111
1 วารสารสวนปรุง Bulletin of Suan prung คณะกรรมการที่ปรึกษา ..สุวัฒน มหัตนิรันดรกุล ธัญธร พัวพันธ เขมา ตั้งใจมั่น บรรณาธิการ ..จักริน ปงคลาศัย ผูชวยบรรณาธิการ จารุณี รัศมีสุวิวัฒน กองบรรณาธิการ ราณี พรมานะจิรังกุล มธุริน คําวงศปน นภาพร โนรี ภมริน เชาวนจินดา ธิดารัตน ศรีสุโข กาญจนา หัตถสิน นฤมล พิณเมืองทอง กองบรรณาธิการเกียรติคุณ รศ. นพ. ไพรัตน พฤกษชาติคุณากร รศ. ดร. ภัทราภรณ ทุงปนคํา ฝายสมาชิก นางทัศนีย ศรีบุญเรือง นางณิศา ศรียานันทกูล

ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

  • Upload
    others

  • View
    4

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

1

วารสารสวนปรุง

Bulletin of Suan prung คณะกรรมการที่ปรึกษา น.พ.สุวัฒน มหัตนิรันดรกุล ธัญธร พัวพันธ เขมา ตั้งใจม่ัน บรรณาธิการ น.พ.จักริน ปงคลาศัย ผูชวยบรรณาธิการ จารุณี รัศมีสุววิัฒน กองบรรณาธิการ ราณี พรมานะจิรังกุล มธุริน คําวงศปน นภาพร โนรี

ภมริน เชาวนจนิดา ธิดารัตน ศรีสุโข กาญจนา หัตถสิน นฤมล พิณเมืองทอง กองบรรณาธิการเกียรตคุิณ รศ. นพ. ไพรัตน พฤกษชาติคณุากร รศ. ดร. ภัทราภรณ ทุงปนคํา ฝายสมาชิก นางทัศนีย ศรีบุญเรือง นางณิศา ศรียานันทกูล

Page 2: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

2

เจาของ : โรงพยาบาลสวนปรุง กําหนดออกรายสี่เดือน (ปละ 3 ฉบับ) โทร. (053) 280228-46 ตอ 524 โทรสาร. (053) 271084 วัตถุประสงค

1. เผยแพรความรูทางดานสุขภาพจิตและจิตเวชใหแกบุคลากรสาธารณสุข และผูที่มีความสนใจ 2. เปนสื่อกลางแลกเปลี่ยนความรู ความคิดเห็น ขอมูลขาวสาร รวมทั้งเผยแพรผลงานวิจัย และ

รายงานการศึกษาทางวิชาการดานสุขภาพจิตและจิตเวช 3. พัฒนาบุคลากรของโรงพยาบาลสวนปรุง ใหมีสมรรถนะในการเขียนบทความทางวิชาการ

และรายงานการวิจัย การติดตอ ผูที่ประสงคจะติดตอสอบถามใหขอเสนอแนะหรือตองการสงบทความ เพ่ือลงพิมพในวารสารสวนปรุง โปรดสงไปยัง นายแพทยจักริน ปงคลาศยั โรงพยาบาลสวนปรุง

131 ถ.ชางหลอ ต.หายยา อ. เมือง จ.เชียงใหม 50100 โทร. (053) 280228-46 ตอ 524 [email protected]

Page 3: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

3

วารสารสวนปรุง

BULLETIN OF SUANPRUNG ปที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน) No. 1 January-April 2009

บรรณาธิการแถลง การประเมินผลโครงการทดลองกลุมใหการปรึกษาครอบครัวผูปวยจิตเวช ภมริน เชาวนจินดา การปรับลดพฤติกรรมการดื่มสุราที่เปนปญหาตอสุขภาพของวัยรุนโดยการสรางเสริมภูมิคุมกันในวัยรุนอยางมีสวนรวมของชุมชน

ไพรัตน อนอินทร, ดร.ธวัช บุณยมณี, ดร.ณรงคศักด์ิ หนูสอน, ดร.อัมพวรรณ ศรีวิไล การประยุกตใชกลยุทธทางการตลาดของหัวหนาหอผูปวยและความพงึพอใจในงาน ตามการรับรูของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลจติเวช

สลักจิต สุมันตกุล, อุดมรัตน สงวนศริิธรรม, ดร. ฐิติณัฏฐ อัคคะเดชอนันต การดูแลสรางจิตสํานึกพลเมืองในการมีสวนรวม กรณีศึกษาการดูแลผูปวยจิตเวช และครอบครัวในชุมชน เมธิศา พงษศักด์ิศรี, ขวัญฤทัย รัตนพรหม, อังคณา สารคํา, อรอุมา ภูโสภา, นฤมล พิณทองเมือง การพัฒนาแนวปฏิบัตทิางคลินิกสําหรับการสงเสริมความรวมมือในการรักษา ดวยยาของผูปวยจิตเภท สุดรัก พิละกันทา, ดร. ภัทราภรณ ทุงปนคํา, ฉวีวรรณ ธงชัย Thai psychiatric inpatient care cost บุปผวรรณ พัวพันประเสริฐ, ศุภสิทธิ์ พรรณนารุโณทัย การทําจิตบําบัดแนวซาเทียร: กรณีศึกษาในผูปวยโรคซึมเศราและมีภาวะวิตกกังวล ประสงคศักด์ิ เจนกิจจาไพบูลย

Page 4: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

4

สารบัญ

หนา บรรณาธิการแถลง การประเมินผลโครงการทดลองกลุมใหการปรึกษาครอบครัวผูปวยจิตเวช ภมริน เชาวนจินดา การปรับลดพฤติกรรมการดื่มสุราที่เปนปญหาตอสุขภาพของวัยรุนโดย การสรางเสรมิภูมิคุมกันในวัยรุนอยางมีสวนรวมของชุมชน

ไพรัตน อนอินทร, ดร.ธวัช บุณยมณี, ดร.ณรงคศักด์ิ หนูสอน, ดร.อัมพวรรณ ศรีวิไล

การประยุกตใชกลยุทธทางการตลาดของหัวหนาหอผูปวยและความพงึพอใจ ในงานตามการรับรูของพยาบาลวชิาชพีในโรงพยาบาลจิตเวช

สลักจิต สุมันตกุล, อุดมรัตน สงวนศริิธรรม, ดร. ฐิติณัฏฐ อัคคะเดชอนันต การดูแลสรางจิตสํานึกพลเมืองในการทีสวนรวมกรณีศึกษาการดูแล ผูปวยจิตเวช และครอบครัวในชุมชน เมธิศา พงษศักด์ิศรี, ขวัญฤทัย รัตนพรหม, อังคณา สารคํา, อรอุมา ภูโสภา, นฤมล พิณทองเมือง การพัฒนาแนวปฏิบัตทิางคลินิกสําหรับการสงเสริมความรวมมือ ในการรักษาดวยยาของผูปวยจิตเภท สุดรัก พิละกันทา, ดร. ภัทราภรณ ทุงปนคํา, ฉวีวรรณ ธงชัย Thai psychiatric inpatient care cost บุปผวรรณ พัวพันประเสริฐ, ศุภสิทธิ์ พรรณนารุโณทัย การทําจิตบําบัดแนวซาเทียร: กรณีศึกษาในผูปวยโรคซึมเศราและ มีภาวะวิตกกังวล ประสงคศักด์ิ เจนกิจจาไพบูลย

Page 5: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

5

บรรณาธิการแถลง

สวัสดีครับ ทานผูอานทุกทาน ฉบับน้ีเปนฉบับแรกตอนรับปฉลู 2551 เน้ือหายังนาสนใจเหมือนเดิมฉบับน้ีเน้ือเร่ืองหลากหลายครับ ประกอบดวย เร่ืองการประเมินผลโครงการทดลองกลุมใหการปรึกษาครอบครัวผูปวยจิตเวช โดยคุณภมริน เชาวนจินดา เร่ืองการลดการด่ืมสุราของวัยรุนโดยการสรางเสริมภูมิคุมกันอยางมีสวนรวมของชุมชน โดยคุณ ไพรัตน อนอินทร เรื่องการประยุกตใชกลยุทธทางการตลาดของหัวหนาหอผูปวยและความพึงพอใจในงานตามการรับรูของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลจิตเวชโดยคุณ สลักจิต สุมันตกุลและคณะ เรื่องการดูแลสรางจิตสํานึกพลเมืองในการมีสวนรวมกรณีศึกษาการดูแลผูปวยจิตเวช และครอบครัวในชุมชนโดยคุณเมธิศา พงษศักด์ิศรี รวมทั้งเรื่อง การพัฒนาแนวปฏิบัติทางคลินิกสําหรับการสงเสริมความรวมมือในการรักษาดวยยาของผูปวยจิตเภท โดยคุณสุดรัก พิละกันทา

นอกจากนี้ในเลมน้ี ยังมีความแปลกใหมเปนครั้งแรกของวารสารสวนปรุงที่มีการตีพิมพนิพนธตนฉบับเปนภาษาอังกฤษทั้งหมดในเรื่อง Thai psychiatric unit cost โดยทพญ. บุปผวรรณ พัวพันประเสริฐ ซ่ึงเปนเรื่องที่ตีพิมพในครั้งที่แลว ในภาคภาษาไทย และทางกองบก.ตั้งใจจะตีพิมพในฉบับที่แลว แตติดขัดเร่ืองความลาชาในการบรรณาธิกรภาคภาษาอังกฤษ ทําใหตองมาลงตีพิมพในฉบับน้ีแทน ซ่ึงตองขออภัยทานผูอานอยางยิ่งในความไมสะดวกนี้ครับ และปดทายดวย การทําจิตบําบัดแนวซาเทียร: กรณีศึกษาในผูปวยโรคซึมเศราและมีภาวะ วิตกกังวล โดยคุณประสงคศักด์ิ เจนกิจจาไพบูลย

และดวยการตอบรับอยางดียิ่งจากผูนิพนธที่สงเรื่องลงตีพิมพ ทานผอ. รพ.สวนปรุง จึงอนุมัติใหจัดทําวารสารสวนปรุง ฉบับพิเศษ ขึ้น โดยมีคุณวุฒิพงศ ถายะพิงค เปนบรรณาธิการในฉบับน้ีครับ สําหรับทานที่ไดรับพิจารณาเรื่องลงตีพิมพ จะไดรับ วารสารสวนปรุงจํานวน 1ฉบับและคานิพนธตามเกณฑ หากทานตองการวารสารมากกวา 1 ฉบับ เพ่ือการขอเลื่อนระดับหรือเพ่ือการอ่ืนกรุณาทําหนังสือเปนลายลักษณอักษรมาที่บรรณาธิการวารสารสวนปรุงดวยเพื่อทางกองบก.จะไดจัดสงใหตามตองการครับ

หากทานตองการบอกรับวารสารขอใหสงใบบอกรับที่แนบมากับวารสารนี้ดวยครับสุดทายนี้กองบรรณาธิการขอขอบคุณสําหรับคําติชมและขอเสนอแนะจากทานผูอานทุกทาน ซ่ึงเปนกําลังใจใหมุงม่ันในการพัฒนาใหดียิ่งๆขึ้นไป แลวพบกันฉบับหนาครับ

นพ.จักริน ปงคลาศัย บรรณาธิการ มกราคม 2552

Page 6: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

6

การประเมินผลโครงการทดลองกลุมใหการปรึกษาครอบครัวผูปวยจิตเวช

ภมริน เชาวนจินดา*

บทคัดยอ โครงการทดลองกลุมใหการปรึกษาครอบครัวผูปวยจิตเวช มีวัตถุประสงคเพ่ือ ให

ผูปวยและญาติที่มีปญหาครอบครัว ไดพูดคุยทําความเขาใจปญหาและความตองการของกันและกัน รวมกันหาแนวทางแกไขปญหา และใหครอบครัวผูปวยที่เปนสมาชิกกลุมมีสวนรวมในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและประสบการณในการแกไขปญหา ตลอดจนนําไปประยุกตใชในครอบครัวของตนเอง โดยเลือกกลุมตัวอยางแบบเจาะจง คือ ญาติและผูปวยที่เขากลุมใหการปรึกษาครอบครัว จํานวน 94 คน มีครอบครัวที่ไดรับเลือกใหหาแนวทางแกไขปญหา จํานวน 12 ครอบครัว รวบรวมขอมูล ตั้งแตวันที่ 10 สิงหาคม 2549 – 30 เมษายน 2550 เคร่ืองมือที่ใช ไดแก แบบบันทึกกลุมใหการปรึกษาครอบครัว แบบประเมินและติดตามผล และแฟมประวัติผูปวย วิเคราะหขอมูล โดยใชสถิติเชิงพรรณนา ผลการศึกษาพบวาปญหาที่ผูปวยและญาติสวนใหญนําเสนอเพ่ือหาแนวทางแกไขมากที่สุด ไดแก ปญหาการสื่อสารในครอบครัว รองลงมา ไดแก ปญหาการรับประทานยาไมตอเน่ืองและการด่ืมสุรา ซ่ึงมีจํานวนเทากัน สวนการประเมินผลหลังสิ้นสุดกลุม พบวา ผูปวยและญาติ ทั้งที่เปนเจาของปญหาและเปนสมาชิกกลุมทุกคนบอกวาไดประโยชน คือ รูสึกสบายใจขึ้น ไดแนวทางในการแกไขปญหา ไดความรูเก่ียวกับการฟนฟูดูแลผูปวยจิตเวช ไดเรียนรูทักษะการสื่อสารในครอบครัว การคลายเครียด นอกจากนั้นยังไดรูวาครอบครัวอ่ืนๆก็มีปญหาและบางครอบครัวมีปญหามากกวาตนเองอีก ทําใหมีกําลังใจในการแกไขปญหา จากการติดตามประเมินผล 2 คร้ัง หลังจากที่ผูปวยออกจากโรงพยาบาล 1 เดือนและ 3 เดือน พบวา ผูปวยและญาติที่เปนเจาของปญหา ไดนําแนวทางแกไขปญหาที่พูดคุยกันในกลุมไปปฏิบัติ มีการปรับตัวเขาหากัน ใชวิธีการส่ือสารที่สรางสรรค ทําใหสามารถพูดคุยปรึกษาหารือ และหลีกเลี่ยงการกระทบกระทั่งกันไดมากข้ึน สงผลใหความสัมพันธในครอบครัวดีขึ้น ผูปวยรับประทานยาตอเน่ือง ด่ืมสุรานอยลงและไมกลับมารักษาซํ้าในโรงพยาบาลอีก แสดงใหเห็นวากลุมใหการปรึกษาครอบครัวเปนกลุมที่มีประโยชน สามารถนําไปใชกับผูปวยจิตเวชได โดยเฉพาะผูที่ติดสุราและมีปญหาครอบครัว คําสําคัญ : ผูปวยจิตเวช กลุมใหการปรึกษาครอบครวั *นักสังคมสงเคราะห 9 ชช. โรงพยาบาลสวนปรุง

Page 7: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

7

Abstract

This family counseling groups aimed for two-way communication between the psychiatric patients and their families regarding the existing problem they had experienced and how to share and solve the problem in each family. Ninety-four participants from 12 families were specifically selected to join the counseling group. The data collection had been conducted from 10 August 2006 to 30 April 2007 through the records, observation and interview. The datas were then analyzed by analytic induction and content analysis. The results showed that the most important problem among the group members were communication within the family followed by the inconsistency of medicine intake as well as alcohol consumption. The evaluation among the group members after the session ending indicated that the participants were relieved and less stressed since they could speak out what they had on their mind and realized that other families also had experienced the similar problem. These encouraged them to solve the problem effectively. According to the telephone follow-up after the patients were discharged at one month and 3 months, we found that most of the patients and there families had practiced what they had previously discussed in the counseling group and had adjusted themselves to live together. These enhanced the relationship among them and the patients started to take medication continuously, refrained from alcohol consumption and decresed re-admission. This study showed that family counseling group is useful and could be applied to psychiatric patient especially those with family problem and alcohol abuse.

Key word : psychiatric patient, family counseling group บทนํา

โรคจิตเวชเปนปญหาสําคัญดานสาธารณสุข ปจจุบันพบวา คนไทย 68 ลานคน เปนโรคจิตประมาณ 6 แสนคน โรคจิตเวชเปนโรคที่เรื้อรัง ทําใหผูปวยตองเขารับการรักษาในโรงพยาบาลซ้ําแลวซํ้าอีกสงผลกระทบตอการดํารงชีวิตของผูปวยและครอบครัว โดยเฉพาะญาติที่ดูแลผูปวย เน่ืองจากผูปวยตองกินยาตอเน่ือง ความสามารถในการดูแลตนเอง การปฏิบัติหนาที่ในครอบครัวและสังคมของผูปวยลดนอยลงทําใหญาติเกิดความเครียดเน่ืองจากขาดความรูและทักษะในการดูแลผูปวย รวมทั้งมีทัศนคติที่ไมดีตอการเจ็บปวย รูสึกวิตกกังวล เบื่อหนาย และเปนภาระ สอดคลองกับผลการศึกษาของยาใจ สิทธิมงคล (2538) ที่พบวา ญาติยังขาดความรูความเขาใจเกี่ยวกับโรคและการดูแลผูปวย ทําใหรูสึกกังวล สับสน

Page 8: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

8

เหน่ือยลา นอกจากนั้นพฤติกรรมการดูแลผูปวยของญาติ โดยเฉพาะดานการส่ือสาร การแสดงอารมณที่ไมเหมาะสมยังสงผลตอการปวยซ้ําของผูปวยดวย และผลการศึกษาเรื่องปจจัยที่สัมพันธกับการมารักษาซ้ําของผูปวยจิตเวชในโรงพยาบาลสมเด็จเจาพระยา ของละเอียด รอดจันทร วัชราภรณ อุทโยภาศและจันทรเพ็ญ สุทธิชัยโชติ (2542) พบวา ผูปวยและญาติที่มีความสัมพันธไมดีตอกัน เชน ไมสนใจกัน ทะเลาะกันเปนประจํา ไมชวยเหลือซ่ึงกันและกัน ไมลงรอยกัน เปนสาเหตุของการปวยทางจิตได ครอบครัวของผูปวยจิตเวช จึงมีความสําคัญตอการดูแลรักษาเปนอยางยิ่ง เน่ืองจากผูปวยไมสามารถรับผิดชอบตนเองได ตองอาศัยสมาชิกในครอบครัว ซ่ึงมีความเอ้ืออาทรตอกันเปนพ้ืนฐานอยูแลว เปนที่พ่ึงทางใจ และใหคําปรึกษา (อมรา พงศาพิชญ, 2538 อางในสถิต วงศสุรประกิต, 2542) นอกจากน้ันญาติยังเปนคนแรกที่สังเกตเห็นอาการที่บอกใหรูวาผูปวยกําลังจะมีอาการกําเริบ ความชวยเหลือจากญาติจึงเปนสิ่งที่สําคัญมากในการปองกันไมใหผูปวยมีอาการกําเริบขึ้นอีก โดยการปรึกษาแพทย เพ่ือใหการรักษาอยางทันทวงที (สมรัก ชูวานิชวงศ, 2541)

การรักษาผูปวยโรคจิตในปจจุบัน มีจุดมุงหมายใหผูปวยไดรับการรักษาในรูปแบบผูปวยนอกมากกวาการรับไวรักษาในโรงพยาบาล เพ่ือใหผูปวยปรับตัวเขากับครอบครัวและสังคมเดิมไดเร็วที่สุด ญาติหรือครอบครัวจึงเปนบุคคลสําคัญ ที่จะตองมีสวนรวมในการดูแลผูปวย (กรมสุขภาพจิต, 2541) กลุมงานสังคมสงเคราะห โรงพยาบาลสวนปรุง ตระหนักถึงความสําคัญของปญหาดังกลาว จึงไดจัดทําโครงการทดลองกลุมใหการปรึกษาครอบครัวผูปวยจิตเวชขึ้น เพ่ือใหผูปวยและญาติที่มีปญหาครอบครัว ไดพูดคุยทําความเขาใจปญหาและความตองการของกันและกัน รวมทั้งหาแนวทางแกไขปญหารวมกัน โดยสนับสนุนใหครอบครัวผูปวยอ่ืนๆที่เปนสมาชิกกลุม มีสวนรวมในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและประสบการณในการแกไขปญหา รวมทั้งนําไปประยุกตใชในครอบครัวของตนเอง วัตถุประสงค เพ่ือ

1. ใหผูปวยและญาติไดพูดคุยทําความเขาใจปญหาและความตองการของกันและกัน 2. ใหผูปวยและญาติรวมกันหาแนวทางแกไขปญหาของครอบครัว 3. ใหผูปวยและญาติที่เปนสมาชิกกลุมไดแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและประสบการณในการ

แกไขปญหา รวมทั้งนําไปประยุกตใชในครอบครัวของตนเอง นิยามศัพท

ผูปวยจิตเวช หมายถึง ผูปวยโรงพยาบาลสวนปรุง ที่จิตแพทยวินิจฉัยวาเปนโรคทางจิตเวช

กลุมใหการปรึกษาครอบครัว หมายถึง การประชุมกลุมผูปวยและญาติ ที่มีปญหาครอบครัว เพ่ือใหพูดคุยทําความเขาใจปญหา ความตองการของกันและกัน และรวมกันหาแนว

Page 9: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

9

ทางแกไขปญหา โดยใหสมาชิกกลุมมีสวนรวมในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและประสบการณในการแกไขปญหา วัสดุและวิธีการศึกษา การศึกษาครั้งนี้เปนการวิจัยก่ึงทดลอง (Quasi-experimental research) เก่ียวกับการประเมินผลกลุมใหการปรึกษาครอบครัวผูปวยจิตเวช โรงพยาบาลสวนปรุง

ประชากร เปนผูปวยจิตเวช ที่แพทยรับไวในหอผูปวยพิเศษ โรงพยาบาลสวนปรุง ไดแก ตึกขนาน ตึกสหทัยและตึกปญญา

กลุมตัวอยาง เลือกกลุมตัวอยางแบบเจาะจง (Purposive sampling) คือ ผูปวยและญาติ ที่เขากลุมใหการปรึกษาครอบครัว ในระยะเวลา 6 เดือน คือตั้งแตวันที่ 10 สิงหาคม 2549 – 25 มกราคม 2550 มีจํานวน 94 คน โดยพยาบาลประจําตึกและนักสังคมสงเคราะห เปนผูพิจารณาคัดเลือก ตามเกณฑดังน้ี

1. เปนผูปวยที่มีอาการทุเลา พูดคุยรูเรื่อง และมีปญหาครอบครัว 2. มีญาติ หรือผูดูแลที่สามารถเขารวมกลุมได เครื่องมือที่ใชในการศึกษา ไดแก 1. แบบบันทึกกลุมใหการปรึกษาครอบครัว 2. แบบประเมินและติดตามผล 3. แฟมประวัติผูปวย การตรวจสอบเครื่องมือ ผูวิจัยใชแบบบันทึกกลุมใหการปรึกษาครอบครัวที่มีอยูแลว

ของกลุมงานสังคมสงเคราะห สวนแบบประเมินและติดตามผล ผูวิจัยสรางขึ้นเอง โดยทดลองใชกับผูปวยและญาติ จํานวน 8 ราย แลวนํามาปรับปรุงกอนนําไปใชจริง

การรวบรวมขอมูล ดําเนินการรวบรวมขอมูลตั้งแตวันที่ 10 สิงหาคม 2549 – 30 เมษายน 2550 มีขั้นตอนและรายละเอียดดังน้ี

- ข้ันเตรียมการ ประสานงานกับพยาบาลประจําตึก เพ่ือชี้แจงวัตถุประสงค เกณฑการคัดเลือกผูปวย วัน – เวลา สถานที่ในการทํากลุม จํานวนสมาชิกกลุมที่เหมาะสม คือ 6-14 คน และเปนผูที่ไมเคยเขากลุมน้ีมากอน โดยผูนํากลุมจะศึกษาปญหาของผูปวยแตละรายจากแฟมผูปวยและจากพยาบาลประจําตึก กอนทํากลุมในแตละครั้ง

- ข้ันดําเนินกลุม ทํากลุมสัปดาหละ 1 คร้ังๆละ 1 ชั่วโมง 30 นาที ที่ตึกขนาน โดยมีผูวิจัยเปนผูนํากลุม มีขั้นตอนการดําเนินกลุมดังน้ี

1. สมาชิกและผูนํากลุมน่ังเปนวงกลม 2. ผูนํากลุมกลาวสวัสดีทักทายสมาชิกทุกคน

2.1 บอกชื่อกลุมวาเปน “กลุมใหการปรึกษาครอบครัว” เปนการพูดเก่ียวกับปญหาครอบครัวที่เกิดขึ้นและตองการแกไข เพ่ือใหผูปวยและญาติไดพูดคุยทําความเขาใจถึงปญหาและความตองการของกันและกัน รวมกันหา

Page 10: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

10

แนวทางในการแกไขปญหา และใหสมาชิกไดแลกเปลี่ยนเ รียนรูประสบการณในการแกไขปญหาของแตละครอบครัวดวย

2.2 ชี้แจงเวลาที่ใชในการทํากลุม วาประมาณ 1.30 ชั่วโมง (10.00-11.30 น.) และกฎระเบียบที่ตองปฏิบัติในกลุม โดยเนนเรื่องการรักษาความลับ และใหพูดทีละคน ไมแยงกันพูดหรือพูดโตเถียงกัน ใครจะพูดใหยกมือขึ้น

2.3 แนะนําตัว เพ่ือสรางความคุนเคยแกสมาชิกกลุม โดยเริ่มจากผูนํากลุมกอนแลวใหสมาชิกแตละคนแนะนําตัวจนครบทุกคน (โดยผูนํากลุมจะจดชื่อลงในแผนภูมิการทํากลุมเพ่ือชวยจํา)

3. ใหสมาชิกพูดเก่ียวกับปญหาในครอบครัว โดยใหพูดทีละครอบครัวซ่ึงใครจะพูดกอนก็ได แลวจึงใหอีกคนหน่ึงพูดเพ่ิมเติม จนครบทุกครอบครัว โดยผูนํากลุมจะจดบันทึกขอมูลและซักถามขอมูลเพ่ิมเติม ในกรณีที่สมาชิกพูดนอยหรือขอมูลไมชัดเจน ถาสมาชิกพูดมากเกินไป ผูนํากลุมจะตองแนะนําใหพูดอยางกระชับ และสรุปทุกคร้ังที่สมาชิกแตละครอบครัวพูดจบ

4. ใหสมาชิกเลือกปญหาที่จะนํามาพูดคุย เพ่ือหาแนวทางแกไขเพียง 1 ปญหา โดยผูนํากลุมสรุปและทบทวนปญหาของแตละครอบครัวกอน แลวใหสมาชิกยกมือเพ่ือเลือกปญหา คนละ 1 คร้ัง จึงสรุปวาปญหาของใครไดรับเลือก

5. ใหสมาชิกชวยกันซักถามขอมูลเพ่ิมเติม เพ่ือใหไดขอมูลที่ชัดเจน ซ่ึงจะทําใหผูปวยและญาติมีโอกาสพูดคุย ทบทวน ทําความเขาใจปญหาและความตองการของกันและกันไดมากขึ้นดวย เม่ือประเมินวาไดขอมูลเพียงพอแลว ผูนํากลุมจะสรุปปญหาและความตองการวามีอะไรบาง เพ่ือหาแนวทางแกไขปญหาในแตละประเด็น

6. กระตุนใหสมาชิกแสดงความคิดเห็น และแลกเปลี่ยนประสบการณกับเจาของปญหา เพ่ือหาแนวทางแกไข โดยใชเทคนิคการทํากลุมบําบัด การใหการปรึกษาครอบครัว ทักษะการสื่อสาร เปนตน ซ่ึงจะทําใหผูปวยและญาติไดรวมกันหาแนวทางในการแกไขปญหาของครอบครัว ในกรณีที่ครอบครัวมีปญหาในการสื่อสาร ผูนํากลุมจะฝกทักษะการสื่อสารใหดวย

7. สรุปปญหาและแนวทางแกไขจากการเสนอแนะของกลุม แลวถามความรูสึกนึกคิดของเจาของปญหาที่มีตอขอเสนอแนะจากสมาชิกกลุม และความเปนไปไดในการนําไปปฏิบัติ

8. ใหสมาชิกทุกคนแสดงความรูสึกและความคิดเห็นตอการเขากลุม 9. ปดกลุม ข้ันประเมินและติดตามผล โดยใชการสอบถาม การสังเกต และการสัมภาษณ ดังน้ี 1. ประเมินผลหลังจากเลิกกลุมแตละครั้ง โดยสอบถามความคิดเห็นของสมาชิกทุกคนที่

เขากลุม แลวจดบันทึกลงในแบบบันทึกการทํากลุม โดยใชการสังเกตรวมดวย 2. ติดตามประเมินผลหลังจากจําหนายผูปวยแลว 1 เดือน และ 3 เดือนโดยใชแบบ

ประเมินที่สรางขึ้น ดวยการสัมภาษณผูปวยและหรือญาติทางโทรศัพท (ภาคผนวก) 3. ศึกษาขอมูลเพ่ิมเติมจากแฟมประวัติผูปวย เพ่ือตรวจสอบความเชื่อถือไดของขอมูล

Page 11: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

11

การวิเคราะหขอมูล โดยใชสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive statistics) แยกวิเคราะหตามลําดับดังน้ี

1. ขอมูลทั่วไป วิเคราะหโดยการแจกแจงความถี่และหาคารอยละ 2. ขอมูลเก่ียวกับปญหาครอบครัว รวบรวมจากแบบบันทึกการประชุมกลุม แลว นํามาจัดหมวดหมู แจกแจงความถี่และหาคารอยละ 3. ผลของกลุมใหการปรึกษาครอบครัว รวบรวมจากแบบบันทึกการประชุมกลุม แบบ

ประเมินและติดตามผล แลวนํามาวิเคราะหเน้ือหา(content analysis) และจัดหมวดหมู โดยใชวิธีการแจงนับเปนจํานวนครั้งของความถี่ของคําหรือขอความที่ปรากฏ หลังจากนั้นจึงสรางขอสรุป

ผลการศึกษา จากการทํากลุมใหการปรึกษาครอบครัว ตั้งแตวันที่ 10 สิงหาคม 2549 ถึงวันที่ 25 มกราคม 2550 รวม 13 คร้ัง มีผูปวยและญาติเขารวมกิจกรรมกลุม รวมทั้งสิ้น 94 คน ( มีผูปวยที่ไมมีญาติมาเขากลุมดวย 2 คนและผูปวยที่เขากลุมซํ้า 1 คน เน่ืองจากมีปญหาระหวางพอ แม ลูก แตในการประชุมครั้งแรก มีพ่ีสาวมาเขากลุม จึงไดเชิญภรรยามาเขากลุมในครั้งที่ 2 ) โดยเปนผูปวย จํานวน 48 คน และเปนญาติ จํานวน 46 คน มีรายละเอียดดังน้ี 1. ขอมูลทั่วไป ขอมูลทั่วไป ประกอบดวย ขอมูลทั่วไปของผูเขากลุม และขอมูลทั่วไปของผูเสนอปญหาและไดรับเลือกใหหาแนวทางแกไขในกลุม ขอมูลทั่วไปของผูเขากลุม

จากการศึกษาพบวา มีผูเขากลุมรวมทั้งสิ้น 94 คน เปนผูปวยและญาติจํานวนใกลเคียงกัน คือ เปนผูปวย รอยละ 51.06 และเปนญาติ รอยละ 48.94 เพศ พบวา ผูเขากลุมสวนใหญเปนเพศหญิง รอยละ 64.89 โดย ผูปวย เปนเพศหญิง รอยละ 64.58 เพศชาย รอยละ 35.42 สวนญาติ เปนเพศหญิง รอยละ 65.22 เพศชาย รอยละ 34.78 ความสัมพันธกับผูปวย พบวา ญาติที่เขากลุมสวนใหญเปนคูสมรส รอยละ 20.21 รองลงมาเปนพอ/แม รอยละ 12.77 เปนพ่ี/นอง รอยละ 10.64 สวนที่เหลือเปนลูกและปา รอยละ 4.26 และ1.06 ตามลําดับ ประวัติการปวยทางจิตและการวินิจฉัยโรค พบวา ผูปวยสวนใหญเคยเขารับการรักษาในโรงพยาบาลมากกวา 1 คร้ัง มีรอยละ66.67 (8 คน) และผูปวยที่รับไวคร้ังแรก มีรอยละ 33.33(4 คน) สวนการวินิจฉัยโรคนั้นพบวา เปนผูปวยติดสุรา รอยละ 33.33(4 คน) และทุกคนเปนผูปวยเกา เปนโรคเกี่ยวกับอารมณ และโรคจิตเภทจํานวนเทากัน คือ รอยละ 25 (3 คน) และเปนโรคซึมเศรา รอยละ 16.67 (2 คน)

Page 12: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

12

ขอมูลทั่วไปของผูเสนอปญหาและไดรับเลือกใหหาแนวทางแกไขในกลุม ครอบครัวที่เสนอปญหาและไดรับการเลือกใหหาแนวทางแกไขในกลุม มีจํานวน 12 ครอบครัว เปนผูปวย จํานวน 12 คนและเปนญาติจํานวน 11 คน มีรายละเอียดดังน้ี

เพศ ผูปวยเปนเพศหญิง รอยละ 58.33 และเพศชาย รอยละ 41.67 ความสัมพันธกับผูปวย พบวา ญาติสวนใหญเปนคูสมรส รอยละ 41.67 (5 คน) รองลงมาเปนแมและพ่ี/นอง มีจํานวนเทากัน รอยละ 25.00 (3 คน) และเปนลูก รอยละ 8.33 (1 คน) 2. ปญหาที่นําเสนอในกลุม

จากการประชุมกลุม 13 คร้ัง มีผูปวยและญาติจํานวน 12 ครอบครัว พบวา ปญหาที่ผูปวยและญาติสวนใหญนําเสนอเพ่ือหาแนวทางแกไขมากที่สุด ไดแก ปญหาการส่ือสารในครอบครัว รอยละ 83.33 (มี 10 ครอบครัว) รองลงมา ไดแก ปญหาการด่ืมสุราและการรับประทานยาไมตอเน่ือง ซ่ึงมีจํานวนเทากัน รอยละ 41.67 (มี 5 ครอบครัว โดยผูปวยติดสุรา 4 คน และสามีติดสุรา 1 คน) นอกจากน้ันยังพบวา ทุกครอบครัวที่มีการด่ืมสุราจะมีปญหาเร่ืองการส่ือสารและการรับประทานยาไมตอเน่ืองรวมดวย

การที่พบวา ทุกครอบครัวที่ผูปวยและญาติติดสุรา จะมีปญหาในการสื่อสารดวย ทั้งนี้อาจเปนเพราะกลุมตัวอยางมีจํานวนนอย แตอยางไรก็ตามผลการศึกษาน้ีแสดงใหเห็นวา พฤติกรรมการสื่อสารในครอบครัวมีผลตอการด่ืมสุราและการด่ืมสุราก็มีผลตอพฤติกรรมการสื่อสารในครอบครัวดวยเชนเดียวกัน ดังตัวอยาง

ผูปวย “ภรรยาไมไวใจ คอยโทร.เช็คตลอด กลับมาบานก็พูดซํ้าเร่ืองเดิมๆ ทําใหรําคาญ เครียด…ใหเลิกด่ืม…ผมทําได แตเขาตองไมทําอยางเดิมอีก ”

ภรรยา “ที่โทร.ตาม เพราะ…เขาออกไปเท่ียว ไปกินเหลากับเพ่ือนๆ กินแลวขับรถ กลัวจะเปนอันตราย อยากใหเขามีเวลาใหกับครอบครัว ตนเองไมเคยคบเพ่ือน ถาไปเที่ยวก็จะไปกับครอบครัว…คิดวาทําดีที่สุดแลว แตเขาทําแบบนี้ทาํใหครอบครัวไมมีความสุข”

จากกรณีตัวอยางแสดงใหเห็นวา เม่ือมีปญหาครอบครัว ผูที่เคยด่ืมสุราสวนใหญจะด่ืมสุรามากขึ้น โดยใหเหตุผลวาเครียด จึงทําใหญาติบนหรือควบคุมมากขึ้น นอกจากน้ันบางคนถาเมาสุราก็จะสื่อสารกับสมาชิกในครอบครัวดวยถอยคําที่ไมสุภาพ ใชอารมณ อาละวาด ทําใหความสัมพันธในครอบครัวยิ่งเลวรายลง

สวนปญหาการรับประทานยาไมตอเน่ือง ซ่ึงมีจํานวนเทากับการติดสุรา (รอยละ 41.67) พบวา มีสาเหตุ 2 ประการคือ 1. คิดวาตนเองหายแลว 2. กลับไปด่ืมสุราอีก จึงไมรับประทานยาหรือรับประทานยาไมสมํ่าเสมอ 3. การประเมินผล การประเมินผล ประกอบดวย การประเมินหลังจากเลิกกลุมแตละครั้ง และติดตามประเมินผลหลังจากจําหนายผูปวยแลว มีรายละเอียดดังตอไปน้ี

Page 13: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

13

การประเมินผลหลังจากเลิกกลุมแตละครั้ง 1. ครอบครัวที่เสนอปญหาและไดรับเลือกใหหาแนวทางแกไข จากการ

ประเมินผล พบวา ทั้งญาติและผูปวยทุกคนบอกวาไดประโยชน คือ รูสึกสบายใจขึ้น ที่ไดเปดเผยความรูสึกนึกคิด ความตองการของตนเองใหญาติไดรับรู ทําใหเขาใจกันมากขึ้น (ญาติคนหนึ่งบอกวาอยูที่บานไมเคยพูดกันไดนานเหมือนที่น่ี ) ไดแนวทางในการแกไขปญหา จากการแสดงความคิดเห็นและคําแนะนําของสมาชิกในกลุม ไดความรู เร่ืองโรคจิต การดูแลผูปวยจิตเวช วิธีการคลายเครียด ไดเรียนรูทักษะการสื่อสารเพ่ือลดความขัดแยงในครอบครัว นอกจากนั้นยังมีกําลังใจในการแกไขปญหา เน่ืองจาก บรรยากาศที่ดีภายในกลุม คือ ความเปนมิตร ความเอ้ืออาทรและปรารถนาดีตอกัน รวมทั้งการใหกําลังใจซึ่งกันและกัน โดยไมมีการตําหนิติเตียน

2. สมาชิกที่เขากลุมสวนใหญมีความคิดเห็นคลายคลึงกัน คือ ไดประโยชน ทําใหรูสึกสบายใจข้ึน เพราะไดพูดคุยไดระบายปญหา ไดความรูเรื่องโรคจิตและการดูแลผูปวยจิตเวช ไดเรียนรูทักษะการสื่อสารเพ่ือลดความขัดแยงในครอบครัว วิธีการคลายเครียด นอกจากนั้นยังไดรูวาครอบครัวอ่ืนๆก็มีปญหาและบางครอบครัวมีปญหามากกวาตนเองอีก ทําใหมีกําลังใจในการแกไขปญหา และคิดวาสามารถนําแนวทางในการแกไขปญหาที่สมาชิกกลุมเสนอแนะไปปรับใชกับครอบครัวของตนเองได การติดตามประเมินผลหลังจากผูปวยจําหนายออกจากโรงพยาบาล

จากการติดตามประเมินผลหลังจากที่ผูปวยออกจากโรงพยาบาล พบวา ผูปวยทุกคนกลับไปอยูกับครอบครัว ทั้งญาติและผูปวยสวนใหญไดนําความรูและขอเสนอแนะในการแกไขปญหาจากกลุมไปปฏิบัติ ไดแก มีการปรับตัวเขาหากัน นําวิธีการส่ือสารที่สรางสรรคไปใชในครอบครัว คือ มีการสื่อสารความรูสึกนึกคิด ความตองการของกันและกัน และรับฟงกันมากขึ้น ลดการควบคุม การตําหนิติเตียน ทําใหความขัดแยงลดลง ความสัมพันธในครอบครัวดีขึ้น สงผลใหผูปวยอาการดีขึ้น ญาติสบายใจขึ้น สวนผูปวย/ญาติที่ด่ืมสุราน้ัน (5 คน) จากการติดตามผลหลังจากจําหนาย 1 เดือน พบวา ทุกคนเลิกด่ืมสุรา แตจากการติดตามผลคร้ังที่ 2 คือ ภายหลังจากจําหนายได 3 เดือน พบวา ผูปวย 3 คนและญาติ 1 คนกลับไปด่ืมสุราอีกแตด่ืมนอยลง มีผูปวยเพียง 1 คนเทาน้ันที่ไมด่ืม สวนการรับประทานยา พบวา ผูปวยทุกคนรับประทานยาตอเน่ือง ซ่ึงมีทั้งรับยาที่โรงพยาบาลสวนปรุง และที่โรงพยาบาลใกลบาน โดยผูปวยทุกคนไมกลับมารักษาซ้ําในโรงพยาบาลสวนปรุงอีก ทั้งน้ีผูศึกษาไดตรวจสอบขอมูลจากแฟมประวัติผูปวยประกอบดวย

อภิปรายผล จากการประเมินผลโครงการทดลองใหการปรึกษาครอบครัวผูปวยจิตเวช พบวา ปญหาครอบครัวที่พบมากที่สุด ไดแก ปญหาการส่ือสารในครอบครัว (รอยละ 83.33) ซ่ึง

Page 14: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

14

สอดคลองกับการผลการศึกษาของชุลีพร ชูวงศ (2545) เรื่อง ปจจัยที่มีอิทธิพลตอพฤติกรรมการสื่อสารของผูปวยโรคจิตเภทและสมาชิกในครอบครัว ที่มารับบริการท่ีแผนกผูปวยใน โรงพยาบาลสวนสราญรมย ที่พบวา กลุมตัวอยางมีพฤติกรรมการสื่อสารในครอบครัวอยูในระดับไมดี และยังสอดคลองกับผลการศึกษาของพิริยาภรณ เชื้อหมอ (2550) เร่ืองพฤติกรรมการส่ือสารในครอบครัวตามการรับรูของผูปวยจิตเวชที่กลับเปนซ้ําในโรงพยาบาลสวนปรุง ที่พบวา พฤติกรรมการสื่อสารในครอบครัวของกลุมตัวอยางโดยรวมอยูในระดับไมดี ทั้งดานการฟงอยางมีประสิทธิภาพ ดานการส่ือสารความรูสึกนึกคิดของตนเองและดานการสื่อสารความรูสึกและแกปญหารวมกันและยังสอดคลองกับการศึกษาของมานิต ศรีสุภานนทและจําลอง ดิษยวณิช (2542) ที่พบวา การที่สมาชิกในครอบครัวมีการแสดงออกทางอารมณอยางรุนแรงบอยๆ การผลักดันและวิพากษวิจารณผูปวยมากเกินไป จะทําใหผูปวยเกิดปญหาทางจิตมากขึ้น สวนผลการศึกษาของจารุวรรณ ต.สกุล (2524) พบวา ผูปวยจิตเวชหลายรายไมสามารถใชชีวิตอยูกับครอบครัวไดอยางปกติสุข เน่ืองจากรูสึกวาบุคคลในครอบครัวไมเขาใจ ไมยอมรับ ทําใหตองกลับมารักษาซ้ําในโรงพยาบาลอีก และการศึกษานี้ยังพบผลที่นาสนใจวา ในครอบครัวที่ผูปวยหรือญาติที่ติดสุราจะมีปญหาในการสื่อสารรวมดวยทุกครอบครัว แสดงใหเห็นวา การสื่อสารในครอบครัวมีผลตอการด่ืมสุรา และการด่ืมสุราก็มีผลตอพฤติกรรมการส่ือสารในครอบครัวดวยเชนเดียวกัน สอดคลองกับผลการศึกษาของรัชดาภรรณ กาวีวงค หรรษา เศรษฐบุปผาและสมบัติ สกุลพรรณ (2550) เรื่องความชุกในการเสพสุราของวัยรุนและพฤติกรรมการสื่อสารในครอบครัวตามการรับรูของวัยรุนที่เสพสุรา ในเขตก่ิงอําเภอแมออน จังหวัดเชียงใหม ที่พบวา วัยรุนที่เสพสุราสวนใหญมีการรับรูพฤติกรรมการสื่อสารในครอบครัวโดยรวมอยูในระดับไมดี และผลการศึกษานี้ยังพบวา ปญหาการด่ืมสุรากับปญหาการรับประทานยาไมตอเน่ือง มีจํานวนเทากัน คือ 5 ครอบครัว (รอยละ 41.67) แสดงใหเห็นวา สุรา มีสวนเกี่ยวของกับทุกปญหาที่ถูกนําเสนอในกลุม

สวนผลของโครงการทดลองกลุมใหการปรึกษาครอบครัวผูปวยจิตเวช จากการประเมินผล พบวา ผูปวยและญาติทั้งที่เปนเจาของปญหาและเปนสมาชิกกลุม สวนใหญมีความคิดเห็นคลายคลึงกันวา ไดประโยชน ทําใหรูสึกสบายใจขึ้น เพราะไดพูดคุยไดระบายปญหาและยังไดแนวทางในการแกไขปญหา ไดความรูเร่ืองโรคจิตและการดูแลผูปวยจิตเวช ไดเรียนรูทักษะการสื่อสารเพ่ือลดความขัดแยงในครอบครัว วิธีการคลายเครียด รวมทั้งมีกําลังใจในการแกไขปญหา และจากการติดตามผลหลังจากที่ผูปวยกลับไปอยูกับครอบครัว พบวา ญาติและผูปวยไดนําแนวทางแกไขปญหาที่พูดคุยกันในกลุมไปปฏิบัติ มีการปรับตัวเขาหากัน ใชวิธีการส่ือสารที่สรางสรรค ทําใหสามารถพูดคุยปรึกษาหารือและหลีกเลี่ยงการกระทบกระทั่งกันไดมากขึ้น สงผลใหความสัมพันธในครอบครัวดีขึ้น ผูปวยทุกคนรับประทานยาตอเน่ือง ผูที่ด่ืมสุราหยุดด่ืมไดในเดือนแรกที่ออกจากโรงพยาบาล แมวาหลังจากน้ันจะด่ืมสุราแตก็ด่ืมนอยลง และไมกลับมารักษาซํ้าในโรงพยาบาลอีก สอดคลองกับแอนโทนอพสกี้(Antonovsky,1987) ที่กลาววา หากสมาชิกในครอบครัวสามารถรับรู และประเมินปญหาที่เกิดขึ้นไดอยางถูกตอง ก็จะ

