21
(ร่าง) รายละเอียดคาอธิบาย ตัวชี้วัดคารับรองการปฏิบัติงาน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 ของส่วนงานภายในมหาวิทยาลัย นิยามศัพท์ในคารับรองการปฏิบัติงาน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 เป็นความหมายเฉพาะใน การดาเนินการจัดเก็บข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับตัวชี้วัดคารับรองการปฏิบัติงานของส่วนงานภายในมหาวิทยาลัย ประกอบด้วย ส่วนที่ 1) ตัวชี้วัดที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 2564) จานวน 46 ตัวชี้วัด ส่วนที่ 2) ตัวชี้วัดที่สอดคล้องกับแผนส่งเสริมการใช้พลังงานอย่างยั่งยืนของมหาวิทยาลัย (Green University) จานวน 2 ตัวชี้วัด ที่ปรากฎในคารับรองการปฏิบัติงาน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 ของส่วนงานภายในมหาวิทยาลัยเท่านั้น สาหรับส่วนที่ 3) ตัวชี้วัดเฉพาะส่วนงาน ให้ส่วนงานดาเนินการจัดทา คาอธิบายตัวชี้วัดเป็นการภายในเฉพาะส่วนงาน โดยตัวชี้วัดในส่วนที่ 1 และส่วนที่ 2 มีนิยามศัพท์ที่เกี่ยวข้องและ รายละเอียดคาอธิบายตัวชี้วัด ดังนีนิยามศัพท์ 1. บุคลากรสายวิชาการ หมายถึง พนักงานมหาวิทยาลัยและข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาใน สังกัดมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือประเภทสายวิชาการ (อาจารย์ประจา) ยกเว้น บุคลากรสายวิชาการที่เป็นอาจารย์พิเศษ อาจารย์ที่เป็นลูกจ้างชั่วคราวเงินอุดหนุน พนักงานพิเศษอื่น ๆ ที่ไม่ใช่บุคลากรสายวิชาการที่เป็นพนักงานมหาวิทยาลัยและข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาของ มหาวิทยาลัย 2. บุคลากรสายสนับสนุนวิชาการ หมายถึง พนักงานมหาวิทยาลัย พนักงานราชการ และข้าราชการ พลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาในสังกัดมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ประเภทสาย สนับสนุนวิชาการ ยกเว้น พนักงานพิเศษ และพนักงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่พนักงานมหาวิทยาลัย พนักงานราชการ และข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาในสังกัดของมหาวิทยาลัย 3. บุคลากร หมายถึง บุคลากรสายวิชาการและบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการ ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าพระนครเหนือ 4. ส่วนงาน หมายถึง คณะ วิทยาลัย สานัก สถาบัน และส่วนงานที่เรียกชื่ออย่างอื่นที่มีฐานะเทียบเท่าคณะ และให้หมายความถึงสานักงานอธิการบดี ในสังกัดมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ รายละเอียดคาอธิบาย เป็นข้อมูลประกอบการจัดทาคารับรองการปฏิบัติงาน โดยความหมายของแต่ ละตัวชี้วัดเป็นการรวบรวมจากแหล่งข้อมูลที่เผยแพร่บนเว็บไซต์ และเอกสารที่ค้นหาได้เท่านั้น ซึ่ง ความหมายของแต่ละตัวชี้วัดอาจไม่ครอบคลุมตามภารกิจของส่วนงาน หากมีข้อสงสัยโปรดสอบถาม ได้ที่กลุ่มงานยุทธศาสตร์และการประเมินผล โทร. 1654

(ร่าง) รายละเอียดค าอธิบาย ตัวชี้วัดค ารับรองการปฏิบัติงาน ... · (ร่าง)

  • Upload
    others

  • View
    8

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: (ร่าง) รายละเอียดค าอธิบาย ตัวชี้วัดค ารับรองการปฏิบัติงาน ... · (ร่าง)

(ร่าง) รายละเอียดค าอธบิาย

ตัวชี้วัดค ารับรองการปฏิบัติงาน ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 ของส่วนงานภายในมหาวิทยาลัย

นิยามศัพท์ในค ารับรองการปฏิบัติงาน ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 เป็นความหมายเฉพาะใน การด าเนินการจัดเก็บข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับตัวชี้วัดค ารับรองการปฏิบัติงานของส่วนงานภายในมหาวิทยาลัย ประกอบด้วย ส่วนที่ 1) ตัวชี้วัดที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) จ านวน 46 ตัวชี้วัด ส่วนที่ 2) ตัวชี้วัดที่สอดคล้องกับแผนส่งเสริมการใช้พลังงานอย่างยั่งยืนของมหาวิทยาลัย (Green University) จ านวน 2 ตัวชี้วัด ที่ปรากฎในค ารับรองการปฏิบัติงาน ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 ของส่วนงานภายในมหาวิทยาลัยเท่านั้น ส าหรับส่วนที่ 3) ตัวชี้วัดเฉพาะส่วนงาน ให้ส่วนงานด าเนินการจัดท าค าอธิบายตัวชี้วัดเป็นการภายในเฉพาะส่วนงาน โดยตัวชี้วัดในส่วนที่ 1 และส่วนที่ 2 มีนิยามศัพท์ที่เกี่ยวข้องและรายละเอียดค าอธิบายตัวชี้วัด ดังนี้ นิยามศัพท ์

1. บุคลากรสายวิชาการ หมายถึง พนักงานมหาวิทยาลัยและข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาในสังกัดมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือประเภทสายวิชาการ (อาจารย์ประจ า) ยกเว้น บุคลากรสายวิชาการที่เป็นอาจารย์พิเศษ อาจารย์ที่เป็นลูกจ้างชั่วคราวเงินอุดหนุน พนักงานพิเศษอ่ืน ๆ ที่ไม่ใช่บุคลากรสายวิชาการท่ีเป็นพนักงานมหาวิทยาลัยและข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาของมหาวิทยาลัย

2. บุคลากรสายสนับสนุนวิชาการ หมายถึง พนักงานมหาวิทยาลัย พนักงานราชการ และข้าราชการ พลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาในสังกัดมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ประเภทสายสนับสนุนวิชาการ ยกเว้น พนักงานพิเศษ และพนักงานอ่ืนๆ ที่ไม่ใช่พนักงานมหาวิทยาลัย พนักงานราชการ และข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาในสังกัดของมหาวิทยาลัย

3. บุคลากร หมายถึง บุคลากรสายวิชาการและบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการ ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

4. ส่วนงาน หมายถึง คณะ วิทยาลัย ส านัก สถาบัน และส่วนงานที่เรียกชื่ออย่าง อ่ืนที่มีฐานะเทียบเท่าคณะ และให้หมายความถึงส านักงานอธิการบดี ในสังกัดมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

รายละเอียดค าอธิบาย เป็นข้อมูลประกอบการจัดท าค ารับรองการปฏิบัติงาน โดยความหมายของแต่ละตัวชี้วัดเป็นการรวบรวมจากแหล่งข้อมูลที่เผยแพร่บนเว็บไซต์ และเอกสารที่ค้นหาได้เท่านั้น ซึ่งความหมายของแต่ละตัวชี้วัดอาจไม่ครอบคลุมตามภารกิจของส่วนงาน หากมีข้อสงสัยโปรดสอบถามได้ที่กลุ่มงานยุทธศาสตร์และการประเมินผล โทร. 1654

Page 2: (ร่าง) รายละเอียดค าอธิบาย ตัวชี้วัดค ารับรองการปฏิบัติงาน ... · (ร่าง)

( ร่ า ง ) ค า อ ธิ บ า ย ตั ว ชี้ วั ด ค า รั บ ร อ ง ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ข อ ง ส่ ว น ง า น ภ า ย ใ น ม ห า วิ ท ย า ลั ย | 2

ส่วนที่ 1 ตัวช้ีวัดที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา ฉบับที่ 12 ของมหาวิทยาลัย

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 บริหารจัดการเชิงรุกอย่างมีประสิทธภิาพ

เป้าประสงค์ที่ 1.1 ระบบการบริหารองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ตัวชี้วัด 1.1.1 ร้อยละความส าเร็จของการปฏิบัติงานตามแผนกลยุทธ์การพัฒนาส่วนงาน ในรอบปีงบประมาณ

พ.ศ. 2560 หน่วยนับ ร้อยละ ค าอธิบาย พิจารณาจากการประเมินผลการด าเนินงานตามแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติการประจ าปี

งบประมาณ พ.ศ. 2560 ของส่วนงาน หรือความส าเร็จจากการด าเนินงานของโครงการ/กิจกรรมที่ปรากฎอยู่ในแผนปฏิบัติการประจ าปืที่ส่วนงานได้ก าหนดไว้ในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2560

