    มีการแสวงหาความรู ขอมูล ขาวสาร และรูจักเลือกสรรภูมิปญญาและวิทยาการตาง ๆ เพื่อพัฒนาชุมชนให

    สอดคลองกับสภาพปญหาและความตองการ รวมทั้งหาวิธีการสนับสนุนใหมีการแลกเปลี่ยนประสบการณ

    การพัฒนาระหวางชุมชน

    มาตรา ๔๐ ใหสถานศึกษาพัฒนากระบวนการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ รวมทั้ง

    การสงเสริมใหครูและอาจารยสามารถวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรูที่เหมาะสมกับผูเรียนในแตละระดับการศึกษา

    หมวด ๕

    การบริหารและการจัดการศึกษา

    สวนที่ ๑

    การบริหารและการจัดการศึกษาของรัฐ

    มาตรา ๔๑ ใหมีการจัดโครงสรางองคกรจัดการศึกษาสวนกลางเปนสี่กลุม ดังนี้

    (๑) กลุ มนโยบายทางการศึกษา ไดแก สภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติ

    คณะกรรมการพิทักษระบบคุณธรรมทางการศึกษา

    (๒) กลุมปฏิบัติการทางการศึกษา ไดแก กระทรวงศึกษาธิการ สํานักงานปลัดกระทรวง

    ศึกษาธิการ สํานักงานการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษา สํานักงานการมัธยมศึกษา สํานักงาน

    การอาชีวศึกษา สํานักงานการอุดมศึกษา และสํานักงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

    (๓) กลุมสนับสนุนการจัดการศึกษา ไดแก สถาบันวิจัยและพัฒนาระบบการศึกษาแหงชาติ

    สถาบันวิจัยและพัฒนาระบบหลักสูตรการศึกษาแหงชาติ สถาบันครุศึกษาแหงชาติ และสํานักงานนวัตกรรม

    และเทคโนโลยีทางการศึกษา

    (๔) กลุ มตรวจสอบและประกันคุณภาพการศึกษา ไดแก สํานักงานประกันคุณภาพ

    การศึกษาแหงชาติ และสํานักงานรับรองคุณวุฒิการศึกษาแหงชาติ

  • ๑๔

    มาตรา ๔๒ ใหมีคณะกรรมการขึ้นคณะหนึ่ง เรียกวา “สภานโยบายและพัฒนาการศึกษา

    แหงชาติ” เพื่อทําหนาที่ในการกําหนดนโยบายการศึกษา และดําเนินการอื่นตามที่กําหนดในพระราชบัญญัตินี้

    จํานวนไมเกินสามสิบสองคน ประกอบดวย

    (๑) นายกรัฐมนตรี เปนประธานกรรมการ

    (๒) กรรมการสภาผูทรงคุณวุฒิ ประกอบดวย

    (ก) กรรมการสภาผู ทรงคุณวุฒิ ดานการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษา

    ดานการมัธยมศึกษา ดานการอาชีวศึกษา ดานการอุดมศึกษา ดานการศึกษานอกระบบและการศึกษา

    ตามอัธยาศัย จํานวนดานละสองคน

    (ข ) กรรมการสภาผู ท ร งคุณวุฒิ ด านการ เ งิ นการคลั ง ด านกฎหมาย

    ดานมนุษยศาสตร ดานรัฐศาสตรหรือรฐัประศาสนศาสตร ดานวิทยาศาสตร ดานสังคมศาสตร ดานสาธารณสุข

    ศาสตร หรือดานเศรษฐศาสตร จํานวนไมนอยกวาแปดคนแตไมเกินสิบหกคน

    (๓) กรรมการผูแทนจากสภาหอการคาไทย และสภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย องคกรละ

    หนึ่งคน

    (๔) กรรมการผูแทนจากภาคประชาสงัคมดานการศึกษา จํานวนสองคน

    (๕) กรรมการผูแทนจากองคกรปกครองสวนทองถิ่น จํานวนหนึ่งคน

    ใหสํานักงานสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติเปนนิติบุคคลและเปนอิสระ และให

    เลขาธิการสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติ เปนเลขานุการของคณะกรรมการสภานโยบายและ

    พัฒนาการศึกษาแหงชาติ

    คุณสมบัติ หลักเกณฑ วิธีการไดมา วาระการดํารงตําแหนง การพนจากตําแหนง

    ของกรรมการผูทรงคุณวุฒิตาม (๒) และกรรมการผูแทนตาม (๓) (๔) และ (๕) และการดําเนินงานของ

    คณะกรรมการตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไปตามที่กฎหมายวาดวยสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติ

    กําหนด

    มาตรา ๔๓ สภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติ ใหมีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้

    (๑) กําหนดนโยบายการศึกษาของชาติ และการศึกษาวิจัยที่เกี่ยวของกับการศึกษาของชาติ

    ทั้งระบบในทุกระดับและทุกประเภท

    (๒) ใหความเห็นชอบและตรวจสอบการจัดสรรงบประมาณรายจายประจําปในสวนที่

    เกี่ยวกับการศึกษาใหสอดคลองกับนโยบายการศึกษาของชาติ

    (๓) พิจารณาขอเสนอแนะการจัดทําหรือการประเมินระบบหลักสูตร มาตรฐานหลักสูตร

    หลักสูตรแกนกลางการศึกษา และมาตรฐานการเทียบผลการศึกษาและประสบการณของผูเรียน สําหรับ

    การศึกษาในระบบทุกระดับและสาขา

    (๔) พิจารณาใหความเห็นชอบนโยบายการศึกษาพิเศษ และการศึกษาทางเลือกในทุกระดับ

  • ๑๕

    (๕) พิจารณาใหความเห็นชอบในการแตงตั้งคณะกรรมการตามมาตรา ๔๕ มาตรา ๔๗ มาตรา

    ๔๙ มาตรา ๕๑ มาตรา ๕๓ และกฎหมายวาดวยระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ

    (๖) พิจารณาออกระเบียบเกี่ยวกับการแตงตั้งคณะกรรมการตามมาตรา ๕๘ มาตรา ๕๙

    มาตรา ๖๐ มาตรา ๖๑ มาตรา ๖๒ และมาตรา ๖๓ และใหความเห็นชอบแตงตั้งคณะกรรมการดังกลาว

    (๗) พิจารณาใหความเห็นชอบการแตงตั้งโยกยายขาราชการ พนักงาน และเจาหนาที่ระดับสูง

    ในกระทรวงศึกษาธิการและหนวยงานที่เกี่ยวของกับการจัดการศึกษาของชาติ

    (๘) พิจารณากําหนดมาตรฐานวิชาชีพ และจรรยาบรรณของวิชาชีพครู อาจารย และ

    บุคลากรทางการศึกษา รวมทั้งกําหนดนโยบายการพัฒนาวิชาชีพครู ผูบริหารสถานศึกษาและผูบริหาร

    การศึกษา โดยคํานึงถึงมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณวิชาชีพที่เปนที่ยอมรับของนานาประเทศ

    (๙) ประสานความรวมมือกับหนวยงานที่เกี่ยวของในการดําเนินการตามนโยบายการศึกษา

    ของชาติ และการจัดทําอุดมการณพัฒนาชาติในนโยบายการศึกษาของชาติ เพื่อเปนรากฐานของยุทธศาสตร

    ความมั่นคงของชาติ

    (๑๐) ติดตามตรวจสอบการดําเนินการใหเปนไปตามนโยบายการศึกษาของชาติ

    (๑๑) พิจารณาอุทธรณกรณีการสั่งเพิกถอนใบอนุญาต การปดหลักสูตร การปดสถานศึกษา

    หรือการงดรับนักเรียนของสถานศึกษาเอกชน สถานศึกษาซึ่งไมไดรับการรับรองมาตรฐาน และสถานศึกษาที่

