84
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ๑๔ กรกฎาคม ๒๕๕๑

กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

  • Upload
    others

  • View
    11

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกระทรวงศึกษาธิการ

๑๔ กรกฎาคม ๒๕๕๑

Page 2: กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

สารบัญ

หนา

คํานํา

ทําไมตองเรียนวิทยาศาสตร ๑

เรียนรูอะไรในวิทยาศาสตร ๑

สาระและมาตรฐานการเรียนรู ๒

คุณภาพผูเรียน ๔

ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง ๙

สาระที่ ๑ สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดํารงชีวิต ๙

สาระที่ ๒ ชีวิตกับสิ่งแวดลอม ๒๔

สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร ๓๑

สาระที่ ๔ แรงและการเคลื่อนที่ ๔๑

สาระที่ ๕ พลังงาน ๔๗

สาระที่ ๖ กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก ๕๔

สาระที่ ๗ ดาราศาสตรและอวกาศ ๖๒

สาระที่ ๘ ธรรมชาติของวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ๖๘

อภิธานศัพท ๗๘

คณะผูจัดทํา ๘๐

Page 3: กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร

ทําไมตองเรียนวิทยาศาสตร

วิทยาศาสตรมีบทบาทสําคัญยิ่งในสังคมโลกปจจุบันและอนาคต เพราะวิทยาศาสตรเกี่ยวของกับทุกคนทั้งในชีวิตประจําวันและการงานอาชีพตาง ๆ ตลอดจนเทคโนโลยี เครื่องมือเครื่องใชและผลผลิตตาง ๆ ที่มนุษยไดใชเพื่ออํานวยความสะดวกในชีวิตและการทํางาน เหลานี้ลวนเปนผลของความรูวิทยาศาสตร ผสมผสานกับความคิดสรางสรรคและศาสตรอื่น ๆ วิทยาศาสตรชวยใหมนุษยไดพัฒนาวิธีคิด ทั้งความคิดเปนเหตุเปนผล คิดสรางสรรค คิดวิเคราะห วิจารณ มีทักษะสําคัญในการคนควาหาความรู มีความสามารถในการแกปญหาอยางเปนระบบ สามารถตัดสินใจโดยใชขอมูลที่หลากหลายและมีประจักษพยานที่ตรวจสอบได วิทยาศาสตรเปนวัฒนธรรมของโลกสมัยใหมซึ่งเปนสังคมแหงการเรียนรู (K knowledge-based society) ดังนั้นทุกคนจึงจําเปนตองไดรับการพัฒนาใหรูวิทยาศาสตร เพื่อที่จะมีความรูความเขาใจในธรรมชาติและเทคโนโลยีที่มนุษยสรางสรรคขึ้น สามารถนําความรูไปใชอยางมีเหตุผล สรางสรรค และมีคุณธรรม

เรียนรูอะไรในวิทยาศาสตร

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรมุงหวังใหผูเรียน ไดเรียนรูวิทยาศาสตรที่เนนการเชื่อมโยงความรูกับกระบวนการ มีทักษะสําคัญในการคนควาและสรางองคความรู โดยใชกระบวนการในการสืบเสาะหาความรู และการแกปญหาที่หลากหลาย ใหผูเรียนมีสวนรวมในการเรียนรูทุกขั้นตอน มีการทํากิจกรรมดวยการลงมือปฏิบัติจริงอยางหลากหลาย เหมาะสมกับระดับชั้น โดยไดกําหนดสาระสําคัญไวดังนี้

สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดํารงชีวิต สิ่งมีชีวิต หนวยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต โครงสรางและหนาที่ของระบบตาง ๆ ของสิ่งมีชีวิต และกระบวนการดํารงชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ การถายทอดทางพันธุกรรม การทํางานของระบบตาง ๆ ของสิ่งมีชีวิต วิวัฒนาการและความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต และเทคโนโลยีชีวภาพ

ชีวิตกับสิ่งแวดลอม สิ่งมีชีวิตที่หลากหลายรอบตัว ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดลอม ความสัมพันธของสิ่งมีชีวิตตาง ๆ ในระบบนิเวศ ความสําคัญของทรัพยากรธรรมชาติ การใชและจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ในระดับทองถิ่น ประเทศ และโลก ปจจัยที่มีผลตอการอยูรอดของสิ่งมีชีวิตในสภาพแวดลอมตาง ๆ

สารและสมบัติของสาร สมบัติของวัสดุและสาร แรงยึดเหนี่ยวระหวางอนุภาค การเปลี่ยนสถานะ การเกิดสารละลายและการเกิดปฏิกิริยาเคมีของสาร สมการเคมี และการแยกสาร

Page 4: กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

แรงและการเคลื่อนที่ ธรรมชาติของแรงแมเหล็กไฟฟา แรงโนมถวง แรงนิวเคลียร การออกแรงกระทําตอวัตถุ การเคลื่อนที่ของวัตถุ แรงเสียดทาน โมเมนตการเคลื่อนที่แบบตาง ๆ ในชีวิตประจําวัน

พลังงาน พลังงานกับการดํารงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลังงาน สมบัติและปรากฏการณของแสง เสียง และวงจรไฟฟา คลื่นแมเหล็กไฟฟา กัมมันตภาพรังสีและปฏิกิริยานิวเคลียร ปฏิสัมพันธระหวางสารและพลังงานการอนุรักษพลังงาน ผลของการใชพลังงานตอชีวิตและสิ่งแวดลอม

กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก โครงสรางและองคประกอบของโลก ทรัพยากรทางธรณี สมบัติทางกายภาพของดิน หิน น้ํา อากาศ สมบัติของผิวโลก และบรรยากาศ กระบวนการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก ปรากฏการณทางธรณี ปจจัยที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลงของบรรยากาศ

ดาราศาสตรและอวกาศ วิวัฒนาการของระบบสุริยะ กาแล็กซี เอกภพ ปฏิสัมพันธและผลตอสิ่งมีชีวิตบนโลก ความสัมพันธของดวงอาทิตย ดวงจันทร และโลก ความสําคัญของเทคโนโลยีอวกาศ

ธรรมชาติของวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กระบวนการทางวิทยาศาสตร การสืบเสาะหาความรู การแกปญหา และจิตวิทยาศาสตร

สาระและมาตรฐานการเรียนรู

สาระที่ ๑ สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดํารงชีวิตมาตรฐาน ว ๑. ๑ เขาใจหนวยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธของโครงสราง และหนาที่ของ

ระบบตางๆ ของสิ่งมีชีวิตที่ทํางานสัมพันธกัน มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชในการดํารงชีวิตของตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต

มาตรฐาน ว ๑.๒ เขาใจกระบวนการและความสําคัญของการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ การใชเทคโนโลยีชีวภาพที่มีผลกระทบตอมนุษยและสิ่งแวดลอม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสาร สิ่งที่เรียนรู และนําความรูไปใชประโยชน

สาระที่ ๒ ชีวิตกับสิ่งแวดลอมมาตรฐาน ว ๒. ๑ เขาใจสิ่งแวดลอมในทองถิ่น ความสัมพันธระหวางสิ่งแวดลอมกับสิ่งมีชีวิต

ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตตาง ๆ ในระบบนิเวศ มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรูและจิตวิทยาศาสตรสื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน

มาตรฐาน ว ๒.๒ เขาใจความสําคัญของทรัพยากรธรรมชาติ การใชทรัพยากรธรรมชาติในระดับทองถิ่น ประเทศ และโลกนําความรูไปใชในในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในทองถิ่นอยางยั่งยืน

Page 5: กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสารมาตรฐาน ว ๓. ๑ เขาใจสมบัติของสาร ความสัมพันธระหวางสมบัติของสารกับโครงสรางและแรง

ยึดเหนี่ยวระหวางอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรูและจิตวิทยาศาสตรสื่อสารสิ่งที่เรียนรู นําความรูไปใชประโยชน

มาตรฐาน ว ๓.๒ เขาใจหลักการและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร การเกิดสารละลาย การเกิดปฏิกิริยา มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรู และนําความรูไปใชประโยชน

สาระที่ ๔ แรงและการเคลื่อนที่มาตรฐาน ว ๔. ๑ เข าใจธรรมชาติของแรงแม เหล็กไฟฟา แรงโนมถวง และแรงนิว เคลียร

มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชนอยางถูกตองและมีคุณธรรม

มาตรฐาน ว ๔.๒ เขาใจลักษณะการเคลื่อนที่แบบตางๆ ของวัตถุในธรรมชาติมีกระบวนการ สืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใช ประโยชน

สาระที่ ๕ พลังงานมาตรฐาน ว ๕. ๑ เขาใจความสัมพันธระหวางพลังงานกับการดํารงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลังงาน

ปฏิสัมพันธระหวางสารและพลังงาน ผลของการใชพลังงานตอชีวิตและสิ่ งแวดลอม มีกระบวน การสืบเสาะหาความรู สื่ อสารสิ่ งที่ เรียนรูและ นําความรูไปใชประโยชน

สาระที่ ๖ กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลกมาตรฐาน ว ๖. ๑ เขาใจกระบวนการตาง ๆ ที่เกิดขึ้นบนผิวโลกและภายในโลก ความสัมพันธของ

กระบวนการตาง ๆ ที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และสัณฐานของโลก มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน

สาระที่ ๗ ดาราศาสตรและอวกาศมาตรฐาน ว ๗. ๑ เขาใจวิวัฒนาการของระบบสุริยะ กาแล็กซีและเอกภพการปฏิสัมพันธภายในระบบ

สุริยะและผลตอสิ่งมีชีวิตบนโลก มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรูและจิตวิทยาศาสตร การสื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน

Page 6: กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

มาตรฐาน ว ๗.๒ เขาใจความสําคัญของเทคโนโลยีอวกาศที่นํามาใชในการสํารวจอวกาศและทรัพยากรธรรมชาติ ดานการเกษตรและการสื่อสาร มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชนอยางมีคุณธรรมตอชีวิตและสิ่งแวดลอม

สาระที่ ๘ ธรรมชาติของวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีมาตรฐาน ว ๘. ๑ ใชกระบวนการทางวิทยาศาสตรและจิตวิทยาศาสตรในการสืบเสาะหาความรู การ

แกปญหา รูวาปรากฏการณทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นสวนใหญมีรูปแบบที่แนนอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได ภายใตขอมูลและเครื่องมือที่มีอยูในชวงเวลานั้นๆ เขาใจวา วิทยาศาสตร เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดลอม มีความเกี่ยวของสัมพันธกัน

คุณภาพผูเรียน

จบชั้นประถมศึกษาปที่ ๓

เขาใจลักษณะทั่วไปของสิ่งมีชีวิต และการดํารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตที่หลากหลายในสิ่งแวดลอมทองถิ่น

เขาใจลักษณะที่ปรากฏและการเปลี่ยนแปลงของวัสดุรอบตัว แรงในธรรมชาติ รูปของพลังงาน

เขาใจสมบัติทางกายภาพของดิน หิน น้ํา อากาศ ดวงอาทิตย และดวงดาว ตั้งคําถามเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต วัสดุและสิ่งของ และปรากฏการณตางๆ รอบตัว สังเกต สํารวจ

ตรวจสอบโดยใชเครื่องมืออยางงาย และสื่อสารสิ่งที่เรียนรูดวยการเลาเรื่อง เขียน หรือวาดภาพ ใชความรูและกระบวนการทางวิทยาศาสตร ในการดํารงชีวิต การศึกษาหาความรูเพิ่มเติม

ทําโครงงานหรือชิ้นงานตามที่กําหนดให หรือตามความสนใจ แสดงความกระตือรือรน สนใจที่จะเรียนรู และแสดงความซาบซึ้งตอสิ่งแวดลอมรอบตัว

แสดงถึงความมีเมตตา ความระมัดระวังตอสิ่งมีชีวิตอื่น ทํางานที่ไดรับมอบหมายดวยความมุงมั่น รอบคอบ ประหยัด ซื่อสัตย จนเปนผลสําเร็จ

และทํางานรวมกับผูอื่นอยางมีความสุข

จบชั้นประถมศึกษาปที่ ๖

เขาใจโครงสรางและการทํางานของระบบตางๆ ของสิ่งมีชีวิต และความสัมพันธของสิ่งมีชีวิตที่หลากหลายในสิ่งแวดลอมที่แตกตางกัน

Page 7: กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

เขาใจสมบัติและการจําแนกกลุมของวัสดุ สถานะของสาร สมบัติของสารและการทําใหสารเกิดการเปลี่ยนแปลง สารในชีวิตประจําวัน การแยกสารอยางงาย

เขาใจผลที่เกิดจากการออกแรงกระทํากับวัตถุ ความดัน หลักการเบื้องตนของแรงลอยตัว สมบัติและปรากฏการณเบื้องตนของแสง เสียง และวงจรไฟฟา

เขาใจลักษณะ องคประกอบ สมบัติของผิวโลก และบรรยากาศ ความสัมพันธของดวงอาทิตย โลก และดวงจันทรที่มีผลตอการเกิดปรากฎการณธรรมชาติ

ตั้งคําถามเกี่ยวกับสิ่งที่จะเรียนรู คาดคะเนคําตอบหลายแนวทาง วางแผนและสํารวจตรวจสอบโดยใชเครื่องมือ อุปกรณ วิเคราะหขอมูล และสื่อสารความรูจากผลการสํารวจตรวจสอบ

ใชความรูและกระบวนการทางวิทยาศาสตรในการดํารงชีวิต และการศึกษาความรูเพิ่มเติม ทําโครงงานหรือชิ้นงานตามที่กําหนดใหหรือตามความสนใจ

แสดงถึงความสนใจ มุงมั่น รับผิดชอบ รอบคอบและซื่อสัตยในการสืบเสาะหาความรู ตระหนักในคุณคาของความรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี แสดงความชื่นชม ยกยอง และ

เคารพสิทธิในผลงานของผูคิดคน แสดงถึ งความซาบซึ้ ง หวงใย แสดงพฤติกรรมเกี่ ยวกับการใชการดูแลรักษา

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางรูคุณคา ทํางานรวมกับผูอื่นอยางสรางสรรค แสดงความคิดเห็นของตนเองและยอมรับฟงความ

คิดเห็นของผูอื่น

จบชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓

เขาใจลักษณะและองคประกอบที่สําคัญของเซลลสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธของการทํางานของระบบตางๆ การถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม เทคโนโลยีชีวภาพ ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต พฤติกรรมและการตอบสนองตอสิ่งเราของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตในสิ่งแวดลอม

เขาใจองคประกอบและสมบัติของสารละลาย สารบริสุทธิ์ การเปลี่ยนแปลงของสารในรูปแบบของการเปลี่ยนสถานะ การเกิดสารละลายและการเกิดปฏิกิริยาเคมี

เขาใจแรงเสียดทาน โมเมนตของแรง การเคลื่อนที่แบบตางๆ ในชีวิตประจําวัน กฎการอนุรักษพลังงาน การถายโอนพลังงาน สมดุลความรอน การสะทอน การหักเหและความเขมของแสง

เขาใจความสัมพันธระหวางปริมาณทางไฟฟา หลักการตอวงจรไฟฟาในบาน พลังงานไฟฟาและหลักการเบื้องตนของวงจรอิเล็กทรอนิกส

Page 8: กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

เขาใจกระบวนการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก แหลงทรัพยากรธรณี ปจจัยที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลงของบรรยากาศ ปฏิสัมพันธภายในระบบสุริยะ และผลที่มีตอสิ่งตางๆ บนโลก ความสําคัญของเทคโนโลยีอวกาศ

เขาใจความสัมพันธระหวางวิทยาศาสตรกับเทคโนโลยี การพัฒนาและผลของการพัฒนาเทคโนโลยีตอคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดลอม

ตั้งคําถามที่มีการกําหนดและควบคุมตัวแปร คิดคาดคะเนคําตอบหลายแนวทาง วางแผนและลงมือสํารวจตรวจสอบ วิเคราะหและประเมินความสอดคลองของขอมูล และสรางองคความรู

สื่อสารความคิด ความรูจากผลการสํารวจตรวจสอบโดยการพูด เขียน จัดแสดง หรือใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

ใชความรูและกระบวนการทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีในการดํารงชีวิต การศึกษาหาความรูเพิ่มเติม ทําโครงงานหรือสรางชิ้นงานตามความสนใจ

แสดงถึงความสนใจ มุงมั่น รับผิดชอบ รอบคอบ และซื่อสัตยในการสืบเสาะหาความรูโดยใช เครื่องมือและวิธีการที่ใหไดผลถูกตองเชื่อถือได

ตระหนักในคุณคาของความรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีที่ใชในชีวิตประจําวันและการประกอบอาชีพ แสดงความชื่นชม ยกยองและเคารพสิทธิในผลงานของผูคิดคน

แสดงถึงความซาบซึ้ง หวงใย มีพฤติกรรมเกี่ยวกับการใชและรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางรูคุณคา มีสวนรวมในการพิทักษ ดูแลทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในทองถิ่น

ทํางานรวมกับผูอื่นอยางสรางสรรค แสดงความคิดเห็นของตนเองและยอมรับฟงความคิดเห็นของผูอื่น

จบชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖

เขาใจการรักษาดุลยภาพของเซลลและกลไกการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต เขาใจกระบวนการถายทอดสารพันธุกรรม การแปรผัน มิวเทชัน วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต

ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตและปจจัยที่มีผลตอการอยูรอดของสิ่งมีชีวิตในสิ่งแวดลอมตางๆ เขาใจกระบวนการ ความสําคัญและผลของเทคโนโลยีชีวภาพตอมนุษย สิ่งมีชีวิตและ

สิ่งแวดลอม เขาใจชนิดของอนุภาคสําคัญที่เปนสวนประกอบในโครงสรางอะตอม การจัดเรียงธาตุใน

ตารางธาตุ การเกิดปฏิกิริยาเคมีและเขียนสมการเคมี ปจจัยที่มีผลตออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี เขาใจชนิดของแรงยึดเหนี่ยวระหวางอนุภาคและสมบัติตางๆ ของสารที่มีความสัมพันธกับ

แรงยึดเหนี่ยว

Page 9: กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

เขาใจการเกิดปโตรเลียม การแยกแกสธรรมชาติและการกลั่นลําดับสวนน้ํามันดิบ การนําผลิตภัณฑปโตรเลียมไปใชประโยชนและผลตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม

เขาใจชนิด สมบัติ ปฏิกิริยาที่สําคัญของพอลิเมอรและสารชีวโมเลกุล เขาใจความสัมพันธระหวางปริมาณที่เกี่ยวกับการเคลื่อนที่แบบตางๆ สมบัติของคลื่นกล

คุณภาพของเสียงและการไดยิน สมบัติ ประโยชนและโทษของคลื่นแมเหล็กไฟฟา กัมมันตภาพรังสีและพลังงานนิวเคลียร

เขาใจกระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลกและปรากฏการณทางธรณีที่มีผลตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม

เขาใจการเกิดและวิวัฒนาการของระบบสุริยะ กาแล็กซี เอกภพและความสําคัญของเทคโนโลยีอวกาศ

เขาใจความสัมพันธของความรูวิทยาศาสตรที่มีผลตอการพัฒนาเทคโนโลยีประเภทตางๆ และการพัฒนาเทคโนโลยีที่สงผลใหมีการคิดคนความรูทางวิทยาศาสตรที่กาวหนา ผลของเทคโนโลยีตอชีวิต สังคม และสิ่งแวดลอม

ระบุปญหา ตั้งคําถามที่จะสํารวจตรวจสอบ โดยมีการกําหนดความสัมพันธระหวางตัวแปรตางๆ สืบคนขอมูลจากหลายแหลง ตั้งสมมติฐานที่เปนไปไดหลายแนวทาง ตัดสินใจเลือกตรวจสอบสมมติฐานที่เปนไปได

วางแผนการสํารวจตรวจสอบเพื่อแกปญหาหรือตอบคําถาม วิ เคราะห เชื่อมโยงความสัมพันธของตัวแปรตางๆ โดยใชสมการทางคณิตศาสตรหรือสรางแบบจําลองจากผลหรือความรูที่ไดรับจากการสํารวจตรวจสอบ

สื่อสารความคิด ความรูจากผลการสํารวจตรวจสอบโดยการพูด เขียน จัดแสดง หรือใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

ใชความรูและกระบวนการทางวิทยาศาสตรในการดํารงชีวิต การศึกษาหาความรูเพิ่มเติม ทําโครงงานหรือสรางชิ้นงานตามความสนใจ

แสดงถึงความสนใจ มุงมั่น รับผิดชอบ รอบคอบและซื่อสัตยในการสืบเสาะหาความรู โดยใชเครื่องมือและวิธีการที่ใหไดผลถูกตองเชื่อถือได

ตระหนักในคุณคาของความรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีที่ใชในชีวิตประจําวัน การประกอบอาชีพ แสดงถึงความชื่นชม ภูมิใจ ยกยอง อางอิงผลงาน ชิ้นงานที่เปนผลจากภูมิปญญาทองถิ่นและการพัฒนาเทคโนโลยีที่ทันสมัย

แสดงความซาบซึ้ง หวงใย มีพฤติกรรมเกี่ยวกับการใชและรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางรูคุณคา เสนอตัวเองรวมมือปฏิบัติกับชุมชนในการปองกัน ดูแลทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมของทองถิ่น

แสดงถึงความพอใจ และเห็นคุณคาในการคนพบความรู พบคําตอบ หรือแกปญหาได

Page 10: กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

ทํางานรวมกับผูอื่นอยางสรางสรรค แสดงความคิดเห็นโดยมีขอมูลอางอิงและเหตุผลประกอบ เกี่ยวกับผลของการพัฒนาและการใชวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีอยางมีคุณธรรมตอสังคมและสิ่งแวดลอม และยอมรับฟงความคิดเห็นของผูอื่น

Page 11: กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง

สาระที่ ๑ สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดํารงชีวิต

มาตรฐาน ว ๑. ๑ เขาใจหนวยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธของโครงสราง และหนาที่ของระบบตางๆ ของสิ่งมีชีวิตที่ทํางานสัมพันธกัน มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชในการดํารงชีวิตของตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง

๑. เปรียบเทียบความแตกตางระหวางสิ่งมีชีวิตกับสิ่งไมมีชีวิต

- สิ่งมีชีวิตมีลักษณะแตกตางจากสิ่งไมมีชีวิต โดยสิ่งมีชีวิตจะมีการเคลื่อนที่ กินอาหาร ขับถาย หายใจ เจริญเติบโต สืบพันธุและตอบสนองตอสิ่งเรา แตสิ่งไมมีชีวิตจะไมมีลักษณะดังกลาว

๒. สังเกตและอธิบายลักษณะและหนาที่ของโครงสรางภายนอกของพืชและสัตว

- โครงสรางภายนอกของพืชไดแก ราก ลําตน ใบ ดอกและผล แตละสวนทําหนาที่ตางกัน

- โครงสรางภายนอกของสัตว ไดแก ตา หู จมูก ปาก เทา และขา แตละสวนทําหนาที่แตกตางกัน

ป. ๑

๓. สั ง เ ก ต แ ล ะ อ ธิ บ า ย ลั ก ษ ณ ะ หน า ที่ แ ล ะ ค ว า ม สํ า คั ญ ข อ งอ วั ย ว ะ ภ า ย น อ ก ข อ ง ม นุ ษ ย ตลอดจนการดูแลรักษาสุขภาพ

- อวัยวะภายนอกของมนุษยมีลักษณะและห น า ที่ แ ต ก ต า ง กั น อ วั ย ว ะ เ ห ล า นี้ มีความสําคัญตอการดํารงชีวิต จึงตองดูแลรักษาและปองกันไมใหอวัยวะเหลานั้นไดรับอันตราย

๑. ทดลองและอธิบาย น้ํา แสง เปนปจจัยที่จําเปนตอการดํารงชีวิตของพืช

- พืชตองการน้ําและแสงในการเจริญเติบโตและการดํารงชีวิต

ป. ๒

๒. อธิบายอาหาร น้ํา อากาศ เปนปจจัยที่จําเปนตอการดํารงชีวิต และการเจริญเติบโตของพืชและสั ต ว แ ล ะ นํ า ค ว า ม รู ไ ป ใ ชประโยชน