การค านวณ

จ านวนตัวชี้วัด/โครงการ/กิจกรรม ที่มีการด าเนินงานแล้วในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 x 100 จ านวนตัวชี้วัด/โครงการ/กิจกรรมทั้งหมดที่ก าหนดไว้ในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2560

เป้าประสงค์ 1.2 บุคลากรมีความรู้ความสามารถและท างานอย่างมีความสุข ตัวชี้วัด 1.2.1 ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 1) สายวิชาการ 2) สายสนับสนุนวิชาการ หน่วยนับ ร้อยละ ค าอธิบาย 1) บุคลากรสายวิชาการ พิจารณาจากข้อมูลบุคลากรสายวิชาการที่ได้รับการอนุมัติให้ได้รับการ

พัฒนาตรงตามภาระงานที่ได้รับมอบหมาย โดยการเข้ารับการฝึกอบรม/อบรม การเข้าร่วมสัมมนาเชิงปฏิบัติการ การน าเสนอผลงานวิชาการ/ผลงานวิจัย ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 เปรียบเทียบกับบุคลากรสายวิชาการทั้งหมดของส่วนงานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 ทั้งนี้ การนับจ านวนบุคลากรสายวิชาการให้นับจ านวนบุคลากรสายวิชาการที่ได้รับการบรรจุแล้วและบรรจุใหม่ในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 โดยไมน่ับรวมบุคลากรสายวิชาการที่ลาเรียน

การค านวณ

จ านวนบุคลากรสายวิชาการท่ีได้รับการพัฒนาตรงตามภาระงาน ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 x 100 จ านวนบุคลากรสายวิชาการท้ังหมด ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2560

Page 3: (ร่าง) รายละเอียดค าอธิบาย ตัวชี้วัดค ารับรองการปฏิบัติงาน ... · (ร่าง)

( ร่ า ง ) ค า อ ธิ บ า ย ตั ว ชี้ วั ด ค า รั บ ร อ ง ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ข อ ง ส่ ว น ง า น ภ า ย ใ น ม ห า วิ ท ย า ลั ย | 3

2) บุคลากรสายสนับสนุนวิชาการ พิจารณาจากข้อมูลบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการที่ได้รับการอนุมัติให้ได้รับการพัฒนาตรงตามภาระงานที่ได้รับมอบหมาย โดยการเข้าฝึกอบรม/อบรม การเข้าร่วมสัมมนาเชิงปฏิบัติการ การน าเสนอผลงานวิชาการ/ผลงานวิจัย ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 เปรียบเทียบกับบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการทั้งหมดในปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 ทั้งนี้ การนับจ านวนบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการให้นับจ านวนบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการที่ได้รับการบรรจุแล้วและบรรจุใหม่ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2560

การค านวณ

จ านวนบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการท่ีได้รับการพัฒนาตรงตามภาระงาน ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 x 100 จ านวนบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการท้ังหมด ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2560

ตัวชี้วัด 1.2.2 คะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจของบุคลากรที่มีต่อการบริหารจัดการองค์กร ในรอบ

ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 หน่วยนับ คะแนนเฉลี่ย ค าอธิบาย พิจารณาจากคะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจจากการส ารวจความพึงพอใจของบุคลากรภายใน

ส่วนงานที่มีต่อการบริหารจัดการองค์กรภายในของส่วนงาน ในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2560

บุคลากร หมายถึง บุคลากรสายวิชาการและบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการทั้งหมดในสังกัดของส่วนงาน ในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2560

เป้าประสงค์ที่ 1.3 มหาวิทยาลัยเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ ตัวช้ีวัด 1.3.1 จ านวนความรู้หรือหัวข้อการจัดการความรู้ที่ส่วนงานน ามาพัฒนางาน ในรอบ

ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 หน่วยนับ เรื่อง/หัวข้อ ค าอธิบาย พิจารณาจากจ านวนความรู้ หรือจ านวนหัวข้อการจัดการความรู้ที่ส่วนงานเป็นผู้ด าเนินการจัดท า

โครงการขึ้นในปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 ทั้งนี้ หากส่วนงานไม่มีแผนจะด าเนินการจัดท าโครงการจัดการความรู้ภายในปีงบประมาณนี้ ส่วนงานสามารถน าความรู้ที่ได้จากบุคลากรของส่วนงาน หรือความรู้ที่ได้จากงาน “วันการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ KM sharing day” ที่กองบริหารและจัดการทรัพยากรมนุษย์จัดขึ้นมาประยุกต์ใช้ในการพัฒนางานได้ โดยต้องอ้างอิงถึงแหล่งความรู้ ที่น ามาใช้พัฒนางาน

Page 4: (ร่าง) รายละเอียดค าอธิบาย ตัวชี้วัดค ารับรองการปฏิบัติงาน ... · (ร่าง)

( ร่ า ง ) ค า อ ธิ บ า ย ตั ว ชี้ วั ด ค า รั บ ร อ ง ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ข อ ง ส่ ว น ง า น ภ า ย ใ น ม ห า วิ ท ย า ลั ย | 4

ตัวชี้วัด 1.3.2 ระดับความส าเร็จของการจัดการความรู้ขององค์กร หน่วยนับ ระดับ ค าอธิบาย พิจารณาจากระดับความส าเร็จที่ส่วนงานสามารถด าเนินการได้ ดังนี้

ระดับ 1 มีนโยบายที่เกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้ของส่วนงาน ระดับ 2 มีการจัดท าโครงการจัดการความรู้ หรือมีการก าหนดเรื่องที่จะด าเนินการจัดการ

ความรู้ของส่วนงาน ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 ระดับ 3 มีการจัดโครงการ/กิจกรรมการจัดการความรู้ภายในส่วนงาน ระดับ 4 บุคลากรในส่วนงานมีการน าความรู้ที่ได้จากการจัดโครงการ/กิจกรรม การจัดการ

ความรู้ของส่วนงานไปประยุกต์ใช้หรือพัฒนางาน และมีการติดตามประเมินผลที่เกิดข้ึน ระดับ 5 มีการรวบรวมความรู้ที่ได้จากการจัดโครงการ/กิจกรรมการจัดการความรู้ของ

ส่วนงาน เผยแพร่ให้กับผู้สนใจทั่วไปเป็นลายลักษณ์อักษร

Page 5: (ร่าง) รายละเอียดค าอธิบาย ตัวชี้วัดค ารับรองการปฏิบัติงาน ... · (ร่าง)

( ร่ า ง ) ค า อ ธิ บ า ย ตั ว ชี้ วั ด ค า รั บ ร อ ง ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ข อ ง ส่ ว น ง า น ภ า ย ใ น ม ห า วิ ท ย า ลั ย | 5

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 บริหารจัดการหลักสูตรเพ่ือการผลิตบัณฑิตที่พึงประสงค์

เป้าประสงค์ที่ 2.1 หลักสูตรมีความชัดเจนและมีจุดเด่นสามารถตอบสนองความต้องการของภาคอุตสาหกรรม และสังคม ตัวชี้วัด 2.1.1 ร้อยละของหลักสูตรที่มีการก าหนดผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง และจุดเด่นเฉพาะต่อจ านวน

หลักสูตรที่เปิดสอน ในรอบปีการศึกษา 2559 หน่วยนับ ร้อยละ ค าอธิบาย พิจารณาจากหลักสูตรของส่วนงาน ที่มีการก าหนดผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง และจุดเด่นเฉพาะ

โดยส่วนงานสามารถใช้เกณฑ์ AUN – QA ระดับหลักสูตร ซึ่งเป็นเกณฑ์ที่เน้นผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง (Expected Learning Outcome : ELO) ต่อจ านวนหลักสูตรที่เปิดสอนในรอบปีการศึกษา 2559

การค านวณ ตัวชี้วัด 2.1.2 ร้อยละของหลักสูตรที่ได้ยื่นขอรับการรับรองมาตรฐานในระดับนานาชาติ หน่วยนับ ร้อยละ ค าอธิบาย พิจารณาจากหลักสูตรที่ได้ยื่นขอการรับรองมาตรฐานหลักสูตรในระดับนานาชาติหรือจากองค์กรที ่ เป็นที่ยอมรับในระดับสากลตามความเหมาะสมและสอดคล้องกับสาขาวิชา อาท ิ

Accreditation Board for Engineering and Technology (ABET)

Thailand Accreditation Body for Engineering Education (TABEE)

Association to Advance Collegiate Schools of Business (AACSB)

European Quality Improvement System (EQUIS)

Accreditation Service for International Schools, Colleges & Universities (ASIC)

CHEA International Quality Group (CIQG) การค านวณ

จ านวนหลักสูตรที่มีการก าหนดผลการเรียนรู้ที่คาดหวังและจุดเด่นเฉพาะ x 100 จ านวนหลักสูตรที่เปิดสอนทั้งหมด ในรอบปีการศึกษา 2559