Page 15: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

15

สามารถดึงประโยชนที่มีอยูมาใชในการเผชิญปญหาไดอยางเหมาะสม มีความมุงม่ันที่จะแกปญหา ก็จะสามารถดูแลชวยเหลือผูปวยไดเปนอยางดี และยังสอดคลองกับพิริยาภรณ เชื้อหมอ(2550) ที่กลาววา การรวมมือกันแกปญหาความขัดแยงระหวางกันดวยการหันหนาเขาหากัน โดยใชวิธีการส่ือสารที่มีประสิทธิภาพ กอใหเกิดสัมพันธภาพที่ดีในครอบครัว พฤติกรรมการสื่อสารในครอบครัวที่ไมมีประสิทธิภาพ ไมไดเกิดจากตัวผูปวยเพียงฝายเดียว สมาชิกในครอบครัวก็มีสวนสําคัญอยางยิ่งตอการสื่อสารในครอบครัว สอดคลองกับสมพงษ ธนปญญา (2540) ที่กลาววา การรวมมือกันแกไขปญหาความขัดแยงระหวางกัน ดวยการหันหนาเขาหากัน โดยใชวิธีการส่ือสารที่มีประสิทธิภาพ กอใหเกิดสัมพันธภาพท่ีดีในครอบครัว ซ่ึงจะพัฒนาใหเกิดความรวมมือในการปองกันปญหาตางๆที่จะเกิดขึ้นในครอบครัวได และสอดคลองกับคอมโร (Komro, 2002) ที่กลาววา กลยุทธในการปองกันการใชสุราคือ การสงเสริมใหครอบครัวมีสัมพันธภาพที่ดี มีทักษะในการฟงและการสื่อสาร รวมทั้งการแกไขปญหารวมกัน

ขอดีและจํากัดของการศึกษา ขอดี โครงการนี้ ผูศึกษาเปนผูดําเนินการเองในทุกขั้นตอน ทั้งการเตรียมคัดเลือกผูปวย การเปนผูนํากลุมและการติดตามประเมินผล ทําใหการดําเนินกลุมแตละครั้งไมแตกตางกัน และยังไดเรียนรูแนวทางแกไขของสมาชิกในแตละกลุม ซ่ึงสามารถนําไปใชในการใหขอมูลแกสมาชิกในการทํากลุมคร้ังตอไปได นอกจากน้ันยังไดสังเกตพฤติกรรมของสมาชิกในการทํากลุมแตละครั้งวามีความเหมือนหรือแตกตางกันหรือไม อยางไร และไดรับความรวมมือจากญาติและผูปวยในการติดตามประเมินผลเปนอยางดี เน่ืองจากผูศึกษาซ่ึงเปนผูนํากลุม เปนผูติดตามผลเองทุกคร้ัง

ขอจํากัด มีดังน้ี 1. การศึกษาครั้งน้ีมีระยะเวลาสั้น และทํากลุมสัปดาหละ 1 คร้ัง บางสัปดาหตองงดการ

ทํากลุม เน่ืองจากไมมีสมาชิกตามเกณฑที่กําหนด บางครั้งผูศึกษาติดราชการ ไมมีนักสังคมสงเคราะหที่สามารถเปนผูนํากลุมแทนได เพราะเปนกลุมใหมที่ทําคร้ังแรกในโรงพยาบาลสวนปรุง ผูนํากลุมจะตองเปนผูที่ มีประสบการณในการทํากลุมบําบัด และการใหการปรึกษาครอบครัว นอกเหนือจากมีความรูเรื่องโรคทางจิตเวช จึงทํากลุมไดเพียง 13 คร้ังเทาน้ัน ในระยะเวลา 6 เดือน ทําใหจํานวนกลุมตัวอยางมีนอย

2. การสุมตัวอยางแบบเจาะจง ทําใหจํานวนกลุมตัวอยางมีนอย อาจจะไมสามารถเปนตัวแทนของผูปวยจิตเวชและครอบครัวได

3. ความนาเชื่อถือของแบบประเมินที่ไดจากการโครงการทดลอง เน่ืองจากกลุมใหการปรึกษาครอบครัวผูปวยจิตเวชเปนกลุมใหมที่ทําคร้ังแรกในโรงพยาบาลสวนปรุง และในโรงพยาบาลจิตเวชอ่ืนๆที่เคยทํากลุมน้ี ก็ไมมีการสรางแบบประเมินกลุมดังกลาว ผูศึกษาจึงสรางแบบติดตามประเมินผลขึ้นเอง โดยทดสอบกับผูปวยจิตเวชและญาติในโรงพยาบาลสวน

Page 16: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

16

ปรุง ที่มีลักษณะคลายคลึงกับกลุมตัวอยาง แลวนํามาปรับปรุงกอนนําไปใชจริง โดยไมไดหาคาความเชื่อม่ัน เน่ืองจากเปนขอมูลเชิงคุณภาพ สรุปผลและขอเสนอแนะ

จากผลการศึกษานี้แสดงใหเห็นวา กลุมใหการปรึกษาครอบครัวผูปวยจิตเวชเปนกลุมที่มีประโยชน สามารถนําไปใชกับผูปวยจิตเวช โดยเฉพาะกับผูปวยที่ติดสุราและมีปญหาความสัมพันธในครอบครัวได เน่ืองจากกติกาและบรรยากาศภายในกลุม ทําใหทั้งผูปวยและญาติสามารถพูดคุยถึงความรูสึกนึกคิดและความตองการของตนเองไดอยางเต็มที่ (ความวิตกกังวล ความเครียด ความรัก ความหวงใย ความคาดหวัง) และยังไดรับคําแนะนําจากสมาชิกกลุมดวยความปรารถนาดี ไมมีการตําหนิติเตียน นอกจากน้ันยังไดรูวาไมใชครอบครัวตนเองเทาน้ันที่มีปญหา แตครอบครัวของเพ่ือนสมาชิกในกลุมก็มีปญหาเชนเดียวกัน ทําใหเจาของปญหาเกิดความรูสึกที่ ดีและผอนคลาย สงผลใหเกิดการยอมรับและเขาใจกันมากขึ้น นอกเหนือจากไดแนวทางในการแกไขปญหา และการที่ทุกครอบครัวไดปฏิบัติตามที่ตกลงกันในกลุม แสดงใหเห็นวา สมาชิกในครอบครัวมีความสําคัญตอการดูแลรักษาผูปวยจิตเวช หากสมาชิกในครอบครัวสามารถรับรูและประเมินปญหาที่เกิดขึ้นไดอยางถูกตอง และสนับสนุนใหผูปวยมีสวนรวมในการแกไขปญหา มีการปรับตัวเขาหากันระหวางสมาชิกในครอบครัวกับผูปวย ก็จะทําใหความสัมพันธในครอบครัวดีขึ้น และสามารถแกไขปญหาได ซ่ึงจะสงผลใหอัตราการกลับปวยซ้ําของผูปวยจิตเวชลดลงดวย

ขอเสนอแนะเพ่ือการปฏิบัติ 1. ควรมีการทํากลุมใหการปรึกษาครอบครัวในโรงพยาบาลจิตเวชทุกแหง โดยเฉพาะกับผูปวยที่มีปญหาความสัมพันธในครอบครัวและผูปวยที่ติดสุรา 2. นักสังคมสงเคราะหจิตเวช ควรฝกฝนทักษะในการทํากลุมใหการปรึกษาครอบครัวผูปวยจิตเวช เพ่ือใหสามารถเปนผูนํากลุมได ขอเสนอแนะเพ่ือการวิจัย 1. ควรมีการทําวิจัย โดยการติดตามประเมินผลอยางตอเน่ืองอยางนอย 1 ป เพ่ือศึกษาผลของการทํากลุมใหการปรึกษาครอบครัวผูปวยจิตเวช 2. ควรทําการวิจัยก่ึงทดลอง เรื่องกลุมใหการปรึกษาครอบครัวผูปวยที่ติดสุรา โดยมีการเปรียบเทียบกับกลุมควบคุมดวย และติดตามประเมินผลอยางตอเน่ืองอยางนอย 1 ป เอกสารอางอิง กรมสุขภาพจิต. (2541). เทคโนโลยีการดูแลญาติผูปวยจิตเภท, พิมพคร้ังที่ 1 นนทบุรี :

สํานักพัฒนาสุขภาพจิต.

Page 17: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

17

จารุวรรณ ต.สกุล. (2524). ปจจัยผลักดันใหผูปวยจิตเวชกลับมารักษาซ้ําในโรงพยาบาล. วิทยานิพนธมหาบัณฑิต คณะสังคมสงเคราะหศาสตร , บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

ชุลีพร ชูวงศ. (2545). ปจจัยที่มีอิทธิพลตอพฤติกรรมการสื่อสารของผูปวยโรคจิตเภทและสมาชิกในครอบครัว ที่มารับบริการที่แผนกผูปวยใน โรงพยาบาลสวนสราญรมย จังหวัดสุราษฎรธานี.

พิริยาภรณ เชื้อหมอ. (2550). พฤติกรรมการส่ือสารในครอบครัวตามการรับรูของผูปวยจิตเวชที่กลับเปนซ้ําในโรงพยาบาลสวนปรุง. วารสารสวนปรุง, ปที่ 22 (2) : 11-18

มานิต ศรีสุภานนท และจําลอง ดิษยวณิช. (2542). ตําราจิตเวชศาสตร. พิมพคร้ังที่ 1. เชียงใหม : แสงศิลป .

ยาใจ สิทธิมงคล. (2538). พยาบาลกับการมีสวนรวมสนับสนุนการมีสวนรวมของครอบครัว. วิทยานิพนธมหาบัณฑิต ภาควิชาสังคมวิทยา, จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

รัชดาภรรณ กาวีวงค หรรษา เศรษฐบุปผา และสมบัติ สกุลพรรณ. (2550). ความชุกในการเสพสุราของวัยรุนและพฤติกรรมการส่ือสารในครอบครัวตามการรับรูของวัยรุนที่เสพสุรา ในเขตก่ิงอําเภอแมออน จังหวัดเชียงใหม. วารสารสวนปรุง, ปที่ 22 (2) : 21

ละเอียด รอดจันทร วัชราภรณ อุทโยภาศ และจันทรเพ็ญ สุทธิชัยโชติ. (2542). ปจจัยที่สัมพันธกับการมารักษาซ้ําของผูปวยจิตเวชในโรงพยาบาลสมเด็จเจาพระยา. กรุงเทพฯ : โรงพยาบาลสมเด็จเจาพระยา.

สมพงษ ธนปญญา. (2540). ประมวลประเด็น แนวคิดเสริมสรางความสัมพันธในครอบครัว. สถาบันครอบครัวมุมมองของนักสวัสดิการสังคม. กรุงเทพฯ: สมาคมนักสังคมสงเคราะห.

สมรัก ชูวานิชวงศ. (2541). คูมือการอบรมสุขภาพจิตศึกษาแบบกลุมสําหรับญาติและครอบครัวผูปวยจิตเภทโรงพยาบาลศรีธัญญา. นนทบุรี : โรงพยาบาลศรีธัญญา.

สถิต วงศสุรประกิต. (2542). ความตองการการดูแลที่บานของครอบครัวผูปวยจิตเภท. วิทยานิพนธปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวช, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม.

Antonovsky, A. (1987). Unraveling the mystery of health : How people manage stress and stay well. San Francisco : Jossey Bass.

Komro, K.A. (2002). Strategies to prevent underage drinking. Retrieved June 8. 2005. from http:// www.looksmart. com.

Page 18: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

18

การปรับลดพฤติกรรมการด่ืมสุราของวัยรุน โดยการสรางเสริมภูมิคุมกันอยางมีสวนรวมของชมุชน

ไพรัตน อนอินทร * ดร.ธวัช บุณยมณี**

ดร.ณรงคศักด์ิ หนูสอน*** ดร.อัมพวรรณ ศรีวิไล****

บทคัดยอ

การวิจัยน้ีมีวัตถุประสงคเพ่ือศึกษากระบวนการและผลลัพธของการปรับลดพฤติกรรมการด่ืมสุราที่เปนปญหาตอสุขภาพของวัยรุนโดยการสรางเสริมภูมิคุมกันในวัยรุนอยางมีสวนรวมของชุมชน ดําเนินการโดยประยุกตระเบียบวิธีการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีสวนรวม ดวยกระบวนการแกปญหาชุมชนแบบมีสวนรวมดวยวิธีธรรมชาติ 5 ขั้นตอน ไดแก 1) การเตรียมชุมชน 2) การศึกษาบริบทชุมชนและสภาพปญหาการด่ืมสุราของวัยรุน 3) การวางแผนอยางมีสวนรวม 4) การนําแผนลงสูการปฏิบัติ 5) การติดตามและประเมินผล เลือกพ้ืนที่วิจัยตําบลแบบเฉพาะเจาะจง คือ ตําบลไทรยอย อําเภอเนินมะปราง จังหวัดพิษณุโลก กลุมตัวอยาง ไดแก วัยรุน ประชาชน และสมาชิกองคกรทั้งที่เปนทางการและไมเปนทางการในชุมชน เก็บรวบรวมขอมูลทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ เคร่ืองมือที่ใช ไดแก แบบสอบถาม การสังเกตแบบมีสวนรวมและไมมีสวนรวม การสัมภาษณเจาะลึก การสนทนากลุม การอภิปรายกลุม แบบบันทึกการประชุมสัมมนา

ผลการวิ จัยพบวา การเตรียมชุมชน ชุมชนสามารถเขาใจวัตถุประสงคและกระบวนการวิจัยไปในแนวทางเดียวกัน และสามารถสรรหาแกนนําในชุมชนมารวมเปนทีมวิจัยในพ้ืนที่ ไดจํานวน 50 คน การศึกษาบริบทชุมชนและสภาพปญหาการด่ืมสุราของวัยรุน ในชุมชนมีรานคาที่จําหนายสุรารอยละ 91.8 มีรานที่เปนตัวแทนจําหนายสุรา ทําใหการกระจายสุราลงสูพ้ืนที่เปนไปอยางสะดวกและตอเน่ือง บางรานคาไมปฏิบัติตามกฎหมาย ปญหาการด่ืมสุราของกลุมวัยรุนมีปจจัยที่สําคัญ ไดแก เพ่ือนชักชวน รูสึกวาตนเองผิดหวัง มีการรับรูความสามารถแหงตนในการ *นิสิตปริญญาเอก สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก **ผูชวยศาสตราจารยพิเศษ อาจารยประจําวิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร พิษณุโลก ***ผูชวยศาสตราจารย อาจารยประจําคณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร พิษณุโลก ****ผูชวยศาสตราจารยอาจารยประจําคณะเภสัชศาสาตร มหาวิทยาลัยนเรศวร พิษณุโลก

Page 19: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

19

ปฏิเสธสุราระดับต่ํามีความสามารถในการควบคุมตนเองระดับต่ํา มีความคาดหวังจากการด่ืมสุราเชิงบวกสูง โอกาสท่ีด่ืมมาก คือ ในชวงวันหยุด ชนิดของสุรา ไดแก เบียร เหลาขาวผสมนํ้าอัดลม ผลกระทบ ไดแก การทะเลาะวิวาท การทะเลาะเบาะแวงในครอบครัว เสียงดังจากการขับขี่รถจักรยานยนต มีเพศสัมพันธที่ไมปลอดภัย ขาดสมาธิในการเรียน ถูกโรงเรียนลงโทษ การวางแผนอยางมีสวนรวม ไดจากการระดมสมองตามมุมมองของทีมวิจัยพ้ืนที่ มีการแสวงหากิจกรรมที่มีความเปนไปได สามารถดําเนินการไดโดยชุมชนเอง อาศัยทรัพยากรที่มีอยูในชุมชน มีการกําหนดผูรับผิดชอบหลัก การนําแผนลงสูการปฏิบัติ มีกิจกรรมที่มุงเนน 2 ประเด็นหลัก คือ การเสริมสรางภูมิปญญาภายในตัวบุคคล และการปรับเปลี่ยนสภาพแวดลอม มีทั้งสิ้น 11 กิจกรรม สามารถจัดไดแลวเสร็จสมบูรณทั้งหมด การติดตาม และประเมินผล วัยรุนมีการรับรูความสามารถแหงตนในการปฏิเสธการด่ืมสุราและความสามารถในการควบคุมตนเองในการดื่มสุราเพ่ิมขึ้นในระดับมาก มีความคาดหวังทางบวกจากการด่ืมสุราลดลงในระดับมาก พฤติกรรมการด่ืมสุรามีแนวโนมลดลง ทีมวิจัยในพื้นที่สามารถขับเคลื่อนการดําเนินการทุกขั้นตอน มีการเรียนรูกระบวนการแกปญหาอยางเปนระบบ ผลกระทบทางลบที่เกิดขึ้นในชุมชนลดลง ชุมชนมีความพึงพอใจและใหความสนใจมาก

กระบวนการน้ี สามารถใชเปนแนวทางในการปองกันและแกปญหาการด่ืมสุราที่เปนปญหาตอสุขภาพของกลุมวัยรุนไดอยางสอดคลองกับบริบทของชุมชน รวมทั้ง สามารถนําองคความรูจากการสรุปบทเรียนการวิจัยน้ี เปนแนวทางเพื่อประยุกตใชในชุมชนอ่ืนที่มีบริบทคลายคลึงกันได คําสําคัญ : การด่ืมสุรา, วัยรุน, การสรางเสริมภูมิคุมกัน , ชุมชน

Reducing Alcohol Consumption Behavior by Community Participation

and Cognitive Building Program Among Adolescent Drinkers.

Abstract The purpose of this study was to explore process and outcome of the

reducing alcohol consumption behavior affecting health by community participation and cognitive building program among adolescent drinkers. This study applied participatory action research. The data collecting applied both of qualitative method and quantitative method in five stages as following; first, preparing community; second, community situation analysis; third, participatory planning; fourth, implementation those plans; finally, monitoring and evaluation. Tambon Saiyoi, Amphor Nunmapang, Pitsanulok province was purposively selected. Participants were adolescent, adult, member of Government Officers and Non- Government Officers in community. The data collection

Page 20: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

20

employed questionnaires, participatory and non-participatory observation, in-dept interview, focus group discussion, group discussion and seminar recording.

The findings of the study were as follows; people could clearly understand overall the objectives and methods of this study and recruited 50 leaders acting as field research team who involved in the process. Community situation included 91.8 % of stores selling alcoholic drink that could distribute alcoholic bottle products persistently and extensively. Actually it appeared that some of those stores violated against public law by allow youngster to access to alcoholic drink. Main factors that enhanced alcohol drinking behavior among adolescent including their peer induction, disappointment, low self cognitive perception, low self control ability and high positive expectation of drinking. Chance to drink has been happened during vacations. Type of alcohol were such as beer, alcohol mixed juice. Impact of alcohol were such as conflict and fighting, motorcycle noise disturbance, family violence, unsafe sex and causing school punishment. Field research team participated in brain storm and sought the appropriate activities which they could operate by themselves under community resource and defined responsible persons. Implementation of those plans in 2 principles including to built self cognitive and to developed and adjusted environment including 11 activities had been successfully managed. Adolescent had self efficacy and self control related to drinking at good level, decrease in both self positive expectation with alcohol and alcohol drinking behavior. Field research team could prop overall activities and performed systemic approach in learning and problem solving. All negative impact in community also lessened. Community members experienced much more satisfaction and enthusiasm.

The findings of this study could be applicable to other similar situations as prevented alcohol consumption behavior affecting health among the youth in accordance to community. Key words : Alcohol, Adolescent, Cognitive Building Program บทนํา

สุราหรือเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอลเปนสาเหตุของปญหานานัปการ ซ่ึงนับวันปญหาจะซับซอนและทวีความรุนแรงเพ่ิมมากขึ้น แมวาการด่ืมสุราในปริมาณนอยแตพอเหมาะ จะเปนประโยชน นํามาซ่ึงความหฤหรรษ และมีคานิยมวาเปนสวนหนึ่งของการเขาสังคม แตการด่ืมสุราสวนมากไดสงผลกระทบทางลบตอสุขภาพอยางมากมาย กลาวคือ โดยภาพรวมไดสงผลกระทบตอปญหาสุขภาพและสังคมโลกอยางรุนแรง ดังรายงานขององคการอนามัยโลก พบวา

Page 21: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

21

ภาระโรคของประชากรโลกทั้งหมด (จากการตายกอนวัยอันควรและการสูญเสียจากความพิการทุพพลภาพ) การด่ืมสุรา มีอัตราสูงเปนอันดับที่ 5 (รอยละ 4) จากความเสี่ยงทั้งหมด 26 ชนิด

(World health organization, 2002) นอกจากน้ี การด่ืมจนเกินพอดี ทําใหขาดความรับผิดชอบทั้งตอตัวเองและผูอ่ืน ทําใหเกิดผลกระทบตอสุขภาวะ ทั้งดานมิติของสุขภาพทางกาย จิตใจ และสังคม

จากรายงานสถานการณด่ืมสุราเม่ือป พ.ศ.2544 (ค.ศ.2001) พบวา ประชาชนไทยด่ืมสุรารวมทุกประเภทเปนอันดับที่ 40 ของโลก (World health organization, 2002) และมีแนวโนมด่ืมสุราเพ่ิมสูงขึ้นอยางรวดเร็ว สภาพปญหาที่สําคัญประการหน่ึง ไดแก พฤติกรรมการด่ืมสุราของวัยรุนในปริมาณที่มากเกินไป ดังผลการสํารวจของ สํานักงานสถิติแหงชาติ (สํานักงานสถิติแหงชาติ, 2548) พบวา คนไทยอายุ 11 ปขึ้นไป ด่ืมสุราจํานวน 18.61 ลานคน คิดเปนรอยละ 35.46 ของประชากรกลุมอายุน้ี นอกจากน้ี ชายอายุระหวาง 15-29 ป เปนกลุมที่มีการด่ืมสุราที่เสี่ยงอันตรายสูงกวาเพศชายกลุมอายุอ่ืนๆ และด่ืมอยางหนักในครั้งเดียว การด่ืมสุราของวัยรุนซึ่งเปนชวงวัยที่ยังไมมีวุฒิภาวะนี้ สวนมากจะไมสามารถควบคุมตนเองได จึงสงผลกระทบตอปญหาสุขภาพทั้งตอตนเองและคนรอบขางคือ เปนตนเหตุทําใหเกิดการเจ็บปวย การบาดเจ็บ อุบัติเหตุ การทะเลาะวิวาท และการมีเพศสัมพันธโดยไมปองกัน ซ่ึงนับวาเปนสถานการณที่นาเปนหวงอยางยิ่ง (สาวิตรี อัษณางคกรชัย, 2548) กลุมวัยรุนที่ด่ืมสุราเปนประจํายังสามารถทําใหติดได เด็กที่เร่ิมด่ืมสุรากอนอายุ 13 ป มีโอกาสติดสุราไปจนโต แตในทางตรงกันขามหากเริ่มด่ืมเม่ืออายุ 21 ปขึ้นไป ความเสี่ยงตอการเกิดปญหาจากการด่ืมสุราในลักษณะตางๆ จะสามารถลดลงได ถึงรอยละ 70 (ชนิกา ตูจินดา, 2547) จากสภาพปญหาดังกลาว ผูวิจัยจึงสนใจที่จะพัฒนารูปแบบที่เหมาะสมในการแกปญหาพฤติกรรมด่ืมสุราที่เปนปญหาตอสุขภาพของวัยรุน ภายใตกรอบทฤษฎีการเรียนรูทางปญญาสังคม (Social Cognitive Theory) ของแบนดูรา (Bandura, 1986) ที่มุงปรับพฤติกรรมภายในบุคคลใหมีการรับรูประสิทธิผลแหงตน (Self-efficacy) และมีความสามารถในการควบคุมตนเอง (Self-control) ตอการด่ืมสุราที่เปนปญหาตอสุขภาพของวัยรุน รวมถึงแนวคิดการมีสวนรวม ที่มุงเนนความรวมมือจากทุกภาคสวนในชุมชน ไดแก ผูนําชุมชน กลุมอาสาสมัครสาธารณสุข สมาชิกองคการบริหารสวนตําบล พระภิกษุ ครู เจาหนาที่สาธารณสุข วัยรุน และผูปกครอง ซ่ึงถือวาอยูใกลชิดกับปญหา โดยใหกลุมบุคคลเหลาน้ีมีบทบาทในฐานะเปนทีมวิจัยและดําเนินการทุกขั้นตอน เพ่ือประโยชนในการสะทอนปญหาอยางถูกตอง สามารถกําหนดแนวทางที่เหมาะสม และมีความเปนไปไดที่จะปฏิบัติในชุมชนของเขาเองมากที่สุด วัตถุประสงคของการวิจัย 1. วัตถุประสงคทั่วไป เพ่ือศึกษากระบวนการและผลลัพธของการปรับลดพฤติกรรมการด่ืมสุราที่เปนปญหาตอสุขภาพของวัยรุนโดยการสรางเสริมภูมิคุมกันในวัยรุนอยางมีสวนรวมของชุมชน

Page 22: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

22

2. วัตถุประสงคเฉพาะ 1) เพ่ือศึกษาสถานการณ พฤติกรรมด่ืมสุราที่เปนปญหาตอสุขภาพของวัยรุน 2) เพ่ือศึกษาปจจัยและเง่ือนไขบางประการที่เก่ียวของกับพฤติกรรมด่ืมสุราที่เปน

ปญหาตอสุขภาพของวัยรุน 3) เพ่ือแสวงหาและเลือกสรร แนวทางการสรางเสริมภูมิคุมกันในวัยรุนอยางมีสวน

รวมของชุมชน ในการปรับลดพฤติกรรมด่ืมสุราที่เปนปญหาตอสุขภาพของวัยรุน 4) เพ่ือดําเนินการสรางเสริมภูมิคุมกันในวัยรุนอยางมีสวนรวมของชุมชน ในการ

ปรับลดพฤติกรรมด่ืมสุราที่เปนปญหาตอสุขภาพของวัยรุน 5) เพ่ือศึกษาผลของการสรางเสริมภูมิคุมกันในวัยรุนอยางมีสวนรวมของชุมชน โดย

กระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการอยางมีสวนรวม ในการปรับลดพฤติกรรมด่ืมสุราที่เปนปญหาตอสุขภาพของวัยรุน ขอบเขตของการวิจัย การวิจัยคร้ังน้ี ใชการประยุกตรูปแบบแนวคิดกระบวนการพัฒนาชุมชนแบบมีสวนรวมดวยวิธีธรรมชาติ (Natural Approach to Participatory Development : NAPD)

รูปแบบการวิจัย

การวิจัยครั้งน้ี ประยุกตตามแนวคิดกระบวนการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) โดยดําเนินการตามแนวคิดของระเบียบวิธี การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีสวนรวม (Participatory Action Research : PAR) พ้ืนที่วิจัย เลือกพ้ืนที่วิจัยแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive Sampling) คือ ตําบลไทรยอย อําเภอเนินมะปราง จังหวัดพิษณุโลก ดวยเหตุผลดังน้ี เปนพ้ืนที่ที่ผูวิจัยปฏิบัติงานอยู มีแนวโนมการด่ืมสุราของวัยรุนขยายวงกวางขึ้น มีความพรอมและประสบการณเก่ียวกับการมีสวนรวมในการพัฒนาและแกปญหาดานตาง ๆ ในชุมชน มีขนบประเพณีคลายคลึงกัน การคมนาคมสะดวก และมีความปลอดภัย

กลุมตัวอยาง คัดเลือกกลุมตัวอยางแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive Sampling) จํานวน 50 คน เขารวมทีมวิจัยในพื้นที่ พิจารณาจากผูที่มีสวนเกี่ยวของในตําบล ซ่ึงทราบสถานการณในพ้ืนที่เปนอยางดี สามารถใหขอมูลที่สําคัญได และเปนบุคคลที่เคยมีประสบการณเก่ียวกับการพัฒนาชุมชนแบบมีสวนรวมการจัดทําแผนแมบทชุมชน เปนผูขับเคลื่อนหลักในการพัฒนาเปนหมูบานเขมแข็ง ดังน้ี 1. ตัวแทนวัยรุน คือ วัยรุนที่สนใจการมีสวนรวมเพ่ือแกปญหาการด่ืมสุราในชุมชน

Page 23: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

23

2. ตัวแทนประชาชน คือ ผูที่มีประสบการณเก่ียวกับการมีสวนรวมแกปญหาในชุมชน 3. สมาชิกองคกรไมเปนทางการ ไดแก อสม. กลุมแมบาน กลุมเยาวชน กลุมวัยรุน ฯลฯ 4. ผูนําไมเปนทางการ ไดแก ผูนําตามธรรมชาติ พระภิกษุ ผูสูงอายุ ฯลฯ 5. สมาชิกองคกรเปนทางการ ไดแก อบต. กํานัน ผูใหญบาน ฯลฯ 6. บุคลากรของรัฐในชุมชน ไดแก เจาหนาที่สาธารณสุข ครู เจาหนาที่ตํารวจ ฯลฯ

เครื่องมือที่ใชในการวิจัย 1. การศึกษาขอมูลเชิงปริมาณ

1.1 แบบสอบถาม ในวัยรุน โดยผูวิจัยรวมกับทีมวิจัยพ้ืนที่สรางขึ้นเอง มุงเนนขอคําถามเกี่ยวกับประเด็นที่เก่ียวของกับปจจัยและเงื่อนไขที่เก่ียวของกับการด่ืมสุราที่เหมาะสมกับบริบทของวัยรุนตําบลไทรยอย เพ่ือทราบสถานการณ ความรุนแรง เก่ียวกับปจจัยและเง่ือนไขบางประการที่สงผลตอพฤติกรรมการด่ืมสุราที่เปนปญหาตอสุขภาพในวัยรุน แบงเปน 3 สวน ไดแก ขอมูลสวนบุคคลทั่วไป ขอมูลภูมิคุมกันดานการด่ืมสุราในตนเองของวัยรุน และขอมูลพฤติกรรมการด่ืมสุราที่เปนปญหาตอสุขภาพของวัยรุน

2. การศึกษาขอมูลเชิงคุณภาพ 2.1 การสังเกตแบบมีสวนรวมและไมมีสวนรวม เก่ียวกับบริบทของชุมชน เก่ียวกับวิถีชีวิตทั่วไป และวิถีที่มีความเก่ียวของพฤติกรรมการด่ืมสุรา ของคนทั่วไปและกลุมวัยรุน 2.2 การสัมภาษณเจาะลึก ในกลุมผูนําหมูบาน ผูสูงอายุ ผูนําทางคุณวุฒิ พระภิกษุ แกนนํากลุมวัยรุน ผูปกครอง เพ่ือนบานที่อยูใกลชิด และเพื่อนของวัยรุน เพ่ือรวบรวมขอมูลดานคานิยมของชุมชน ความเปนอยู การดําเนินชีวิตประจําวัน และพฤติกรรมการด่ืมสุรา 2.3 การสนทนากลุม ในกลุมผูมีบทบาทเปนผูนําหมูบาน อาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน ตัวแทนแมบาน แกนนําวัยรุน องคกรรัฐในพื้นที่ ผูนําตามธรรมชาติ 2.4 การอภิปรายกลุมอยางไมเปนทางการ ระหวางผูวิจัยและทีมวิจัยในพื้นที่

2.5 แบบบันทึกการประชุมสัมมนา ในระหวางที่มีการจัดเวทีถอดประสบการณ รวมกับทีมวิจัยในพื้นที่และชุมชน เพ่ือบันทึกขอมูลเก่ียวกับความเหมาะสมของรายละเอียดกิจกรรม ปญหาอุปสรรคระหวางดําเนินการ ทบทวนผลการดําเนินกิจกรรมที่ผานมาเม่ือส้ินสุดในแตละกิจกรรมยอย และแนวทางการจัดการตอไป

2.6 การสังเกตแบบมีสวนรวมและไมมีสวนรวม ในการประเมินผลโครงการวิจัย เพ่ือรวบรวมขอมูลเก่ียวกับพฤติกรรมการด่ืมสุราของวัยรุนและเหตุผลเชิงลึก และการเปลี่ยนแปลงบริบทของชุมชน

Page 24: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

24

การวิเคราะหขอมูล 1. ขอมูลเชิงปริมาณ วิเคราะหโดยใชสถิติเชิงพรรณนา ไดแก รอยละ คาเฉลี่ย และ

Pair t– test เปรียบเทียบความแตกตางกอนและหลังเขารวมกิจกรรม 2. ขอมูลเชิ งคุณภาพ วิ เคราะห เชิง เ น้ือหาโดยการจําแนกประเภทขอมูล

(Typological Analysis) และการสรางขอสรุปแบบสรุปอุปนัย (Analytic induction) วิธีดําเนินการวิจัย 1. การเตรียมชุมชน

1.1 การแนะนําตัวในชุมชน (Introduction) ทั้งแบบเปนทางการและไมเปนทางการ ในนามผูวิจัยและเปนเจาหนาที่สาธารณสุขศูนยสุขภาพชุมชนในพื้นที่

1.2 การสรางความสัมพันธ (Rapport) เพ่ือใหเกิดความสนิทสนม จริงใจ และไววางใจซึ่งกันและกันระหวางผูวิจัยกับกลุมตัวอยาง และระหวางสมาชิกของทีมวิจัยในพื้นที่

1.3 การสรางทีมวิจัยในพื้นที่ เพ่ือใหเปนกลุมแกนนําในการขับเคลื่อนจํานวน 50 คน 2. การศึกษาบริบทชุมชนและสภาพปญหาการดื่มสุราของวัยรุน

เพ่ือรวบรวมขอมูล เก่ียวกับประวัติความเปนมา ลักษณะทางกายภาพ ความเปนอยู การคมนาคม วัฒนธรรม ประเพณี การเมืองการปกครอง การศึกษา การสาธารณสุข แหลงขอมูลขาวสาร รานคา ขอคนพบอ่ืนๆ ที่ เ ก่ียวของกับชุมชน รวมทั้งสถานการณการด่ืมสุราของกลุมวัยรุน แนวโนมการขยายตัวของปญหา ประสบการณเก่ียวกับผลกระทบตอสุขภาพ/ครอบครัว/ชุมชน การบังคับใชกฎหมายหรือมาตรการในชุมชน เพ่ือการปองกัน/ลด/ละ/เลิกด่ืมสุราในกลุมประชาชนทั่วไปและวัยรุน 3. การวางแผนอยางมีสวนรวม ดําเนินการโดยประยุกตแนวคิดกระบวนการพัฒนาและแกปญหาชุมชนแบบมีสวนรวมดวยวิธีธรรมชาติ (Natural Approach to Participatory Development : NAPD ) และการวิเคราะหชุมชนแบบมีสวนรวม (Participatory Rural Appraisal : PRA) ภายใตแนวคิดที่ตกลงรวมกันของทีมวิจัยในพื้นที่คือ เปนโครงการและกิจกรรมที่สามารถทําไดจริงตามความเหมาะสมบริบทของชุมชน และกําหนดเปนแผนที่เรียบงาย ใชภาษาที่เขาใจงาย ดําเนินการไมสลับซับซอน ไมเปนแผนอยางทางราชการ มีการกําหนดตัวชี้วัดที่มุงเนนใหทีมวิจัยในพื้นที่สามารถประเมินได ตามวิถีของชุมชน 4. การนําแผนลงสูการปฏิบัติ นํากิจกรรมตางๆ ที่ชุมชนมีสวนรวมระดมความคิดไปปฏิบัติตามแผน โดยทีมวิจัยในพื้นที่เปนผูมีบทบาทหลักในการเปนแกนนําจัดกิจกรรมการสรางเสริมภูมิคุมกันในวัยรุน เนนการดําเนินงานโดยใชเทคนิคการเรียนรู เพ่ือสรางเสริมภูมิคุมกันและมีสวนรวมตามความเหมาะสมของแตละกิจกรรม ไดแก แนวคิดกระบวนการกลุม (Group Process) การจัดการความรู (Knowledge Management) และการเรียนรูแบบมีสวนรวม (Participatory

Page 25: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

25

Learning) ในการรวมขับเคลื่อนกิจกรรม มีผูวิจัยทําหนาที่เปนผูประสานและอํานวยความสะดวก (Facilitator) อยางใกลชิดทุกกิจกรรมที่กําหนดขึ้น 5. การติดตามและประเมินผล ผูวิจัยและทีมวิจัยในพื้นที่ ไดรวมจัดตั้งทีมงานประเมินผลกิจกรรมตางๆ เพ่ือประเมินผลภาพรวมหลังจากที่มีการดําเนินการปรับลดพฤติกรรมการด่ืมสุราที่เปนปญหาตอสุขภาพวัยรุนดวยกิจกรรมการสรางเสริมภูมิคุมกันในวัยรุนอยางมีสวนรวมของชุมชน โดยมีแนวทางการประเมินผลการดําเนินโครงการวิจัยใน 2 มุมมอง คือ มุมมองของนักวิจัย และมุมมองของทีมวิจัยในพื้นที่และสมาชิกอ่ืนๆ ในชุมชนที่มีสวนเกี่ยวของ รวมทั้ง มีการติดตามความคงอยูของพฤติกรรมเปาหมายเก่ียวกับการด่ืมสุราของวัยรุน มีการจัดเวทีถอดประสบการณหลังจากสิ้นสุดการปฏิบัติงานตามแผนเรียบรอยแลว ผลการวิจัย 1. ผลการเตรียมชุมชน 1.1 การแนะนําตัว เปนกระบวนการที่สําคัญ เน่ืองจากตองอยูในพ้ืนที่เปนเวลานาน และตองพบปะกับชุมชนอยางตอเน่ืองเปนเรื่องสําคัญ ดังน้ัน การบอกบทบาทของผูวิจัยที่เขามาอยูในพ้ืนที่ เพ่ือใหชุมชนเขาใจในแนวทางเดียวกัน คือ ผูวิจัยอยูในบทบาทเจาหนาที่สาธารณสุขประจําสถานีอนามัย และผูวิจัยไดดําเนินการตามแนวทางการแนะนําตัวอยางทั่วถึงในทุกกลุมที่มีสวนเกี่ยวของ

1.2 ในดานของความสัมพันธระหวางสมาชิกของทีมวิจัยในพื้นที่ พบวา ถึงแมตามสถานภาพทางสังคมของแตละคนในชุมชนจะแตกตางกัน แตเม่ือไดมีการแลกเปลี่ยนเรียนรูจนเกิดทัศนคติตอโครงการวิจัยอยางเขาใจชัดเจนและมีเปาหมายเดียวกันแลว ทุกคนตางมีความเปนกันเอง เสมอภาค เปนมิตรที่ดีตอกัน ไมมีความขัดแยงสวนตัว แกนนําอาศัยอยูในชุมชนไมนอยกวา 20 ป มีประสบการณการดําเนินงานโครงการพัฒนาตางๆ ที่ผานมารวมกัน เปนชุมชนที่มีความเขมแข็ง แกนนําเปนผูที่ไมด่ืมสุรา และเปนที่นับถือ/เคารพ/เกรงใจของชาวบานทั่วไป ชุมชนมีแนวคิดชัดเจนที่ตองการแกปญหาเร่ืองพฤติกรรมการด่ืมสุราของวัยรุน ซ่ึงตระหนักวาเปนปญหาที่ขยายความรุนแรงขึ้นเรื่อยๆ ในพ้ืนที่ และมีแนวคิดที่จะปรับเปลี่ยนและหาสิ่งทดแทนใหวัยรุนเขามามีสวนรวมในกิจกรรมพัฒนาของตําบล มีการจัดกิจกรรมที่สอดคลองกับความตองการเพื่อหลีกเลี่ยงพฤติกรรมที่ไมเหมาะสมของวัยรุน จึงถือไดวาเหมาะสมอยางยิ่งที่ดําเนินการตามรูปแบบของการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีสวนรวม

1.3 การสรรหาแกนนําในชุมชนมารวมเปนทีมวิจัยในพื้นที่ ไดแกนนํา จํานวน 50 คน ซ่ึงประกอบดวยภาคีจากหลากหลายภาคสวน โดยเฉพาะภาคีในชุมชน เปนผูมีความรูความเขาใจดานการเก็บรวบรวมขอมูล มีทักษะดานการอาน การเขียน และการเปนวิทยากรกลุม เปนอยางดี

Page 26: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

26

2. ผลการศึกษาบริบทชุมชนและสภาพปญหาการดื่มสุราของวัยรุน ชุมชนที่ศึกษา มีลักษณะความสัมพันธระหวางกันเปนเครือญาติ ชาวบานทุก

หมูบานรูจักกันคอนขางดี มีประเพณีวัฒนธรรมคลายคลึงกัน ลักษณะการตั้งบานเรือนสวนมากอยูกันเปนกลุมบาน หากมีการจัดกิจกรรมในชุมชนก็จะสามารถติดตอส่ือสาร เดินทางไปมาหาสูกันไดอยางสะดวก มีรานคาที่จําหนายสุรา 56 ราน (รอยละ 91.8) และมีรานที่เปนตัวแทนจําหนายสุราใหทุกหมูบานอยูในตําบลน้ีดวย สงผลใหการกระจายสุราลงสูพ้ืนที่เปนไปอยางสะดวกและตอเน่ือง รานคาเองก็ไมปฏิบัติตามกฎหมาย และรูปแบบการด่ืมสุราของชาวบานสวนใหญมักเปนเวลาหลังเลิกงาน รวมตัวกันเปนกลุม สวนปริมาณการด่ืมพบมากในชวงเทศกาลตางๆ เชน ปใหม สงกรานต ลอยกระทง และประเพณีของชุมชน ชนิดของสุราที่พบมาก เชน เบียร สุราขาว สภาพปญหาการด่ืมสุราของกลุมวัยรุน พบวา มีพฤติกรรมการด่ืมสุรารอยละ 41.8 การด่ืมในปริมาณที่มากในเกณฑที่เปนปญหาตอสุขภาพรอยละ 43.8 สวนใหญเปนเพศชาย ปจจัยสําคัญที่สัมพันธกับการด่ืมสุรา ไดแก เพ่ือนชักชวน รูสึกวาตนเองผิดหวัง มีการรับรูความสามารถแหงตนในการปฏิเสธสุราระดับต่ํา มีความสามารถในการควบคุมตนเองระดับต่ํา สวนกลุมที่มีความคาดหวังจากการด่ืมสุราเชิงบวกสูงมีความสัมพันธทางบวกกับการด่ืมสุราที่เปนปญหาตอสุขภาพ โอกาสที่ด่ืมมากคือ ในชวงวันหยุด ชนิดของสุราไดแก เบียร เหลาขาวผสมนํ้าอัดลมสีแดง ผลกระทบที่พบมากที่สุด ไดแก การทะเลาะวิวาท การทะเลาะเบาะแวงในครอบครัว เสียงดังจากการขับขี่รถจักรยานยนต มีเพศสัมพันธที่ไมปลอดภัย ขาดสมาธิในการเรียน ถูกโรงเรียนลงโทษ

3. ผลการวางแผนอยางมีสวนรวม กิจกรรมการสรางภูมิคุมกันซึ่งถือเปนการสรางเสริมปญญาตามขอบขายเชิง

จิตวิทยาในวัยรุน เพ่ือลดการด่ืมสุราที่เปนปญหาตอสุขภาพ จากการระดมสมองตามมุมมองของทีมวิจัยพ้ืนที่ พบวากิจกรรมที่เกิดขึ้นเปนแบบองครวม หมายถึง ทีมวิจัยในพื้นที่มีการพิจารณาปจจัยตางๆ ที่เก่ียวของกับการแสดงออกของพฤติกรรมบุคคล โดยสรางความตระหนักใหเกิดปญญาภายในตัวบุคคล โดยจัดกิจกรรมที่สอดคลองตามความตองการ สรางแรงจูงใจ สรางสวนรวมในการรับผิดชอบและการดําเนินการ เพ่ือใหเกิดความเชื่อม่ันภายในตัวบุคคล และปรับเปลี่ยนสิ่งแวดลอมที่ปองกันการเขาถึงสุราของวัยรุนควบคูไปดวย โดยการจัดกิจกรรมที่สรางสรรคทดแทนการด่ืมสุราอยางขาดความรับผิดชอบ มีการสรางความเขาใจแกผูปกครองใหรับรูและเขาใจจิตวิทยาวัยรุน เพ่ือใหเลี้ยงดูแบบยืดหยุนและยอมรับพฤติกรรมบางอยางที่ไมรุนแรงไดมากขึ้น และการสรางมาตรการในชุมชน โดยการเสริมสรางใหเกิดคานิยมเชิงบังคับ/ควบคุม ซ่ึงมาจากความเห็นชอบและการยอมรับของวัยรุนเพ่ือแลกกับการสนับสนุนทางสังคมอยางตอเน่ือง ไดแก การเฝาระวังพฤติกรรมที่มีผลกระทบตอการไดรับผลประโยชนอยางตอเน่ืองของวัยรุน และการสรางขอตกลงระดับตําบล เชน การควบคุมพฤติกรรมการด่ืมสุราที่ไมเหมาะสมและสรางความเดือดรอนใหผูอ่ืน การลงโทษทางสังคมที่กําหนดขึ้นโดยชุมชนเอง ทั้งน้ี

Page 27: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

27

ทุกขั้นตอนตองดําเนินการอยูบนฐานของความเหมาะสม ความเปนไปได ความตองการในทางที่เหมาะสมของวัยรุน การยอมรับของทุกฝายที่เก่ียวของ และบริบทของชุมชน

นอกจากนี้ ยังพบวา กิจกรรมที่คัดสรรจากทีมวิจัยในพื้นที่เปนกิจกรรมที่ สามารถดําเนินการไดโดยชุมชนเอง และสามารถดําเนินการไดโดยไมตองรอการสนับสนุนจากองคกรภายนอกตําบล ถือเปนจุดเดนที่สําคัญของผลสําเร็จในการนําแนวคิดการวิจัยเชิงปฏิบัติการอยางมีสวนรวม โดยทีมวิจัยในพื้นที่พยายามแสวงหากิจกรรมที่มีความเปนไปได อาศัยทรัพยากรที่มีอยูในชุมชนในการขับเคลื่อนการดําเนินการไดอยางตอเน่ือง มีการจัดสรรกลุมผูรับผิดชอบหลักของแตละกิจกรรมไวอยางชัดเจน คือ มีการจัดตั้งคณะทํางานอยางไมเปนทางการแตเปนพันธะสัญญาตอกันที่จะรวมรับผิดชอบ โดยการบันทึกเปนเอกสารใหเขาใจตรงกันเทาน้ัน ไมไดอิงรูปแบบของทางราชการที่ตองมีคําส่ังแตงตั้ง การมีสวนรวมในการกําหนดชวงเวลาของกิจกรรมที่เหมาะสม โดยพิจารณาจากปฏิทินชุมชนเปนหลัก เพ่ือไมใหมีผลกระทบตองานประจํา และเหมาะสําหรับกลุมเปาหมายซ่ึงสวนใหญเปนนักเรียน/นักศึกษา