- พืชและสัตวตองการอาหาร น้ํา อากาศ เพื่อการดํารงชีวิตดํารงชีวิตและการเจริญเติบโต

- นําความรูไปใชประโยชนในการดูแลพืชและสัตวเพื่อใหเจริญเติบโตไดดี

Page 12: กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

๑๐

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง

๓. สํารวจและอธิบาย พืชและสัตวสามารถตอบสนองตอแสง อุณหภูมิ และการสัมผัส

- พืช แล ะ สัตวมีก ารตอบ ส นองตอ แส ง อุณหภูมิ และการสัมผัส

๔. ทดลองและอธิบาย รางกายของมนุษยสามารถ ตอบสนองตอแสง อุณหภูมิ และการสัมผัส

- รางกายมนุษยสามารถตอบสนองตอ แสง อุณหภูมิและการสัมผัส

๕. อธิบายปจจัยที่จําเปนตอการดํารงชีวิต และการเจริญเติบโตของมนุษย

- มนุษยตองการอาหาร น้ํา อากาศ เพื่อการดํารงชีวิตและการเจริญเติบโต

ป. ๓ - -

๑. ทดลองและอธิบายหนาที่ของทอลําเลียงและ ปากใบของพืช

- ภายในลําตนของพืชมีทอลําเลียง เพื่อลําเลียงน้ําและอาหาร และในใบมีปากใบทําหนาที่คายน้ํา

๒. อธิบาย น้ํา แกสคารบอนไดออกไซด แสงและคลอโรฟลล เปนปจจัยที่จํ าเป นบางประการตอ การเจริญเติบโตและการสังเคราะหดวยแสงของพืช

- ปจจั ยที่ สํ าคั ญตอการเจริญเติบโตและ การสังเคราะหดวยแสงของพืช ไดแก น้ํา แก ส ค า ร บ อนไ ดออก ไ ซ ด แส ง แล ะคลอโรฟลล

๓. ท ด ล อ ง แ ล ะ อ ธิ บ า ย ก า รตอบสนองของพืชตอแสง เสียง และการสัมผัส

- พืชมีการตอบสนองตอแสง เสียง และการสัมผัส ซึ่งเปนสภาพแวดลอมภายนอก

ป. ๔

๔. อธิบายพฤติกรรมของสัตวที่ตอบสนองตอแสง อุณหภูมิ การสัมผัส และนําความรูไปใชประโยชน

- พฤติกรรมของสัตว เปนการแสดงออกของสัตวในลักษณะตาง ๆ เพื่อตอบสนองตอสิ่งเรา เชน แสง อุณหภูมิ การสัมผัส

- นําความรูเกี่ยวกับพฤติกรรมของสัตวไปใช ประโยชนในการจัดสภาพแวดลอมใหเหมาะสมกับการดํารงชีวิตของสัตว และเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมเกษตร

ป. ๕ ๑. สังเกตและระบุสวนประกอบข อ ง ด อ ก แ ล ะ โ ค ร ง ส ร า ง ที่เกี่ยวของกับการสืบพันธุของพืชดอก

- ดอกโดยทั่วไปประกอบดวย กลีบเลี้ยง กลีบดอก เกสรเพศผู และเกสรเพศเมีย

- สวนประกอบของดอกที่ทําหนาที่เกี่ยวของกับ ก า รสื บ พั นธุ ไ ดแก เก ส ร เพ ศ เมี ย

Page 13: กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

๑๑

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง

ประกอบดวย รังไข ออวุล และเกสร เพศผู ประกอบดวยอับเรณูและละอองเรณู

๒. อธิบายการสืบพันธุของพืชดอก การขยายพันธุพืช และนําความรูไปใชประโยชน

- พืชดอกมีการสืบพันธุทั้งแบบอาศัยเพศและการสืบพันธุแบบไมอาศัยเพศ

- การขยายพันธุพืชเพื่ อเพิ่ มปริมาณและคุณภาพ ของพืช ทําไดหลายวิธี โดยการเพาะเมล็ด การปกชํา การตอนกิ่ง การติดตา การทาบกิ่ง การเสียบยอด และการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ

๓. อธิบายวัฏจักรชีวิตของพืชดอกบางชนิด

- พืชดอกเมื่อเจริญเติบโตเต็มที่จะออกดอก ดอกไดรับการผสมพันธุกลายเปนผล ผลมีเมล็ด ซึ่งสามารถงอกเปนตนพืชตนใหมหมุนเวียนเปนวัฏจักร

๔. อธิบายการสืบพันธุ และการขยายพันธุของสัตว

- สัตวมีการสืบพันธุแบบอาศัยเพศและการสืบพันธุแบบไมอาศัยเพศ

- การขยายพันธุสัตวโดยวิธีการคัดเลือกพันธุและการผสมเทียม ทําใหมนุษยไดสัตวที่มีปริมาณและคุณภาพตามที่ตองการ

๕. อภิปรายวัฏจักรชีวิตของสัตวบางชนิด และนําความรูไปใชประโยชน

- สัตวบางชนิด เชน ผีเสื้อ ยุง กบ เมื่อไขไดรับการผสมพันธุจะเจริญเปนตัวออน และตัวออน เจริญเติบโตเปนตัวเต็มวัย จนกระทั่งสามารถสืบพันธุได หมุนเวียนเปนวัฏจักร

- มนุษยนําความรูเกี่ยวกับวัฏจักรชีวิตของสัตว มาใชประโยชนมากมาย ทั้งทางดานการเกษตร การอุตสาหกรรม และการดูแลรักษาสิ่งแวดลอม

ป. ๖ ๑. อธิบายการเจริญเติบโตของมนุษยจากวัยแรกเกิดจนถึงวัยผูใหญ

- มนุษยมีการเจริญเติบโตและมีการเปลี่ยนแปลง ทางดานรางกายตั้งแตแรกเกิดจนเปนผูใหญ

Page 14: กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

๑๒

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง

๒. อธิบายการทํางานที่สัมพันธกันของระบบยอยอาหาร ระบบหายใจ และระบบหมุนเวียนเลือดของมนุษย

- ระบบยอยอาหาร ทําหนาที่ยอยอาหาร ใหเปนสารอาหารขนาดเล็กแลวจะถูกดูดซึมเขาสูระบบหมุนเวียนเลือด แกสออกซิเจนที่ไดจากระบบหายใจจะทําใหสารอาหารเกิดการเปลี่ยนแปลงจนกลายเปนพลังงานที่รางกายนําไปใชได

๓. วิเคราะหสารอาหารและอภิปรายความจําเปนที่รางกายตองไดรับสารอาหารในสัดสวนที่เหมาะสมกับเพศและวัย

- สารอาหาร ไดแก โปรตีน คารโบไฮเดรต ไขมัน แรธาตุ วิตามิน และน้ํา มีความจําเปนตอรางกาย มนุษยจําเปนตองไดรับสารอาหารในสัดสวนที่เหมาะสมกับเพศแล ะ วั ย เพื่ อก า ร เจ ริญ เติ บ โตแ ล ะ ก า รดํารงชีวิต

๑. สังเกตและอธิบายรูปราง ลักษณะของเซลลของสิ่ งมีชีวิต เซลลเดียวและเซลลของสิ่ งมีชีวิตหลายเซลล

- เซลลของสิ่งมีชีวิตเซลลเดียว และเซลลของ สิ่งมีชีวิตหลายเซลล เชน เซลลพืช และเซลลสัตวมีรูปราง ลักษณะแตกตางกัน

๒. สังเกตและเปรียบเทียบสวนประกอบสําคัญของเซลลพืชและเซลลสัตว

- นิวเคลียส ไซโทพลาซึม และเยื่อหุมเซลล เป นส วนป ระ ก อบ สํ า คั ญข อง เซล ล ที่เหมือนกันของเซลลพืชและเซลลสัตว

- ผ นั ง เ ซ ล ล แ ล ะ ค ล อ โ ร พ ล า ส ต เ ป นสวนประกอบ ที่พบไดในเซลลพืช

๓. ทดลองและอธิบายหนาที่ของสวนประกอบที่สําคัญของเซลลพืชและเซลลสัตว

- นิวเคลียส ไซโทพลาซึม เยื่อหุมเซลล แวคิวโอล เปนสวนประกอบที่สําคัญของเซลลสัตว มีหนาที่แตกตางกัน

- นิวเคลียส ไซโทพลาซึม เยื่อหุมเซลล แวคิวโอล ผนังเซลล และคลอโรพลาสต เปนสวนประกอบที่สําคัญของเซลลพืช มีหนาที่แตกตางกัน

ม. ๑

๔. ทดลองและอธิบายกระบวนการสารผานเซลล โดยการแพรและออสโมซิส

- การแพร เปนการเคลื่อนที่ของสาร จากบริเวณที่มีความเขมขนสูงไปสูบริเวณที่มีความเขมขนต่ํา

Page 15: กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

๑๓

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง

- ออสโมซิสเปน การเคลื่อนที่ของน้ําผานเขาและออกจากเซลล จากบริเวณที่มีความเขมขนของสารละลายต่ําไปสูบริเวณที่มีความเขมขนของสารละลายสูง โดยผานเยื่อเลือกผาน

๕. ทดลองหาปจจัยบางประการที่จําเปนตอการสังเคราะหดวยแสงของพืช และอธิบายวาแสง คลอโรฟลล แกส คารบอนได- ออกไซด น้ํา เปนปจจัยที่จําเปนตองใชในการสังเคราะหดวยแสง

- แสง คลอโรฟลล แกสคารบอนไดออกไซด และน้ํา เปนปจจัยที่จําเปนตอกระบวนการสังเคราะหดวยแสงของพืช

๖. ทดลองและอธิบายผลที่ไดจากการสังเคราะหดวยแสงของพืช

- น้ําตาล แกสออกซิเจนและน้ํา เปนผลิตภัณฑที่ไดจากกระบวนการสังเคราะหดวยแสงของพืช

๗. อธิบายความสําคัญของกระบวนการสังเคราะหดวยแสงของพืชตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม

- กระบวนการสังเคราะหดวยแสงมีความสําคัญตอการดํารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตและตอสิ่งแวดลอมใน ดานอาหาร การหมุนเวียนของแกสออกซิเจนและแกสคารบอนไดออกไซด

๘. ทดลองและอธิบายกลุมเซลลที่เกี่ยวของกับการลําเลียงน้ําของพืช

- เนื้อเยื่อลําเลียงน้ําเปนกลุมเซลลเฉพาะเรียงตอเนื่องกันตั้งแตราก ลําตน จนถึงใบ ทําหนาที่ ในการลําเลียงน้ําและธาตุอาหาร

๙. สังเกตและอธิบายโครงสรางที่เกี่ยวกับระบบลําเลียงน้ําและอาหารของพืช

- เนื้อเยื่อลําเลียงน้ําและเนื้อเยื่อลําเลียงอาหารเปนกลุ ม เซลล ที่ อยู คู ข นานกัน เปนท อลํา เลียง จากราก ลํ าตนถึงใบ ซึ่ งการจัดเรียงตัวของทอลําเลียงในพืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคูจะแตกตางกัน

- เนื้อเยื่อลําเลียงน้ํา ทําหนาที่ในการลําเลียงน้ํ าและธาตุอาหารจากรากสู ใบ ส วน

Page 16: กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

๑๔

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง

เนื้อเยื่อลําเลียงอาหารทําหนาที่ลํ า เลียงอาหารจากใบสูสวนตางๆ ของพืช

- การคายน้ํามีสวนชวยในการลําเลียงน้ําของพืช

๑๐. ทดลองและอธิบายโครงสรางของดอกที่ เกี่ยวของกับการสืบพันธุของพืช

- เกสรเพศผูและเกสรเพศเมียเปนโครงสรางที่ใชในการสืบพันธุของพืชดอก

๑ ๑. อธิบายกระบวนการสืบพันธุแบบอาศัยเพศของพืชดอกและการสืบพันธุแบบไมอาศัยเพศของพืช โดยใชสวนตางๆ ของพืชเพื่อชวยในการขยายพันธุ

- กระบวนการสืบพันธุแบบอาศัยเพศของพืชดอกเปนการปฏิสนธิระหวางเซลลสืบพันธุเพศผูและเซลลไขในออวุล

- การแตกหนอ การเกิดไหล เปนการสืบพันธุของพืชแบบไมอาศัย เพศ โดยไมมีการปฏิสนธิ

- ราก ลําตน ใบ และกิ่งของพืชสามารถนําไปใชขยายพันธุพืชได

๑ ๒ . ท ด ล อ ง แ ล ะ อ ธิ บ า ย ก า รตอบสนองของพืชตอแสง น้ํา และการสัมผัส

- พืชตอบสนองตอสิ่งเราภายนอก โดยสังเกตไดจากการเคลื่อนไหวของสวนประกอบของพืช ที่มีตอแสง น้ํา และการสัมผัส

๑๓. อธิบายหลักการและผลของการใช เทคโนโลยี ชีวภาพในการขยายพันธุ ปรับปรุงพันธุ เ พิ่ ม ผ ล ผ ลิ ต ข อ ง พื ช แ ล ะ นํ าความรูไปใชประโยชน

- เทคโนโลยีชีวภาพ เปนการใชเทคโนโลยีเพื่อ ทําใหสิ่งมีชีวิตหรือองคประกอบของสิ่งมีชีวิต มีสมบัติตามตองการ

- การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช พันธุวิศวกรรม เ ป น เ ท ค โ น โ ล ยี ชี ว ภ า พ ที่ ใ ช ใ น ก า รขยายพันธุ ปรับปรุงพันธุ และเพิ่มผลผลิตของพืช

Page 17: กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

๑๕

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง

๑. อ ธิ บ า ย โ ค ร ง ส ร า ง แ ล ะ ก า รทํางานของระบบ ยอยอาหารระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหายใจ ระบบขับถาย ระบบสืบพันธุ ของมนุษยและสัตวร ว ม ทั้ ง ร ะ บ บ ป ร ะ ส า ท ข อ งมนุษย

- ระบบยอยอาหาร ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหายใจ ระบบขับถาย ระบบสืบพันธุ และระบบประสาทของมนุษย ในแตละระบบ ประกอบดวยอวัยวะหลายชนิดที่ทํางานอยางเปนระบบ

- ระบบยอยอาหาร ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหายใจ ระบบขับถาย ระบบสืบพันธุของสัตว ประกอบดวยอวัยวะหลายชนิดที่ทํางานอยาง เปนระบบ

๒. อธิบายความสัมพันธของระบบตางๆ ของ มนุษยและนําความรูไปใชประโยชน

- ระบบยอยอาหาร ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหายใจ ระบบขับถาย ระบบสืบพันธุของมนุษยในแตละระบบมีการทํางานที่สัมพันธกันทําใหมนุษยดํารงชีวิตอยูไดอยางปกติ ถาระบบใดระบบหนึ่งทํางานผิดปกติ ยอมสงผลกระทบตอระบบอื่นๆ ดังนั้นจึงตองมีการดูแลรักษาสุขภาพ

๓. สังเกตและอธิบายพฤติกรรมของมนุษยและสัตวที่ตอบสนองตอสิ่งเราภายนอกและภายใน

- แสง อุณหภูมิ และการสัมผัส จัดเปนสิ่งเรา ภายนอก สวนการเปลี่ยนแปลงระดับสารใน รางกาย เชน ฮอรโมน จัดเปนสิ่งเราภายใน ซึ่งทั้ง สิ่งเราภายนอกและสิ่งเราภายในมีผลตอมนุษยและสัตว ทําใหแสดงพฤติกรรมตางๆ ออกมา

ม. ๒

๔. อธิบายหลักการและผลของการใช เทคโนโลยีชีวภาพในการขยายพันธุ ปรับปรุงพันธุ และเพิ่มผลผลิตของสัตวและนํ าความรูไปใชประโยชน

- เทคโนโลยีชีวภาพเปนการใชเทคโนโลยีเพื่อ ทําใหสิ่งมีชีวิตหรือองคประกอบของสิ่งมีชีวิต มีสมบัติตามตองการ

- การผสมเทียม การถายฝากตัวออน การโคลน เป นกา รใ ช เท คโนโลยี ชี วภา พ ในก า รขยายพันธุ ปรับปรุงพันธุ และเพิ่มผลผลิตของสัตว

๕. ทดลอง วิเคราะห และอธิบายสารอาหารในอาหารมีปริมาณ

- แปง น้ําตาล ไขมัน โปรตีน วิตามินซี เปนสารอาหารและสามารถทดสอบได

Page 18: กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

๑๖

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง

พ ลั ง ง า น แ ล ะ สั ด ส ว น ที่เหมาะสมกับเพศและวัย

- ก า ร บ ริ โภ ค อ า ห า ร จํ า เ ป น ต อ ง ใ ห ไ ดสารอาหาร ที่ครบถวนในสัดสวนที่เหมาะสมกับเพศและวัย และไดรับปริมาณพลังงานที่เพียงพอกับความตองการของรางกาย

๖. อภิปรายผลของสารเสพติดตอระบบตาง ๆ ของรางกาย และแนวทางในการปองกันตนเองจากสารเสพติด

- สารเสพติดแตละประเภทมีผลตอระบบตาง ๆ ของรางกาย ทําใหระบบเหลานั้นทําหนาที่ ผิดปกติ ดังนั้นจึงตองหลีกเลี่ยงการใชสารเสพติด และหาแนวทางในการปองกันตนเองจาก สารเสพติด

ม.๓ - - ๑. ทดลองและอธิบายการรักษา

ดุลยภาพของเซลลของสิ่งมีชีวิต - สารตาง ๆ เคลื่อนที่ผานเขาและออกจาก

เซลล ตลอดเวลา เซลลจึงตองมีการรักษาดุลยภาพ เพื่อใหรางกายของสิ่งมีชีวิตดํารงชีวิตไดตามปกติ

- เซลลมีการลําเลียงสารผานเซลลโดยวิธีการแพร การออสโมซิส การลําเลียงแบบฟาซิลิเทต การลํ า เลียงแบบใชพลังงาน และการลําเลียงสารขนาดใหญ

- สิ่งมีชีวิตเซลลเดียวมีการลําเลียงสารเกิดขึ้น ภายในเซลลเพียงหนึ่งเซลล แตสิ่งมีชีวิตหลายเซลลตองอาศัยการทํางานประสานกันของเซลลจํานวนมาก

๒. ทดลองและอธิบายกลไกการรักษาดุลยภาพของน้ําในพืช

- พืชมีกลไกในการรักษาดุลยภาพของน้ํา โดยมี การควบคุมสมดุลระหวางการคายน้ําผานปากใบ และการดูดน้ําที่ราก

- การเปดปดของปากใบเปนการควบคุมอัตราการคายน้ําของพืช ซึ่งชวยในการรักษาดุลยภาพของน้ําภายในพืชใหมีความชุมชื้นในระดับที่พอเหมาะ

ม. ๔-ม. ๖

๓. สืบคนขอมูลและอธิบายกลไกการควบคุมดุลยภาพของน้ํ า

- ไตเปนอวัยวะสําคัญในการรักษาดุลยภาพของน้ําและสารตาง ๆ ในรางกาย ซึ่งมี

Page 19: กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

๑๗

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง

แรธาตุ และอุณหภูมิของมนุษยและสัตวอื่น ๆ และนําความรูไปใชประโยชน

โครงสรางและการทํางานรวมกับอวัยวะอื่น- ภายในไตมีหนวยไต ของเหลวที่ผานเขาสู

หนวยไตสวนหนึ่งจะถูกดูดซึมกลับสูหลอดเลือด สวนที่ไมถูกดูดซึมกลับจะผานไปยังทอปสสาวะ

- ยูเรีย โซเดียมไอออน และคลอไรดไอออน เปนของเสียจากกระบวนการเมแทบอลิซึม จะถูกขับออกจากไตไปพรอมกับปสสาวะ

- อะมีบาและพารามีเซียมเปนสิ่งมีชีวิตเซลลเดียวที่มีโครงสรางภายในเซลลที่ เรียกวา คอนแทร็กไทลแวคิวโอลในการกําจัดน้ําและของเสียออกจากเซลล

- ปลาน้ําจืดมีเซลลบริเวณเหงือกที่น้ําเขาสูรางกาย ไดโดยการออสโมซิส สวนปลาน้ํ า เค็มปองกันการสูญเสียน้ํ าออกจากรางกายโดยมีผิวหนังและเกล็ดที่ปองกันไมใหแรธาตุจากน้ําทะเลซึมเขาสูรางกาย และที่บริเวณเหงือกมีกลุมเซลลซึ่งขับแรธาตุสวนเกินออกโดยวิธีการลําเลียงแบบใชพลังงาน

- มนุษยมีกลไกในการควบคุมอุณหภูมิของรางกายใหอยูในสภาวะที่เหมาะสม โดยศูนยควบคุมอุณหภูมจิะอยูที่สมองสวนไฮโพทาลามัส

- สัตวเลือดอุนสามารถรักษาอุณหภูมิของรางกาย ใหเกือบคงที่ไดในสภาวะแวดลอมตาง ๆ สวนสัตวเลือดเย็น อุณหภูมิรางกายจะแปรผันตามอุณหภูมิของสิ่งแวดลอม

๔. อธิบายเกี่ยวกับระบบภูมิคุมกันของรางกายและนําความรูไปใชในการดูแลรักษาสุขภาพ

- รางกายมนุษย มีภูมิคุมกันซึ่งเปนกลไก ในการปองกันเชื้อโรคหรือสิ่งแปลกปลอม เขาสูรางกาย

- ผิวหนัง เซลล เม็ด เลือดขาวและระบบ

Page 20: กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

๑๘

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง

น้ําเหลืองเปนสวนสําคัญของรางกายที่ทําหนาที่ปองกันและทําลายเชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมที่เขาสูรางกาย

- ระบบภูมิคุมกันมีความสําคัญยิ่งตอรางกายม นุ ษ ย ก า ร รั บ ป ร ะ ท า น อ า ห า ร ที่ ถู กสุขลักษณะ การออกกําลังกาย การดูแลสุขอนามัย ตลอดจนการหลีกเลี่ยงสารเสพติด และพฤติกรรมที่เสี่ยงทางเพศ และการไดรับวัคซีนในการปองกันโรคตาง ๆ ครบตามกําหนด จะชวยเสริมสรางภูมิคุมกันและรักษาภูมิคุมกันของรางกายได

Page 21: กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

๑๙

สาระที่ ๑ สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดํารงชีวิต

มาตรฐาน ว ๑.๒ เขาใจกระบวนการและความสําคัญของการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ การใชเทคโนโลยีชีวภาพที่มีผลกระทบตอมนุษยและสิ่งแวดลอม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรู และนําความรูไปใชประโยชน

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง

ป. ๑ ๑. ระบุลักษณะของสิ่งมีชีวิตในทองถิ่นและนํามาจัดจําแนกโดยใชลักษณะภายนอกเปนเกณฑ

- สิ่ งมีชี วิตในทองถิ่นจะมีทั้ งลักษณะที่เหมือนกัน และแตกตางกัน ซึ่งสามารถนํามาจําแนกโดยใชลักษณะภายนอกเปนเกณฑ

ป. ๒ ๑. อธิบายประโยชนของพืชและสัตวในทองถิ่น

- พืชและสัตวมีประโยชนตอมนุษยในแงของ ป จ จั ย สี่ คื อ เ ป น อ า ห า ร ที่ อ ยู อ า ศั ย เครื่องนุงหม และยารักษาโรค

๑. อภิปรายลักษณะตางๆ ของสิ่งมีชีวิตใกลตัว

- สิ่งมีชีวิตแตละชนิดจะมีลักษณะแตกตางกัน

๒. เปรียบเทียบและระบุลักษณะที่คลายคลึงกันของพอแมกับลูก

- สิ่งมีชีวิตทุกชนิดจะมีลักษณะภายนอกที่ปรากฏคลายคลึงกับพอแมของสิ่งมชีีวิตชนิดนั้น

๓. อธิบายลักษณะที่คลายคลึงกันของพอแมกับลูกวาเปนการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม และนําความรูไปใชประโยชน

- ลักษณะภายนอกที่คลายคลึงกันของพอแมกั บ ลู ก เ ป น ก า ร ถ า ย ท อด ลั ก ษ ณ ะ ท า งพันธุกรรม

- มนุษยนําความรูที่ไดเกี่ยวกับการถายทอด ลักษณะทางพันธุกรรมมาใชประโยชนในการพัฒนาสายพันธุของพืชและสัตว

ป. ๓

๔. สืบคนขอมูลและอภิปรายเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตบางชนิดที่สูญพันธุไปแลว และที่ดํารงพันธุมาจนถึงปจจุบัน (ว ๑.๒.๓)

- สิ่งมีชีวิตที่ไมสามารถปรับตัวใหเขากับสภาพแวดลอมที่เปลี่ยนแปลงไปไดก็จะสูญพันธุไปในที่สุด

- สิ่ ง มี ชี วิ ต ที่ ส า ม า ร ถ ป รั บ ตั ว เ ข า กั บสภาพแวดลอม ที่ เปลี่ ยนแปลงไปไดจะสามารถอยูรอดและดํารงพันธุตอไป