จ านวนหลักสูตรที่ได้ยื่นขอรับการรับรองมาตรฐานในระดับนานาชาต ิx 100 จ านวนหลักสูตรทั้งหมดของส่วนงาน

Page 6: (ร่าง) รายละเอียดค าอธิบาย ตัวชี้วัดค ารับรองการปฏิบัติงาน ... · (ร่าง)

( ร่ า ง ) ค า อ ธิ บ า ย ตั ว ชี้ วั ด ค า รั บ ร อ ง ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ข อ ง ส่ ว น ง า น ภ า ย ใ น ม ห า วิ ท ย า ลั ย | 6

ตัวช้ีวัด 2.1.3 จ านวนหลักสูตรที่มีนักศึกษาต่างชาติลงทะเบียนหรือนักศึกษาแลกเปลี่ยน ในรอบปีการศึกษา 2559

หน่วยนับ หลักสูตร ค าอธิบาย พิจารณาจากจ านวนหลักสูตรของส่วนงานที่มีนักศึกษาต่างชาติลงทะเบียนเรียน หรือที่มีนักศึกษา

แลกเปลี่ยน ในรอบปีการศึกษา 2559 เป้าประสงค์ที่ 2.2 การจัดการเรียนการสอนเน้นการผลิตบัณฑิตที่คิดเป็น ท าเป็น ตามแนวทางของการ จัดการศึกษาแบบ KMUTNB (ไทย - เยอรมัน) ตัวชี้วัด 2.2.1 จ านวนรายวิชาที่จัดการเรียนการสอนที่มีนักศึกษาจากหลากหลายหลักสูตรมาเรียนร่วมกัน

ในรอบปีการศึกษา 2559 หน่วยนับ รายวิชา ค าอธิบาย พิจารณาจากจ านวนรายวิชาของส่วนงานที่เปิดให้กับนักศึกษาระดับปริญญาตรีจากหลากหลาย

หลักสูตร สามารถลงทะเบียนเรียนร่วมกันได้ ทั้งนี้ ให้นับเฉพาะรายวิชาที่มีนักศึกษาลงทะเบียนเรียนในรอบปีการศึกษา 2559 เท่านั้น ส าหรับส่วนงานที่ไม่มีการจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรี ให้ใช้ข้อมูลในระดับปริญญาโทและปริญญาเอก

ตัวชี้วัด 2.2.2 จ านวนรายวิชาต่อหลักสูตรที่มีผู้สอนร่วมจากภาคประกอบการเพ่ือเพ่ิมมุมมองทางด้านธุรกิจ

อุตสาหกรรมและการบริหารจัดการเบื้องต้นในระดับปริญญาตรีในรอบปีการศึกษา 2559 หน่วยนับ รายวิชา ค าอธิบาย พิจารณาจากจ านวนรายวิชาในระดับปริญญาตรีของส่วนงานที่เชิญบุคลากรจากภาคประกอบการ

มาให้ให้ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับรายวิชาด้านธุรกิจอุตสาหกรรม และการบริหารจัดการในเบื้องต้นแก่นักศึกษา ในรอบปีการศึกษา 2559 ส าหรับส่วนงานที่ไม่มีการจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรี ให้ใช้ข้อมูลในระดับปริญญาโทและปริญญาเอก

ตัวชี้วัด 2.2.3 อัตราส่วนบุคลากรสายวิชาการที่มีทักษะและประสบการณ์ตรงตามวิชาชีพต่อจ านวน

นักศึกษาในรอบปีการศึกษา 2559 หน่วยนับ อัตราส่วนอาจารย์ : นักศึกษา ค าอธิบาย พิจารณาจากจ านวนของอาจารย์ผู้สอนที่มีทักษะและประสบการณ์ตามวิชาชีพ หรือเคยท างานกับ

ภาคเอกชนต่อจ านวนนักศึกษาทั้งหมดของส่วนงาน ในรอบปีการศึกษา 2559 การค านวณ

จ านวนนักศึกษาทั้งหมดที่ลงทะเบียนเรียนในรอบปีการศึกษา 2559 จ านวนอาจารย์ผู้สอนที่มีทักษะและประสบการณ์ตามวิชาชีพในรอบปีการศึกษา 2559

Page 7: (ร่าง) รายละเอียดค าอธิบาย ตัวชี้วัดค ารับรองการปฏิบัติงาน ... · (ร่าง)

( ร่ า ง ) ค า อ ธิ บ า ย ตั ว ชี้ วั ด ค า รั บ ร อ ง ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ข อ ง ส่ ว น ง า น ภ า ย ใ น ม ห า วิ ท ย า ลั ย | 7

ตัวชี้วัด 2.2.4 คะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจของนักศึกษาและผู้สอนที่มีต่อครุภัณฑ์และสิ่งอ านวยความสะดวกที่เอ้ือต่อการจัดการเรียนการสอนตามเปูาประสงค์ในรอบปีการศึกษา 2559

หน่วยนับ คะแนนเฉลี่ย ค าอธิบาย พิจารณาจากคะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจของนักศึกษาและผู้สอน จากแบบประเมินความ

พึงพอใจที่มีต่อครุภัณฑ์การจัดการเรียนการสอน และสิ่งอ านวยความสะดวกที่เอ้ือต่อการจัดการเรียนการสอนตามเปูาประสงค์ ในรอบปีการศึกษา 2559 ส าหรับส่วนงานที่ไม่มีการจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรี ให้ใช้ข้อมูลในระดับปริญญาโทและปริญญาเอก

เป้าประสงค์ที่ 2.3 การจัดการเรียนการสอนเป็นรูปแบบสหวิทยาการที่ตอบสนองเครือข่ายทางวิชาการ และวิจัยพัฒนาจากหลากหลายหน่วยงาน ตัวชี้วัด 2.3.1 จ านวนหลักสูตรที่ระบุรายวิชาแบบสหวิทยาการในรอบปีการศึกษา 2559 หน่วยนับ หลักสูตร ค าอธิบาย พิจารณาจากจ านวนหลักสูตรที่ระบุรายวิชาแบบสหวิทยาการของส่วนงาน ในรอบปีการศึกษา 2559

หลักสูตรสหวิทยาการ หมายถึง หลักสูตรที่น าเอาความรู้จากหลายศาสตร์หรือหลาย อนุศาสตร์ หรือจากการปฏิบัติที่เข้ามาใช้ในการเรียนการสอนเพ่ือประโยชน์ในการวิเคราะห์และวิจัย จนกระทั่งผู้เรียนสามารถพัฒนาความรู้ องค์ความรู้เป็นศาสตร์ใหม่ขึ้น หรือเกิดอนุศาสตร์ใหม่ขึ้น (ที่ประชุมคณะอนุกรรมการปรับปรุงเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับ อุดมศึกษา ครั้งที่ 7/2549 เมื่อวันที่ 18 ตุลาคม 2549)

ตัวชี้วัด 2.3.2 จ านวนเครือข่ายทางวิชาการ และ/หรือวิจัยพัฒนาที่มีการด าเนินกิจกรรมในรอบปีงบประมาณ

พ.ศ.2560 หน่วยนับ เครือข่าย ค าอธิบาย พิจารณาจากจ านวนเครือข่ายทางวิชาการ และ/หรือเครือข่ายทางวิจัยพัฒนา ที่ส่วนงานมีการ

ด าเนินกิจกรรมต่างๆ ร่วมกัน ในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2560

เครือข่าย (Network) คือ การเชื่อมโยงของกลุ่มของคนหรือกลุ่มองค์กรที่สมัครใจที่จะแลกเปลี่ยน ข่าวสาร หรือท ากิจกรรมร่วมกันเพ่ือให้บรรลุเปูาหมายเดียวกัน โดยมีการจัดระเบียบโครงสร้างของคนในเครือข่ายด้วยความเป็นอิสระ เท่าเทียมกันภายใต้พ้ืนฐานของความเคารพสิทธิ เชื่อถือ เอ้ืออาทร ซึ่งกันและกัน

Page 8: (ร่าง) รายละเอียดค าอธิบาย ตัวชี้วัดค ารับรองการปฏิบัติงาน ... · (ร่าง)

( ร่ า ง ) ค า อ ธิ บ า ย ตั ว ชี้ วั ด ค า รั บ ร อ ง ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ข อ ง ส่ ว น ง า น ภ า ย ใ น ม ห า วิ ท ย า ลั ย | 8

เป้าประสงค์ที่ 2.4 บัณฑิตมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์และสามารถประกอบวิชาชีพที่เป็นไปตามความต้องการของผู้ใช้บัณฑิตในระดับนานาชาติ ตัวชี้วัด 2.4.1 ร้อยละของบัณฑิตที่ได้งานท าในหน่วยงานระดับนานาชาติ ก่อนส าเร็จการศึกษา รุ่นปี