4. ผลการนําแผนลงสูการปฏิบัติ ทีมวิจัยในพื้นที่ไดระดมสมอง และรวมกันกําหนดกิจกรรม 2 ประเด็นหลัก คือ

การเสริมสรางภูมิปญญาภายในตัวบุคคล เร่ิมตนจากกิจกรรมเปดใจวัยรุน ซ่ึงถือเปนเวทีที่สําคัญมาก เพราะเชื่อมโยงไปถึงรูปแบบของกิจกรรมอ่ืนๆ และการปรับเปลี่ยนสภาพแวดลอม ซ่ึงดําเนินการโดยทีมวิจัยในพื้นที่ มีการแบงหนาที่รับผิดชอบ ผูวิจัยมีบทบาทเปนเพียงผูประสานงานเพื่ออํานวยความสะดวกเทาน้ัน กิจกรรมที่ไดกําหนดไวทั้งสิ้น จํานวน 11 กิจกรรม สามารถจัดไดแลวเสร็จสมบูรณทั้งหมด การจัดกิจกรรมสวนใหญจัดขึ้นในชวงเวลาท่ีวัยรุนและชาวบานมีความพรอมมากท่ีสุด และตองไมตรงกับชวงเก็บเก่ียวผลผลิตทางการเกษตร ทีมวิจัยในพ้ืนที่ไดรวมกันพิจารณาและจัดกิจกรรมตางๆ ตามลําดับความสําคัญกอนหลัง เพ่ือใหกิจกรรมมีความเชื่อมโยงกันอยางตอเน่ือง ดังน้ี 1) การจัดเวทีเปดใจวัยรุน 2) การจัดตั้งกลุมวัยรุน 3) การจัดกิจกรรมตลาดนัดพัฒนาทักษะ ตามความถนัดของวัยรุน 4) การจัดทําขอตกลงเพ่ือควบคุมการด่ืมสุราในตําบลไทรยอย 5) การจัดระเบียบรานคาเพ่ือควบคุมการจําหนายสุรา 6) การจัดกิจกรรมสารวัตรนักเรียน และตํารวจใกลบานใกลใจในชุมชน 7) การจัดกิจกรรมเครือขายผูปกครอง ครู ดูแลศิษย 8) การจัดกิจกรรมธนาคารสะสมความดีวัยรุน 9) การจัดกีฬาวัยใสไรแอลกอฮอลและกอตั้งชมรมกีฬาเยาวชนตําบลไทรยอย 10) การจัดเวทีเขาใจวัยรุนเพ่ือครอบครัวอบอุน ในกลุมผูปกครอง 11) การจัดคายพัฒนาศักยภาพวัยรุน

5. ผลการติดตามและประเมินผล 5.1) พฤติกรรมวัยรุนที่เปลี่ยนแปลง วัยรุนสวนใหญโดยเฉพาะกลุมที่มีพฤติกรรมการด่ืมสุราในปจจุบัน มีการปรับเปลี่ยนแนวคิดและทัศนคติเก่ียวกับการด่ืมสุรา ดังนี้ วัยรุนมีการรับรูความสามารถแหงตนในการปฏิเสธการด่ืมสุราและความสามารถในการควบคุมตนเองในการดื่มสุราเพ่ิมขึ้นในระดับมาก มีความคาดหวังทางบวกจากการด่ืมสุราลดลงในระดับมาก

Page 28: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

28

จากการรวบรวมขอมูลเชิงปริมาณ เพ่ือเปรียบเทียบคะแนนการรับรู ความสามารถแหงตนในการปฏิเสธการด่ืมสุรา ความสามารถในการควบคุมตนเองในการด่ืมสุรา และความคาดหวังทางบวกจากการด่ืมสุรา กอนและหลังการดําเนินการ พบวา มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p < 0.05) สามารถสรุปไดวา วัยรุนเกิดการเรียนรู มีความเขาใจ มีความคิดวิเคราะห (Cognitive Domain) ที่ดีขึ้น มีความรูสึกยอมรับ มีความเชื่อ มีคานิยม (Affective Domain) เปลี่ยนไปจากเดิม

จากการรวบรวมขอมูลเชิงคุณภาพ ดวยเทคนิคการสัมภาษณเจาะลึกในกลุม วัยรุนเปาหมาย การสังเกตแบบมีสวนรวมและไมมีสวนรวมขณะจัดกิจกรรมในชุมชน และการรับฟงในชุมชน พบวา พฤติกรรมการดื่มสุรามีแนวโนมลดลง โดยท่ีบางสวนสามารถเลิกด่ืมสุราได บางสวนสามารถปรับลดปริมาณการด่ืมสุราไดแตยังไมสามารถเลิกด่ืมไดอยางเด็ดขาด บางสวนมีความถี่ของการด่ืมสุราลดลง บางสวนสามารถลดการด่ืมสุราในชวงเทศกาล บางสวนสามารถลดการดื่มสุราในงานมหรสพ บางสวนสามารถสามารถลดการด่ืมสุราในการเฉลิมฉลอง ตามทัศนะของทีมวิจัยในพ้ืนที่มีความคิดเห็นตรงกันวา วัยรุนเริ่มมีภูมิคุมกันการด่ืมสุราที่เปนปญหาตอสุขภาพที่เกิดขึ้นในตัวของวัยรุนเอง 5.2) ศักยภาพ ความเขมแข็ง ที่เปลี่ยนแปลงของทีมวิจัยในพื้นที่ กระบวนการมีสวนรวมในการแกปญหาชุมชนโดยวิธีธรรมชาติ ที่ผูวิจัยนํามาเปนแนวคิดการดําเนินงาน พบวา ทีมวิจัยในพ้ืนที่เกิดความเขาใจตรงกันเก่ียวกับบทบาทของตนในการขับเคล่ือนการดําเนินการทุกขั้นตอน โดยมีผูวิจัยเปนที่ปรึกษาและอํานวยความสะดวกดานวิชาการและการประสานงานเทาน้ัน การพิจารณาหรือการตัดสินใจรวมกันในเรื่องตางๆ จะตองมีขอมูลอางอิง ซ่ึงอยูบนพ้ืนฐานของเหตุผลมิใชเปนเพียงการยกมือเห็นชอบเทาน้ัน ทั้งนี้ มีปจจัยเก้ือหนุนที่สําคัญในการสงเสริมการขับเคลื่อน ไดแก ความสัมพันธที่ดีตอกันในทีม ผูนําชุมชนในสวนการปกครองและสวนการบริหารจัดสรรงบประมาณมีวิสัยทัศนที่สอดคลองกัน จึงเปนพลังสงเสริมใหความเขมแข็งของทีมงานมากย่ิงขึ้น ภาคสวนอ่ืนๆ มีความจริงจังมากขึ้น เชน พระภิกษุซ่ึงเปนที่เคารพบูชาของชาวบานไดใหความรวมมือในการดําเนินการตามขอตกลง องคกรภาครัฐที่อยูในพ้ืนที่โดยเฉพาะครูซ่ึงใกลชิดกับปญหาน้ี มีความตองการที่จะแกไขอยางจริงจัง จากการที่ไดมีสวนรวมและไดลงมือดําเนินการเอง ทําใหทีมวิจัยเกิดการเรียนรูกระบวนการแกปญหาอยางเปนระบบที่มีความนาเชื่อถือ ถูกตอง และตรงประเด็นมากกวาที่ผานมา การแกปญหามีการพิจารณาถึงสถานภาพของปญหา ปจจัยที่เก่ียวของรอบดาน การเชื่อมโยงปจจัยเปนโครงขายเพ่ือพิจารณาปจจัยหลักปจจัยรองที่มีผลตอกัน จนไดขอคนพบปจจัยที่ถือเปนรากเหงาแหงปญหาที่นํามาวางแผนแกไขไดตรงประเด็น และสามารถดําเนินการในพ้ืนที่ดวยรูปแบบตามธรรมชาติ ที่มีความเปนไปไดและเหมาะสมกับชุมชน มีการติดตามประเมินผลตลอดการดําเนินการเพ่ือใหทราบจุดแข็ง จุดออนของกิจกรรม นํามาปรับปรุง พัฒนาใหสอดคลองกับบริบทของชุมชน

Page 29: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

29

5.3) ผลกระทบท่ีเกิดขึ้นและความพึงพอใจของชุมชน กิจกรรมสวนใหญดําเนินการเพ่ือเสริมสรางความสามารถ ความเชื่อม่ัน และใหวัยรุนเห็นคุณคาของตัวเอง พบวา สามารถลดปญหาดานพฤติกรรมที่ไมพึงประสงคในกลุมวัยรุนไดอยางมาก ไดแก การด่ืมสุราของวัยรุนที่อยูในวัยเรียนลดลง ผูปกครองมีความเขาใจจิตวิทยาเพ่ิมขึ้น ชุมชนมีมาตรการที่เปนรูปธรรม มีเครือขายผูปกครอง ครู ในการเฝาระวังพฤติกรรมของวัยรุนในชุมชน มีกลวิธีเสริมสรางแรงจูงใจใหแกวัยรุนเพ่ือใหหลีกเลี่ยงการด่ืมสุรา อีกทั้ง การประเมินผลกระทบทางลบที่ลดลงอยางเห็นไดชัดไดแก จากการมารับบริการรักษาพยาบาลจากอุบัติเหตุ การถูกลงโทษตามมาตรการของโรงเรียน คดีความจากสถานีตํารวจแสดงใหเห็นวา เม่ือชุมชนใหความสนใจและใสใจกับกลุมวัยรุนอยางจริงจัง ดวยการจัดกิจกรรมเชิงสรางสรรคที่สอดคลองกับความตองการและการมีสวนรวมของกลุมผูมีสวนไดสวนเสีย ดวยรูปแบบที่ไมเปนทางการ ไมเนนลักษณะการบังคับหรือสั่งการมากเกินไป ไมแบงแยกผูที่ด่ืมสุราออกจากกลุมทั่วไปเพราะอาจทําใหผูที่ด่ืมสุราเกิดปมดอยได แมกระท่ังชื่อกิจกรรมใดๆ ก็ตามตองหลีกเลี่ยงการใชคําที่บงชี้วาเปนการปรับพฤติกรรมการด่ืมสุรา เพราะอาจจะสงผลใหวัยรุนไมยอมรับและจะไมเขารวมกิจกรรม

ดานความพึงพอใจของชุมชน พบวา การดําเนินการของโครงการมุงเนนให ชุมชนมีสวนรวมแสดงความคิด ซ่ึงเปนเรื่องที่สนองความตองการของชุมชน สงผลใหไดรับความสนใจเปนอยางยิ่ง ชุมชนมีความพึงพอใจมากโดยเฉพาะกลุมวัยรุน ผูปกครอง ผูนําศาสนา นักเรียน ครู และตํารวจในพื้นที่กิจกรรมที่ดําเนินการถือไดวาเปนการปฏิรูปเชิงสังคมใหเกิดขึ้นในชุมชนอยางมาก ทําใหเกิดการขับเคลื่อนที่เปนรูปธรรม ผลกระทบทางลบที่เกิดกับลูกหลานในชุมชนลดลง อภิปรายผล 1. การเตรียมชุมชน การแนะนําตัว เปนการเพ่ิมความเปนกันเอง ไววางใจ ยอมรับนับถือตอกันไดอยางดี ทําใหชุมชนรูสึกพอใจและยอมรับในตัวผูวิจัยมากขึ้น ซ่ึงจะเปนประโยชนในการติดตามการดําเนินงานในชุมชน รวมไปถึงการสรางความสัมพันธในชุมชนที่แนนแฟน จะทําใหกลุมบุคคลตางๆ ในชุมชนมีความไวเน้ือเชื่อใจกันอยางดี เกิดผลดีตอการดําเนินกิจกรรมรวมกัน ไมมีการแสดงออกในลักษณะที่เปนการตอตานแนวทางดําเนินงาน อีกทั้งการสรรหาแกนนําในชุมชนเพ่ือรวมเปนทีมวิจัยในพื้นที่ไดครบถวนตามวัตถุประสงคที่ตั้งไว และจากการที่แกนนําที่มาจากหลากหลายกลุมแตมีเปาหมายเดียวกัน ทุกคนตางมีความเปนกันเอง มีความเสมอภาค เปนมิตรที่ดีตอกัน ไมมีความขัดแยงสวนตัว เน่ืองจากทีมวิจัยในพื้นที่เปนตัวแกนหลักที่จะขับเคลื่อนการดําเนินการ ดังนั้น จึงถือวาเปนปจจัยสําคัญที่ทําใหการดําเนินการวิจัยคร้ังนี้ประสบผลสําเร็จได สอดคลองกับการศึกษาของ อคิน รพีพัฒน (2531) ในกรณีศึกษาหมูบานพ่ึงตนเอง พบวา หมูบานที่ประสบความสําเร็จมักมีผูนําที่เขมแข็ง โดยเฉพาะผูใหญบานเปน

Page 30: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

30

นักพัฒนา/นักประชาธิปไตย ชาวบานไมมีความขัดแยงรุนแรง มีกระบวนการตัดสินใจแบบประชาธิปไตยในหมูบาน และชาวบานมีความสามัคคี รวมมือรวมใจทํางานเพ่ือสวนรวม

2. การศึกษาบริบทชุมชนและสภาพปญหาการดื่มสุราของวัยรุน การด่ืมสุราในระดับที่เปนปญหาตอสุขภาพ ของวัยรุนมีความสัมพันธกับ การ

คบเพ่ือนที่ด่ืมสุรา เพ่ือนชักชวนใหด่ืม มีสมาชิกในครอบครัวด่ืมสุรา ความผิดหวังในชีวิต การรับรูความสามารถแหงตน ความคาดหวังจากการด่ืมสุรา และความสามารถในการควบคุมตนเอง สวนมากเปนเพศชาย อยูในชวงวัยรุนตอนตน กําลังศึกษาอยู อาศัยอยูกับบิดามารดา มีสวนรวมในการทํากิจกรรมกับครอบครัว โอกาสที่ด่ืมมากคือชวงเทศกาลสงกรานต สอดคลองกับงานวิจัยของ Leigh BC and Stacy AW ที่พบวา เพศตางกันจะด่ืมตางกัน รวมทั้งความคาดหวังจากการด่ืมของวัยรุน ถาเปนบวกจะเพ่ิมระดับการด่ืมมากขึ้น ถาเปนลบจะลดหรือหลีกเลี่ยงการด่ืมสุรา โดยเฉพาะดานบวกจะทํานายไดดี เชน หากคาดหวังวาด่ืมแลวมีพลัง ใจกลา สมองแลน เขาสังคมไดงาย พูดคลอง วัยรุนจะด่ืมบอยคร้ังและปริมาณมากขึ้น และการศึกษาของ Steinhausen H-C พบวา ชายด่ืมมากกวาหญิง โดยเฉพาะพฤติกรรมการด่ืมอยางหนัก วัยรุนหลายรายใชวิธีเลี่ยงเผชิญปญหาดวยการด่ืม ซึ่งไดรับการยอมรับจากเพ่ือนมากกวาเด็กที่ไมด่ืม นอกจากน้ี Garmiene A et al พบวา ปจจัยในโรงเรียนที่สงผลตอการด่ืมหนัก คือ ครูควบคุมมากเกินไป เรียนเครียด ไมมีโอกาสไดมีสวนรวมในการตัดสินใจ และครอบครัวที่ใชเวลาทํากิจกรรมรวมกันนอย บิดามารดามีพฤติกรรมสูบบุหร่ีและด่ืมสุราใหเห็นและสมพร สิทธิสงคราม (2549) พบวา เหตุจูงใจที่ทําใหวัยรุนด่ืมสุรา สาเหตุสวนหนึ่งเกิดจาก ความผิดหวังบางอยาง ไดแก เรื่องความรักในวัยเดียวกัน รวมทั้งปจจัยภายในบุคคลดานพฤติกรรมทางปญญา ไดแก การรับรูความสามารถแหงตนในการปฏิเสธการด่ืมสุรา ความสามารถในการควบคุมตนเอง ถามีในระดับต่ํา ประกอบกับการที่มีความคาดหวังจากการด่ืมสุราในระดับสูง จะสงผลใหด่ืมสุราในปริมาณมาก จนถึงขั้นที่เปนปญหาตอสุขภาพ สามารถทํานายพฤติกรรมการด่ืมสุราของวัยรุนอาชีวศึกษา จังหวัดเชียงใหมได ในทํานองเดียวกัน Piko BF ยังพบอีกวา อิทธิพลทางสังคม แรงจูงใจทางสังคม เพ่ือนสนิทที่ด่ืมสุรามีผลตอการเร่ิมด่ืมสุรา โดยเฉพาะเพศชาย และการยอมรับของพอแมก็มีสวนที่ทําใหวัยรุนตัดสินใจด่ืมสุราไดเชนกัน

3. การวางแผนอยางมีสวนรวม การวางแผนอยางมีสวนรวม ทีมวิจัยในพื้นที่สามารถระดมความคิด สราง

ฐานขอมูลเก่ียวกับสภาพปญหา มีความเขาใจรายละเอียดของกิจกรรม ดําเนินการดวยตนเองได อีกทั้งกิจกรรมยังมีความครอบคลุมดานปจจัยที่สงผลตอพฤติกรรมของวัยรุน อาจเปนเพราะ การดําเนินการวางแผนไดมุงเนนความเปนกันเอง แลกเปลี่ยนความคิดเพ่ือคัดเลือกกิจกรรมที่หลากหลาย ที่สามารถสรางเสริมภูมิคุมกันการด่ืมสุราที่เปนปญหาตอสุขภาพวัยรุนไดอยางเหมาะสมและสอดคลองกับบริบทของกลุมวัยรุนในชุมชน แลวนํามากําหนดเปนแผนงานที่ใชภาษางายๆ ไมเปนทางการ

Page 31: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

31

4. การนําแผนลงสูการปฏิบัติ เม่ือพิจารณากิจกรรมที่ดําเนินการทั้ง 11 กิจกรรม พบวา มีความครอบคลุม

ตามแนวคิดการสรางภูมิคุมกันด่ืมสุรา และผลที่ไดทําใหเกิดกิจกรรมที่มีความเปนไปไดตามบริบทของชุมชน กิจกรรมสวนใหญที่กําหนดขึ้นสามารถดําเนินการไดเองโดยชุมชน และมุงสงเสริมใหเกิดภูมิคุมกันตามแนวคิดของชุมชน โดยไมเพียงแตกําหนดมาตรการเชิงบังคับอยางเดียวเทาน้ัน แตยังมีการสงเสริมความตระหนักในตนเอง แรงจูงใจ ฝกทักษะความรับผิดชอบ การทํากิจกรรมที่ตอบสนองความพึงพอใจกับกลุมเพ่ือน การสรางความสัมพันธกับกลุมวัยรุนเปาหมาย โดยมีเง่ือนไขวา จะตองไมใหกลุมเปาหมายรูสึกแปลกแยกจากกลุมวัยรุนทั่วไป สรางความสนิทสนม ความคุนเคย ความเปนกันเอง จนเขารูสึกไววางใจ ปลอดภัย ทีมงานตองแสดงออกถึงการยอมรับความเปนตัวตน ประนีประนอมในพฤติกรรมบางอยางที่ไมรุนแรงเกินไป แมกระท่ังการด่ืมสุรา บางคร้ังบางคราวในปริมาณเพียงเล็กนอยของวัยรุน ปรับเปลี่ยนทัศนคติมองภาพสวนดีของวัยรุน ไมคาดโทษกอนฟงเหตุผล และเปดโอกาสใหแสดงความคิดเห็นอยางเต็มที่ ซ่ึงแนวคิดน้ีสอดคลองกับโครงการ Gatehouse Project ของ Bond L at al (สาวิตรี อัษณางคกรชัย, 2548) ที่ประสบความสําเร็จในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการด่ืมสุราในกลุมวัยรุน มุงเนนการสรางความรูสึกปลอดภัยและไววางใจ การเพ่ิมทักษะและโอกาสที่เกิดการส่ือสารที่ดี และการสรางความรูสึกวาไดรับการยอมรับทางบวก โดยผานทางการมีสวนรวมในโรงเรียน

นอกจากนี้ ยังไดมีการกําหนดขอตกลงเสมือนเปนบรรทัดฐานทางสังคมที่วัยรุนควรปฏิบัติ มีการเสริมสรางแรงจูงใจในการทําความดี ดวยการสนับสนุนและยกยองใหเปนแบบอยางและมีสิ่งตอบแทนให อีกกิจกรรมหนึ่งที่เกิดขึ้น คือ เครือขายในการเฝาระวังพฤติกรรมของวัยรุน คอยสอดสองดูแลอาการที่สอแววไปในทางที่ไมเหมาะสม กิจกรรมเหลาน้ีมีความคลายคลึงกับการดําเนินโครงการ Project ALERT ของ Elickson PL et al (สาวิตรี อัษณางคกรชัย, 2548) ที่กําหนดหลักสูตรอิงตามทฤษฎีการปรับพฤติกรรม 3 ทฤษฎี คือ 1) Health belief model เนนที่ปจจัยทางสติปญญาในการกระตุนใหเกิดพฤติกรรม 2) Social learning model เนนที่อิทธิพลบรรทัดฐานทางสังคมและบุคคลสําคัญอ่ืนๆ ในการเกิดพฤติกรรม และ 3) Self-efficacy ที่มองวาความเชื่อวาตนเองสามารถทํางานอยางหนึ่งใหสําเร็จได เปนสิ่งจําเปนในการเกิดพฤติกรรม รวมถึง ทักษะชุมชนหรือชุมชนที่เขมแข็ง (สมพร สิทธิสงคราม, 2549) เหลาน้ีเปนกิจกรรมที่ไดผลดีในการปกปองวัยรุนจากการสูบบุหร่ีและด่ืมสุรา แมจะสงผลทางออมก็ตาม

5. การติดตามและประเมินผล ภูมิคุมกันการด่ืมสุราที่เปนปญหาตอสุขภาพเกิดขึ้นไดหลังจากดําเนินโครงการ

น้ี อาจเปนเพราะ การดําเนินกิจกรรมมีการบูรณาการหลายองคประกอบที่เปนปจจัยที่มีอิทธิพลตอพฤติกรรมของวัยรุน ตามมุมมองของทีมวิจัยในพ้ืนที่ มีกิจกรรมที่สรางความรู ความเขาใจ ใหเกิดความตระหนักโดยใหวัยรุนไดแลกเปลี่ยนเรียนรูดวยตนเอง ทั้งน้ี ผูปกครองตองเขาใจ

Page 32: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

32

วัยรุน มีการกําหนดแนวทางที่สงเสริมใหผูปกครองไดมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู ทําความเขาใจการเปลี่ยนแปลงของวัยรุน เกิดการยอมรับพฤติกรรมวัยรุนบางประการที่ไมรุนแรง ปรับเปลี่ยนการส่ือสารในครอบครัว เพ่ิมกิจกรรมที่มีสวนรวมในครอบครัวใหมากขึ้น ดานสภาพแวดลอม ดําเนินการเฝาระวัง ขอบังคับ และแรงจูงใจที่ดําเนินไปพรอมๆ กัน เพ่ือลดโอกาสการเขาถึงสุราของวัยรุน ขอเสนอแนะ 1. การเตรียมความพรอมของทีมวิจัยที่จะเขาถึงจิตใจวัยรุน ตองใชระยะเวลา มีความยืดหยุน เปนกันเอง ไมเปนทางการจนเกินไป มีมุมมองในเชิงบวก การทําความเขาใจ และการยอมรับพฤติกรรมบางอยางของวัยรุนได 2. ควรมีการวิจัยเชิงคุณภาพอยางตอเน่ือง เพ่ือศึกษาความคงอยูของภูมิคุมกันการด่ืมสุราที่เปนปญหาตอสุขภาพของวัยรุน รวมทั้งศึกษาความเขมแข็งของการมีสวนรวมของชุมชนดวย บรรณานุกรม ชนิกา ตูจินดา. (2547). Alcohol and the adolescent. ใน พัฒน มหาโชติเลิศวัฒนา

(บรรณาธิการ). กลยุทธการดูแลและสรางเสริมสุขภาพวัยรุน (หนา 288-292). กรุงเทพฯ: ชัยเจริญ.

สมพร สิทธิสงคราม. (2549). ปจจัยทํานายพฤติกรรมการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอลของ วัยรุน. วิทยานิพนธ พย.ม. มหาวิทยาลัยเชียงใหม, เชยีงใหม.

สาวิตรี อัษณางคกรชัย. (พฤศจิกายน 2548). ฐานขอมูลเพื่อการจัดการปญหาสุรา. สืบคน เม่ือวันที่ 1 กรกฏาคม 2549, จาก http://www.cas.or.th.

สุวรรณา อรุณพงศไพศาล. (กุมภาพันธ 2549). ฐานขอมูลเพื่อการจัดการปญหาสุรา. สืบคน เม่ือวันที่ 21 กรกฎาคม 2549, จาก http://www.cas.or.th.

สํานักงานสถิติแหงชาติ. (2548). การสํารวจพฤติกรรมการการสูบบุหร่ีและการดื่มสุราของ ประชากรไทย พ.ศ. 2547. กรุงเทพฯ: สํานักงานสถิติแหงชาติ.

อคิน ระพีพัฒน ม.ร.ว. (2531). ปญหาการพัฒนาชนบท บทเรียนจากกรณียกกระบัตร โครงการพัฒนาชนบทกลุมนํ้าแมกลอง. ขอนแกน: สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยขอนแกน. อุษณีย พ่ึงปาน (เมษายน 2550). ฐานขอมูลเพื่อการจัดการปญหาสุรา. สืบคนเม่ือวันที่ 5

มิถุนายน 2550, จาก http://www.cas.or.th. Bandura, A. (1986). Social foundations of thought and action: A social cognitive

theory. New Jersey: Prentric-Hall. World Health Organization. (2002). WHO definition of health. Retrieved August 15,

2005, from http://www.who.int/about/definiyion/en/print.html.

Page 33: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

33

การประยุกตใชกลยุทธทางการตลาดของหัวหนาหอผูปวยและความพงึพอใจในงาน

ตามการรับรูของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลจติเวช

สลักจิต สุมันตกุล* อุดมรัตน สงวนศิริธรรม**

ดร. ฐิติณัฏฐ อัคคะเดชอนันต*** บทคัดยอ

การปรับปรุงคุณภาพการบริการเปนสิ่งสําคัญ การนํากลยุทธทางการตลาดบริการมาประยุกตใชเพ่ือชวยใหผูปฏิบัติงานเกิดความพึงพอใจในงาน และทําใหการบริการผูปวยมีคุณภาพเพ่ิมมากขึ้น การวิจัยน้ีมีวัตถุประสงค เพ่ือศึกษาการประยุกตใชกลยุทธทางการตลาดของหัวหนาหอผูปวยและความพึงพอใจในงานตามการรับรูของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลจิตเวช กลุมตัวอยาง เปนพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลจิตเวชขนาดใหญ 3 แหง จํานวน 273 คน เคร่ืองมือที่ใชในการรวบรวมขอมูล เปนแบบสอบถามการประยุกตใชแนวคิดทางการตลาดบริการตามแนวคิดของ ซิทแฮม และ บิทเนอร (Zeithaml & Bitner, 2003) และแบบสอบถามความพึงพอใจในงานตามแนวคิดของ แฮคแมน และโอลดแฮม (Hackman & Oldham, 1980) ซ่ึงมีคาดัชนีความตรงตามเนื้อหา เทากับ .88 และ .85 ตามลําดับ คาความเชื่อม่ันของเครื่องมือ ทดสอบโดยใชคาสัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาค เทากับ .97 และ .96 ตามลําดับ วิเคราะหขอมูลโดยสถิติเชิงพรรณนาและคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธของเพียรสัน

ผลการวิจัยพบวา การประยุกตใชกลยุทธทางการตลาดของหัวหนาหอผูปวยตามการรับรูของพยาบาลวิชาชีพ โดยรวม อยูในระดับมากที่สุด สวนรายดานอยูในระดับมากที่สุด 3 ดาน ไดแก ดานบุคคล ดานกระบวนการใหบริการและดานลักษณะกายภาพ รายดานที่อยูในระดับมาก 4 ดานไดแก ดานการสงเสริมการตลาด ดานผลิตภัณฑ ดานราคาและดานชองทางการใหบริการ สวนความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพ พบวา โดยรวม อยูในระดับมากที่สุด รายดานอยูในระดับมากที่สุด 3 ดาน ไดแก ดานความสําคัญของงาน ดานความเดนชัดของงาน และดานความหลากหลายของทักษะ รายดานที่อยูในระดับมาก 2 ดาน ไดแก ดานความมีอิสระในการทํางาน และดานการไดรับขอมูลยอนกลับ สวน การประยุกตใชกลยุทธทางการตลาดของหัวหนาหอผูปวยและความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพ มีความสัมพันธทางบวกในระดับต่ํา

*พยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลสวนปรุง ** รองศาสตราจารย คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม *** ผูชวยศาสตราจารย คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

Page 34: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

34

ผลการวิจัย สามารถนําไปเปนขอมูลพ้ืนฐานในการพัฒนาการประยุกตใชกลยุทธทางการตลาดของหัวหนาหอผูปวยและความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลจิตเวชใหดียิ่งขึ้น คําสําคัญ : กลยุทธทางการตลาด, ความพึงพอใจในงาน, พยาบาล, โรงพยาบาลจิตเวช

Marketing Strategy Application of Head Nurses and Job Satisfaction as Perceived

by Professional Nurses in Psychiatric Hospitals Abstract

Today service quality improvement is important. Thus, the marketing strategy application is utilized to congregate nurses happiness in work and then enable to provide quality patient services. The research explored the marketing strategy application of head nurses and job satisfaction as perceived by professional nurses. Subjects consisted of 273 professional nurses who have worked in 3 large psychiatric hospitals. Research instruments consisted of the marketing strategy application in service marketing based on Zeithaml and Bitner’s concept (2003); and the job satisfaction as perceived by professional nurses questionnaire based on Hackman and Oldham’s concept (1980). The content validity index of these questionnaires were .88 and .85, respectively. The reliability of these questionnaires, tested by using Cronbach’s alpha coefficient were .97 and .96, respectively. Datas were analysis by using descriptive statistics and Pearson’s product moment correlation coefficient. Results: Marketing strategy application of head nurses as perceived by professional nurses was at a very good level. Considering each dimension, it was found that in area of people, process and physical evidence were at very good level; and promotion, product, price, and place were at good level. Job satisfaction as perceived by professional nurses was at a very good level; it was found that in area of task significance, task identity, and skill variety were at a very good level; and autonomy, and feed back from job were at good level. And there was a statistically significant positive correlation between marketing strategy application of head nurses and job satisfaction as perceived by professional nurses at a low level.

Conclusion: The results of this study can be used as baseline for improving the marketing strategy application of head nurses and job satisfaction of professional nurses in psychiatric hospitals. Key words: marketing strategy, job satisfaction, Nurse, Psychiatric Hospital

Page 35: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

35

บทนํา การปฏิรูประบบบริการสุขภาพตามนโยบายของรัฐบาลและสภาพแวดลอมที่เปลี่ยนไป ทําใหมีการปรับเปลี่ยนการบริหารระบบบริการสุขภาพ และมีการนําแนวคิดทางการตลาดมาใช (อารี วัลยะเสวี, 2544) การนําแนวคิดทางการตลาดเขามาประยุกตใชในการบริการสุขภาพ เปนการมุงใหผูรับบริการไดรับบริการท่ีดี มีคุณภาพสูง ประทับใจการบริการ ผูรับบริการรูสึกถึงความคุมคาของสิ่งที่ไดรับ (เพ็ญจันทร แสนประสาน และ คณะ, 2549) โรงพยาบาลของรัฐบาลหลายแหงไดมีการพัฒนา ปรับปรุง โครงสราง ระบบการบริหารงาน ปรับเขาสูระบบตลาดที่มีการแขงขันและรวมมือกันมากขึ้น (ทัศนา บุญทอง, 2543) โดยมีทั้งการแขงขันและความรวมมือกัน ใหสามารถปรับตัวเขากับสภาพแวดลอมที่เปลี่ยนแปลง เกิดการบริการระบบเครือขาย การจัดกลุมเปนพันธมิตร (hospital pool)ในเขตพ้ืนที่ใหบริการ ลดคาใชจาย ประหยัด และเกิดความคุมคาในการลงทุน

กลยุทธทางการตลาด เปนการคนหาและตอบสนองความความตองการ เพ่ือสรางความพึงพอใจแกผูรับบริการ ที่ชวยใหองคการพิจารณากําหนดความตองการที่แทจริงของผูรับบริการ แลวนํามาสรางสินคา เพ่ือตอบสนองความพึงพอใจแกผูรับบริการ (Etzel, Walker, & Standton, 2007) ซ่ึง ซิทแฮมล และบิทเนอร (Zeithaml & Bitner, 2003) ไดเสนอกลยุทธทางการตลาดโดยใชสวนประสมทางการตลาดบริการ 7’Ps ในการตอบสนองความตองการของผูรับบริการ 7 ดาน ไดแก 1) ดานผลิตภัณฑ (product) เปนสิ่งที่เสนอใหกับผูรับบริการท้ังสิ่งที่จับตองไดและจับตองไมได 2) ดานราคา (price) เปนการกําหนดราคาคาบริการตามความเหมาะสม และเง่ือนไขการชําระคาบริการ 3) ดานชองทางการใหบริการ (place) เปนการสรางความสะดวกใหผูรับบริการเขาถึงบริการไดโดยงาย 4) ดานการสงเสริมการตลาด (promotion) เปนการสื่อสาร จูงใจ ใหผู รับบริการพิจารณา เพ่ือตัดสินใจเลือกใชบริการ 5) ดานบุคคล (people) เปนผูมีสวนรวมในการนําเสนอบริการและผูรับบริการที่รวมอยูในสิ่งแวดลอมของการบริการ 6) ดานกระบวนการใหบริการ (process) เปนขั้นตอน กระบวนการในการใหบริการที่มีคุณภาพ สะดวก รวดเร็ว และ7) ดานลักษณะทางกายภาพ (physical evidence) เปนการสรางสภาพแวดลอม มีสิ่งอํานวยความสะดวกในสถานที่บริการเหมาะสม

โรงพยาบาลจิตเวช แมวาจะมิไดมีการประยุกตใชกลยุทธทางการตลาดของหัวหนาผูปวยอยางชัดเจน แตเม่ือนําองคประกอบของกลยุทธทางการตลาดบริการ มาเปรียบเทียบกับขอกําหนดตามคูมือการพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลจิตเวชของกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2544 ก็จะพบวา มีการประยุกตใชกลยุทธทางการตลาดที่สามารถเทียบเคียงกันได การประยุกตใชกลยุทธทางการตลาดของหัวหนาหอผูปวย จึงเปนสิ่งที่ชวยใหการคนหาความจําเปนและความตองการของผูรับบริการที่ใหทําเกิดความพึงพอใจแกผูรับบริการ เพราะความพึงพอใจของผูรับบริการ เปนเครื่องชี้วัดคุณภาพมาตรฐานทางการบริการพยาบาล

Page 36: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

36

ความพึงพอใจในงาน เปนความรูสึกดานบวกของบุคคลที่เกิดจากงานมีผลการปฏิบัติที่ดี ที่มีพ้ืนฐานจากคุณลักษณะของงานที่มีความหลากหลาย ความเดนชัดของงาน ความสําคัญของงาน ความมีอิสระในการทํางาน และการไดรับขอมูลยอนกลับถึงผลงานที่ปฏิบัติ (Hackman & Oldham, 1980) ซ่ึงการสรางความพึงพอใจในงานที่ตอบสนองความตองการของบุคลากรภายในองคกรเปนการทําการตลาดที่เรียกวาการตลาดภายใน (internal marketing) เปนการทําใหบุคลากรภายในองคการทํางานอยางมีคุณภาพที่มีผลลัพธนําไปสูความพึงพอใจของผูรับบริการ (Fisk, Brown, & Bitner, 1993; Gronroos, 2000) พยาบาลที่มีความพึงพอใจในงานจะมีผลตอการทํางานในการดูแลผูปวยทางบวก (Tompkins, 1992) และเปนการสรางแรงกระตุนใหบุคลากรทํางานเต็มศักยภาพ (Sullivan & Decker, 2005)

วัสดุและวิธีการ

การวิจัยน้ี เปนการวิจัยเชิงพรรณนาหาความสัมพันธระหวางการประยุกตใชกลยุทธทางการตลาดของหัวหนาหอผูปวยและความพึงพอใจในงานตามการรับรูของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลจิตเวช กลุมตัวอยาง เปนพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลจิตเวช 3 แหง ไดแก โรงพยาบาลสวนสราญรมย โรงพยาบาลพระศรีมหาโพธิ์ และโรงพยาบาลสวนปรุง จํานวน 273 ราย รวบรวมขอมูลระหวางเดือน กรกฎาคม ถึง กันยายน พ.ศ. 2550 เครื่องมือที่ใชในการวิจัย สวนที่ 1 แบบสอบถามขอมูลสวนบุคคล สวนที่ 2 แบบสอบถามการประยุกตใชกลยุทธทางการตลาดของหัวหนาหอผูปวยตามการรับรูของพยาบาลวิชาชีพ ผูวิจัยดัดแปลงจากแบบสอบถามที่พัฒนาจากแนวคิดกลยุทธทางการตลาดบริการของ ซิทแฮมล และบิทเนอร (Zeithaml & Bitner, 2003) มีขอคําถาม 54 ขอ คาดัชนีความตรงตามเนื้อหา เทากับ .88 ความเชื่อม่ันของเครื่องมือ เทากับ .97 สวนที่ 3 แบบสอบถามความพึงพอใจในงานตามการรับรูของพยาบาลวิชาชีพ ผูวิจัยดัดแปลงจากแบบสอบถามที่พัฒนาจากแนวคิดของ แฮคแมนและโอลดแฮม (Hackman & Oldham, 1980) มีขอคําถาม 40 ขอ คาดัชนีความตรงตามเนื้อหา เทากับ .85 ความเชื่อม่ันของเคร่ืองมือ เทากับ .96 การรวบรวมขอมูล ภายหลังไดรับการอนุมัติจากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัย คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม ผูวิจัยสงหนังสือแนะนําตัวจากคณบดี คณะพยาบาลศาสตร เพ่ือขออนุญาตและขอความรวมมือในการรวบรวมขอมูล เม่ือไดรับหนังสืออนุมัติจากผูอํานวยการโรงพยาบาลจิตเวชแลว ผูวิจัยประสานกับหัวหนากลุมงานการพยาบาล และผูประสานงานวิจัย ซ่ึงการรวบรวมขอมูลคํานึงถึงการพิทักษสิทธิ์ของกลุมตัวอยางเปนหลัก

Page 37: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

37

การวิเคราะหขอมูล วิเคราะหขอมูลโดยใชสถิติเชิงพรรณนา และความสัมพันธระหวางตัวแปรใชสัมประสิทธิ์สหสัมพันธของเพียรสัน (Pearson’s product moment correlation coefficient) ผล

ขอมูลสวนบุคคล กลุมตัวอยาง สวนใหญเปนเพศหญิง รอยละ 82.42 อายุระหวาง 41-50 ป รอยละ

67.03 สถานภาพสมรสคู รอยละ 69.23 รายไดตอเดือนอยูระหวาง 20,001- 30,000 บาท รอยละ 56.41 การศึกษา ระดับปริญญาตรี รอยละ 76.19 ระยะเวลาการทํางาน 21 -25 ป รอยละ 43.22

การประยุกตใชกลยุทธทางการตลาดของหัวหนาผูปวยตามการรับรูของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลจิตเวช

ผลการวิจัยพบวา การประยุกตใชกลยุทธทางการตลาดของหัวหนาหอผูปวยตามการรับรูของพยาบาลวิชาชีพ โดยรวม อยูในระดับมากที่สุด สวนรายดานอยูในระดับมากที่สุด 3 ดาน ไดแก ดานบุคคล ดานกระบวนการใหบริการและดานลักษณะกายภาพ รายดานที่อยูในระดับมาก 4 ดานไดแก ดานการสงเสริมการตลาด ดานผลิตภัณฑ ดานราคาและดานชองทางการใหบริการ ดังตารางที่ 1 ตารางที่ 1 คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับการประยุกตใชกลยุทธทางการตลาดของหัวหนาหอผูปวยตามการรับรูของพยาบาลวิชาชีพ จําแนกโดยรวมและรายดาน (n=273) การประยุกตใชกลยุทธทางการตลาดของหั วหน าหอผูปวย

X SD ระดับ

โดยรวม 183.60 7.62 มากที่สุด รายดาน ผลิตภัณฑ 23.26 1.96 มาก ราคา 21.55 1.79 มาก ชองทางการใหบริการ 19.54 1.57 มาก การสงเสริมการตลาด 23.28 1.10 มาก บุคคล 40.87 0.40 มากที่สุด กระบวนการใหบริการ 30.60 1.96 มากที่สุด ลักษณะทางกายภาพ 24.77 0.43 มากที่สุด

Page 38: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

38

ความพึงพอใจในงานตามการรับรูของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลจิตเวช ผลการวิจัยพบวา ความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพโดยรวม อยูในระดับ

มากท่ีสุด รายดานอยูในระดับมากที่สุด 3 ดาน ไดแก ดานความสําคัญของงาน ดานความเดนชัดของงาน และดานความหลากหลายของทักษะ รายดานที่อยูในระดับมาก 2 ดาน ไดแก ดานความมีอิสระในการทํางาน และดานการไดรับขอมูลยอนกลับ ดังตารางที่ 2 ตารางที่ 2 คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับความพึงพอใจในงานตามการรับรูของพยาบาลวิชาชีพ จําแนกโดยรวมและรายดาน (n=273) ความพึงพอใจในงาน X SD ระดับ

โดยรวม 169.60 2.74 มากที่สุด รายดาน ความหลากหลายของทักษะ 29.97 0.71 มากที่สุด ความเดนชัดของงาน 34.76 1.18 มากที่สุด ความสําคัญของงาน 36.74 0.87 มากที่สุด ความมีอิสระในการทํางาน 35.91 1.51 มาก การไดรับขอมูลยอนกลับ 32.17 1.59 มาก ความสัมพันธระหวางการประยุกตใชกลยุทธทางการตลาดของหัวหนาหอผูปวยและความพึงพอใจในงานตามการรับรูของพยาบาลวิชาชีพ กลยุทธทางการตลาดของหัวหนาหอผูปวยและความพึงพอใจในงานตามการรับรูของพยาบาลวิชาชีพโดยรวม มีความสัมพันธทางบวกในระดับต่ํา อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r=.49) อภิปรายผล การประยุกตใชกลยุทธทางการตลาดของหัวหนาหอผูปวยตามการรับรูของพยาบาลวิชาชีพ ผลการวิจัย พบวา พยาบาลวิชาชีพมีการรับรูการประยุกตใชกลยุทธทางการตลาดของหัวหนาหอผูปวยโดยรวม อยูในระดับมากที่สุด (X = 183.60, SD=7.62) แสดงใหเห็นวา พยาบาลวิชาชีพรับรูวา หัวหนาหอผูปวยมีวิธีการดําเนินงานทางการตลาด เพ่ือตอบสนองความตองการและสรางความพึงพอใจใหผูรับบริการ โดยมีรายดาน อยูในระดับมากที่สุด 3 ดาน ไดแก ดานบุคคล พยาบาลวิชาชีพรับรูวา หัวหนาหอผูปวย มีการสงเสริมใหบุคลากรมีพฤติกรรมการบริการที่ดี ที่จําเปนตอการใหบริการ ดานกระบวนการใหบริการ หัวหนาหอผูปวยจัดใหมีคูมือ วิธีปฏิบัติงาน เปดโอกาสใหผูรับบริการแสดงความคิดเห็น เพ่ือ