ป. ๔ - -

Page 22: กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

๒๐

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง

๑. สํารวจ เปรียบเทียบและระบุลักษณะของตนเองกับคนในครอบครัว

- ลักษณะของตนเองจะคลายคลึงกับคนใน ครอบครัว

๒. อธิบายการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตในแตละรุน

- การถายทอดลักษณะทางพันธุกรรมเปนการถ ายทอดลักษณะบางลักษณะจากบรรพบุรุษสูลูกหลาน ซึ่งบางลักษณะจะเหมือนพอหรือ เหมือนแม หรืออาจมีลักษณะเหมือน ปู ยา ตา ยาย

๓. จําแนกพืชออกเปนพืชดอก และพืชไมมีดอก

- พืชแบงออกเปนสองประเภทคือ พืชดอกกับพืชไมมีดอก

๔. ระบุลักษณะของพืชดอกที่เปนพืชใบเลี้ยงเดี่ยว และพืชใ บ เลี้ ย ง คู โดย ใ ช ลั ก ษ ณ ะภายนอกเปนเกณฑ

- พืชดอกแบงออกเปน พืชใบเลี้ยงเดี่ยวกับพืชใบเลี้ยงคู โดยสังเกตจาก ราก ลําตน และใบ

ป. ๕

๕. จําแนกสัตวออกเปนกลุมโดยใชลักษณะภายในบางลักษณะและ ลัก ษณะภา ยนอก เป นเกณฑ

- การจําแนกสัตวเปนกลุม โดยใชลักษณะภายนอกและลักษณะภายในบางลักษณะเปนเกณฑแบงออกไดเปนสัตวมีกระดูกสันหลังและสัตวไมมีกระดูกสันหลัง

- สัตวมีกระดูกสันหลังแบงเปนกลุมปลาสัตวครึ่งน้ําครึ่งบก สัตวเลื้อยคลาน สัตวปก และสัตวเลี้ยงลูกดวยน้ํานม

ป. ๖ - -

ม. ๑ - -

ม. ๒ - -

ม. ๓ ๑. สังเกตและอธิบายลักษณะของ โค รโมโซ มที่ มีหนวยพั น ธุ ก ร ร ม ห รื อ ยี น ใ นนิวเคลียส

- เมื่อมองเซลลผานกลองจุลทรรศนจะเห็นเสนใยเล็กๆ พันกันอยูในนิวเคลียส เมื่อเกิดการแบง เซลล เสนใยเหลานี้จะขดสั้นเขาจ น มี ลั ก ษ ณ ะ เ ป น ท อ น สั้ น เ รี ย ก ว า โครโมโซม

Page 23: กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

๒๑

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง

- โครโมโซมประกอบดวยดี เอ็นเอและโปรตีน

- ยีนหรือหนวยพันธุกรรมเปนสวนหนึ่งที่อยูบนดีเอ็นเอ

๒. อธิบายความสําคัญของสารพันธุกรรมหรือดีเอ็นเอ และกระบวนการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม

- เซลลหรือสิ่งมีชีวิต มีสารพันธุกรรมหรือ ดี เ อ็ น เ อ ที่ ค ว บ คุ ม ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง ก า รแสดงออก

- ลักษณะทางพันธุกรรมที่ควบคุมดวยยีนจากพอและแมสามารถถายทอดสูลูกผานทางเซลลสืบพันธุและการปฏิสนธิ

๓. อภิปรายโรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากความผิดปกติของยีนและโครโมโซมและนําความรูไปใชประโยชน

- โรคธาลัสซีเมีย ตาบอดสี เปนโรคทางพันธุกรรม ที่เกิดจากความผิดปกติของยีน

- กลุมอาการดาวนเปนความผิดปกติของร า ง ก า ย ซึ่ ง เ กิ ด จ า ก ก า ร ที่ มี จํ า น ว นโครโมโซมเกินมา

- ความรูเกี่ยวกับโรคทางพันธุกรรมสามารถนําไปใชในการปองกันโรค ดูแลผูปวยและวางแผนครอบครัว

๔. สํ า ร ว จ แ ล ะ อ ธิ บ า ย ค ว า มหลากหลายทางชีวภาพในท อ ง ถิ่ น ที่ ทํ า ใ ห สิ่ ง มี ชี วิ ตดํารงชีวิตอยูไดอยางสมดุล

- ค วา ม ห ล า ก หล า ย ท า ง ชี ว ภา พ ที่ ทํ า ใ หสิ่งมีชีวิตอยูอยางสมดุล ขึ้นอยูกับความห ล า ก ห ล า ย ข อ ง ร ะ บ บ นิ เ ว ศ ค ว า มหลากหลายของชนิดสิ่งมีชีวิต และความหลากหลายทางพันธุกรรม

๕. อ ธิ บ า ย ผ ล ข อ ง ค ว า มหลากหลายทางชีวภาพที่มีตอม นุ ษ ย สั ต ว พื ช แ ล ะสิ่งแวดลอม

- การตัดไมทําลายปาเปนสาเหตุหนึ่งที่ทําใหเกิดการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ ซึ่งสงผลกระทบตอการดํารงชีวิตของมนุษย สัตว พืชและสิ่งแวดลอม

- การใชสารเคมีในการกําจัดศัตรูพืชและสัตว สงผลกระทบตอสิ่งมีชีวิตทั้งมนุษย สัตวและพืช ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงความหลากหลายทางชีวภาพและสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอม

Page 24: กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

๒๒

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง

๖. อภิปรายผลของเทคโนโลยีชีวภาพตอการดํารงชีวิตของมนุษยและสิ่งแวดลอม

- ผลของเทคโนโลยีชีวภาพ มีประโยชนตอมนุษย ทั้งดานการแพทย การเกษตรและอุตสาหกรรม

๑. อธิบายกระบวนการถายทอดสารพันธุกรรม การแปรผันทางพันธุกรรม มิวเทชัน และการเกิดความหลากหลายทางชีวภาพ

- สิ่ ง มี ชี วิ ต มี ก า ร ถ า ย ท อ ด ลั ก ษ ณ ะ ท า งพันธุกรรม จากพอแมมาสูรุนลูกหลานได ซึ่งสังเกตไดจากลักษณะที่ปรากฏ

- ดีเอ็นเอเปนนิวคลีโอไทดสายยาวสองสายพันกั น เ ป น เ ก ลี ย ว คู ว น ข ว า แ ต ล ะ ส า ยประกอบดวย นิวคลีโอไทดนับลานหนวย ซึ่งมีโครงสรางประกอบดวยน้ําตาลเพนโทส ไนโตรเจนเบส สี่ชนิดและหมูฟอสเฟต โดยที่ลําดับเบสของนิวคลีโอไทดจะมีขอมูลทางพันธุกรรมบันทึกอยู

- มิ ว เ ท ชั น เ ป น ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ท า งพันธุกรรมในระดับยีนหรือโครโมโซม ซึ่งเปนผลมาจากการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับดีเอ็นเอ โดยมิวเทชันที่เกิดในเซลลสืบพันธุสามารถถายทอดไปสูรุนลูกและหลานได

- การแปรผันทางพันธุกรรมทําใหสิ่งมีชีวิตที่เกิดใหมมีลักษณะที่แตกตางกันหลากหลายชนิดกอใหเกิดเปนความหลากหลายทางชีวภาพ

ม. ๔-ม. ๖

๒. สืบคนขอมูลและอภิปรายผลของเทคโนโลยี ชีวภาพที่มีตอมนุษยและสิ่งแวดลอมและนําความรูไปใชประโยชน

- มนุษยนําความรูทางเทคโนโลยีชีวภาพดานพั น ธุ วิ ศ ว ก ร ร ม ก า ร โ ค ล น แ ล ะ ก า รเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ มาใชในการพัฒนาใหเกิดความกาวหนาในดานตาง ๆ มากขึ้นและแพรหลาย

- การใชเทคโนโลยีชีวภาพที่สรางสิ่งมีชีวิตใหม เกิดขึ้น หรือสิ่งมีชีวิตที่มีการดัดแปรพันธุกรรมสงผลกระทบทั้งทางดานที่เปนประโยชนและโทษตอสิ่งแวดลอม เศรษฐกิจ และสังคม

Page 25: กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

๒๓

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง

๓. สืบคนขอมูลและอภิปรายผลของความหลากหลายทางชี ว ภ า พ ที่ มี ต อ ม นุ ษ ย แ ล ะสิ่งแวดลอม

- โลกมีความหลากหลายของระบบนิเวศซึ่งมี สิ่ งมีชีวิตอาศัยอยูมากมายหลายสปชีส สิ่ ง มี ชี วิ ต ส ป ชี ส เ ดี ย ว กั น ก็ ยั ง มี ค ว า มหลากหลายทางพันธุกรรม

- ความหลากหลายทางชีวภาพสงผลทําใหมนุษย และสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ไดใชประโยชนในแงของการเปนอาหาร ที่อยูอาศัย แหลงสืบพันธุและขยายพันธุ ทําใหสิ่งมีชีวิตสามารถดํารงพันธุอยูได

- สิ่งมีชีวิตที่มีความหลากหลายทางชีวภาพ มีความตองการปจจัยตาง ๆ ในการดํารงชีวิตแตกตางกันซึ่งจะชวยรักษาสมดุลของระบบนิเวศบนโลกได

๔. อธิบายกระบวนการคัดเลือกตามธรรมชาติ และ ผลของการคัดเลือกตามธรรมชาติตอความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต

- สิ่งมีชีวิตแตละสปชีสจะมีความหลากหลายที่แตกตางกัน สิ่งมีชีวิตในสปชีสเดียวกันจะผสมพันธุและสืบลูกหลานตอไปได

- การคัดเลือกตามธรรมชาติจะสงผลทําใหลักษณะพันธุกรรมของประชากรในกลุมยอยแตละกลุมแตกตางกันไปจนกลายเปน สปชีสใหมทําใหเกิดเปนความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต

Page 26: กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

๒๔

สาระที่ ๒ ชีวิตกับสิ่งแวดลอม

มาตรฐาน ว ๒. ๑ เขาใจสิ่งแวดลอมในทองถิ่น ความสัมพันธระหวางสิ่งแวดลอมกับสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตตาง ๆ ในระบบนิเวศ มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง

ป. ๑ - -

ป. ๒ - -

ป. ๓ ๑. สํารวจสิ่งแวดลอมในทองถิ่นข อ ง ต น แ ล ะ อ ธิ บ า ยความสัมพันธของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดลอม

- สิ่งแวดลอมหมายถึง สิ่งที่อยูรอบๆ ตัวเรามีทั้งสิ่งมีชีวิตและสิ่งไมมีชีวิต สิ่งมีชีวิตมีค ว า ม สั ม พั น ธ กั บ สิ่ ง แ ว ด ล อ ม ทั้ ง กั บสิ่งมีชีวิตดวยกันและกับสิ่งไมมีชีวิต

ป. ๔ - -

ป. ๕ - -

๑. สํ า ร ว จ แ ล ะ อ ภิ ป ร า ยค ว า ม สั ม พั น ธ ข อ ง ก ลุ ม สิ่งมีชีวิตในแหลงที่อยูตาง ๆ

- กลุมสิ่งมีชีวิตในแหลงที่อยูตาง ๆ มีความ สัมพันธกัน และมีความสัมพันธกับแหลงที่อยูในลักษณะของแหลงอาหาร แหลงที่อยูอาศัย แหลงสืบพันธุ และแหลงเลี้ยงดูลูกออน

๒. อ ธิ บ า ย ค ว า ม สั ม พั น ธ ข อ งสิ่ งมีชีวิตกับสิ่ งมีชีวิตในรูปข อ ง โ ซ อ า ห า ร แ ล ะ ส า ย ใ ยอาหาร

- ความสัมพันธของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในรูป ของโซอาหาร และสายใยอาหาร ทําใหเกิดการถายทอดพลังงานจากผูผลิตสูผูบริโภค

ป. ๖

๓. สื บ ค น ข อ มู ล แ ล ะ อ ธิ บ า ยค ว า ม สั ม พั น ธ ร ะ ห ว า ง ก า รดํ า ร ง ชี วิ ต ข อง สิ่ ง มี ชี วิ ต กั บสภาพแวดลอมในทองถิ่น

- สิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยูในแตละแหลงที่อยูจะมี โครงสรางที่เหมาะสมตอการดํารงชีวิตในแหลงที่อยูนั้น และสามารถปรับตัวใหเขากับสภาพแวดลอมเพื่อหาอาหารและมีชีวิตอยูรอด

ม. ๑ - -

ม. ๒ - -

Page 27: กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

๒๕

ชั้น ตัวชี้วัดชั้นป สาระการเรียนรูแกนกลาง

ม. ๓ ๑. สํารวจระบบนิ เวศตางๆในท อ ง ถิ่ น แ ล ะ อ ธิ บ า ย ค ว า ม สั ม พั น ธ ข อ งองคประกอบภายในระบบนิเวศ

- ระบบนิเวศในแตละทองถิ่นประกอบดวย องคประกอบทางกายภาพและองคประกอบทางชีวภาพเฉพาะถิ่น ซึ่งมีความเกี่ยวของสัมพันธกัน

๒. วิ เ ค ร า ะ ห แ ล ะ อ ธิ บ า ยความสัมพันธของการถายทอดพลังงานของสิ่งมีชีวิตในรูปข อ ง โ ซ อ า ห า ร แ ล ะ ส า ย ใ ยอาหาร

- สิ่งมีชีวิตมีความเกี่ยวของสัมพันธกัน โดยมีการถายทอดพลังงานในรูปของโซอาหารและสายใยอาหาร

๓. อ ธิ บ า ย วั ฏ จั ก ร น้ํ า วั ฏ จั ก รคารบอน และความสําคัญที่มีตอระบบนิเวศ

- น้ํ า แล ะ ค า รบอนเป นอง คป ระ ก อบ ใ นสิ่งมีชีวิตและสิ่งไมมีชีวิต

- น้ําและคารบอนจะมีการหมุนเวียนเปน วัฏจักรในระบบนิเวศ ทําใหสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศนําไปใชประโยชนได

๔. อธิบายปจจัยที่มีผลตอกา รเ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ข น า ด ข อ งประชากรในระบบนิเวศ

- อัตราการเกิด อัตราการตาย อัตราการอพยพเขา และอัตราการอพยพออกของสิ่งมีชีวิต มีผลตอ การเปลี่ยนแปลงขนาดของประชากรในระบบ นิเวศ

ม. ๔-ม. ๖ ๑. อธิบายดุลยภาพของระบบนิเวศ

- ระบบนิเวศในธรรมชาติจะมีความสมดุลไดก็ ต อ เ มื่ อ มี ส ภ า พ แ ว ด ล อ ม ต า ง ๆ ที่เอื้ออํานวยตอ การดํารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตชนิดตาง ๆ ในระบบนิเวศ จนทําใหเกิดความหลากหลายของระบบนิเวศบนโลก

๒. อ ธิ บ า ย ก ร ะ บ ว น ก า รเ ป ลี่ ย น แ ป ล ง แ ท น ที่ ข อ งสิ่งมีชีวิต

- ระบบนิเวศในโลกที่มีความหลากหลาย มีก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ต า ง ๆ เ กิ ด ขึ้ น อ ยูตลอดเวลา ไมวา จะเปนการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติหรือการเปลี่ยนแปลงที่ เกิดจากมนุษย เปนผูกระทํา การเปลี่ยนแปลงเหลานี้อาจสงผลทําใหระบบนิเวศเสียสมดุลได

Page 28: กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

๒๖

ชั้น ตัวชี้วัดชั้นป สาระการเรียนรูแกนกลาง

- เมื่ อ ระ บ บ นิ เว ศ เ สี ย ส ม ดุ ล จ ะ เ กิ ด ก า รเปลี่ยนแปลง แทนที่เกิดขึ้นในระบบนิเวศนั้นการเปลี่ยนแปลงสภาพทางธรรมชาติของระ บ บ นิ เ วศ ย อ ม ส ง ผล ทํ า ใ ห เ กิ ด ก า รเปลี่ยนแปลงแทนที่ของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศนั้นดวย

๓. อธิบายความสําคัญของความหลากหลายทางชีวภาพ และเสนอแนะแนวทางในการดูแลและรักษา

- ความหลากหลายทางชีวภาพมีความสําคัญตอสิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิตทุกชนิดมีความสําคัญตอระบบนิเวศ ถาสิ่งมีชีวิตชนิดใดชนิดหนึ่งถูกทําลายหรือสูญหายไป ก็จะสงผลกระทบตอความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ในระบบนิเวศดวย

- ความหลากหลายทางชีวภาพของระบบนิเวศหนึ่งยังอาจเกื้อกูลตอระบบนิเวศอื่น ๆ ไดดวย

- ความหลากหลายทางชีวภาพมีความสําคัญตอ มนุษย มนุษยใชประโยชนจากความหลากหลาย ทางชีวภาพมากมาย การใชที่ขาดความระมัดระวังอาจสงผลกระทบตอความหลากหลายทางชีวภาพได ซึ่งทุกคนควรมีสวนรวมในการดูแลและรักษา

Page 29: กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

๒๗

สาระที่ ๒ ชีวิตกับสิ่งแวดลอม

มาตรฐาน ว ๒.๒ เขาใจความสําคัญของทรัพยากรธรรมชาติ การใชทรัพยากรธรรมชาติในระดับทองถิ่น ประเทศ และโลกนําความรูไปใชในในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมในทองถิ่นอยางยั่งยืน

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลางป. ๑ - -

ป. ๒ - -

๑. สํารวจทรัพยากรธรรมชาติ และอ ภิ ป ร า ย ก า ร ใ ช ท รั พ ย า ก ร ธรรมชาติในทองถิ่น

- ดิน หิน น้ํา อากาศ ปาไม สัตวปาและแรจัดเปนทรัพยากรธรรมชาติที่มีความสําคัญ

- มนุษยใชทรัพยากรธรรมชาติในทองถิ่นเพื่อ ประโยชนตอการดํารงชีวิต

๒. ระบุการใชทรัพยากรธรรมชาติ ที่กอใหเกิดปญหาสิ่งแวดลอม ในทองถิ่น

- มนุษยนําทรัพยากรธรรมชาติมาใชอยางมากมายจึงสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมในทองถิ่น

ป. ๓

๓. อภิป รา ยและ นํา เส นอกา รใ ชทรัพยากรธรรมชาติ อย า งประหยัด คุมคา และมีสวนรวมในการปฏิบัติ

- ม นุ ษ ย ต อ ง ช ว ย กั น ดู แ ล แ ล ะ รู จั ก ใ ช ทรัพยากรธรรมชาติอยางประหยัดและคุมคา เพื่อใหมีการใชไดนานและยั่งยืน

ป. ๔ - -ป. ๕ - -

๑. สืบคนขอมูลและอภิปรายแหลงทรัพยากรธรรมชาติในแตละทองถิ่นที่เปนประโยชนตอ การดํารงชีวิต

- ทรัพยากรธรรมชาติตาง ๆ ในแตละทองถิ่นมีประโยชนตอการดํารงชีวิตของสิ่งมีชีวิต

๒. วิเคราะหผลของการเพิ่มขึ้นของป ร ะ ช า ก ร ม นุ ษ ย ต อ ก า ร ใ ชทรัพยากรธรรมชาติ

- การเพิ่มขึ้นของประชากรมนุษยทํ าใหทรัพยากรธรรมชาติถูกใชมากขึ้น เปนผลทําใหทรัพยากรธรรมชาติลดนอยลง และสิ่งแวดลอมเปลี่ยนแปลงไป

ป. ๖

๓. อภิปรายผลตอสิ่งมีชีวิต จากการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดลอม ทั้งโดยธรรมชาติและโดยมนุษย

- ภัยพิบัติจากธรรมชาติและการกระทําของมนุษย ทําใหสิ่งแวดลอมเปลี่ยนแปลง เปนผลทําใหพืชและสัตวปาบางชนิดสูญพันธุ

Page 30: กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

๒๘

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง๔. อภิปรายแนวทางในการดูแล

รักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

- การสรางจิตสํานึกในการอนุรักษ เฝาระวัง ทรัพยากรธรรมชาติ ตลอดจนการปลูกตนไม เพิ่มขึ้นเพื่อเปนแนวทางหนึ่งในการดูแล รัก ษา ทรัพยา กรธรรมช าติแล ะสิ่งแวดลอม

๕. มีส วนรวมในการดูแลรักษาสิ่งแวดลอมในทองถิ่น

- รวมจัดทําโครงการเฝาระวังรักษาคุณภาพของสิ่งแวดลอมในทองถิ่นอยางยั่งยืน

ม. ๑ - -

ม. ๒ - -

๑. วิ เคราะหสภาพปญหาสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติในทองถิ่น และเสนอแนวทางในการแกไขปญหา

- สภาพปญหาสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติในทองถิ่น เกิดจากการกระทําของธรรมชาติและ มนุษย

- ปญหาสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติที่เกิดขึ้น ควรมีแนวทางในการดูแลรักษาและปองกัน

๒. อธิบายแนวทางการรักษาสมดุลของระบบนิเวศ

- ระบบนิเวศจะสมดุลไดจะตองมีการควบคุมจํานวนผูผลิต ผูบริโภค ผูสลายสารอินทรีย ใหมีปริมาณ สัดสวน และการกระจายที่เหมาะสม

- การใชทรัพยากรธรรมชาติอยางยั่งยืนและการดูแลรักษาสภาพแวดลอม เปนการรักษาสมดุลของระบบนิเวศ

๓. อภิปรายการใชทรัพยากรธรรมชาติอยางยั่งยืน

- การนําทรัพยากรธรรมชาติมาใชอยางคุมคาดวยการใชซ้ํา นํากลับมาใชใหม ลดการใ ช ผ ลิ ต ภั ณ ฑ ใ ช ผ ลิ ต ภั ณ ฑ ช นิ ด เ ดิ ม ซอมแซมสิ่งของเครื่องใช เปนวิธีการใชทรัพยากร ธรรมชาติอยางยั่งยืน

ม. ๓

๔. วิ เ ค ร า ะ ห แ ล ะ อ ธิ บ า ย ก า ร ใ ชทรัพยากรธรรมชาติ ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

- การใชทรัพยากรธรรมชาติควรคํานึงถึงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงบนพื้นฐานของทางสายกลาง และความไมประมาท โดยคํานึงถึง

Page 31: กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

๒๙

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลางความพอประมาณ ความมี เหตุผลและ การเตรียมตัวใหพรอมที่จะรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

๕. อภิปรายปญหาสิ่งแวดลอมและเสนอแนะแนวทางการแกปญหา

- ปญหาสิ่งแวดลอม อาจเกิดจากมลพิษทางน้ํา มลพิษทางเสียง มลพิษทางอากาศ มลพิษทางดิน

- แนวทางการแกปญหามีหลายวิธี เริ่มจากศึ ก ษ า แ ห ล ง ที่ ม า ข อ ง ป ญ ห า เ ส า ะ ห ากระบวนการในการแกปญหา และทุกคนมีสวนรวมในการปฏิบัติเพื่อแกปญหานั้น

๖. อภิปรายและมีสวนรวมในการดูแลและอนุรักษสิ่งแวดลอมในทองถิ่นอยางยั่งยืน

- การดูแลและอนุรักษสิ่งแวดลอมในทองถิ่นใหยั่งยืน ควรไดรับความรวมมือจากทุกฝายและตองเปนความรับผิดชอบของทุกคน

ม. ๔-ม. ๖ ๑. วิเคราะหสภาพปญหา สาเหตุข อ ง ป ญ ห า สิ่ ง แ ว ด ล อ ม แ ล ะทรัพยากรธรรมชาติในระดับ ทองถิ่น ระดับประเทศ และระดับโลก

- ค ว า ม สั ม พั น ธ ซึ่ ง กั น แ ล ะ กั น ร ะ ห ว า งสิ่ ง มีชี วิตกับ สิ่ ง แวดลอมหรือระ หว า งสิ่ ง มี ชี วิ ต กั บ สิ่ ง มี ชี วิ ต ด ว ย กั น มีความสัมพันธกันหลายระดับ ตั้งแตระดับทองถิ่น ระดับประเทศ และระดับโลก

- การเพิ่มขึ้นของประชากรมนุษยสงผลใหมีการใชทรัพยากรธรรมชาติเพิ่มขึ้น ทําใหทรัพยากรธรรมชาติลดจํานวนลง และเกิดปญหามลพิษทางดานตาง ๆ ตามมา