การศึกษา 2558 หน่วยนับ ร้อยละ ค าอธิบาย พิจารณาจากจ านวนผู้ส าเร็จการศึกษา/บัณฑิตระดับปริญญาตรี รุ่นปีการศึกษา 2558 ที่ได้งานท า

ในหน่วยงานหรือองค์กรในระดับนานาชาติก่อนส าเร็จการศึกษา ส าหรับส่วนงานที่ไม่มีการจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรี ให้ใช้ข้อมูลในระดับปริญญาโทและปริญญาเอก

หน่วยงานระดับนานาชาติ หมายถึง องค์กรระหว่างประเทศต่างๆ บริษัทข้ามชาติ บริษัทที่มีผู้ถือหุ้นใหญ่เป็นบุคคลสัญชาติไทยแต่ด าเนินกิจการทั้งในและนอกราชอาณาจักรไทย หรือบริษัทที่มีผู้ถือหุ้นใหญ่เป็นบุคคลต่างด้าวแต่มีการด าเนินกิจการรูปแบบเดียวกันนี้ในหลายประเทศ (http://www.set.or.th/set/commonslookup.do?language=th&country=TH)

การค านวณ ตัวชี้วัด 2.4.2 ร้อยละของบัณฑิตที่มีโอกาสได้ไปปฏิบัติงานในต่างประเทศภายใน 5 ปี รุ่นปีการศึกษา

2554 - 2558 หน่วยนับ ร้อยละ ค าอธิบาย พิจารณาจากจ านวนผู้ส าเร็จการศึกษา/บัณฑิต รุ่นปีการศึกษา 2554 – 2558 ที่มีโอกาสได้ไป

ปฏิบัติงานในต่างประเทศ/ท างาน ณ บริษัทสาขาต่างประเทศ หรือได้รับเลือกจากหน่วยงานต้นสังกัดให้ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการในต่างประเทศ ทั้งนี้ ไม่นับรวมการศึกษาดูงานต่างประเทศระยะสั้น

การค านวณ

จ านวนผู้ส าเร็จการศึกษา/บัณฑิต รุ่นปีการศึกษา 2554–2558 ของส่วนงานที่ได้ไปปฏิบัติงานในต่างประเทศ x 100 จ านวนผู้ส าเร็จการศึกษา/บัณฑิต รุ่นปีการศึกษา 2554–2558 ทั้งหมดของส่วนงาน

จ านวนผู้ส าเร็จการศึกษา/บัณฑิตที่ได้งานท าในหน่วยงาน/องค์กรในระดับนานาชาติ รุ่นปีการศึกษา 2558 x 100 จ านวนผู้ส าเร็จการศึกษาทั้งหมด ในรอบปีการศึกษา 2558

Page 9: (ร่าง) รายละเอียดค าอธิบาย ตัวชี้วัดค ารับรองการปฏิบัติงาน ... · (ร่าง)

( ร่ า ง ) ค า อ ธิ บ า ย ตั ว ชี้ วั ด ค า รั บ ร อ ง ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ข อ ง ส่ ว น ง า น ภ า ย ใ น ม ห า วิ ท ย า ลั ย | 9

เป้าประสงค์ที่ 2.5 บูรณาการการเรียนการสอนกับงานวิจัยหรือบริการวิชาการ ตัวชี้วัด 2.5.1 จ านวนหลักสูตรที่ระบุรายวิชาว่ามีการบูรณาการการเรียนการสอนกับงานวิจัยหรือบริการ

วิชาการ ในรอบปีการศึกษา 2559 หน่วยนับ หลักสูตร ค าอธิบาย พิจารณาจากจ านวนหลักสูตรที่มีการระบุรายวิชาที่ด าเนินการบูรณาการการเรียนการสอนกับ

งานวิจัย หรืองานบริการวิชาการของส่วนงานหรือส่วนงานอ่ืนๆ ทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย ในรอบปีการศึกษา 2559

งานวิจัย หมายถึง กระบวนการที่มีระเบียบแบบแผนในการค้นหาค าตอบของปัญหาหรือการเสาะแสวงหาความรู้ใหม่ ตลอดจนถึงการประดิษฐ์คิดค้นที่ผ่านกระบวนการศึกษา ค้นคว้าหรือทดลอง วิเคราะห์และตีความข้อมูล ตลอดจนสรุปผลอย่างเป็นระบบ

โครงการบริการวิชาการ หมายถึง โครงการบริการวิชาการของส่วนงาน/หน่วยงาน ที่ได้ให้บริการวิชาการด้านหนึ่งด้านใดแก่บุคคล/องค์กร ทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย เช่น ให้บริการวิชาการด้านการอบรม สัมมนา ตรวจสอบ ทดสอบ เป็นต้น การให้บริการวิชาการแก่องค์กร/บุคคล ได้แก ่

1) การให้บริการวิชาการระหว่างส่วนงานภายในมหาวิทยาลัย 2) การให้บริการแก่ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และองค์กรอ่ืนของรัฐ 3) การให้บริการวิชาการแก่องค์กรเอกชน หรือบุคคลภายนอกมหาวิทยาลัย

ประเภทของการให้บริการวิชาการ มีดังนี้ 1) การฝึกอบรม สัมมนา อภิปราย 2) การค้นคว้า ส ารวจ วิเคราะห์ ทดสอบ และตรวจสอบ 3) การวางระบบ ออกแบบ และประดิษฐ์ 4) การให้ค าปรึกษาทางวิชาการและวิชาชีพ 5) การให้บริการวิจัย 6) การให้บริการเกี่ยวกับหลักสูตรการเรียนการสอน 7) การเขียนทางวิชาการและงานแปล 8) การให้บริการทางด้านเทคโนโลยีการศึกษา 9) การให้บริการสารสนเทศ 10) การให้บริการวิชาการอ่ืนๆ

Page 10: (ร่าง) รายละเอียดค าอธิบาย ตัวชี้วัดค ารับรองการปฏิบัติงาน ... · (ร่าง)

( ร่ า ง ) ค า อ ธิ บ า ย ตั ว ชี้ วั ด ค า รั บ ร อ ง ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ข อ ง ส่ ว น ง า น ภ า ย ใ น ม ห า วิ ท ย า ลั ย | 10

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 เพิ่มขีดความสามารถในการวิจัย พัฒนา และสร้างสรรค์นวัตกรรม เป้าประสงค์ที่ 3.1 เป็นมหาวิทยาลัยวิจัยเพื่อการจัดอันดับและการน าไปใช้ประโยชน์ ตัวชี้วัด 3.1.1 จ านวนโครงการวิจัยที่ได้รับการสนับสนุนจากภายในมหาวิทยาลัย ในรอบปีงบประมาณ

พ.ศ.2560 หน่วยนับ โครงการ ค าอธิบาย พิจารณาจากโครงการวิจัยภายในส่วนงานที่ได้รับการสนับสนุนจากแหล่งทุนภายในมหาวิทยาลัย

ทั้งเงินแผ่นดินและเงินรายได้ของมหาวิทยาลัยและส่วนงาน ในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2560

โครงการวิจัย หมายถึง งานวิจัยที่เกี่ยวกับสิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรือผลงานทางวิชาการที่ได้มีการศึกษาค้นคว้าตามกระบวนการระเบียบวิธีวิจัยที่เหมาะสมกับสาขาวิชานั้นๆ โดยการนับจ านวนโครงการวิจัย ให้นับโครงการวิจัยที่ได้รับการสนับสนุนก็ต่อเมื่อโครงการวิจัยนั้นได้รับอนุมัติแล้ว หากงานวิจัยชิ้นนั้นมีระยะเวลาในการท าวิจัยมากกว่า 1 ปี ให้นับปีที่ได้รับอนุมัติโครงการในครั้งแรกเท่านั้น กรณีที่โครงการวิจัยมีผู้ร่วมท าวิจัยเป็นทีมหรือหลายคนและอยู่ต่างส่วนงานหรือต่างสถาบัน ส่วนงานนั้นๆ สามารถนับเป็นผลงานวิจัยของส่วนงานได้ แต่ต้องระบุส่วนงานหรือสถาบันที่ท างานวิจัยร่วมด้วย

แหล่งทุนภายในมหาวิทยาลัย หมายถึง แหล่งเงินที่ให้การสนับสนุนโครงการวิจัยนั้นๆ ทั้งเงินแผ่นดินและเงินรายได้ของมหาวิทยาลัยและส่วนงาน เช่น ทุนสนับสนุนนักวิจัย รุ่นใหม่ ทุนสนับสนุนนักวิจัยทั่วไป ทุนวิจัยที่ได้รับการจัดสรรจากเงินแผ่นดินของมหาวิทยาลัย โดยเป็นโครงการวิจัยที่ได้รับการจัดสรรผ่านสภาวิจัย หรือส านักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) หรือทุนวิจัยจากเงินรายได้ของมหาวิทยาลัยและส่วนงาน