Page 39: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

39

นําไปปรับปรุงการบริการ และดานลักษณะทางกายภาพ หัวหนา หอผูปวยจัดใหมีการดูแลสภาพทั่วไปภายในหอผูปวยที่สะอาดและเปนระเบียบเรียบรอย เหมาะสมสําหรับการใหบริการและการทํางาน การที่พยาบาลวิชาชีพ มีการรับรูการประยุกตใชกลยุทธทางการตลาดของหัวหนาหอผูปวยโดยรวม อยูในระดับมากที่สุด อาจเนื่องมาจาก โรงพยาบาลจิตเวช ไดผานการประเมินการพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล (HA) มีการปฏิบัติตามแนวทางของขอกําหนดตามคูมือการพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลจิตเวชของกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข ที่นํามาเทียบเคียงไดกับองคประกอบของกลยุทธทางการตลาด ที่เปนการสนับสนุนการเพ่ิมคุณภาพของการบริการ เหตุผลอีกประการหนึ่ง อาจเน่ืองจาก การพยาบาลและการตลาด มีปรัชญาและกระบวนการที่คลายคลึงกัน กลาวคือ การคนหาความตองการและใหบริการเพ่ือตอบสนองความตองการของลูกคาหรือผูรับบริการเปนสําคัญ (ฟาริดา อิบราฮิม, 2542) ซ่ึงโรงพยาบาลจิตเวชมีการทํากิจกรรมพัฒนาคุณภาพ โดยกระบวนการวิเคราะหความตองการและความคาดหวังของผูรับบริการ ผูปวย ลูกคา บุคคล หนวยงานที่ใชบริการ หรือหนวยงานที่เก่ียวของ ซ่ึงเปนทั้งลูกคาภายในและภายนอก แลวหาแนวทางปรับปรุงแกไข เพ่ือตอบสนองความตองการและการบรรลุเปาหมายขององคการ มีการสงเสริมความรวมมือและการประสานงานระหว างพยาบาลวิชาชีพกับมหาวิทยาลัยต างๆ เชน มหาวิทยาลัยเชียงใหม มหาวิทยาลัยขอนแกน มหาวิทยาลัยสงขลา เปนตน ในการสงเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรูในหอผูปวย (กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข (2549) รวมทั้งมีการปรับกระบวนการใหบริการพยาบาลใหเปนมาตรฐาน ทันสมัย สอดคลองกับการบริการสุขภาพที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา มีการตรวจสอบการทํางานโดยรับฟงคํารองเรียน (complaint system) การใหคําแนะนํา (suggestion systems) การตรวจเยี่ยม (audit visits) สํารวจความพึงพอใจของผูรับบริการ (customer satisfaction surveys) การปรับจุดคัดกรองผูเขามารับบริการใหมีความสะดวกรวดเร็ว ลดระยะเวลาการรอคอยสําหรับผูปวย สงขอมูลดวยคอมพิวเตอรที่สะดวก รวดเร็ว และเครื่องมือ อุปกรณผานการสอบเทียบกับมาตรฐาน ซ่ึงการศึกษาของ วรางคณา สิริปูชกะ (2544) พบวา การมีนวัตกรรมใหมๆเชิงสรางสรรค และมีอุปกรณ เคร่ืองมือ เคร่ืองใชในการทํางาน สะดวกตอการใชงาน จะเปนสิ่งจูงใจใหผูทํางาน ทํางานไดอยางมีคุณภาพ นอกจากน้ีหัวหนาหอผูปวยมีการจัดอาคาร สถานที่ และสิ่งแวดลอมในหอผูปวย เพ่ืออํานวยความสะดวก ในการใหบริการท่ีมีคุณภาพแกผูรับบริการและเอื้อตอการทํางานของบุคลากร เน่ืองจาก ลักษณะงานการพยาบาลเปนสิ่งที่จับตองไมได ลักษณะทางกายภาพจึงเปนสิ่งที่สื่อใหผูรับบริการไดรับรูถึงภาพลักษณของการบริการ ที่ชวยสรางความรูสึกประทับใจจากสิ่งภายนอก (Zeitham & Bitner, 2003) สภาพแวดลอมทางกายภาพที่ดี เปนปจจัยหน่ึงที่จะสงผลดีตอทั้งผูปวยและบุคลากร ตลอดจนประสิทธิภาพในการทํางานที่เปนประโยชนตอองคการ ทั้งน้ีเพราะสภาพแวดลอมที่ไมเอ้ืออํานวยตอการทํางานอยางมีความสุข หรือเปนเหตุใหบุคลากรเจ็บปวย ทําใหประสิทธิภาพในการทํางานลดลง (Tyson, Lambert & Beattie, 2002) สอดคลองกับการศึกษาของ สุพรรณี วงคําจันทร (2541) พบวา ลักษณะสภาพแวดลอมใน

Page 40: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

40

หนวยงานและสภาพการทํางานในหนวยงานมีความสัมพันธทางบวกกับสมรรถนะดานการปฏิบัติการพยาบาล หากมีการจัดสภาพแวดลอมที่ดี จะสงเสริมสุขภาพของผูปวย ผูปวยมีระยะเวลาในการนอนโรงพยาบาลสั้นลง (Fontaine, Briggs, Pope-Smith, 2001) และยังทําใหการรักษาพยาบาลเกิดความผิดพลาดตอผูปวยนอย (Stichler, 2001) สิ่งที่กลาวขางตน อาจเปนสิ่งที่สงผลใหพยาบาลวิชาชีพรับรู การประยุกตใชกลยุทธทางการตลาดของหัวหนาหอผูปวย อยูในระดับมากที่สุด อยางไรก็ตาม ในการวิจัยน้ี พบวา กลยุทธทางการตลาดของหัวหนาหอผูปวย ดานที่อยูในระดับมาก มี 4 ดาน ไดแก ดานการสงเสริมการตลาด ดานผลิตภัณฑ ดานราคา และ ดานชองทางการใหบริการ

ดานการสงเสริมการตลาด พบวา กลุมตัวอยางมีคะแนนเฉลี่ยการรับรูกลยุทธทางการตลาดดานการสงเสริมการตลาดอยูในระดับที่ยังไมใชระดับมากที่สุด อาจเน่ืองจาก พยาบาลวิชาชีพรับรูวา หัวหนาหอผูปวยมีการประชาสัมพันธการใหบริการพยาบาล การแจงขาวสาร การสื่อสาร การใหขอมูลเพ่ือจูงใจใหผูรับบริการตัดสินใจเลือกใชบริการท่ีหัวหนาหอผูปวยอาจจะสามารถประยุกตใชกลยุทธดานน้ีไดมากขึ้น ที่จะทําใหผูรับบริการพึงพอใจ ซ่ึงการศึกษาของ วิโรจน ชื่นชม (2543) พบวา เหตุผลที่ผูรับบริการเลือกใชบริการ เน่ืองจากการประชาสัมพันธของโรงพยาบาล ทั้งนี้เพราะผูรับบริการสามารถถายทอดประสบการณตอไปยังผูอ่ืน ซ่ึงอาจจะเปนผูรับบริการในอนาคต หากผูรับบริการมีความรูสึกที่ดีประทับใจในการบริการก็จะบอกตอและแนะนําใหไปใชบริการ ดานผลิตภัณฑ พบวา พยาบาลวิชาชีพรับรูวาหัวหนาหอผูปวยมีสวนรวมในการรับฟงความคิดเห็นและรวบรวมขอมูลของผูรับบริการ มีการบริหารและมอบหมายผูรับผิดชอบดูแลในการทํางานประจําวัน รับฟงความคิดเห็นและรวบรวมขอมูลของผูรับบริการ ประเมิน วิเคราะหพฤติกรรมผูรับบริการเพ่ือคาดการณ สูการจัดกิจกรรมการบริการพยาบาลในลักษณะที่จะดึงดูดใจผูรับบริการ เปนการสรางขอไดเปรียบในการแขงขันที่สามารถรักษาผลผลิต ระดับบริการ การสรางความพึงพอใจแกผูรับบริการ และเกิดความภักดีในการใชบริการ แตพยาบาลวิชาชีพบางสวน อาจเห็นวา การจัดบริการพยาบาลที่หัวหนาหอผูปวยเปนผูนําจัดบริการพยาบาลใหมีในหอผูปวยนั้น อาจจะยังไมไดเปนกิจกรรมการบริการท่ีตอบสนองความตองการของผูรับบริการหรือมีบริการเสริมแกผูรับบริการอยางเต็มที่มากนัก ซ่ึงการสรางความแตกตางโดยการบริการ(service-based differentiation) มีแนวโนมเพ่ิมมากขึ้น กวาการสรางความแตกตางโดยผลิตภัณฑ (product-driven differentiation) (Gronroos,1990) ดานราคา เปนกลยุทธที่พยาบาลวิชาชีพ เห็นวาหัวหนาหอผูปวยมีการประยุกตใชยังไมมากที่สุด อาจเนื่องจาก การกําหนดความตองการของตลาด การประมาณตนทุนบริการ การวิเคราะหตนทุน เปนการกําหนดราคาจากสวนกลาง ที่กระทรวงสาธารณสุขไดกําหนดราคาเปนกรอบนโยบายและแนวทางกวางๆ นอกจากนี้บริการทางดานสุขภาพเปนสินคาคุณธรรม (merit goods) ทําใหไมสามารถเปดใหกลไกการตลาดทํางานอยางเต็มที่ การศึกษาของ สรางสรรค รักราษฎร (2549) เก่ียวกับ การจายคาบริการทางดานจิตเวชของประชาชนในเขตอําเภอเมือง

Page 41: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

41

จังหวัดเชียงใหม พบวา บุคคลที่มีทัศนคติตอดานจิตเวชที่ดี จะมีความนาจะเปนที่ยินยอมที่จะจายคาบริการในการดูแลรักษาสุขภาพจิตมากกวาบุคคลที่มีทัศนคติที่ไมดีตอทางดานจิตเวช สะทอนใหเห็นวาคุณภาพของการใหบริการมีผลอยางมากตอความเต็มใจที่จะจาย เพราะคุณภาพที่ไดรับ ผูรับบริการจะมีความรูสึกถึงความคุมคาของเงินที่เสียไป สอดคลองกับแนวคิดกลยุทธทางการตลาดของ ซิทแฮมล และบิทเนอร (Zeithaml &Bitner, 2003) ที่วา ราคามีบทบาทในการกําหนดวา ผูรับบริการจะซ้ือผลิตภัณฑหรือไม โดยผูรับบริการจะเปรียบเทียบระหวางคุณคาผลิตภัณฑกับราคาผลิตภัณฑ ถาคุณคาสูงกวาราคา ผูรับบริการจะตัดสินใจซื้อ

ดานชองทางการใหบริการ พบวา กลุมตัวอยางมีคะแนนเฉลี่ยการรับรูกลยุทธทางการตลาดดานชองทางการใหบริการอยูในระดับที่ยังไมใชระดับมากที่สุด แสดงใหเห็นวา การพัฒนากลยุทธทางการตลาดดานชองทางการใหบริการใหมีประสิทธิภาพ โดยมีหนวยบริการในหอผูปวยเปนหนวยงานขั้นตน เพ่ือชวยแกปญหาการเขาถึงบริการ และการเชื่อมโยง ประสานบริการสุขภาพกับหนวยงานอื่นๆ รวมทั้งกลไกการสงตอถึงแมจะอยูในระดับมาก แตพยาบาลวิชาชีพอาจจะเห็นวานาจะขยายชองทางไดเพ่ิมขึ้นกวาน้ี จากการศึกษาของ สมบูณ ขัตติยะสุวงศ (2543) พบวา เหตุผลที่ผูรับบริการเลือกมารับบริการในโรงพยาบาลนั้นๆ เพราะสามารถเขาถึงบริการไดสะดวก มีระบบเครือขายเขมแข็ง โรงพยาบาลจิตเวชถึงแมจะมีการจัดการเกี่ยวกับการอํานวยความสะดวกในการรับบริการ การกระจายบริการใหผูรับบริการเขาถึงบริการไดสะดวก เชน ชองทางสําหรับผูปวย จิตเวชฉุกเฉินหรือมีทําเลที่ตั้งอยูในพ้ืนที่ที่จะเขาถึงผูรับบริการ มีความสะดวกในการเดินทาง ที่จะชวยทําใหผูรับบริการไดรับบริการรวดเร็วและทันตามความตองการ รวมทั้งมีการสงตอขอมูลใหโรงพยาบาลเครือขายใกลบานดูแลตอ ซ่ึงบาซชอล, ลินดรูท, แคงก และแฮสไนน-ไวเนีย (Bazzol, Lindrooth, Kank & Hasnain-Wynia, 2006) กลาววา การใชชองทางการใหบริการแบบพันธมิตรที่มีความสัมพันธและรวมมือกันระหวางโรงพยาบาลเครือขาย จะชวยใหผูรับบริการไดรับบริการทางสุขภาพครบถวน และสามารถเขาถึงการรับการรักษาไดทุกโรงพยาบาลในกลุมพันธมิตรที่สะดวก ซ่ึงเปนการสนับสนุนระบบสาธารณสุขใหกับสถานพยาบาลปฐมภูมิใกลบานกับสถานพยาบาลระดับอ่ืนๆในการรวมมือกัน

ความพึงพอใจในงานตามการรับรูของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลจิตเวช ผลการวิจัย พบวา พยาบาลวิชาชีพกลุมตัวอยางมีคะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจในงานโดยรวมอยูในระดับมากที่สุด (X = 169.60, SD=2.74) แสดงใหเห็นวา พยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลจิตเวช มีความรูสึกดานบวกที่เกิดจากงานตรงกับความตองการและความสนใจของตนเอง ที่มีพ้ืนฐานจากคุณลักษณะของงานที่มีความหลากหลาย ความเดนชัดของงาน ความสําคัญของงาน ความมีอิสระในการทํางาน และการไดรับขอมูลยอนกลับ ทั้งน้ีอาจเน่ืองจากกลุมตัวอยางในการวิจัยน้ี มีอายุอยูระหวาง 41-50 ป มีประสบการณในการทํางานมานาน สามารถปรับตัวใหเขากับงานไดดี (Spear, Wood, Chawla, 2004; Tzeng, 2002) กลุม

Page 42: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

42

ตัวอยาง มีสถานภาพสมรสคู ทําใหมีความอดทนตอสถานการณตางๆท่ีกอใหเกิดปญหาในการทํางาน (อุดม ทุมโฆสิต, 2544) รายไดตอเดือนอยูระหวาง 20,001- 30,000 บาท ซ่ึงเปนรายไดพอที่จะตอบสนองความตองการพื้นฐานทางดานกายภาพ ผลประโยชนตอบแทนท่ีไดรับมากเพียงพอกับความตองการ เปนสิ่งกระตุนใหมีกําลังใจในการทํางาน ไมไปจากองคการ (Tzeng, 2002) มีระดับการศึกษาปริญญาตรี ซ่ึงถือวาเปนบุคลากรที่มีความรูอยูในระดับสูง มีผลตอการพัฒนาความรู ความเขาใจ และความสามารถของบุคคล ทําใหบุคคลรูจักคิด วิเคราะห และแสวงหาความรูใหมๆ มองปญหาไดครอบคลุม เชื่อมโยงเหตุการณที่เกิดขึ้นไดดี (จุฑาวดี กลิ่นเฟอง, 2543) มีระยะเวลาการทํางาน 21 -25 ป ไดสะสมความชํานาญ ประสบการณในการทํางานมากขึ้น ทําใหรูสึกวาตนเองมีความสําคัญตอหนวยงานที่ทําใหเกิดความรวมมือ มีสวนรวมในการทํางานและพึงพอใจในงาน (Davis, 1977 อางใน จุฑาวดี กลิ่นเฟอง, 2543) จากการวิจัย พบวา พยาบาลวิชาชีพกลุมตัวอยางมีคะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจในงานรายดาน อยูในระดับมากที่สุด 3 ดาน ไดแก ดานความสําคัญของงาน ดานความเดนชัดของงาน และดานความหลากหลายของทักษะ อาจอธิบายไดวา พยาบาลวิชาชีพมีบทบาทท่ีถูกกําหนดไวในคําบรรยายลักษณะงาน ที่พยาบาลวิชาชีพทุกคนจะตองปฏิบัติ เพ่ือคุณภาพการบริการพยาบาล มาตรฐานวิชาชีพ และองคการพยาบาล การปฏิบัติการพยาบาลโดยใชกระบวนการพยาบาลเปนหลัก (ทัศนา บุญทอง, 2543) จึงตองมีการพัฒนาทักษะของตนเอง ที่จะศึกษาคนควาหาความรูเพ่ิมเติมในการใชความชํานาญและความสามารถดานใหบริการพยาบาล มีการสงเสริมใหเกิด การพัฒนาเรียนรูอยางตอเน่ือง ที่จะดําเนินกิจกรรมการพัฒนาคุณภาพยกระดับคุณภาพบริการใหไดมาตรฐานและเกิดความพึงพอใจตอผู รับบริการ นอกจากนี้ เปนหนาที่และบทบาทที่ของหัวหนาในการดูแลพัฒนาเพิ่มพูนความรู ทักษะดานตางๆ เพ่ือใหบุคลากรมีความสามารถเพียงพอในการทํางาน และการฝกอบรม ที่เปนการเรียนรูไปขางหนาระยะยาว เตรียมความพรอมบุคลากรใหกาวไปพรอมกับการเปลี่ยนแปลงและการเจริญเติบโตขององคการ (Monday, Noe & Premeaux, 1999 อางใน ตุลา มหาพสุธานนท, 2545) สิ่งที่ไดกลาวมาขางตน อาจเปนสิ่งที่สงผลใหพยาบาลวิชาชีพมีความพึงพอใจในงานอยูในระดับมากที่สุด แตพบวา ยังมีความพึงพอใจที่พยาบาลวิชาชีพ เห็นวา อยูในระดับมาก 2 ดาน ไดแก ดานความมีอิสระในการทํางาน และดานการไดรับขอมูลยอนกลับ ดานความมีอิสระในการทํางาน พยาบาลวิชาชีพรับรูวาหัวหนาหอผูปวยมีการใหโอกาสพยาบาลวิชาชีพไดใชดุลยพินิจของตนเองอยางอิสระเสรีในการกําหนดวิธีการทํางาน เพ่ือใหงานนั้นสําเร็จลุลวงได จึงทําใหรูสึกวาตนเองไดรับการยอมรับ ความไววางใจ เปนสวนหน่ึงของหนวยงาน พรอมที่จะสละประโยชนสวนตนอุทิศใหกับงาน สอดคลองกับการศึกษาของ คราเมอรและสมาเลนเบอรก (Kramer & Schmalenberg, 1993) พบวา ถาหัวหนาหอผูปวยใหความเปนอิสระในการปฏิบัติกิจกรรมตางๆแกพยาบาล จะทําใหพยาบาลประจําการเกิดความภาคภูมิใจและจะนํามาซ่ึงความพึงพอใจในงาน สงผลใหเกิดประสิทธิภาพเพ่ิมขึ้นได แตพยาบาล

Page 43: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

43

วิชาชีพบางสวน อาจเห็นวาการไดรับการมอบหมายอํานาจยังไมเดนชัดที่จะชวยใหงานดําเนินตอไปท้ังที่ตองรับผิดชอบสูง ทําใหลดความ พึงพอใจในการทํางานได ซ่ึงสอดคลองกับการศึกษาของ จารุณี ธรนิตยกุล (2541) ที่พบวา อํานาจที่หนวยงานมอบใหถาไมเดนชัดจะทําใหผูทํางานรูสึกอึดอัด มีผลตอความไมพึงพอใจในการทํางาน เพราะความมีอิสระทําใหงานคลองตัว ไดใชความคิดสรางสรรคในการทํางานภายในขอบเขตหนาที่ของตน ดานการไดรับขอมูลยอนกลับ ผลจากการวิจัยน้ี แมพยาบาลวิชาชีพเห็นวา ขอมูลยอนกลับที่ไดรับสามารถนําไปเปนแนวทางปรับปรุงและพัฒนาการทํางานของตนเองได แตก็มีพยาบาลวิชาชีพบางสวน เห็นวา ขอมูลเก่ียวกับผลงานของตนเองที่ไดรับยังไมเพียงพอที่จะทําใหเกิดความชัดเจน ที่จะทําใหเกิดผลตอการทํางานและเกิดกําลังใจในการทํางาน ซ่ึงการศึกษาของ นารีรัตน รูปงาม (2542) พบวา การไดรับขอมูลยอนกลับมีความสัมพันธทางบวกกับคุณภาพบริการ พยาบาลที่รับรูผลงานที่เกิดขึ้นจากจากการทํางานของตนเอง จะทําใหมีแรงจูงใจที่จะปรับปรุงพฤติกรรมการทํางานใหดีขึ้น ที่จะนําไปสูคุณภาพและความพึงพอใจในงานในที่สุด ความสัมพันธระหวางการประยุกตใชกลยุทธทางการตลาดของหัวหนาหอผูปวยและความพึงพอใจในงานตามการรับรูของพยาบาลวิชาชีพ

ผลการวิจัย พบวา กลยุทธทางการตลาดของหัวหนาหอผูปวยมีความสัมพันธทางบวกในระดับต่ํากับความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพโดยรวม อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r=.49) แสดงใหเห็นวา เม่ือพยาบาลวิชาชีพมีการรับรูกลยุทธทางการตลาดของหัวหนาหอผูปวยสูงขึ้นจะมีความพึงพอใจในงานที่สูงขึ้นดวย การท่ีผลการวิจัยแสดงใหเห็นวา กลยุทธทางการตลาดของหัวหนาหอผูปวยโดยรวมมีความสัมพันธทางบวกในระดับต่ํากับ อาจอภิปรายไดวา กลยุทธทางการตลาดของหัวหนาหอผูปวยมีผลในการสงเสริมใหความพึงพอใจในงานในระดับหนึ่ง แตอาจไมใชปจจัยสําคัญที่เอ้ือใหความพึงพอใจในงานอยูในระดับดี สรุป

การประยุกตใชกลยุทธทางการตลาด เปนวิธีการที่ชวยใหผูบริหารทางการพยาบาลกําหนด และดําเนินกิจกรรมตางๆทางการตลาดที่จะนําไปสูการบรรลุผลสําเร็จเปาหมายขององคการ และสรางความพึงพอใจในงานแกบุคลากร ซ่ึงควรธํารงรักษา พัฒนาใหมีการประยุกตใชกลยุทธทางการตลาดในการปฏิบัติการบริการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช ที่จะนําไปสูการตอบสนองความตองการและความจําเปนทางดานสุขภาพของผูรับบริการอยางตอเน่ือง ถึงแมการประยุกตใชกลยุทธทางการตลาดของหัวหนาหอผูปวยและความพึงพอใจในงานตามการรับรูของพยาบาลวิชาชีพดานเหลาน้ีจะอยูในระดับที่ดีแลวก็ตาม

Page 44: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

44

ขอจํากัดในการวิจัย การวิจัยน้ี ผูวิจัยพบขอจํากัดดานเครื่องมือการวิจัย เน่ืองจากดัดแปลงมาจากการ

บริการตามกรอบกลยุทธทางดานการตลาดของโรงพยาบาลฝายกาย ขอมูลที่ไดอาจจะยังไมครอบคลุมกับลักษณะการบริการพยาบาลของโรงพยาบาลจิตเวช และควรมีการทบทวน พัฒนาเคร่ืองมือใหสอดคลองกับสภาพแวดลอมที่อาจเปลี่ยนแปลงไป

กิตติกรรมประกาศ การวิจัยน้ีไดรับการสนับสนุนจากคณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม ผูวิจัยขอกราบขอบพระคุณคณาจารยทุกทานที่มีสวนทําใหการวิจัยครั้งน้ีสําเร็จลุลวง เอกสารอางอิง กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. (2549ค). สุขภาพจิตไทย พ.ศ. 2547-2548. กรุงเทพฯ:

โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย จํากัด. จารุณี ธรนิตยกุล. (2541). ความสัมพันธระหวางการใชอํานาจของหัวหนากับความพึง

พอใจในงานและความผูกพันตอองคการของผูใตบังคับบัญชา. วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองคการ, บัณฑิตวิทยาลัย หาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

จุฑาวดี กลิ่นเฟอง. (2543). ความสัมพันธระหวางปจจัยสวนบุคคล ลักษณะงาน และบรรยากาศองคการกับคุณภาพชีวิตการทํางานของพยาบาลประจําการ โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงกลาโหม. วิทยานิพนธพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการพยาบาล, บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

ทัศนา บุญทอง. (2543). ปฏิรูประบบบริการการพยาบาลที่สอดคลองกับระบบบริการสุขภาพไทยที่พึงประสงคในอนาคต (พิมพคร้ังที่ 3). กรุงเทพฯ: สภาการพยาบาล.

นารีรัตน รูปงาม. (2542). ความสัมพันธระหวางการเสริมสรางพลังอํานาจ การไดรับขอมูลปอนกลับดานคุณภาพบริการ การใหรางวัล และวัฒนธรรมคุณภาพบริการกับคุณภาพบริการตามการรับรูของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลรัฐที่เขารวมโครงการพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล.วิทยานิพนธพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการพยาบาล, บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

พวงรัตน บุญญาณุรักษ. (2544). กาวใหมสูบทบาทใหมในการบริหารการพยาบาล. กรุงเทพฯ: วังใหมบลูพรินต.

เพ็ญจันทร แสนประสาน, อุไร พานิชยานุสนธิ,์ ลัดดาวัลย ทัดศรี, เสาวลักษณ เจริญสิทธิ,์ พร้ิมเพรา สาครชยัพิทักษ, มยุรี ปริญญวัฒน, จุไรรัตน สุดประโคนเขต, อารีย ฟองเพชร

Page 45: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

45

, และ รุงนภา ปองเกียรติชยั. (2549). การจัดการทางการพยาบาลสูการเรียนรู (พิมพคร้ังที่2). กรุงเทพฯ: บริษัทสุขุมวทิการพิมพ.

ฟาริดา อิบราฮิม. (2542). สาระการบรหิารการพยาบาล (พิมพคร้ังที่ 2). กรุงเทพฯ: คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล.

วรางคณา สิริปูชกะ. (2544). ความสัมพันธระหวางปจจัยสวนบคุคล ปจจัยจูงใจ สภาพแวดลอมในการทํางานกับการปฏิบัติกิจกรรมการพัฒนาตนเองของพยาบาลประจําการโรงพยาบาลรฐั กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธพยาบาล ศาสตรมหาบณัฑิต สาขาวชิาการบริหารการพยาบาล, บัณฑิตวทิยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

วิโรจน ชื่นชม. (2543). การบริหารการตลาดของโรงพยาบาลภาครัฐในเขตกรุงเทพมหานคร.วิทยานพินธพยาบาลศาสตรมหาบณัฑิต สาขาวชิาการบริหารโรงพยาบาล, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล.

สมบูณ ขัตติยะสุวงศ. (2543). การบริการของโรงพยาบาลตามกรอบกลยุทธสวนประสมการตลาด ตามการรับรูของผูใชบริการ โรงพยาบาลรัฐและเอกชนกรุงเทพมหานคร. วิทยานพินธพยาบาลศาสตรมหาบณัฑิต สาขาวชิาการบริหารการพยาบาล, บัณฑิตวทิยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

สรางสรรค รักราษฎร. (2549). ความเตม็ใจจายคาบริการทางดานจิตเวชของประชาชนในเขตอําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม. วิทยานิพนธเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม.

สุพรรณี วงคําจันทร. (2541). ความสัมพันธระหวางภูมิหลังของบุคคล คุณลกัษณะสวนบุคคลและสภาพแวดลอมในหนวยงานกับสมรรถนะของหัวหนาฝายการพยาบาลตามการรับรูของตนเอง โรงพยาบาลชุมชน สังกัดกระทรวงสาธารณสุข. วิทยานิพนธพยาบาล ศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวชิาการบริหารการพยาบาล, บัณฑิตวทิยาลยั จุฬาลงกรณมหาวิทยาลยั.

อารี วัลยะเสว.ี (2544). รูปแบบระบบบริการสุขภาพที่สอดคลองกับสังคมไทยในสองทศวรรษหนา. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโกมลคมีทอง.

อุดม ทุมโฆสิต. (2544). การจัดการ. กรุงเทพฯ: คณะรัฐประศาสนศาสตร สถาบนับัณฑิตพัฒน บริหารศาสตร.

Bazzol, G. L., Lindrooth, R. C., Kank, R., & Hasnain-Wynia, R. (2006). The influence of health policy and market factors on the hospital safty net. Health Service Research, 41(4), 1159-1180.

Hackman, J. R., & Oldham, G. R. (1980). Work redesign. Philippines: Addison-Wesley. Etzel, M. J., Walker, B. J., & Standton, W. J. (2007). Marketing (14th ed.). New York:

McGraw-Hill.

Page 46: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

46

Fisk, R. P., Brown, S. W., & Bitner, M. J., (1993). Tracking the evolution of the services marketing literature. Journal of Retailing, 69(1), 61-103.

Fontaine, D. K., Briggs, L. P., & Pope-Smith B. (2001). Designing humanistic critical care environments. Critical Care Nursing Quality, 24, 21-34.

Gronroos, C. (2000). Service management and marketing: A customer relationship management approach (2nd ed.). Chichester: John Wiley & Sons.

Kramer,M., & Schmalenberg, C. (1997). Learning from success: Autonomy and empowerment. Nursing Administration Quartery, 24(5), 58-64.

Spear, J., Wood, L., & Chawla, S. (2004). Job satisfaction and burnout in mental health services for older people. Australian Psychiatric, 12, 50-56.

Stichler, J. (2001). Creating healing environments in critical care units. Critical Care Nurse Quality, 24,1-20.

Sullivan, E. J., & Decker, P. J. (2005). Effective leadership and management in nursing. New Jersey: Prentice-Hall.

Tompkins, N. C. (1992). Employee satisfaction lead of customer service. Human Resource Magazine, 37(11), 93-95.

Tyson, G.A., Lambert, G., & Beattie, L. (2002). The impact of ward design on the behavior, occupational satisfaction and well-being of psychiatric nurses. International Journal of Mental Health Nursing, 11(2), 94-102.

Tzeng, H. M. (2002). The influence of nurses’ working motivation and job satisfaction on intention to quit: An empirical investigation in Taiwan. International Journal of Nursing Studies, 39(8), 867-878.

Zeithaml, V. A., & Bitner, M. J. (2003). Services marketing: Integrating customer focus across the firm (3rd ed.). Boston: McGraw-Hill.

Page 47: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

47

การสรางจิตสํานึกพลเมืองในการมีสวนรวม เพ่ือปกปองศักดิ์ศรีของความเปนมนุษย กรณีศึกษา การดูแลผูปวยจิตเวชและครอบครัวในชุมชน

เมธิศา พงษศกัด์ิศรี* ขวัญฤทัย รัตนพรหม**

อังคณา สารคํา** อรอุมา ภูโสภา**

นฤมล พิณเมืองทอง** บทคัดยอ

งานวิจัยน้ีมีวัตถุประสงคเพ่ือประเมินประสิทธิผลของโปรแกรมการดูแลผูปวยจิตเวชและครอบครัวในชุมชน โดยชุมชนมีสวนรวมในดาน 1) ทัศนคติของชุมชนตอผูปวยจิตเวช 2) ทัศนคติของผูปวยจิตเวชตอตนเอง 3) รายไดของผูปวย และ4) ความรวมมือระหวางผูปวยและครอบครัว โดยสงเสริมการมีสวนรวมของชุมชนในการดูแลผูปวยจิตเวชและครอบครัว เพ่ือใหผูปวยจิตเวชและครอบครัวประกอบอาชีพรวมกันไดดวยตนเองอยางยั่งยืนและคงศักด์ิศรีความเปนมนุษย เก็บขอมูลกับผูปวยจิตเวช จํานวน 16 คน ผูนําชุมชนจํานวน 26 คน เพ่ือนบานผูปวยจิตเวช จํานวน 13 คน ญาติผูปวยจิตเวชจํานวน 11 คนและผูที่เปนทั้งเพ่ือนบานและผูนําชุมชน จํานวน 2 คน ที่อาศัยอยูในหมูที่ 2 หมูที่ 3 หมูที่ 7 และหมูที่ 12 ตําบลนครเจดีย อําเภอปาซาง จังหวัดลําพูน และเปนผูที่เคยเขารวมการพัฒนารูปแบบการฟนฟูสมรรถภาพผูปวยจิตเวชในชุมชน ผูเขารวมการวิจัยไดรับการคัดเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เคร่ืองมือในการวิจัยประกอบดวยแบบวัดทัศนคติของชุมชนตอผูปวยจิตเวช แบบวัดทัศนคติของผูปวยตอตนเอง แบบสัมภาษณความรวมมือภายในครอบครัวของผูปวยจิตเวช และการสนทนากลุม (Focus group interviews) ผลการวิจัยพบวา 1) ทัศนคติของชุมชนตอผูปวยจิตเวชอยูในระดับดีมาก 2) ทัศนคติของผูปวยจิตเวชตอตนเอง ดานการดูแลตนเองสามารถทําไดดวยตนเองโดยไมตองชวยเหลือถึงรอยละ 96.88 ความสามารถในการทํางานบาน การทํางานอาชีพสามารถทําไดดวยตนเองรอยละ 97.5 และรอยละ 96.9 ตามลําดับ 3) ผูปวยสวนใหญมีรายไดประจํา 4) ผูปวยและครอบครัวมีการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น ทั้งดานจิตใจ ความสัมพันธในครอบครัว การปฏิบัติตัวและดูแลกันในครอบครัว รวมทั้งรวมมือกันในการทํางาน และแบงภาระรับผิดชอบในการทํางาน 5) การวางแผนใหอาชีพของผูปวยและครอบครัวเปนไปอยางตอเน่ือง มีการปรับปรุงสายพันธุวัวใหดีขึ้นตามความตองการของชุมชน คําสําคัญ: ผูปวยจิตเวช, ครอบครัว, ชุมชน, ทัศนคติ * ภาควิชากิจกรรมบําบัด คณะเทคนิคการแพทย มหาวิทยาลัยเชียงใหม ** กลุมงานฟนฟูสมรรถภาพ โรงพยาบาลสวนปรุง จังหวัดเชียงใหม

Page 48: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

48

เพ่ือสนับสนุนอาชีพของผูปวยจิตเวชในชุมชนใหมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากขึ้นผลกระทบที่ไดรับจากโครงการ ไดแก การสรางเครือขายอ่ืน และการขยายผลไปสูผูปวยจิตเวชอ่ืนที่ไมไดเขารวมโปรแกรมโดยใชการมีสวนรวมของชุมชน

Building awareness of people participating in protection of human dignity: Case study of the community caring for psychiatric patients and their families.

Abstract The objective of this study was to evaluate the effectiveness of a program for the caring for psychiatric patients and their families using of community participation in the following aspects: 1) attitude of community members towards psychiatric patients 2) attitude of psychiatric patients towards themselves 3) incomes of the patients and 4) the cooperation between the patients and their families; to encourage community participation in caring for the patients and their families; and to continue their vocational cooperation between the patients and their families as well as maintaining their dignity. Sixteen patients, twenty-six community members, thirteen neighbors, eleven relatives and two neighbors and community leaders, who lived in Sub-Districts (Moo) 2,3,7 and 12 of Donjadee District, Amphur Pasang, Lampoon province, and were used to participate in the Rehabilitation program for psychiatric patients in the community, were participants in this study. They were selected by purposive sampling. The evaluative tools included questionnaires of attitude of community members towards psychiatric patients, of attitude of psychiatric patients towards themselves, and a form of interviewing the cooperation in the families of psychiatric patients and focus group interviews. The results found that 1) Attitude of community members towards psychiatric patients was very good, 2) Attitude of psychiatric patients towards themselves showed the following aspects: ability in self-care without assistance was 96.88%, ability to perform purposeful activities at home and for an income without assistance were 97.5 and 96.9% respectively, 3) Most patients earned regular income, 4) The changes after the program intervention of attitude and perspectives of the patients and their families in detail showed that their mental illness improved; the relationships in their families were better; their families learned how to interact with each other; and they looked after each other, and they cooperated in work and in allocating workload. 5) The plan in continuing the vocations of the patients and their families had been undertaken by improving the cattle breed so that their effective farming was promoted.

Page 49: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

49

The impact of this study was to build the networks and include to the patients who did not participate in the program of caring for psychiatric patients and their families in the community using the community participation. Key words: psychiatric patients, families, community, attitude

บทนํา

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ใหความสําคัญในแงศักด์ิศรีของความเปนมนุษย วาประชาชนควรไดรับสิทธใินการดูแลจากรัฐและมีสวนรวมในการดูแลกันเองภายในชุมชน โดยเฉพาะผูดอยโอกาส เชน ผูปวยจิตเวชและครอบครัว เพ่ือใหมีคุณภาพชีวติที่ดี และดํารงอยูในฐานะสมาชิกคนหน่ึงของชุมชน ดังมาตรา54 ที่บัญญัติวา บคุคลซ่ึงพิการหรือทพุพลภาพ มีสิทธิเขาถึงและใชประโยชนจากสวัสดิการ สิง่อํานวยความสะดวกอันเปนสาธารณะ และความชวยเหลือที่เหมาะสมจากรัฐ บุคคลวิกลจริตยอมไดรับความชวยเหลือที่เหมาะสมจากรัฐ นอกจากนี้มาตรา 80 ระบุวารัฐตองดําเนินการตามแนวนโยบายดานสังคม การสาธารณสขุ การศึกษา และวัฒนธรรม โดยตองสงเคราะหและจัดสวัสดิการใหแกผูสูงอายุ ผูยากไร ผูพิการหรือทุพพลภาพและผูอยูในสภาวะยากลําบากใหมีคณุภาพชีวิตทีดี่ขึ้นและพ่ึงพาตนเองได ตลอดจนสงเสริม สนับสนุนและพัฒนาระบบสุขภาพที่เนนการสรางเสริมสุขภาพอันนําไปสูสุขภาวะที่ยั่งยืนของประชาชน รวมทั้งจัดและสงเสริมใหประชาชนไดรับบริการสาธารณสุขที่มีมาตรฐานอยางทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ และสงเสรมิใหเอกชนและชุมชนมีสวนรวมในการพฒันาสุขภาพและการจัดบริการสาธารณสุข โดยผูมีหนาที่ใหบริการดังกลาวซ่ึงไดปฏิบัติหนาทีต่ามมาตรฐานวิชาชีพและจริยธรรม ยอมไดรับความคุมครองตามกฎหมาย (รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550)

ดังน้ันการดูแลผูดอยโอกาสจึงเปนเรื่องที่รัฐพึงดําเนินการและเปดโอกาสใหภาคสวนตางๆทั้งองคกรปกครองสวนทองถิ่น ชุมชน และเอกชนเขามามีสวนรวมในการดําเนินการ สําหรับพระราชบัญญัติสุขภาพ แหงชาติ พ.ศ. 2550 มีเปาหมายใหเกิดสํานึกใหมวาสุขภาพเปนของประชาชน แตละคนสามารถสรางได และชุมชนประชาคมรวมกัน ผู ป ว ย จิต เ วช เป นกลุมประชาชนที่พึงไดรับการดูแลตามรัฐธรรมนูญและกฎหมายดังกลาวเชนกัน (สํานักงานคณะกรรมการสุขภาพแหงชาติ, 2550) และไดรับการคุมครองดานสิทธิผลประโยชนโดยคํานึงถึงศักด์ิศรีความเปนมนุษย ตามพระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ. 2551

จากการศึกษาของเมธศิา พงษศํกด์ิศรี และคณะ (2548) เร่ืองการพัฒนารูปแบบการฟนฟูสมรรถภาพผูปวยจิตเวชในชุมชนตามแนวทางกิจกรรมบําบัด/อาชีวบําบัด ซ่ึงมีวัตถุประสงคเพ่ือพัฒนารูปแบบการฟนฟูสมรรถภาพตามความตองการและสภาพปญหาของชุมชน กลุมตัวอยางที่ทําการศึกษาประกอบดวยกลุมชุมชนที่มีความสัมพันธกับผูปวยจิตเวชในตําบลนครเจดีย อําเภอปาซาง จังหวัดลําพูน โดยใชการสนทนากลุม (Focus group interviews)

Page 50: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

50

เพ่ือคนหาความตองการจากกลุมผูปวยจิตเวช 25 คน กลุมญาติผูปวย 28 คน กลุมเพ่ือนบาน 29 คน และกลุมผูนําชุมชน 53 คน ผลการศึกษาพบความตองการการชวยเหลือ ดังน้ี 1) กลุมผูปวย ตองการใหผูอ่ืนมีทัศนคติทางบวกตอตนเอง ตองการมีงานอาชีพทํา ตองการไดรับยารักษาไปตลอดและมีความสะดวกในการรับยา ตองการความรูเรื่องโรคจิตเวช ตลอดจนตองการรูวาจะปฏิบัติตัวอยางไรใหหายจากโรคโดยผานสื่อตาง ๆ 2) ญาติผูปวย เพ่ือนบาน และผูนําชุมชน ตองการใหผูปวยมีงานทํา เพ่ือใหคลายเครียด และมีรายได ตองการความรูเร่ืองโรคจิตเวช และวิธีการดูแลชวยเหลือ รวมทั้งวิธีปฏิบัติตัวที่ถูกตองเหมาะสม ญาติผูปวยและเพื่อนบานตองการความชวยเหลือในการดูแลผูปวย อยางไรก็ตามมีความเห็นวาญาติตองเปนผูดูแลผูปวยอยางใกลชิดเปนอันดับแรก 3) ญาติตองการใหผูปวยมีสวนรวมในกิจกรรมตาง ๆในชุมชน 4) ผูนําชุมชนตองการใหผูปวยดูแลตัวเองดานกิจวัตรประจําวันใหมีวิถีชีวิตความเปนอยูที่ดีขึ้น และมีชีวิตที่ปกติเหมือนผูอ่ืน

นอกจากน้ียังสนับสนุนการจัดตั้งกองทุนฟนฟูดานอาชีพ 10,000 บาท เพ่ือเปนทุนหมุนเวียนในการประกอบอาชีพ โดยมีผูนําชุมชน อาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานและบุคลากรงานจิตเวช โรงพยาบาลปาซางเปนคณะกรรมการในการพิจารณารวมกันในการจัดการกับกองทุนดังกลาว โดยมีขอตกลงเบื้องตนวาโครงการที่ตองการการสนับสนุนทุนดังกลาวตองมีผูปวยจิตเวชและครอบครัวรวมอยูในโครงการอยางนอย 1 ครอบครัว ขณะน้ีไดดําเนินการใหโปรแกรมดูแลผูปวยจิตเวช และครอบครัวในชุมชน โดยสมาชิกในชุมชนมีสวนรวมแลว แตยังไมไดประเมินผลและเตรียมแนวทางใหจิตสํานึกน้ียังคงอยูอยางตอเน่ือง และดําเนินการตอโดยสมาชิกในชุมชน ดังนั้นเพ่ือใหโปรแกรมนี้เสร็จสมบูรณตามวัตถุประสงคที่ตั้งไว การใหผูปวยใชความสามารถที่มีอยูชวยตัวเอง การใหครอบครัวและชุมชนมีจิตสํานึกในการมีสวนรวมในการดูแลผูปวย และอยูรวมกับผูปวยไดจึงเปนสิ่งจําเปน

ผูวิจัยจึงไดวางแผนดําเนินการวิจัยตอในขั้นตอนการประเมินการมีสวนรวมของชุมชนในการดูแลผูปวยจิตเวชและครอบครัวในชุมชน โดยใหสมาชิกในชุมชนที่เปนกลุมตัวอยางดังกลาว ตลอดจนองคกรปกครองสวนทองถิ่นเขามามีสวนรวมในการดูแลผูดอยโอกาสในชุมชนโดยเฉพาะผูปวยจิตเวช เพ่ือใหผูปวยจิตเวชสามารถดําเนินชีวิตไดในชุมชนของตน และมีความสุขตามอัตภาพ อีกทั้งทําใหผูปวยจิตเวชและครอบครัวพ่ึงพาตัวเองไดในระยะยาวทั้งดานการดูแลสุขภาพกาย และสุขภาพจิตของตัวเอง ซ่ึงรวมถึงการมีงานอาชีพเลี้ยงตัวเองได มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นและไดรับการยอมรับในฐานะสวนหนึ่งของสังคมในที่สุด

โครงการน้ีจึงจะเปนโครงการนํารองในการสรางจิตสํานึกในการมีสวนรวมในการดูแลผูปวยจิตเวช และครอบครัวในชุมชน โดยใชโปรแกรมการดูแลที่ออกแบบตามความตองการของประชาชนเอง เพ่ือใหประชาชนมีสวนรวมในการดําเนินการ หากศึกษานี้ประสบผลสําเร็จก็จะสามารถขยายผลไปยังพ้ืนที่อ่ืนตอไป เพ่ือใหเกิดการดูแลผูปวยจิตเวชในฐานะมนุษยผูหน่ึงซ่ึงควรธํารงไวซ่ึงศักด์ิศรี

Page 51: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

51

วัตถุประสงค

1. เพ่ือสงเสริมการมีสวนรวมของชุมชนในการดูแลผูปวยจิตเวช และครอบครัว

2. เพ่ือประเมินประสิทธิผลของโปรแกรมการดูแลผูปวยจิตเวชและครอบครัวในชุมชนโดยชุมชนมีสวนรวมในดาน 1) ทัศนคติของชุมชนตอผูปวยจิตเวช 2) ทัศนคติของผูปวยจิตเวชตอตนเอง 3) รายไดของผูปวย และ4) ความรวมมือระหวางผูปวยและครอบครัว

3. เพ่ือใหผูปวยจิตเวชและครอบครัวประกอบอาชีพรวมกันไดดวยตนเองอยางยั่งยืน และคงศักด์ิศรีความเปนมนุษย

ขอบเขตการวิจัย

เปนการวิจัยที่เก็บขอมูลกับผูปวยจิตเวช ญาติผูปวยจิตเวช เพ่ือนบานของผูปวย ผูนําชุมชนและบุคลากรทางสาธารณสุข เฉพาะในหมูที่ 2 หมูที่ 3 หมูที่ 7 และหมูที่ 12 ตําบลนครเจดีย อําเภอปาซาง จังหวัดลําพูน ที่เคยเขารวมโปรแกรมการดูแลผูปวยจิตเวชและครอบครัวในชุมชนโดยชุมชนมีสวนรวมที่ไดพัฒนาขึ้นจากการศึกษาของ เมธิศา พงษศํกด์ิศรี และคณะ (2548)

กรอบแนวคิดในการวิจัย

การดําเนินโปรแกรมการดูแลผูปวยจิตเวชและครอบครัวในชุมชน โดยใชกระบวนการมีสวนรวม กอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในดานตางๆขึ้นทั้งในตัวผูปวย ครอบครัว และในชุมชน ดังแสดงในภาพที่ 1

ภาพที่ 1 แสดงกรอบแนวคิดในการวิจัย

การเปลี่ยนแปลง

-ทัศนคติของชุมชนตอ

ผูปวยจิตเวช

-ทัศนคติของผูปวยจิต

เวชตอตนเอง

-รายไดของผูปวย

-ความรวมมือระหวางผูปวยและครอบครัว

การมีสวนรวมของ

ผูปวย ครอบครัว

และชุมชนในการ

ดําเนินการตาม

โปรแกรม

Page 52: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

52

นิยามเชิงศัพท

การสรางจิตสํานึกพลเมืองในการมีสวนรวม หมายถึง การมีสวนรวมของผูรวมของผูปวย ครอบครัวและชุมชนในการดําเนินตามโปรแกรมการดูแลผูปวยจิตเวชและครอบครัวในชุมชน โดยชุมชนมีสวนรวม แลวกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงดาน ทัศนคติของชุมชนตอผูปวยจิตเวช ทัศนคติของผูปวยจิตเวชตอตนเอง รายไดของผูปวยและความรวมมือระหวางผูปวยและครอบครัว