    ไมไดขอรับการประเมินมาตรฐาน

    (๑๒) พิจารณาสั่งปดสถานศึกษาของสถานศึกษาซึ่งไมไดรับการรับรองมาตรฐาน และ

    สถานศึกษาที่ไมไดขอรับการประเมินมาตรฐานตามมาตรา ๘๖ และมาตรา ๘๘

    (๑๓) กํากับดูแลการปฏิบัติงานของสํานักงานสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติ

    (๑๔) เสนอแนะตอคณะรัฐมนตรีและรัฐสภาในการจัดการศึกษาของชาติ

    (๑๕) อํานาจอื่นตามที่กําหนดไวในพระราชบัญญัตินี้ และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวของ

    มาตรา ๔๔ กระทรวงศึกษาธิการมีอํานาจหนาที่เกี่ยวกับการสงเสริมและกํากับดูแลการจัด

    การศึกษาทุกระดับและทุกประเภท ตามนโยบาย แผน และมาตรฐานการศึกษา สนับสนุนทรัพยากรเพื่อ

    การศึกษา สงเสริมและประสานงานการศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม และการกีฬาเพื่อการศึกษา รวมทั้ง

    การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศึกษาเทาที ่ไมขัดหรือแยงกับองคกรที ่มีหนาที ่ใน

    การตรวจสอบตามมาตรา ๖๒ และราชการอื ่นตามที ่ม ีกฎหมายกําหนดใหเปนอํานาจหนาที่ของ

    กระทรวงศึกษาธิการหรือสวนราชการที่สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ

    มาตรา ๔๕ ใหมีคณะกรรมการการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษา ประกอบดวย

    (๑) กรรมการสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติผูทรงคุณวุฒิ เปนประธานกรรมการ

  • ๑๖

    (๒) กรรมการผูทรงคุณวุฒิดานการศึกษาปฐมวัย ดานประถมศึกษา ดานการศึกษาพิเศษ

    ดานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ดานการเงินการคลัง และดานกฎหมาย จํานวนดานละหนึ่ง

    คน

    (๓) กรรมการผูแทนองคกรปกครองสวนทองถิ่น จํานวนหนึ่งคน

    (๔) กรรมการผูแทนภาคประชาสังคมที่จัดการศึกษาดานปฐมวัยและประถมศึกษา จํานวนหนึ่งคน

    ใหมีเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษา เปนเลขานุการของ

    คณะกรรมการตามวรรคหนึ่ง และดําเนินงานโดยทั่วไปของสํานักงานการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษา ทั้งนี้

    ตามที่กําหนดในกฎหมายวาดวยระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ

    คุณสมบัติ หลักเกณฑ วิธีการไดมา วาระการดํารงตําแหนง การพนจากตําแหนงของ

    กรรมการผูทรงคุณวุฒิตาม (๒) และกรรมการผูแทนตาม (๓) และการดําเนินงานของคณะกรรมการตาม

    วรรคหนึ่ง ใหเปนไปตามระเบียบของสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติ

    มาตรา ๔๖ ใหคณะกรรมการการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษา มีอาํนาจหนาที่

    (๑) เสนอแนะนโยบายการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษาตอสภานโยบายและพัฒนา

    การศึกษาแหงชาติ

    (๒) เสนอแนะการจัดทําหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษาตอสภานโยบายและ

    พัฒนาการศึกษาแหงชาติ

    (๓) เสนอความเห็นตอสถาบันวิจัยและพัฒนาระบบหลักสูตรการศึกษาแหงชาติและสภา

    นโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติในการจัดทํามาตรฐานหลักสูตร หลักสูตรแกนกลางการศึกษาภาคบังคับ

    และมาตรฐานการเทียบผลการศึกษาและประสบการณของผูเรี