ตัวชี้วัด 3.1.2 จ านวนโครงการวิจัยที่ได้รับการสนับสนุนจากภายนอกมหาวิทยาลัย ทั้งภาครัฐและเอกชนใน

รอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 หน่วยนับ โครงการ ค าอธิบาย พิจารณาจากโครงการวิจัยภายในส่วนงานที่ได้รับการสนับสนุนจากแหล่งทุนภายนอกมหาวิทยาลัย

ในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 ไม่นับรวมโครงการวิจัยที่ได้รับการจัดสรรผ่านสภาวิจัยแห่งชาติ (วช.) ซึ่งถึงว่าเป็นแหล่งทุนภายในของมหาวิทยาลัยที่ได้รับจัดสรรจากเงินแผ่นดิน

แหล่งทุนภายนอกมหาวิทยาลัย ได้แก่ แหล่งทุนภายในประเทศ เช่น สวทช. สกว. สกอ. หน่วยงานภาคอุตสาหกรรม กระทรวง จังหวัด หน่วยงานภาคเอกชน และแหล่งทุนต่างประเทศ เช่น มหาวิทยาลัยในต่างประเทศ องค์กรระหว่างประเทศ หน่วยงานในต่างประเทศ เป็นต้น

Page 11: (ร่าง) รายละเอียดค าอธิบาย ตัวชี้วัดค ารับรองการปฏิบัติงาน ... · (ร่าง)

( ร่ า ง ) ค า อ ธิ บ า ย ตั ว ชี้ วั ด ค า รั บ ร อ ง ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ข อ ง ส่ ว น ง า น ภ า ย ใ น ม ห า วิ ท ย า ลั ย | 11

ตัวชี้วัด 3.1.3 จ านวนงบประมาณที่ใช้เพ่ือการวิจัยของส่วนงานที่ได้รับจากหน่วยงานภายนอกมหาวิทยาลัย ทั้งภาครัฐและเอกชน ในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2560

หน่วยนับ บาท ค าอธิบาย พิจารณาจากจ านวนเงินทุนในการท างานวิจัยที่ได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานภายนอก

มหาวิทยาลัยทั้งภาครัฐและเอกชนตามตัวชี้วัด 3.1.2 ตัวชี้วัด 3.1.4 จ านวนบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ ที่อยู่บนฐานข้อมูล scopus

ในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 หน่วยนับ บทความ ค าอธิบาย พิจารณาจากบทความวิจัยของบุคลากรในส่วนงาน หรือบทความวิจัยของส่วนงานที่ได้รับการ

เผยแพร่หรือตีพิมพ์ในฐานข้อมูล SCOPUS ในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2560

บทความวิจัยที่ได้รับการเผยแพร่หรือตีพิมพ์ในฐานข้อมูล SCOPUS หมายถึง งานวิจัยหรือบทความวิจัย ที่รับการตอบรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ/ระดับสากล ที่อยู่ในฐานข้อมูล SCOPUS

ทั้งนี้ การตีพิมพ์ในวารสาร ให้นับที่กองบรรณาธิการวารสารนั้นตอบรับ และการเผยแพร่ผลงาน 1 เรื่องที่เผยแพร่มากกว่า 1 ครั้ง ให้นับเพียง 1 ครั้ง

ตัวชี้วัด 3.1.5 จ านวนบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่อยู่บนฐานข้อมูล ISI ในรอบปี งบประมาณ พ.ศ. 2560

หน่วยนับ บทความ ค าอธิบาย พิจารณาจากบทความวิจัยของบุคลากรในส่วนงาน หรือบทความวิจัยของส่วนงานที่ได้รับการ

เผยแพร่หรือตีพิมพ์ในฐานข้อมูล ISI ในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2560

บทความวิจัยท่ีได้รับการเผยแพร่หรือตีพิมพ์ในฐานข้อมูล ISI หมายถึง งานวิจัยหรือบทความวิจัย ที่รับการตอบรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ/ระดับสากล ที่อยู่ในฐานข้อมูล ISI

ทั้งนี้ การตีพิมพ์ในวารสาร ให้นับที่กองบรรณาธิการวารสารนั้นตอบรับ และการเผยแพร่ผลงาน 1 เรื่องที่เผยแพร่มากกว่า 1 ครั้ง ให้นับเพียง 1 ครั้ง

Page 12: (ร่าง) รายละเอียดค าอธิบาย ตัวชี้วัดค ารับรองการปฏิบัติงาน ... · (ร่าง)

( ร่ า ง ) ค า อ ธิ บ า ย ตั ว ชี้ วั ด ค า รั บ ร อ ง ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ข อ ง ส่ ว น ง า น ภ า ย ใ น ม ห า วิ ท ย า ลั ย | 12

ตัวชี้วัด 3.1.6 จ านวนบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการนานาชาติร่วมกับชาวต่างประเทศ ในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2560

หน่วยนับ บทความ ค าอธิบาย พิจารณาจากจ านวนบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการนานาชาติของบุคลากรในส่วนงานที่ท า

ร่วมกันกับชาวต่างประเทศ หรือมีชื่อผู้ร่วมตีพิมพ์เป็นชาวต่างประเทศ ในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2560

ผลงานที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ หมายถึง บทความจากผลงานวิจัยหรือบทความวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ (Journal) ที่ปรากฎในฐานข้อมูลสากล ได้แก่ ฐานข้อมูลการจัดอันดับวารสาร SJR (SCImago Journal Rank : www.scimagojr.com) หรือฐานข้อมูล ISI Web of Science 9Science CitationIndex Expand, Socail Sciences Citation Index, Art and Humanities Citation Index) หรือฐานข้อมูล Scopus หรือวารสารวิชาการระดับนานาชาติตามประกาศของคณะกรรมการการอุดมศึกษา

ตัวช้ีวัด 3.1.7 ร้อยละของบุคลากรสายวิชาการที่มีผลงานตีพิมพ์ในระดับนานาชาติบนฐานข้อมูล ISI ต่อ

จ านวนบุคลากรสายวิชาการท้ังหมดในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 หน่วยนับ ร้อยละ ค าอธิบาย พิจารณาจากจ านวนของบุคลากรสายวิชาการของส่วนงานที่มีผลงานวิจัยหรือบทความตีพิมพ์ใน

ระดับนานาชาติบนฐานข้อมูล ISI ต่อจ านวนบุคลากรสายวิชาการทั้งหมดในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2560

การค านวณ ตัวชี้วัด 3.1.8 จ านวนผลงานวิจัย หรืองานสร้างสรรค์ท่ีน าไปใช้ประโยชน์ในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 หน่วยนับ เรื่อง ค าอธิบาย พิจารณาจากจ านวนผลงานวิจัย หรือผลงานสร้างสรรค์ของส่วนงานที่สามารถน าไปใช้ประโยชน์

ในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2560

งานวิจัย หมายถึง กระบวนการที่มีระเบียบแบบแผนในการค้นหาค าตอบของปัญหาหรือการเสาะแสวงหาความรู้ใหม่ ตลอดจนถึงการประดิษฐ์คิดค้นที่ผ่านกระบวนการศึกษา ค้นคว้าหรือทดลอง วิเคราะห์เละตีความข้อมูลตลอดจนสรุปผลอย่างเป็นระบบ

งานสร้างสรรค์ หมานถึง ผลงานศิลปะและสิ่งประดิษฐ์ทางศิลปะประเภทต่างๆ ที่มีความเป็นนวัตกรรม โดยมีการศึกษาค้นคว้าอย่างเป็นระบบที่เหมาะสมตามประเภทของ

จ านวนบุคลากรสายวิชาการที่มีผลงานตีพิมพ์ในระดับนานาชาติบนฐานข้อมูล ISI x 100 จ านวนบุคลากรสายวิชาการทั้งหมดในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2560

Page 13: (ร่าง) รายละเอียดค าอธิบาย ตัวชี้วัดค ารับรองการปฏิบัติงาน ... · (ร่าง)

( ร่ า ง ) ค า อ ธิ บ า ย ตั ว ชี้ วั ด ค า รั บ ร อ ง ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ข อ ง ส่ ว น ง า น ภ า ย ใ น ม ห า วิ ท ย า ลั ย | 13

งานศิลปะซึ่งมีแนวทางการทดลองหรือการพัฒนาจากแนวคิดสร้างสรรค์เดิมเพ่ือเป็นที่ยอมรับในวงวิชาชีพตามการจัดกลุ่มศิลปะอาเซียน งานสร้างสรรค์ทางศิลปะ ได้แก่ 1. ทัศนศิลป์ (Visual Art) ประกอบด้วย ผลงานด้านจิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ์