- ปญหามลพิษที่เกิดขึ้นมีดวยกันหลายสาเหตุ บางปญหามีผลกระทบเกิดขึ้นในระดับท อ ง ถิ่ น บ า ง ป ญ ห า ส ง ผ ล ก ร ะ ท บระดับประเทศ และบางปญหามีความรุนแรงจนเปนปญหาระดับโลก

๒. อภิปรายแนวทางในการปองกัน แกไข ปญหา สิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติ

- การใชทรัพยากรธรรมชาติตาง ๆ ที่มีอยูอย า ง จํ า กั ด จํ า เ ป น ตอ ง ใ ช ด ว ย ค ว า มระมัดระวังและไมใหเกิดผลกระทบตอสิ่งแวดลอม

Page 32: กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

๓๐

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง- สิ่งแวดลอมที่อยูในสภาพเสื่อมโทรม หรือ

เกิด เปนมลพิษที่เปนผลเนื่องมาจากการใชทรัพยากรธรรมชาติ ตองหาแนวทางในการปองกัน แกไข ฟนฟู ใหกลับมีสภาพที่สามารถใชการได

๓. วางแผนและดําเนินการเฝาระวัง อนุรักษ และพัฒนาสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติ

- สิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติควรตองมีการเฝาระวัง อนุรักษ และพัฒนา ซึ่งทุกคนควรร วมกั นปฏิ บั ติ เพื่ อให เกิ ดก ารใ ชประโยชนอยางยั่งยืน

Page 33: กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

๓๑

สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

มาตรฐาน ว ๓. ๑ เขาใจสมบัติของสาร ความสัมพันธระหวางสมบัติของสารกับโครงสรางและแรงยึดเหนี่ยวระหวางอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรู นําความรูไปใชประโยชน

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง๑. สั ง เ ก ต แ ล ะ ร ะ บุ ลั ก ษ ณ ะ ที่

ปรากฏหรือสมบัติของวัสดุที่ใชทํ า ข อ ง เ ล น ข อ ง ใ ช ใ นชีวิตประจําวัน

- วัสดุที่ใชทําของเลนของใชในชีวิตประจําวัน อาจมีรูปราง สี ขนาด พื้นผิว ความแข็งเหมือนกันหรือแตกตางกัน

ป. ๑

๒. จําแนกวัสดุที่ ใชทําของเลน ของใชในชีวิต ประจําวัน รวมทั้งระบุเกณฑที่ใชจําแนก

- ลักษณะหรือสมบัติตาง ๆ ของวัสดุ สามารถนํามาใชเปนเกณฑในการจําแนกวัสดุที่ใชทําของเลน ของใชในชีวิตประจําวัน

๑. ระบุ ชนิดแล ะเปรีย บเทีย บสมบัติของวัสดุที่นํามาทําของเลน ของใชในชีวิตประจําวัน

- ของเลน ของใช อาจทําจากวัสดุตาง ๆ กัน เชน ไม เหล็ก กระดาษ พลาสติก ยาง ซึ่งวัสดุตางชนิดกันจะมีสมบัติแตกตางกัน

ป.๒

๒. เลือกใชวัสดุและสิ่งของตางๆ ไ ด อ ย า ง เ ห ม า ะ ส ม แ ล ะปลอดภัย

- การเลือกวัสดุและสิ่งของตาง ๆ มาใชงานในชีวิตประจําวัน เพื่อความเหมาะสมและปลอดภัย ตองพิจารณาจากสมบัติของวัสดุที่ใชทําสิ่งของนั้น

๑. จําแนกชนิดและสมบัติของวัสดุที่เปนสวนประกอบของของเลน ของใช

- ของเลนของใชอาจมีสวนประกอบหลายสวน และอาจทําจากวัสดุหลายชนิดซึ่งมีสมบัติแตกตางกัน

ป.๓

๒. อธิบายการใชประโยชนของวัสดุแตละชนิด

- วัสดุแตละชนิดมีสมบัติแตกตางกันจึงใชประโยชนไดตางกัน

ป.๔ - -

๑. ทดลองและอธิบายสมบัติของวัสดุชนิ ด ต าง ๆ เ กี่ ย ว กั บ ค ว า มยื ด ห ยุ น ค ว า ม แ ข็ ง ค ว า มเหนียวการนําความรอน การนําไฟฟา และ ความหนาแนน

- ความยืดหยุน ความแข็ง ความเหนียว การนําความรอน การนําไฟฟา และความหนาแนนเปนสมบัติตาง ๆ ของวัสดุ ซึ่งวัสดุตางชนิดกัน จะมีสมบัติบางประการแตกตางกัน

ป.๕

๒. สืบคนขอมูลและอภิปรายการ - ในชีวิตประจําวันมีการนําวัสดุตาง ๆ มา

Page 34: กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

๓๒

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลางนําวัสดุไปใชในชีวิตประจําวัน ใชทําสิ่งของเครื่องใชตามสมบัติของวัสดุ

นั้น ๆ๑. ทดลองและอธิบาย สมบัติของ

ของแข็ง ของเหลว และแกส - สารอาจปรากฏในสถานะของแข็ง ของเหลวหรือ

แกส สารทั้งสามสถานะมีสมบัติบางประการเหมือนกันและบางประการแตกตางกัน

๒. จําแนกสารเปนกลุมโดยใชส ถ า น ะ ห รื อ เ ก ณ ฑ อื่ น ที่กําหนดเอง

- การจําแนกสารอาจจําแนกโดยใชสถานะ การนําไฟฟา การนําความรอน หรือสมบัติอื่น เปนเกณฑได

๓. ทดลองและอธิบายวิธีการแยกส า ร บ า ง ช นิ ด ที่ ผ ส ม กั น โดยการรอน การตกตะกอน ก า ร ก ร อ ง ก า ร ร ะ เ หิ ด การระเหยแหง

- ในการแยกสารบางชนิดที่ผสมกันออกจากกันตองใชวิธีการตาง ๆ ที่เหมาะสม ซึ่งอาจจะทําไดโดยการรอน การตกตะกอน การกรอง การระเหิด การระเหยแหง ทั้งนี้ขึ้นอยูกับสมบัติของสารที่เปนสวนผสมในสารผสมนั้น ๆ

๔. สํารวจและจําแนกประเภทข อ ง ส า ร ต า ง ๆ ที่ ใ ช ใ นชีวิตประจําวัน โดยใชสมบัติและการใชประโยชนของสารเปนเกณฑ

- จําแนกประเภทของสารตาง ๆ ที่ใชในชีวิตประจําวันตามการใชประโยชน แบงไดเปนสารปรุงรสอาหาร สารแตงสีอา หาร สารทําความสะอาด สารกําจัดแมลงและศัตรูพืช ซึ่งสารแตละประเภทมีความเปนกรด - เบสแตกตางกัน

ป.๖

๕. อภิปรายการเลือกใชสารแตละประเภทไดอยางถูกตองและปลอดภัย

- การใชสารตาง ๆ ในชีวิตประจําวัน ตองเลือกใชใหถูกตองตามวัตถุประสงคของการใชงาน ปลอดภัยตอสิ่ งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม

ม. ๑ ๑. ทดลองและจําแนกสารเปนกลุมโดยใชเนื้อสารหรือขนาดอนุภาคเปนเกณฑ และอธิบายสมบัติของสารในแตละกลุม

- เมื่อใชเนื้อสารเปนเกณฑ จําแนกสารไดเปนสารเนื้อเดียวและสารเนื้อผสม ซึ่งสารแตละกลุมจะมีสมบัติแตกตางกัน

- เมื่อใชขนาดอนุภาคของสารเปนเกณฑจําแนกสารเปนสารแขวนลอย คอลลอยดและสารละลาย ซึ่งสารแตละกลุมจะมีสมบัติแตกตางกัน

Page 35: กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

๓๓

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง๒. อธิบายสมบัติและการเปลี่ยน

ส ถ า น ะ ข อ ง ส า ร โ ด ย ใ ชแบบจําลองการจัดเรียงอนุภาคของสาร

- สี รูปราง ขนาด ความแข็ง ความหนาแนน จุดเดือด จุดหลอมเหลว เปนสมบัติทางกายภาพของสาร ความเปนกรด- เบส ความสามารถในการรวมตัวกับสารอื่น ๆ การแยกสลายของสารและการเผาไหม เปนสมบัติทางเคมี

- สารในสถานะตาง ๆ มีลักษณะการจัดเรียงอนุภาค ระยะหางระหวางอนุภาค และแรงยึดเหนี่ยวระหวางอนุภาคแตกตางกัน ซึ่งสามารถใชแบบจําลองการจัดเรียงอนุภาคของสารอธิบายสมบัติบางประการของสารได

๓. ท ด ล อ ง แ ล ะ อธิ บ า ย ส ม บั ติค ว า ม เ ป น ก ร ด เ บ ส ข อ งสารละลาย

- สารละลายที่มีน้ําเปนตัวทําละลาย อาจจะมีสมบัติเปนกรด กลาง หรือเบส ซึ่งสามารถทดสอบไดดวยกระดาษลิตมัส หรืออินดิเคเตอร

๔. ต ร ว จ ส อ บ ค า pH ข อ งสารละลายและนําความรูไปใชประโยชน

- ความเปนกรด - เบสของสารละลายระบุเปนคา pH ซึ่งตรวจสอบไดดวยเครื่องมือวัดคา pH หรือยูนิเวอรซัลอินดิเคเตอร

- ผลิตภัณฑที่ ใชในชีวิตประจําวันอาจมีความเปนกรดเบสแตกตางกัน จึงควรเลือกใชใหถูกตองปลอดภัยตอตนเองและสิ่งแวดลอม

ม.๒ ๑. สํารวจและอธิบายองคประกอบ สมบัติของธาตุและสารประกอบ

- ธาตุ เปนสารบริสุทธิ์ที่ประกอบดวยอะตอมชนิดเดียวกันและไมสามารถแยกสลายเปนสารอื่นไดอีกโดยวิธีการทางเคมี

- ส า ร ป ร ะ ก อ บ เ ป น ส า ร บ ริ สุ ท ธิ์ ที่ประกอบดวยธาตุตั้งแตสองธาตุขึ้นไป รวมตัวกันดวยอัตราสวนโดยมวลคงที่ และมีสมบัติแตกตางจากสมบัติเดิมของธาตุที่เปนองคประกอบ

Page 36: กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

๓๔

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง๒. สืบคนขอมูลและเปรียบเทียบ

สม บัติข อง ธ าตุ โลหะ ธ า ตุอโลหะ ธาตุกึ่งโลหะและธาตุกัมมันตรังสีและนําความรูไปใชประโยชน

- ธาตุแตละชนิดมีสมบัติบางประการที่คล ายกันและแตกตางกัน จึงสามารถจําแนกกลุมธาตุตามสมบัติของธาตุเปนธาตุโลหะ กึ่งโลหะ อโลหะ และธาตุกัมมันตรังสี

- ในชีวิตประจําวันมีวัสดุ อุปกรณและผลิตภัณฑตาง ๆ ที่ผลิตมาจากธาตุและสารประกอบ จึงควรเลือกใชใหถูกตอง เหมาะสมปลอดภัย และยั่งยืน

๓. ทดลองและอธิบายการหลักการแยกสารดวยวิธีการกรอง การตกผลึก การสกัด การกลั่น และโครมาโทกราฟ และนําความรูไปใชประโยชน

- การกรอง การตกผลึก การสกัด การกลั่นและโครมาโทกราฟ เปนวิธีการแยกสารที่มีหลักการแตกตางกัน และสามารถนําไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน

ม.๓ - -ม.๔-ม.๖ ๑. สืบคนขอมูลและอธิบาย

โครงสรางอะตอม และสัญลักษณนิวเคลียรของธาตุ

- นักวิทยาศาสตรใชขอมูลจากการศึกษาโครงสรางอะตอม สรางแบบจําลองอะตอมแบบตาง ๆ ที่มีพัฒนาการอยางตอเนื่อง

- อะตอมประกอบดวยอนุภาคมูลฐานสําคัญ ๓ ช นิ ด คื อ โ ป ร ต อ น นิ ว ต ร อ น แ ล ะอิเล็กตรอน จํานวนโปรตอนในนิวเคลียสเรียกวา เลขอะตอม ผลรวมของจํานวนโปรตอนกับนิวตรอนเรียกวา เลขมวล ตัวเลขทั้งสองนี้จะปรากฎอยูในสัญลักษณนิวเคลียรของไอโซโทปตาง ๆ ของธาตุ

๒. วิเคราะหและอธิบายการจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอม ความสัมพันธระหวางอิเล็กตรอนในระดับพลังงานนอกสุดกับสมบัติของธาตุและการเกิดปฏิกิริยา

- อิเล็กตรอนในอะตอมของธาตุจะจัดเรียงอยูในระดับพลังงานตาง ๆ และในแตละระดับพลังงานจะมีจํานวนอิเล็กตรอนเปนคาเฉพาะ

- อิเล็กตรอนในระดับพลังงานนอกสุดจะแสดงสมบัติบางประการของธาตุ เชน ความเปนโลหะ อโลหะ และเกี่ยวของกับการเกิดปฏิกิริยาของธาตุนั้น

Page 37: กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

๓๕

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง๓. อธิบายการจัดเรียงธาตุและ

ทํานายแนวโนมสมบัติของธาตุในตารางธาตุ

- ตารางธาตุปจจุบัน จัดเรียงธาตุตามเลขอะตอมและอาศัยสมบัติที่คลายกัน ทําใหสามารถทํานายแนวโนมสมบัติของธาตุในตารางธาตุได

๔. วิเคราะหและอธิบายการเกิดพันธะเคมีในโครงผลึกและในโมเลกุลของสาร

- แรงยึดเหนี่ยวระหวางไอออนหรืออะตอมของธาตุใหอยูรวมกันเปนโครงผลึก หรือโมเลกุล เรียกวา พันธะเคมี

- พันธะเคมีแบงออกเปน พันธะไอออนิก พันธะโคเวเลนต และพันธะโลหะ

๕. สืบคนขอมูลและอธิบายความสัมพันธระหวางจุดเดือด จุดหลอมเหลว และสถานะของสารกับแรงยึดเหนี่ยวระหวางอนุภาคของสาร

- จุดเดือด จุดหลอมเหลวและสถานะของสาร มีความเกี่ยวของกับแรงยึดเหนี่ยวระหวางอนุภาคของสารนั้น สารที่อนุภาคยึดเหนี่ยวกันดวยแรงยึดเหนี่ยวหรือพันธะเคมีที่แข็งแรง จะมีจุดเดือดและจุดหลอมเหลวสูง สารในสถานะของแข็ง อนุภาคยึดเหนี่ยวกันดวยแรงที่แข็งแรงกวาสารในสถานะของเหลวและแกสตามลําดับ

Page 38: กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

๓๖

สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

มาตรฐาน ว ๓.๒ เขาใจหลักการและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร การเกิดสารละลาย การเกิดปฏิกิริยา มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรู และนําความรูไปใชประโยชน

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลางป. ๑ - -ป.๒ - -

๑. ทดลองและอธิบายผลของการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับวัสดุ เมื่อถูกแรงกระทํา หรือทําใหรอนขึ้นหรือทําใหเย็นลง

- เมื่อมีแรงมากระทํา เชน การบีบ บิด ทุบ ดัด ดึง ตลอดจนการทําใหรอนขึ้นหรือทําใหเย็นลงจะทําใหวัสดุเกิดการเปลี่ยนแปลงรูปรางลักษณะหรือมีสมบัติแตกตางไปจากเดิม

ป.๓

๒. อ ภิ ป ร า ย ป ร ะ โ ย ช น แ ล ะอันตรายที่อาจเกิดขึ้น เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของวัสดุ

- การเปลี่ยนแปลงของวัสดุอาจนํามาใชประโยชนหรือทําใหเกิดอันตรายได

ป.๔ - -ป.๕ - -

๑. ทดลองและอธิบายสมบัติของสาร เมื่อสารเกิดการละลายและเปลี่ยนสถานะ

- เ มื่ อ ส า ร เ กิ ด ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง เ ป นสารละลายหรือเปลี่ยนสถานะ สารแตละชนิดยังคงแสดงสมบัติของสารเดิม

๒. วิ เ ค ร า ะ ห แ ล ะ อ ธิ บ า ย ก า รเปลี่ยนแปลงที่ทําใหเกิดสารใหมและมีสมบัติเปลี่ยนแปลงไป

- ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ท า ง เ ค มี ห รื อ ก า รเกิดปฏิกิริยาเคมี ทําใหมีสารใหมเกิดขึ้นและสมบัติของสารจะเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม

ป.๖

๓. อภิปรายการเปลี่ยนแปลงของสารที่กอใหเกิดผลตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม

- การเปลี่ยนแปลงของสาร ทั้งการละลายการเปลี่ยนสถานะและการเกิดสารใหม ตางก็มีผลตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม

ม. ๑ ๑. ทดลองและอธิบายวิธีเตรียมสารละลายที่มีความเขมขนเปนรอยละ และอภิปรายการนําความรูเกี่ยวกับสารละลายไปใชประโยชน

- สารละลายประกอบดวยตัวละลายและตัวทําละลาย สารละลายที่ระบุความเขมขนเปนรอยละหมายถึงสารละลายที่มีอัตราสวนของป ริม าณตัวละ ลา ย ล ะล าย อยู ใ นสารละลายรอยสวน

Page 39: กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

๓๗

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง- ในชีวิตประจําวัน ไดมีการนําความรูเรื่อง

ส า รล ะ ล า ย ไ ป ใ ช ป ระ โย ช นท า ง ด า นการเกษตร อุตสาหกรรมอาหาร การแพทย และดานอื่น ๆ

๒. ท ด ล อ ง แ ล ะ อ ธิ บ า ย ก า รเปลี่ยนแปลงสมบัติ มวลและพ ลั ง ง า นข อง ส า ร เมื่ อส า รเปลี่ ยนสถานะและเกิดการละลาย

- เมื่อสารเกิดการเปลี่ยนสถานะและเกิดการละลาย มวลของสารจะไมเปลี่ยนแปลง แตสมบัติทางกายภาพเปลี่ยนแปลง รวมทั้งมีการถายโอนพลังงานระหวางระบบกับสิ่งแวดลอม

๓. ทดลองและอธิบายปจจัยที่มีผลตอการเปลี่ยนสถานะ และการละลายของสาร

- อุณหภูมิ ความดัน ชนิดของสารมีผลตอการเปลี่ยนสถานะ และการละลายของสาร

๑. ท ด ล อ ง แ ล ะ อ ธิ บ า ย ก า รเปลี่ยนแปลงสมบัติ มวล และพลังงานเมื่อสารเกิดปฏิกิริยาเคมี รวมทั้งอธิบายปจจัยที่มีผลตอการเกิดปฏิกิริยาเคมี

- เมื่อสารเกิดปฏิกิริยาเคมีจะมีพลังงานเขามาเกี่ยวของ ซึ่งอาจเปนการดูดพลังงานความรอนหรือคายพลังงานความรอน

- อุณหภูมิ ความเขมขน ธรรมชาติของสารแ ล ะ ตั ว เ ร ง ป ฏิ กิ ริ ย า มี ผ ล ต อ ก า รเกิดปฏิกิริยาเคมีของสาร

๒. ท ด ล อ ง อ ธิ บ า ย แ ล ะ เ ขี ย นสมการเคมีของปฏิกิริยาของสารตาง ๆ และนําความรูไปใชประโยชน

- สมการเคมีใชเขียนแสดงการเกิดปฏิกิริยาเคมีข อง ส า ร ซึ่ ง มี ทั้ ง ส า ร ตั้ ง ต นแ ล ะ ส า รผลิตภัณฑ

- ปฏิกิริยาระหวางโลหะกับออกซิเจน โลหะกับน้ํา โลหะกับกรด กรดกับเบส และกรดกับคารบอเนตเปนปฏิกิริยาเคมีที่พบทั่วไป

- ก า ร เ ลื อ ก ใ ช วัส ดุ แล ะ ส า ร ร อบ ตัว ใ นชีวิตประจําวันไดอย าง เหมาะสมและปลอดภัยโดยคํานึงถึงปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น

ม.๒

๓. สืบคนขอมูลและอภิปรายผลของสารเคมี ปฏิกิริยาเคมีตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม

- สารเคมีและปฏิกิริยาเคมี มีทั้งประโยชนและโทษตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอมทั้งทางตรงและทางออม

Page 40: กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

๓๘

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง๔. สืบคนขอมูลและอธิบายการ

ใชสารเคมีอยางถูกตอง ปลอดภัย วิธีปองกันและแกไขอันตรายที่เกิดขึ้นจากการใชสารเคมี

- การใชสารเคมีตองมีความระมัดระวั ง ปองกัน ไมใหเกิดอันตรายตอตนเองและผูอื่น โดยใชใหถูกตอง ปลอดภัยและคุมคา

- ผูใชสารเคมีควรรูจักสัญลักษณเตือนภัยบน ฉลาก และรูวิธีการแกไข และการปฐมพยาบาลเบื้องตนเมื่อไดรับอันตรายจากสารเคมี

ม.๓ - -๑. ทดลอง อธิบายและเขียนสมการ

ของปฏิกิริยาเคมีทั่วไปที่พบใน

ชีวิตประจําวัน รวมทั้งอธิบายผล

ของสารเคมีที่มีตอสิ่งมีชีวิตและ

สิ่งแวดลอม

- ในชีวิตประจําวันจะพบเห็นปฏิกิริยาเคมี

จํานวนมาก ทั้งที่เกิดในธรรมชาติและมนุษย

เปนผูกระทํา ปฏิกิริยาเคมีเขียนแทนไดดวย

สมการเคมี

- มนุษยนําสารเคมีมาใชประโยชนทั้งในบาน

ในทางการเกษตรและอุตสาหกรรม แต

สารเคมีบางชนิดเปนอันตรายตอสิ่งมีชีวิต

และสิ่งแวดลอม

๒. ทดลองและอธิบายอัตราการ

เกิดปฏิกิริยาเคมี ปจจัยที่มีผลตอ

อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี และ

นําความรูไปใชประโยชน

- ปริมาณของสารตั้ งตนหรือผลิ ตภัณฑ ที่

เปลี่ยนแปลงไปตอหนวยเวลาเรียกวาอัตราการ

เกิดปฏิกิริยาเคมี และปริมาณของสารที่

เปลี่ ยนแปลงไปนั้น อาจวัดจากคาความ

เขมขน ปริมาตร หรือมวลของสาร ซึ่งขึ้นอยู

กับลักษณะของสาร

- ความเข มข น พื้ นที่ ผิ ว อุณหภู มิ ตั ว เร ง

ปฏิ กิ ริ ยาเป นป จจั ยที่ มีผลตออัตราก า ร

เกิดปฏิกิริยาเคมี การควบคุมปจจัยเหลานี้

เพื่อทําใหปฏิกิริยาเกิดขึ้นในอัตราที่เหมาะสม

สามารถนํามาใชใหเปนประโยชนได

ม.๔-ม.๖

๓. สืบคนขอมูลและอธิบายการเกิดปโตรเลียม กระบวนการแยก

- การสลายตัวของซากพืชและซากสัตวที่ทับถมอยูใตทะเลอยางตอเนื่องภายใตอุณหภูมิ

Page 41: กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

๓๙

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลางแกสธรรมชาติ และการกลั่นลําดับสวนน้ํามันดิบ

และความดันสูงนานนับลานป จะเกิดเปนปโตรเลียม โดยมีไดทั้ งสถานะของแข็ง ของเหลวหรือแก ส ซึ่ งมี สารประกอบไฮโดรคารบอนหลายชนิดรวมกันและอาจมีสารประกอบอื่น ๆปะปนอยูดวย

- การนําแกสธรรมชาติมาใชประโยชนจะตองผานกระบวนการแยกแกส สวนของเหลวหรือน้ํามันดิบจะแยกโดยการกลั่นลําดับสวน

๔. สืบคนขอมูลและอภิปรายการนําผลิตภัณฑที่ไดจากการแยกแกสธรรมชาติและการกลั่นลํ า ดั บ ส ว น น้ํ า มั น ดิ บ ไ ป ใ ชป ร ะ โ ย ช น ร ว ม ทั้ ง ผลข องผลิ ตภั ณฑ ต อสิ่ งมี ชี วิ ตและสิ่งแวดลอม

- มีเทน อี เทน โพรเพนและบิวเทน เปนผลิตภัณฑที่ไดจากการแยกแกสธรรมชาติและกลั่นลําดับสวนน้ํามันดิบ นํามาใชเปนเชื้อเพลิงและสารตั้งตน สวนผลิตภัณฑอื่นๆ ซึ่ ง มี จํ า น ว น อ ะ ต อ ม ค า ร บ อ น เ พิ่ ม ขึ้ น นําไปใชประโยชนแตกตางกัน