โปรแกรมการดูแลผูปวยจิตเวชและครอบครัวในชุมชน โดยชุมชนมีสวนรวม หมายถึง โปรแกรมที่สามารถทําใหผูปวยจิตเวชมีทักษะตางๆท่ีจําเปนในการดําเนินกิจกรรมในชีวิตประจําวันที่ดีขึ้น ทั้งในดาน กิจวัตรประจําวัน การทํางาน และการทํากิจกรรมที่มีจุดมุงหมาย ที่พัฒนาขึ้นตามความตองการของผูปวย ครอบครัว เพ่ือนบาน และผูนําชุมชน โดย เมธิศา พงษศักด์ิศรี และคณะ (2548) ประกอบดวย โปรแกรมตางๆ ดังนี้ 1) การใหความรูทางจิตเวชโดยผานสื่อ โปสเตอร เทปสําหรับเปดเสียงตามสาย VCD และจัดอบรมเรื่องโรคจิตเวช และการดูแลผูปวยจิตเวช 2) การจัดอบรมอาชีพดานการเลี้ยงวัวพรอมทั้งใหพันธุวัว และอบรมเรื่องการทําโครงพวงหรีดจากไมไมยราพยักษ และการทําพรมเช็ดเทาจากเศษผา พรอมทั้งแจกคูมือ 3) การตั้งกลุมชวยเหลือกันดานงานอาชีพ เชน การพัฒนาพันธุวัว เพื่อแบงปนความรู ชวยแกปญหาและหาตลาด รวมทั้งใหองคการบริหารสวนตําบลเขามารวมโครงการ เพ่ือสนับสนุนงบประมาณในระยะยาว และงานดานอาชีพใหดําเนินอยูตอไป

ผูปวยจิตเวช หมายถึง บุคคลที่มีความผิดปกติดานความคิด ความรูสึก อารมณและพฤติกรรม โดยไดรับการวินิจฉัยจากจิตแพทยวาเปนผูมีความผิดปกติทางจิต หรือปวยเปนโรคทางจิตเวช

ชุมชน หมายถึง กลุมคนที่มีภูมิลําเนา ที่มีผูปวยจิตเวชอาศัยอยู

ระเบียบวิธีดําเนินการวิจัย

รูปแบบการวิจัย

ในการศึกษาครั้งน้ีเปนการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีสวนรวม (Participatory action research) เน่ืองจากประชาชนมีสวนรวมในการคัดเลือกโปรแกรม และมีสวนรวมในการดําเนินงานของโปรแกรม (สิทธิณัฐ ประพุทธนิติสาร, 2545)

Page 53: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

53

ประชากร

ประชากรคือ ผูปวยจิตเวช ญาติผูปวยจิตเวช เพ่ือนบานของผูปวยจิตเวช ผูนําชุมชนและบุคลากรทางสาธารณสุข ที่อาศัยอยูในหมูที่ 2 หมูที่ 3 หมูที่ 7 และหมูที่ 12 ตําบลนครเจดีย อําเภอปาซาง จังหวัดลําพูน และเปนผูที่เคยเขารวมในการศึกษาเรื่องการพัฒนารูปแบบการฟนฟูสมรรถภาพผูปวยจิตเวชในชุมชน โดย เมธิศา พงษศํกด์ิศรี และคณะ (2548)

กลุมตัวอยาง

เลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) จากประชากร ประกอบดวย ผูปวยจิตเวช จํานวน 16 คน ผูนําชุมชนจํานวน 26 คน เพ่ือนบานผูปวยจิตเวช จํานวน 13 คน ญาติผูปวยจิตเวชจํานวน 11 คน จํานวนญาตินอยกวาผูปวย เน่ืองจากผูปวย 2 คนเปนญาติกันและอยูบานใกลกัน แตญาติของผูปวยทั้ง 2 น้ีอยูไกล นาน ๆมาเยี่ยม ผูปวย 2 คนน้ีจึงดูแลกันเอง ญาติผูปวย 1 คนติดธุระ ญาติผูปวยอีก 1 คนไมสบาย และมีผูปวย 2 คนอยูครอบครัวเดียวกัน และมีญาติคนเดียวกัน หลักเกณฑการเลือกกลุมตัวอยางมีดังน้ี

1.ผูปวยจิตเวช เปนผูปวยที่อาการทางจิตสงบ สามารถพูดคุยแสดงความคิดเห็นไดดี อายุ 15 ปขึ้นไป เปนผูปวยจิตเวชที่เขารวมในโปรแกรมการดูแลผูปวยจิตเวชและครอบครัวในชุมชนโดยชุมชนมีสวนรวมและยินดีเขารวมการศึกษา

2.ญาติผูปวยจิตเวช เปนผูที่พักอยูในบานหรือแหลงอาศัยเดียวกันกับผูปวยจิตเวชเปนผูรับภาระในการดูแลและชวยเหลือผูปวยในการดําเนินกิจกรรมในชีวิตประจําวันโดยตรงอยางสมํ่าเสมอ เปนญาติของผูปวยจิตเวชที่เขารวมในโปรแกรมการดูแลผูปวยจิตเวชและครอบครัวในชุมชน โดยชุมชนมีสวนรวมและยินดีเขารวมการศึกษา

3.เพ่ือนบาน เปนผูที่มีที่พักอาศัยอยูในบริเวณเดียวกันกับที่พักอาศัยของผูปวยจิตเวช เปนผูที่อาจไดรับผลกระทบทั้งทางตรงและทางออมจากการเจ็บปวยทางจิตของผูปวย เปนเพ่ือนบานของผูปวยจิตเวชที่เขารวมในโปรแกรมการดูแลผูปวยจิตเวชและครอบครัวในชุมชน โดยชุมชนมีสวนรวม และยินดีเขารวมการศึกษา

4.ผูนําชุมชนและบุคลากรทางสาธารณสุข เปนผูใหญบาน อาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน (อสม.) ผูชวยอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน (ผ.ส.ส.) ของหมูบานที่มีผูปวยจิตเวชอาศัยอยู เจาหนาที่องคการบริหารสวนตําบลประจําหมูบาน เปนผูนําชุมชนและบุคลากรสาธารณสุขที่อยูในชุมชนเดียวกับผูปวยจิตเวชที่เขารวมในโปรแกรมการดูแลผูปวยจิตเวช และครอบครัวในชุมชน โดยชุมชนมีสวนรวม และยินดีเขารวมการศึกษา

Page 54: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

54

เครื่องมือที่ใชในการวิจัยและการตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ 1. แบบสอบถามลักษณะทางประชากร ประกอบไปดวยขอมูลดาน อายุ เพศ สถานภาพ

สมรส การศึกษา อาชีพ และรายได

2. แบบวัดทัศนคติของชุมชนตอผูปวยจิตเวช เปนแบบประเมินที่นํามาจากแบบวัดทัศนคติตอผูปวยจิตเวชในชุมชนที่พัฒนาขึ้นโดย ขนานและคณะ (2537) ประกอบดวยขอคําถามทั้งเชิงบวกและเชิงลบ ทั้งหมด 26 ขอ ซ่ึงมีเกณฑในการใหคะแนนเปนชวงคะแนนตั้งแต 4 ถึง 0 โดยมีความหมายเห็นดวยอยางยิ่งถึงไมเห็นดวยอยางยิ่ง สําหรับคําถามเชิงบวก และชวงคะแนนตั้งแต 0 ถึง 4 โดยมีความหมายไมเห็นดวยอยางยิ่งถึงเห็นดวยอยางยิ่ง สําหรับคําถามเชิงลบ โดยนํามาหาคาความเชื่อม่ันกับบุคคลในชุมชน 20 คน ไดคาสัมประสิทธอัลฟา เทากับ 0.75

3. แบบวัดทัศนคติของผูปวยตอตนเอง เปนแบบประเมินที่พัฒนาขึ้นโดยคณะวิจัย ซ่ึงประกอบดวยขอความเก่ียวกับความสามารถในการทํากิจวัตรประจําวัน การทํางานและการทํากิจกรรมที่มีจุดมุงหมาย มีเกณฑในการใหคะแนนเปนเปอรเซ็นต ตามระดับความสามารถ ตั้งแตทําไดเองทั้งหมดโดยไมตองชวยเหลือ จนถึงตองไดรับความชวยเหลือทั้งหมด แลวนับจํานวนผูปวยที่ทําไดเองท้ังหมดโดยไมตองชวยเหลือ เสนอเปนเปอรเซ็นต โดยไดนําไปทดสอบใชกับผูปวยจิตเวชที่มารับบริการที่โรงพยาบาลสวนปรุง จํานวน 10 ราย เพ่ือตรวจสอบความเขาใจของเนื้อหา 4. แบบสัมภาษณความรวมมือภายในครอบครัวของผูปวยจิตเวช ใชในการสัมภาษณ ความคิดเห็นของชุมชน เปนขอคําถามปลายเปด จํานวน 2 ขอ คือ 1) ดานการเปลี่ยนแปลงของความสัมพันธในครอบครัวของผูปวยจิตเวช 2) ดานความรวมมือกันในครอบครัวของผูปวยจิตเวช โดยไดนําไปทดสอบใชกับบุคคลในชุมชน ที่ชวยพาผูปวยจิตเวชมารับบริการที่โรงพยาบาลสวนปรุง จํานวน 10 ราย เพ่ือตรวจสอบความเขาใจของเน้ือหา 5. การสนทนากลุม (Focus group interviews) สําหรับกลุมตัวอยางที่เปนผูปวยจิตเวช และญาติ โดยการพัฒนาคําถามนํา (Probe questions) เพ่ือใชในการสนทนากลุม ประกอบดวยคําถามดาน 1) ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับผูปวยจิตเวช และสมาชิกในครอบครัวภายหลังที่เขารวมโปรแกรม 2) การเปลี่ยนแปลงของความรวมมือกันในครอบครัวในดานตางๆ ภายหลังที่เขารวมโปรแกรม แลวนําไปทดสอบใชกับผูปวยจิตเวชและญาติที่มารับบริการท่ีโรงพยาบาลสวนปรุง จํานวน 10 ราย เพ่ือตรวจสอบความเขาใจของเน้ือหา การวิเคราะหขอมูล

1. ขอมูลที่ไดจากการสนทนากลุม และจากแบบสัมภาษณความรวมมือภายในครอบครัวของผูปวยจิตเวช ใชการวิเคราะหเชิงเนื้อหา (Content analysis) และตรวจสอบความถูกตองของขอมูล ดวยการตรวจสอบขอมูลสามเสาโดยผูวิจัย (Researcher Triangulation)

Page 55: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

55

2. ขอมูลเชิงปริมาณทั้งหมดใชการวิเคราะหทางสถิติโดยโปรแกรมสําเร็จรูป ดวยสถิติเชิงบรรยาย (Descriptive statistics)

ผลการศึกษา

1. ลักษณะทางประชากรของกลุมตัวอยางผูปวยจิตเวช

ตารางที่ 1 ลักษณะประชากรของกลุมตัวอยางผูปวยจิตเวช

ลักษณะประชากร ความถี่ รอยละ

อายุ

15-29 ป 3 18.75 30-44 ป 3 18.75 45-59 ป 7 43.75 60 ปขึ้นไป 3 18.75 เพศ

ชาย 9 56.25 หญิง 7 43.75 สถานภาพสมรส

โสด 6 37.5 คู 7 43.75 หยา 1 6.25 มาย 2 12.50 การศึกษา

ประถมศึกษา 13 81.25 มัธยมศึกษา 2 12.50 ปริญญาตรี 1 6.25 อาชีพ

รับจางท่ัวไป 8 50.00 เกษตรกร 1 6.25 อาชีพอิสระ 5 31.25 อ่ืน ๆ 2 12.50 รายได

ไมมีรายได 1 6.25 นอยกวา 1,000 บาทตอเดือน 7 43.75 1,000-5,000 บาท 8 50.00

Page 56: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

56

2. ทัศนคติของชุมชนตอผูปวยจิตเวช ทัศนคติของชุมชนตอผูปวยจิตเวชมีคะแนนเฉลี่ยรวมเทากับ 3.03 และสวน

เบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ .42 3. ทัศนคติของผูปวยจิตเวชตอตนเอง

ตารางที่ 2 รอยละของผูปวยจิตเวชดานทัศนคติของผูปวยจิตเวชตอตนเอง

หัวขอ รอยละ 1. ดานความสามารถเกี่ยวกับการทํากิจวัตรประจําวันไดดวยตนเองโดยไมตองชวยเหลือ

1.1 การดูแลตนเอง ไดแก อาบนํ้า/ลางหนา/แปรงฟน การขับถาย และการรับประทานยา

96.88

1.2 การเดินทางในชุมชน ไดแก ไปตลาด ไปธนาคาร ไปโรงพยาบาล ไปที่ทําการไปรษณีย และไปวัด

65.02

1.3 การส่ือสาร ไดแก ใชโทรศัพท รับสงจดหมาย/พัสดุ/ธนาณัติ (ซ้ือยาทางไปรษณีย) การฝาก-ถอนเงิน การปรึกษาหารือกับบุคคลในบาน

60.02

1.4 การแกไขปญหาเม่ือมีเรื่องทุกขใจ 87.50 2. ความสามารถในการทํางานและการทํากิจกรรมที่มีจุดมุงหมายโดยไมตองชวยเหลือ

2.1 การทํางานบาน 97.50 2.2 การทํางานอาชีพ 96.90

4. ความรวมมือภายในครอบครัวของผูปวยจิตเวช ตามความเห็นของชุมชน

ตารางท่ี3 ความรวมมือภายในครอบครัวของผูปวยจิตเวช ตามความเห็นของชุมชน (จากแบบสัมภาษณความรวมมือภายในครอบครัวของผูปวยจิตเวช)

หัวขอ จํานวนผูใหขอมูล 1. ดานการเปลี่ยนแปลงของความสัมพันธในครอบครัวของผูปวยจิตเวช 1.1 ความสัมพันธดีขึ้น ทะเลาะกันนอยลง 34 1.2 พูดจากันดีขึ้น 13 1.3 รวมกิจกรรมในชุมชนไดดีขึ้น 3 1.4 อาการดีขึ้น 5 1.5 ชุมชนยอมรับมากขึ้น 2 1.6 พฤติกรรมดีขึ้น 2 1.7 ครอบครัวมีรายไดมากขึ้น 2

Page 57: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

57

1.8 รับผิดชอบงานมากขั้น 5 1.9 ยังเครียดเหมือนเดิมเพราะขาดยา 1 2. ดานความรวมมือกันในครอบครัวของผูปวยจิตเวช 2.1 การทํางานบาน 2.1.1 ชวยงานบาน รวมมือมากขึ้น 35 2.1.2 ไมคอยไดทําเพราะไปทํางานอาชีพของตนเอง 2 2.1.3 ผูปวยไมคอยทํา ญาติตองชวยเหลือ 2 2.1.4 ผูปวยรับผิดชอบงานบานเอง 6 2.2 งานอาชีพ 2.2.1 ทํางานกับญาติ ชวยญาติประกอบอาชีพ 25 2.2.1 ทํางานเดิมที่เคยทําตอ 5 2.2.2 ทํางานรวมกับผูอ่ืนในชุมชนได 16 2.2.3 ไมคอยชวยทํางาน 4 2.3 การปฏิบัติตัวตอกันทั่วไป 2.3.1 ชวยเหลือกันดี 9 2.3.2 มีนํ้าใจมากขึ้น 1 2.3.3 พูดคุยกันดีสัมพันธภาพดีขึ้น 14 2.3.4 อารมณดีตอกัน 1 2.3.5 เขารวมกับคนในชุมชนไดปกติ 6 2.3.6 ปฏิบัติตัวตอกันดีขึ้น 10 2.3 การปฏิบัติตัวตอกันทั่วไป 2.3.1 ทะเลาะกันนอยลง 5 2.3.2 จะมีปญหาเวลาผูปวยด่ืมแอลกอฮอล 3 2.4 การมีสวนรวมในการดูแลผูปวยจิตเวช (การกินยา, การไปพบแพทย)

2.4.1 ชวยแจงญาติใหพาผูปวยไปรับยา, ไปพบแพทย 12 2.4.2 ชวยเตือนเร่ืองการรับประทานยา 16 2.4.1 เขาไปถามทุกข สุข 3 2.4.2 พาผูปวยไปรับยา, ไปพบแพทย 19 2.4.3 ผูปวยไปรับยา, ไปพบแพทยเอง 9

Page 58: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

58

สรุป และอภิปรายผล

1. ทัศนคติของชุมชนตอผูปวยจิตเวช คะแนนเฉลี่ยของทัศนคติโดยรวมมีคาเทากับ 3.03 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน .42 ซ่ึงหมายความวา ชุมชนมีทัศนคติที่ดีมากตอผูปวยจิตเวชในชุมชน ภายหลังที่ไดรับโปรแกรมการดูแลผูปวยจิตเวชและครอบครัวในชุมชน โดยชุมชนมีสวนรวม สอดคลองกับการศึกษาของ ศิริวรรณ เพียรสุข (2544) และการศึกษาของ ชนิกรรดา ไทยสังคมและคณะ(2547) นอกจากนี้จากแบบสัมภาษณความรวมมือภายในครอบครัวผูปวยจิตเวชพบวา ชุมชนเห็นวา ความสัมพันธในครอบครัวผูปวยจิตเวชดีขึ้น ทะเลาะกันนอยลง จํานวน 34 คน และมีการชวยงานบานและรวมมือกันมากขึ้น จํานวน 35 คน

2. ทัศนคติของผูปวยจิตเวชตอตนเอง

2.1 ดานความสามารถเกี่ยวกับการทํากิจวัตรประจําวัน

2.1.1 การดูแลตนเองกลุมตัวอยางเห็นวาตนเองสามารถทําไดดวยตนเองโดยไมตองชวยเหลือถึงรอยละ 96.88 สอดคลองกับการศึกษาของ พิมพทอง เจ็กจันทึก , อัญชลี ศิลาเกษ และ ลัดดาวัลณ คุณวุฒิ (2545) ที่พบวา การที่ญาติและประชาชนมีสวนรวมในการดูแลผูปวยจิตเวชมีผลทําใหผูปวยมีสภาพที่ดีขึ้น สามารถชวยเหลืองานตามความสามารถของตนเองได ตลอดจนชวยเหลือตนเองได

2.1.2 การเดินทางในชุมชนกลุมตัวอยางเห็นวาตนเองสามารถทําไดดวยตนเองโดยไมตองชวยเหลือรอยละ 65.02 เม่ือพิจารณาในรายละเอียดพบวา การเดินทางไปธนาคารและที่ทําการไปรษณีย กลุมตัวอยางที่เห็นวาตนเองสามารถทําไดโดยไมตองชวยเหลือมีจํานวนนอย และอีกสวนหนึ่งไมมีโอกาสไดทําน่ันอาจเปนเพราะวาในบริบทชุมชนของกลุมตัวอยางไมมีความจําเปนในการเดินทางไปใน 2 สถานที่น้ีมากนัก ในขณะเดียวกันการเดินทางไปวัด ไปตลาดและโรงพยาบาลเปนสิ่งที่สอดคลองกับบริบทของชุมชนและมีความจําเปนตอการดําเนินชีวิตของกลุมตัวอยางมากกวา ตรงกับการศึกษาของ ศรีวรรณ รุงโรจน (2547) เรื่องความตองการพ่ึงพาตนเองและผูอ่ืนทางดานกิจกรรมการดําเนินชีวิตของผูปวยจิตเภท ที่พบวาผูปวยตองการฝกฝนเพ่ือตองการพึ่งพาตนเองในดานการเดินทางไปจับจายซ้ือของในชุมชน จึงเปนไปไดวาเม่ือผูปวยไดรับโปรแกรมดังกลาวจึงเห็นวาตนเองสามารถทําได

2.1.3 การสื่อสาร กลุมตัวอยางเห็นวาตนเองสามารถทําไดดวยตนเองโดยไมตองชวยเหลือรอยละ 60.02 เม่ือพิจารณาในรายละเอียดพบวากลุมตัวอยางสวนนอยที่เห็นวาตนเองสามารถใชโทรศัพท รับ- สง จดหมายทางไปรษณีย ตลอดจนฝาก-ถอนเงิน ซ่ึงสามารถอภิปรายไดดวยเหตุผลทํานองเดียวกันกับขอ 2.1.2

Page 59: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

59

2.1.4 การแกไขปญหาเม่ือมีเร่ืองทุกขใจกลุมตัวอยางเห็นวาตนเองสามารถทําไดดวยตนเองโดยไมตองชวยเหลือรอยละ 87.5 ตรงตามผลจากการสนทนากลุมที่พบวาผูปวยมีอาการทางจิตดีขึ้น ซ่ึงปญหาดานสุขภาพจิตที่ลดลง ทําใหผูปวยสามารถปรับตัวแกไขปญหาได ทั้งดานความคิดและการควบคุมตัวเอง (ปราโมทย สุคนิชย, 2544)

2.2 ความสามารถในการทํางานและการทํากิจกรรมที่มีจุดมุงหมาย

การทํางานบาน การทํางานอาชีพกลุมตัวอยางเห็นวาตนเองสามารถทําไดดวยตนเองรอยละ 97.50 และรอยละ 96.90 อาจเนื่องมาจากการฟนฟูสมรรถภาพทางอาชีพตาม ความตองการและความสามารถของผูปวยเปนทักษะที่มีความสําคัญในการดําเนินชีวิต และความสามารถในการประกอบอาชีพยังมีสวนชวยใหอาการทางจิตทุเลาหรือหายเปนปกติได (อนงค ธรรมโรจน, เทพนิมิตร บางแสง และสิรินาฎ ม่ันคง, 2542) จึงทําใหผูปวยทํางานบานได ไดทํางาน และมีอาชีพ สอดคลองกับการศึกษาของศิริวรรณ เพียรสุข (2544) ที่ผูปวยชวยเหลืองานภายในบานได ประกอบอาชีพได หลังจากการประเมินผลโครงการประชาคมกับการดูแลผูปวยจิตเวชในชุมชน และสอดคลองกับคําตอบในแบบสัมภาษณความรวมมือภายในครอบครัวของผูปวยจิตเวชที่พบผูปวยทํางานกับญาติ ชวยญาติประกอบอาชีพ (ผูตอบ 25 คน) ทํางานรวมกับผูอ่ืนในชุมชนได (ผูตอบ 16 คน) และทํางานเดิมที่เคยทําตอ (ผูตอบ 5 คน) ชวยงานบาน รวมมือมากขึ้น (ผูตอบ 35 คน) ผูปวยรับผิดชอบงานบานเอง (ผูตอบ 6 คน)

3. ผูปวยสวนใหญมีรายไดประจํา มีเพียงผูปวยจํานวนหนึ่งรายที่ไมมีรายไดประจํา อาจเนื่องจากการที่ผูปวยมีอาการทางจิตดีขึ้น และมีความสามารถเพ่ิมขึ้น สามารถทํางานอาชีพได ดังที่อภิปรายแลวขางตน รวมกับการไดรับโอกาสดานการประกอบอาชีพมากขึ้น จากโครงการอาชีพ ซ่ึงเปนสวนหนึ่งของโปรแกรมการดูแลผูปวยจิตเวชและครอบครัวในชุมชน โดยชุมชนมีสวนรวม จึงทําใหผูปวยสวนใหญมีรายไดประจํา

4. จากการสนทนากลุม พบการเปลี่ยนแปลงหลังจากไดรับโปรแกรมการดูแลผูปวยจิตเวชและครอบครัวในชุมชน โดยชุมชนมีสวนรวมแลว จากทัศนคติ หรือมุมมองของผูปวยและญาติในรายละเอียดดังน้ี

4.1การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับผูปวยจิตเวช และสมาชิกในครอบครัวภายหลังที่เขารวมโปรแกรม พบวา

4.1.1 อาการเจ็บปวยดีขึ้น หรือสบายใจขึ้น (หมู 2, 3, 7) ห ลั ง จ า ก ไ ด รั บโปรแกรมแลว ผูปวยมีอาการทางจิตใจดีขึ้น อาจเนื่องจากทั้งผูปวยและครอบครัวไดรับความรูในการดูแลผูปวยอยางถูกตองเหมาะสม อีกทั้งการที่ครอบครัว และสมาชิกในชุมชนมีสวนรวมในการดูแลผูปวย ในการใหความเขาใจ ใหไดรับยาสมํ่าเสมอ มีผลใหผูปวยมีอาการดีขึ้น (พิมพ

Page 60: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

60

ทอง เจ็กจันทึก และคณะ, 2545) นอกจากน้ีการที่ญาติมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการดูแลผูปวยจิตเวชถูกตองเพ่ิมขึ้น ทําใหผูปวยมีอาการดีขึ้น (สนาม บินชัย, 2542) และสอดคลองกับคําตอบในแบบสัมภาษณความรวมมือภายในครอบครัวของผูปวยจิตเวช ที่ผูตอบ 5 คนรายงานวาผูปวยมีอาการดีขึ้น

4.1.2 ไดรับประทานยาสมํ่าเสมอ หรืออาการไมดีก็ปรึกษาผูรักษา (หมู 2) การที่ผูปวยและญาติมีความรูความเขาใจ และเห็นความสําคัญของการรับประทานยา รวมกับการดูแลอยางถูกตองเหมาะสม ตามที่อภิปรายในขอ 4.1.1 ทําใหผูปวยไดทานยาสมํ่าเสมอ นอกจากน้ีการผสมผสานการฟนฟูสมรรถภาพทางจิตเวชในชุมชนเขากับสาธารณสุข โดยประสานงานกับหนวยงานสาธารณสุขในชุมชน ในการติดตามเยี่ยมผูปวย และชวยเหลือผูปวยในการใชชีวิตในชุมชน (ชนิกรรดา ไทยสังคม และคณะ, 2547) อาจทําใหผูปวยและญาติมีที่ปรึกษา เม่ือรูสึกวาอาการไมดี แลวชวยกันหาแนวทางในการจัดการไดเหมาะสม

4.1.3 ความสัมพันธในครอบครัวดีขึ้น (หมู 2) เม่ือผูปวยและญาติมีความรูความเขาถึงอาการของโรค และวิธีการดูแลตนเองของผูปวย และดูแลผูปวย การที่ญาติมีความเห็นใจผูปวยมากขึ้น (ศิริวรรณ เพียรสุข, 2544) มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการดูแลผูปวยจิตเวชถูกตองเพ่ิมขึ้น (สนาม บินชัย, 2542) อาจทําใหผูปวยและญาติปฏิบัติตอกันดีขึ้น สอดคลองกับการศึกษาของ ชโลม สรรพสุ (2544) ที่ผูปวยมีสัมพันธภาพกับผูอ่ืนดีขึ้น หลังจากไดรับรูปแบบการมีสวนรวมในการดูแลผูปวยโรคจิต สอดคลองกับคําตอบในแบบสัมภาษณความรวมมือภายในครอบครัวของผูปวยจิตเวชที่ผูตอบ 34 คนรายงานวา ความสัมพันธดีขึ้น ทะเลาะกันนอยลง

4.1.4 ไดทํางาน มีอาชีพ (หมู 2, 3, 12) และไดทํางานบาน (หมู 3) การท่ีผูปวยไดทํางานมีอาชีพ หรือทํางานบาน เน่ืองจากการมีสวนรวมของประชาชนในการดูแลผูปวยจิตเวช ใหสามารถชวยเหลือตัวเองได ชวยเหลืองานครอบครัว จนถึงประกอบอาชีพ เลี้ยงตัวเองได (พิมพทอง เจ็กจันทึก และคณะ, 2545) และเหตุผลอ่ืนเชนเดียวกับที่ไดอภิปราย ไปแลวในหัวขอ 2.2

4.1.5 จิตใจดีขึ้น ม่ันคงขึ้น รูวิธีดูแลผูปวย และวิธีการปฏิบัติตัวตอกัน (หมู 12) และดูแลกันภายในครอบครัว (หมู 7) จากส่ิงที่คนพบ และการอภิปรายในขอ 4.1.1 ถึง 4.1.4 สามารถสงผลใหผูปวยมีจิตใจดีขึ้น ม่ันคงขึ้น ญาติรูวิธีดูแลผูปวย และญาติและผูปวยรูวิธีการปฏิบัติตัวตอกัน รวมทั้งดูแลกันภายในครอบครัว สอดคลองกับแบบสัมภาษณความรวมมือภายในครอบครัวของผูปวยจิตเวชที่พบวา การปฏิบัติตัวตอกันในดานการชวยเหลือกันดี (ผูตอบ 9 คน) พูดคุยกันดี สัมพันธภาพดีขึ้น (ผูตอบ 14 คน)

4.2. ความรวมมือกันในครอบครัวผูปวย มีการเปลี่ยนแปลงไปดังน้ี

Page 61: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

61

4.2.1 รวมมือหรือชวยเหลือกันในการทํางาน และภาระรับผิดชอบในการทํางาน (หมู 2, 3, 12, 7) การที่ผูปวยชวยเหลืองานภายในบานได ประกอบอาชีพได หลังจากที่ญาติ และชุมชนมีสวนรวมในการดูแลผูปวย รวมกับญาติมีความเห็นใจผูปวยมากขึ้น ( ศิริวรรณ เพียรสุข, 2544) จึงทําใหเกิดความรวมมือกันในการทํางาน และแบงภาระรับผิดชอบกัน

4.2.2 ชวยดูแลเรื่องการรับประทานยา เร่ืองไปรับยา หรือไปพบแพทยตามนัด (หมู 2, 3, 12, 7) การที่ญาติมีสวนรวมในการดูแลผูปวย โดยกระตุนการรับประทานยาอยางตอเน่ือง สอบถามอาการ (พิมพทอง เจ็กจันทึก และคณะ, 2545) มีพฤติกรรมการดูแลผูปวยอยางถูกตอง (สนาม บินชัย, 2542) และญาติเห็นความสําคัญของการรับประทานยาดังผลใน 4.1.2 จึงชวยดูแลเร่ืองการรับประทานยา และพาไปพบแพทยตามนัด สอดคลองกับคําตอบในแบบสัมภาษณความรวมมือภายในครอบครัวของผูปวยจิตเวชที่พบวา สมาชิกในชุมชนชวยแจงญาติใหพาผูปวยไปรับยา ไปพบแพทย (ผูตอบ 12 คน) และสมาชิกในชุมชนพาผูปวยไปรับยา ไปพบแพทย (ผูตอบ 19 คน) และชวยเตือนเร่ืองการรับประทานยา (ผูตอบ 16 คน)

4.2.3 ปรึกษาหารือกันในเรื่องตาง ๆ (หมู 2) ในการฟนฟูสมรรถภาพ ผูปวยตองไดรับการประคับประคองจากบุคคลที่คุนเคยและไววางใจได ซ่ึงก็คือคนในครอบครัว (วาริทธิ์นันท เมธาภัทร, 2544) ในการปรึกษาหารือเรื่องตาง ๆ รวมกับการที่ญาติมีความเห็นใจผูปวย (ศิริวรรณ เพียรสุข, 2544) จึงทําใหพรอมใหคําปรึกษาในเรื่องตาง ๆ

4.2.4 ดูแลใหทํางาน เขาสังคม (หมู 12) การฟนฟูสมรรถภาพดานการทํางาน และการเขาสังคม เปนสิ่งสําคัญในการฟนฟูสมรรถภาพของผูปวยจิตเวช (สมชาย จักรพันธ, 2536) จัดเปนการทําใหบุคคลมีศักยภาพอยางเต็มที่ในดานรางกาย จิตใจ สังคม อาชีพ งานอดิเรก หรือกิจกรรมยามวาง (Anonymous, 2005) และกระบวนการฟนฟูสมรรถภาพไมอาจดําเนินไปไดโดยปราศจากญาติ เพ่ือน ผูปวยดวยกัน และทีมผูรักษา (วาริทธนันท เมธาภัทร, 2544) ดังน้ันญาติ หรือครอบครัวจึงมีบทบาทสําคัญในเรื่องนี้ ดวย ดังอภิปรายในขอ 4.2.1

5. การวางแผนใหอาชีพของผูปวยและครอบครัวเปนไปอยางตอเน่ือง มีการปรับปรุงสายพันธุวัวใหดีขึ้นตามความตองการของชุมชน เพ่ือสนับสนุนอาชีพของผูปวยจิตเวชในชุมชนใหมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากขึ้น

ผลที่ไดรับจากโครงการ มีดังตอไปน้ี

1. การสรางเครือขายอ่ืน เชนโรงพยาบาลจอมทอง มีการจัดตั้งกลุมผูปวยที่มีปญหาสุขภาพจิตจากแอลกอฮอล มีการประเมินความตองการดานอาชีพของผูปวยและชุมชน และสงเสริมอาชีพเลี้ยงวัวและการทําตุกตาผาเช็ดมือ ซ่ึงเปนผลสืบเนื่องจากการเห็นผลการดําเนินการ และการสนับสนุนจากโครงการนี้

Page 62: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

62

2. การขยายผลไปสูผูปวยอ่ืนที่ไมไดเขารวมโปรแกรมการดูแลผูปวยจิตเวชและครอบครัวในชุมชน โดยชุมชนมีสวนรวม โดยผูปวยดังกลาวไดเขารวมโปรแกรมอาชีพ เชน การทําโครงพวงหรีด เลี้ยงวัว ทําพรมเช็ดเทา

3. การศึกษานี้สอดคลองกับรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ในเรื่องการสนับสนุนใหประชาชนมีบทบาทและมีสวนรวมในการวางแผนพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมทั้งในระดับชาติ และระดับทองถิ่น สนับสนุนการดําเนินการของกลุมประชาชนที่รวมตัวกันในลักษณะเครือขายทุกรูปแบบใหสามารถแสดงความคิดเห็นและเสนอความตองการชุมชนในพ้ืนที่ (มาตรา 87) โดยประชาชนไดเขามามีสวนรวมในการพัฒนาอาชีพโดยการรวมตัวกัน และเปนเครือขายขยายตอไปในที่อ่ืนๆ ประชาชนมีอาชีพ เลี้ยงตนเองไดในที่สุด

ขอเสนอแนะ

1. ควรมีการนําแบบวัดทัศนคติตอตนเองของผูปวยจิตเวชไปปรับใชใหสอดคลองกับบริบทของชุมชนใหมากขึ้น

2. ในการสรางจิตสํานึกในการมีสวนรวมในการดูแลผูปวยจิตเวชในชุมชนครั้งตอไป ควรมีการนําภูมิปญญาทองถิ่น ตลอดจนหมอพื้นบานและผูนําทางศาสนาเขามามีสวนรวมดวย

3. การขยายผลโครงการนี้ไปสูชุมชนอ่ืน ควรมีการประสานการทํางานรวมกับบุคลากรสาธารณสุขในชุมชน และองคกรปกครองสวนทองถิ่น

กิติกรรมประกาศ

คณะผูวิจัยขอขอบคุณ ผูเขารวมในงานวิจัยทุกทาน ผูอํานวยการและงานสุขภาพจิตโรงพยาบาลปาซาง ผูอํานวยการโรงพยาบาลสวนปรุง ในความรวมมือ และขอขอบคุณสถาบันพระปกเกลาที่สนับสนุนทุนในการวิจัย

เอกสารอางอิง

ขนาน หัสศิริ , สุชาดา สาครเสถียร, สุวัฒน มหัตนิรันดรกุล, ปริทรรศ ศิลปกิจ, อัมพร หะยาจันทา,ลัดดาวัลย พิบูลยศรี. (2537). การพัฒนารูปแบบการพึ่งตนเองของผูปวยจิตเวชในชุมชน. โรงพยาบาลสวนปรุง กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข.

ชนิกรรดา ไทยสังคม, สาลินี สันทัดการ, ภมริน เชาวนจินดา, เพ็ญทิพย เบญจพงค, ชยาภรณ ผองแผว, และจิราภรณ ทีประเสริฐ. (2547). ศักยภาพของชุมชนในการฟนฟู

Page 63: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

63

สมรรถภาพทางจิตเวช สําหรับผูปวยโรคจิตเภท: ศึกษากรณีชุมชนแหงหน่ึงในจังหวัดนนทบุรี. โรงพยาบาลศรีธัญญา กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข.

ชโลม สรรพสุ. (2544). การศึกษารูปแบบการมีสวนรวมของผูนําชุมชนและครอบครัวในการดูแล ผูปวยโรคจิต: กรณีศึกษา ตําบลอุดมทรัพย อําเภอวังนํ้าเขียว จังหวัดนครราชสีมา. โรงพยาบาลจิตเวชนครราชสีมา กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข.

ปราโมทย สุคนิชย (2544). สาเหตุของความผิดปกติทางจิตเวช . ในมาโนช หลอตระกูล และปราโมทย สุคนิชย (บรรณาธิการ). จิตเวชศาสตร (หนา 19-32). (พิมพคร้ังที่ 8)กรุงเทพมหานคร: สวิชาญการพิมพ.

เมธิศา พงษศํกด์ิศรี, ขวัญฤทัย ธนารักษ, อังคณา สามัตถิยะ, อรอุมา ภูโสภา (2548). การพัฒนารูปแบบการฟนฟูสมรรถภาพผูปวยจิตเวชในชุมชนตามแนวทางกิจกรรมบําบัด/อีวบําบัด: การสํารวจความตองการของชุมชนในการฟนฟูสมรรถภาพผูปวยจิตเวช. กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข .

พระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ. 2551. (2551, 20 กุมภาพันธ). ราชกิจจานุเบกษา. เลมที่ 125, ตอนที่ 36ก. หนา 37.

พิมพทอง เจ็กจันทึก, อัญชลี ศิลาเกษ และ ลัดดาวัลณ คุณวุฒิ (2545). การประเมินผลโครงสรางใหชุมชนมีสวนรวมในการดูแลผูปวยจิตเวชในชุมชน. วารสารจิตวิทยาคลินิก, 33, 107-119.

รัฐธรรมนูญแหงราชกาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550. (2550, 24 สิงหาคม).ราชกิจจานุเบกษา.เลมที่ 124,ตอนที่ 47ก. หนา 1.

วาริทธิ์นันท เมธาภัทร. (2544). แนวทางฟนฟูผูปวยจิตเวชและวิธีชวยเหลือทางกิจกรรมบําบัดแกผูปวยจิตเวช . วารสารสวนปรุง, 17, 49-52.

ศรีวรรณ รุงโรจน . (2547). ความตองการพึ่งพาตนเองและผูอ่ืนทางดานกิจกรรมการดําเนินชีวิตของผูปวยจิตเภท. ภาคนิพนธวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขากิจกรรมบําบัด คณะเทคนิคการแพทย มหาวิทยาลัยเชียงใหม.

ศิริวรรณ เพียรสุข (2544). การวิจัยประเมินผลโครงการประชาสังคมกับการดูแลผูปวยจิตเวชในชุมชน. วารสารสุขภาพจิตแหงประเทศไทย, 9, 53-61.

Page 64: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

64

สํานักงานคณะกรรมการสุขภาพแหงชาติ (2550). พระราชบัญญัติสุขภาพแหงชาติ พ.ศ. 2550. กรุงเทพฯ : หางหุนสวนจํากัดสหพัฒนไพศาล.

สิทธิณัฐ ประพุทธนิติสา. (2545). การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีสวนรวม: แนวคิดและแนวปฏิบัติ. กรุงเทพมหานคร: สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

สนาม บินชัย. (2542). การมีสวนรวมของชุมชนในการดูแลผูปวยจิตเภท จังหวัดชัยนาท. ศูนยสุขภาพจิตชัยนาท กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข.

สมชาย จักรพันธ (2536). การฟนฟูสมรรถภาพทางจิตเวช ใน เกษม ตันติผลาชีวะ (บรรณาธิการ). ตําราจิตเวชศาสตร เลม 2 (หนา1142-1152). กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

อนงค ธรรมโรจน, เทพนิมิตร บางแสง และสิรินาฎ ม่ันคง. (2542). การใชรูปแบบการฟนฟูสมรรถภาพตามปญหาและความตองการของผูปวยจิตเวชโรงพยาบาลพระศรีมหาโพธ์ิ. โรงพยาบาลพระศรีมหาโพธิ์ กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข.