ภาพถ่าย ภาพยนตร์ สื่อประสม สถาปัตยกรรมและงานออกแบบประเภทอ่ืนๆ 2. ศิลปะการแสดง (Performance Arts) ประกอบด้วย ดุริยางคศิลป์ นาฎยศิลป์

รวมทั้งการแสดงรูปแบบต่างๆ 3. วรรณศิลป์ (Literature) ประกอบด้วย บทประพันธ์และกวีนิพนธ์รูปแบบต่างๆ

เป้าประสงค์ที่ 3.2 เป็นมหาวิทยาลัยแห่งการสร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรม ตัวช้ีวัด 3.2.1 จ านวนผลงานนวัตกรรม งานสร้างสรรค์ หรือสิ่งประดิษฐ์ที่ได้รับการจดอนุสิทธิบัตร

สิทธิบัตร และลิขสิทธิ์ ในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.2560 หน่วยนับ เรื่อง ค าอธิบาย พิจารณาจากจ านวนผลงานนวัตกรรม งานสร้างสรรค์ หรือสิ่งประดิษฐ์ของส่วนงานที่ยื่นขอหรือ

ได้รับการจดอนุสิทธิบัตร สิทธิบัตร และลิขสิทธิ์ ภายในปีงบประมาณ พ.ศ. 2560

งานนวัตกรรม หมายถึง สิ่งใหม่ที่เกิดจากการใช้ความรู้และความคิดสร้างสรรค์ที่มีประโยชน์ต่อเศรษฐกิจและสังคม

สิ่งประดิษฐ์ หมายถึง ผลงาน ผลิตผล ผลิตภัณฑ์ กรรมวิธี กระบวนการ วิธีการมาตรการ หรือระบบ รวมทั้งการออกแบบผลิตภัณฑ์ ตลอดจนวิทยาการต่าง ๆ ที่ดีเด่น และพิสูจน์แล้วว่าเป็นประโยชน์

สิทธิบัตร (Patent) หมายถึง หนังสือส าคัญที่รัฐออกให้เพ่ือคุ้มครองสิ่งประดิษฐ์ (Invention) หรือการออกแบบผลิตภัณฑ์ (Product Design) ที่มีลักษณะตามที่กฎหมายก าหนดเป็น สิทธิพิเศษ ที่ให้ผู้ประดิษฐ์คิดค้นหรือผู้ออกแบบผลิตภัณฑ์ มีสิทธิที่จะผลิตสินค้า จ าหน่ายสินค้าแต่เพียงผู้เดียวในช่วงระยะเวลาหนึ่ง

อนุสิทธิบัตร (Petty Patent) หมายถึงหนังสือส าคัญที่รัฐออกให้เพ่ือคุ้มครองการประดิษฐ์ จะมีลักษณะคล้ายกันกับการประดิษฐ์ แต่เป็นความคิดสร้างสรรค์ที่มีระดับการพัฒนาเทคโนโลยีไม่สูงมาก หรือเป็นการประดิษฐ์คิดค้นเพียงเล็กน้อย แต่มีประโยชน์ใช้สอยมากขึ้น

Page 14: (ร่าง) รายละเอียดค าอธิบาย ตัวชี้วัดค ารับรองการปฏิบัติงาน ... · (ร่าง)

( ร่ า ง ) ค า อ ธิ บ า ย ตั ว ชี้ วั ด ค า รั บ ร อ ง ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ข อ ง ส่ ว น ง า น ภ า ย ใ น ม ห า วิ ท ย า ลั ย | 14

ตัวช้ีวัด 3.2.2 จ านวนผลงานนวัตกรรม หรือสิ่งประดิษฐ์ที่น าไปใช้ประโยชน์ในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.2560 หน่วยนับ เรื่อง ค าอธิบาย พิจารณาจากจ านวนผลงานนวัตกรรม หรือสิ่งประดิษฐ์ของบุคลากรหรือนักศึกษาของส่วนงานที่

น าไปใช้ประโยชน์ภายในมหาวิทยาลัย/ภายนอกมหาวิทยาลัย ในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 ตัวช้ีวัด 3.2.3 จ านวนผลงานนวัตกรรม/ผลงานเชิงนวัตกรรม หรือสิ่งประดิษฐ์ที่ได้รับรางวัลระดับชาติ

หรือนานาชาติในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 หน่วยนับ เรื่อง ค าอธิบาย พิจารณาจากจ านวนผลงานนวัตกรรม/ผลงานเชิงนวัตกรรม หรือสิ่งประดิษฐ์ของส่วนงานที่ได้รับ

รางวัลระดับชาติหรือนานาชาติในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2560

ผลงานเชิงนวัตกรรม หมายถึง ผลงานการออกแบบที่ใช้ความคิดสร้างสรรค์ มีความแตกต่าง รวมทั้งต้องมีการน าเทคโนโลยีวิชาการที่ช่วยเพ่ิมประโยชน์ใช้สอย และสามารถใช้งานได้จริง โดยผลงานต้องมีการออกแบบที่ผสมผสานกันระหว่างการออกแบบเชิงวิศวกรรมหรือเทคโนโลยี (technology element) และการออกแบบเชิงสร้างสรรค์ (creative element) ทั้งนี ้ต้องเป็นการสร้างมูลค่าเพ่ิมให้กับผลิตภัณฑ์ได้

รางวัลระดับชาติ หมายถึง รางวัลที่ได้รับจากหน่วยงานภายนอกสถาบันระดับกรม หรือเทียบเท่าขึ้นไป หรือรัฐวิสาหกิจ หรือองค์การมหาชน หรือบริษัทมหาชนที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ หรือองค์การกลางระดับชาติทั้งภาครัฐและเอกชน อาทิ สภาอุตสาหกรรม สภาวิชาทนายความ สภาวิศวกร เป็นต้น

Page 15: (ร่าง) รายละเอียดค าอธิบาย ตัวชี้วัดค ารับรองการปฏิบัติงาน ... · (ร่าง)

( ร่ า ง ) ค า อ ธิ บ า ย ตั ว ชี้ วั ด ค า รั บ ร อ ง ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ข อ ง ส่ ว น ง า น ภ า ย ใ น ม ห า วิ ท ย า ลั ย | 15

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 เสริมสร้างศักยภาพงานบริการวิชาการให้มีความเข้มแข็งและเป็นที่ยอมรับ เป้าประสงค์ที่ 4.1 ผู้รับบริการให้การยอมรับในศักยภาพการให้บริการของมหาวิทยาลัย ตัวช้ีวัด 4.1.1 คะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มีต่อการให้บริการวิชาการของส่วนงานใน

รอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 หน่วยนับ คะแนนเฉลี่ย ค าอธิบาย พิจารณาจากระดับความพึงพอใจจากการส ารวจความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มีต่อการ

ให้บริการวิชาการของส่วนงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 ตัวช้ีวัด 4.1.2 จ านวนโครงการบริการวิชาการที่ให้บริการแก่หน่วยงานภายนอก ในรอบปีงบประมาณ

พ.ศ. 2560 หน่วยนับ โครงการ ค าอธิบาย พิจารณาจากจ านวนโครงการบริการวิชาการของส่วนงานที่ให้บริการแก่หน่วยงานภายนอก

มหาวิทยาลัย อาทิ ชุมชน/สังคม หน่วยงานหรือองค์กรต่างๆ ในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 ทั้งนี้ ให้นับรวมโครงการบริการวิชาการแบบให้เปล่าด้วย

ตัวช้ีวัด 4.1.3 จ านวนการให้บริการวิชาการแก่หน่วยงานภายนอก (การทดสอบ การประลอง การสอบเทียบ)

ในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 หน่วยนับ งาน ค าอธิบาย พิจารณาจากจ านวนงานที่ให้บริการวิชาการเฉพาะประเภทการทดสอบ การประลอง การสอบ

เทียบของส่วนงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 ตัวช้ีวัด 4.1.4 จ านวนรายได้ที่ ได้รับจากงานบริการวิชาการที่ให้บริการแก่หน่วยงานภายนอก

มหาวิทยาลัย ในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 หน่วยนับ บาท ค าอธิบาย จ านวนรายได้ที่ได้รับจากงานบริการวิชาการของส่วนงานที่ให้บริการแก่หน่วยงานภายนอก

มหาวิทยาลัย ในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2560

Page 16: (ร่าง) รายละเอียดค าอธิบาย ตัวชี้วัดค ารับรองการปฏิบัติงาน ... · (ร่าง)

( ร่ า ง ) ค า อ ธิ บ า ย ตั ว ชี้ วั ด ค า รั บ ร อ ง ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ข อ ง ส่ ว น ง า น ภ า ย ใ น ม ห า วิ ท ย า ลั ย | 16