- การสัมผัสตัวทําละลายและไฮโดรคารบอนบางชนิดในรูปของไอและของที่ใชแลว อาจเปนอันตรายตอสุขภาพได รวมถึงการกําจัดอยางไมถูกวิธีก็จะมีผลตอสิ่งแวดลอมดวย

๕. ทดลองและอธิบายการเกิดพอลิเมอร สมบัติของพอลิเมอร

- พอลิ เมอร เปนสารประกอบที่โมเลกุลมีขนาดใหญ เกิดจากมอนอเมอรจํานวนมากเชื่อมตอกันดวยพันธะโคเวเลนต มีทั้งที่เกิดในธรรมชาติและสังเคราะหขึ้น

- ปฏิกิริยาที่มอนอเมอรรวมกันเปนพอลิเมอร เรียกวา ปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชัน ซึ่งอาจเปนแบบควบแนน หรือแบบตอเติม

- พอลิเมอรมีหลายชนิด แตละชนิดอาจมีสมบัติบางประการเหมือนกันและบางประการแตกตางกัน

๖. อภิปรายการนําพอลิเมอรไปใชประโยชน รวมทั้งผลที่เกิดจากการผลิตและใชพอลิ เมอรตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม

- พอลิเมอรนําไปใชประโยชนไดแตกตางกัน ตามสมบัติของพอลิเมอรชนิดนั้นๆ เชน ใชพลาสติกทําภาชนะ ใชเสนใยสังเคราะหทําเครื่องนุงหม

Page 42: กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

๔๐

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง- พอลิเมอรสังเคราะหที่นําไปใชประโยชนใน

ชีวิตประจําวัน บางชนิดสลายตัวยาก การใชอยางฟุมเฟอยและไมระมัดระวังอาจกอใหเกิดปญหาตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอมได

๗. ทดลองและอธิบายองคประกอบ ประโยชน และปฏิกิริยา บางชนิดของคารโบไฮเดรต

- คารโบไฮเดรตจัดเปนแหลงพลังงานของสิ่งมีชีวิต พบไดทั่วไปในชีวิตประจําวัน เชน น้ําตาล แปง เซลลูโลสและไกลโคเจน โดยมีน้ําตาลเปนหนวยยอยสําคัญ ซึ่งประกอบดวยธาตุ C H และ O การตรวจสอบชนิดของน้ําตาลทํา ไดโดยใชสารละลายเบเนดิกต

๘. ทดลองและอธิบายองคประกอบ ป ร ะ โ ย ช น แ ล ะ ป ฏิ กิ ริ ย า บางชนิดของไขมันและน้ํามัน

- ไขมันและน้ํามัน เปนสารประกอบไตรกลีเซอไรด เกิดจากการรวมตัวของกรดไขมันกับกลีเซอรอล กรดไขมันมีทั้งชนิดอิ่มตัวและไมอิ่มตั ว ซึ่ งสามารถตรวจสอบไดโดยใชสารละลายไอโอดีน

- ไขมันและน้ํามันนํามาใชประโยชนไดทั้งการบริโภคและใชใน อุตสาหกรรม การบริโภคไขมันที่ขาดความระมัดระวังจะเปนอันตรายตอสุขภาพได

๙. ทดลองและอธิบายองคประกอบ ประโยชน และปฏิกิริยาบางช นิ ด ข อ ง โ ป ร ตี น แ ล ะ ก ร ดนิวคลีอิก

- โปรตีนเปนสารที่ชวยในการเจริญเติบโต เสริมสรางและซอมแซมเนื้อเยื่อ หนวยยอยของโปรตีนคือกรดอะมิโนซึ่งมีทั้งกรดอะมิโนจําเปนและไมจําเปน มีธาตุองคประกอบสําคัญคือ C H O N การทดสอบโปรตีนในอาหารใชสารละลาย CuSO๔ กับ NaOH

- กรดนิวคลีอิกเปนสารโมเลกุลใหญคลายโปรตีน ประกอบดวย ธาตุ C H O N ที่พบในเซลลของสิ่งมีชีวิต มี ๒ ชนิด คือ DNA และ RNA ซึ่ง เกี่ยวของกับกระบวนการถายทอดทางพันธุกรรม

Page 43: กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

๔๑

สาระที่ ๔ แรงและการเคลื่อนที่

มาตรฐาน ว ๔. ๑ เขาใจธรรมชาติของแรงแมเหล็กไฟฟา แรงโนมถวง และแรงนิวเคลียร มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชนอยางถูกตองและมีคุณธรรม

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลางป. ๑ ๑. ทดลองและอธิบายการดึงหรือ

การผลักวัตถุ

- การดึงและการผลักวัตถุ เปนการออกแรงกระทําตอวัตถุ ซึ่งอาจทําใหวัตถุเคลื่อนที่หรือไมเคลื่อนที่ และเปลี่ยนแปลงรูปรางหรืออาจไมเปลี่ยนแปลงรูปราง

๑. ทดลองและอธิบายแรงที่เกิดจากแมเหล็ก

- แมเหล็กมีแรงดึงดูดหรือผลักระหวางแทงแ ม เ ห ล็ ก ร อ บ แ ท ง แ ม เ ห ล็ ก มีสนามแมเหล็กและสามารถดึงดูดวัตถุที่ทําดวยสารแมเหล็ก

๒. อธิบายการนําแม เหล็กมาใชประโยชน

- แมเหล็กมีประโยชนในการทําของเลน ของใช และนําไปแยกสารแมเหล็กออกจากวัตถุอื่นได

ป.๒

๓. ทดลองและอธิบายแรงไฟฟาที่เกิดจากการถูวัตถุบางชนิด

- เมื่อถูวัตถุบางชนิดแลวนําเขาใกลกัน จะดึงดูดหรือผลักกันได แรงที่ เกิดขึ้นนี้เรียกวาแรงไฟฟา และวัตถุนั้นจะดึงดูดวัตถุเบา ๆได

๑. ทดลองและอธิบายผลของการออกแรงที่กระทําตอวัตถุ

- การออกแรงกระทําตอวัตถุแลวทําใหวัตถุเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่ โดยวัตถุที่หยุดนิ่งจะเคลื่อนที่และวัตถุที่กําลังเคลื่อนที่จะเคลื่อนที่เร็วขึ้นหรือเคลื่อนที่ชาลงหรือหยุดเคลื่อนที่หรือเปลี่ยนทิศทาง

ป.๓

๒. ทดลองการตกของวัตถุสูพื้นโลก และอธิบายแรงที่ โล กดึงดูดวัตถุ

- วัตถุตกสูพื้นโลกเสมอเนื่องจากแรงโนมถวงหรือแรงดึงดูดของโลกกระทําตอวัตถุ และแรงนี้คือน้ําหนักของวัตถุ

ป.๔ - -ป.๕ ๑. ทดลองและอธิบายการหาแรง

ลัพธของแรงสองแรง ซึ่งอยูในแนวเดียวกันที่กระทําตอวัตถุ

- แรงลัพธของแรงสองแรงที่กระทําตอวัตถุโดยแรงทั้งสองอยูในแนวเดียวกันเทากับผลรวมของแรงทั้งสองนั้น

Page 44: กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

๔๒

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง๒. ทดลองและอธิบายความดัน

อากาศ - อากาศมีแรงกระทําตอวัตถุ แรงที่อากาศ

กระทําตั้งฉากตอหนึ่งหนวยพื้นที่ เรียกวาความดันอากาศ

๓. ทดลองและอธิบายความดันของของเหลว

- ของเหลวมีแรงกระทําตอวัตถุทุกทิศทาง แรงที่ของเหลวกระทําตั้งฉากตอหนึ่งหนวยพื้นที่ เรียกวา ความดันของของเหลว ซึ่งมีความสัมพันธกับความลึก

๔. ทดลองและอธิบายแรงพยุงของของเหลว การลอยตัว และการจมของวัตถุ

- ของเหลวมีแรงพยุงกระทําตอวัตถุที่ลอยหรือจมในของเหลว การจมหรือการลอยตัวของวัตถุขึ้นอยูกับน้ําหนักของวัตถุ และแรงพยุงของของเหลวนั้น

ป.๖ - -๑. สื บ ค น ข อ มู ล แ ล ะ อ ธิ บ า ย

ป ริ ม า ณ ส เ ก ล า ร ป ริ ม า ณเวกเตอร

- ปริมาณทางกายภาพแบงเปนปริมาณสเกลารและปริมาณเวกเตอร ปริมาณสเกลารเปนปริมาณที่มีแตขนาด ปริมาณเวกเตอรเปนปริมาณที่มีทั้งขนาดและทิศทาง

ม. ๑

๒. ทดลองและอธิบายระยะทาง ก า ร ก ร ะ จั ด อั ต ร า เ ร็ ว แ ล ะความเร็ว ในการเคลื่อนที่ของวัตถุ

- การเคลื่อนที่ของวัตถุเกี่ยวของกับระยะทาง การกระจัด อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง คื อ ค ว า ม ย า ว ที่ วั ด ต า ม แ น ว ท า ง ก า รเคลื่อนที่ของวัตถุจากตําแหนงเริ่มตนไปยังตําแหนงสุดทาย การกระจัด คือ เวกเตอรที่ชี้ ตํ า แ ห น ง สุ ด ท า ย ข อ ง วั ต ถุ เ ที ย บ กั บตําแหนงเริ่มตน อัตราเร็ว คือ ระยะทางที่วั ต ถุ เ ค ลื่ อ น ที่ ไ ด ใ น ห นึ่ ง ห น ว ย เ ว ล า ความเร็ว คือ การกระจัดของวัตถุในหนึ่งหนวยเวลา

ม.๒ ๑. ทดลองและอธิบายการหาแรงลั พ ธ ข อ ง แ ร ง ห ล า ย แ ร ง ใ นระนาบเดียวกันที่กระทําตอวัตถุ

- แรงเปนปริมาณเวกเตอร เมื่อมีแรงหลายแรงในระนาบเดียวกันกระทํ าตอวัตถุเดียวกัน สามารถหาแรงลัพธไดโดยใชหลักการรวมเวกเตอร

Page 45: กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

๔๓

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง๒. อธิบายแรงลัพธที่กระทําตอ

วัตถุที่หยุดนิ่งหรือวัตถุเคลื่อนที่ดวยความเร็วคงตัว

- เมื่อแรงลัพธมีคาเปนศูนยกระทําตอวัตถุที่หยุดนิ่ง วัตถุนั้นก็จะหยุดนิ่งตลอดไป แตถาวัตถุ เคลื่อนที่ ดวยความเร็วคงตัว ก็จะเคลื่อนที่ดวยความเร็วคงตัวตลอดไป

๑. อธิบายความเรงและผลของแรงลัพธที่ทําตอวัตถุ

- วัตถุเคลื่อนที่ดวยความเร็วที่เปลี่ยนแปลง เปนการเคลื่อนที่ดวยความเรง เมื่อแรงลัพธมีคาไมเทากับศูนยกระทําตอวัตถุวัตถุจะเคลื่อนที่ดวยความเรงซึ่งมีทิศทางเดียวกับแรงลัพธ

๒. ทดลองและอธิบายแรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาระหวางวัตถุ และนํ าความรู ไปใช ประโยชน

- ทุกแรงกิริยาจะมีแรงปฏิกิริยาโตตอบดวยขนาดของแรงเทากัน แตมีทิศทางตรงขาม

- การนําความรูเรื่องแรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาไปใชอธิบาย เชน การชักเยอ การจุดบั้งไฟ

ม.๓

๓. ทดลองและอธิบายแรงพยุงของของเหลวที่กระทําตอวัตถุ

- แรงพยุง คือ แรงที่ของเหลวกระทําตอวัตถุมี ค า เ ท า กั บ น้ํ า หนั ก ข อง ข อง เ หล วที่ มีปริมาตรเทากับสวนที่จมของวัตถุ

- ของเหลวที่มีความหนาแนนมากจะมีแรงพยุงมาก- วั ต ถุ ที่ ล อ ย ไ ด ใ น ข อง เห ล ว จ ะ มี ค ว า ม

หนาแนนนอยกวาความหนาแนนของของเหลว

๑. ทดลองและอธิบายความสัมพันธระหวางแรงกับการเคลื่อนที่ของวัตถุในสนามโนมถวง และนําความรูไปใชประโยชน

- ในสนามโนมถวงจะมีแรงกระทําตอวัตถุ ทําใหวัตถุมีน้ําหนัก เมื่อปลอยวัตถุ วัตถุจะตกแบบเสรี สนามโนมถวงทําใหวัตถุตางๆ ไม หลุ ดจา ก โล ก เชน ก า รโค จรข องดาวเทียมรอบโลก และอาจใชแรงโนมถวงไปใชประโยชนเพื่อหาแนวดิ่งของชางกอสราง

ม.๔-ม.๖

๒. ทดลองและอธิบายความสัมพันธระหวางแรงกับการเคลื่อนที่ของ

- เมื่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟาอยูในสนามไฟฟา จะมีแรงกระทําตออนุภาคนั้น ซึ่งอาจทําให

Page 46: กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

๔๔

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลางอนุภาคในสนามไฟฟ า และนําความรูไปใชประโยชน

สภาพการเคลื่อนที่ของอนุภาคเปลี่ยนไป สามา รถนํ าสมบั ตินี้ ไ ปประ ยุกตสร า งเครื่องมือบางชนิด เชน เครื่องกําจัดฝุน ออสซิลโลสโคป

๓. ทดลองและอธิบายความสัมพันธระหวางแรงกับการเคลื่อนที่ของอนุภาคในสนามแมเหล็ก และ นําความรูไปใชประโยชน

- เมื่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟาเคลื่อนที่ ในสนามแมเหล็ก จะมีแรงกระทําตออนุภาคนั้น ซึ่งอาจทําใหสภาพการเคลื่อนที่ของอนุภาคเปลี่ยนไป สามารถนําสมบัตินี้ไปประยุกตสรางหลอดภาพโทรทัศน

๔. วิ เ ค ร า ะ ห แ ล ะ อ ธิ บ า ย แ ร งนิวเคลียรและแรงไฟฟาระหวางอนุภาคในนิวเคลียส

- อนุภาคในนิวเคลียส เรียกวา นิวคลีออน นิวคลีออน ประกอบดวยโปรตอนและนิวตรอน นิวคลีออน ในนิวเคลียสยึดเหนี่ยวกันดวยแรงนิวเคลียร ซึ่งมีคามากกวาแรงผลักทางไฟฟาระหวาง นิ วคลี ออน นิ วคลี ออนจึ งอยู รวมกั นในนิวเคลียสได

Page 47: กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

๔๕

สาระที่ ๔ แรงและการเคลื่อนที่

มาตรฐาน ว ๔.๒ เขาใจลักษณะการเคลื่อนที่แบบตางๆ ของวัตถุในธรรมชาติ มีกระบวนการ สืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลางป. ๑ - -ป.๒ - -ป.๓ - -ป.๔ - -ป.๕ 1. ทดลองและอธิบาย แรงเสียด

ทานและนําความรูไปใชประโยชน

- แรงเสียดทานเปนแรงตานการเคลื่อนที่ของวัตถุ แรงเสียดทานมีประโยชน เชนในการเดินตองอาศัยแรงเสียดทาน

ป.๖ - -ม. ๑ - -ม.๒ - -

๑. ทดลองและอธิบายความแตกตางระหวางแรงเสียดทานสถิตกับแรงเสียดทานจลน และนําความรูไปใชประโยชน

- แรงเสียดทานสถิตเปนแรงเสียดทานที่กระทําตอวัตถุขณะหยุดนิ่ง สวนแรงเสียดทานจลนเปนแรงเสียดทานที่กระทําตอวัตถุขณะเคลื่อนที่

- การเพิ่มแรงเสียดทาน เชน การออกแบบพื้นรองเทาเพื่อกันลื่น

- การลดแรงเสียดทาน เชน การใชน้ํามันหลอลื่นที ่ จุดหมุน

ม.๓

๒. ทดลองและวิเคราะหโมเมนตของแรง และนําความรูไปใชประโยชน

- เมื่อมีแรงที่กระทําตอวัตถุ แลวทําใหเกิดโมเมนตของแรงรอบจุดหมุน วัตถุจะเปลี่ยนสภาพการหมุน

- การวิเคราะหโมเมนตของแรงในสถานการณตาง ๆ

Page 48: กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

๔๖

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง๓. สังเกตและอธิบายการเคลื่อนที่ของ

วัตถุที่เปนแนวตรง และแนวโคง - การเคลื่อนที่ของวัตถุมีทั้งการเคลื่อนที่ในแนวตรง

เชน การตกแบบเสรี และการเคลื่อนที่ในแนวโคง เชน การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทลของลูกบาสเกตบอลในอากาศ การเคลื่อนที่แบบวงกลมของวัตถุที่ผูกเชือกแลวแกวง เปนตน

๑. อธิบายและทดลองความสัมพันธระหวางการกระจัด เวลา ความเร็ว ความเรงของการเคลื่อนที่ในแนวตรง

- การเคลื่อนที่แนวตรงเปนการเคลื่อนที่ในแนวใ ดแนวหนึ่ ง เช น แนวรา บ หรือแนวดิ่งที่มีการกระจัด ความเร็ว ความเรง อยูในแนวเสนตรงเดียวกัน โดยความเรงของวัตถุหาไดจากความเร็วที่เปลี่ยนไปในหนึ่งหนวยเวลา

๒. สังเกตและอธิบายการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล แบบวงกลม และแบบฮารมอนิกอยางงาย

- การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทลเปนการเคลื่อนที่วิถีโคงที่มีความเร็วในแนวราบคงตัวและความเรงในแนวดิ่งคงตัว

- การเคลื่อนที่แบบวงกลมปนการเคลื่อนที่ที่มีความเร็วในแนวเสนสัมผัสวงกลมและมีแรงในทิศทางเขาสูศูนยกลาง

- การเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงายเปนการเคลื่อนที่กลับไปกลับมาซ้ําทางเดิม เชน การแกวงของลูกตุมอยางงาย โดยที่มุมสูงสุดที่ เบนจากแนวดิ่ง มีคาคงตัวตลอด

ม.๔-ม.๖

๓. อ ภิ ป ร า ย ผ ล ก า ร สื บ ค น แ ล ะประโยชน เกี่ยวกับการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล แบบวงกลม และแบบฮารมอนิกอยางงาย

- การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทลสามารถนําไปใชประโยชน เชน การเลนเทนนิส บาสเกตบอล

- การเคลื่อนที่แบบวงกลมสามารถนําไปใชประโยชน เชน การวิ่งทางโคงของรถยนตใหปลอดภัย

- การเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอย างงายสามารถนําไปใชประโยชนในการสรางนาฬิกาแบบลูกตุม

Page 49: กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

๔๗

สาระที่ ๕ พลังงาน

มาตรฐาน ว ๕. ๑ เขาใจความสัมพันธระหวางพลังงานกับการดํารงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลังงาน ปฏิสัมพันธระหวางสารและพลังงาน ผลของการใชพลังงานตอชีวิตและสิ่งแวดลอม มีกระบวน การสืบเสาะหาความรู สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรู ไปใชประโยชน

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลางป. ๑ - -

๑. ทดลองและอธิบายไดวาไฟฟาเปนพลังงาน

- ไฟ ฟ า จา ก เซล ล ไ ฟฟ า หรือแบ ตเตอรี่ สามารถทํางานได ไฟฟาจึงเปนพลังงาน

ป.๒

๒. สํ า ร ว จ แ ล ะ ย ก ตั ว อ ย า งเครื่องใชไฟฟาในบานที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟาเปนพลังงานอื่น

- พลังงานไฟฟาเปลี่ยนเปนพลังงานอื่นได ซึ่งตรวจสอบไดจากเครื่องใชไฟฟาในบาน เชน พัดลม หมอหุงขาวไฟฟา

๑. บอกแหลงพลังงานธรรมชาติที่ใชผลิตไฟฟา

- กา รผลิตไฟ ฟ า ใช พ ลั ง งา นจาก แหล งพลังงานธรรมชาติ ซึ่งบางแหลงเปนแหลงพ ลั ง ง า น ที่ มี จํ า กั ด เ ช น น้ํ า มั น แ ก สธรรมชาติ บางแหลงเปนแหลงพลังงานที่หมุนเวียน เชน น้ํา ลม

ป.๓

๒. อ ธิ บ า ย ค ว า ม สํ า คั ญ ข อ งพ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ า แ ล ะ เ ส น อวิธีการใชไฟฟาอยางประหยัดและปลอดภัย

- พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ า มี ค ว า ม สํ า คั ญ ต อชีวิตประจําวัน เชน เปนแหลงกําเนิดแสงสวาง จึงตองใชไฟฟาอยางประหยัด เชน ปดไฟเมื่อไมใชงาน รวมทั้งใชไฟฟาอยางปลอดภัย เชน เลือกใชอุปกรณตาง ๆ ที่มีมาตรฐาน

๑. ทดลองและอธิบายการเคลื่อนที่ของแสงจากแหลงกําเนิด

- แสงเคลื่อนที่จากแหลงกําเนิดทุกทิศทาง และเคลื่อนที่เปนแนวตรง

๒. ทดลองและอธิบายการสะทอนของแสงที่ตกกระทบวัตถุ

- แสงตกกระทบวัตถุจะเกิดการสะทอนของแสงโดยมีมุมตกกระทบเทากับมุมสะทอน

๓. ทดลองและจําแนกวัตถุตามลักษณะการมองเห็นจากแหลงกําเนิดแสง

- เมื่อแสงกระทบวัตถุตางกัน จะผานวัตถุแตละ ชนิดไ ดต าง กัน ทํ า ให จํ า แนกวัตถุออกเปนตัวกลางโปรงใส ตัวกลางโปรงแสงและวัตถุทึบแสง

ป.๔

๔. ทดลองและอธิบายการหักเห - เมื่อแสงเคลื่อนที่ผานตัวกลางที่ตางชนิดกัน

Page 50: กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

๔๘

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลางของแสงเมื่อผานตัวกลางโปรงใสสองชนิด

ทิศทางการเคลื่อนที่ของแสงเปลี่ยน เรียกการหักเหของแสง

๕. ทดลองและอธิบายการเปลี่ยนแสงเปนพลังงานไฟฟาและนําความรูไปใชประโยชน

- เซลลสุริยะเปนอุปกรณที่เปลี่ยนพลังงานแสงเปนพลังงานไฟฟา อุปกรณไฟฟาหลายชนิดมีเซลลสุริยะเปนสวนประกอบ เชน เครื่องคิดเลข

๖. ทดลองและอธิบายแสงขาวประกอบดวยแสงสีตาง ๆ และนําความรูไปใชประโยชน

- แสงขาวผานปริซึมจะเกิดการกระจายของแสงเปนแสงสีตาง ๆ นําไปใชอธิบายปรากฏการณธรรมชาติ เชน การเกิดสีรุง

๑. ทดลองและอธิบายการเกิดเสียงและการเคลื่อนที่ของเสียง

- เสียงเกิดจากการสั่นของแหลงกําเนิดเสียงและเสียงเคลื่อนที่จากแหลงกําเนิดเสียงทุกทิศทางโดยอาศัยตัวกลาง

๒. ทดลองและอธิบายการเกิดเสียงสูง เสียงต่ํา

- แหลงกําเนิดเสียงสั่นดวยความถี่ต่ําจะเกิดเสียงต่ํา แตถาสั่นดวยความถี่สูงจะเกิดเสียงสูง

๓. ทดลองและอธิบายเสียงดัง เสียงคอย

- แหลงกําเนิดเสียงสั่นดวยพลังงานมากจะทําใหเกิดเสียงดัง แตถาแหลงกําเนิดเสียงสั่นดวยพลังงานนอยจะเกิดเสียงคอย

ป.๕

๔. สํารวจและอภิปรายอันตรายที่เกิดขึ้นเมื่อฟงเสียงดังมาก ๆ

- เสียงดังมาก ๆจะเปนอันตรายตอการไดยิน และเสียงที่กอใหเกิดความรําคาญ เรียกวามลพิษทางเสียง

๑. ทดลองและอธิบายการตอวงจรไฟฟาอยางงาย

- ว ง จ ร ไ ฟ ฟ า อ ย า ง ง า ย ป ร ะ ก อ บ ด ว ย แหลงกําเนิดไฟฟา อุปกรณไฟฟา

๒. ทดลองและอธิบายตัวนําไฟฟาและฉนวนไฟฟา

- วัสดุที่กระแสไฟฟาผานไดเปนตัวนําไฟฟา ถากระแสไฟฟาผานไมไดเปนฉนวนไฟฟา

ป.๖

๓. ทดลองและอธิบายการตอเซลลไฟฟาแบบอนุกรม และนําความรูไปใชประโยชน

- เซลลไฟฟาหลายเซลลตอเรียงกัน โดยขั้วบวกของเซลลไฟฟาเซลลหนึ่งตอกับขั้วลบของอีก เซลลหนึ่ ง เปนการตอแบบอนุกรม ทําใหมีกระแสไฟฟาผานอุปกรณไฟฟาในวงจรเพิ่มขึ้น