Anonymous. (2005). Disability & Rehabilitation. Definition. Available. Retrieved April 1, 2005, from http://www.ucalgary.ca/ability place/defus.html

Page 65: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

65

การพัฒนาแนวปฏิบัตทิางคลินิกสําหรับการสงเสริมความรวมมือ ในการรักษาดวยยาของผูปวยจิตเภท

สุดรัก พิละกันทา*

ภัทราภรณ ทุงปนคํา** ฉวีวรรณ ธงชัย ***

บทคัดยอ

การสงเสริมใหผูปวยจิตเภทมีความรวมมือในการรักษาดวยยามีความสําคัญเปนอยางยิ่ง เพ่ือใหผูปวยรับประทานยาอยางสมํ่าเสมอ อัตราการกลับเปนซ้ําลดลง ดังน้ันการพัฒนาแนวปฏิบัติทางคลินิกสําหรับการสงเสริมความรวมมือในการรักษาดวยยาของผูปวยจิตเภทจึงเปนสิ่งจําเปนเพ่ือใหทีมการรักษาปฏิบัติไปในทิศทางเดียวกัน และใหการดูแลอยางมีประสิทธิภาพ การศึกษาเชิงพัฒนาครั้งน้ีมีวัตถุประสงคเพ่ือพัฒนาแนวปฏิบัติทางคลินิกสําหรับการสงเสริมความรวมมือในการรักษาดวยยาของผูปวยจิตเภท โดยประยุกตใชกรอบแนวคิดการพัฒนาแนวปฏิบัติทางคลินิกของสภาการวิจัยการแพทยและสุขภาพแหงชาติ ผลการศึกษาครั้งน้ียืนยันวาแนวปฏิบัติทางคลินิกสําหรับการสงเสริมความรวมมือในการรักษาดวยยาของผูปวยจิตเภทที่พัฒนาขึ้นอยางเปนระบบนี้มีความเปนไปไดในการนําไปใชในหนวยงานและควรนําไปใชอยางตอเน่ือง เพ่ือเปนการพัฒนาและปรับปรุงคุณภาพการพยาบาลในการดูแลผูปวยโรคจิตเภทตอไป คําสําคัญ แนวปฏิบตัิทางคลินิก, ความรวมมือในการรักษาดวยยา, โรคจิตเภท

*พยาบาลชํานาญการระดับ 8 โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม **รองศาสตราจารย ภาควิชาการพยาบาลจิตเวช คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม ***รองศาสตราจารยภาควิชาการพยาบาลศัลยศาสตร คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

Page 66: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

66

Abstract

Medication adherence for patients with schizophrenia is vital in order to decrease the relapse rate. Therefore developing the clinical practice guidelines (CPGs) for enhancing medication adherence of patients with schizophrenia is necessary so the patient care team is able to rely on and practice effectively. This developmental study aimed to develop clinical practice guidelines for enhancing medication adherence of patients with schizophrenia based on the development of clinical practice guidelines framework of the National Health and Medical Research Council as well as the feasibility of the guidelines. The findings confirm that CPGs for enhancing medication adherence of patients with schizophrenia are able to be implemented in the setting. These CPGs should be continued implemented in the unit so as to improve quality of care for people with schizophrenia. Key words Clinical practice guidelines, Medication adherence, Schizophrenia บทนํา โรคจิตเภทเปนโรคทางจิตที่พบไดมากที่สุดและมีความสําคัญเปนอันดับหน่ึงของโรคทางจิตเวชเมื่อเปรียบเทียบกับโรคจิตชนิดอ่ืน ๆ พบอุบัติการณ 0.5 – 1.5 ตอ10,000 ของประชากรโลก(1) และมีประชากรเปนโรคนี้ถึงรอยละ 1.3(2) ซ่ึงโรคน้ีมีความผิดปกติทางจิตที่ยังไมทราบสาเหตุแนชัด เชื่อวาเปนกลุมอาการที่มาจากหลาย ๆ สาเหตุ(3) โดยจะแสดงอาการผิดปกติทางดานความคิด อารมณ พฤติกรรมและการรับรู ทําใหเกิดการสูญเสียหนาที่การทํางานของจิตใจถึงขั้นทําใหเสียความสามารถในการหยั่งรูตัว ในการบําบัดรักษาผูที่เปนโรคจิตเภท อาจใชการผสมผสานหลาย ๆ วิธีเขาดวยกัน ทั้งการบําบัดรักษาทางชีวภาพ และการบําบัดรักษาทางจิตสังคม(4) แตการบําบัดรักษาในระยะที่มีอาการนํา หรืออาการกําเริบมักใชการบําบัดรักษาดวยยาเปนการรักษาหลัก เพ่ือใหสามารถควบคุมอาการทางจิตใหสงบลงโดยเร็ว แมวาผูปวยจะไดรับการบําบัดรักษาตามที่ไดกลาวมาขางตนแลว แตพบวาผูปวยยังมีอัตราของการกลับเปนซ้ําอีก ซ่ึงพบวาเกิดไดจากหลายสาเหตุ ซ่ึงสาเหตุที่พบมากที่สุดเกิดจากการขาดความรวมมือในการรักษาดวยยา(5) และเมื่อเกิดอาการกําเริบซํ้าบอยๆ จะทําใหอาการทางจิตรุนแรงและเรื้อรัง ทําใหการดูแลยากขึ้นตามลําดับ ความรวมมือในการรักษาดวยยาจึงมีความสําคัญตอการรักษามาก ผูปวยที่มีความรวมมือในการรักษาดวยยาและปฏิบัติตามแผนการรักษาอยางสมํ่าเสมอจะทําใหผลการรักษาออกมาดีและมีประสิทธิภาพ(6) ความรวมมือในการรักษาของผูปวยจึงเปนองคประกอบที่สําคัญในการทําใหการรักษาโรคมีประสิทธิภาพ จะทําใหอาการทางจิตสงบ สามารถดําเนินชีวิตไดตามปกติ บรรลุถึงผลลัพธของการดูแลที่พึงประสงค ลดอัตราการกลับ

Page 67: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

67

เปนซ้ํา ลดโอกาสในการกลับมารักษาซ้ําในโรงพยาบาล และลดคาใชจายในการรักษาพยาบาล และยังชวยใหการพยากรณโรคในระยะยาวของผูปวยดีขึ้นดวย(7) ทั้งน้ีในการพัฒนาแนวปฏิบัติทางคลินิกสําหรับการสงเสริมความรวมมือในการรักษาดวยยาของผูปวยจิตเภทคาดวาจะทําใหมีแนวทางสําหรับการสงเสริมความรวมมือในการรักษาดวยยาของผูปวยจิตเภทไปในทิศทางเดียวกัน เกิดการเปลี่ยนแปลงทางปฏิบัติในการพัฒนาคุณภาพการบริการแกผูปวยจิตเภทที่มีปญหาซับซอนไดอยางครอบคลุม เปนเครื่องมือในการนําความรูไปสูการปฏิบัติใหบังเกิดผลลัพธของการใหการบริการ ทําใหเพ่ิมคุณภาพในการดูแล ผูใชบริการไดรับการตอบสนองดานการสงเสริมความรวมมือในการรักษาดวยยาอยางเหมาะสม ตอเน่ืองและมีคุณภาพ วัตถุประสงคของการศึกษา

เพ่ือพัฒนาแนวปฏิบัติทางคลินิกสําหรับการสงเสริมความรวมมือในการรักษาดวยยาของผูปวยจิตเภท คําถามในการศึกษา

แนวปฏิบัติทางคลินิกสําหรับการสงเสริมความรวมมือในการรักษาดวยยาของผูปวย จิตเภทมีลักษณะและความเปนไปไดเปนอยางไร ขอบเขตการศึกษา

การศึกษาครั้งนี้เปนการศึกษาวิจัยเชิงพัฒนา (developmental research) แนวปฏิบัติทางคลินิกสําหรับการสงเสริมความรวมมือในการรักษาดวยยาของผูปวยจิตเภท ที่หองตรวจจิตเวช แผนกงานการพยาบาลผูปวยนอกและผูปวยฉุกเฉิน โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม ตั้งแตเดือนมกราคม ถึง สิงหาคม พ.ศ. 2550 ประชากรและกลุมตวัอยาง

ประชากรที่ใชในการศึกษาคร้ังน้ี คือ ทีมบุคลากรที่เปนผูดูแลผูปวยจิตเภทที่ไดรับการรักษาดวยวิธีการรับประทานยาตานโรคจิต ที่หองตรวจจิตเวช แผนกงานการพยาบาลผูปวยนอกและผูปวยฉุกเฉิน โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม

กลุมตัวอยางในการศึกษาคร้ังนี้ คือ ทีมบุคลากรที่เปนผูดูแลผูปวยจิตเภทที่ไดรับการรักษาดวยวิธีการรับประทานยาตานโรคจิต และไดทดลองใชแนวปฏิบัติทางคลินิกสําหรับการสงเสริมความรวมมือในการรักษาดวยยาของผูปวยจิตเภท ที่แผนกงานการพยาบาลผูปวยนอกและผูปวยฉุกเฉินทางจิตเวช โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม จํานวน 9 ราย

Page 68: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

68

การรวบรวมขอมูล การดําเนินการพัฒนาแนวปฏิบัตทิางคลินิกสําหรับการสงเสริมความรวมมือในการรักษา

ดวยยาของผูปวยจิตเภท มีการปรึกษาหารือกับทีมบคุลากรสุขภาพ โดยใชแนวคิดการพัฒนาแนวปฏิบตัิทางคลินิกของสภาวิจัยสุขภาพและการแพทยแหงชาต ิ (National Health and Medical Research Council [NHMRC]) ที่ถูกประยุกตโดย ฉวีวรรณ ธงชัย(8) มีขั้นตอนและรายละเอียดของแตละขั้นตอนของการพัฒนาแนวปฏบิัติทางคลินิก ดังน้ี

1. ขั้นตอนการกําหนดประเด็นปญหาที่ตองการแกไข กําหนดประเด็นปญหาและขอบเขตของการดําเนินงานการพัฒนาแนวปฏิบัตทิางคลนิิก

สําหรับการสงเสริมความรวมมือในการรักษาดวยยาของผูปวยจิตเภท โดยการพิจารณาจากความรุนแรงและขนาดของปญหา 2. ขั้นตอนกําหนดทีมบุคลากรเพื่อการดําเนินงานพัฒนาแนวปฏิบตัิทางคลินิก 3. ขั้นตอนการกําหนดวัตถปุระสงค และผลลัพธ

ทีมงานไดกําหนดวัตถุประสงคของการพัฒนาแนวปฏิบัติทางคลินิกสําหรับการสงเสริมความรวมมือในการรักษาดวยยาของผูปวยจิตเภท โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือใหบุคลากรในหองตรวจจิตเวชมีแนวทางในการสงเสริมความรวมมือในการรักษาดวยยาของผูปวยจิตเภท และพัฒนาดานคุณภาพการบริการสําหรับผูปวยจิตเภทที่มาใชบริการ

การกําหนดผลลัพธของแนวปฏิบตัิทางคลินิกสําหรับการสงเสริมความรวมมือในการรักษาดวยยาของผูปวยจิตเภท ซ่ึงทางทีมงานไดพัฒนาและใชขอเสนอแนะจากหลักฐานความรูเชิงประจักษทีเ่ก่ียวของ โดยมีตัวชีว้ัด(9) ไดแก

1. ระดับของความรวมมือในการรักษาดวยยา 2. อาการกําเริบซํ้าจากการขาดความรวมมือในการรักษาดวยยา 3. อัตราการกลับเขามารับการรักษาซ้ําในโรงพยาบาลจากการขาดความ

รวมมือในการรักษาดวยยา 4. อัตราการมาตรวจตามนัด 5. ความพึงพอใจของผูใชบริการ

4. ขั้นตอนการสืบคนและการประเมินคุณคาหลักฐาน การสืบคนเพ่ือหาหลักฐานความรูเชิงประจักษเก่ียวกับการสงเสริมความรวมมือใน

การรักษาดวยยาของผูปวยจิตเภทที่มีประสิทธิภาพ นาเชื่อถือ เปนที่ยอมรับและสามารถนํามาแกไขปญหาท่ีพบได โดยทีมพัฒนาแนวปฏิบัติทางคลินิกไดวางแผนในการสืบคนเพ่ือหลักฐานเชิงประจักษ ดังน้ี

4.1 กําหนดคําสําคัญในการสืบคน โดยกําหนดจากคําสําคัญไดแก จิตเภท, ผูปวยจิตเภท, ความรวมมือในการรับประทานยา, ความรวมมือในการรักษาดวยยา, อัตราการกลับเปนซ้ํา, Schizophrenia, Schizophrenic patient, compliance, adherence, relapse, rehospitalization จากฐานขอมูล เว็บไซท (website) และวารสารจากหองสมุด

Page 69: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

69

4.2 การคัดเลือกและประเมินคุณคาของหลักฐานความรูเชิงประจักษที่เก่ียวของกับประเด็นปญหาในเรื่องที่ตองการพัฒนาแนวปฏิบัติทางคลินิกสําหรับการสงเสริมความรวมมือในการรักษาดวยา ซ่ึงเปนหลักฐานที่มีความชัดเจนและเหมาะสม สามารถนํามาเปนแนวปฏิบัติทางคลินิกสําหรับผูปวยจิตเภทที่มาใชบริการในหนวยงานได

4.2.1 การคัดเลือกหลักฐานความรูเชิงประจักษ โดยคัดเลอืกจากหลักฐานที่มี ความเก่ียวของกับประเด็นทางคลินิกทีต่องการพัฒนาแนวปฏิบตัิทางคลินิก มีความชัดเจน และสามารถนําไปสูการปฏิบตัิในกลุมผูปวยจิตเภทที่มาใชบริการในหนวยงานได

4.2.2 เลือกหลักฐานความรูเชิงประจักษที่สามารถตอบคําถามที่ตั้งไวไดโดยมีชนิดและวิธีการศึกษาชัดเจน สามารถประเมินผลไดและมีระเบียบวิธีวิจัยที่ถูกตอง เปนภาษาอังกฤษหรือภาษาไทย มีตําแหนงที่ตั้งของสถาบันที่ทําการวิจัย มีแหลงตีพิมพและวันที่พิมพแสดงใหเห็นเดนชัด

4.2.3 ทําการประเมินคุณคาหลักฐานความรูเชิงประจักษเก่ียวกับการสงเสริมความรวมมือในการรักษาดวยยาของผ ู ปวย โดยพิจารณาถึงคุณภาพของการศึกษา ผลลัพธของแตละกิจกรรม ผลประโยชนกับความเส่ียงที่จะเกิดขึ้น เปรียบเทียบผลลัพธในแตละกิจกรรม หรือแนวทางปฏิบัติที่ดีที่สุด และมีความเก่ียวของกับประเด็นทางคลินิกที่ตองการพัฒนา หลังจากการประเมินคุณคาของหลักฐาน ทําใหไดหลักฐานความรูเชิงประจักษที่มาจากการทบทวนอยางเปนระบบ (systematic review) จํานวน 6 เร่ือง การวิเคราะหเมตา (meta-analysis) จํานวน 1 เรื่อง หลักฐานเชิงประจักษที่ไดจากงานวิจัยเชิงทดลอง (RCT) จํานวน 2 เรื่อง หลักฐานที่เปนการวิจัยเชิงพรรณา จํานวน 1 เรื่อง และบทความ จํานวน 5 เรื่อง 4.2.4 การจัดระดับความนาเชื่อถือและคุณภาพของหลักฐานเชิงประจักษ (level of evidence) ในการหาความคิดเห็นรวมกันของทีมพัฒนาในเรื่องเก่ียวกับความเปนไปไดในการนําแนวปฏิบัติทางคลินิกไปใช และขอเสนอแนะจากหลักฐานความรูเชิงประจักษไดอาศัยเกณฑดังน้ี

a. ความเปนไปไดในการนําแนวปฏิบัติทางคลินิกไปใช ตามการจัดระดับความนาเชื่อถือของหลักฐานความรูเชิงประจักษ โดยใชการจัดระดับความนาเชื่อถือของหลักฐานตามสภาวิจัยการแพทยและสุขภาพแหงชาติประเทศออสเตรเลีย(10) b. ตกลงเลือกขอเสนอแนะจากหลักฐานความรูเชิงประจักษที่สามารถนําไปใชในหนวยงาน โดยคํานึงถึงประโยชน ความเส่ียง ตนทุน คาใชจายและหลักจริยธรรมกอนนําไปปฏิบัติโดยอาศัยเกณฑการประเมินของสถาบันโจแอนนาบริกส(10)

5. ขั้นตอนการยกรางแนวปฏิบตัิทางคลินิก การยกรางแนวปฏิบตัิทางคลินิกประกอบดวย

5.1 จัดประชุมทีมพัฒนาแนวปฏิบัติทางคลินิก เพ่ือยกรางแนวปฏิบัติทางคลินิกสําหรับการสงเสริมความรวมมือในการรักษาดวยยาของผูปวยจิตเภท โดยนําหลักฐานความรู

Page 70: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

70

เชิงประจักษที่ไดจากการทบทวนวรรณกรรมมาบูรณาการรวมกับความชํานาญทางคลินิก ความคิดเห็นและประสบการณของผูเก่ียวของ เพ่ือกําหนดสาระสําคัญของแนวปฏิบัติทางคลินิก

5.2 กําหนดสาระสําคัญของแนวปฏิบตัิทางคลินิก เพ่ือที่จะเปนแนวทางใหผูที่ นําแนวปฏิบัติทางคลินิกไปใชสามารถปฏิบัติตามได โดยประยุกตใชการแบงหมวดหมูสาระสําคัญของแนวปฏิบัติทางคลินิกของสถาบันรับรองคุณภาพขององคกรสุขภาพ (Joint Commission on Accreditation of Healthcare Organizations [JACHO])(11)

5.3 การจัดทําแผนการประเมินผลและการปรับปรุงแกไข โดยทีมพัฒนาแนว ปฏิบัตทิางคลนิิก ไดมีการตกลงเลือกแบบประเมินผลลัพธของการพัฒนาแนวปฏิบัตทิางคลินิกอยางครอบคลุม ถูกตองและเหมาะสมในเรื่องของความสะดวก ความงายในการนํามาใชงาน ทีม ผูปฏิบัตสิามารถนํามาใชไดจริงในการดูแลผูปวย ประหยัดคาใชจาย ผูปฏิบัติมีความพึงพอใจ และมีความเปนไปไดในทางปฏิบัต ิ โดยอาศัยแบบสํารวจความเปนไปไดของการใชแนวปฏิบตัิทางคลินิกของ ฉวีวรรณ ธงชัย และพิกุล นันทชัยพันธ(12)

5.4 การจัดรูปเลมแนวปฏิบัตทิางคลนิิกฉบับยกราง ใหครอบคลุมแตละขั้นตอน ของกระบวนการพัฒนาและเนื้อหาสาระสําคัญของการปฏิบัติ โดยมีรายละเอียดของ

วัตถุประสงคของการพัฒนาแนวทางปฏบิัติ กลุมเปาหมาย วิธีการพัฒนาแนวปฏบิัติทางคลินิก ผลลัพธที่คาดวาจะไดรับจากการนําแนวปฏิบัติไปใช ขอเสนอแนะในการนําแนวปฏิบัตทิาง

คลินิกไปใช รวมถึงบอกแหลงอางอิงสําหรับผูใชแนวปฏิบัต ิ 5.5 การจัดทาํประชาพจิารณแนวปฏิบัติทางคลินิกฉบับยกรางในผูที่ไมไดมีสวนรวม

ในการพัฒนา ไดแก จิตแพทยประจําบาน และนักจิตวทิยา ในหัวขอของกระบวนการพัฒนา การนําไปปฏบิัติ การประเมินผล เพ่ือสอบถามความคิดเห็นและความเหมาะสมในการนําแนวปฏิบัตทิางคลนิิกไปใช 6. ขั้นตอนการตรวจสอบจากผูเชี่ยวชาญ โดยการนํารางแนวปฏิบัติทางคลินิกสําหรับการสงเสริมความรวมมือในการรักษาดวยยาของผูปวยจิตเภท ใหผูเชี่ยวชาญประเมินตรวจสอบความตรงของเนื้อหา ภาษาและใหขอเสนอแนะ แลวนําความเห็นของผูเชี่ยวชาญมาทําการปรับปรุงแกไขแนวปฏิบัติทางคลินิกใหเหมาะสมกอนนําไปทดลองใช

7. ขั้นตอนการทดลองใชแนวปฏิบัติทางคลินิกกับผูปวยจิตเภท จํานวน 5 ราย พรอมทั้งสํารวจความคิดเห็นของการนําแนวปฏิบัติทางคลินิกไปใชในกลุมตัวอยางซ่ึงเปนบุคลากรทีมสุขภาพ เพ่ือดูความสะดวก ความงายในการนํามาใชงาน ทีมผูปฏิบัติสามารถนํามาใชไดจริงในการดูแลผูปวย ประหยัดคาใชจาย ผูปฏิบัติมีความพึงพอใจ และมีความเปนไปไดในทางปฏิบัติ และทําการประเมินผลเพื่อปรับปรุงแกไขแนวปฏิบัติทางคลินิกสําหรับการสงเสริมความรวมมือในการรักษาดวยยาของผูปวยจิตเภทตามความเหมาะสมและจัดพิมพเปนรูปเลมสมบูรณกอนนําไปใชในการปฏิบัติจริง

Page 71: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

71

การดําเนินการพัฒนาแนวปฏิบัติทางคลินิกสําหรับการสงเสริมความรวมมือในการรักษาดวยยาของผูปวยจิตเภทดังกลาว ทําใหมีแนวทางท่ีชัดเจนในการนําไปปฏิบัติบนพ้ืนฐานของงานประจํา ทําใหผูปวยจิตเภทไดรับการดูแลที่มีคุณภาพและไดมาตรฐาน ผลการวิเคราะหขอมูล

การพัฒนาแนวปฏิบัติทางคลินิกสําหรับการสงเสริมความรวมมือในการรักษาดวยยาของผูปวยจิตเภท ทําใหไดลักษณะของแนวปฏิบัติทางคลินิกสําหรับการสงเสริมความรวมมือในการรักษาดวยยาของผูปวยจิตเภทโดยมีสาระสําคัญของแนวปฏิบัติทางคลินิกสําหรับการสงเสริมความรวมมือในการรักษาดวยยาของผูปวยจิตเภทดังน้ี

1. สิทธิผูปวยและจริยธรรม 1.1 ผูปวยทุกรายควรไดรับการสอบถามถึงความยินยอมพรอมใจในการรักษาดวย

ยา (level 4A) 1.2 กระตุนใหผูปวยมีสวนรวมในการตัดสินใจในการรักษาดวยยาของตนเองใน

รายที่มีการรูคดิดี (level 4B) 2. การประเมินการรักษาดวยยา ควรครอบคลุมประเด็นตอไปน้ี

2.1 ประเมินความรวมมือในการรักษาดวยยาของผูปวยจิตเภท 2.1.1 ติดตามความสมํ่าเสมอของการมาตรวจตามนัด (level 1A) 2.2.2 ใชแบบประเมินความรวมมือในการรักษาดวยยา (level 4 A) 2.2.3 นับจํานวนเม็ดยาที่รับประทานตามแผนการรักษา (level 1A)

2.2 ประเมินอาการทางจิตโดยใชแบบประเมินอาการทางจิตแบบสั้น (Brief Psychotic Rating scale) (level 1A)

2.3 ประเมินอาการขางเคียงและปญหาที่เกิดจากการรักษาดวยยา (level 2A) 2.4 ประเมินประสบการณเก่ียวกับอาการขางเคียงที่เกิดจากการรักษาดวยยา

(level 2A) 2.5 ประเมินการใหความสําคัญและความมั่นใจตอการรักษาดวยยา (level 2A)

3. การสงเสริมความรวมมือในการรักษาดวยยา 3.1 การสรางกลยุทธเพ่ือกระตุนความรวมมือในการรักษาดวยยา

3.2.1 ปรับขนาดของยาใหงายและเหมาะสมกับผูปวยแตละราย (level 1A) 3.1.2 กําหนดเวลาในการรับประทานยา (level 2A) 3.1.3 ใชกลองบรรจุยา สําหรับยาที่รับประทานในแตละวัน (level 1A) 3.1.4 บันทึกการรับประทานยาดวยตนเอง หรือใหญาติชวยในกรณีที่ผูปวยมี

ภาวะการรูคิดบกพรอง (level 1A) 3.1.5 สมาชิกในครอบครัวมีสวนชวยเหลือในการรับประทานยาสําหรับผูปวย

ที่มีภาวะการรูคิดบกพรอง (level 4A)

Page 72: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

72

3.2 รูปแบบการบริการ 3.2.1 นัดผูปวยมาพบกับจิตแพทยเปนระยะเพือ่ติดตามผลการตรวจรักษา และลดความวติกกังวลจากการรักษาดวยยา (level 1A) 3.1.6 ใหคําแนะนําหลังจากการตรวจเสร็จ (level 1A) 3.1.7 ใหความม่ันใจตออาการขางเคียงที่เกิดขึ้นจากการใชยาและวธิีการ

แกไข (level 4A) 3.1.8 มารับบริการการตรวจรักษากอนถึงวันนัดเม่ือเกิดความวิตกกังวลและ

ปญหาที่เกิดจากการรักษาดวยยา (level 4A) 3.1.9 เตือนลวงหนาทางโทรศัพทหรือทางจดหมายกอนถึงวันนัด ในรายที่

ขาดความรวมมือในการรักษา (level 1A) 3.1.10 ใหแรงเสริมโดยการลดความถี่ของการมาตรวจในรายทีมี่อาการสงบ

(level 1A) 4. การใหความรูและการจัดการเก่ียวกบัการรักษาดวยยา

4.1 สําหรับผูปวย 4.1.1 ใหคําแนะนําและความรูเก่ียวกับการรักษาดวยยาและประโยชนของ การรักษา (level 1A) 4.1.2 ใชโปรแกรมการสอนดานสุขภาพจิตแกผูปวยแบบเปนกลุมระยะสั้น (level 1A) 4.1.3 จัดใหมีการใหการปรึกษาในกรณีดังตอไปน้ี (level 1A)

4.1.3.1 การจัดการกับปญหาท่ีเกิดจากการรักษาดวยยา (level 2A) 4.1.3.2 การจัดการกับความรูสึกสองฝกสองฝาย (level 2A) 4.1.4 อภิปรายรวมกันถึงความเชือ่และความสนใจเกี่ยวกบัการรักษาดวยยา

(level 2A) 4.2 สําหรับญาต ิ

4.2.1 ใหคําแนะนําและความรูแกญาติเก่ียวกับการรักษาดวยยาและประโยชน ของการรักษา (level 2A)

4.2.2 ใหการปรึกษาแกญาติเม่ือมีภาวะเครียดเกิดขึ้น (level 1A) 4.2.3 ทําครอบครวับําบัดเม่ือสมาชิกในครอบครัวรูสึกเปนภาระตอภาวะความ

เจ็บปวยของผูปวย (level 1A) 4.3 สําหรับบุคลากร

4.3.1 ใหความรูเก่ียวกับแนวคิดการสงเสริมความรวมมือในการรักษาดวยยา ควรครอบคลมุในประเด็นตอไปน้ี (level 4A) 4.3.1.1 ความสําคัญของการรักษาดวยยา 4.3.1.2 กลยุทธการสรางความรวมมือในการรักษาดวยยา

Page 73: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

73

4.3.1.3 ทักษะในการสงเสริมความรวมมือในการรักษาดวยยา 4.3.1.4 จริยธรรมในการสงเสริมความรวมมือในการรักษาดวยยา

5. การดูแลอยางตอเน่ืองเพ่ือการสงเสริมความรวมมือในการรักษาดวยยา 5.1 ติดตามผลการรักษาทางโทรศัพทในสัปดาหแรกของการรักษาในรายทีข่าดความ รวมมือในการรักษา โดยมีเปาหมายดังน้ี (level 4A)

5.1.1 ใหแรงเสริมทางบวกในพฤติกรรมการดูแลตนเองเกี่ยวกับการ รับประทานยา

5.1.2 ใหความจริงใจเกี่ยวกับการรักษา 5.1.3 ประเมินความรวมมือในการรักษาดวยยา 5.1.4 สงเสริมการดูแลตนเองและใหคําแนะนําเก่ียวกับปญหาตางๆ ที่พบ 5.2 สรางเครือขายของสถานบริการสุขภาพใกลบาน ในกรณีที่ตองสงตอผูปวย (level 1A) 6. การติดตามและพัฒนาคุณภาพ 6.1 ติดตามผลลัพธของการดําเนินการตามแนวปฏบิัติ ทุก 6 เดือน (level 4A) 6.2 ติดตามความรวมมือในการรักษาดวยยา ทุก 2 เดือน (level 1A) 6.3 ติดตามผลลัพธความรวมมือในการรักษาดวยยา ดังน้ี (level 1A)

6.1.1 อัตราความรวมมือในการรักษาดวยยา (level 1A) 6.1.2 อัตราการกลับเปนซํ้าจากการขาดความรวมมือในการรักษาดวยยา

(level 1A) 6.1.3 อัตราการกลับเขามารับการรักษาซ้ําในโรงพยาบาลจากการขาดความ

รวมมือในการรักษาดวยยา (level 1A) 6.1.4 อัตราการมาตรวจตามนัด (level 1A) 6.1.5 ความพึงพอใจของผูปวยและญาต ิ(level 1A)

สวนความเปนไปไดของการนําแนวปฏิบัติทางคลินิกสําหรับการสงเสริมความรวมมือใน

การรักษาดวยยาของผูปวยจิตเภท กลุมตัวอยางสวนใหญเห็นวาแนวปฏิบัติทางคลินิกสําหรับการสงเสริมความรวมมือในการรักษาดวยยาใชงานงาย ไมยุงยากซับซอน มีความสะดวกในการใช และมีความเปนไปไดในทางปฏิบัติ การอภิปรายผล การพัฒนาแนวปฏิบัติทางคลินิกสําหรับการสงเสริมความรวมมือในการรักษาดวยยาของผูปวยจิตเภท อภิปรายไดดังน้ี

1. ระดับของแนวปฏิบตัิทางคลินิก พบวาสาระสําคัญของแนวปฏิบตัิทางคลินิกสําหรับ

Page 74: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

74

การสงเสริมความรวมมือในการรักษาดวยยาของผูปวยจิตเภทสวนใหญมีระดับความนาเชื่อถือของหลักฐานอยูในระดับ 1 และ 2 แตจะมีในสวนของหมวดสิทธิผูปวยและจริยธรรมซึ่งจากการทบทวนความรูเชิงประจักษในหัวขอดังกลาวไมพบหลักฐานที่เปนงานวิจัย อาจทําใหความนาเชื่อถือในประสิทธิผลของสิทธิผูปวยและจริยธรรมไมสามารถยืนยันไดเทาที่ควร แตในสวนหมวดอ่ืน ๆ ของสาระสําคัญของแนวปฏิบัติทางคลินิกสําหรับการสงเสริมความรวมมือในการรักษาดวยยาของผูปวยจิตเภทมีความนาเชื่อถือของหลักฐานอยูในระดับที่ดีดังที่กลาวมา ดังน้ันภาพโดยรวมของแนวปฏิบัติทางคลินิกสําหรับการสงเสริมความรวมมือในการรักษาดวยยาของผูปวยจิตเภทเก่ียวกับความนาเชื่อถือในประสิทธิผลในการนําไปใชสามารถยืนยันความนาเชื่อได

2. การสืบคนหลกัฐานความรูเชิงประจักษเก่ียวกับการสงเสริมความรวมมือในการ รักษาดวยยาของผูปวยจิตเภท เพ่ือใหไดความรูเชิงประจักษที่มีประสิทธิภาพ นาเชื่อถือ เปนที่ยอมรับและสามารถนํามาแกไขปญหาทีพ่บได สวนใหญเปนหลักฐานที่ไดจากตางประเทศ ดังน้ันจึงควรไดมีการสงเสริมใหมีการศึกษาวิจัยเก่ียวกับการสงเสริมความรวมมือในการรักษาดวยยาของผูปวยจิตเภทในบริบทของประเทศไทยเพิม่ขึ้น

3. ปญหาการเขาถึงแหลงของหลักฐานความรูเชิงประจักษที่เก่ียวของ พบวาบางแหลงขอมูลมีการจํากัดเฉพาะสมาชิก ทาํใหการสืบคนหลักฐานบางอยางอาจไมครอบคลุม 4. ความสามารถในการนําแนวปฏิบตัิทางคลินิกไปใช จากผลการสํารวจความคดิเห็นของผูที่ไดทดลองใชแนวปฏิบัตทิางคลินิกสําหรับการสงเสริมความรวมมือในการรักษาดวยยาของผูปวยจิตเภท พบวาความคิดเห็นสวนใหญอยูในระดับดี ซ่ึงจะกลาวไดวาแนวปฏิบตัิทางคลินิกน้ีเปนการพัฒนาบนพื้นฐานของงานประจํา ตรงกับความจําเปนและความตองการของหนวยงาน มีแนวทางในการปฏิบัตทิี่ชดัเจนบนพื้นฐานของการใชหลักฐานเชงิประจักษ และทีมสหสาขาวชิาชีพสามารถนําไปใชปฏบิัติเพ่ือใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในการสงเสริมความรวมมือในการรักษาดวยยาของผูปวยได แมวาหลักฐานความรูเชิงประจักษที่เก่ียวของสวนใหญเปนหลักฐานที่มาจากตางประเทศ และเม่ือมีการนําแนวปฏิบตัิทางคลินิกลงไปสูการปฏิบตัิจริงกับผูปวยจิตเภท จึงควรมีการติดตามประเมินผลหลังการนําไปใชอยางตอเน่ือง

5. การพัฒนาแนวปฏิบตัิทางคลินิกมีความสําคัญและจําเปนสําหรับการแกไขปญหาการดูแลสุขภาพทีมี่ความซับซอนขึ้น ทําใหตองมีการพัฒนาปรับรูปแบบการบริการที่มีคุณลักษณะเปนการบริการเชิงรุกทั้งดานการสงเสริมสุขภาพ ปองกัน และฟนฟูสภาพที่เนนการดูแลอยางตอเน่ืองและการสงตอที่มีประสิทธิภาพ เพ่ือตอบสนองความตองการในการดูแลผูปวยไดอยางครอบคลุมและเปนองครวม

Page 75: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

75

การเรียนรูทีไ่ดจากการศึกษา การพัฒนาแนวปฏิบตัิทางคลินิกสําหรับการสงเสริมความรวมมือในการรักษาดวยยาของผูปวยจิตเภทในครั้งน้ี ทําใหผูศึกษาไดขอคิดและเกิดการเรียนรูสําหรับการเตรียมพรอมเพ่ือพัฒนาบทบาทของตนเอง ดังน้ี 1. ควรมีการสรางทัศนคตทิี่ดีตอการปฏิบัติงาน และมีความคิดสรางสรรคในการพัฒนารูปแบบการบริการอยางตอเน่ือง เกิดการพัฒนาผลลพัธการบริการ สรางความพึงพอใจแกผูมาใชบริการและทําใหเกิดความสุขจากการทํางาน 2. ควรมีการศึกษาและพัฒนาตนเองอยางตอเน่ือง ใหทันตอการเปลี่ยนแปลงทางดานสุขภาพในสาขาที่ตนเองมีความเชี่ยวชาญ ใหมีความรูในระดับเชิงลึกเพ่ิมขึ้น เน่ืองจากกลุมของผูใชบริการมีปญหาที่มีความซับซอนมากขึ้น

3. เปนแบบอยางที่ดีในการใหการดูแลแบบองครวม ทั้งทางดานรางกาย จิตใจ อารมณและจิตวิญญาน เพ่ือใหเกิดการยอมรับทั้งจากในทีมสุขภาพและนอกทีมสุขภาพ

การพัฒนาแนวปฏิบตัิทางคลินิกสําหรับการสงเสริมความรวมมือในการรักษาดวยยาของผูปวยจิตเภท ทําใหเกิดการพัฒนาในบทบาทวชิาชีพ และคณุภาพการบริการแกผูปวย จิตเภทที่มาใชบริการดวยปญหาที่มีความซับซอนไดอยางครอบคลมุ เพ่ือนําไปสูเปาหมายของผลลัพธของการใหการบริการ เอกสารอางอิง ฉวีวรรณ ธงชัย. (2548). การพัฒนาแนวปฏิบัตทิางคลินิก. วารสารสภาการพยาบาล, 20(2), 63-76. มาโนช หลอตระกูล, และ ปราโมทย สุคนิชย. (2542). โรคจิตเภท. กรุงเทพฯ:

เม็ทอินโฟวิดี. บังอร เผานอย. (2548). ประสิทธิผลของการจัดการกับอาการปวดหลังผาตดัตาม มาตรฐานทางคลินิก. วิทยานิพนธพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการ พยาบาลผูใหญ. บัณฑิตวทิยาลัย มหาวทิยาลัยเชียงใหม. สมบูรณ เงาสอง. (2548). การพัฒนาแผนการดูแลผูปวยบาดเจบ็ที่ศีรษะในระดับ

เล็กนอยที่ไมมีภาวะแทรกซอน โรงพยาบาลมหาราชนครเชยีงใหม. การคนควาแบบอิสระพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลผูใหญ. บัณฑิตวทิยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม.

สุวนีย เก่ียวกิ่งแกว. (2544). การพยาบาลผูปวยจิตเภท. ใน เบญจพิชญ เหรียญผูก (บรรณาธิการ), การสงเสริมสุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวช. (หนา 211-252). นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. Boyd, M. A. (2005). Psychiatric Nursing Contemporary Practice. Philadelphia: Williums & Winkins.

Page 76: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

76

Gray, R., Wykes, T., & Gournay, K. (2002). From compliance to conconcordance: A review of the literature on interventions to enhance compliance with antipsychotic medication. Journal of psychiatric and Mental Health Nursing, Haynes, R.B., Yao, X., Degani, A., Kripalani, S., Garg, A.X., & McDonald, H.P. (2005). Intervention for enhancing medication adherence(Review). Retrieved

September 4, 2006, from http//www.mrw.interscience.wiley.com/Cochrane/ clsysrev/articles/CD000011/pdf fs.html

Heneghan, C. J., Glasziou, P., & Perera, R., (2006). Remainder packaging for improving adherence to self-administered long-term medications (Review).

Retrieved September 4, 2006, from http//www.mrw.interscience.wiley.com/cochrane/clsysrev/articles/ CD005025/pdf fs.html 9 ,277-284.

Joint Commission on Accreditation of Healthcare Organizations. (2001). Pain manangement standards. Retrieved September 15, 2006, from

http//www.painlab.com/ jacho_standards.htm. Ruscher, S. M., Wit, R., & Mazmanian, D. (1997). Psychiatric patients’ attitudes about medication and factors affecting noncompliance. Psychiatric Services, 48(1) : 82-85. Sadock, B. J., & Sadock, V. A. (2003). Kaplan & Sadock’s Synopsis of Psychiatry

Behavioral Science/Clinical Psychiatry. (9 ed). Philadelphia: Williums & Winkins.

Page 77: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

77

Thai psychiatric inpatient care cost

Bupawan Phuaphanprasert * Supasit Pannarunothai **

Abstract In Thailand, there were a few studies in relation to Thai’s psychiatric health care with their own different conceptual frameworks and methods, which all used traditional method that cannot know activities care costs. Due to lack of care cost information, many problems and limitations have been occurred in budget allocation of mental health care and service quality has not improved. Therefore, activity-based costing method that was believed to be more accuracy than traditional method was the choice. This study aimed to study care cost of psychiatric inpatient by traditional method and activity-based costing method. It was a cross sectional and prospective study in view of service provider that was carried out in October 2004 until September 2005. The subjects were draw from the Suan Prung Psychiatric Hospital under the Thai Mental Health Department. The total cost in 4 months was 56,944,921 Thai baht. The ratio of labour cost: material cost: capital cost was 5: 3: 1. While the ratio of non-revenue producing cost center: revenue producing cost center: inpatient service: outpatient service: other service was 7: 5: 11: 1: 3. An average full cost was 697 Thai baht per day or 18,071 Thai baht per case. The highest full cost was found in schizophrenia (20,766 Thai baht per case), followed by drug intoxication and withdrawal (19,137 Thai baht per case), mental retardation (17,557 Thai baht per case), eating and obsessive/compulsive (16,559 Thai baht per case), and infectious and parasitic disease (16,245 Thai baht per case), respectively. The results from this study give valuable information for design and planning mental health care. Key word: Care cost, Inpatient, Psychiatric * Dentist Suan Prung Psychiatric Hospital ** Dean of Faculty of Medicine, Narasuan University

Page 78: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

78

Introduction Mental health care cost is very important for a company’s management. Cost information helps company to setting an appropriate service’s price, to make suitable policy, and other benefits. In public health service view of point, cost information can use in a grouping methodology of a casemix classification system that belief to be an appropriate reimbursement in health care for all stakeholders.

Although Thailand has studies in relation to Thai’s mental health service care cost, but they have their own different conceptual frameworks and methodologies. All of them used traditional method (TM) (Edward, Kung & Thomas, 2002; Don & Maryanne, 2006; Elisa & Nestor, 2004; ทวี ทมุานนท, 2001). which mainly allocates costs by number of service care. By this technique, TM, some certain costs cannot be known. Additionally, TM always gives higher or lower costs than actual number and also gives less accuracy than activity based costing (ABC) method (Edward, Kung & Thomas, 2002; ทวี ทมุานนท, 2001). The unknown costs above cannot support improving of budget allocation system. Due to lack of mental health service care cost information e.g., difficulty in data collection, quantitative skills, etc. for allocating appropriate resources to psychiatric services (Lee, Eager & Smith, 1998), charge fee in term of cost-charge ratio has been frequently used to replace actual cost such as Thai-DRG system (บุปผวรรณ พัวพันประเสริฐ, กิตติพงศ สานิชวรรณกุล และศุภสทิธิ์ พรรณนารุโณทัย, 2546). For example, Thai care cost is 16,000 baht but Thai charge fee is 8,000 baht (พรเทพ ศิริวนารังสรรค, ดุสิต ลขิิตพิชติกุล และสมชาย จักรพันธ, 2544; ธนู ชาติธนานนท, สุวัฒน มหัตนิรันดรกุล, บุปผวรรณ พัวพันธประเสรฐิ และสุรัช สนัุนตา, 2544). This method gives unfair treatment in budget allocation.

From the above, mental health service care cost study was needed to get costing data for constructing a casemix classification model for budget allocation in Thailand.

Objective of this study

This study aims to study care cost of psychiatric inpatient in the Suan Prung Psychiatric Hospital by traditional method (TM) and activity-based costing method (ABC).

Page 79: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

79

Methods and materials Study designs

The cost study was a cross sectional study under the service provider’s prospective. The study was approved by the Human Research Ethics Committee of Naresuan University. The costing study was conducted from September 2004 to April 2005.

Subjects and sites The study examined patient data from Thai psychiatric inpatients from adult

psychiatric hospitals under the Mental Health Department, the Suan Prung Psychiatric Hospital (responsible 12 provinces in Northern Thailand, 700 bed capacity). The hospitals had organizational structure composing of 4 major activities: administration, patient service (outpatient, inpatient, and patient in community), drug addict, and research and development.

Sources of data Data for analysis came from 3 sources. The first was the cross-sectional study

of inpatients. The second source of data was the inpatient treatment file (ITF), a discharge abstract of all completed episodes of inpatient care in the Suan Prung Psychiatric Hospitals. From the ITF, patients with complete inpatient diagnosis were included in the analysis. The third source of data was the cost accounting from the account report. This was used to calculate unit cost for inpatient health services. Working process We have 4 steps in our costing process; (1) identifying hospital outputs and activities, (2) collecting total direct costs, (3) allocating indirect cost to direct cost of activities, and (6) calculating total cost of outputs. We analyzes and identifies cost center and cost activities by reviewing literature, analyzing flow charts and hospitals transactions, and interviewing officers. Then, we modifies model until finalizing products, cost centers, and activities, which are accepted by all participants. All activities are classified into four groups: (1) Non-revenue producing cost center: NRPCC, (2) revenue-producing cost center: RPCC, (3) inpatient service: IP, (4) outpatient service: OP, and (5) other service: OS.

Direct costs were the labor costs, material costs, and capital costs directly assigned to the products using the defined consumption of these materials per product. The direct cost input was obtained from the hospitals in 6 months.

Page 80: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

80

Indirect cost (IDC) were direct cost (DC) of supporting activities (SA). IDC were allocated to IP, OP, and OS on allocation criteria. This study used three-step allocation procedure, which used different drivers in each step in order to find resource usage in each activity center. All costs were allocated to the different activity groups based on the percentage of time spent per personal to that activity in first-stage cost drivers. The defined individual offices time estimates per activity were used to calculate this percentage of time per activity group. After this step, we get all activities’ direct costs. Total direct cost of supporting activities will be allocated to IP, OP, and OS activities in the second-stage cost drivers. The allocation will calculate indirect cost of supporting activities to IP, OP, and OS activities by simultaneous method. The third-stage cost drivers was a summation of the different calculated activity cost components. The final step is unit cost calculating that based on amount resource used of each activity. The full cost calculation of the output will be the last stage allocation. Cost at this level will be calculated based on individual basis and later classify into psychiatric cost per disease.

Data collection Various record forms were designed to collect service and accounting data.

Accounting data were collected to cover the total direct cost (TDC) of hospital, especially inpatient service cost. Service care data were focusing on service frequency, time consumed by each activity, and operating staff that provides the service.

Statistical technique First, all inpatient service costs were calculated. Total annual health care costs

were determined for individual outputs. Cost data were computed and analyzed using descriptive statistics, such as frequency, percentage, mean, and standard deviation. Results Output and activities of the hospitals Output of the two sites in four months during the study period delivered 3,590 inpatient cases or 76,586 days. The highest length of stay per case was found in schizophrenia (29.3 days), followed by drug intoxication and withdrawal (26.7 days), mental retardation (25.3 days), eating and obsessive/compulsive (23.8 days), and infectious and parasitic disease (23.4 days), respectively. The lowest length of stay was found in personality disease and acute reaction (2.0 days), followed by anxiety (10.5 days), other drug use disease and dependence (16.6 days), and infectious and parasitic

Page 81: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

81

disease (11.7 days), respectively. Addition to inpatient services both hospitals provided mental health service care, service promotion, and prevention in their regions. The total direct cost of each cost center

The total direct cost of the hospital during the four-month study period (1 January–30 April 2004) was 56,944,921 Thai baht. The hospital cost in the four-month was classified into labour cost (LC) 29,183,211 Thai baht (56.18%), material cost (MC) 16,347,310 Thai baht (31.47%), and capital cost (CC) 6,414,399 Thai baht (12.35%), respectively. The ratio of labour cost: material cost: capital cost was equal 5: 3: 1. While the total direct cost in the four-month were classified by cost center type, patient service (PS) was the major portion of 25,363,762 Thai baht (48.83%), followed by NRPCC of 11,640,209 Thai baht (22.41%), RPCC 7,969,894 Thai baht (15.34%), and OS 5,340,540 Thai baht (10.28%), and OP 1,630,515 Thai baht (3.142%) respectively. The ratio of NRPCC: RPCC: IP: OP: OS was 7: 5: 11: 1: 3 (see table 1).

The distribution of staffs’ time to allocate inpatient labour cost components of the hospitals. Staff’s time was the full time equivalence (FTE) that staff worked for each cost centre. The total of FTE of the hospitals during four months of data collection time was 558.2. Most of them worked in IP 57.2%, followed by NRPCC 23.4%, RPCC 10.0%, OS 7.1%, and OP 2.4%, respectively. Table 1 Cost and FTE by cost centre (four-months)

FTE Labour cost Material cost Capital cost Total

1. Non-revenue producing cost center

130.4 6,248,598 2,523,882 2,867,729 11,640,209 (22.4)

(53.7) (21.7) (24.6) (100.0)

2. Revenue-producing cost center

55.7 2,235,996 5,459,541 274,357 7,969,894 (15.3)

(28.1) (68.5) (3.4) (100.0) 3. Inpatient service 319.3 16,201,670 6,665,451 2,496,641 25,363,762 (48.8)

(63.9) (26.3) (9.8) (100.0) 4. Outpatient service 13.3 859,141 444,645 326,729 1,630,515 (3.1)

(52.7) (27.3) (20.0) (100.0)

5. Other service

39.4 3,637,806 1,253,791 448,943 5,340,540 (10.3)

(68.1) (23.5) (8.4) (100.0)

Total 558.2 29,183,211 16,347,310 6,414,399 51,944,921 (100.0)

(56.2) (31.5) (12.6) (100.0)

Page 82: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

82

Direct cost of patient service In all patient service cost 25,363,762 baht, the highest was found in day care

(44.27%), followed by emergency treatment (8.84%), admission (6.33%), physical therapy (5.59%), group psychotherapy (5.12%), evaluation (5.02%), discharge (4.69%), and rehabilitation (4.39%), respectively (see Table 2).

Table 2 Direct cost of patient service cost center (unit: 1,000 baht)

Activity cost center Labour cost

Material cost

Capital cost

Total cost

% of total

1. Evaluation 240 60 24 325 5.0 2. Admission 288 95 27 410 6.3 3. Day care 1,477 1,084 303 2,865 44.3 4. Electroshock therapy 83 37 24 144 2.2 5. Group psychotherapy 248 60 23 331 5.1 6. Individual psychotherapy 56 13 4 73 1.1 7. Emergency treatment 409 120 43 572 8.8 8. Rehabilitation 189 43 52 284 4.4 9. Physical therapy 264 79 19 362 5.6 10. Special examination 77 65 80 222 3.4 11. Psychological evaluation & testing 49 7 10 66 1.0 12. Recreation 33 14 7 54 0.8 13. Dentistry 80 16 12 108 1.7 14. Social welfare 14 5 5 24 0.4 15. Referral 95 22 7 124 1.9 16. Other service 107 26 71 205 3.2 17. Discharge 234 50 20 303 4.7

Total 3,944 1,796 730 6,471 100.0

Unit cost of patient service

An average full cost (FC) per day was 697 Thai baht or an average material cost (MC) per day was 192 Thai baht. Full cost (FC) per case was 18,071 Thai baht or an average material cost (MC) was 4,987 Thai baht.

The highest cost per activity was recreation (9,617 Thai baht per visit), followed by other service (8,219 Thai baht per visit), psychological evaluation and testing (5,750 Thai baht per visit), day care (1,081 Thai baht per visit), respectively. The lowest cost per activity was evaluation (24 Thai baht per visit), followed by individual psychotherapy (27 Thai baht per visit), emergency treatment (113 Thai baht per visit),

Page 83: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

83

social welfare (142 Thai baht per visit), group psychotherapy (164 Thai baht per visit), respectively (see Table 3). Table 3 Mean activities cost per activity (unit: baht)

Activity cost center Labour cost Material cost Capital cost Total cost 1. Evaluation 18 4 2 24 2. Day care 761 250 70 1,081 3. Admission 134 98 27 259 4. Electroshock therapy 350 154 100 605 5. Group psychotherapy 123 30 11 164 6. Individual psychotherapy 21 5 1 27 7. Emergency treatment 81 24 8 113 8. Rehabilitation 521 118 144 783 9. Physical therapy 203 60 15 278 10. Special examination 164 138 170 472 11. Psychological evaluation & testing 4,248 623 879 5,750 12. Recreation 5,975 2,419 1,223 9,617 13. Dentistry 866 174 126 1,166 14. Social welfare 84 28 30 142 15. Referral 887 206 69 1,162 16. Other service 4,301 1,058 2,860 8,219 17. Discharge 617 132 52 800

The highest full cost (FC) was found in schizophrenia patient (20,766 Thai

baht per case), followed by drug intoxication and withdrawal (19,137 Thai baht per case), mental retardation (17,557 Thai baht per case), eating and obsessive/compulsive (16,559 Thai baht per case), and infectious and parasitic disease (16,245 Thai baht per case), respectively. The lowest FC was found in personality disease and acute reaction patient (1,391 Thai baht per case), followed by drug anxiety (7,185 Thai baht per case), Opioid use and dependence (8,112 Thai baht per case), other drug use disease and dependence (11,560 Thai baht per case), and Paranoid and acute (11,859 Thai baht per case), respectively (see Table 4).