เป้าประสงค์ที่ 4.2 เป็นองค์กรที่ได้รับการรับรองมาตรฐานระดับชาติและระดับนานาชาติ ตัวช้ีวัด 4.2.1 จ านวนมาตรฐานที่หน่วยงานภายในให้บริการเพ่ือให้การรับรองตามมาตรฐานระดับชาติ

หรือนานาชาติ ในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 หน่วยนับ มาตรฐาน ค าอธิบาย พิจารณาจากจ านวนมาตรฐานที่หน่วยงานภายในให้บริการเพ่ือให้การรับรองตามมาตรฐาน

ระดับชาติหรือนานาชาติ โดยมาตรฐานที่ให้บริการนั้นต้องมีเอกสารรองรับมาตรฐานดังกล่าว หรือเป็นมาตรฐานที่ผ่านการรับรองจากองค์กรในระดับชาติหรือระดับสากลเรียบร้อยแล้ว และยังสามารถใช้รับรองมาตรฐานในระดับชาติและ/หรือระดับสากลได้ ในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2560

ตัวชี้วัด 4.2.2 จ านวนการให้บริการเพ่ือขอรับการรับรองตามมาตรฐานระดับชาติหรือนานาชาติ ในรอบ

ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 หน่วยนับ ชิ้นงาน ค าอธิบาย พิจารณาจากจ านวนการให้บริการที่ส่วนงานให้บริการรับรองตามมาตรฐานแก่ผู้รับบริการที่มา

ขอรับการรับรองตามมาตรฐานระดับชาติหรือนานาชาติของส่วนงาน ในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.2560 (สอดคล้องกับตัวชี้วัดที่ 4.2.1)

ตัวช้ีวัด 4.2.3 จ านวนห้องประลองหรือห้องทดสอบที่ได้มาตรฐานระดับชาติหรือนานาชาติ ในรอบ

ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 หน่วยนับ ห้อง ค าอธิบาย พิจารณาจากจ านวนห้องประลองหรือห้องทดสอบของส่วนงานที่ ได้รับการรับรองมาตรฐาน

ระดับชาติหรือนานาชาติ ในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 อาทิ ISO/IEC 17025 มอก. 17025 เป็นต้น

เป้าประสงค์ที่ 4.3 องค์ความรู้ที่ให้บริการวิชาการสอดคล้องกับความต้องการของสังคม ตัวช้ีวัด 4.3.1 จ านวนเครือข่ายความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอกทั้งภาครัฐและภาคอุตสาหกรรมที่มี

การลงนาม ในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 หน่วยนับ MOU (ท่ีลงนามใหม่ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2560) ค าอธิบาย พิจารณาจากจ านวนเครือข่ายความร่วมมือของส่วนงานกับหน่วยงานภายนอกทั้งภาครัฐและ

ภาคอุตสาหกรรมที่มีการลงนาม ในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2560

Page 17: (ร่าง) รายละเอียดค าอธิบาย ตัวชี้วัดค ารับรองการปฏิบัติงาน ... · (ร่าง)

( ร่ า ง ) ค า อ ธิ บ า ย ตั ว ชี้ วั ด ค า รั บ ร อ ง ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ข อ ง ส่ ว น ง า น ภ า ย ใ น ม ห า วิ ท ย า ลั ย | 17

ตัวช้ีวัด 4.3.2 จ านวนโครงการที่ให้บริการวิชาการสอดคล้องกับความต้องการของสังคม ในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2560

หน่วยนับ โครงการ (ภายใต้ MOU ที่ส่วนงานลงนาม) ค าอธิบาย พิจารณาจากจ านวนโครงการที่ให้บริการวิชาการภายใต้ความร่วมมือ (MOU) ที่ส่วนงานจัดขึ้น

เพ่ือให้บริการวิชาการแก่สังคม ชุมชน องค์กรทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย โดยโครงการบริการวิชาการจะต้องเป็นโครงการที่สอดคล้องกับความต้องการของสังคมและเศรษฐกิจของประเทศ และเป็นโครงการที่ด าเนินการจริงในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2560

เป้าประสงค์ที่ 4.4 งานบริการวิชาการสามารถน ามาบูรณาการกับการเรียนการสอนและการวิจัยได้ ตัวช้ีวัด 4.4.1 จ านวนโครงการบริการวิชาการท่ีน ามาบูรณาการกับหลักสูตรในการเรียนการสอน ในรอบ

ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 หน่วยนับ หลักสูตร ค าอธิบาย พิจารณาจากโครงการบริการวิชาการของส่วนงาน ที่มีการบูรณาการงานบริการวิชาการกับ

กระบวนการจัดการเรียนการสอนให้แต่ละหลักสูตร ในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 เช่น การก าหนดให้นักศึกษาน าความรู้ไปจัดท าเป็นโครงการกิจกรรมบริการวิชาการที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมและชุมชน เป็นต้น

ตัวช้ีวัด 4.4.2 จ านวนโครงการบริการวิชาการที่น ามาบูรณาการกับการวิจัย ในรอบปีงบประมาณ

พ.ศ. 2560 หน่วยนับ โครงการ ค าอธิบาย พิจารณาจากโครงการบริการวิชาการของส่วนงาน ที่มีการบูรณาการงานบริการวิชาการกับ

การวิจัย ในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 โดยส่วนงานต้องระบุว่าโครงการบริการวิชาการ นั้น มีการบูรณาการกับงานวิจัยของส่วนงานเรื่องใด

Page 18: (ร่าง) รายละเอียดค าอธิบาย ตัวชี้วัดค ารับรองการปฏิบัติงาน ... · (ร่าง)

( ร่ า ง ) ค า อ ธิ บ า ย ตั ว ชี้ วั ด ค า รั บ ร อ ง ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ข อ ง ส่ ว น ง า น ภ า ย ใ น ม ห า วิ ท ย า ลั ย | 18

ประเดน็ยุทธศาสตร์ที่ 5 สง่เสรมิศิลปะ วฒันธรรม คณุธรรม และจริยธรรม เป้าประสงค์ที่ 5.1 มหาวิทยาลัยมีวัฒนธรรมธรรมาภิบาล ตัวช้ีวัด 5.1.1 ร้อยละของนักศึกษาและบุคลากรที่ได้รับการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมตามหลักธรรมาภิบาล หน่วยนับ ร้อยละ ค าอธิบาย 1) บุคลากร พิจารณาจากจ านวนของบุคลากรภายในส่วนงานที่ได้รับการส่งเสริมคุณธรรม

จริยธรรมตามหลักธรรมาภิบาลผ่านการอบรม สัมมนา ทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 เปรียบเทียบกับจ านวนบุคลากรทั้งหมดของส่วนงานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 ทั้งนี้ การนับจ านวนบุคลากรให้นับจ านวนบุคลากรสายวิชาการและบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการที่ได้รับการบรรจุแล้วและบรรจุใหม่ในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 โดยไม่นับรวมบุคลากรสายวิชาการที่ลาเรียน

การค านวณ 2) นักศึกษา (เฉพาะส่วนงานจัดการศึกษา) พิจารณาจากจ านวนของนักศึกษาระดับปริญญาตรี

ที่ได้รับการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมตามหลักธรรมาภิบาลผ่านการอบรม สัมมนา และเข้าร่วมกิจกรรมทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย หรือเป็นผู้ด าเนินงานจัดท าโครงการ/กิจกรรมที่เป็นการการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมตามหลักธรรมาภิบาล ในปีการศึกษา 2559 เปรียบเทียบกับจ านวนนักศึกษาระดับปริญญาตรีทั้งหมดของส่วนงานในปีการศึกษา 2559 กรณีส่วนงานจัดการศึกษาใดไม่มีหลักสูตรในระดับปริญญาตรี ให้ส่วนงานจัดการศึกษานั้นสามารถยกเว้นการจัดท าตัวชี้วัดด้านการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมตามหลักธรรมาภิบาลของนักศึกษาได้ (แก้ไขเพ่ิมเติม 31 ต.ค.59)

การค านวณ

หลักธรรมาภิบาล หมายถึง การบริหารบ้านเมืองที่ยึดหลักการของประชาธิปไตย และการเคารพสิทธิมนุษยชนที่ค านึงถึง

1. หลักนิติธรรม ได้แก่ การตรากฎหมาย กฎข้อบังคับต่างๆ ให้ทันสมัยและเป็นธรรม เป็นที่ยอมรับทั้งผู้ออกกฎและผู้ปฏิบัติตาม ตลอดจนทุกคนในสังคมยินยอมพร้อมใจปฏิบัติตาม

จ านวนบุคลากรที่ได้รับการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมตามหลักธรรมาภิบาล x 100 จ านวนบุคลากรทั้งหมดของส่วนงาน ในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.2560

จ านวนนักศึกษาระดับปริญญาตรีที่ได้รับการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมตามหลักธรรมาภิบาล x 100 จ านวนนักศึกษาระดับปริญญาตรีทั้งหมดของส่วนงาน ในรอบปกีารศึกษา 2559

Page 19: (ร่าง) รายละเอียดค าอธิบาย ตัวชี้วัดค ารับรองการปฏิบัติงาน ... · (ร่าง)

( ร่ า ง ) ค า อ ธิ บ า ย ตั ว ชี้ วั ด ค า รั บ ร อ ง ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ข อ ง ส่ ว น ง า น ภ า ย ใ น ม ห า วิ ท ย า ลั ย | 19

2. หลักคุณธรรม ได้แก่ การยึดมั่นในความถูกต้องดีงาม ซื่อสัตย์ จริงใจ ขยัน อดทน มีระเบียบ ตลอดจนมีความชอบธรรมในการใช้อ านาจ

3. หลักความโปร่งใส มีการเปิดเผยข้อมูลที่เป็นประโยชน์อย่างตรงไปตรงมาด้วยภาษาที่เข้าใจง่าย ประชาชนเข้าถึงข้อมูลข่าวสารได้สะดวก เปิดเผยข้อมูลที่ถูกต้อง รวดเร็ว ไม่บิดเบือน หรือปิดบังบางส่วน

4. หลักความมีส่วนร่วม ได้แก่ การเปิดโอกาสให้ทุกคนในสังคมมีส่วนร่วมในกิจกรรมที่เราท าทั้งร่วมคิด ร่วมท า ร่วมแก้ไขและร่วมรับผิดชอบ

5. หลักความรับผิดชอบ ได้แก่ การรับผิดชอบในภารกิจของตน เพ่ือมุ่งให้เกิดประโยชน์แก่ประชาชน อีกทั้งรับผิดชอบหากเกิดความการบกพร่องในหน้าที่ของตน และรีบแก้ไขความบกพร่องนั้นทันที

6. หลักความคุ้มค่า ได้แก่ การบริหารจัดการ และการใช้ทรัพยากรที่มีจ ากัดให้เกิดประโยชน์สูงสุด คุ้มเงิน คุ้มเวลา คุ้มแรงงาน

ตัวช้ีวัดที่ 5.1.2 จ านวนกิจกรรม/โครงการ/งานวิจัย/นวัตกรรม ที่ส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ตามหลักธรรมาภิบาล

ในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 หน่วยนับ โครงการ/กิจกรรม ค าอธิบาย พิจารณาจากจ านวนกิจกรรม/โครงการ/งานวิจัย/นวัตกรรมที่ส่วนงานได้ด าเนินการในการ

ส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ตามหลักธรรมาภิบาล

คุณธรรม หมายถึง สิ่งที่มีคุณค่า มีประโยชน์ เป็นความดีงาม เป็นมโนธรรม เป็นเครื่องประคับประคองใจให้เกลียดความชั่ว กลัวบาป ใฝุความดี และเป็นเครื่องกระตุ้นผลักดันให้เกิดความรู้สึกผิดชอบ เกิดจิตส านึกที่ดีมีความสงบเย็นภายใน

จริยธรรม หมายถึง การครองตนและประพฤติปฏิบัติที่ถูกต้อง ดีงามเหมาะสมทั้งตามหลักกฎหมายและคุณธรรม ตลอดจนหลักแนวทางในวิชาชีพของตน โดยมุ่งประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตน เพ่ือให้สมาชิกในสังคมอยู่ร่วมกันได้อย่างสงบสุข

เป้าประสงค์ที่ 5.2 มหาวิทยาลัยมีวัฒนธรรมสีเขียว ตัวช้ีวัดที่ 5.2.1 ระดับผลสัมฤทธิ์ของการด าเนินงานตามเกณฑ์มหาวิทยาลัยสีเขียว หน่วยนับ ระดับ ค าอธิบาย พิจารณาจากระดับผลสัมฤทธิ์ของการด าเนินงานตามเกณฑ์มหาวิทยาลัยสีเขียว โดยสามารถใช้

ผลการด าเนินงานจากรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาของส่วนงาน ในรอบปีการศึกษา 2559 มารายงานได้

Page 20: (ร่าง) รายละเอียดค าอธิบาย ตัวชี้วัดค ารับรองการปฏิบัติงาน ... · (ร่าง)

( ร่ า ง ) ค า อ ธิ บ า ย ตั ว ชี้ วั ด ค า รั บ ร อ ง ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ข อ ง ส่ ว น ง า น ภ า ย ใ น ม ห า วิ ท ย า ลั ย | 20

ตัวช้ีวัด 5.2.2 จ านวนกิจกรรม/โครงการ/ผลงาน/งานวิจัย/นวัตกรรม ที่ส่งเสริมวัฒนธรรมสีเขียว ในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2560

หน่วยนับ โครงการ/กิจกรรม ค าอธิบาย พิจารณาจากจ านวนโครงการ/กิจกรรม/ผลงาน/งานวิจัย/นวัตกรรมที่ส่วนงานได้ด าเนินการในการ

ส่งเสริมวัฒนธรรมสีเขียวในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2560

วัฒนธรรมสีเขียว (Green Culture) หมายถึง การด าเนินงานที่ตระหนักถึงความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม โดยค านึงถึงการใช้ทรัพยากรร่วมกัน การลดความสูญเสีย มุ่งเน้นความประหยัด คุ้มค่า และเกิดประโยชน์แก่ส่วนรวม

เป้าประสงค์ที่ 5.3 มหาวิทยาลัยมีวัฒนธรรมสากล ตัวชี้วัด 5.3.1 จ านวนกิจกรรม/โครงการ/ผลงาน/งานวิจัย/นวัตกรรม ที่ส่งเสริมวัฒนธรรมสากล ในรอบ

ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 หน่วยนับ โครงการ/กิจกรรม ค าอธิบาย พิจารณาจากจ านวนกิจกรรมโครงการ/ผลงาน/งานวิจัย/นวัตกรรมที่ส่วนงานได้ด าเนินการในการ

ส่งเสริมวัฒนธรรมสากลในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2560

วัฒนธรรมสากล หมายถึง หมายถึง วัฒนธรรมที่เป็นที่ยอมรับกันทั่วไปอย่างกว้างขวางหรือเป็นอารยธรรมที่ได้รับการยอมรับและปฏิบัติตามกันทั่วโลก เช่น การแต่งกายชุดสากล การใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษากลางในการติดต่อสื่อสาร การปกครองในระบอบประชาธิปไตย การใช้เทคโนโลยีและระบบการสื่อสารที่ทันสมัย ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ มารยาทในการสมาคมความเสมอภาคและสิทธิมนุษยชน เป็นต้น

Page 21: (ร่าง) รายละเอียดค าอธิบาย ตัวชี้วัดค ารับรองการปฏิบัติงาน ... · (ร่าง)

( ร่ า ง ) ค า อ ธิ บ า ย ตั ว ชี้ วั ด ค า รั บ ร อ ง ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ข อ ง ส่ ว น ง า น ภ า ย ใ น ม ห า วิ ท ย า ลั ย | 21

ส่วนที่ 2 ตัวชี้วัดที่สอดคล้องกับแผนการส่งเสริมการใช้พลังงานอย่างยั่งยืน (Green University) ตัวชี้วัด 2.1 จ านวนโครงการ/กิจกรรม ที่ส่งเสริมสนับสนุนการด าเนินงานด้าน Green University ภายใน

มหาวิทยาลัย ในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 หน่วยนับ โครงการ/กิจกรรม ค าอธิบาย พิจารณาจากการด าเนินโครงการหรือกิจกรรมที่ตอบสนองแผนส่งเสริมการใช้พลังงานอย่างยั่งยืน

ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ที่ส่วนงานได้ด าเนินการในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 (รายละเอียดตามเอกสารแนบ)

ตัวช้ีวัด 2.2 ระดับผลสัมฤทธิ์ในการลดการใช้กระดาษ/พลาสติกภายในส่วนงาน หน่วยนับ ระดับ ค าอธิบาย พิจารณาจากระดับผลสัมฤทธิ์ในการลดการใช้กระดาษ/พลาสติกภายในส่วนงาน ดังนี้

ระดับ 1 มีนโยบายลดการใช้กระดาษ/พลาสติก ระดับ 2 มีการก าหนดแนวปฏิบัติเพ่ือลดการใช้กระดาษ ระดับ 3 มีการน าแนวปฏิบัติมาใช้ในการปฏิบัติงานของหน่วยงานในส่วนงานแล้ว ระดับ 4 มีการขยายแนวปฏิบัติไปสู่การปฏิบัติงานในหน่วยงานอ่ืนภายในส่วนงานด้วยแล้ว ระดับ 5 บุคลากรทั้งหมดในส่วนงานน าแนวปฏิบัติไปใช้ทุกหน่วยงานในส่วนงานด้วยแล้ว