- การตอเซลลไฟฟาแบบอนุกรมสามารถ

Page 51: กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

๔๙

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลางนําไปใชประโยชนในชีวิตประจําวัน เชน การตอเซลลไฟฟาในไฟฉาย

๔. ทดลองและอธิบายการตอหลอดไฟฟาทั้งแบบอนุกรม แบบขนาน และนําความรูไปใชประโยชน

- การตอหลอดไฟฟ าแบบอนุกรม จะมีกระแสไฟฟาปริมาณเดียวกันผานหลอดไฟฟาแตละหลอด

- การตอหลอดไฟฟาแบบขนาน กระแสไฟฟาจะแยกผานหลอดไฟฟาแตละหลอด สามารถนําไปใชประโยชน เชน การตอหลอดไฟฟาหลายดวงในบาน

๕. ทดลองและอธิบายการเกิดสนามแมเหล็กรอบสายไฟที่มีกระแสไฟฟาผาน และนําความรูไปใชประโยชน

- สายไฟที่มีกระแสไฟฟาผานจะเกิดสนามแมเหล็ก รอบสายไฟ สามารถนําไปใชประโยชน เชน การทําแมเหล็กไฟฟา

๑. ทดลองและอธิบายอุณหภูมิและการวัดอุณหภูมิ

- การวัดอุณหภูมิเปนการวัดระดับความรอนของสาร สามารถวัดดวยเทอรมอมิเตอร

๒. สังเกตและอธิบายการถายโอนความรอน และนําความรูไปใชประโยชน

- การถายโอนความรอนมีสามวิธี คือ การนําความรอน การพาความรอนและการแผรังสีความรอน

- การนําความรอน เปนการถายโอนความรอนโดยการสั่นของโมเลกุล

- การพาความรอน เปนการถายโอนความรอนโดยโมเลกุลของสารเคลื่อนที่ไปดวย

- การแผรังสีความรอน เปนการถายโอนความรอนจากคลื่นแมเหล็กไฟฟา

- การนําความรูเรื่องการถายโอนความรอนไปใชประโยชน

ม. ๑

๓. อธิบายการดูดกลืน การคายความรอน โดยการแผรังสี และนําความรูไปใชประโยชน

- วัตถุที่แตกตางกันมีสมบัติในการดูดกลืนความรอนและคายความรอนไดตางกัน

- การนําความรูเรื่องการดูดกลืนความรอนและการคายความรอนไปใชประโยชน

Page 52: กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

๕๐

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง๔. อธิบายสมดุลความรอนและผล

ของความรอนตอการขยายตัวของสาร และนําความรูไปใชในชีวิตประจําวัน

- เมื่อวัตถุสองสิ่งอยูในสมดุลความรอน วัตถุทั้งสองมีอุณหภูมิเทากัน

- การขยายตัวของวัตถุเปนผลจากความรอนที่วัตถุไดรับเพิ่มขึ้น

- การนําความรูเรื่องการขยายตัวของวัตถุเมื่อไดรับความรอนไปใชประโยชน

๑. ทดลองและอธิบายการสะทอนของแสง การหัก เหของแสง และนําความรูไปใชประโยชน

- เมื่อแสงตกกระทบผิววัตถุหรือตัวกลางอีก ตัวกลางหนึ่ง แสงจะเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่โดยการสะทอนของแสง หรือการหักเหของแสง

- การนําความรูเกี่ยวกับการสะทอนของแสง และการหักเหของแสงไปใชอธิบายแวนตา ทัศนอุปกรณ กระจก เสนใยนําแสง

๒. อธิบายผลของความสวางที่มีตอมนุษยและสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ

- นัยนตาของคนเราเปนอวัยวะใชมองดูสิ่งตางๆ นัยนตามีองคประกอบสําคัญหลายอยาง

- ความสวางมีผลตอนัยนตามนุษย จึงมีการนําความรูเกี่ยวกับความสวางมาชวยในการจัดความสวางใหเหมาะสมกับการทํางาน

- ออกแบบวิธีการตรวจสอบวาความสวางมีผลตอสิ่งมีชีวิตอื่น

ม.๒

๓. ทดลองและอธิบายการดูดกลืนแสงสี การมองเห็นสีของวัตถุ และนําความรูไปใชประโยชน

- เมื่อแสงตกกระทบวัตถุ วัตถุจะดูดกลืนแสงสีบางสีไว และสะทอนแสงสีที่เหลือออกมาทําใหเรามองเห็นวัตถุเปนสีตาง ๆ

- การนําความรูเกี่ยวกับการดูดกลืนแสงสีการมองเห็นสีของวัตถุไปใชประโยชนในการถายรูปและในการแสดง

ม.๓ ๑. อธิบายงาน พลังงานจลน พลังงานศักยโนมถวง กฎการอนุรักษพลังงาน และความสัมพันธระหวางปริมาณเหลานี้ รวมทั้งนําความรูไปใชประโยชน

- การใหงานแกวัตถุเปนการถายโอนพลังงานใหวัตถุ พลั งงานนี้ เปนพลั งงานกลซึ่ งประกอบดวยพลังงานศักยและพลังงานจลน พลังงานจลนเปนพลังงานของวัตถุขณะวัตถุเคลื่อนที่ สวนพลังงานศักยโนมถวงของวัตถุ

Page 53: กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

๕๑

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลางเปนพลังงานของวัตถุที่อยูสูงจากพื้นโลก

- กฎการอนุรักษพลังงานกลาววา พลังงานรวม ของวัตถุไมสูญหาย แตสามารถเปลี่ยนจาก

รูปหนึ่งไปเปนอีกรูปหนึ่งได- การนํากฎการอนุรักษพลังงานไปใชประโยชน

ในการอธิบายปรากฏการณ เชน พลังงานน้ําเหนือเขื่อนเปลี่ยนรูปจากพลังงานศักยโนมถวงเปนพลังงานจลน, ปนจั่นตอกเสาเข็ม

๒. ทดลองและอธิบายความสัมพันธระหวางความตางศักย กระแสไฟฟา ความตานทาน และนําความรูไปใชประโยชน

- ความตางศักย กระแสไฟฟาและความตานทานมีความสัมพันธกันตามกฎของโอหม

- การนํากฎของโอหมไปใชวิเคราะหวงจรไฟฟาอยางงาย

๓. คํ า นวณพ ลั ง ง า นไ ฟ ฟ า ข องเครื่องใชไฟฟา และนําความรูไปใชประโยชน

- การคํานวณพลังงานไฟฟาของเครื่องใชไฟฟาเปนสวนหนึ่งของการคิดคาไฟฟาและเปนแนวทางในการประหยัดพลังงานไฟฟาในบาน

๔. สัง เกตแล ะอภิปรา ย กา รตอวงจรไฟฟาในบานอยางถูกตองปลอดภัย และประหยัด

- การตอวงจรไฟฟาในบานตองออกแบบวงจร ติดตั้งเครื่องใชไฟฟา อุปกรณไฟฟาอยางถูกตอง โดยการตอสวิตชแบบอนุกรม ตอเตารับแบบขนาน และเพื่อความปลอดภัยตองตอสายดินและฟวส รวมทั้งตองคํานึงถึงการใชไฟฟาอยางประหยัด

๕. อธิบายตัวต านทาน ไดโอด ทรานซิสเตอร และทดลองตอวงจรอิเล็กทรอนิกสเบื้องตนที่มีทรานซิสเตอร

- ชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกส เชน ตัวตานทาน ไดโอด ทรานซิสเตอร มีสมบั ติทางไฟฟาแตกต างกั น ตัวตานทานทําหนาที่จํากัดกระแสไฟฟาในวงจรไดโอดมีสมบัติใหกระแสไฟฟาผานไดทิศทางเดียวและทรานซิสเตอรทําหนาที่เปนสวิตซปด-เปดวงจร

- การประกอบวงจรอิเล็กทรอนิกสเบื้องตนที่มีทรานซิสเตอร ๑ ตัวทําหนาที่เปนสวิตซ

ม.๔-ม.๖ ๑. ทดลองและอธิบายสมบัติของคลื่นกล และอธิบายความสัมพันธระหวาง อัตราเร็ว ความถี่และความยาวคลื่น

- คลื่นกลมีสมบัติ การสะทอน การหักเห การแทรกสอด และการเลี้ยวเบน

- อัตราเร็ว ความถี่และความยาวคลื่นมี

Page 54: กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

๕๒

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลางความสัมพันธกันดังนี้ อัตราเร็ว = ความถี่ ความยาวคลื่น

๒. อธิบายการเกิดคลื่นเสียงบีตสของเสียง ความเขมเสียง ระดับความเขมเสียง การไดยินเสี ยง คุณภาพเสียง และนํ าความรูไปใชประโยชน

- คลื่นเสียงเกิดจากการสั่นของแหลงกําเนิดเสียง

- บีตสข อง เสี ย ง เกิ ดจา กค ลื่น เสี ย งจา กแหลงกําเนิดสองแหลงที่มีความถี่ตางกันเล็กนอย มารวมกัน ทําใหไดยินเสียงดังคอยเปนจังหวะ

- ความเขมเสียง คือ พลังงานเสียงที่ตกตั้งฉากบนหนึ่งหนวยพื้นที่ในหนึ่งหนวยเวลา

- ระดับความเขมเสียงจะบอกความดังคอยของเสียงที่ไดยิน

- เ ค รื่ อ ง ด น ต รี แ ต ล ะ ช นิ ด ที่ ใ ช ตั ว โ น ตเดี ย วกั น จะ ให รูปค ลื่ นที่ แตก ต าง กั น เรียกวามีคุณภาพเสียงตางกัน

๓. อภิปรายผลการสืบคนขอมูลเกี่ยวกับมลพิษทางเสียงที่มีตอสุขภาพของมนุษย และการเสนอวิธีปองกัน

- มลพิษทางเสียงมีผลตอสุขภาพของมนุษย ถาฟงเสียงที่มีระดับความเขมเสียงสูงกวามาตรฐานเปนเวลานาน อาจกอใหเกิดอันตรายตอการไดยินและสภาพจิตใจได การปองกันโดยการหลีกเลี่ยงหรือใชเครื่องครอบหูหรือลดการสั่นของแหลงกําเนิดเสียง เชน เครื่องจักร

๔. อธิบายคลื่นแม เหล็กไฟฟ า สเปกตรัมคลื่นแมเหล็กไฟฟา แล ะ นํ า เส นอผล กา รสื บ ค นขอมูลเกี่ยวกับประโยชน และการปองกันอันตรายจากคลื่นแมเหล็กไฟฟา

- คลื่นแมเหล็กไฟฟาประกอบดวยสนามแมเหล็กและสนามไฟฟาที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา สเปกตรัมคลื่นแมเหล็กไฟฟามีความถี่ตอเนื่องกัน โดยคลื่นแมเหล็กไฟฟาชวงความถี่ต างๆ มีลักษณะเฉพาะตัว ซึ่ งสามารถนําไปใชประโยชนไดแตกตางกัน เชน การรับสงวิทยุ โทรทัศน การปองกันอันตรายจากคลื่นแมเหล็กไฟฟา เชน ไมอยูใกลเตาไมโครเวฟขณะเตาทํางาน

Page 55: กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

๕๓

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง๕. อธิบายปฏิกิริยานิวเคลียร ฟช

ชัน ฟวชัน และความสัมพันธระหวางมวลกับพลังงาน

- ปฏิกิริยานิวเคลียร เปนปฏิกิริยาที่ทําใหนิวเคลียสเกิดการเปลี่ยนแปลง ปฏิกิริยาที่นิวเคลียสของธาตุที่มีเลขมวลมากแตกตัว เรียกวา ฟชชัน ปฏิกิริยาที่ เกิดจากการหลอมรวมนิวเคลียสของธาตุที่มีเลขมวลนอย เรียกวา ฟวชัน ความสัมพันธระหวางมวลและพลั งงานเปนไปตามสมกา ร

2mcE

๖. สืบคนขอมูลเกี่ยวกับพลังงานที่ไดจากปฏิกิริยานิวเคลียรและผ ล ต อ สิ่ ง มี ชี วิ ต แ ล ะสิ่งแวดลอม

- ปฏิกิริยานิวเคลียรทําใหเกิดผลกระทบตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม

๗. อภิปรายผลการสืบคนขอมูลเกี่ยวกับโรงไฟฟานิวเคลียร และนําไปใชประโยชน

- โรงไฟฟานิวเคลียรเปนโรงไฟฟาพลังงานความรอนประเภทหนึ่ง ซึ่งไดพลังงานความรอนจากพลังงานนิวเคลียร

๘. อธิบายชนิดและสมบัติของรังสีจากธาตุกัมมันตรังสี

- รังสีจากธาตุกัมมันตรังสีมี ๓ ชนิด คือ แอลฟา บีตาและแกมมา ซึ่งมีอํานาจทะลุผานตางกัน

๙. อธิบายการเกิดกัมมันตภาพรังสีและบอกวิธีการตรวจสอบรังสีใ น สิ่ ง แ ว ด ล อ ม ก า ร ใ ชป ร ะ โ ย ช น ผ ล ก ร ะ ท บ ต อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม

- กัมมันตภาพรังสี เกิดจากการสลายของไอโซโทปของธาตุที่ ไม เสถียร สามารถตรวจจับไดโดยเครื่ องตรวจวัดรั งสี ในธรรมชาติมีรังสีแตสวนใหญอยูในระดับต่ํามาก

- รั งสีมี ประโยชนในด านอุตสาหกรรม การเกษตร การแพทย โบราณคดี รังสีในระดับสูงมีอันตรายตอสิ่งมีชีวิต

Page 56: กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

๕๔

สาระที่ ๖ กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก

มาตรฐาน ว ๖. ๑ เขาใจกระบวนการตาง ๆ ที่เกิดขึ้นบนผิวโลกและภายในโลก ความสัมพันธของกระบวนการตาง ๆ ที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และสัณฐานของโลก มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลางป. ๑ ๑. สํารวจ ทดลองและอธิบาย

องคประกอบและสมบัติทางกายภาพของดินในทองถิ่น

- ดินประกอบดวย เศษหิน ซากพืช ซากสัตว โดยมีน้ําและอากาศแทรกอยูในชองวางของเม็ดดิน

- ดินในแตละทองถิ่นมีสมบัติทางกายภาพแตกตางกันในดานของสี เนื้อดิน การอุมน้ําและการจับตัวของดิน

ป.๒ ๑. สํารวจและจําแนกประเภทของดินโดยใชสมบัติทางกายภาพเปนเกณฑ และนําความรูไปใชประโยชน

- ดินจําแนกออกเปนประเภทใหญ ๆ ไดแก ดินรวน ดินเหนียวและดินทราย ตามลักษณะที่แตกตางกันในดานของสี เนื้อดิน การอุมน้ําและการจับตัวของดิน ซึ่งนําไปใชประโยชนไดแตกตางกันตามสมบัติของดิน

๑. สํารวจและอธิบายสมบัติทางกายภาพของน้ําจากแหลงน้ําในทองถิ่น และนําความรูไปใชประโยชน

- น้ําพบไดทั้งที่ เปนของเหลว ของแข็งและแ ก ส น้ํ า ล ะ ล า ย ส า ร บ า ง อ ย า ง ไ ด น้ําเปลี่ยนแปลงรูปรางตามภาชนะที่บรรจุ และรักษาระดับในแนวราบ

- คุณภาพของน้ํ าพิจารณาจาก สี กลิ่น ความโปรงใสของน้ํา

- น้ําเปนทรัพยากรธรรมชาติที่มีความจําเปนตอชีวิต ทั้งในการบริโภค อุปโภค จึงตองใชอยางประหยัด

ป.๓

๒. สืบคนขอมูลและอภิปรายสวนประกอบของอากาศและความสําคัญของอากาศ

- อากาศประกอบดวย แกสไนโตรเจน แกส ออกซิเจน แกสคารบอนไดออกไซดและ แกส อื่น ๆ รวมทั้งไอน้ํา และฝุนละออง

- อากาศมีความสําคัญตอการดํ ารงชีวิต สิ่ งมีชีวิตทุกชนิดตองใชอากาศในการหายใจ และอากาศยังมีประโยชนในดานอื่นๆ อีกมากมาย

Page 57: กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

๕๕

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง๓. ทดลองอธิบายการเคลื่อนที่

ของอากาศที่มีผลจากความแตกตางของอุณหภูมิ

- อากาศจะเคลื่อนจากบริเวณที่มีอุณหภูมิต่ําไปยังบริเวณที่มีอุณหภูมิสูงกวา โดยอากาศที่เคลื่อนที่ในแนวราบทําใหเกิดลม

๑. สํารวจและอธิบายการเกิดดิน - ดินเกิดจากหินที่ผุพังผสมกับซากพืช ซากสัตว

ป.๔

๒. ระบุชนิดและสมบัติของดินที่ใชปลูกพืชในทองถิ่น

- ดิ น มี ส ว น ป ร ะ ก อ บ ข อ ง เ ศ ษ หิ น อินทรียวัตถุ น้ํา และอากาศในสัดสวนที่แตกตางกันทําใหเกิดดินหลายชนิด พืชแตละชนิดเจริญเติบโตไดดีในดินที่แตกตางกัน ดังนั้นการปลูกพืชจึงควรเลือกใชดินใหเหมาะสม

๑. สํารวจ ทดลองและอธิบายการเกิดเมฆ หมอก น้ําคาง ฝน และลูกเห็บ

- ไอน้ําในอากาศที่ควบแนนเปนละอองน้ําเล็ก ๆ ทําใหเกิดหมอกและเมฆละอองน้ําเล็ก ๆที่รวมกันเปนหยดน้ําจะทําใหเกิดน้ําคางและฝน

- หยดน้ําที่กลายเปนน้ําแข็งแลวถูกพายุพัดวนในเมฆระดับสูงจนเปนกอนน้ําแข็งขนาดใหญขึ้นแลวตกลงมาทําใหเกิดลูกเห็บ

๒. ทดลองและอธิบายการเกิดวัฏจักรน้ํา

- วัฏจักรน้ํ า เกิดจากการหมุนเวียนอย างตอเนื่อง ระหวางน้ําบริเวณผิวโลกกับน้ําในบรรยากาศ

๓. ออกแบบและสรางเครื่องมืออยางงายในการวัดอุณหภูมิ ความชื้น และความกดอากาศ

- อุณหภูมิ ความชื้น ความกดอากาศ มีการเปลี่ยนแปลง ซึ่งสามารถตรวจสอบโดยใชเครื่องมืออยางงายได

ป.๕

๔. ทดลองและอธิบายการเกิดลมและนําความรูไปใชประโยชนในชีวิตประจําวัน

- การเกิดลมเกิดจากการเคลื่อนที่ของอากาศตามแนวพื้นราบ อากาศบริเวณที่มีอุณหภูมิสูง มวลอากาศจะขยายตัวลอยตัวสูงขึ้น สวนอากาศบริ เวณที่มีอุณหภูมิต่ํ า มวลอากาศจะจมตัวลงและเคลื่อนที่ไปแทนที่

- พลังงานจากลมนําไปใชประโยชนไดมากมายในดานการผลิตกระแสไฟฟาและการทํากังหันลม

Page 58: กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

๕๖

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ๑. อธิบาย จําแนกประเภทของหิน

โดยใชลักษณะของหิน สมบัติข อ ง หิ น เ ป น เ ก ณ ฑ แ ล ะ นํ าความรูไปใชประโยชน

- หินแตละชนิดมีลักษณะแตกตางกัน จําแนกตามลักษณะที่สังเกตไดเปนเกณฑ เชน สี เนื้อหิน ความแข็ง ความหนาแนน

- นักธรณีวิทยาจําแนกหินตามลักษณะการเกิด ได สามประเภท คื อ หินอั คนี หินตะกอน และหินแปร

- ลักษณะหินและสมบัติของหินที่แตกตางกัน นํามาใชใหเหมาะกับงานทั้งในดานกอสรางดานอุตสาหกรรมและอื่นๆ

๒. สํารวจและอธิบายการเปลี่ยนแปลงของหิน

- การเปลี่ยนแปลงของหินในธรรมชาติโดยการผุพังอยูกับที่ การกรอน ทําใหหินมีขนาดเล็กลง จนเปนสวนประกอบของดิน

ป.๖

๓. สืบคนและอธิบายธรณีพิบัติภัยที่ มี ผ ล ต อ ม นุ ษ ย แ ล ะสภาพแวดลอมในทองถิ่น

- มนุษยควรเรียนรูและปฏิบัติตนใหปลอดภัยจากธรณีพิบัติภัยที่อาจเกิดขึ้นในทองถิ่นไดแก น้ําปาไหลหลาก น้ําทวม แผนดินถลม แผนดินไหว สึนามิและอื่นๆ

๑. สืบคนและอธิบายองคประกอบและการ แบงชั้นบรรยากาศที่ปกคลุมผิวโลก

- บรรยากาศของโลกประกอบดวยสวนผสมของแกสตาง ๆ ที่อยูรอบโลกสูงขึ้นไปจากพื้นผิวโลกหลายกิโลเมตร

- บรรยากาศแบงเปนชั้นตามอุณหภูมิและการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิตามความสูงจากพื้นดิน

๒. ทดลองและอธิบายความสัมพันธระหวาง อุณหภูมิ ความชื้นและค ว า ม ก ด อ า ก า ศ ที่ มี ผ ล ต อปรากฏการณทางลมฟาอากาศ

- อุณหภูมิ ความชื้นและความกดอากาศ มีผลตอปรากฏการณทางลมฟาอากาศ

๓. สังเกต วิเคราะหและ อภิปรายการเกิดปรากฏการณทางลมฟาอากาศที่มีผลตอมนุษย

- ปรากฏการณทางลมฟาอากาศ ไดแก การเกิดเมฆ ฝน พายุฟาคะนอง พายุหมุนเขตรอน ลมมรสุมฯลฯ

ม. ๑

๔. สืบคน วิเคราะห และแปลความหมายขอมูลจากการพยากรณอากาศ

- การพยากรณอากาศอาศัยขอมูลเกี่ยวกับอุณหภูมิ ค วา ม ก ดอา ก า ศ ค วา ม ชื้ น

Page 59: กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

๕๗

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลางปริมาณเมฆ ปริมาณน้ําฝนและนํามาแปลความหมายเพื่อใชในการทํานายสภาพอากาศ

๕. สืบคน วิเคราะห และอธิบายผลของลมฟาอากาศตอการดํารงชีวิตของสิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดลอม

- สภาพลมฟาอากาศที่เปลี่ยนแปลงบนโลกทําให เกิดพายุ ปรากฏการณ เอลนิโญ ลานีญา ซึ่ งสงผลตอการดํารงชีวิตของมนุษย และสิ่งแวดลอม

๖. สืบคน วิเคราะห และอธิบายปจจัยทางธรรมชาติและการกระทําของมนุษยที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก รูโหวโอโซน และฝนกรด

- ปจจัยทางธรรมชาติและการกระทําของมนุษย เชนภูเขาไฟระเบิด การตัดไมทําลายปา การเผาไหมของเครื่องยนตและการปลอยแกสเรือนกระจก มีผลทําใหเกิดภาวะโลกรอน รูโหวของชั้นโอโซน และฝนกรด

- ภาวะโลกรอนคือปรากฏการณที่อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกสูงขึ้น

๗. สืบคน วิเคราะหและอธิบายผลของภาวะโลกรอน รูโหวโอโซน และฝนกรด ที่มีตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม

- ภาวะโลกรอนทําใหเกิดการละลายของธารน้ําแข็ง ระดับน้ําทะเลสูงขึ้น การกัดเซาะชายฝงเพิ่มขึ้น น้ําทวม ไฟปา สงผลใหสิ่ ง มี ชี วิ ต บ า ง ช นิด สู ญพั นธุ แ ล ะ ทํ า ใ หสิ่งแวดลอมเปลี่ยนแปลงไป

- รู โหว โอโซน และฝนกรดมี ผลต อการเปลี่ยนแปลงของสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม

๑. สํ ารวจ ทดลองและอธิ บายลั กษณะของชั้ นหน าตั ดดิ น สมบัติของดิน และกระบวนการเกิดดิน