Page 84: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

84

Table 4 Number of length of stay and cost per case by disease cluster Disease cluster Number of length of stay Full cost per case

1. Schizophrenia 29.3 20,766 2. Drug intoxication and withdrawal 26.7 19,137 3. Mental retardation 25.3 17,557 4. Eating and obsessive/compulsive 23.8 16,559 5. Infectious and parasitic disease 23.4 16,245 6. Dementia and other disturbance 22.2 15,396 7. Other affective and somatoform 21.5 14,918 8. Alc intoxication and withdrawal 21.1 14,709 9. Major affective 20.8 14,438 10. Delirium 19.6 13,826 11. Alc use and dependence 19.5 13,559 12. Paranoid and acute 17.1 11,859 13. Other drug use and dependence 16.6 11,560 14. Opioid use and dependence 11.7 8,112 15. Anxiety 10.5 7,185 16. Personality and acute reaction 2.0 1,391

Discussion The structure of the hospital was divided into 4 cost centers: Non-revenue producing cost center (NRPCC), revenue producing cost center (RPCC), inpatient service (IP), outpatient service (OP), and other service (OS). Output of the hospital in four months delivered 3,590 inpatient cases or 76,586 days. The total direct cost was 56,944,921 Thai baht. The ratio of labour cost: material cost: capital cost was equal 5: 3: 1. While the ratio of NRPCC: RPCC: PS: OP: Other PS was 7: 5: 11: 1: 3. An average full cost and material cost per day was 697 and 192 Thai baht or an average full cost and material cost per case was 18,071 and 4,987 Thai baht. The highest full cost was found in schizophrenia patient, followed by drug intoxication and withdrawal, mental retardation, eating and obsessive/compulsive, and infectious and parasitic disease, respectively. The lowest FC was found in personality disease and acute reaction patient, followed by drug anxiety, Opioid use and dependence, other drug use disease and dependence, and Paranoid and acute, respectively. The highest cost per activity was recreation, followed by other service, psychological evaluation and testing, day care, respectively. The lowest cost per activity was evaluation, followed by

Page 85: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

85

individual psychotherapy, emergency treatment, social welfare, group psychotherapy, respectively. In line with other literature reports (6, 7, 9, 10, 11, 12), this cost study confirms that the major resource cost of psychiatric inpatient service is labour intensive service that accounted more than 50%, followed by material cost, and investment cost, respectively (see Table 5). Table 5 Cost structure of mental health hospitals

This study (2005) Supeeranun, A. et al.

(2004) Siriwanarangsarn, P. et al.

(2001)

1. Labour cost 62 48 54

2. Material cost 26 41 36

3. Capital cost 12 11 10

When comparing hospitals under the Department of Mental Health with

similar management structure and management system, PS was the first rank to absorb the cost, followed by NRPCC, RPCC, and OS, respectively. This pattern was similar to the study of Siriwanarangsarn, P. et al. (2001) and Supeeranun, A. et al. (2004) (see Table 6). Table 6 Proportion of cost-by-cost center

This study (2005) Supeeranun, A. et al.

(2004) Siriwanarangsarn, P. et al.

(2001)

1. NRPCC 26 38 44

2. RPCC 13 11 18

3. PS 49 46 38

4. OP 12 5 -

Full cost for inpatient was highest in the study of Supeeranun, A. et al.

(2004) at 20,438 Thai baht per case, followed by Siriwanarangsarn, P. et al. (2001) at 19,632 Thai baht per case, and this study at 17,399 Thai baht per case. Similarly, outpatient full cost was highest at 599 Thai baht per visit in Supeeranun, A. et al. (2004), followed by followed by Siriwanarangsarn, P. et al. (2001) at 529 Thai baht per visit, and this study at 346 Thai baht per visit (see Table 7).

Page 86: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

86

Table 7 psychiatric inpatient and outpatient service cost per case

This study Siriwanarangsarn, P.

et al. (2001) Supeeranun, A. et al.

(2004) 1. Sources The Suan Prung

Psychiatric Hospitals 13 psychiatric hospitals under the Mental Health

Department

17 psychiatric hospitals under the Mental

Health Department 2. Time 2004 2000 2000

3. Method TM, ABC TM TM

4. Inpatient 4.1 Length of stay 21 days 38 days 31 days 4.2 Full cost 17,399 Thai baht/case 19,632 Thai baht/case 20,438 Thai baht/case 696 Thai baht/day 513 Thai baht/day 656 Thai baht/day 5. Outpatient 5.1 Full cost 346 Thai baht/visit 529 Thai baht/visit 599 Thai baht/visit

In this study, schizophrenia was the most costly (20,766 Thai baht), followed

by drug intoxication and withdrawal (19,137 Thai baht), and mental retardation (17,557 Thai baht), respectively. This is quite different from Supeeranun, A. et al. (2004) which mental retardation (144,281 Thai baht) was the highest, followed by schizophrenia (28,230 Thai baht), and dementia and other disturbance (20,989 Thai baht), respectively. Mental retardation is obviously high because children with mental retardation have to stay at hospital for very a long period of time (see Table 8).

Table 8 Full cost of each disease cluster

Disease cluster Cost per case (Thai baht) This study Supeeranun, A. et al. (2004)

1. Schizophrenia 20,766 28,230 2. Drug intoxication and withdrawal 19,137 18,559 3. Mental retardation 17,557 144,281 4. Eating and obsessive/compulsive 16,559 - 5. Infectious and parasitic disease 16,245 - 6. Dementia and other disturbance 15,396 20,989 7. Other affective and somatoform 14,918 - 8. Alc intoxication and withdrawal 14,709 - 9. Major affective 14,438 14,782 10. Delirium 13,826 - 11. Alc use and dependence 13,559 12,698

Page 87: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

87

12. Paranoid and acute 11,859 13. Other drug use and dependence 11,560 14. Opioid use and dependence 8,112 15. Anxiety 7,185 8,701 16. Personality and acute reaction 1,391

Conclusion

The results from this study confirmed and supported by previous study. They should be used as a preliminary guide for budget planning and policy formulation of public mental health resources allocation in Thailand.

A number of points for future funding were still skeptical in this cost study. This ABC study was the first to apply to psychiatric hospital to calculate inpatient service care cost, and probably was the first attempt to find cost driver of the model. However, data in the chapter did not reflect the ‘good practice’ but rather the ‘average service’. Concerns were raised by various groups regarding the use of costs as a basis to fund future services, as this may be inconsistent with ‘appropriate care’. Consideration should be given before using these cost data for funding.

However, the cost study has many limitations. Firstly, much error several parts of information were missing due to substantial data collection (database insufficiency and staff non-realization). However, these potential problems were realized and databases from other sources were med. Cost calculation software should developed to manage the system and save cost. To eliminate time in cost calculation and to increase ease for officers, software package of costing model for psychiatric care cost is needed. Secondly, although the detailed definitions and multi-step allocation principle yielded a refined cost calculation, some assumptions made during the development of the model, may result in a slight distortion of the calculated costs. Whatever attempt in correcting limitations would have rendered the model much more complex, requiring program adaptations when applying of the calculated costs. When adopting such a model for daily practice, however, one should be aware of the potentially impeded distortions related to the specificity of the model’s design. Thirdly, currently in our routine psychiatric practice, there were no computed care costs. Therefore, collected data for cost study might be incomplete and contain error in some area. This study tried to reduce error by setting well training lessons for staff, audit in data collection process, and back up data. Before implementing cost calculation in

Page 88: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

88

routine service, it is highly recommended staff, environment, and facilities should be well prepared. Fourthly, this study did not represent activity services and non-patient service activities (consultation liaison, teaching, training, research, community development) that need to be explored for funding propose. Additionally, it covered only special mental health hospitals. The costs of others settings (teaching hospitals, primary and secondary care hospitals) should be investigated before any attempt to apply these costs since the cost characteristics are different among type of hospitals.

Acknowledgements

We would like to thank the Health Research Institution for fund support, the Suan Prung Psychiatric Hospital for its information and corporation.

Reference กอบโชค ชูวงศ. และ บุปผวรรณ พัวพันธประเสรฐิ. (2006). The average length of stay and

psychiatric symptoms. วารสารสมาคมจิตแพทยแหงประเทศไทย; 14 (2): 75-88. ทวศีักด์ิ ทุมานนน. (2001). ตนทุนตามกิจกรรม. กรุงเทพฯ: อิออนิก. ธนู ชาตธินานนท, สุวัตน มหัตนิรันกุล, บุปผวรรณ พัวพันธประเสริฐ, และ สุรัช สนันตา.

(2544). คาใชจายและนํ้าหนักสัมพัทธของกลุมโรครวมทางจิตเวช. นนทบุรี: กรมสุขภาพจิต, กระทรวงสาธารณสุข.

บุปผวรรณ พัวพันธประเสรฐิ, กิตติพงศ สานิชวรรนกลุ, และ ศุภสทิธิ์ พรรณารุโณทัย (2546). ทางเลือกในการจัดสรรงบประมาณผูปวยในทางจติเวช. พิษณุโลก: ศูนยวิจัยและติดตามความเปนธรรมทางสุขภาพ, คณะแพทยศาสตร, มหาวิทยาลัยนเรศวร.

พรเทพ ศิริวนารังสรรค, ดุสิต ลิขติพิชติกุล, และสมชาย จักรพันธ (2544). ตนทุนบริการทางจิตเวชของสถานพยาบาลสังกัดกรมสุขภาพจิตป 2543. นนทบรีุ: กรมสุขภาพจิต, กระทรวงสาธารณสุข.

อรวรรณ ศิลปกิจ. (2003). ตนทุนและประสิทธิภาพของโรงพยาบาลศรีธัญญา. วารสารสมาคมจิตแพทยแหงประเทศไทย; 11: 132-44.

อเนก ศรีสุรภานนท. สุวัตน มหัตนิรันกุล. และ บุปผวรรณ พัวพันธประเสริฐ (2005). Unit Cost of Mental Health Services of Mental Health Department 2004. นนทบุรี: สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข.

Blocher, Edward. J., Chen, Kung. H., & Lin, Thomas. W. (2002). Cost management: A strategic emphasis. (2nd ed.). New York: McGraw - Hill.

Page 89: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

89

Buckingham, B., Burgess, P., Solomon, S., Pirkis, J., & Eager, K. (2003). Developing a casemix classification for mental health service costs (MH-CASC). Canberra: Commonwealth Department of Health and Family Services.

Hansen, Don. R., & Mowen, Maryanne. M. (2006). Cost management: Accounting and control. (5th ed.). China: Thomson South-Western.

Moncarz, Elisa. S., & Portocarrero, Nestor de. J.. (2004). Accounting for the hospitality industry. (3rd ed.). New Jersey: Upper Saddle River.

Lee, L. A., Eager, K. M., & Smith, M. C. (1998). Sub acute and non-acute casemix in Australia. MJA (serial online) 1998 Oct [cited 2002 Dec 6]; 169: [7 screens]. Available at: http://www.mja.com.au/public/issues/oct19/casemix/lee/lee.html.

Page 90: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

90

การทําจิตบําบัดแนวซาเทียร : กรณีศกึษาในผูปวยโรคซึมเศราและมีภาวะวิตกกังวล

ประสงคศักด์ิ เจนกิจจาไพบูลย*

บทคัดยอ

การรักษาจิตบําบัดแนวซาเทียร (Satir Model) เปนกลุมการรักษาหน่ึงแนวมนุษยนิยม (Humanistic) ในการรักษาผูปวยรายบุคคลและครอบครัวบําบัดโดยเนนเรื่องการเติบโตเปลี่ยนแปลงตนเองและเห็นวาตนเองเปนสิ่งที่สําคัญที่สุดที่จะกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงได การรักษาใหความสําคัญในการเพ่ิมความรูสึกมีคุณคาในตนเอง (Self-esteem) การยอมรับตนเอง การมองปญหาในมุมมองใหม (reframe problem) และการสื่อสารที่สอดคลองกับความรูสึก ที่แทจริง (communicate with congruence) รายงานกรณีศึกษาในการทําจิตบําบัดแนวซาเทียรคร้ังน้ี ผูศึกษาไดนําเสนอกรณีผูปวยโรคซึมเศราและมีภาวะวิตกกังวลที่ไดรับการบําบัดตามแนวซาเทียร โดยมีประเด็นปญหาที่นํามาคือ อาการเครียด วิตกกังวลเรื่องความรัก ซึมเศรา มีความคิดฆาตัวตาย นอนไมหลับและมีไมเกรน ผูศึกษาไดใชเทคนิคและวิธีการตามหลักการของจิตบําบัดแนวซาเทียร ที่ชวยใหผูปวยไดสํารวจผลกระทบของปญหาและแกไขผลกระทบท่ีเกิดขึ้นภายในจิตใจ ซ่ึงผลการบําบัดในครั้งน้ี พบวาผูปวยเกิดการเปลี่ยนแปลงตนเองทางดานอารมณ ความคิด ความรูสึก และความปรารถนา ทําใหยอมรับตนเอง มีความเช่ือม่ัน ความภาคภูมิใจ และความเปนตัวของตัวเองมากขึ้นสงผลใหอารมณเศราและวิตกกังวลลดลง คําสําคัญ : จิตบําบัดแนวซาเทียร, โรคซึมเศรา, ภาวะวิตกกังวล

Individual Psychotherapy with Satir Model: Case Study of the Patient with Mixed Anxiety Depressive Disorder

Abstract The Satir’s Model is a kind of individual and family therapy in the humanistic approach. Satir’s Model focuses on the innate growth and self awareness in contributing to change. The important key of this therapy is concerned with creating self esteem, self acceptance, reframe problem and communicate with congruence. This report presents a case study of Satir’s Model therapy with a depression and anxiety patient. The patient’s complaint was stress symptoms, insomnia, migraine, anxiety (about her loved one), depression and idea of suicide. The therapist used Satir’s *นักจิตวิทยา โรงพยาบาลสวนปรุง

Page 91: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

91

technique and method to facilitate the patient in exploring the effect of problem and changing inner mind effect. The result found that patient could make change the feeling, thoughts, wishes and contribute self - acceptance, self – confident, self esteem that decrease depressive mood and anxiety. Key words: Satir Model, Mixed anxiety depressive disorder บทนํา จากขอมูลการคาดประมาณจํานวนปสุขภาวะจากการตาย พิการและเจ็บปวยกอนวัยอันควรขององคการอนามัยโลก (Disability Adjusted Life Years : DALYs) ในป ค.ศ. 2001 พบวา 1 ใน 5 อันดับแรกของโรคทางจิตเวชที่ทําใหสูญเสียปสุขภาพจากการเจ็บปวยทั้งในกลุมประเทศพัฒนาแลวและกลุมประเทศกําลังพัฒนาตามลําดับ ไดแกโรคซึมเศรา โรคติดสุรา โรคจิตเภทโรคไบโพลาร และโรคสมองเสื่อม (กรมสุขภาพจิต, 2551) โดยเฉพาะอัตราการปวยเปนโรคซึมเศราเพ่ิมสูงขึ้นควบคูไปกับการฆาตัวตายซึ่งมีสถิติสูงขึ้นมากเชนกันโดยเพ่ิมเปน 2 เทา ในกลุมวัยรุน (ดวงใจ กสานติกุล, 2542) สําหรับโรควิตกกังวลน้ัน ในป 2542 คณะทํางานศึกษาภาระโรคและการบาดเจ็บ กระทรวงสาธารณสุข ไดทําการคาดประมาณจํานวนปสุขภาวะ(Disability Adjusted Life Years : DALYs) ที่จะเกิดจากการตาย ปวย พิการของคนไทย พบวาโรควิตกกังวลทําใหคนไทยเสียสุขภาพจากการเจ็บปวย (Year Lived with Disability : YLD) ถึงรอยละ 2 (กรมสุขภาพจิต, 2547) เชนเดียวกับรายงานสถิติของผูปวยโรคซึมเศราและโรควิตกกังวลที่มารับบริการ ณ โรงพยาบาลสวนปรุงในระยะเวลา 3 ปที่ผานมาตั้งแตป 2548 – 2550 มีสถิติผูปวยเพิ่มสูงขึ้นกลาวคือ มีผูปวยโรคซึมเศรามารับบริการจํานวน 6,832 ราย, 7,483 ราย, และ 8,553 ราย ตามลําดับ และมีผูปวยโรควิตกกังวลมารับบริการจํานวน 7,425 ราย, 7,775 ราย, และ 8,517 ราย ตามลําดับ (โรงพยาบาลสวนปรุง, 2547) ตามเกณฑการวินิจฉัยฉบับที่ 4 (DSM-IV) ที่ใชในปจจุบัน โรคซึมเศรามีอาการสําคัญ คือ ผูปวยจะมีอารมณซึมเศรา เบื่อหนาย หดหู และหมดอารมณสนุกเพลิดเพลินหรือ หมดอาลัยตายอยาก เปนอยูนานตั้งแต 2 สัปดาหขึ้นไปจนมีผลกระทบตออาชีพการงานหรือ การเรียนโดยมีอาการรวมในดานตางๆ คือ อาการทางกาย (Vegetative) เชน รับประทานอาหารไมได นอนไมหลับ นํ้าหนักลด ออนเปลี้ยเพลียแรง ปากแหง ทองผูก หมดอารมณทางเพศ ปวดศีรษะ ปวดตามรางกาย มีอาการเซื่องซึมเชื่องชา (retardation) เหมอลอย คิดชา พูดชา เคลื่อนไหวชา พูดเสียงเบาหรือแยกตัวไมอยากพบหนาหรือพูดคุยกับใคร คิดเร่ืองรายๆ มองโลกมองสภาพทุกอยางในดานลบไปหมด ขาดสมาธิ และขาดความม่ันใจ วิตกกังวลไปตางๆนาๆ ตัดสินใจไมไดแมในเรื่องเล็กๆนอยๆ บางคนมีอาการตกใจงาย ใจสั่น แนนหนาอก หรือย้ําคิดย้ําทํา ในรายที่มีภาวะซึมเศรารุนแรงจะรูสึกผิด โทษหรือดูถูกตนเองวาเลวหรือโง รูสึกทอแททอถอย รูสึกตนเองไรคา หมดหวัง ไมมีทางออก ไมเห็นทางแกปญหาซ่ึงความรูสึกผิดตอตนเอง

Page 92: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

92

น้ันมีไดตั้งแตรูสึกไรความสามารถไปจนถึงไมเห็นคุณคาใดๆในตนเอง ผูปวยคิดสมเพช ดูถูกตนเองอยางมาก เม่ือมีความผิดพลาดลมเหลวเพียงเล็กนอย เชนสอบตกหรือสอบพลาดไป ไมไดคะแนนดีเทาที่ควร ผูปวยมักจะคิดซํ้าเติมตนเอง คิดวาตัวเองเลวหรือโง ทําใหยิ่งมองตนเองในดานลบมากขึ้น ลดความภูมิใจความนับถือตนเองหรือขาดความม่ันใจในตนเองอยางมาก ผูปวยบางคนมีความรูดีมีความสามารถแตไมกลาทํางานเพราะกลัววาจะทํางานไมได บางคนขอลาออกจากการงานหรือจากการเรียน ทั้งที่ความจริงไมมีปญหาแตผูปวยคิดไปเอง ปจจัยน้ี เ ป น สิ่ ง สํ า คั ญ ที่ ทํ า ใ ห ผู ป ว ย มี ค ว า ม คิ ด แ ล ะ พ ย า ย า ม ฆ า ตั ว ต า ย ( ด ว ง ใ จ กสานติกุล, 2542) แมวาปจจุบันการรักษาทางยามีความกาวหนาในการรักษาทางจิตเวชศาสตร แตการรักษาที่มุงแกไขหรือควบคุมอาการโดยอาศัยยาแตเพียงอยางเดียวนั้นยอมมีขอบเขตที่จํากัด เน่ืองจากมนุษยมีปญหาจิตใจอีกมากมายที่ตนเหตุมิใชปจจัยทางชีวภาพแตอยางเดียว แตมีปจจัยทางจิตวิทยาและสังคมเปนสําคัญ ดังเชนปญหาการปรับตัว (adjustment disorder) ตอความสูญเสีย ความปวยไข ความตาย ความผิดหวัง ความกระทบกระเทือนใจ (psychological trauma) และ สภาวะวิกฤติทางจิตใจอ่ืนๆ (psychological crisis) รวมถึงปญหาบุคลิกภาพที่สามารถทําใหเกิดอาการและตองการความชวยเหลือทางจิตใจที่นอกเหนือจากการใหยา ดังนั้นการรักษาจิตบําบัดเปนปจจัยสําคัญที่จะ ลดอาการและปญหาทางจิตใจของผูปวย การมีปญหาหรือพยาธิสภาพทางจิตใจมักทําใหความสามารถในการปรับตัวลดลง และทําใหผูปวยแกไขปญหาดวยวิธีการหรือพฤติกรรมที่ซํ้าเดิมใหมีความเหมาะสมมากขึ้น ตลอดจนลดความรุนแรงของอาการหรือหมดไป และชวยใหผูปวยกลับมามีสุขภาพจิตที่ดีขึ้น สามารถตอสูกับปญหาไดดีขึ้น (จันทิมา องคโฆสิต, 2545) การรักษาจิตบําบัดแนวซาเทียร (Satir Model)เปนกลุมการรักษาหน่ึงแนวมนุษยนิยมที่รักษาทั้งผูปวยรายบุคคลและครอบครัวบําบัด ใชระยะเวลาสั้นๆ ผูรักษาสามารถกํากับ การบําบัดอยางเต็มที่ซ่ึงจะไดผลดีในการรักษาผูปวยอารมณซึมเศราระยะที่มีอาการเฉียบพลัน (Banmen, 2007) โดยจิตบําบัดแนวซาเทียรเนนเรื่องการเติบโต เปลี่ยนแปลงตนเองและเห็นวาตนเองเปนสิ่งที่สําคัญที่สุดที่จะกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงได การรักษาเนนเรื่องการเพิ่มความรูสึกมีคุณคาในตนเอง (Self-esteem) การยอมรับตนเอง การมองปญหาในมุมมองใหม (reframe problem) และการสื่อสารที่สอดคลองกับความรูสึกที่แทจริง (communicate with congruence) (จันทิมา องคโฆสิต, 2545) ดังน้ันผูศึกษาในฐานะนักจิตวิทยาที่ไดรับการฝกฝนอบรมจิตบําบัดแนวซาเทียรอยางตอเน่ืองและไดทดลองนําแนวทางบําบัดดังกลาวมาใชในกลุมผูปวยจิตเวช จึงมีความสนใจศึกษาการทําจิตบําบัดแนวซาเทียรมาใชเพ่ือบําบัดอาการซึมเศรา ดวยพ้ืนฐานความเชื่อที่วา หากบุคคลมีการเพ่ิมความรูสึกมีคุณคาในตนเอง ยอมรับตนเอง และมีการมองปญหาสื่อสารไดสอดคลองกับความรูสึกแทจริงแลว นาจะชวยใหบุคคลน้ันลดอาการซึมเศราลงได ซ่ึงนาจะเปนวิธีการบําบัดที่มีประสิทธิภาพอีกวิธีหน่ึง

Page 93: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

93

กรณีศึกษา ผูปวยหญิงไทย อายุ 27 ป มีประวัติเขารับการรักษาที่โรงพยาบาลสวนปรุงครั้งแรก

เม่ือป พ.ศ. 2549 ดวยอาการเครียด วิตกกังวล ปวดศีรษะ คลื่นไสอาเจียน มีอาการใจสั่นและ ปญหาเร่ืองการนอนหลับ รูสึกเบื่อหนาย ทอแท มีความคิดฆาตัวตายบางครั้ง โดยกินยาแกแพและยาคลายเครียด 20 เม็ด แตไมไดลางทอง และมีประวัติด่ืมแอลกอฮอล (ไวน) นานๆครั้ง แพทยวินิจฉัย Mixed anxiety depressive disorder (F 41.2) และรักษาแบบผูปวยนอกโดยใหยาไปรับประทานที่บาน พ.ศ. 2550 ชวงเดือนสิงหาคม เขารับการรักษาครั้งที่ 2 ดวยอาการเครียด วิตกกังวล เรื่องความรัก มีไมเกรน ซึมเศรา ติดตอกันแตไมถึง 2สัปดาห มีความคิดฆาตัวตาย กลางคืนไมหลับ ไมคอยรับประทานอาหาร ขาดยาประมาณ 8 เดือน พยายามฆาตัวตายโดยกินยาของโรงพยาบาลสวนปรุงที่เหลือประมาณ 10 กวาเม็ด เคยจะกระโดดตึก และเคยผูกคอตายแตผาขาด แพทยวินิจฉัย MDD with suicidal attempt (F32.1) และเขารับการรักษาแบบผูปวยใน โดยอยูโรงพยาบาล 1 วัน เน่ืองจากผูปวยมีอาการหงุดหงิด อยากกลับบาน ปฏิเสธการรักษาจากแพทย หลังจําหนายผูปวย รับประทานยาสมํ่าเสมอ แพทยนัดมาตรวจและสงพบนักจิตวิทยาเพ่ือทําจิตบําบัดและตรวจวินิจฉัยทางจิตวิทยา แพทยวินิจฉัย Mixed anxiety depressive disorder (F 41.2) ไดรับยา Fulox (20) 1 ½ เชา, Tranxene (5) 1x2 oral pc, DZP (5) 1xhs + 1 prn และ การรักษาทางจิตสังคม โดยใชจิตบําบัดแนวซาเทียร (Satir Model) โดยผูศึกษาไดรับการติดตอจากพยาบาลแผนกผูปวยนอกวาจิตแพทยสงพบนักจิตวิทยาเพ่ือทําจิตบําบัดและตรวจวินิจฉัยทางจิตวิทยา ในชวงที่พบผูปวยครั้งแรก ผูศึกษาเลือกใหการบําบัดแกผูปวยดวยจิตบําบัดแนวซาเทียร เน่ืองจากประเมินเบื้องตนพบวาผูปวยมองสิ่งรอบขางในทางลบโดยเฉพาะเรื่องการรักษาที่ยุงยาก ซับซอน ไมเขาใจกระบวนการรักษาของแพทย ทําใหผูปวยหงุดหงิดเก่ียวกับการที่ตองมารับบริการรักษาที่โรงพยาบาลหลายครั้งอีกทั้งมีทาทีไมพอใจใน การใหบริการของทีมผูรักษา ซ่ึงผูศึกษาไดอธิบายเหตุผลเกี่ยวกับขั้นตอนกระบวนการรักษาทั้งหมด เปดโอกาสใหผูปวยไดระบายความรูสึกและพูดถึงปญหาของตนเพ่ิมเติม พบวาผูปวยมีความเครียดจากปญหาสวนตัวในเรื่องความรัก และผลกระทบของปญหาครอบครัวแตกแยกในวัยเด็ก ซ่ึงสงผลใหผูปวยมีความรูสึกวาตนเองบกพรอง ขาดความมั่นใจ มองตนเองและคนอ่ืนรอบขางในแงลบ ไมมีคุณคาในตนเอง แตก็มีความตองการอยากหายจากอาการเจ็บปวยของตน ซ่ึงประเด็นนี้พบวาเก่ียวของกับพฤติกรรม ความรูสึก การรับรู ความคาดหวังและความปรารถนาที่ซอนอยูลึกๆ ภายในจิตใจของผูปวย ดังนั้นการรักษาดวยจิตบําบัดแนวซาเทียรจึงนาจะเปนประโยชนตอผูปวย ซ่ึงผูศึกษาไดใหการทําจิตบําบัดแกผูปวยรายน้ีรวมทั้งหมด 3 คร้ังดังน้ี

Page 94: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

94

ผลการทําจิตบําบัด การบําบัดครั้งที่ 1 ผูบําบัดพบผูปวยครั้งแรกเพื่อสรางสัมพันธภาพและสอบถามถึงสิ่งที่ผูปวยตองการในการมาโรงพยาบาลครั้งน้ี พบวาผูปวยมาตามแพทยนัดที่ตึกผูปวยนอกเพื่อมาตรวจติดตามผลและพบนักจิตวิทยา โดยไมทราบวามาพบนักจิตวิทยาเพ่ืออะไร แตกอนที่จะทําการบําบัดไดเกิดเหตุการณที่ทําใหผูปวยรูสึกหงุดหงิด และพูดจาดวยน้ําเสียงไมพอใจ เน่ืองจากเกิดความรูสึกโมโหเก่ียวกับการผิดพลาดในการนัดของทีมผูรักษา ซ่ึงผูบําบัดไมไดรับการประสานนัดลวงหนาจากพยาบาลตึกผูปวยในวาแพทยนัดติดตามผลผูปวยโดยวางแผนใหพบนักจิตวิทยาเพ่ือทําการบําบัด ผูบําบัดจึงขอเลื่อนนัดพบผูปวยในวันอ่ืนและอธิบายเหตุผลในการเลื่อนนัดเพราะวารอนัด ผูปวยนอก 1 รายที่นัดมาทดสอบทางจิตวิทยาลวงหนาไวแลว จึงไมสะดวกที่จะพบและบอกกับผูปวยใหพบแพทยตามนัดเทาน้ัน ซ่ึงทําใหผูปวยรูสึกโมโหและโตตอบวา “ถาไมพบวันน้ี ก็จะไมพบอีก ไมคอยวาง ทําธุรกิจสวนตัวและมีอาชีพเสริมรับจางเดินแบบตามงาน กําหนดเวลา ไมคอยได และวันนี้ตองไปเดินแบบตอตอน 4 โมงเย็น” หลังจากที่ผูปวยพบแพทยแลวไดรับการประสานจากพยาบาลหนาหองตรวจวา แพทยขอสงผูปวยรายนี้ทําจิตบําบัดในวันนี้และ ทดสอบทางจิตวิทยาเพ่ิมเติม เม่ือพบผูปวยจึงไดอธิบายเหตุผลเพ่ิมเติม ยอมรับผูปวย สะทอนความรูสึกและเปดโอกาสใหผูปวยไดระบายความรูสึกจนสงบ หลังจากน้ันผูบําบัด ไดสอบถามเก่ียวกับความตองการทางจิตใจเพื่อชวยตั้งเปาหมายในการเปลี่ยนแปลงตัวเองในคร้ังนี้ วาตองการใหตนเองเปนอยางไร พบวาผูปวยตองการใหตนเองหายจากความเครียดและอารมณเศรา ผูบําบัดจึงใหผูปวยเลาถึงปญหาท่ีทําใหรูสึกเชนนั้นและอยากเห็นตนเองเปลี่ยนแปลงดังกลาว ซ่ึงไดบอกถึงเรื่องราวเหตุการณสวนตัวเก่ียวกับปญหาความรักที่รูสึกไมสมหวัง ทะเลาะกันบอยคร้ัง ซ่ึงผูปวยนําไปเชื่อมโยงกับปญหาหยารางของบิดามารดา ทําใหตนเองรูสึกกังวลวาตนอาจมีปญหาความรักที่คลายคลึงกันกับประสบการณเดิมของบิดามารดาได จากปญหาดังกลาว ผูบําบัดจึงสํารวจปญหาและประสบการณภายในของผูปวย (explore iceberg) พรอมทั้งประเมินปญหาอารมณและความรูสึกที่เกิดขึ้นวากอใหเกิดผลกระทบตอ Iceberg ในระดับตางๆ อยางไรบาง ซ่ึงพบวาภาพจิตใจของผูปวยมีลักษณะดังรูปภาพที่ 1

Page 95: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

95

พฤติกรรม คิดมาก บนตัดพอ ตําหนิตอวาตนเอง ระบายออกมาก Placating

อารมณ/ความรูสึก เครียด วิตกกังวล เสียใจ เศรา เจ็บปวด ทอแท รัก มี ความรูสึกตอความรูสึกความหวังกลัว ผิดหวัง สับสน หวงใย นอยใจ โกรธ

ความคิด/การรับรู/ทัศนคติ มองวาอดีตเกี่ยวของกับปจจบัุน มองตนเองใน ดานลบทัศนคติตอการหยารางไมดี มองวาปญหาอาจ แกไขได ความคาดหวัง/ความตองการ อยากใหตนกับคูรักไมทะเลาะกัน เห็นชีวิตคูมีความสุข ไดวิธีจัดการอารมณเศรา ความปรารถนา ไดรับการยอมรับ ความรัก ใสใจ มีคุณคา ในสายตาผูอ่ืน ความเปนตัวของ ตนเองและ ตัวตน เชื่อมั่น มองไมเห็นคุณคาในตนเอง ขาด พลังชีวิต ไมมีความสงบสุขในจิตใจ

รูปภาพที่ 1 Iceberg ของกรณีศึกษา หลังจากที่ไดสํารวจภาพภูเขาน้ําแข็งในจิตใจแลว ผูปวยเริ่มยอมรับการบําบัดมากขึ้น และบอกวา “ ขอโทษที่เม่ือสักครูอยูหนาหองตรวจ อารมณเสีย และแสดงกิริยาที่ไมสุภาพ” ผูบําบัดไดสะทอนความรูสึกวา “เปนใครๆ ไมเขาใจและคาดหวังแบบนี้ก็โกรธท้ังน้ัน” ผูปวยพยักหนาและยอมรับอารมณ ความรูสึกมากขึ้น เม่ือไดภาพจิตใจของผูปวยแลว ผูบําบัดไดชวยผูปวยตั้งเปาหมายในการเปลี่ยนแปลงเพิ่มเติมวา นอกจากอยากเห็นตนเองหายเครียดและเศราแลว มีความตองการใหตนเองเปนอยางไรอีก พบวาผูปวยตองการใหตนเองมีความเชื่อมโยงกับคนอ่ืนได อยากเชื่อม่ันเพ่ิมขึ้น และมีความเปนตัวของตนเองเพิ่มขึ้น ดังน้ันเปาหมายเฉพาะของการบําบัดสําหรับผูปวย รายน้ีคือ ชวยใหผูปวยมีการเปลี่ยนแปลงภายในตนเอง (Iceberg) ดังตอไปน้ี ในระดับความรูสึก คือ มีความสุขมากขึ้น โดยการปลอยวางความเครียด ความเศรา และความวิตกกังวล ในระดับการรับรู คือ มองวาตนเองมีคา เปนผูเลือกตัดสินใจและควบคุมชีวิตไดดวยตนเอง โดยการชื่นชมตนเอง และใหอภัยตนเองและผูอ่ืนโดยเฉพาะบิดามารดาไดโดยไมเชื่อมโยงประสบการณในอดีตมาตัดสินความรูสึกและการรับรูของตนและผูอ่ืน

Page 96: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

96

ในระดับความคาดหวัง คือ คาดหวังใหตนเองจัดการกับอารมณเศรา เหงา ทอแท กลัว ผิดหวังไดดวยตนเอง โดยการรับรูและปรับมุมมองความคิดเชิงบวกและลดความคาดหวังลงไดเหมาะสม ในระดับความปรารถนา คือ เติมเต็มการยอมรับตนเอง การใหความรัก ความเชื่อม่ัน ความเปนตัวของตนเอง มองเห็นคุณคาในตนเอง และตอบสนองความตองการของจิตใจโดย การเชื่อมโยงระหวางตนเองกับผูอ่ืนได หลังจากน้ันใหผูปวยไดทบทวนถึงภาพของจิตใจเพื่อสํารวจปญหาและประสบการณในจิตใจเชิงลึกโดยเปดโอกาสใหผูปวยไดสัมผัสกับผลที่กระทบจิตใจผานทางความรูสึกและความคิดของตน ทําใหผูปวยเกิดความตระหนักรูกับโลกภายในของตน มีความรูสึกเสียใจตออดีตที่ผานมาหรือผลกระทบดังกลาว สงผลตอการตัดสินใจและความมุงม่ันที่จะเปลี่ยนแปลงภายในตนเองใหดีขึ้น แตผูปวยก็ยอมรับวารูสึกเครียดและลําบากใจเม่ือตนเองเห็นผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น นอกจากน้ีไดใชเทคนิค Reframing เพ่ือปรับวิธีคิดเชิงบวกตอตนเองและผูอ่ืน โดยการใชทักษะถามและใหขอมูลยอนกลับเก่ียวกับการกระทําที่แสดงถึงความรัก ความรับผิดชอบของตนเอง อาทิ การมาตรวจรักษาตามนัดทั้งที่เกิดความไมแนใจหรือไมพอใจตอการรักษา และการที่ตัดสินใจอยากเปลี่ยนแปลงตนเองหลังจากมีความตั้งใจที่จะรับการบําบัดทั้งที่ไมทราบวามาทําอะไรหรือไมพอใจจากการผิดพลาดในการประสานนัดทีมผูรักษา เปนตน รวมทั้งใชทักษะการถามเพื่อสํารวจใหผูปวยไดเห็นถึงทรัพยากรที่ดีภายในของตน (Resources) ซ่ึงผูปวยทบทวนถึงการกระทําในอดีตที่ทําใหรูสึกภาคภูมิใจ ซ่ึงเกิดขึ้นจากการท่ีผูปวยตั้งใจเรียน ทํางานพิเศษระหวางศึกษาในระดับอุดมศึกษา และเคยเปนเชียรลีดเดอรของโรงเรียนและมหาวิทยาลัย สิ่งเหลาน้ีถือเปนสิ่งที่มีคาในตัวผูปวยที่ชดเชยปมดอยของตนและสามารถปรับตัวไดอยางมีศักยภาพและมีชีวิตอยูไดอยางมีความสุข ผูบําบัดไดใหขอมูลยอนกลับในเชิงบวกวาสิ่งเหลาน้ีเปนความสามารถและเปนสวนหนึ่งของพลังชีวิตที่ทําใหผูปวยสามารถเปลี่ยนแปลงโลกภายในของตนไดดีขึ้นโดยไมจําเปนตองเปลี่ยนแปลงหรือเรียกรองจากผูอ่ืน กอนใหการบานและยุติการทําจิตบําบัดในครั้งที่ 1 ไดเปดโอกาสใหผูปวยไดทบทวนสิ่งที่เกิดขึ้นกับตนเองในชั่วโมงของการบําบัด ซ่ึงผูปวยบอกวาเขาใจตนเองมากขึ้น เห็นคุณคาในตนเองและศักยภาพอันมีคาที่มีอยู รูสึกอยากเปลี่ยนแปลงโลกภายในของตน แตก็รูสึกวาผูบําบัดทําใหตนเองเครียดจากการที่เห็นผลกระทบในจิตใจและการตัดสินใจเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น สําหรับการบานที่ใหผูปวยไดกลับไปทําหลังชั่วโมงการบําบัด คือเม่ือใดที่มีความรูสึกเหงา เศรา เครียด วิตกกังวล หรือกลัว ใหอยูกับอารมณ ความรูสึกน้ันสักพัก เพ่ือเพ่ิมความกลาที่จะมีประสบการณกับความรูสึกทางลบโดยไมตัดสินตนเองในแงลบซ่ึงทําใหมีความคิดทํารายตนเอง และใหสังเกตการรับรูตอตนเองและคนอื่นวาเปนอยางไรเม่ือเกิดมีความรูสึกดังกลาว การบําบัดคร้ังนี้ใชเวลาประมาณ 50 นาที และนัดหมายคร้ังตอไปอีก 2 สัปดาห เพ่ือนัดหมายการทดสอบทางจิตวิทยา ซ่ึงผูปวยตอบรับการนัดหมายดวยความเต็มใจในการพบคร้ังตอไป

Page 97: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

97

การบําบัดครั้งที่ 2 การบําบัดคร้ังที่ 2 น้ี ผูปวยดูสีหนาไมแจมใส คอนขางเศรา แตกตางจากการพบเพื่อนัดทําการทดสอบทางจิตวิทยาที่ดูสดชื่น ยิ้มแยมแจมใส และการบําบัดคร้ังนี้หางจากครั้งที่ 1 ประมาณเกือบ 2 เดือนเน่ืองจากมีการเวนนัดในสัปดาหที่ทําการทดสอบทางจิตวิทยาและมีการเลื่อนนัด1 คร้ัง เพราะวาผูปวยมาไมตรงเวลานัด จึงทําใหทิ้งระยะหางในการพบกันคอนขางนาน อยางไรก็ดี ชวงเวลาที่ผูปวยไมไดทําจิตบําบัดในชั่วโมงการบําบัด ก็ยังมีโอกาสไดพูดคุยกันเรื่องของติดตามผลของการบานอยูในสัปดาหที่นัดมาทําการทดสอบทางจิตวิทยาและทางโทรศัพทในสัปดาหที่ผูปวยมาไมตรงตามเวลาที่นัดไว ซ่ึงผูปวยเลาวาตนเองรูสึกเชื่อม่ัน มีชีวิตชีวา เปนตัวของตนเอง รูสึกสนใจและปรารถนาดีตอตนเองโดยทําจิตใจราเริง ปลอยวางความเครียดและวิตกกังวลเพิ่มขึ้นและสังเกตตนเองไดวาสดช่ืนขึ้นตามลําดับจากนํ้าหนักที่เพ่ิมขึ้นภายหลังที่กลับมารับประทานอาหารไดตามปกติ แตกตางจากสัปดาหที่มารับการรักษาชวงแรกๆ ที่ผูปวยยอมรับวาไมมีความรูสึกอยากรับประทานอาหารจึงทําใหนํ้าหนักลดลงจากเดิม สําหรับสาเหตุที่ผูปวยมาบําบัดคร้ังนี้โดยที่มีสีหนาคอนขางเศรา ไมแจมใส รองไหงายจากการถามถึงผลของการบาน เน่ืองจากเปนสิ่งกระตุนที่ทําใหนึกถึงผลกระทบทางจิตใจที่ไดรับจากเหตุการณที่เพ่ือนชายหรือคูรักบอกเลิกกับผูปวย กอนมาบําบัดประมาณ 5 วัน ผูปวยเลาวาตนเองรูสึกดีขึ้นแลวตามลําดับ แตยอมรับและทําใจไมไดกับเรื่องที่เกิดขึ้น ผูบําบัดจึงสะทอนความรูสึกวา “การเกิดความรูสึกดังกลาวน้ีอาจเกิดจากผลกระทบที่ยังไมไดรับการจัดการใหเปลี่ยนแปลงดีขึ้นหลังจากที่ไดชวยกําหนดตั้งเปาหมายทางบวกไปแลว คุณอยากเห็นตนเองเปลี่ยนแปลงไปอยางไร” ผูปวยตอบวา “วันนี้ไมอยากเห็นตนเองมีความทุกข อยากยืนหยัดและทําใจกับเรื่องที่คูรักของตนบอกเลิกได แตจะทํายังไง?” ผูบําบัดจึงใหผูปวยไดสํารวจถึงภูเขาน้ําแข็งของจิตใจในชวงที่ผานมาโดยที่ประเมินตนเองในเชิงลึกเก่ียวกับผลความกาวหนาดานการรับรู/ความรูสึกตอตนเองและผูอ่ืน ซ่ึงทําใหผูปวยไดรับรูวา ตนเองไมไดอยูกับอารมณ ความรูสึกทางลบนั้นอยางเต็มที่จึงทําใหตัดสินตนเองโดยเฉพาะมุมมอง/การรับรูตอตนเองที่เปนไปในเชิงลบ ซ่ึงสงผลใหมีความรูสึกเศรา ผิดหวัง และเม่ือสํารวจความรูสึกตอความรูสึกก็พบวา ตนเองรูสึกโกรธตอตนเองและผูอ่ืนที่ทําใหตนเสียใจและผิดหวังจากเหตุการณที่เขามากระทบจิตใจ ดังน้ันผูบําบัดไดใชทักษะการถามอยางเปนขั้นตอน (Process question) วา ผูปวยอยากเห็นการตัดสินใจตอความรูสึก และการรับรูตอตนเองและผูอ่ืนที่ดีขึ้นนี้อยางไร ผูบํ าบัดได เปดโอกาสใหผูปวยไดสํารวจโลกภายในของตนในเชิงลึกอีกคร้ัง เม่ือผูปวยยอมรับที่จะเขาไปจัดการ โดยการทําสมาธิและจินตนาการเพื่อสํารวจและสัมผัสกับประสบการณภายในตนเอง เม่ือกลับไปนึกถึงเหตุการณที่เกิดขึ้นและเห็นตัวตนของผูปวยซ้ําอีกคร้ัง การไดกลับไปเผชิญและสํารวจซ้ําคร้ังนี้ทําใหผูปวยไดตระหนักตนเองวา อยากตัดสินให ความโกรธ ความนอยใจ ความผิดหวังและความกลัวที่เกิดขึ้นหายไป ผูบําบัดจึงตั้งคําถามใหผูปวยไดทบทวนตัวเองวาการที่ผูปวยตอบสนองความตองการทางจิตใจโดยการมองตนเองไมดี เก็บปญหาไว และเลือกที่พยายามทําใหผูอ่ืนมีความสุขบอยครั้งนั้นชวยใหโลกภายในของ

Page 98: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

98

ผูปวยเปนอยางไร ผูปวยยอมรับวาชวยใหผูอ่ืนไมตองเครียดและทุกขรอนกับปญหาของตน รูสึกมีความสุขที่เห็นผู อ่ืนรอบขางมีความสบายใจ ตนเองพอใจที่ยอมทนกับปญหาน้ันเอง แตกลับทําใหมีความรูสึกเศรา โกรธและนอยใจตามมา ซ่ึงผูบําบัดสะทอนใหเห็นถึงสวนดีของบุคลิกลักษณะ (stance) น้ันเม่ือเผชิญกับสถานการณที่ทําใหเครียด ตัดสินใจไมได และเสนอวิธีเผชิญปญหาแบบอ่ืนเพ่ือชวยใหผูปวยมีทางเลือกในการจัดการเผชิญกับความรูสึก การรับรูตอตนเองและผูอ่ืนในทางลบ เชน ความนอยใจและความโกรธ หรือการมองตนเองไมมีคุณคา เปนตนน้ันเปนไปในทิศทางที่สรางสรรค เชน กลาที่จะยอมรับความไมสบายใจ เขาใจและมองเห็นสวนดีของความไมสบายใจที่ชวยผลักดันใหตนเองมีความเขมแข็ง อดทน และมีไมตรีจิตตอผูอ่ืน รวมทั้งใหรูจักการจัดการกับความรูสึกและมุมมองตอตนเองและผูอ่ืนในทางบวกจากการที่ผูปวยยอมใหโอกาส มีความเห็นอกเห็นใจ ใหอภัย รูสึกรัก เมตตาและเคารพคนอื่นนั้นมากระทํากับโลกภายในของตนไมวาความรูสึก การรับรู ทัศนคติ ความคาดหวัง ความปรารถนา ซ่ึงผูบําบัดเปดโอกาสใหผูปวยไดมีประสบการณภายในจิตใจกับการจัดการกับโลกภายในของตนในทิศทางบวก สิ่งเหลาน้ีสงผลใหโลกภายในไดรับประสบการณใหมและเกิดการเปลี่ยนแปลงในทางบวกมากขึ้น จากประสบการณใหมดังกลาวที่เกิดขึ้นนี้ทําใหผูปวยบอกวา “ ทําใหเกิดความสบายใจขึ้นในจิตใจ รางกายท่ีเคยรูสึกตึงเครียดลดลงอยางเห็นไดชัด รูสึกวามีความสุขมากขึ้น ความเศราและการตําหนิตนเองลดลง มันเปนประสบการณที่ดีมาก” นอกจากนี้ผูบําบัดไดนําเอาการอุปมา (Metaphor) ที่สัมผัสไดโดยใชแหวนที่คูรักหรือเพ่ือนชายของผูปวยไดมอบไวให โดยการสังเกตของผูบําบัดและบอกเลาของผูปวยที่กลาวถึงความสําคัญของแหวนวงนี้มาเปรียบเทียบ เพ่ือทําการสํารวจจิตใจและประสบการณภายในจิตใจของผูปวยแบบใหมดวยเชนกันหลังจากที่ผูปวยไดสัมผัสกับโลกภายในและพลังชีวิตที่ดีของตนในทิศทางบวก ขณะน้ีผูปวยยอมรับเก่ียวกับการเปลี่ยนแปลงมุมมองการรับรูใหมของตนวา จะดูแลแหวนวงนี้ใหดีและใหเปนตัวแทนสัญลักษณของความรักตอตนเองที่ดีตอไป แทนที่เปนเคร่ืองหมายของ ความเกลียดชัง ความเจ็บปวด และประชดจากความโกรธภายในของตนเมื่อคูรักของตนไดมีโอกาสเห็นอีก ตนเองยอมใหอภัยกับคูรักของตนได ชวงทายของการบําบัดไดใหผูปวยทบทวนโลกภายในและประสบการณที่ได รับ พบวา ผูปวยรับรู มีทัศนคติตอตนเองในทางบวกและเห็นคุณคาของตนเองเพิ่มขึ้น สงผลใหมีความรูสึกเศราและเครียดลดลง กอนยุติการทําจิตบําบัดในคร้ังน้ีไดใหการบานเหมือนเชนเดิมกับการบําบัดคร้ังที่ 1 แตใหเพ่ิมการใหอภัย การชื่นชมและเฉลิมฉลองในโลกภายในของตนทันที เม่ือเผชิญกับสถานการณที่เขามากระทบจิตใจของผูปวย สําหรับการบําบัดคร้ังน้ีใชเวลาประมาณ 75 นาที และนัดหมายครั้งตอไปอีก 2 สัปดาห เพ่ือนัดหมายการทําจิตบําบัดและติดตามผล รวมทั้งขออนุญาตอัดวีดิทัศนเพ่ือการศึกษาและพัฒนาการทําจิตบําบัดตอไป ซ่ึงผูปวยตอบรับ การนัดหมายครั้งตอไปและอนุญาตใหอัดวีดิทัศนดวยความเต็มใจ

Page 99: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

99

การบําบัดครั้งที่ 3 การบําบัดคร้ังสุดทาย ผูปวยมีสีหนายิ้มแยมแจมใสซ่ึงแตกตางจากการบําบัดทั้ง 2 คร้ัง และมีความตั้งใจที่จะมารับบริการโดยมาถึงกอนเวลานัด และยินดีอนุญาตอัดวีดิทัศนเพ่ือการศึกษาทางจิตบําบัดโดยลงลายมือชื่อยินยอมลงในใบยินยอมเขารวมในการอัดวีดิทัศนขณะทําจิตบําบัดคร้ังน้ี เริ่มตนของการพูดคุย สรางสัมพันธภาพ ผูปวยกลาวถึงความรูสึกที่เกิดขึ้นวาชวงนี้รูสึกมีความสุขกับชีวิตของตน ไมมีอารมณเศราแลว สนใจสิ่งแวดลอมมากขึ้น อีกทั้งมีความรูสึกดีใจที่คูรักหรือเพ่ือนชายกลับมาขอคืนดีดวยซึ่งผูปวยจะรักษาสัมพันธภาพที่ดีคงไว และเลาถึงผลของการบานในชวง 2 สัปดาหที่ผานมาวาตนเองปลอยวางเรื่องความเครียด วิตกกังวลไดดีขึ้นตามลําดับแมวา มีเรื่องราวท่ีเขามารบกวนจิตใจอยูบาง ขณะเดียวกันผูบําบัดใชทักษะการถามประเมินความกาวหนาหรือความพึงพอใจตอโลกภายในของผูปวยโดยใชหลัก Scaling เปนเครื่องมือที่วัดเพ่ือใหผูปวยไดรับรูถึงความเปลี่ยนแปลงของตนเองที่สัมผัสได พบวาผูปวยใหคะแนนตนเองวาดีขึ้นเปน 95% จากเดิมที่มารักษาประมาณ 30 – 40% และมีความเชื่อม่ันวาตนเองจะดูแลจิตใจของตนเองใหดีขึ้นไปเรื่อยๆ ตามลําดับโดยไมกดดันหรือคาดหวังตอตนเองที่มากเกินไป ซ่ึงแสดงใหเห็นวาผูปวยมีลักษณะความสอดคลองกับตนเอง (Congruence) ไดระดับหน่ึงที่นาพึงพอใจ อยางไรก็ดีผูบําบัดไดประเมินผูปวยอีกคร้ังถึงผลของการมีปฏิสัมพันธกับผูอ่ืนรอบขางในสังคมวาเปนอยางไรบาง พบวา สัมพันธภาพระหวางตนเองกับเพ่ือนชายเปนไปในทางที่ดีขึ้น แตผูปวยก็มีความรูสึกวาสัมพันธภาพกับบิดามารดายังไมราบรื่นดีเทาที่ควร บางครั้งยังมีความคิดเก่ียวกับประสบการณในการหยารางของบิดามารดาท่ีเชื่อมโยงกับชีวิตและสภาวะของตนที่รบกวนอยูบางโดยเฉพาะความกลัวในการถูกทอดทิ้งจากประสบการณในวัยเด็กของผูปวยไมอบอุนเทาที่ควร ทําใหตอนนี้ยังมีความรูสึกกลัว กังวลกับชีวิตคูของตนที่ยังคงเชื่อมโยงอยูบาง และยอมรับวามีความรูสึกโกรธบิดาเปนบางคร้ังเก่ียวกับการหยารางกันของทั้งคูในอดีต โดยเฉพาะการที่บิดามีครอบครัวใหม แมวาปจจุบันผูปวยจะดูแลบิดามารดาอยางดีแลวก็ตาม แตบางครั้งก็มีผลกระทบกระตุนอารมณบางชวงที่ทําใหโกรธและรูสึกวาตนเองมีความยากลําบากในการใหอภัยบิดาตอเร่ืองในอดีตอยู รวมทั้งไมพอใจครอบครัวใหมของบิดาที่เอารัดเอาเปรียบรวมดวย หลังจากที่ผูปวยกลาวถึงเรื่องที่กระทบใจจากประสบการณของครอบครัวในอดีตทําใหผูปวยตระหนักวาตนเองยังมีสิ่งที่ขัดแยงอยูในใจอยู ชวงนี้ผูปวยรับรูถึงอดีตแลวกระตุนใหรองไหมากจนผูปวยรูสึกวาตนยังมีเรื่องในใจที่ยังกระทบซอนอยู ซ่ึงทําใหผูบําบัดไดถามผูปวยวา “นํ้าตาที่ออกมามันบอกถึงอะไรขางในของคุณขณะนี้ และที่ผานมาพยายามไมพูดถึงครอบครัวมาก แตคร้ังนี้พูดถึงแลวยังมีผลกระทบที่อยูในใจที่ขัดแยงอยู เกิดอะไรขึ้นในใจของคุณตอนนี้?” ผูปวยบอกวามันเปนบาดแผลท่ีไมอยากพูดถึงมัน พยายามไมนึกถึงมัน ลืมมันไปแลว มันเจ็บปวด ผูบําบัดเปดโอกาสใหผูปวยตัดสินใจจะจัดการกับผลกระทบที่มีความขัดแยงน้ีอยางไร หลังจากผูปวยทบทวนตนเองจากประเมิน สํารวจปญหาแลว จึงตัดสินใจที่จะอยากเขาไปจัดการเพ่ือใหตนเองรูสึกดีขึ้น

Page 100: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

100

ผูบําบัดจึงไดประเมินผูปวยโดยใชแผนที่ครอบครัว (Family map) ซ่ึงชวยใหผูปวยเขาใจถึงภูเขาน้ําแข็งจิตใจของตนเองและวิธีที่มักใชเม่ือรูสึกไมสบายใจ เครียดหรือวิตกกังวล คือการที่ผูปวยใชวิธีจัดการแบบสมยอมกับผูอ่ืน (placating) จึงทําใหผูปวยตองรับปญหาไวทุกอยางภายใน รูสึกผิดจากการกระทําของตนเม่ือผูอ่ืนในครอบครัวโดยเฉพาะบิดาไมพอใจ และทําใหมีความรูสึกโกรธคนอื่นและ รับความโกรธไวกับตนเองภายหลัง อยางไรก็ดีการท่ีผูปวยสนใจ เอาใจใสความรูสึกและความคิดของคนอื่นนั้นเปนสวนที่ดีของวิธีที่จัดการและปรับตัวกับผลกระทบ และการที่ผูปวยมีทรัพยากรหรือขุมทรัพยดีๆในจิตใจ และศักยภาพสามารถชวยใหเปลี่ยนแปลงผลกระทบในใจที่ขัดแยงกับครอบครัวโดยเฉพาะกับบิดาได นอกจากน้ีผูบําบัดสะทอนขอมูลวา การที่ผูปวยเปลี่ยนแปลงโลกภายในของตน และเปลี่ยนมุมมองตอบิดามารดาไดจะชวยใหบาดแผลในจิตใจในอดีตลดลงได และสิ่ งที่ผูปวยมีทัศนคติ ความเชื่อวาประสบการณในอดีตจะถายทอดหรือเชื่อมโยงกับความสัมพันธของตนกับคูรักและคนรอบขางที่ผูปวยรักไมสมหวังน้ันจะถูกสลายหรือลดลงไดดวย การเปลี่ยนแปลงโลกภายในของผูปวย รวมทั้งความพยายามที่จะเติบโตและเปลี่ยนแปลงนั้นจะทําใหผูปวยมีสัมพันธภาพกับบิดามารดาและคนรอบขางดีขึ้น และจะทําใหผูปวยเติบโตมีความสุขในครอบครัวของตนไดในอนาคต หลังจากที่สะทอนขอมูลแลวไดชวยผูปวยกลับไปมีประสบการณเม่ือคร้ังเปนเด็กที่มีเหตุการณที่ขัดแยงดังกลาวมากระทบจนมี experiential คือการที่ตนเองถูกทอดทิ้งใหคุณยาเลี้ยง ไมไดรับความอบอุนจากบิดามารดา รูสึกวาตนเองมีปมดอยที่ครอบครัวแตกแยก แอบรองไหและโทษบิดามารดา/ตนเองบอยคร้ัง เวลามีเหตุการณที่ทําใหรูสึกดีใจ มีความสุข และภาคภูมิใจก็ไมสามารถบอกกับบิดามารดาไดอยางสนิทใจ จนทําใหผูปวยรูสึกนอยใจ ผูปวยรับรูเก่ียวกับตนเองในวัยเด็กอีกคร้ัง รูสึกสงสารและเห็นใจตนเอง และก็รับรูวาที่ผานมา พยายามแสดงพฤติกรรมดีๆหลายอยาง เชนเรียนดี ทํากิจกรรม หรือหางานทํา เปนตน ใหเปนที่ยอมรับแกผูอ่ืนมาตลอด ผูปวยไมอยากไดชะตากรรมชีวิตแบบนี้ ซ่ึงสะทอนใหเห็นวาระดับของจิตใจในสวนของความปรารถนา (yearning) บางสวนขาดหายไป อยางไรก็ตามรับรูวา ไมสามารถแกเหตุการณในอดีตได ผูบําบัดจึงชวยเหลือโดยการเติมเต็มขอมูลที่สะทอนกอนหนาน้ีที่จะใหผูปวยไดกลับไปมีประสบการณอีกคร้ังในส่ิงตอไปน้ี (1) การยอมรับและใหอภัยบิดามารดา (2) การยอมรับและใหอภัยตนเอง (3) การมองเห็นคุณคาของตนเองและชื่นชมตนเองได ซ่ึงชวยใหผูปวยไมตัดสินตนเอง/คนอ่ืนในแงลบ และรับรูความมีคุณคาของตนอยางแทจริง หลังจากน้ันใชวิธีการใหผูปวยนั่งหลับตานึกถึงภาพตนเองไดเติมเต็มตนเองดังกลาว ซ่ึงทําใหผูปวยไดรูสึกยอมรับและกลาวขอโทษที่มีความรูสึก ความคิด ทัศนคติ การรับรูในเชิงลบที่เชื่อมโยงตอบิดามารดา รวมดวยกลาวยกโทษ ใหอภัยกับความรูสึกทางลบตอตนเองและใหความชื่นชมความรูสึกทางลบเหลาน้ันที่ชวยใหผูปวยมีความอดทน เขมแข็งและขวนขวายชวยเหลือตนเองไดถึงทุกวันนี้ และบอกกับตนเองไดวาตอนนี้ผูปวยจะสามารถรับผิดชอบความรูสึก และดูแลตนเอง/ครอบครัวไดดี ขึ้นแลว

Page 101: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

101

ชวงยุติการบําบัด ผูบําบัดไดสอบถามความรูสึกที่เกิดขึ้นและความคิดที่ไดจากการทําบําบัด พบวา ผูปวยรูสึกวาตนเองมีความเชื่อม่ัน มีคุณคาในตนเอง ไมตัดสินตนเอง/คนอ่ืนที่ทําใหเกิดความเครียด วิตกกังวล และความซึมเศราตามมา รับรูถึงความกลมกลืนสอดคลองระหวางความคิด ความรูสึกและการกระทําของตนเอง และรูสึกม่ันใจวาจะทําใหตนเองมีความสุขเพ่ิมขึ้นเรื่อยๆ ใหเปนความสุขที่พึงพอใจไดเต็ม 100% ตอไป สําหรับการบําบัดคร้ังนี้ใชเวลาประมาณ 80 นาที และไมไดนัดหมายติดตามผลคร้ังตอไป เน่ืองจากผูปวยเดินทางไปทํางานระยะยาวที่ตางประเทศ แตก็สามารถกลับเขามาติดตามผลโดยโทรศัพทแจงลวงหนาไดเม่ือกลับมาประเทศไทย อภิปรายผลการศึกษา จากการศึกษาสรุปไดวา ผลการบําบัดคร้ังที่ 1 ทําใหผูปวยไดเห็นถึงทรัพยากรที่ดีภายในของตน (Resources) ความสามารถปรับตัว ศักยภาพในการดําเนินชีวิตอยูไดอยางมีความสุขซ่ึงเปนสวนหนึ่งของพลังชีวิตที่ทําใหผูปวยสามารถเปลี่ยนแปลงโลกภายในของตนไดดีขึ้นโดย ไมจําเปนตองเปลี่ยนแปลงหรือเรียกรองจากผูอ่ืน รวมทั้งเขาใจตนเอง เห็นคุณคาในตนเอง/ศักยภาพอันมีคาที่มีอยู และรูสึกมีความหวังอยากเปลี่ยนแปลงโลกภายในของตนมากขึ้น นอกจากน้ีมีความเชื่อม่ันที่จะฝกทําการบานเพ่ือใหตนเองไดเผชิญกับสถานการณความเปนจริงและประสบการณกับความรูสึกทางลบเพื่อใหตนเองเกิดการเรียนรูใหมแทนที่ใชวิธีการจัดการแกไขปญหาแบบเดิมๆ ที่เคยกระทํา สอดคลองกับผลการศึกษาของเบนเมน (Banmen, 2007)

ที่พบวาผูปวยซึมเศราที่ไดรับการบําบัดตามแนวซาเทียรจะเกิดความหวังเพ่ิมขึ้นและรักตัวเองมากข้ึน ทั้งน้ีอาจเกิดจากผูบําบัดไดใหการบําบัดอยางมีเปาหมายในทิศทางเชิงบวก (positive directional goal) และใหผูปวยแสดงความตั้งใจในการเปลี่ยนแปลงตนเอง (commitment) ดังนั้นทิศทางการบําบัดจึงมีความชัดเจนโดยการใชเทคนิคการเปลี่ยนมุมมอง (reframing) เพ่ือใหเห็นขอดีของตนเอง การสะทอนขอมูลเชิงบวกเกี่ยวกับผูปวยตามมุมมองของผูบําบัด การเขาใจโลกภายในของตนเองผาน iceberg การปรับมุมมองความคิด การเพ่ิมประสบการณสัมผัสพลังชีวิตในตัว และการฝกทําการบานที่เสริมประสบการณการยอมรับและการเขาใจตนเองซึ่งเปนการสนับสนุนการใชพลังอํานาจ (empower) ของผูปวยใหเกิดความเชื่อม่ันในตนเองมากขึ้น นอกจากนี้การที่ผูบําบัดไมไดใหความสนใจกับโรค/ความเจ็บปวย ทางจิตใจแตมุงที่การเชื่อมโยง (connect) กับประสบการณภายในของผูปวยเปนอันดับแรก จึงทําใหมองเห็นความเปนตัวตนที่แทจริงของผูปวยได สงผลใหเขาใจผูปวยวาไดใชวิธีการหนีจากความรูสึกเครียด วิตกกังวล เศรา กลัว ดวยการมองตนเองในแงลบและมีความคิดทํารายตนเองซึ่งเปนวิธีแกปญหาที่ไมไดผล (dysfunctional solution) จึงทําใหผูบําบัดเลือกใชเทคนิคและวิธีการบําบัดไดสอดคลองกับภาพระดับของจิตใจภายในของผูปวย อันแสดงถึงการเขาใจ Iceberg ของผูมีปญหาความซึมเศราและคิดทํารายตนเองตามแนวคิดของซาเทียร (Banmen, 2007) ที่กลาววาภาพของผูที่ทํารายตนเองหรือคิดฆาตัวตาย แทที่จริงแลวกระทําไปเพ่ือยับยั้งความเจ็บปวดทางจิตใจ

Page 102: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

102

อันเนื่องมาจากความปรารถนาลึกๆ (yearning) ที่ไมไดรับการตอบสนอง เชน ความปรารถนาที่จะไดรูสึกรักและมีคุณคาพอสําหรับตนเองและผูอ่ืน และความปรารถนาที่จะเปนผูใหและไดรับ ความรัก ซ่ึงสวนใหญผูปวยฆาตัวตายสวนมากมักไมสามารถเชื่อมความสัมพันธได (disconnect) ระหวางความคิด หรือการรับรู ความรูสึกและพฤติกรรม ทําใหนําไปสูการไมสามารถ เชื่อมความสัมพันธทั้งกับตนเองและผูอ่ืน ประกอบกับมีความขัดแยงในตนเองและมี ความไมสอดคลองกลมกลืนกันระหวางสวนตางๆที่เปนผลมาจากประสบการณในวัยเด็กที่บุคคลนําติดตัวมาจนโต ซ่ึงแสดงออกในรูปแบบของพฤติกรรมการปรับตัว (Copings Stance) ภายในภูเขานํ้าแข็งจิตใจของตนเอง รวมดวยมีลักษณะแนวโนมที่จะยึดติดอยูกับรูปแบบการเผชิญปญหาแบบเดิมๆที่ไมสามารถจัดการกับผลกระทบไดอยางมีประสิทธิภาพ ทั้งน้ีผูที่ทํารายตนเองหรือฆาตัวตายจึงมักไมสามารถยอมรับและจัดการกับความเจ็บปวดจากการไมสามารถเชื่อมความสัมพันธได และเม่ือตองเผชิญกับความเจ็บปวดทางจิตใจและรูสึกวาชีวิตไมมีทางออก ดัง น้ันวิธีการฆาตัวตายจึงเปนวิธีการหน่ึงที่บุคคลใช ในการหลีกหนีความเจ็บปวด ดังน้ันผูบําบัดตองเขาใจและสํารวจโลกภายในสวนตัวของผูปวยเพื่อชวยใหสามารถเปลี่ยนแปลงมุมมองและประสบการณของตนเองเปนทิศทางเชิงบวก และเชื่อมความสัมพันธกับผูอ่ืนได อยางเหมาะสม โดยเริ่มตนจากเชื่อมโยงกับตนเองใหสอดคลองกอน ผลของการบําบัดคร้ังที่ 2 พบวาผูปวยมีการเปลี่ยนแปลงในการรับรู ทัศนคติตอตนเองในทางบวกตอตนเองและรอบขาง เห็นคุณคาของตนเองเพิ่มขึ้นซึ่งสงผลใหมีความรูสึกเศราและเครียดลดลง ประกอบกับการชวยใหเขาใจ coping stance ของตนเองทําใหเกิดความเขาใจโลกภายในของตนเองไดมากขึ้นและ มีทางเลือกใหมที่สรางสรรคมากขึ้นในการจัดการกับความรูสึก การรับรู เม่ือไดรับผลกระทบที่ทําใหเกิดความไมสอดคลองในจิตใจและเกิดความรูสึก ความคิดเชิงลบ สอดคลองกับเปาหมายการบําบัดตามแนวคิดของซาเทียรที่วาผูบําบัดชวยใหผูปวยมีความอิสระที่จะเลือกและตัดสินใจวิธีการดําเนินชีวิตดวยตนเองใหเหมาะสมกับความตองการของตนเองอยางสรางสรรค โดยซาเทียรสนับสนุนใหคนมีทางเลือกอยางนอย 3 ทาง ซ่ึงทําใหไมตองพ่ึงพาผูอ่ืนในการตัดสินใจให ซ่ึงอาจจะไมเหมาะหรือไมตรงตามที่ตนตองการจริงๆ

ผลของการบําบัดคร้ังที่ 3 พบวาผูปวยมีความสุขกับชีวิตประจําวันมากขึ้น มีอารมณเศราลดลง สนใจสิ่งแวดลอมมากขึ้นซึ่งอาจเปนผลจากการที่ผูปวยสามารถยอมรับตนเองดวยตนเองได มองเห็นคุณคาในตัวเอง และสามารถตอบสนองความตองการทางจิตใจไดดวยวิธีการใหมที่ไมมองตนเองในแงลบตอไป โดยผูบําบัดไดติดตามผลจากการใชหลัก Scaling เปนเคร่ืองมือที่วัดเพ่ือใหผูปวยไดรับรูถึงความเปลี่ยนแปลงของตนเองที่สัมผัสได พบวาผูปวยใหคะแนนตนเองวาดีขึ้นเปน 95% จากเดิมที่มารักษาประมาณ 30 – 40% และมีความเชื่อม่ันวาตนเองจะดูแลจิตใจของตนเองใหดีขึ้นไปเรื่อยๆ ตามลําดับโดยไมกดดันหรือคาดหวังตอตนเองที่มากเกินไป ซ่ึงแสดงใหเห็นวาผูปวยมีลักษณะความสอดคลองกับตนเอง (Congruence) ไดระดับหน่ึงที่นาพึงพอใจ ประกอบกับการที่ผูปวยมีความเขาใจ ยอมรับตนเอง และสามารถจัดการกับอารมณ ความรูสึก และความคิดไดดีขึ้น จากการประเมินสํารวจโดยใช Family map

Page 103: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

103

ซ่ึงชวยใหผูปวยเขาใจถึงภูเขาน้ําแข็งจิตใจของตนเองและวิธีที่มักใชเม่ือรูสึกไมสบายใจ เครียดหรือวิตกกังวล ซ่ึงทําใหผูปวยมีการปรับมุมมอง ทัศนคติ ความคิดในเชิงบวกตอตนเองและคนอ่ืนโดยเฉพาะกับบิดามากขึ้นโดยที่ไมตองใหคนอ่ืนเปลี่ยนแปลงกอน ประกอบกับ ความปรารถนา (yearning) ของผูปวยไดรับการตอบสนองอยางสมบูรณ จึงเกิดการเติบโตของจิตใจทุกระดับ ผูปวยจึงสามารถใช resource ของตนเองไดอยางมีศักยภาพ ทําใหการดําเนินชีวิตมีความสอดคลองกลมกลืนมากขึ้น ซ่ึงสอดคลองตามแนวคิดของการบําบัดแบบซาเทียรที่เชื่อวาหาก yearning ไดรับการเติมเต็มแลว มนุษยก็จะสามารถบรรลุเปาหมายของชีวิตได บทสรุป ปญหาของผูปวยในกรณีศึกษาคือมองไมเห็นคุณคาของตัวเอง ขาดพลังชีวิต ไมมีความสงบสุขในจิตใจเพราะความปราถนา (yearning) และการรับรู (perception) ไมไดรับการตอบสนอง คือ ความปรารถนาที่จะไดรับการยอมรับ ไดความรัก เอาใจใส ความเชื่อม่ัน ความเปนตัวของตัวเอง และไดรับความมีคุณคาจากผูอ่ืน ซ่ึงมีผลทําใหมองตนเองและคนอ่ืนในแงลบ อีกทั้งมีความคิดวาชีวิตของตนเองมีความเก่ียวของกับประสบการณในอดีตที่ไมดีของครอบครัว เหลาน้ีกระทบจิตใจทําใหผูปวยมีความเครียด และความซึมเศราตามมา ดังนั้นผูบําบัดจึงไดใชแนวคิดและขั้นตอนการทําจิตบําบัดแนวซาเทียรในการใหความชวยเหลือผูปวยทั้งหมด 3 คร้ัง โดยเทคนิคหลักที่ใชคือ process questions, reframing, visualization (การทําใหเห็นภาพ), family map, scaling และ metaphorเพ่ือใหผูปวยมีการเปลี่ยนแปลงโลกภายในตนเองไปในทิศทางบวก รวมทั้งใหการบาน (home work) นอกชั่วโมงการบําบัด เพ่ือใหผูปวยไดนําสิ่งที่ไดจากการเรียนรูในชั่วโมงการบําบัดไปฝกปฏิบัติการเปลี่ยนแปลงตนเองในระดับตางๆของ Iceberg ซ่ึงอาจเลือกฝกปฏิบัติ 1-2 ประเด็น เปนการเพ่ิมศักยภาพของตนเองในการทําใหตนเองหรือสิ่งตางๆดีขึ้นนอกชั่วโมงการบําบัดและกลับมาทบทวนในชั่วโมงการบําบัดถัดไป ซ่ึงย้ําใหเห็นถึงผลความกาวหนา อุปสรรค และประสบการณที่ไดจากการปฏิบัติจริง รวมทั้งเปนการเติมเต็มความเชื่อม่ันและตอกย้ํา การเปล่ียนแปลงที่เกิดขึ้นไดดวยตนเองอยางตอเน่ือง นอกจากนี้การที่ผูปวยรวมมือใน การทําจิตบําบัด เปนสิ่งที่ทําใหผูปวยเกิดการยอมรับในตัวผูบําบัดและตนเอง สงผลใหเกิดความไววางใจและพรอมที่จะแกไขปญหาท่ีไดจากชั่วโมงการบําบัดอยางเต็มใจ และการเลือกใชเทคนิค มีความจําเปนที่ตองใหผูปวยมีความพรอมและเลือกที่จะเขาไปเปลี่ยนแปลงโลกภายในจากการตัดสินใจของตนจะทําใหผูปวยได รับประสบการณที่เกิดขึ้นอยางเต็มที่ สิ่งเหลาน้ีขางตนเปนปจจัยที่สงผลตอความสําเร็จในการบําบัด ซ่ึงผลการบําบัดในครั้งนี้ พบวาผูปวยเกิดการเปลี่ยนแปลงตนเองอยางชัดเจนในทุกระดับของจิตใจ โดยประเมินไดจากการมีความสุข ความเชื่อม่ัน ความรัก ความพอใจและความเปนตัวของตัวเองที่เกิดขึ้นกับชีวิตของผูปวยมากขึ้นและทําใหผูปวย เปดโอกาสใชศักยภาพและทรัพยากรภายในที่ดีของตนมาทําใหพลังชีวิตเปนกําลังใจและตัดสินใจในการดําเนินชีวิตที่สรางสรรคมากขึ้น

Page 104: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

104

เอกสารอางอิง กรมสุขภาพจิต.(2547). การศึกษาทบทวนองคความรูปจจัยเส่ียงของโรคทางจิตเวช.

กรุงเทพมหานคร: บียอนด พับลิสชิ่ง จํากัด. กรมสุขภาพจิต. Burden of disease in disability-adjusted life years (DALYs) by cause,

sex and mortality stratum in WHO Regions, estimates for 2001. Retrived February 29, 2008, from www.dmh.go.th/links/clicks.asp?LinkId = 80.

จันทิมา องคโฆสิต. (2545). จิตบําบัดในการปฏิบัติงานจิตเวชทั่วไป. กรุงเทพมหานคร: ยูเน่ียน ครีเอชั่น.

ดวงใจ กสานติกุล. (2542). โรคซึมเศราและโรคอารมณผิดปกติ รักษาใหหายได. กรุงเทพมหานคร: นําอักษรการพิมพ.

โรงพยาบาลสวนปรุง. (2551). รายงานสถิติผูปวยประจําป 2548 – 2550. เชียงใหม: เวชระเบียน.

โรงพยาบาลสวนปรุง . (2547). สถานการณปวยดานสุขภาพจิตในเขตภาคเหนือ โรคซึมเศราและโรคติดสุราเร้ือรัง. เชียงใหม: ฝายสุขศึกษาและประชาสัมพันธ.

Banmen J. If depression is the solution, what are the problems. The Satir Journal 2007; 1: 40-53.

Page 105: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

105

คําแนะนําสําหรับผูนิพนธ วารสารสวนปรุง จัดทําขึ้นโดยมีวัตถุประสงคเพ่ือเผยแพรความรูทางดานสุขภาพจิตและจิตเวชใหแกบุคลากรสาธารณสุขและผูที่มีความสนใจ เปนสื่อกลางแลกเปลี่ยนความรู เผยแพรผลงานวิจัย ทางดานสุขภาพจิตและจิตเวช ตนฉบับที่สงมาเพ่ือรับการพิจารณาตองไมเคยตีพิมพในที่ใดมากอน หรืออยูในระหวางการรอตีพิมพในวารสารอ่ืน เ ร่ืองที่ลงตีพิมพในวารสารฉบับน้ีแลวถือเปนลิขสิทธของ วารสารสวนปรุง ตนฉบับที่สงมาจะไดรับการตรวจทบทวนโดยกองบรรณาธิการและทางกองบรรณาธิการจะสงขอคิดเห็นตลอดจนขอเสนอแนะของผูทบทวนไปเพ่ือใหผูนิพนธพิจารณาปรับปรุงแกไข และขอสงวนสิทธิ์ในการพิจารณาการตีพิมพตามลําดับกอนหลัง เพ่ือใหไดมาตรฐานสากลผูประสงคที่จะสงตนฉบับมาลงตีพิมพในวารสารตอง จัดเตรียมตนฉบับใหไดมาตรฐานตามคําแนะนําดังน้ี ประเภทของบทความที่รับตีพิมพ แบงเปน 4 ชนิด 1. บทความวิชาการ เปนบทความจากการรวบรวมความรูเรื่องใดเร่ืองหน่ึงทั้งจากในและตางประเทศหรือเปนการสรุปจากการบรรยาย การอภิปรายทางวิชาการ เพ่ือใหผูอานมีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับความกาวหนาของเร่ืองน้ันในสถานการณปจจุบัน บทความวิชาการไมควรเกิน 15 หนาพิมพ มีสวนประกอบดังน้ี

1.1 ชื่อเรื่อง (title) ภาษาไทยและอังกฤษ 1.2 ชื่อผูนิพนธและสังกัด (auther & by-line) 1.3 บทคัดยอ (abstract) 1.4 คําสําคัญ (key word) 1.5 บทนํา (introduction) 1.6 บทปริทัศน ซ่ึงอาจแบงเปนสวน ๆ ตามหัวขอยอยโดยเริ่มจากการบอก

วัตถุประสงค แลวแจงขอมูลรายละเอียดเก่ียวกับการทบทวนเอกสารและการรวบรวมขอมูลตางๆท่ีเก่ียวของกับเรื่องปริทัศนมาไวเปนหมวดหมูผสมผสานกับขอวิจารณ หรือขอคิดเห็นขอเสนอแนะที่กอใหเกิดแนวคิดใหม ๆ บางครั้ง บทวิจารณ (critique) อาจแยกไวเปนหัวขอตางหาก

1.7 สรุป (conclusion) 1.8 เอกสารอางอิง (references)

Page 106: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

106

2. นิพนธตนฉบับ เปนบทความรายงานการวิจัย โดยยังไมเคยตีพิมพในวารสารฉบับใด ๆ มากอน บทความที่เปนรายงานการวิจัยไมควรเกิน 15 หนาพิมพ ประกอบดวย

2.1 ชื่อเรื่อง (title) ตองมีทั้งภาษาไทยและอังกฤษ สามารถสื่อใหผูอานคาดเดาถึง แนวทางและผลการวิจัยได

2.2 ชื่อผูนิพนธ และสังกัด (auther & by-line) เขียน ชื่อ นามสกุล ตัวยอวุฒิการศึกษาสูงสุด ภาษาไทยและอังกฤษ ในกรณีที่มีผูนิพนธหลายคนใหเรียงชื่อตามลําดับความสําคัญที่แตละคนที่มีสวนในงานวิจัยน้ัน ชื่อหนวยงานของผูเขียนที่เปนปจจุบันเพ่ือสะดวกในการติดตอ

2.3 บทคัดยอ (abstract) ภาษาไทยและอังกฤษ ใหเรียงลําดับตามหัวขอดังนี้ วัตถุประสงค (objective) วัสดุและวิธีการ (materials and methods) และ ผล(results) สรุป (conclusion) จํานวนไมควรเกิน 300 คําตามดวย คําสําคัญ ใหอยูในหนาเดียวกัน

2.4 คําสําคัญ (key words) เขียนเปน คําหรือวลี ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ จํานวน 3-5 คํา

2.5 บทนํา (introduction) ใหขอมูลขอสนเทศและประเด็นสําคัญทางวิชาการ รวมทั้งวัตถุประสงคของการวิจัยน้ัน ไมควรเกิน 1 ½ หนา

2.6 วัสดุและวิธีการ (materials and methods) กลาวถึงการออกแบบกลุมตัวอยาง เคร่ืองมือที่ใชรวมรวมขอมูล และการวิเคราะหทางสถิติโดยเรียบเรียงตามขั้นตอน

2.7 ผล (results) รายงานและอธิบายผลที่สําคัญที่เปนจริง อาจมีตารางและ ภาพประกอบไมเกิน 4 ตารางหรือภาพ และไมซํ้าซอนกับคําบรรยาย

2.8 อภิปรายผล (discussion) นําประเด็นที่สําคัญที่เปนจริงของผลการวิจัยมาศึกษาอธิบายเรียงตามลําดับที่นําเสนอในผลวาเหมือนหรือตางจากผลการศึกษาของผูอ่ืนอยางไร โดยมีหลักฐานอางอิงที่นาเชื่อถือ การนําผลมาประยุกตใช รวมทั้งขอเสนอทางวิชาการ

2.9 สรุป (conclusion) เขียนสรุปเรียงลําดับตามวัตถุประสงคที่กําหนดไว 2.10 กิตติกรรมประกาศ (acknowledgements) เขียนขอบคุณบุคคลที่ชวยเหลือเปน

กรณีพิเศษโดยเขียนใหสั้นเรียบงายชัดเจนแสดงความมีนํ้าใจแตไมเกินจริง และกลาวถึงแหลงสนับสนุนดวย

2.11 เอกสารอางอิง (references) การอางอิงใชระบบ The American Psychological Association (APA ) โดยที่ผูเขียนตองรับผิดชอบในความถูกตองของเอกสารอางอิง และการอางอิงในเนื้อหา

Page 107: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

107

3. รายงานผูปวย (Case report) เปนรายงานเกี่ยวกับผูปวยที่นาสนใจ ไมเคยมีรายงานมากอนหรือมีรายงานนอยราย ชื่อเร่ืองควรตอทายดวย : รายงานผูปวย. ราย (case report) เพ่ือใหผูอานทราบวาเปนรายงาน ผูปวย ถาแสดงรูปภาพตองเฉพาะที่ จําเปนจริง ๆ และไดรับการยินยอมจากผูปวยหรือ ผูรับผิดชอบ รายงานผูปวยมีองคประกอบดังน้ี 3.1 ชื่อเรื่อง (title) ภาษาไทยและอังกฤษ 3.2 ชื่อผูนิพนธ และสังกัด (auther & by-line) และวุฒิการศึกษาสูงสุด

3.3 บทคัดยอ (abstract) ภาษาไทยและอังกฤษ ตามดวยคําสําคัญอยูในหนาเดียวกัน

3.4 คําสําคัญ (key words) ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 3.5 บทนํา (introduction) 3.6 รายงานผูปวย (report of case[s]) ซ่ึงบอกลักษณะอาการของผูปวย ผลการ

ตรวจ (Finding) การรักษา และผลจากการรักษาบําบัด 3.7 วิจารณ (discussion) 3.8 สรุป (conclusion) 3.9 กิตติกรรมประกาศ (acknowledgements) 3.10 เอกสารอางอิง (references)

4. ปกิณกะ (Miscellany) เปนบทความที่ไมสามารถจัดเขาใน 1 ถึง 3 ได 4.1 ชื่อเรื่อง (title) ภาษาไทยและอังกฤษ 4.2 ชื่อผูนิพนธ และสังกัด (auther & by-line) และวุฒิการศึกษาสูงสุด 4.3 เน้ือเรื่องประกอบดวย

- บทนํา - ประเด็นหลักสําคัญและคําอธิบายประกอบเนื้อหา - ประเด็นสําคัญ ประเด็นยอย - สรุป (conclusion) - กิตติกรรมประกาศ (acknowledgements) - เอกสารอางอิง (references)

การเตรียมตนฉบับ 1. ภาษา ใหใช 2 ภาษาคือ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ถาตนฉบับเปนภาษาไทยควรใชศัพทภาษาไทยใหมากที่สุด โดยใชพจนานุกรมศัพทวิทยาศาสตร ฉบับราชบัณฑิตยสถาน

Page 108: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

108

เปนบรรทัดฐานสําหรับคําศัพทแพทยภาษาอังกฤษที่ไมมีคําแปลในพจนานุกรมฯ อนุโลมใหใชภาษาอังกฤษได 2. ตนฉบับใชกระดาษสีขาว ขนาด A4 พิมพดวยเครื่องคอมพิวเตอรโปรแกรม Word Processor for Window ตัว อักษร Browallia UPC ขนาด 16 point การสงตนฉบบั สงตนฉบับ 1 ชุด สําเนา 2 ชุดมาที่กองบรรณาธิการ สวน Diskette หรือ CD ควรใสซองหรือกลองกันกระแทกและสงมาพรอมกับบทความตนฉบับหรือส งทาง e-mail: [email protected] เอกสารอางอิง ในคํ าแนะนํ าสํ าห รับผู นิพนธ น้ี ได รวบรวมรูปแบบการอ าง อิง เอกสารระบบ The American Psychological Association (APA ) ไว ตัวอยาง ดังน้ี การเขียนอางอิงในเนื้อหา (reference citations in text) โดยใชระบบนาม-ป (author and date) ดังน้ี - กรณีชื่อผูเขียนปรากฏเปนสวนขอความ ใหเขียนชื่อแลวตามดวยปที่พิมพ โดยปที่พิมพอยู ในวงเลบ็ ตัวอยาง: Walker (2000) compared reaction…… วิจิตร ศรีสุพรรณ (2549) กลาววา การวิจัย...... - กรณีที่ผูเขียนมีจํานวนสองคน ใหใสสองชื่อในทุกตําแหนงที่อางอิง ตัวอยาง: As Williams and Jones (1993) demonstrsted……. วิลาวัลย พิเชียรเสถียร และ ประคิณ สุจฉายา (2546) ศึกษา.... - กรณีที่ผูเขียนมีมากกวาสองคนแตนอยกวาหกคน ใหอางอิงชื่อผูเขียนทุกคนในครั้งแรกที่อางถึง และใหใชเคร่ืองหมายจุลภาคขั้นระหวางชื่อแตละบุคคล โดยกอนชื่อสุดทายใหใชคําเชื่อม “and” หรือ “และ” ดังตัวอยาง ตัวอยาง: จตุพล ศรีสมบูรณ, อภิชาต โอฬารรัตนชัย, และ ชเนนทร วนาภิรักษ (2546) การอางอิงครั้งตอไปในบทความใหเขียนอางเฉพาะชื่อผูเขียนคนแรกและตามดวย “และคณะ” ตัวอยาง: จตุพล ศรีสมบูรณ และคณะ (2546) - กรณีที่ผูเขียนมีตั้งแตหกคนขึ้นไป ใหอางอิงเฉพาะชื่อผูเขียนคนแรกและตามดวยคําวา “ et al.” หรือ ”และคณะ” แลวตามดวยปที่ตีพิมพเผยแพรสําหรับการอางอิงทุกคร้ังดังตัวอยาง ตัวอยาง: Simon, Etkin, Godine, Kuter, Shellio, and Stern (2001)

Page 109: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

109

ใหอางอิงในเนื้อหาดังน้ี Simon et al. (2001) : ศิริพร สุวรรณกิติ, อรุณรัตน ตั้งม่ันคงวรกุล, ฉันทนา พรหมพุทธา, ปรียาภรณ ปริญญารักษ, รําพึง ไชยคําหลา และ ปทมา จักษุรัตน (2541) ใหอางอิงในเนื้อหาดังน้ี ศิริพร สุวรรณกิติ และคณะ (2541) - งานที่ไมปรากฏชื่อผูเขียน ใหใช 2-3 คําแรกของชื่อเร่ือง ตามดวยเครื่องหมายจุลภาคและปที่พิมพ ตัวอยาง: ........(“เยาวชนไทย,” 2548) - กรณีที่แหลงอางอิงน้ันเปนหนังสือ รายงาน แผนพับ หรือวารสารที่ออกตามกําหนดเวลา ใหเขียนเปนตัวเอน ตัวอยาง: พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน (2525) - งานที่ไมปรากฏปที่พิมพ ใหอางอิงชื่อผูเขียน ตามดวยเครื่องหมายจุลภาค และตามดวยคําวา “n.d.” (no date) หรือ ม.ป.ป (ไมปรากฏปที่พิมพ) ดังตัวอยาง ตัวอยาง: …….(Watson, n.d.) …….(ลินจง โปธิบาล, ม.ป.ป) การเขียนเอกสารอางอิงทายบท (reference list)

เอกสารอางอิงจะหมายถึงเฉพาะเอกสารที่ผูเขียนไดอางถึงในเนื้อหา และมีการระบุแหลงอางอิงในเนื้อหามาแลว การเรียงลาํดับรายการเอกสารอางอิง ผูเขียนชาวไทย ใหเรียงชือ่

ตนของผูเขียนตามลําดับในพยัญชนะ ก ถึง ฮ และสระตามที่ปรากฏในพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ผูเขียนชาวตางประเทศใหเรยีงนามสกุลของผูเขยีนตามลําดับพยัญชนะ A-Z -วารสาร ตัวอยาง: Meller, B. A (2000). Choice and the relative pleasure of consequence.

Psychological Bulletin, 126, 910-924. เกสรา ศรีพิชญาการ. (2544). ความเปนหญิงชาย: ประเด็นสําคัญที่ถูก

มองขามในโรคหัวใจและหลอดเลือด. พยาบาลสาร, 28(1), 12-21. - หนังสือหรือตํารา ตัวอยาง: ชมภูนุช อองจริต. (2545). คลื่นไฟฟาหัวใจทางคลินิค. กรุงเทพฯ: ยูนิตี้

พพับลิเคชั่น.

Page 110: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

110

ภาควิชาการพยาบาลอายุรศาสตร คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัย เชียงใหม. (2543). คูมือการใชยาสําหรับพยาบาล (พิมพคร้ังที่ 4).

เชียงใหม: กราฟฟคซิสเต็มส. - เอกสารรายงานการปฏิบัติงาน รายงานที่ไดจากองคกรของรัฐ ตัวอยาง: หนวยเวชระเบียน. (2546-2548). รายงานสถิติประจําป. เชียงใหม: หนวย

สถิติทางการแพทยงานเวชระเบียนและสถิติ โรงพยาบาลมหาราชนคร เชียงใหม คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม.

-เอกสารออนไลน หมายถึงฐานขอมูลเอกสารออนไลน เว็บไซต ขาวสาร จุลสารและขอมูลที่ไดจาก จดหมายอิเล็กทรอนิกส วิธีการเขียนอางอิงใหใชรูปแบบเดียวกับการเขียนอางอิงวารสารโดยทั่วไป แตใหระบุเพ่ิมเติมวาไดมาในรูปแบบสื่ออิเลคโทรนิคส ตัวอยาง: VanderBos, G., Knapp, S., & Doe, J. (2001). Role of reference elements

in the selection of resources by psychology undergraduates. Journal of Bibliographic Research, 5, 117-123. Retrieved October 13, 2001, from http// jbr.org/ articles.html

Hilts, P. J. (1999, February 16). Inforecasting their emotions, most people flunk out. New York Times. Retrieved November 21, 2001, from http// nytimes.com

Page 111: ฉบับ 1 ปี 2552 - suanprung.go.th3 วารสารสวนปรุง BULLETIN OF SUANPRUNG ป ที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน)

111

ใบตอบรับการไดรับและบอกรับวารสารสวนปรุง

เรียน บรรณาธิการวารสารสวนปรุง ชื่อหนวยงาน………………………………………………………………. ไดรับวารสารสวนปรุงปที.่..........ฉบับที.่..............พ.ศ.................จํานวน....................ฉบับ เรียบรอยแลว และมีความประสงคจะรับวารสารสวนปรงุ ตอ โดยบอกรับสมาชิก ในนามหนวยงาน ชื่อ.........จํานวน................ฉบบั จัดสงวารสารไปที่ ชื่อ....................เลขที.่..............ซอย.........ถนน........... .ตําบล…………….. อําเภอ................จังหวัด……………..รหัสไปรษณีย............โทร.............. ลงชื่อ...................ผูสมัคร

(...................... .................) วันที.่........เดือน.............พ.ศ…….. หมายเหตุ

1. หากทานยังมีความตองการรับวารสารสวนปรุงฉบับตอไปกรุณากรอกแบบฟอรมใบตอบรับการไดรับและบอกรับวารสารสวนปรุงฉบับน้ีไปที ่

คุณทัศนีย ศรีบุญเรือง โรงพยาบาลสวนปรุง (งานหองสมุด) 131 ถนนชางหลอ ตําบลหายยา อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม 50100 โทร. 0-5328-0228 - 47 ตอ 125, 333 E-mail:[email protected]

2. หากทานไมไดแจงการตอบรับการไดรับและบอกรับวารสารสวนปรงุทางบรรณาธิการจะพิจารณายกเลิกการสงวารสารฯ ใหทาน