- ดินมีลักษณะและสมบัติแตกตางกันตามวัตถุ ตนกํ า เนิ ดดิน ลั ก ษ ณะ ภูมิ อ า ก า ศ ลักษณะภูมิประเทศ พืชพรรณ สิ่งมีชีวิต และระยะเวลาในการเกิดดิน และตรวจสอบสมบัติบางประการของดิน

- ชั้นหนาตัดดินแตละชั้นและแตละพื้นที่มีลักษณะ สมบัติ และองคประกอบแตกตางกัน

ม.๒

๒. สํารวจ วิเคราะหและอธิบายก า ร ใ ช ป ร ะ โ ย ช น แ ล ะ ก า รปรับปรุงคุณภาพของดิน

- ดินในแตละทองถิ่นมีลักษณะและสมบัติต างกันตามสภาพของดิน จึ งนํ าไปใชประโยชนตางกัน

Page 60: กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

๕๘

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง- การปรับปรุงคุณภาพดินขึ้นอยูกับสภาพของ

ดินเพื่อทําใหดินมีความเหมาะสมตอการใชประโยชน

๓. ทดลองเลียนแบบเพื่ออธิบายกระบวนการเกิด และลักษณะองคประกอบของหิน

- กระบวนการเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยาทั้งบนและใตพื้นผิวโลก ทํ าให เกิดหินที่ มีลักษณะองคประกอบแตกตางกันทั้งทางดานกายภาพ และทางเคมี

๔. ท ด ส อ บ แ ล ะ สั ง เ ก ตองคประกอบและสมบัติของหิน เพื่อจําแนกประเภทของหิน และนําความรูไปใชประโยชน

- หินแบง เปน หินอัคนี หินแปรและหินตะกอนหินแตละประเภทมีความสัมพันธกั น แ ล ะ นํ า ไ ป ใ ช ป ร ะ โ ย ช น ใ น ท า งอุตสาหกรรม การกอสรางและอื่น ๆ

๕. ตรวจสอบและอธิบาย ลักษณะทางกายภาพของแร และการนําไปใชประโยชน

- เมื่อสภาวะแวดลอมธรรมชาติที่อยูภายใตอุณหภูมิและความดันที่เหมาะสม ธาตุและสารประกอบจะตกผลึกเปนแรที่มีลักษณะและสมบัติตางกัน ซึ่งตองใชวิธีตรวจสอบสมบัติแตละอยางแตกตางกันไป

- แรที่สํารวจพบในประเทศไทยมีหลายชนิด แตละชนิดตรวจสอบทางกายภาพไดจากรูปผลึก ความถวงจําเพาะ ความแข็ง ความวาว แนวแตกเรียบ สีและสีผงของแรและนํ า ไ ป ใ ช ป ร ะ โ ย ช น ต า ง กั น เ ช น ใ ช ทํ าเครื่องประดับ ใชในดานอุตสาหกรรม

๖ สืบคนและอธิบายกระบวนการเกิด ลักษณะและสมบัติของปโตรเลียม ถานหิน หินน้ํามัน และการนําไปใชประโยชน

- ปโตรเลียม ถานหิน หินน้ํามัน เปนเชื้อเพลิงธ ร ร ม ช า ติ ที่ เ กิ ด จ า ก ก ร ะ บ ว น ก า รเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยา ซึ่งแตละชนิดจะมีลักษณะ สมบัติและวิธีการนําไปใชประโยชนแตกตางกัน

๗. สํารวจและอธิบายลักษณะแหลงน้ําธรรมชาติ การใชประโยชนและการอนุรักษแหลงน้ําในทองถิ่น

- แหลงน้ําบนโลก มีทั้งน้ําจืด น้ําเค็ม โดย แหลงน้ําจืดมีอยูทั้งบนดิน ใตดิน และใน บรรยากาศ- การใชประโยชนของแหลงน้ํา ตองมีการวาง

Page 61: กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

๕๙

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลางแผนการใช การอนุรักษ การปองกัน การแกไข และผลกระทบ ดวยวิธีการที่เหมาะสม

๘. ทดลองเลียนแบบ และอธิบาย การเกิดแหลงน้ําบนดิน แหลงน้ําใตดิน

- แหลงน้ําบนดินมีหลายลักษณะขึ้นอยูกับ ลักษณะภูมิประเทศ ลักษณะทางน้ํา และความเร็วของกระแสน้ํา ในแตละฤดูกาล

- น้ําบนดินบางสวนจะไหลซึมสูใตผิวดิน ถูกกักเก็บไวในชั้นดินและหิน เกิดเปนน้ําใตดิน ซึ่งสวนหนึ่งจะซึมอยูตามชองวางระหวางเม็ดตะกอน เรียกวาน้ําในดิน อีกสวนหนึ่ง จะไหลซึมลึกลงไป จนถูกกักเก็บไวตามชองวางระหวางเม็ดตะกอน ตามรูพรุน หรือตามรอยแตกของหิน หรือชั้นหินเรียกวาน้ําบาดาล

- สมบัติของน้ําบาดาลขึ้นอยูกับชนิดของดิน แหลงแรและหิน ที่เปนแหลงกักเก็บน้ําบาดาล และชั้นหินอุมน้ํา

๙. ทดลองเลียนแบบและอธิบายกระบวนการผุพังอยูกับที่ การกรอน การพัดพา การทับถม การตกผลึกและผลของ กระบวนการดังกลาว

- การผุพังอยูกับที่การกรอน การพัดพา การทับถม และการตกผลึก เปนกระบวนการสําคัญที่ทําใหพื้นผิวโลกเกิดการเปลี่ยนแปลงเปนภูมิลักษณ ตาง ๆ โดยมีลม น้ํา ธารน้ําแข็ง คลื่นและแรงโนมถวงของโลกเปนตัวการสําคัญ

๑๐. สืบคน สรางแบบจําลองและ อ ธิ บ า ย โ ค ร ง ส ร า ง แ ล ะองคประกอบของโลก

- โครงสรางของโลกประกอบดวยชั้นเปลือกโลก ชั้นเนื้อโลก และชั้นแกนโลก โครงสรางแตละชั้นจะมีลักษณะและสวนประกอบแตกตางกัน

ม.๓ - -ม.๔-ม.๖ ๑. สืบคนและอธิบายหลักการใน

การแบงโครงสรางโลก- โลกเป นดาวเคราะห หินดวงหนึ่งในระบบ

สุริยะ ภายในโลกยังคงมีอุณหภูมิสูงมากและมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลานับตั้งแต โลกเริ่มเกิดจนถึงปจจุบัน

- นักวิทยาศาสตร แบ งโครงสรางโลกโดยใช

Page 62: กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

๖๐

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ขอมูลและหลักฐานตางๆ ทางธรณีวิทยา

และทางฟสิกส๒. ทดลองเลียนแบบและอธิบาย

กระบวนการเปลี่ยนแปลงทางธรณีภาคของโลก

- การเปลี่ยนแปลงของโลกสามารถอธิบายได ดวยทฤษฎีการแปรสัณฐานแผนธรณีภาค

- การเปลี่ยนแปลงทางธรณีภาคของโลก ส วนใหญจะเกิดในชั้นธรณีภาค และชั้นฐานธรณีภาค

- ชั้นธรณีภาคแตกออกเป นแผ นใหญ ๆ หลายแผ น เรียกวา แผนธรณีภาค ซึ่งมีการเคลื่อนที่อยูตลอดเวลา ทําให เกิดปรากฏการณ ตางๆทางธรณีวิทยาบนผิวโลกที่สามารถศึกษาไดจากรองรอยหลักฐานที่ปรากฏอยูในปจจุบัน เชน รอยตอ รอยแยกของแผนธรณีภาค เทือกเขา ใตมหาสมุทร และซากดึกดําบรรพ เปนตน

๓. ทดลองเลียนแบบ และอธิบายกระบวนการเกิดภูเขา รอยเลื่อน รอยคดโค ง แผ นดินไหว ภูเขาไฟระเบิด

- จากการศึกษาทฤษฎีการแปรสัณฐานแผนธรณีภาคและปรากฏการณ ทางธรณีวิทยาตั้งแต อดีตจนถึง ปจจุบัน ทําใหพบวาแผนดินไหวและภูเขาไฟส วนใหญจะเกิดอยู ตามแนวรอยตะเข็บของขอบแผ นธรณีภาค ที่ เรียกว า วงแหวนแหงไฟ

- รอยเลื่ อน เป นแนวรอยแตกของหินที่เคลื่อนที่สัมพันธ กันและขนานไปกับรอยแตก ซึ่งอาจสัมพันธ กับการเกิดแผ นดินไหวและภูเขาไฟระเบิด

- รอยคดโคง เปนรอยที่ปรากฏในหิน เกิดจากการแปรสัณฐานแผนธรณีภาค

- กระบวนการเกิดรอยเลื่อน รอยคดโค ง การแปรสัณฐานแผ นธรณีภาค เป นส วนหนึ่งของการเกิดเทือกเขาบนโลก

๔. สืบคนและอธิบายความสําคัญของปรากฏการณทางธรณีวิทยา

- ปรากฏการณ ทางธรณีวิทยาที่สําคัญและมี ผลต อสิ่ งมีชี วิตที่ เห็นได ชัดเจน ได แก

Page 63: กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

๖๑

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลางแผนดินไหว ภูเขาไฟระเบิดที่สงผล ตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม

แผนดินไหว ภูเขาไฟระเบิด- แผ นดินไหวและภูเขาไฟระเบิดเป นปรากฏ

การณทางธรณีวิทยาที่ทําใหเกิดธรณีพิบัติภัย รูปแบบอื่นตามมา ทําให สูญเสียชีวิตและทรัพย สินของมนุษย เกิดการเปลี่ยนแปลงลักษณะธรณีสัณฐาน ชนิดหิน และสภาพแวดล อม

๕. สํารวจ วิเคราะหและอธิบายการลําดับชั้นหิน จากการวางตัวของชั้นหิน ซากดึกดําบรรพ และโครงสร างทางธรณีวิทยา เพื่ออธิบายประวัติความเปนมาของพื้นที่

- สภาพเหตุการณที่เกิดขึ้นในอดีตของโลก สามารถอธิบายไดจากรองรอยตางๆที่ปรากฏเปนหลักฐานอยูบนหิน

- ขอมูลทางธรณีวิทยาที่ ใชอธิบายความเปนมาของโลก ไดแก ซากดึกดําบรรพ ชนิดของหิน โครงสรางทางธรณีวิทยา และการลําดับชั้นหิน

- ประวัติความเป นมาของพื้นที่ ได จากการลําดับชั้นหินตามอายุการเกิดของหินจากอายุมากขึ้นไปสู หินที่มีอายุน อย ตามมาตราธรณีกาล

๖. สืบคน วิเคราะห และอธิบายป ร ะ โ ย ช น ข อ ง ข อ มู ล ท า งธรณีวิทยา

- การเปลี่ยนแปลงตางๆที่ เกิดขึ้นตั้งแตในอดีตจนถึงปจจุบันจะบอกถึงวิวัฒนาการของการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกซึ่งจะใหประโยชน ทั้งทางดานวิวัฒนาการ และการสํารวจคนหาทรัพยากรธรณี

Page 64: กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

๖๒

สาระที่ ๗ ดาราศาสตรและอวกาศ

มาตรฐาน ว ๗. ๑ เขาใจวิวัฒนาการของระบบสุริยะ กาแล็กซีและเอกภพ การปฏิสัมพันธภายในระบบสุริยะและผลตอสิ่งมีชีวิตบนโลก มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรูและจิตวิทยาศาสตร การสื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลางป. ๑ ๑. ระบุวาในทองฟามีดวงอาทิตย

ดวงจันทรและดวงดาว - ในทองฟามีดวงอาทิตย ดวงจันทรและ

ดวงดาว โดยจะมองเห็นทองฟามีลักษณะเปนครึ่งทรงกลมครอบแผนดินไว

ป.๒ ๒. สืบคนและอภิปรายความสําคัญของดวงอาทิตย

- ดวงอาทิตยเปนแหลงพลังงานที่สําคัญของโลกเพราะใหทั้งพลังงานความรอนและพลังงานแสง ซึ่งชวยในการดํารงชีวิตของสิ่งมีชีวิต

ป.๓ ๑. สังเกต และอธิบายการขึ้นตกของดวงอาทิตย ดวงจันทร การเกิดกลางวันกลางคืน และการกําหนดทิศ

โลกหมุนรอบตัวเองทําใหเกิดปรากฏการณตอไปนี้

- ปรากฏการณขึ้นตกของดวงอาทิตยและดวงจันทร

- เกิดกลางวันและกลางคืนโดยดานที่หันรับแสงอาทิตยเปนเวลากลางวันและดานตรงข า ม ที่ ไ ม ไ ด รับ แ ส ง อ า ทิ ตย เ ป น เ ว ล ากลางคืน

- กําหนดทิศโดยสังเกตจากการขึ้นและการตกของดวงอาทิตย ใหดานที่เห็นดวงอาทิตยขึ้นเปนทิศตะวันออก และดานที่เห็นดวงอาทิตยตกเปนทิศตะวันตก เมื่อใชทิศตะวันออกเปนหลัก โดยใหดานขวามืออยูทางทิศตะวันออก ดานซายมืออยูทางทิศตะวันตก ดานหนาจะเปนทิศเหนือและดานหลังจะเปนทิศใต

ป.๔ ๑. สรางแบบจําลองเพื่ออธิบายลักษณะของระบบสุริยะ

- ระบบสุริยะประกอบดวยดวงอาทิตยเปนศูนยกลางและมีบริวารโคจรอยูโดยรอบ คือ ดาวเคราะหแปดดวง ดาวเคราะหแคระ ดาวเคราะหนอย ดาวหาง และวัตถุขนาดเ ล็ ก อื่ น ๆ ส ว น ด า ว ต ก ห รื อ ผี พุ ง ไ ต

Page 65: กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

๖๓

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลางอุกกาบาต อาจเกิดมาจาก ดาวหาง ดาวเคราะหนอย หรือวัตถุขนาดเล็กอื่นๆ

ป.๕ ๑. สังเกตและอธิบายการเกิดทิศ และปรากฏการณการขึ้นตกของดวงดาวโดยใชแผนที่ดาว

- การที่โลกหมุนรอบตัวเองนี้ทําใหเกิดการกําหนดทิศ โดยโลกหมุนรอบตัวเอง ทวนเข็ม นาฬิ กาจากทิ ศตะ วันตกไป ยั งทิ ศตะวันออกเมื่อสัง เกตจากขั้ ว เหนือ จึงปรากฏใหเห็นดวงอาทิตยและดวงดาวตางๆ ขึ้นทางทิศตะวันออก และตกทางทิศตะวันตก

- แผนที่ดาวชวยในการสังเกตตําแหนงดาวบนทองฟา

ป.๖ ๑. สรางแบบจําลองและอธิบายการเกิดฤดู ขางขึ้นขางแรม สุริยุปราคา จันทรุปราคา และนําความรูไปใชประโยชน

- การที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตยในเวลา ๑ ป ใ น ลั ก ษ ณ ะ ที่ แ ก น โ ล ก เ อี ย ง กั บแนวตั้งฉากของระนาบทางโคจร ทําใหบริเวณสวนตางๆ ของโลกรับพลังงานจากดวงอาทิตยแตกตางกัน เปนผลใหเกิดฤดูตาง ๆ

- ดวงจันทรไมมีแสงสวางในตัวเอง แสงสวางที่เห็นเกิดจากแสงอาทิตยตกกระทบ ดวงจันทรแลวสะทอนมายังโลก การที่ดวงจันทรโคจรรอบโลกขณะที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย ดวงจันทรจึงเปลี่ยนตําแหนงไปทําใหมองเห็นแสงสะทอนจากดวงจันทรแตกตางกันในแตละคืนซึ่งเรียกวาขางขึ้น ขางแรม และนํามาใชจัดปฏิทินในระบบจันทรคติ

- การที่โลก ดวงจันทร ดวงอาทิตยอยูในแนวเสนตรงเดียวกันทําใหดวงจันทรบังดวงอาทิตย เรียกวา เกิดสุริยุปราคา และเมื่อดวงจันทรเคลื่อนที่เขาไปอยูในเงาของโลกเรียกวาเกิดจันทรุปราคา

Page 66: กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

๖๔

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลางม. ๑ - -ม.๒ - -

๑. สื บ ค น แ ล ะ อ ธิ บ า ยความสัม พันธ ระหว างดวงอาทิตย โลก ดวงจันทรและดาวเคราะหอื่น ๆ และผลที่เกิดขึ้นตอสิ่ งแวดลอมและสิ่งมีชีวิตบนโลก

- ดวงอาทิตย โลก และดวงจันทรอยู เปนระบบไดภายใตแรงโนมถวง

- แรงโนมถวงระหวางโลกกับดวงจันทร ทําใหดวงจันทรโคจรรอบโลก แรงโนมถวงระหวางดวงอาทิตยกับบริวาร ทําใหบริวารเคลื่อนรอบดวงอาทิตยกลายเปนระบบสุริยะ

- แรงโนมถวงที่ดวงจันทร ดวงอาทิตยกระทําตอโลกทําใหเกิดปรากฏการณน้ําขึ้น น้ํ า ล ง ซึ่ ง ส ง ผ ล ต อ สิ่ ง แ ว ด ล อ ม แ ล ะสิ่งมีชีวิตบนโลก

๒. สืบคนและอธิบายองคประกอบของเอกภพ กาแล็กซี และระบบสุริยะ

- เอกภพประกอบดวยกาแล็กซีมากมายนับแสนลานแหง แตละกาแล็กซีประกอบดวยดาวฤกษจํานวนมาก ที่อยูเปนระบบดวยแรงโนมถวง กาแล็กซีทางชางเผือกมีระบบสุริยะอยูที่แขนของกาแล็กซี่ดานกลุมดาวนายพราน

ม.๓

๓. ระบุตําแหนงของกลุมดาว และนําความรูไปใชประโยชน

- กลุมดาวฤกษประกอบดวยดาวฤกษหลายดวงที่ปรากฏอยูในขอบเขตแคบๆ และเรียงเปนรูปตางๆกันบนทรงกลมฟา โดยดาวฤกษที่อยูในกลุมเดียวกัน ไมจําเปนตองอยูใกลกันอย างที่ ตา เห็น แตมีตํ าแหนงที่แนนอนบนทรงกลมฟา จึงใชบอกทิศและเวลาได

ม.๔-ม.๖ ๑. สืบคนและอธิบายการเกิดและวิวัฒนาการของระบบสุริยะกาแล็กซี และเอกภพ

- เอกภพกําเนิด ณ จุดที่เรียกวาบิกแบง เปน จุดที่พลังงานเริ่มเปลี่ยนเป นสสาร เกิดเปนอนุภาค ควารก อิ เล็กตรอน นิวทริโน พรอมปฏิอนุภาค เมื่ออุณหภูมิของเอกภพ ลดต่ําลง ควารกจะรวมตัวกันเปนอนุภาค

Page 67: กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

๖๕

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง พื้นฐาน คือโปรตรอนและนิวตรอน ตอมา

โปรตรอนและนิวตรอนรวมตัวกันเปนนิวเคลียสของฮีเลียม และเกิดเปนอะตอมของไฮโดรเจนและฮีเลียม อะตอมของไฮโดรเจนและฮีเลียม ซึ่งเปนองคประกอบสวนใหญของเนบิวลาดั้งเดิม เนบิวลาดั้งเดิมกระจายอยูเปนหยอมๆกลายเปนกาแล็กซี่ ภายในกาแล็กซี่ เกิดเปนดาวฤกษ ระบบดาวฤกษ

๒. สืบคนและอธิบายธรรมชาติและวัฒนาการของดาวฤกษ

- ดาวฤกษ เป นก อนแก สร อนขนาดใหญ กําเนิดมาจากเนบิวลา ที่มีองค ประกอบส วนใหญเป นธาตุไฮโดรเจน ที่แก นกลางของ ดาวฤกษ จะเกิดปฏิกิริยาเทอร โมนิวเคลียร ห ล อ ม นิ ว เ ค ลี ย ส ข อ ง ไ ฮ โ ด ร เ จ น เ ป น นิวเคลียสของฮีเลียม ได พลังงานออกมา

- อันดับความสว างของดาวฤกษ ที่สังเกตเห็นไดมาจาก ความสว างปรากฏที่ขึ้นอยู กับความสว างจริงและระยะห างจากโลก

- สีของดาวฤกษ มีความสัมพันธ กับอุณหภูมิผิวของดาวฤกษ และอายุของดาวฤกษ

- ดาวฤกษ มีอายุยาวหรือสั้น มีจุดจบเป นหลุมดํา หรือดาวนิวตรอน หรือดาวแคระขาวขึ้นอยูกับมวลของดาว ฤกษ

Page 68: กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

๖๖

สาระที่ ๗ ดาราศาสตรและอวกาศ

มาตรฐาน ว ๗.๒ เขาใจความสําคัญของเทคโนโลยีอวกาศที่นํามาใชในการสํารวจอวกาศและ ทรัพยากรธรรมชาติ ดานการเกษตรและการสื่อสาร มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชนอยางมีคุณธรรมตอชีวิตและสิ่งแวดลอม

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลางป. ๑ - -

ป.๒ - -

ป.๓ - -ป.๔ - -ป.๕ - -ป.๖ ๑. สืบคนอภิปรายความกาวหนา

และประโยชนของเทคโนโลยีอวกาศ

- ความกาวหนาของ จรวด ดาวเทียม และยานอวกาศ

- ความกาวหนาของเทคโนโลยีอวกาศ ไดนํ ามาใ ช ในกา รสํ ารวจขอมูล ของวัตถุทองฟา ทําใหได เรียนรู เกี่ยวกับระบบสุริยะทั้งในและนอกระบบสุริยะเพิ่มขึ้นอีกมากมายและยังมีประโยชนในการพัฒนาเ ท ค โ น โ ล ยี ใ น ด า น ก า ร สํ า ร ว จทรัพยากรธรรมชาติ การสื่อสาร การสํารวจสภาพอากาศ ดานการแพทย และดานอื่น ๆ อีกมากมาย

ม. ๑ - -ม.๒ - -ม.๓ ๑. สื บ ค น แ ล ะ อ ภิ ป ร า ย

ความกาวหนาของเทคโนโลยีอวกาศที่ใชสํารวจอวกาศ วัตถุท อ ง ฟ า ส ภ า ว ะ อ า ก า ศ ทรัพยากรธรรมชาติ การเกษตร และการสื่อสาร

- ม นุ ษ ย ใ ช ก ล อ ง โ ท ร ท ร ร ศ น จ ร ว ด ดาวเทียม ยานอวกาศ สํารวจอวกาศ วั ต ถุ ท อ ง ฟ า ส ภ า ว ะ อ า ก า ศ ทรัพยากรธรรมชาติ การเกษตรและใชในการสื่อสาร

ม.๔-ม.๖ ๑ . สืบคนและอธิบายการส งและ - การสงดาวเทียมไปโคจรรอบโลก ณ ระดับ

Page 69: กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

๖๗

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลางคํานวณความเร็วในการโคจรของดาวเทียมรอบโลก

ความสูงจากผิวโลกต างๆกัน จรวดต องมีความเร็วที่แตกตางกัน

๒. สืบคนและอธิบายประโยชน ของดาวเทียมในดานตาง ๆ

- ดาวเทียมถูกนํามาใช ประโยชนในดาน อุตุนิยมวิทยา สํารวจทรัพยากรโลก การสื่อสารและบอกตําแหนงของวัตถุบนโลก

๓. สืบคนและอธิบายการสงและสํ า ร ว จ อ ว ก า ศ โ ด ย ใ ช ย า นอวกาศและสถานีอวกาศ

- ระบบยานขนส งอวกาศถูกพัฒนาขึ้นมาใช ส ง ดาวเทียมและยานอวกาศ แทนการใช จรวด อย างเดียวเนื่องจากสามารถนํากลับมาใช ใหม ได

- ในการส งยานอวกาศไปสํารวจอวกาศ จรวดที่พายานอวกาศ ต องมีความเร็วมากกว าความเร็วหลุดพ น จึงจะสามารถออกจากวงโคจรของโลกได

- ยานอวกาศและสถานีอวกาศมีภารกิจในการสํารวจโลกและวัตถุทองฟาอื่นๆ

Page 70: กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

๖๘

สาระที่ ๘ ธรรมชาติของวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

มาตรฐาน ว ๘. ๑ ใชกระบวนการทางวิทยาศาสตรและจิตวิทยาศาสตรในการสืบเสาะหาความรู การแกปญหา รูวาปรากฏการณทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นสวนใหญมีรูปแบบที่แนนอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได ภายใตขอมูลและเครื่องมือที่มีอยูในชวงเวลานั้นๆ เขาใจวา วิทยาศาสตร เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดลอมมีความเกี่ยวของสัมพันธกัน

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ๑. ตั้งคําถามเกี่ยวกับเรื่องที่จะ

ศึกษาตามที่กําหนดใหหรือตาม ความสนใจ

-

๒. วางแผนการสังเกต สํารวจตรวจสอบ ศึกษาคนควา โดยใชความคิดของตนเองและของครู

-

๓. ใชวัสดุอุปกรณในการสํารวจตรวจสอบ และบันทึกผลดวยวิธีงายๆ

-

๔. จัดกลุมขอมูลที่ไดจากการสํารวจตรวจสอบและนําเสนอผล

-

๕. แสดงความคิดเห็นในการสํารวจ ตรวจสอบ

-

๖. บันทึกและอธิบายผลการสังเกต สํารวจตรวจสอบ โดยเขียนภาพหรือขอความสั้นๆ

-

ป. ๑

๗. นําเสนอผลงานดวยวาจาใหผูอื่นเขาใจ

-

๑. ตั้งคําถามเกี่ยวกับเรื่องที่จะศึกษา ตามที่กําหนดใหและตามความสนใจ

-ป.๒

๒. วางแผนการสังเกต สํารวจตรวจสอบ ศึกษาคนควา โดยใชความคิดของตนเองของกลุมและของครู

-

Page 71: กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

๖๙

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง๓. ใชวัสดุอุปกรณ เครื่องมือที่

เหมาะสมในการสํารวจตรวจสอบ และบันทึกขอมูล

-

๔. จัดกลุมขอมูล เปรียบเทียบและนําเสนอผล

-

๕. ตั้งคําถามใหมจากผลการสํารวจตรวจสอบ

-

๖. แสดงความคิดเห็นเปนกลุมและรวบรวมเปนความรู

-

๗. บันทึกและอธิบายผลการสังเกต สํารวจ ตรวจสอบ อยางตรงไปตรงมา โดยเขียนภาพ แผนภาพหรือคําอธิบาย

-

๘. นําเสนอผลงานดวยวาจาใหผูอื่น เขาใจกระบวนการและผลของงาน

-

๑. ตั้งคําถามเกี่ยวกับเรื่องที่จะศึกษา ตามที่กําหนดใหและตามความสนใจ

-

๒. วางแผนการสังเกต เสนอวิธีสํารวจตรวจสอบ ศึกษาคนควา โดยใชความคิดของตนเอง ของกลุมและคาดการณสิ่งที่จะพบจากการสํารวจ ตรวจสอบ

-

๓. เลือกใชวัสดุอุปกรณ เครื่องมือที่เหมาะสมในการสํารวจตรวจสอบ และบันทึกขอมูล

-

ป.๓

๔. จัดกลุมขอมูล เปรียบเทียบกับสิ่งที่คาดการณไวและ

-

Page 72: กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

๗๐

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลางนําเสนอผล

๕. ตั้งคําถามใหมจากผลการสํารวจตรวจสอบ

-

๖. แสดงความคิดเห็นและรวบรวมขอมูลจากกลุมนําไปสูการสรางความรู

-

๗. บันทึกและ อธิบายผลการสังเกต สํารวจตรวจสอบตามความเปนจริง มีแผนภาพประกอบคําอธิบาย

-

๘. นําเสนอ จัดแสดงผลงาน โดยอธิบายดวยวาจา และเขียนแสดงกระบวนการและผลของงานให ผูอื่นเขาใจ

-

๑. ตั้งคําถามเกี่ยวกับประเด็น หรือเรื่อง หรือสถานการณ ที่จะศึกษา ตามที่กําหนดใหและตามความสนใจ

-

๒. วางแผนการสังเกต เสนอวิธีสํารวจตรวจสอบ หรือศึกษาคนควา และคาดการณสิ่งที่จะพบจากการสํารวจตรวจสอบ

-

๓ . เลือกอุปกรณ ที่ถูกตองเ ห ม า ะ ส ม ใ น ก า ร สํ า ร ว จตรวจสอบ

-

๔. บันทึกขอมูลในเชิงปริมาณ นําเสนอ ผลสรุปผล

-

๕. ส ร า ง คํ า ถ า ม ใ ห ม เพื่ อก า รสํารวจตรวจสอบ ตอไป

-

ป.๔

๖. แสดงความคิดเห็นและสรุปสิ่งที่ได เรียนรู

-

Page 73: กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

๗๑

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง๗. บั นทึ ก แล ะ อธิ บ า ย ผล ก า ร

สํ า ร ว จ ต ร ว จ ส อ บ อ ย า ง ตรงไปตรงมา

-

๘. นําเสนอ จัดแสดงผลงาน โดยอธิบายดวยวาจา หรือเขียนอธิบายกระบวนการและผลของงานใหผูอื่นเขาใจ

-

๑. ตั้งคําถาม เกี่ยวกับประเด็น หรือเรื่อง หรือสถานการณ ที่จะศึกษา ตามที่กําหนดใหและตามความสนใจ

-

๒. วางแผนการสังเกต เสนอการสํารวจตรวจสอบ หรือศึกษาคนควา และคาดการณสิ่งที่จะพบจากการสํารวจตรวจสอบ

-

๓. เลือกอุปกรณที่ถูกตองเหมาะสมในการสํารวจ ตรวจสอบใหไดขอมูลที่เชื่อถือได

-

๔. บันทึกขอมูลในเชิงปริมาณและคุณภาพ และตรวจสอบผลกับสิ่งที่คาดการณไว นําเสนอผลและขอสรุป

-

๕. ส ร า ง คํ า ถ า ม ใ ห ม เพื่ อก า รสํารวจตรวจสอบตอไป

-

๖. แสดงความคิดเห็นอยางอิสระ อ ธิ บ า ย แ ล ะ ส รุ ป สิ่ ง ที่ ไ ด เรียนรู

-

ป.๕

๗. บันทึกและอธิบายผลการสํารวจ ตรวจสอบตามความเปนจริง มีการอางอิง

-

Page 74: กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

๗๒

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง๘. นําเสนอ จัดแสดง ผลงาน

โดยอธิบายดวยวาจา หรือเขียนอธิบายแสดงระบวนการและผลของงานใหผูอื่นเขาใจ

-

๑. ตั้งคําถามเกี่ยวกับประเด็น หรือเรื่อง หรือสถานการณ ที่จะศึกษา ตามที่กําหนดใหและตามความสนใจ

-

๒. วางแผนการสังเกต เสนอการสํารวจตรวจสอบ หรือศึกษาคนควา คาดการณ สิ่งที่จะพบจากการสํารวจตรวจสอบ

-

๓. เลือกอุปกรณ และวิธีการสํารวจตรวจสอบที่ถูกตองเ ห ม า ะ ส ม ใ ห ไ ด ผ ล ที่ครอบคลุมและเชื่อถือได

-

๔. บันทึกขอมูลในเชิงปริมาณและคุณภาพ วิเคราะห และต ร ว จ ส อ บ ผ ล กั บ สิ่ ง ที่คาดการณไว นําเสนอผลและขอสรุป

-

๕. ส ร า ง คํ า ถ า ม ใ ห ม เพื่ อก า รสํารวจ ตรวจสอบตอไป

-

๖. แสดงความคิดเห็นอยางอิสระ อธิบาย ลงความเห็นและสรุปสิ่งที่ไดเรียนรู

-

ป.๖

๘. บันทึกและอธิบายผลการสํารวจ ตรวจสอบตามความเปนจริง มีเหตุผล และมีประจักษพยานอางอิง

-

Page 75: กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

๗๓

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง๘. นําเสนอ จัดแสดงผลงาน โดย

อธิบายดวยวาจา และเขียนรายงานแสดงกระบวนการและผลของงานใหผูอื่นเขาใจ

-

๑. ตั้งคําถามที่กําหนดประเด็นหรือตัวแปรที่สําคัญในการสํารวจตรวจสอบ หรือศึกษาคนควาเรื่องที่สนใจไดอยางครอบคลุมและเชื่อถือได

-

๒. สรางสมมติฐานที่สามารถตรวจสอบไดและวางแผนการสํารวจตรวจสอบหลาย ๆ วิธี

-

๓. เลือกเทคนิควิธีการสํารวจตรวจสอบทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพที่ไดผลเที่ยงตรงและปลอดภัย โดยใชวัสดุและเครื่องมือที่เหมาะสม

-

๔. รวบรวมขอมูล จัดกระทําขอมูลเชิงปริมาณและคุณภาพ

-

๕. วิเคราะหและประเมินความสอดคลองของประจักษพยานกับขอสรุป ทั้ งที่สนับสนุนหรือขัดแย งกับสมมติฐา น และความผิดปกติของขอมูลจากการสํารวจตรวจสอบ

-

๖. สรางแบบจําลอง หรือรูปแบบ ที่อธิบายผลหรือแสดงผลของการสํารวจตรวจสอบ

-

ม. ๑-ม.๓

๗. สรางคํ าถามที่นํ าไปสู การสํารวจตรวจสอบ ในเรื่องที่เกี่ยวของ และนําความรูที่ได

-

Page 76: กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

๗๔

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลางไปใชในสถานการณใหมหรืออ ธิ บ า ย เ กี่ ย ว กั บ แ น ว คิ ด กระบวนการ และผลของโครงงานหรือชิ้นงานใหผูอื่นเขาใจ

๘. บั นทึ ก แล ะ อธิ บ า ย ผล ก า รสังเกต การสํารวจ ตรวจสอบ คนค ว า เพิ่ ม เติมจา กแหล งความรูตาง ๆ ใหไดขอมูลที่เชื่อถือได และยอมรับการ เปลี่ยนแปลงความรูที่คนพบเมื่ อ มี ข อ มู ล แ ล ะ ป ระ จั ก ษพยานใหมเพิ่มขึ้นหรือโตแยงจากเดิม

-

๙. จัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน แล ะ /ห รือ อ ธิ บ า ย เ กี่ ย ว กั บแนวคิด กระบวนการ และผลของโครงงานหรือชิ้นงานใหผูอื่นเขาใจ

-

๑. ตั้งคําถามที่อยูบนพื้นฐานของความรูและความเขาใจทางวิทยาศาสตร หรือความสนใจ หรือจากประเด็นที่เกิดขึ้นในขณะนั้น ที่สามารถทําการสํารวจตรวจสอบหรือศึกษาคนควาไดอยางครอบคลุมและเชื่อถือได

-ม.๔-ม.๖

๒. สรางสมมติฐานที่มีทฤษฎีรองรับ หรือคาดการณสิ่งที่จะพบ หรือสรางแบบจําลอง หรือสรางรูปแบบ เพื่อนําไปสูการสํารวจตรวจสอบ

-

Page 77: กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

๗๕

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง๓. คนควารวบรวมขอมูลที่ตอง

พิจารณาปจจัยหรือ ตัวแปรสําคัญ ปจจัยที่มีผลตอปจจัยอื่น ปจจัยที่ควบคุมไมได และจํานวนครั้งของการสํารวจ ตรวจสอบ เพื่อใหไดผลที่มีความเชื่อมั่นอยางเพียงพอ

-

๔. เลือกวัสดุ เทคนิควิธี อุปกรณที่ใชในการสังเกต การวัด การสํารวจตรวจสอบอยางถูกตองทั้งทางกวางและลึกในเชิงปริมาณและคุณภาพ

-

๕. รวบรวมขอมูลและบันทึกผลการสํารวจตรวจสอบอยางเปนระบบถูกตอง ครอบคลุมทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ โดยตรวจสอบความเปนไปได ความเหมาะสมหรือความผิดพลาดของขอมูล

-

๖. จัดกระทําขอมูล โดยคํานึงถึงการรายงานผลเชิงตัวเลขที่มีร ะ ดั บ ค ว า ม ถู ก ต อ ง แ ล ะนําเสนอขอมูลดวยเทคนิควิธีที่เหมาะสม

-

๗. วิ เ ค ร า ะ ห ข อ มู ล แ ป ลค ว า ม ห ม า ย ข อ มู ล แ ล ะประเมินความสอดคลองของขอสรุป หรือสาระสําคัญ เพื่อตรวจสอบกับสมมติฐานที่ตั้งไว

-

๘. พิจารณาความนาเชื่อถือของวิธี ก า รแล ะ ผล ก า รสํ า รว จ

-

Page 78: กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

๗๖

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลางตรวจสอบ โดยใชหลักความคลาดเคลื่อนของการวัดและการสัง เกต เสนอแนะการป รั บ ป รุ ง วิ ธี ก า ร สํ า ร ว จตรวจสอบ

๙. นํ า ผ ล ข อ ง ก า ร สํ า ร ว จตรวจสอบที่ได ทั้งวิธีการและอ ง ค ค ว า ม รู ที่ ไ ด ไ ป ส ร า งคํ า ถ า ม ใ ห ม นํ า ไ ป ใ ชแกปญหาในสถานการณใหมและในชีวิตจริง

-

๑๐. ตระหนักถึงความสําคัญในก า ร ที่ จ ะ ต อ ง มี ส ว น ร ว มรับผิดชอบการอธิบาย การลงความเห็น และการสรุปผลการเรียนรูวิทยาศาสตร ที่นําเสนอตอสาธารณชนดวยความถูกตอง

-

๑๑. บันทึกและอธิบายผลการสํ า ร ว จ ต ร ว จ ส อ บ อ ย า ง มีเหตุผล ใชพยานหลักฐานอางอิงหรือคนควา เพื่อเติม เ พื่ อ ห า ห ลั ก ฐ า น อ า ง อิ ง ที่เ ชื่ อ ถื อ ไ ด แ ล ะ ย อ ม รั บ ว าค ว า ม รู เ ดิ ม อ า จ มี ก า รเปลี่ยนแปลงได เมื่อมีขอมูลแ ล ะ ป ร ะ จั ก ษ พ ย า น ใ ห มเพิ่มเติมหรือโตแยงจากเดิม ซึ่งทาทายใหมีการตรวจสอบ อยางระมัดระวัง อันจะนํามาสู การยอมรับเปนความรูใหม

-

Page 79: กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

๗๗

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง๑๒. จัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน

แล ะ /ห รือ อ ธิ บ า ย เ กี่ ย ว กั บแนวคิด กระบวนการ และผลของโครงงานหรือชิ้นงานใหผูอื่นเขาใจ

-

Page 80: กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

๗๘

อภิธานศัพท

กระบวนการทางวิทยาศาสตร (Scientific Process)

เปนกระบวนการในการศึกษาหาความรูทางวิทยาศาสตร ซึ่งประกอบดวยขั้นตอนหลัก คือ การตั้งคําถามหรือกําหนดปญหา การสรางสมมติฐานหรือการคาดการณคําตอบ การออกแบบวิธีการเก็บรวบรวมขอมูล การวิเคราะหและแปลความหมายขอมูล การลงขอสรุป และการสื่อสาร

การแกปญหา (Problem Solving)

เปนการหาคําตอบของปญหาที่ยังไมรูวิธีการมากอน ทั้งปญหาที่เกี่ยวของกับเนื้อหาในวิทยาศาสตรโดยตรง และปญหาในชีวิตประจําวัน โดยใชเทคนิค วิธีการหรือกลยุทธตางๆ

การวิเคราะห (Analyzing)

เปนระดับของผลการเรียนรูที่ผูเรียนสามารถแยกแยะขอมูลหรือขอสนเทศ เพื่อเชื่อมโยงความสัมพันธ

การสังเกต (Observation)

เปนวิธีการหาขอมูลโดยตรงโดยใชประสาทสัมผัสทั้งหา ไดแก การดู การดม การฟง การชิม และการสัมผัส

การสืบคนขอมูล (Search)

เปนการหาขอมูลหรือขอสนเทศที่มีผูรวบรวมไวแลวจากแหลงตาง ๆ เชน หองสมุด เครือขาย อินเทอรเน็ต ภูมิปญญาทองถิ่น เปนตน

การสืบเสาะหาความรูทางวิทยาศาสตร (Scientific Inquiry)

เปนการหาความรูทางวิทยาศาสตร โดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตรหรือวิธีการอื่น ๆ เชน การสํารวจ การสังเกต การวัด การจําแนกประเภท การทดลอง การสรางแบบจําลอง การสืบคนขอมูล เปนตน

การสํารวจ (Exploration)

เปนการหาขอมูลเกี่ยวกับสิ่งตางๆ โดยใชวิธีการและเทคนิคตาง ๆ เชน การสังเกต การสัมภาษณ การเก็บตัวอยาง เพื่อนํามาวิเคราะห จําแนก หรือหาความสัมพันธ

Page 81: กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

๗๙

การสํารวจตรวจสอบ (Scientific Investigation)

เปนวิธีการหาความรูทางวิทยาศาสตร โดยผานการรวบรวมขอมูล ใชความคิดที่มีเหตุผลในการตั้งสมมติฐาน อธิบายและแปลความหมายขอมูล การสํารวจตรวจสอบทําไดหลายวิธี เชน การสังเกต การสํารวจ การทดลอง เปนตน

ความเขาใจ (Understanding)

เปนระดับของผลการเรียนรูที่ผูเรียนสามารถอธิบาย เปรียบเทียบ แยกประเภท ยกตัวอยาง เขียนแผนภาพ เลือก ระบุ เลือกใชเกี่ยวกับเรื่องตาง ๆ

จิตวิทยาศาสตร (Scientific mind / Scientific attitudes)

เปนคุณลักษณะหรือลักษณะนิสัยของบุคคลที่ เกิดขึ้นจากการศึกษาหาความรูโดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตร

จิตวิทยาศาสตร ประกอบดวยคุณลักษณะตาง ๆ ไดแก ความสนใจใฝรู ความมุงมั่น อดทน รอบคอบ ความรับผิดชอบ ความซื่อสัตย ประหยัด การรวมแสดงความคิดเห็นและยอมรับฟงความคิดเห็นของผูอื่น ความมีเหตุผล การทํางานรวมกับผูอื่นไดอยางสรางสรรค

เจตคติตอวิทยาศาสตร (Attitudes Toward Sciences)

เปนความรูสึกของบุคคลตอวิทยาศาสตร ซึ่งเปนผลจากการเรียนรูวิทยาศาสตรโดยผานกิจกรรมที่หลากหลาย ความรูสึกดังกลาว เชน ความสนใจ ความชอบ การเห็นความสําคัญและคุณคา

Page 82: กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

๘๐

คณะผูจัดทํา

คณะที่ปรึกษา

๑. คุณหญิงกษมา วรวรรณ ณ อยุธยา เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน๒. นายวินัย รอดจาย รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน๓. นายสุชาติ วงศสุวรรณ ที่ปรึกษาดานพัฒนากระบวนการเรียนรู๔. นางเบญจลักษณ น้ําฟา ผูอํานวยการสํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา๕. นางภาวนี ธํารงเลิศฤทธิ์ รองผูอํานวยการสํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา

คณะทํางานยกราง

๑. นายชูศิลป อัตชู สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

ประธาน

๒. นายประมวล ศิริผันแกว ขาราชการบํานาญ คณะทํางาน๓. นายณรงคศิลป ธูปพนม สถาบันสงเสริมการสอน

วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีคณะทํางาน

๔. นายไชยยันต ศิริโชติ สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

คณะทํางาน

๕. นางผกายดาว สวัสดิ์สวาง สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

คณะทํางาน

๖. นางดวงสมร คลองสารา สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

คณะทํางาน

๗. นางสาวจิตรา พิณโอภาส สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๒

คณะทํางาน

๘. นางฉวีวรรณ สุนัย สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต ๒

คณะทํางาน

๙. นายสุนทร จอนสมจิต โรงเรียนวัดหงสรัตนาราม คณะทํางาน๑๐. นางวิลาวัลย ภูริวัฒนพงษ โรงเรียนแจงรอนวิทยา คณะทํางาน๑๑. นางสาวชาลินี บัวบังศร โรงเรียนสุลักขณะ คณะทํางาน๑๒. นางกนิษฐา อุนอนันต โรงเรียนบดินทรเดชา ๒ คณะทํางาน๑๓. นางสาวอัญชลี ยุวจิต โรงเรียนหอวัง คณะทํางาน๑๔. นายอุดม ถุงทรัพย โรงเรียนบดินทรเดชา คณะทํางาน

Page 83: กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

๘๑

(สิงห สิงหเสนีย)๑๕. นางชอทิพย ตระกูลสวางภพ โรงเรียน ภปร. ราชวิทยาลัย คณะทํางาน๑๖. นางนิรมล ตูจินดา สํานักวิชาการและมาตรฐาน

การศึกษาคณะทํางาน

๑๗. นายธัญญา เรืองแกว สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา

คณะทํางาน

๑๘. วาที่ ร.ต.อุดมศักดิ์ ธนะกิจรุงเรือง สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา

คณะทํางานและเลขานุการ

๑๙. นางสาวกอบกุล สุกขะ สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา

คณะทํางานและผูชวยเลขานุการ

คณะบรรณาธิการ

๑. ดร. พรพรรณ ไวทยางกูร สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี๒. ดร. จารุวรรณ แสงทอง สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี๓. นายชูศิลป อัตชู สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี๔. นายณรงคศิลป ธูปพนม สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี๕. นางนันทวรรณ หรรษาเวก สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี๖. นางสาวสุพรรณี ชาญประเสริฐ สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี๗. นางสุทธาทิพย หวังอํานวยพร สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี๘. นางสาวกมลวรรณ แสนบุญรัตน สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี๙. ดร.วนิดา ธนประโยชนศักดิ์ สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี๑๐. นางสาวอรสา ชูสกุล สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี๑๑. นายธีรพัฒน เวชชประสิทธิ์ สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี๑๒. นายไชยยันต ศิริโชติ สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี๑๓. นางรังสรรค ศรีสาคร สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี๑๔. นายราม ติวารี สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี๑๕. นายสุพจน วุฒิโสภณ สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี๑๖. นางเบ็ญจวรรณ ศรีเจริญ สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี๑๗. นางสาวกมลนารี ลายคราม สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี๑๘. นางกุญณัฏฐ สวัสดิ์สวาง สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี๑๙. นางสุจิตรา ศิริสวัสดิ์พัฒน สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี๒๐. นายกนกศักดิ์ ทองตั้ง สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

Page 84: กลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรrpg29.ssk.in.th/science.pdf · ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร

๘๒

๒๑. นางสาวสุนิสา แสงมงคลพิพัฒน สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี๒๒. นายวัฒน วัฒนากูล สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี๒๓. นางสาวโอริสา สังขกลมเกลี้ยง สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี๒๔. นางสาวชุติมา เตมียสถิต สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี๒๕. นางสาวทิพยวรรณ สุดปฐม สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี๒๖. นางณัฐสรวง ทิพานุกะ สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี๒๗. นางสาวไทนี อนรรฆสันต สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี๒๘. นายไพรัตน วรภักดี สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี๒๙. นางมาลินี นิ่มเสมอ สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี๓๐. นางพรรณทิพา ธนากรโยธิน สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี๓๑. นางสาวชุณหกานต กัลลประวิทย สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี๓๒. นางจันทรเพ็ญ พรมจันทร สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชียงราย เขต ๑๓๓. วาที่ ร.ต.อุดมศักดิ์ ธนะกิจรุงเรือง สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา๓๔. นายพิเชฎษ จับจิตต สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา

ฝายเลขานุการโครงการ

๑. นางสาวรุงนภา นุตราวงศ สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา หัวหนาโครงการ๒. นางสาวจันทรา ตันติพงศานุรักษ สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา คณะทํางาน๓. นางดรุณี จําปาทอง สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา คณะทํางาน๔. นางสาวพรนิภา ศิลปประคอง สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา คณะทํางาน๕. นางเสาวภา ศักดา สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา คณะทํางาน๖. นางสาวกอบกุล สุกขะ สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา คณะทํางาน๗. นางสุขเกษม เทพสิทธิ์ สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา คณะทํางาน๘. นายวีระเดช เชื้อนาม สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา คณะทํางาน๙. วาที่ ร.ต. สุราษฏร ทองเจริญ สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา คณะทํางาน๑๐. นางสาวประภาพรรณ แมนสมุทร สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา คณะทํางาน๑๑. นายอนุจินต ลาภธนาภรณ สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา คณะทํางาน

คณะผูรับผิดชอบกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร

๑. วาที่ ร.ต.อุดมศักดิ์ ธนะกิจรุงเรือง สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา ๒. นางนิรมล ตูจินดา สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา๓. นายพิเชฎษ จับจิตต สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา