40
คลงกาซเขาบอยาและคลังน้ํามันศรีราชา บริษัท ปตท. ากัด (มหาชน) บทที1 บทนํา

บทที่ 1 Draft · ตั้งอยู ที่เขาบ อยา อ.ศรีราชา จ.ชลบุรีในป พ.ศ. 2527 เพื่อขออน

  • Upload
    others

  • View
    1

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: บทที่ 1 Draft · ตั้งอยู ที่เขาบ อยา อ.ศรีราชา จ.ชลบุรีในป พ.ศ. 2527 เพื่อขออน

คลังกาซเขาบอยาและคลังนํ้ามันศรีราชา บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

บทท่ี 1

บทนํา

Page 2: บทที่ 1 Draft · ตั้งอยู ที่เขาบ อยา อ.ศรีราชา จ.ชลบุรีในป พ.ศ. 2527 เพื่อขออน

รางรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม บทที่ 1 บทนํา

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม 1-1 โครงการขยายทาเทียบเรือพรอมวางทอนํ้ามันใตทะเลและกอสรางถังเก็บผลิตภัณฑเพิ่มเติมของคลังกาซเขาบอยาและคลังนํ้ามันศรีราชา

1.1 เหตุผลความจําเปนในการดําเนนิโครงการ

คลังกาซเขาบอยาและคลังนํ้ามันศรีราชา ต้ังอยูท่ี ตําบลทุงสุขลา อําเภอศรีราชา จังหวดัชลบุรี อยูภายใตความรับผิดชอบและบริหารงานของฝายคลังปโตรเลียมภาคตะวันออก บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) มีภารกิจหลักในการเก็บสํารองผลิตภัณฑปโตรเลียมจากแหลงผลิตตางๆใหมีความเพียงพอ และจายไปตามความตองการของประเทศอยางท่ัวถึง

คลังกาซเขาบอยา เร่ิมเปดดําเนินการเมื่อป พ.ศ. 2527 ประกอบดวย ถังเก็บกาซแอลพีจีหรือกาซ

หุงตม จํานวน 8 ถัง ความจุรวม 59,000 ลบ.ม. ถังนํ้ามันจํานวน 3 ถัง ขนาดความจ ุ86,000 ลบ.ม. สามารถ

รับกาซ/นํ้ามันทางทอและทางเรือ เก็บสํารองกาซ/นํ้ามัน และจายกาซ/นํ้ามันออกทางทอ ทางรถยนตและทาง

เรือ โดยมีทอใตดินเชื่อมไปยังคลังนํ้ามันศรีราชาจํานวน 2 เสน คือ ทอขนาดเสนผานศูนยกลาง 24 น้ิว และ

36 น้ิว และมีทอใตดินเชื่อมไปยังโรงกล่ันนํ้ามันของบริษัท ไทยออยส จํากัด (มหาชน) จํานวน 1 เสน ขนาดเสน

ผานศูนยกลางทอ 6 น้ิว สวนของทาเทียบเรือขนถาย ประกอบดวย ทาเรือแบบสะพาน (Jetty) 3 ทา สําหรับเรือ

ขนาด 500-120,000 DWT

คลังนํ้ามนัศรีราชา เดิมเปนของบริษัท ซมัมทิ อินดัสเตรียล (ปานามา) จํากัด สรางข้ึนเพื่อเปนท่ีรับ

และเก็บสํารองนํ้ามันดิบจากตางประเทศ ตอมาบริษัทดังกลาวไดขายกิจการใหกับบริษัท คาลเท็กซ จํากัด โดยเมื่อป พ.ศ. 2526 ปตท. ไดซื้อกิจการและปรับปรุงการดําเนินการตางๆมาโดยลําดับ ปจจุบัน คลังนํ้ามัน ศรีราชา ประกอบดวย ถังนํ้ามัน จํานวน 34 ถัง ความจุรวม 753 ลานลิตร มีภารกิจในการรับนํ้ามนัทางทอ รถไฟ และทางเรือ เก็บสํารองนํ้ามัน และจายนํ้ามันทางทอ ทางเรือ และรถยนต สวนของทาเทียบเรือขนถาย ประกอบดวย ทาเรือแบบสะพาน (Jetty) 2 ทา สําหรับเรือขนาด 500-6,000 DWT ทาเทียบเรือกลางทะเล (Sea Berth) 2 ทา สําหรับเรือขนาด 1,000-80,000 DWT เชื่อมตอลานถังนํ้ามันดวยทอนํ้ามันใตทะเลจํานวน 3 ทอ ขนาดเสนผานศูนยกลางทอ 8 น้ิว 18 น้ิว และ 24 น้ิว

โดยท่ีผานมา คลังปโตรเลียมภาคตะวันออกไดมีการปรับปรุงการดําเนินงานมาโดยลําดับ และไดรับ

ความเห็นชอบในรายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม ดังน้ี

• รายงานการศึกษาผลกระทบส่ิงแวดลอมโครงการกอสรางทาเทียบเรือและคลังสํารองผลิตภัณฑ

ต้ังอยูท่ีเขาบอยา อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี ในป พ.ศ. 2527 เพื่อขออนุมัติกอสรางโครงการ

บทท่ี 1

บทนํา

Page 3: บทที่ 1 Draft · ตั้งอยู ที่เขาบ อยา อ.ศรีราชา จ.ชลบุรีในป พ.ศ. 2527 เพื่อขออน

รางรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม บทที่ 1 บทนํา

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม 1-2 โครงการขยายทาเทียบเรือพรอมวางทอนํ้ามันใตทะเลและกอสรางถังเก็บผลิตภัณฑเพิ่มเติมของคลังกาซเขาบอยาและคลังนํ้ามันศรีราชา

• รายงานการศึกษาผลกระทบส่ิงแวดลอม โครงการทาเทียบเรือของการปโตรเลียมแหงประเทศไทย

(ปตท.) ไดรับการพิจารณาเห็นชอบจากคณะกรรมการส่ิงแวดลอมแหงชาติ ตามหนังสือท่ี วพ

0504/4473 ลงวันท่ี 2 สิงหาคม พ.ศ. 2531

• รายงานการศึกษาผลกระทบส่ิงแวดลอม โครงการทาเทียบเรือและคลังปโตรเลียมของการ

ปโตรเลียมแหงประเทศไทย ไดรับความเห็นชอบจากสํานักงานนโยบายและแผนส่ิงแวดลอม ตาม

หนังสือท่ี วว 0804/659 ลงวันท่ี 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2535

• รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม โครงการปรับปรุงทาเทียบเรือ คลังนํ้ามันของการ

ปโตรเลียมแหงประเทศไทย ไดรับความเห็นชอบจากสํานักงานนโยบายและแผนส่ิงแวดลอม ตาม

หนังสือท่ี วว 0804/6121 ลงวันท่ี 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2538

โดยมาตรการปองกัน แกไขและลดผลกระทบส่ิงแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพ

ส่ิงแวดลอมท่ีไดรับความเห็นชอบในปพ.ศ. 2534 นับเปนมาตรการหลักท่ีใชถือปฏิบัติ เปนมาตรการท่ีสํานักงาน

คณะกรรมการส่ิงแวดลอมแหงชาติ ซึ่งเปนหนวยงานผูพิจารณารายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอมใน

ขณะน้ันใหความเห็นชอบ แมวาจะมีการเปล่ียนแปลงรายละเอียดการดําเนินโครงการดังรายงานฯฉบับป พ.ศ.

2538 ก็ตาม (สําเนาหนังสือเห็นชอบดังภาคผนวกที่ 1)

ปจจบุัน คลังปโตรเลียมภาคตะวันออก มคีวามประสงคท่ีจะเพิ่มประสิทธิภาพและความสามารถใน

การรับ-จาย และสํารองผลิตภัณฑปโตรเลียม ใหสามารถตอบสนองตอความตองการพลังงานของประเทศท่ี

เพิ่มสูงขึ้น โดยคลังกาซเขาบอยา มีแผนงานท่ีจะขยายทาเทียบเรือ โดยกอสรางทาเทียบเรือเพิ่มเติมจาํนวน 4

ทา ไดแก ทาเทียบเรือหมายเลข 1A ทาหมายเลข 1B ทาหมายเลข 2A และทาหมายเลข 3A เชื่อมตอกับ

สะพานทาเทียบเรือปจจุบัน การกอสรางถังกาซ LPG จํานวน 2 ถัง ถังกาซโพรเพนและบิวเทน จํานวน 2 ถัง

และถังนํ้ามัน จํานวน 2 ถัง เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการรองรับปริมาณการเทียบทาของเรือ และเพ่ิมการ

นําเขา-สงออก และการเก็บสํารองผลิตภัณฑปโตรเลียมใหสอดคลองกับการบริโภค

สําหรับคลังนํ้ามันศรีราชา จะมีการดําเนินงาน 3 สวน ไดแก การขยายทาเทียบเรือกลางทะเล

หมายเลข 4 พรอมการวางทอนํ้ามันใตทะเลขนาดเสนผานศูนยกลาง 24 น้ิว ขนานกับแนวทอนํ้ามันเดิมเขาสู

คลังนํ้ามันศรีราชา หรืออาจเชื่อมตอกับคลังกาซเขาบอยา การกอสรางถังนํ้ามันขนาด 60 ลานลิตร จํานวน 2

ถัง และการเดินทอเชื่อมระหวางถังนํ้ามันกับโรงกล่ันนํ้ามันไทยออยล เพื่อรับนํ้ามันจากโรงกล่ันนํ้ามันไทยออยล

มาเก็บในถังดังกลาว

จากการพจิารณากฎหมายและขอกําหนดท่ีเก่ียวของพบวา การขยายทาเทียบเรือเปนกิจกรรมท่ีตองมี

การจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม ตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ

ส่ิงแวดลอม เร่ือง กําหนดประเภทและขนาดของโครงการหรือกิจการ ซึ่งตองจัดทํารายงานการวิเคราะห

Page 4: บทที่ 1 Draft · ตั้งอยู ที่เขาบ อยา อ.ศรีราชา จ.ชลบุรีในป พ.ศ. 2527 เพื่อขออน

รางรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม บทที่ 1 บทนํา

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม 1-3 โครงการขยายทาเทียบเรือพรอมวางทอนํ้ามันใตทะเลและกอสรางถังเก็บผลิตภัณฑเพิ่มเติมของคลังกาซเขาบอยาและคลังนํ้ามันศรีราชา

ผลกระทบส่ิงแวดลอม และหลักเกณฑ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ และแนวทางการจัดทํารายงานการวิเคราะห

ผลกระทบส่ิงแวดลอม ลงวันท่ี 31 สิงหาคม 2552 และจากผลการพิจารณาของคณะกรรมการส่ิงแวดลอม

แหงชาติ คร้ังท่ี 4/2553 (นัดพิเศษ) พบวา โครงการอาจไมเขาขายประเภทโครงการหรือกิจการท่ีอาจมี

ผลกระทบรุนแรงทั้งทางดานคุณภาพส่ิงแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติ และสุขภาพ อยางไรก็ตาม ปตท. ได

พิจารณาแลวเห็นวาการปฏิบติัตามแนวทางที่เก่ียวของกับการประเมินผลกระทบดานสุขภาพ จะเปนประโยชน

อยางย่ิงตอประชาชนและผูมีสวนไดเสียกับการดําเนินงานของโครงการ เน่ืองจากจะทําใหทราบถึงผลกระทบท้ัง

ดานส่ิงแวดลอมและดานสุขภาพ ดังน้ัน การศึกษาในครั้งน้ี จึงยึดถือแนวทางการประเมินผลกระทบส่ิงแวดลอม

สําหรับโครงการหรือกิจกรรมท่ีอาจสงผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรง ท้ังทางดานคุณภาพส่ิงแวดลอม

ทรัพยากรธรรมชาติ และสุขภาพ เปนหลัก

การน้ี บริษัท ปตท. จาํกัด (มหาชน) จึงไดมอบหมายใหบริษัท เทสโก จํากัด ซึ่งเปนบริษัทท่ีปรึกษาท่ี

ขึ้นทะเบียนกับศูนยขอมูลท่ีปรึกษากระทรวงการคลัง เลขท่ี 50 ต้ังแต พ.ศ.2534 และไดรับใบอนุญาตใหเปนผูมี

สิทธิทํารายงาน เก่ียวกับการศึกษาและมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบตอคุณภาพส่ิงแวดลอมจาก

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม (สผ.) ตามใบอนุญาตเลขท่ี 15/2552 เปนผู

ศึกษาและจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม โครงการขยายทาเทียบเรือพรอมวางทอนํ้ามันใต

ทะเลและกอสรางถังเก็บผลิตภัณฑเพิ่มเติมของคลังกาซเขาบอยาและคลังนํ้ามันศรีราชา บริษัท ปตท. จํากัด

(มหาชน) และทําการปรับปรุงเน้ือหาและรูปแบบของรายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอมของคลังกาซ

เขาบอยาและคลังนํ้ามันศรีราชา ใหมีความครบถวนสมบูรณ ทันสมัย ครอบคลุมกิจกรรมสวนเพิ่มเติมตางๆ ท้ัง

ในปจจุบันและอนาคต และใหไดมาซึ่งมาตรการปองกัน แกไข และลดผลกระทบส่ิงแวดลอม รวมถึงมาตรการ

ติดตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอมในรูปของแผนปฏิบัติการดานส่ิงแวดลอมท่ีสอดรับกับกจิกรรมตางๆ ท่ี

ผานความเห็นชอบจากสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม และ/หรือ

คณะกรรมการผูชํานาญการพจิารณารายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม และ/หรือ คณะกรรมการ

ส่ิงแวดลอมแหงชาติ สําหรับใชประกอบการดําเนินงานโครงการในข้ันตอนตอไป

1.2 วัตถุประสงคของการศึกษาและจัดทํารายงาน

การศึกษาและจดัทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการขยายทาเทียบเรือพรอมวาง

ทอนํ้ามันใตทะเลและกอสรางถังเก็บผลิตภัณฑเพิ่มเติมของคลังกาซเขาบอยาและคลังนํ้ามันศรีราชา บริษัท

ปตท. จาํกัด (มหาชน) คร้ังน้ี มวีัตถุประสงคเพื่อ

1) เพื่อศึกษาเก่ียวกับรายละเอียดโครงการ เชน ท่ีต้ังโครงการ กิจกรรมการสูบถายและเก็บสํารอง

อุปกรณท่ีมีการติดต้ังเพิ่มเติม ระบบสาธารณูปโภคท่ีเก่ียวของ รวมท้ัง มลพษิดานตางๆ ท่ีเกิดขึ้นเน่ืองจากการ

ดําเนินโครงการ เพื่อใหเกิดความเขาใจในลักษณะของกิจกรรมและผลกระทบท่ีจะเกิดขึ้น

Page 5: บทที่ 1 Draft · ตั้งอยู ที่เขาบ อยา อ.ศรีราชา จ.ชลบุรีในป พ.ศ. 2527 เพื่อขออน

รางรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม บทที่ 1 บทนํา

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม 1-4 โครงการขยายทาเทียบเรือพรอมวางทอนํ้ามันใตทะเลและกอสรางถังเก็บผลิตภัณฑเพิ่มเติมของคลังกาซเขาบอยาและคลังนํ้ามันศรีราชา

2) เพื่อศึกษาสภาพแวดลอมปจจบุันบริเวณพื้นท่ีโครงการและใกลเคียงในรัศมี 5 กิโลเมตร ท้ัง

ทางดานทรัพยากรสิ่งแวดลอมทางกายภาพ ทรัพยากรส่ิงแวดลอมทางชีวภาพ คุณคาการใชประโยชนของ

มนุษย และคุณคาตอคุณภาพชีวิต รวมท้ัง ศึกษาถึงปจจัยกําหนดสุขภาพของประชาชนท่ีอยูใกลเคียงพื้นท่ี

โครงการ

3) เพื่อวิเคราะหและประเมินผลกระทบของโครงการท่ีจะเกิดขึ้นตามขอบเขตในขอ 2) เพื่อใหทราบ

ถึงแนวโนมของการเปล่ียนแปลงของสภาพแวดลอมและสุขภาพเน่ืองจากการดําเนินงานของโครงการ

4) เพื่อเสนอมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอม รวมท้ัง มาตรการติดตามตรวจสอบ

คุณภาพส่ิงแวดลอม เพื่อเปนการเฝาระวังการเปล่ียนแปลงของสภาพแวดลอมเนื่องจากการดําเนินโครงการ

5) เพื่อศึกษาและประเมินผลกระทบดานสุขภาพจากการดําเนินโครงการของพนักงานของโครงการ

และประชาชนท่ีอาศัยอยูใกลเคียงพื้นท่ีโครงการ

1.3 ขอบเขตและวิธีการศึกษา

1.3.1 ขอบเขตการศึกษาเชิงพื้นที่

การศึกษาและจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม โครงการขยายทาเทียบเรือพรอมวาง

ทอนํ้ามันใตทะเลและกอสรางถังเก็บผลิตภัณฑเพิ่มเติมของคลังปโตรเลียมภาคตะวันออกในครั้งน้ี เบื้องตนได

กําหนดขอบเขตการศึกษาครอบคลุมพื้นท่ีโครงการและพ้ืนท่ีเก่ียวของในรัศมี 5 กิโลเมตร จากท่ีต้ังโครงการ

ตามแนวทางที่ใชท่ัวไปในการประเมินผลกระทบส่ิงแวดลอมโครงการดานคมนาคม ซึ่งไดเสนอแนะไวโดย

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม (สผ.) โดยจะครอบคลุมพื้นท่ีของเทศบาลนคร

แหลมฉบัง เทศบาลตําบลเจาพระยาสุรศักด์ิ และเทศบาลตําบลบางละมุง

1.3.2 ขอบเขตการศึกษาเชิงวิชาการ

สําหรับขอบเขตและวิธีการศึกษา จะเปนไปตามแนวทางในการจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบ

ส่ิงแวดลอมสําหรับโครงการดานคมนาคม และแนวทางการประเมินผลกระทบทางสุขภาพในรายงานการ

วิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม เสนอโดยสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

รวมท้ังหลักเกณฑ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติท่ีเก่ียวของ ประกอบกับประสบการณของบริษทัท่ีปรึกษา โดยมีการ

ปรับวิธีการศึกษาใหเหมาะสมกับโครงการดังน้ี

Page 6: บทที่ 1 Draft · ตั้งอยู ที่เขาบ อยา อ.ศรีราชา จ.ชลบุรีในป พ.ศ. 2527 เพื่อขออน

รางรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม บทที่ 1 บทนํา

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม 1-5 โครงการขยายทาเทียบเรือพรอมวางทอนํ้ามันใตทะเลและกอสรางถังเก็บผลิตภัณฑเพิ่มเติมของคลังกาซเขาบอยาและคลังนํ้ามันศรีราชา

1) ศึกษารายละเอียดและกิจกรรมของโครงการฯ และระบบท่ีเก่ียวของของคลังปโตรเลียมภาค

ตะวันออกท้ังหมด (คลังกาซเขาบอยาและคลังนํ้ามันศรีราชา) รวมส่ิงกอสรางท่ีปรับปรุงเปล่ียนแปลงไปและ

โครงการปรับปรุงเปล่ียนแปลงในอนาคตตางๆ เชน องคประกอบ ขัน้ตอนการดําเนินงาน การออกแบบและกอสราง

ระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการและการบริหารจัดการดานตางๆ เชน ระบบปองกันและแกไขนํ้ามันหก

ร่ัวไหล ระบบความปลอดภัยและอาชวีอนามยั ระบบการปองกันอันตรายรายแรง ระบบการควบคุมมลพษิ และ

การจัดการส่ิงแวดลอมอื่นๆ เปนตน เพื่อใหเขาใจกิจกรรมของโครงการในสภาพปจจบุนัและสวนท่ีจะมีการ

ดําเนินการเพิ่มเติมในครั้งน้ี

2) ศึกษาขอมูลสภาพแวดลอมและคุณภาพส่ิงแวดลอมในปจจบุนัของพื้นท่ีโครงการและพ้ืนท่ี

ใกลเคียง โดยครอบคลุมปจจัยทรัพยากรส่ิงแวดลอมท้ัง 4 ดาน คือ ทรัพยากรส่ิงแวดลอมทางกายภาพ

ทรัพยากรส่ิงแวดลอมทางชีวภาพ คุณคาการใชประโยชนของมนุษย และคุณคาตอคุณภาพชีวิต โดยจะมีการ

ทบทวนผลการดําเนินการตามแผนการติดตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอม โดยเนนขอมูล Monitor ซึ่งมีการ

ติดตามตรวจสอบมาอยางตอเน่ือง และ/หรือสํารวจขอมูลสภาพแวดลอมในปจจุบันท่ีจําเปนและเพียงพอตอ

การนําไปประกอบการพิจารณาผลกระทบท่ีอาจจะเกิดขึ้นจากกิจกรรมตางๆ ของคลังปโตรเลียมภาคตะวันออก

3) จัดเตรียมและดําเนินการแผนงานการมีสวนรวมของประชาชนสําหรับผูเก่ียวของตามแนวทางของ

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม และ/หรือระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวย

การรับฟงความคิดเห็นของประชาชน พ.ศ. 2548 และ/หรือ กฎหมายท่ีเก่ียวของ โดยระบุเวลา ความถ่ี ลักษณะ

กิจกรรมท่ีดําเนินการ วัตถุประสงค กลุมเปาหมาย เทคนิคการดําเนินงาน ระดับขอมลูโครงการท่ีเผยแพร

รวมถึงวางแผนและดําเนินการชี้แจงขอมูลท่ีเหมาะสม และสอดคลองกับวตัถุประสงคการดําเนินกิจกรรมการมี

สวนรวมของประชาชนในแตละระยะ พรอมกบัประเมินผลของการดําเนินงานและวิเคราะหประเด็นปญหา หรือ

ความคิดเห็นของชุมชนตอโครงการ โดยเรียงลําดับความสําคัญของปญหาในแตละพื้นท่ีใหครบถวน และ

เสนอแนะแนวทางหรือแผนงานท่ีควรจะดําเนินการปรับปรุงแกไขในชวงตอไป

4) วิเคราะหและประเมินผลกระทบจากกิจกรรมของคลังปโตรเลียมภาคตะวันออก รวมท้ังโครงการ

ในอนาคต ท่ีคาดวาจะเกิดขึ้นตอส่ิงแวดลอม สุขภาพอนามัยของประชาชน และดานความเสี่ยงท่ีจะเกิด

อันตรายรายแรง ท้ังในระยะกอนการกอสราง ระยะกอสราง และระยะดําเนินการ โดยเปรียบเทียบกับมาตรฐาน

ท่ีเก่ียวของ รวมท้ังกฎเกณฑตางๆท่ีประกาศไวในพื้นท่ีน้ันๆและสรุปเปนประเด็นผลกระทบท่ีมีนัยสําคัญเพื่อ

กําหนดกลยุทธ และมาตรการลดหรือปองกันผลกระทบท่ีอาจเกิดขึ้น

5) ศึกษาสภาพปจจุบันและการเปล่ียนแปลงภาวะทางสุขภาพอนามัยของพนักงานของบริษทั

รวมท้ังประชาชนท่ีอาศัยอยูโดยรอบ และประเมินผลกระทบตอสุขภาพจากโครงการโดยพิจารณาจากกิจกรรม

ของโครงการ มลพิษและการจดัการ สภาพแวดลอมของพื้นท่ีในปจจุบันและขอมูลดานสุขภาพอนามัยรวมกัน

Page 7: บทที่ 1 Draft · ตั้งอยู ที่เขาบ อยา อ.ศรีราชา จ.ชลบุรีในป พ.ศ. 2527 เพื่อขออน

รางรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม บทที่ 1 บทนํา

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม 1-6 โครงการขยายทาเทียบเรือพรอมวางทอนํ้ามันใตทะเลและกอสรางถังเก็บผลิตภัณฑเพิ่มเติมของคลังกาซเขาบอยาและคลังนํ้ามันศรีราชา

6) ทบทวนมาตรการท่ีโครงการกําหนดไวเดิมวามีความเหมาะสมเพียงพอหรือไม พรอมเสนอ

มาตรการเพิ่มเติม ใหครอบคลุมผลกระทบท่ีคาดวาจะมตีอทรัพยากรส่ิงแวดลอม และสุขภาพอนามัยของ

ประชาชน โดยจะเสนอวิธีการและมาตรการควบคุมมลพษิและการจัดการดานส่ิงแวดลอมใหเหมาะสม และ

สอดคลองกับระดับของผลกระทบน้ันๆ รวมทั้งสอดคลองกับแผนปฏิบัติการดานส่ิงแวดลอมของคลังปโตรเลียม

ภาคตะวันออกและโครงการในอนาคต 7) เสนอแผนปฏิบติัการดานส่ิงแวดลอมท่ีครอบคลุมแนวทางและวิธีการในการติดตามตรวจสอบ

ผลกระทบของการดําเนินกิจกรรมของคลังปโตรเลียมภาคตะวันออก รวมท้ังโครงการในอนาคตตอส่ิงแวดลอมและ

สุขภาพอนามัยของประชาชน โดยกําหนดดัชนีชี้วัดใหสอดคลองกับผลกระทบส่ิงแวดลอมท่ีอาจเกิดขึ้น รวมถึงการ

ระบุคามาตรฐานท่ียอมรับได หรือขอกําหนดกฎหมายท่ีเก่ียวของประกอบการพิจารณาดวย เพื่อประโยชนใน

การตรวจสอบประสิทธิภาพ และปรับปรุงแกไขมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอมท่ีไดกําหนดไว

ใหเหมาะสม

1.4 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ

สืบเน่ืองจากบริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) มคีวามตองการท่ีจะปรับปรุงคลังปโตรเลียมภาคตะวันออก

เพื่อรองรับการขยายตัวทางธุรกิจและปริมาณการบริโภคผลิตภัณฑปโตรเลียมในประเทศ ท่ีเพิ่มขึ้นสอดคลอง

กับปริมาณการนําเขาสงออกผลิตภัณฑปโตรเลียมท้ังนํ้ามันดิบ นํ้ามันสําเร็จรูป กาซโพรเพน กาซบวิเทน

และกาซแอลพจีี ดังน้ัน การดําเนินโครงการขยายทาเทียบเรือพรอมวางทอนํ้ามันใตทะเลและกอสรางถังเก็บ

ผลิตภัณฑเพิ่มเติมของคลังปโตรเลียมภาคตะวันออกในครั้งน้ี จึงจะเปนการเพิ่มประสิทธิภาพและ

ความสามารถในการรับ-จาย และสํารองปโตรเลียม ใหสามารถตอบสนองตอความตองการเชื้อเพลิงและ

พลังงานท่ีเพิ่มขึ้นในภูมิภาคตางๆ ไดอยางท่ัวถึงมากยิ่งขึ้น 1.5 ข้ันตอนการดําเนินโครงการ

การดําเนินโครงการ จะใชเวลาในการดําเนินงานตั้งแตเร่ิมการศึกษา ออกแบบ กอสรางและติดต้ังอุปกรณ

และเคร่ืองจักร ซึ่งจะใชเวลาแตกตางกันไปในแตละกิจกรรม ท้ังน้ีแผนการดําเนินโครงการในแตละกิจกรรมแสดง

ไดดังตารางที่ 1.5-1

Page 8: บทที่ 1 Draft · ตั้งอยู ที่เขาบ อยา อ.ศรีราชา จ.ชลบุรีในป พ.ศ. 2527 เพื่อขออน

รางรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม บทที่ 1 บทนํา

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม 1-7 โครงการขยายทาเทียบเรือพรอมวางทอน้ํามันใตทะเลและกอสรางถังเก็บผลิตภัณฑเพิ่มเติมของคลังกาซเขาบอยาและคลังน้ํามันศรีราชา

ตารางที่ 1.5-1 แผนการดาํเนินโครงการขยายทาเทียบเรือพรอมวางทอน้ํามันใตทะเลและกอสรางถังเก็บผลิตภัณฑเพิ่มเติมของคลังกาซเขาบอยาและคลังน้ํามันศรรีาชา

1-7

Page 9: บทที่ 1 Draft · ตั้งอยู ที่เขาบ อยา อ.ศรีราชา จ.ชลบุรีในป พ.ศ. 2527 เพื่อขออน

รางรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม บทที่ 1 บทนํา

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม 1-8 โครงการขยายทาเทียบเรือพรอมวางทอนํ้ามันใตทะเลและกอสรางถังเก็บผลิตภัณฑเพิ่มเติมของคลังกาซเขาบอยาและคลังนํ้ามันศรีราชา

1.6 การกล่ันกรองโครงการเพ่ือพิจารณาทางเลือกในการดําเนนิโครงการ

ในการดําเนินโครงการขยายทาเทียบเรือพรอมวางทอนํ้ามันใตทะเลและกอสรางถังเก็บผลิตภัณฑ

เพิ่มเติมของคลังกาซเขาบอยาและคลังนํ้ามันศรีราชา ไดมีการศึกษาขอมูลเพื่อนํามาพจิารณากําหนด

ทางเลือกในการดําเนินการ โดยประกอบดวยทางเลือกในการพัฒนาโครงการ และทางเลือกในดานท่ีต้ัง

โครงการตางๆ ท้ังการขยายทาเทียบเรือ แนวการวางทอนํ้ามนัใตทะเล และการกอสรางถังเก็บผลิตภัณฑ

1.6.1 ทางเลือกในการพัฒนาโครงการ

1.6.1.1 กรณีไมมีโครงการ ในกรณีท่ีไมมีการพัฒนาโครงการตามท่ีปตท.ไดมีการวางแผนไว จะทําใหไมสามารถเพิ่มความ

สามารถในการรับจาย และเก็บสํารองผลิตภัณฑปโตรเลียมตางๆ ใหทันกับความตองการภายในประเทศใน

ปจจบุัน และมแีนวโนมสูงขึ้นในอนาคตได 1.6.1.2 กรณีมีโครงการ ในกรณีท่ีมีการพัฒนาโครงการตามแผนท่ีไดมีการวางไว จะทําใหคลังกาซเขาบอยาและคลังนํ้ามัน

ศรีราชามีความสามารถในการรับจายและเก็บสํารองผลิตภัณฑปโตรเลียมตางๆ ไดมากขึ้น ท้ังนํ้ามันประเภท

ตางๆ และกาซหุงตม สามารถรองรับความตองการดานการใชพลังงานภายในประเทศท้ังในปจจุบันและ

อนาคตไดอยางมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะสงผลดีตอเศรษฐกิจในภาพรวมของประเทศ 1.6.2 ทางเลือกดานที่ตั้งโครงการในการขยายทาเทียบเรือ

1.6.2.1 การขยายทาเทียบเรือของคลังกาซเขาบอยา

จากโครงสรางสะพานทาเทียบเรือปจจุบัน ท่ีประกอบดวยทาเทียบเรือหมายเลข 1 2 และ 3 น้ัน เมื่อ

พิจารณาความเหมาะสมในการขยายทาเทียบเรือจะพบวา สามารถกอสรางทาเทียบเรือโดยตอขยายลงมา

ทางทิศใต จึงเปนท่ีมาของทาเทียบเรือหมายเลข 1A และ 1B ซึ่งมีขอดีคือ เปนบริเวณท่ีมีความลึก เรือใหญ

สามารถเขาเทียบทาไดสะดวก หรือ อาจใชแนวทางการกอสรางทาเรือท่ีมีลักษณะเปน Mirror Image กับทา

เทียบเรือหมายเลข 2 และ 3 จึงเปนท่ีมาของทาเรือหมายเลข 2A และ 3A ซึ่งกรณีน้ีเปนแผนงานท่ีเคยวางไว

ต้ังแตแรก โดยทางเลือกท้ัง 2 กรณีมีความเปนไปไดทางดานวิศวกรรม

Page 10: บทที่ 1 Draft · ตั้งอยู ที่เขาบ อยา อ.ศรีราชา จ.ชลบุรีในป พ.ศ. 2527 เพื่อขออน

รางรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม บทที่ 1 บทนํา

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม 1-9 โครงการขยายทาเทียบเรือพรอมวางทอนํ้ามันใตทะเลและกอสรางถังเก็บผลิตภัณฑเพิ่มเติมของคลังกาซเขาบอยาและคลังนํ้ามันศรีราชา

1.6.2.2 การขยายทาเทียบเรือหมายเลข 6 และ 7 ของคลังน้ํามันศรรีาชา เปนทางเลือกท่ีจะขยายทาเทียบเรือหมายเลข 6 และ 7 ของคลังนํ้ามันศรีราชาใหสามารถรับเรือ

ขนาดใหญขึ้นได ซึ่งจะมีขอดีในเรื่องของวิธีการในการกอสราง เน่ืองจากมีลักษณะเปนสะพานทาเทียบเรือท่ี

รถสามารถเขาไปถึงยังปลายทาได ทําใหมีความสะดวกในการขนสงวัสดุอุปกรณในการกอสรางตลอดจน

คนงานตางๆ แตอยางไรก็ดี แนวทางการขยายทาเทียบเรือน้ีก็มีขอดอยหลายประการ ไดแก ความลึกท่ีหนา

ทาคอนขางนอย ทําใหเรือขนาดใหญไมสามารถเขามาเทียบทาได อาจทําใหไมสามารถใชงานทาเทียบเรือ

สวนขยายน้ีไดอยางคุมคาเทาท่ีควร นอกจากน้ี เน่ืองจากในบริเวณน้ีมีทาเทียบเรืออยูหลายทา ซึ่งการขยายทา

เทียบเรือน้ีจะทําใหเรือท่ีจะเขามาเทียบทาตองใชวงเล้ียวของเรือเพิ่มขึ้น ซึง่อาจจะทับกบัวงเล้ียวของเรือท่ีจะ

เขาเทียบทาในทาเทียบเรือท่ีอยูใกลเคียง อาจทําใหเกิดอุบติัเหตุได และในระหวางการกอสราง อาจกีดขวาง

เสนทางเดินเรือของชาวบานและชาวประมงในพื้นท่ีได

1.6.2.3 การขยายทาเทียบเรือกลางทะเลหมายเลข 4 ของคลังน้ํามันศรีราชา

เปนทางเลือกท่ีจะทําการขยายทาเทียบเรือกลางทะเลหมายเลข 4 ของคลังนํ้ามันศรีราชาใหสามารถ

รับเรือขนาดใหญขึ้นได โดยไมไดมีการกอสรางโครงสรางตอเชื่อมออกไปแตอยางใด เปนเพียงการเพิ่มความ

แข็งแรงใหกับโครงสรางทางดานวิศวกรรมท่ีมีอยูเทาน้ัน ซึ่งจะมีขอดีตรงท่ีทาเทียบเรือน้ีต้ังอยูหางชายฝง

ประมาณ 1,352 เมตร มีความลึกท่ีหนาทามาก ทําใหเรือบรรทุกขนาดใหญสามารถเขาจอดเทียบทาได ทําให

ลดคาใชจายในการขนสงตอเท่ียวลงได แตมขีอเสียตรงท่ีเปนทาเทียบเรือท่ีต้ังอยูกลางทะเล ไมมีทางเชือ่มเขา

สูฝง จึงจําเปนตองใชเรือในการขนสงวัสดุอุปกรณท่ีใชในการกอสราง แตจากท่ีกลาวไปขางตนวาเปนเพียงการ

เพิ่มความแข็งแรงของโครงสรางเทาน้ัน มิใชการกอสรางทาเทียบเรือ จึงไมจําเปนตองมีการขนสงวัสดุกอสราง

ในจํานวนมากแตอยางใด 1.6.3 ทางเลือกดานที่ตั้งโครงการในการวางทอน้ํามันใตทะเล 1.6.3.1 การวางทอน้ํามันใตทะเลจากทาเทียบเรือกลางทะเลเขาสูคลังน้ํามันศรีราชา

เปนแนวทางท่ีจะวางทอนํ้ามนัใตทะเลจากทาเทียบเรือกลางทะเลเขาสูคลังนํ้ามันศรีราชา โดยจะวาง

ขนานกับแนวทอใตทะเลเดิมท่ีมีอยู 3 ทอ เขาสูคลังนํ้ามันศรีราชา ซึ่งมีขอดีคือ แนวทางน้ีจะมีระบบทอทาง

ของคลังนํ้ามันศรีราชารองรับอยูแลว ไมจําเปนตองมีการสรางใหม นอกจากน้ียังเปนการวางตามแนวทอเดิม

จึงไมตองมีการเปดพื้นท่ีใหม จึงไมมีผลกระทบตอระบบนิเวศทางทะเลและสัตวหนาดินมากนัก แตแนวทางน้ี

อาจมีขอเสียตรงท่ีเปนการกอสรางใกลกับแนวทอเดิม ซึ่งตองมีมาตรการดานความปลอดภัยท่ีเหมาะสม เพื่อ

ไมใหเกิดผลกระทบตอทอนํ้ามนัท่ีมีอยูเดิม

Page 11: บทที่ 1 Draft · ตั้งอยู ที่เขาบ อยา อ.ศรีราชา จ.ชลบุรีในป พ.ศ. 2527 เพื่อขออน

รางรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม บทที่ 1 บทนํา

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม 1-10 โครงการขยายทาเทียบเรือพรอมวางทอนํ้ามันใตทะเลและกอสรางถังเก็บผลิตภัณฑเพิ่มเติมของคลังกาซเขาบอยาและคลังนํ้ามันศรีราชา

1.6.3.2 การวางทอน้ํามันใตทะเลจากทาเทียบเรือกลางทะเลเขาสูคลังกาซเขาบอยา

เปนแนวทางท่ีจะวางทอนํ้ามนัใตทะเลจากทาเทียบเรือกลางทะเลเขาสูคลังกาซเขาบอยา โดยจะวาง

แนวทอใหมมาเชื่อมตอกบัทาเทียบเรือของคลังกาซเขาบอยา ซึ่งมีขอดีคือ จะเปนการชวยกระจายสถานท่ี

รองรับนํ้ามันใหสามารถสํารองไวท่ีคลังกาซเขาบอยาไดมากข้ึน แตมีขอเสียคือ ยังไมมีระบบทอทางรองรับ จึง

จําเปนตองมีการสรางข้ึนใหม นอกจากน้ี ยังเปนการวางแนวทอใหมซึง่อาจสงผลกระทบตอระบบนิเวศทาง

ทะเลและสัตวหนาดินตลอดแนวทอได กับอาจมีผลกระทบกับการทําประมงเรือเล็กท่ีจะตองหลีกเล่ียงพื้นท่ี

วางทอท่ีเปนแนวใหม และในระยะท่ีมีการวางทอ เรือท่ีใชในการกอสรางอาจไปกีดขวางเสนทางเดินเรือท่ีจะ

เขาเทียบทาของคลังกาซเขาบอยา ทําใหเกิดอุบัติเหตุได

1.6.4 ทางเลือกดานที่ตั้งโครงการในการกอสรางถังเก็บผลิตภัณฑ

การกอสรางถังเก็บผลิตภัณฑตางๆของโครงการ ไดมีการวางแผนและจัดเตรียมพื้นท่ีรวมถึงระบบ

สาธารณูปโภคตางๆไวต้ังแตเร่ิมมีการกอสรางคลังกาซเขาบอยาและคลังนํ้ามันศรีราชาแลว ทําใหไมตองมกีาร

เปดพื้นท่ีใหม ซึง่ถือวามีความเหมาะสม จึงไมมีแนวทางเลือกในกรณีการกอสรางถังเก็บผลิตภัณฑแตอยางใด 1.6.5 สรุปทางเลือกโครงการ จากท่ีกลาวมาขางตนสามารถสรุปไดวา ในการดําเนินโครงการขยายทาเทียบเรอืพรอมวางทอนํ้ามัน

ใตทะเลและกอสรางถังเก็บผลิตภัณฑเพิ่มเติมของคลังกาซเขาบอยาและคลังนํ้ามันศรีราชาในครั้งน้ี จะมีการ

ขยายทาเทียบเรือกลางทะเลหมายเลข 4 ของคลังนํ้ามันศรีราชา รวมท้ังวางทอนํ้ามันใตทะเลจากทาเทียบเรือ

กลางทะเลหมายเลข 4 ไปยังคลังนํ้ามันศรีราชา และกอสรางถังเก็บผลิตภัณฑตามแผนงานท่ีไดวางไวต้ังแต

เร่ิมกอสรางคลังฯ นอกจากน้ี ยังมีการกอสรางทาเทียบเรือหมายเลข 1A และ 1B หรือ ทาเทียบเรือหมายเลข

2A และ 3A ของคลังกาซเขาบอยาดวย 1.7 ผลการปฏิบัติตามมาตรการดานสิ่งแวดลอมที่ไดรับความเห็นชอบ

1.7.1 การปฏิบัติตามมาตรการปองกันและลดผลกระทบสิ่งแวดลอม

คลังปโตรเลียมภาคตะวันออกซึ่งประกอบดวย คลังกาซเขาบอยาและคลังนํ้ามันศรีราชา มีกจิกรรม

หลักในการสํารองนํ้ามันดิบและผลิตภัณฑ รวมถึงการขนถายผลิตภัณฑไปยังท่ีตางๆ ซึ่งไมมีกระบวนการผลิต

ใดๆ การดําเนินงานของคลังปโตรเลียมภาคตะวันออก จึงไมสงผลกระทบตอคุณภาพส่ิงแวดลอมมากนัก ซึ่ง

ในรายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม ไดกําหนดมาตรการปองกันและลดผลกระทบส่ิงแวดลอมใน

ระยะดําเนินการ ซึ่งคลังปโตรเลียมภาคตะวันออกไดถอืปฏิบัติเสมอมา ดังรายละเอียดผลการปฏิบัติตาม

มาตรการตางๆ ดังตอไปน้ี

Page 12: บทที่ 1 Draft · ตั้งอยู ที่เขาบ อยา อ.ศรีราชา จ.ชลบุรีในป พ.ศ. 2527 เพื่อขออน

รางรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม บทที่ 1 บทนํา

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม 1-11 โครงการขยายทาเทียบเรือพรอมวางทอนํ้ามันใตทะเลและกอสรางถังเก็บผลิตภัณฑเพิ่มเติมของคลังกาซเขาบอยาและคลังนํ้ามันศรีราชา

1. การถือปฏิบตัติามกฎระเบยีบเพ่ือความปลอดภัย

คลังกาซเขาบอยาและคลังนํ้ามันศรีราชามปีระกาศ เร่ือง ความปลอดภัยท่ัวไปสําหรับสายปฏิบัติการ

รวมท้ังประกาศคําส่ังท่ีเก่ียวของกับมาตรการรักษาความปลอดภัยทาเทียบเรือและพื้นท่ีอื่นๆ ในบริเวณคลัง

เพื่อใหเจาหนาท่ีและพนักงานถือปฏิบัติอยางเครงครัด ท้ังน้ี คลังกาซเขาบอยาและคลังนํ้ามันศรีราชาไดจดัทํา

รายงานการตรวจความปลอดภัยของพื้นท่ีตางๆ ภายในคลัง และจัดทําคูมอืการปฏิบัติงานสําหรับผูรับเหมาท่ี

เขาทํางานภายในคลัง รวมท้ังมีการอบรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงานใหแกพนักงาน ผูรับเหมา และ

หัวหนางานเปนประจํากอนเขาปฏิบัติงานในพื้นท่ี

2. การตรวจสอบและตรวจซอมอุปกรณ

การดําเนินงานของคลังปโตรเลียมภาคตะวันออกไดจัดทําแผนตรวจสอบและตรวจซอมอปุกรณตางๆ

เปนประจําทุกป ประกอบดวย การตรวจสอบอุปกรณในสวนของคลังปโตรเลียม และการตรวจสอบอุปกรณ

ดับเพลิงตางๆ โดยจัดทําเปนแผนประจําป ซึ่งจะมกีารกําหนดระยะเวลาการตรวจสอบ การซอมบํารุง และ

ระบุผูรับผิดชอบ รวมท้ังมกีารรายงานผลการบํารุงรักษาและทดสอบสภาพการใชงานของอุปกรณดับเพลิง

ตามแผน

3. การฝกซอมดบัเพลิงและการฝกซอมแผนฉุกเฉิน

คลังกาซเขาบอยาและคลังนํ้ามันศรีราชา ไดกําหนดแผนการฝกซอมดับเพลิง การฝกซอมแผนฉุกเฉิน

และการฝกซอมแผนฉุกเฉินนํ้ามันร่ัวไหล ซึง่ไดกําหนดเปนแผนประจําป เพื่อใหเจาหนาท่ี รวมถึงพนักงาน

ภายในคลังไดถือปฏิบัติอยางปลอดภัย ภายในแผนปฏิบัติฉุกเฉินประกอบดวย

1) การสมมติเหตุการณฉุกเฉิน

2) แนวทางรับสถานการณ

3) โอกาสและความเสียหายในกรณีเหตุการณน้ันควบคุมไมได

4) แผนผังจุดเกิดเหตุ

5) แนวทางปฏิบัติในการลดเชื้อเพลิง

6) แนวทางปฏิบัติในการควบคุมผจญเพลิง

7) คําแนะนําอื่นๆ

8) แผนผังโดยรวม

Page 13: บทที่ 1 Draft · ตั้งอยู ที่เขาบ อยา อ.ศรีราชา จ.ชลบุรีในป พ.ศ. 2527 เพื่อขออน

รางรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม บทที่ 1 บทนํา

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม 1-12 โครงการขยายทาเทียบเรือพรอมวางทอนํ้ามันใตทะเลและกอสรางถังเก็บผลิตภัณฑเพิ่มเติมของคลังกาซเขาบอยาและคลังนํ้ามันศรีราชา

4. การติดตามผลการแกไขปญหาการพังทลายของหินบริเวณเขาบอยาและการตรวจสอบขนาดของหินหลน

ในชวงแรกของการดําเนินงาน คลังกาซเขาบอยาไดมีการปลูกตนกระถินเพื่อปองกันการพังทลายของ

หนาดิน ซึ่งภายหลังไดมีการปรับเปล่ียนเปนการปลูกพืชคลุมดินแทน เน่ืองจากปองกันการพังทลายไดดีกวา

นอกจากน้ี ยังไดมีมาตรการปองกันการพังทลายของหิน โดยติดต้ังร้ัวตาขายลวดเหล็กในบริเวณท่ีมีความเสี่ยง

ตอการพังทลายของหิน และจากการติดตามตรวจสอบขนาดของหินหลนในระยะเวลาท่ีผานมา ยังไมพบหิน

ขนาดใหญ ในระดับ Bolder 0.5-3 เมตร หลนแตอยางใด แสดงใหเห็นวาร้ัวตาขายดังกลาวสามารถปองกัน

อันตรายจากการรวงหลนของดินและหินไดอยางมีประสิทธภิาพ ซึ่งไดมีการตรวจสอบสภาพความแข็งแรงของ

ร้ัวตาขายลวดเหล็กเปนประจําอยางตอเน่ือง

1.7.2 การปฏิบัติตามมาตรการตดิตามตรวจสอบคุณภาพสิง่แวดลอม

คุณภาพส่ิงแวดลอมท่ีไดกาํหนดใหดําเนินการติดตามตรวจสอบ ตามมาตรการติดตามตรวจสอบ

คุณภาพส่ิงแวดลอมท่ีกาํหนดไวในรายงานการวิเคราะหและประเมินผลกระทบส่ิงแวดลอม ไดแก คุณภาพ

อากาศ คุณภาพนํ้าท้ิง และคุณภาพนํ้าทะเลชายฝง ซึ่งไดกาํหนดใหมีการติดตามตรวจสอบปละ 2 คร้ัง ดัง

รายละเอียดผลการติดตามตรวจสอบตอไปน้ี

1. ผลการติดตามตรวจสอบคณุภาพอากาศในบรรยากาศ

การตรวจวัดคุณภาพอากาศในบรรยากาศท่ัวไป ตามมาตรการท่ีระบุในรายงานการวิเคราะหและ

ประเมินผลกระทบส่ิงแวดลอม ป พ.ศ. 2534 ซึ่งจัดทําโดยบริษัท เทสโก จาํกัด จุดตรวจวดัคุณภาพอากาศได

กําหนดไวบริเวณหมูบานติดดานทิศตะวันออกของคลังสํารองผลิตภัณฑเขาบอยาหรือบริเวณใกลเคียง ทําการ

ตรวจวัดปละ 1 คร้ัง ในชวงฤดูมรสุมตะวันตกเฉียงใต (ระหวางเดือนมิถุนายน-กันยายน) ดัชนีตรวจวดัไดแก

ปริมาณฝุนละออง (TSP) และซัลเฟอรไดออกไซด (SO2) และนอกจากน้ี ควรไดมีการตรวจวัดคา TSP และ

SO2 ภายในคลังกาซเขาบอยา ปละ 1 คร้ัง เพื่อเปนขอมลูอางอิงแนวโนมคุณภาพอากาศ ในสวนของคลัง

นํ้ามันศรีราชาไมจําเปนตองมกีารติดตามตรวจสอบคุณภาพอากาศ เน่ืองจากไมมีแหลงกําเนิดมลสารท่ีสําคัญ

ในพื้นท่ีดังกลาว

ท้ังน้ี คลังปโตรเลียมศรีราชา หรือในปจจบุนัคลังปโตรเลียมภาคตะวันออก ไดดําเนินการตรวจวัด

คุณภาพอากาศในบรรยากาศท่ัวไปเร่ือยมาจนถึงปจจบุัน ความถ่ีในการตรวจวัด 2 คร้ังตอป ในชวงเดือน

มกราคม-กุมภาพันธ (ฤดูแลง) และชวงเดือนสิงหาคม-กันยายน (ฤดูฝน) โดยมีสถานีตรวจวัดบริเวณคลังกาซ

เขาบอยา ชมุชนใกลเคียงคลังกาซเขาบอยา และคลังนํ้ามันศรีราชา รวม 4 สถานี คือ

Page 14: บทที่ 1 Draft · ตั้งอยู ที่เขาบ อยา อ.ศรีราชา จ.ชลบุรีในป พ.ศ. 2527 เพื่อขออน

รางรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม บทที่ 1 บทนํา

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม 1-13 โครงการขยายทาเทียบเรือพรอมวางทอนํ้ามันใตทะเลและกอสรางถังเก็บผลิตภัณฑเพิ่มเติมของคลังกาซเขาบอยาและคลังนํ้ามันศรีราชา

สถานีท่ี 1 บริเวณคลังกาซเขาบอยา

สถานีท่ี 2 หมูบานดานทิศตะวันออกของคลังกาซเขาบอยา

สถานีท่ี 3 บริเวณอาคารวิเคราะหคุณภาพ แผนกวิเคราะหคุณภาพผลิตภัณฑภาคตะวันออก

(ใกลเคียงคลังกาซเขาบอยา)

สถานีท่ี 4 บริเวณคลังนํ้ามันศรีราชา

ดัชนีการตรวจวัด ไดแก ปริมาณฝุนละอองท้ังหมด (TSP) ปริมาณซัลเฟอรไดออกไซด (SO2) ปริมาณ

ไฮโดรคารบอน (THC) พรอมกับการวัดความเร็วและทิศทางลม ดังรายละเอียดผลการตรวจวัดคุณภาพ

อากาศตอไปน้ี

• คลังกาซเขาบอยาและชุมชนใกลเคียง

คลังปโตรเลียมภาคตะวันออกไดติดตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอม โดยดําเนินการตรวจวัด

คุณภาพอากาศในบรรยากาศท่ัวไป บริเวณคลังกาซเขาบอยา ชุมชนใกลเคียงคลังฯ และบริเวณอาคาร

วิเคราะหคุณภาพ แผนกวิเคราะหคุณภาพผลิตภัณฑภาคตะวันออก ในชวงปพ.ศ. 2549-2552 พบวามี

ปริมาณฝุนละอองท้ังหมด (Total Suspended Particulate) และกาซซัลเฟอรไดออกไซด (Sulfur Dioxide) อยู

ในเกณฑมาตรฐานตามประกาศคณะกรรมการส่ิงแวดลอมแหงชาติ ฉบับท่ี 24 (พ.ศ. 2547) เร่ือง กําหนด

มาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยท่ัวไป กําหนดใหมีปริมาณฝุนละอองท้ังหมดไมเกิน 0.33 mg/m3

และประกาศคณะกรรมการส่ิงแวดลอมแหงชาติ ฉบบัท่ี 21 (พ.ศ. 2544) เร่ือง กําหนดมาตรฐานคากาซ

ซัลเฟอรไดออกไซดในบรรยากาศโดยท่ัวไปในเวลา 1 ชั่วโมง กําหนดใหมีคาไมเกิน 0.30 mg/m3 ตามลําดับ

ดังตารางที่ 1.7-1 โดยคาดังกลาวมีแนวโนมการเปล่ียนแปลงไมแตกตางกันมากนักในแตละจุดเก็บตัวอยาง

และมีบางปท่ีพบวาจุดตรวจวัดบริเวณคลังกาซเขาบอยา มีคามลสารตํ่ากวาจุดตรวจวัดบริเวณชุมชนดานทิศ

ตะวันออกของคลังฯ ซึ่งแสดงใหเห็นวาการดําเนินงานของคลังฯ นาจะสงผลกระทบตอชุมชนบริเวณใกลเคียง

นอยมาก (ดังรปูที่ 1.7-1)

นอกจากน้ี ยังไดมีการตรวจวัดปริมาณไฮโดรคารบอน (Total Hydrocarbon) โดยคาการตรวจวัด

บริเวณคลังกาซเขาบอยา มีคาอยูในชวง 2.14-4.430 ppm บริเวณชุมชนใกลเคียงคลังฯ มีคา 1.960-5.860

ppm และบริเวณอาคารวิเคราะหคุณภาพ แผนกวิเคราะหคุณภาพผลิตภัณฑภาคตะวันออก มีคา 2.12-4.66

ppm ท้ังน้ี ปจจุบันยังไมไดมีการกําหนดมาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศท่ัวไป สําหรับคาไฮโดรคารบอน

ในบรรยากาศ ดังตารางที่ 1.7-1 โดยในระหวางป พ.ศ. 2549-2552 คา Hydrocarbon ท่ีตรวจวัดได มีคาไม

แตกตางกันมากนักและมีแนวโนมท่ีจะลดลง (รูปที่1.7-1)

Page 15: บทที่ 1 Draft · ตั้งอยู ที่เขาบ อยา อ.ศรีราชา จ.ชลบุรีในป พ.ศ. 2527 เพื่อขออน

รางรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม บทที่ 1 บทนํา

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม 1-14 โครงการขยายทาเทียบเรือพรอมวางทอน้ํามันใตทะเลและกอสรางถังเก็บผลิตภัณฑเพิ่มเติมของคลังกาซเขาบอยาและคลังน้ํามันศรีราชา

ตารางที่ 1.7-1 สรุปผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศในบรรยากาศ บริเวณคลังกาซเขาบอยา ระหวางป พ.ศ. 2549-2552

ผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศในบรรยากาศ ป 2549* ป 2550* ป 2551** ป 2552** รายละเอียด

ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2

มาตรฐานคุณภาพอากาศ

1. คลังกาซเขาบอยา

- Total Suspended Particulates (mg/m3)

- Sulfur dioxide (mg/m3)

- Total Hydrocarbon (ppm)

0.071

<0.001

3.83

0.067

<0.001

3.12

0.066

<0.001

2.49

0.042

<0.001

2.14

0.042

0.012

3.88

0.041

0.021

3.18

0.067

0.022

3.61

0.090

0.036

4.43

0.331

0.302

-

2. หมูบานดานทิศตะวันออกคลังกาซเขาบอยา

- Total Suspended Particulates (mg/m3)

- Sulfur dioxide (mg/m3)

- Total Hydrocarbon (ppm)

0.078

0.002

3.72

0.047

<0.001

2.93

0.125

<0.001

2.39

0.097

0.005

1.96

0.037

0.009

2.95

0.059

0.031

5.86

0.052

0.024

4.02

0.067

0.035

3.34

0.331

0.302

-

3. อาคารวิเคราะหคุณภาพ

- Total Suspended Particulates (mg/m3)

- Sulfur dioxide (mg/m3)

- Total Hydrocarbon (ppm)

0.074

0.008

4.44

0.036

<0.001

3.12

0.047

<0.001

2.53

0.041

<0.001

2.12

0.038

0.014

3.42

0.049

0.022

4.66

0.061

0.016

3.86

0.057

0.036

3.79

0.331

0.302

-

ที่มา : *ฝายสิ่งแวดลอมนิเวศวิทยาและพลังงาน สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย

**ภาควิชาวิศวกรรมสุขาภิบาล คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล

หมายเหตุ : 1ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับที่ 24 (พ.ศ. 2547) เรื่อง กําหนดมาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป ลงวันที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2547

2ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับที่ 21 (พ.ศ. 2544) เรื่อง กําหนดมาตรฐานคากาซซัลเฟอรไดออกไซดในบรรยากาศโดยทั่วไปในเวลา 1 ชั่วโมง ลงวันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2544

1-14

Page 16: บทที่ 1 Draft · ตั้งอยู ที่เขาบ อยา อ.ศรีราชา จ.ชลบุรีในป พ.ศ. 2527 เพื่อขออน

รางรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม บทที่ 1 บทนํา

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม 1-15 โครงการขยายทาเทียบเรือพรอมวางทอนํ้ามันใตทะเลและกอสรางถังเก็บผลิตภัณฑเพิ่มเติมของคลังกาซเขาบอยาและคลังนํ้ามันศรีราชา

รูปที่ 1.7-1 คณุภาพในบรรยากาศทั่วไปบริเวณคลังกาซเขาบอยา

Page 17: บทที่ 1 Draft · ตั้งอยู ที่เขาบ อยา อ.ศรีราชา จ.ชลบุรีในป พ.ศ. 2527 เพื่อขออน

รางรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม บทที่ 1 บทนํา

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม 1-16 โครงการขยายทาเทียบเรือพรอมวางทอนํ้ามันใตทะเลและกอสรางถังเก็บผลิตภัณฑเพิ่มเติมของคลังกาซเขาบอยาและคลังนํ้ามันศรีราชา

นอกจากน้ี ในป พ.ศ.2551-2552 ไดมีการตรวจวัดปริมาณสารอินทรียระเหยงาย (VOCs) ในบรรยากาศ

ซึ่งพบวาบริเวณคลังกาซเขาบอยา มีคา VOCs อยูในชวง 0.64-1.82 ppm หมูบานดานทิศตะวันออกของคลังฯ มี

คา VOCs 0.44-1.29 ppm และบริเวณอาคารวิเคราะหคุณภาพ แผนกวิเคราะหคุณภาพผลิตภัณฑภาคตะวันออก

(บริเวณใกลเคียงคลังกาซเขาบอยา) มีคา VOCs อยูในชวง 0.39-2.52 ppm ดังตารางที่ 1.7-2 ซึ่งปจจบุนัยงัไมได

มีการกําหนดมาตรฐานคุณภาพอากาศสําหรับคา VOCs รวมในบรรยากาศแตอยางใด

ตารางที่ 1.7-2 สรุปผลการตรวจวัดปริมาณสารอินทรียระเหยงาย (VOCs) บรเิวณคลังกาซเขาบอยา

ผลการตรวจวัด VOCs ในบรรยากาศ (ppm) ป 2551 ป 2552 รายละเอียด

ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2

มาตรฐาน คุณภาพอากาศ

1. คลังกาซเขาบอยา 1.62 0.72-1.13 0.64-1.12 0.69-1.82

2. หมูบานดานทิศตะวันออกคลังกาซเขาบอยา

0.74 0.75-3.15 0.44-1.29 0.45-1.20

3. อาคารวิเคราะหคุณภาพ 1.18 0.39-2.52 0.53-1.18 0.85-1.52

-

ที่มา : ภาควิชาวิศวกรรมสุขาภิบาล คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล

• คลังน้ํามันศรรีาชา

จากการดําเนินงานติดตามตรวจสอบคุณภาพอากาศ บริเวณคลังนํ้ามันศรีราชา (จุดตรวจวัดบริเวณ

ดานหนาอาคารลานถังนํ้ามัน) ในปพ.ศ. 2549-2552 ซึ่งไดมีการตรวจวัดปริมาณฝุนละอองท้ังหมด (Total

Suspended Particulate) กาซซัลเฟอรไดออกไซด (Sulfur Dioxide) และไฮโดรคารบอน (Hydrocarbon)

พบวามีคาฝุนละอองท้ังหมดอยูในชวง 0.022-0.061 mg/m3 และกาซซัลเฟอรไดออกไซดมีคา <0.001-

0.046 mg/m3 มีคาอยูในเกณฑมาตรฐานตามประกาศคณะกรรมการส่ิงแวดลอมแหงชาติ ฉบับท่ี 24 (พ.ศ. 2547)

เร่ือง กําหนดมาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยท่ัวไป และมาตรฐานตามประกาศคณะกรรมการ

ส่ิงแวดลอมแหงชาติ ฉบบัท่ี 21 (พ.ศ. 2544) เร่ือง กาํหนดมาตรฐานคากาซซัลเฟอรไดออกไซดในบรรยากาศ

โดยท่ัวไปในเวลา 1 ชั่วโมง ตามลําดับ (ตารางที่ 1.7-3) ซึ่งเปนผลจากการปฏิบัติตามมาตรการตางๆ อยาง

เครงครัดดังท่ีไดยึดถือปฏิบัติเสมอมา

Page 18: บทที่ 1 Draft · ตั้งอยู ที่เขาบ อยา อ.ศรีราชา จ.ชลบุรีในป พ.ศ. 2527 เพื่อขออน

รางรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม บทที่ 1 บทนํา

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม 1-17 โครงการขยายทาเทียบเรือพรอมวางทอนํ้ามันใตทะเลและกอสรางถังเก็บผลิตภัณฑเพิ่มเติมของคลังกาซเขาบอยาและคลังนํ้ามันศรีราชา

นอกจากน้ีแลว ยังไดมีการตรวจวัดปริมาณไฮโดรคารบอนในบรรยากาศ โดยพบวามีคาอยูในชวง 3.12-

1.01 ppm ดังตารางที่ 1.7-3 ซึ่งปจจุบันยงัมิไดมีการกําหนดคามาตรฐานสําหรับคาไฮโดรคารบอนในบรรยากาศ

ในประเทศไทยแตอยางใด และเมื่อพิจารณาแนวโนมการเปล่ียนแปลงคาการตรวจวัดในชวงป พ.ศ. 2549-2552

พบวาปริมาณไฮโดรคารบอนในบรรยากาศบริเวณคลังนํ้ามันศรีราชามีแนวโนมท่ีจะลดตํ่าลงดังรูปที่ 1.7-2

Page 19: บทที่ 1 Draft · ตั้งอยู ที่เขาบ อยา อ.ศรีราชา จ.ชลบุรีในป พ.ศ. 2527 เพื่อขออน

รางรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม บทที่ 1 บทนํา

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม 1-18 โครงการขยายทาเทียบเรือพรอมวางทอน้ํามันใตทะเลและกอสรางถังเก็บผลิตภัณฑเพิ่มเติมของคลังกาซเขาบอยาและคลังน้ํามันศรีราชา

ตารางที่ 1.7-3 สรุปผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศในบรรยากาศ บริเวณคลังน้ํามันศรีราชา ระหวางป พ.ศ. 2549-2552

ผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศในบรรยากาศ ป 2549* ป 2550* ป 2551** ป 2552** รายละเอียด

ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2

มาตรฐานคุณภาพอากาศ

1. คลังน้ํามันศรีราชา

- Total Suspended Particulates (mg/m3)

- Sulfur dioxide (mg/m3)

- Total Hydrocarbon (ppm)

0.060

0.002

3.51

0.036

<0.001

3.12

0.060

0.004

3.23

0.022

0.003

3.64

-

-

-

-

-

-

0.046

0.028

4.01

0.061

0.046

3.37

0.331

0.302

-

ที่มา : *ฝายสิ่งแวดลอมนิเวศวิทยาและพลังงาน สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย

**ภาควิชาวิศวกรรมสุขาภิบาล คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล

หมายเหตุ : 1ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับที่ 24 (พ.ศ. 2547) เรื่อง กําหนดมาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป ลงวันที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2547

2ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับที่ 21 (พ.ศ. 2544) เรื่อง กําหนดมาตรฐานคากาซซัลเฟอรไดออกไซดในบรรยากาศโดยทั่วไปในเวลา 1 ชั่วโมง ลงวันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2544

1-18

Page 20: บทที่ 1 Draft · ตั้งอยู ที่เขาบ อยา อ.ศรีราชา จ.ชลบุรีในป พ.ศ. 2527 เพื่อขออน

รางรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม บทที่ 1 บทนํา

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม 1-19 โครงการขยายทาเทียบเรือพรอมวางทอนํ้ามันใตทะเลและกอสรางถังเก็บผลิตภัณฑเพิ่มเติมของคลังกาซเขาบอยาและคลังนํ้ามันศรีราชา

รูปที่ 1.7-2 คณุภาพอากาศในบรรยากาศบริเวณคลังน้าํมันศรีราชา

และนอกจากน้ี ยังไดมีการตรวจวัดคาสารอนิทรียระเหยงาย (VOCs) ในบรรยากาศ บริเวณคลังนํ้ามัน

ศรีราชา จุดตรวจวัดบริเวณดานหนาอาคารลานถังนํ้ามัน ในป พ.ศ. 2552 ผลการตรวจวัดแสดงในตารางที่ 1.7-4

Page 21: บทที่ 1 Draft · ตั้งอยู ที่เขาบ อยา อ.ศรีราชา จ.ชลบุรีในป พ.ศ. 2527 เพื่อขออน

รางรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม บทที่ 1 บทนํา

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม 1-20 โครงการขยายทาเทียบเรือพรอมวางทอนํ้ามันใตทะเลและกอสรางถังเก็บผลิตภัณฑเพิ่มเติมของคลังกาซเขาบอยาและคลังนํ้ามันศรีราชา

ตารางที่ 1.7-4 ผลการตรวจวัดปริมาณสารอินทรียระเหยงาย (VOCs) บริเวณคลังน้าํมันศรีราชา

ผลการตรวจวัด VOCs ในบรรยากาศ (ppm) ป พ.ศ. 2552 รายละเอียด

ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2

มาตรฐาน คุณภาพอากาศ

1. คลังนํ้ามันศรีราชา

บริเวณดานหนาอาคารลานถังนํ้ามัน 0.56-1.440 0.92-1.210 -

จากรายละเอียดผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพอากาศบริเวณคลังปโตรเลียมภาคตะวันออก (คลังกาซ

เขาบอยาและคลังนํ้ามันศรีราชา) จะเห็นวาการดําเนินงานของคลังฯ ไมสงผลกระทบท่ีสําคัญตอคุณภาพอากาศ

ในบรรยากาศ โดยพบวามีคาฝุนละอองท้ังหมดและคากาซซัลเฟอรไดออกไซดอยูในเกณฑมาตรฐานตามท่ีหนวยงาน

ราชการกําหนด

2. ผลการติดตามตรวจสอบคณุภาพน้ํา

มาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอม ท่ีระบุในรายงานการศึกษาวิเคราะหและประเมินผล

กระทบส่ิงแวดลอม ป พ.ศ. 2534 ซึ่งจดัทําโดยบริษัท เทสโก จํากัด ไดกําหนดใหคลังปโตรเลียมศรีราชา หรือคลัง

ปโตรเลียมภาคตะวันออกในปจจุบัน ตองมีการตรวจวัดคุณภาพนํ้า ซึ่งประกอบดวย

2.1 การตรวจวัดลักษณะสมบัตินํ้าท้ิงจากโครงการ

จุดตรวจวัดดังตอไปน้ี

1) บอพักนํ้าสามเหล่ียม บริเวณคลังสํารองผลิตภัณฑเขาบอยา

2) บอพักสุดทายของ API Separator คลังนํ้ามันศรีราชา กอนระบายลงพื้นท่ีติดตอกับเอสโซ-ปตท.

ใหติดตามตรวจสอบปละ 2 คร้ัง คือ กลางฤดูฝน (ประมาณเดือนสิงหาคม-กันยายน) และในชวงฤดู

แลง (ประมาณเดือนมกราคม-กุมภาพันธ) โดยมีพารามิเตอรท่ีตรวจวัด ดังน้ี

- BOD

- Grease and Oil

- Suspended Solids

- Total Solids

Page 22: บทที่ 1 Draft · ตั้งอยู ที่เขาบ อยา อ.ศรีราชา จ.ชลบุรีในป พ.ศ. 2527 เพื่อขออน

รางรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม บทที่ 1 บทนํา

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม 1-21 โครงการขยายทาเทียบเรือพรอมวางทอนํ้ามันใตทะเลและกอสรางถังเก็บผลิตภัณฑเพิ่มเติมของคลังกาซเขาบอยาและคลังนํ้ามันศรีราชา

2.2 การตรวจวัดคุณภาพนํ้าทะเล

กําหนดจุดเก็บตัวอยางคุณภาพนํ้าทะเล ดังน้ี

1) ปลายสุดทาเทียบเรือคลังสํารองผลิตภัณฑเขาบอยา (Berth No.1)

2) ปลายสุดทาเทียบเรือคลังนํ้ามันศรีราชา

ใหติดตามตรวจสอบปละ 2 คร้ัง คือ กลางฤดูฝน (ประมาณเดือนสิงหาคม-กันยายน) และในชวงฤดู

แลง (ประมาณเดือนมกราคม-กุมภาพันธ) เชนกัน โดยมีพารามิเตอรท่ีตรวจวัด ดังน้ี

- BOD

- Grease and Oil

- Suspended Solids

รายละเอียดผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพนํ้าของคลังปโตรเลียมภาคตะวันออก มีดังน้ี

• คลังกาซเขาบอยา

1) คุณภาพน้ําทิ้ง

คลังกาซเขาบอยาไดมีการตรวจวัดคุณภาพนํ้าท้ิง ตามท่ีระบุในรายงานการศึกษาวิเคราะหและ

ประเมินผลกระทบส่ิงแวดลอมของคลังปโตรเลียมภาคตะวันออกเรื่อยมาจนถึงปจจบุัน โดยทําการเก็บตัวอยาง

นํ้าท้ิง บริเวณบอพักนํ้าสามเหลี่ยม ความถ่ี 2 คร้ัง/ป ครอบคลุมชวงฤดูแลงและฤดูฝน

ผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพนํ้าท้ิงในบอพักนํ้าสามเหลี่ยม ในป พ.ศ. 2549-2552 พบวาคา

ดัชนีการตรวจวัดสวนใหญมีคาอยูในเกณฑมาตรฐาน ตามประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและส่ิงแวดลอม

ฉบับท่ี 3 (พ.ศ. 2539) เร่ือง กําหนดมาตรฐานควบคุมการระบายนํ้าท้ิงจากแหลงกําเนิดประเภทโรงงานอุตสาหกรรม

และนิคมอุตสาหกรรม และประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับท่ี 2 (พ.ศ. 2539) เร่ือง กําหนดคุณลักษณะของน้ํา

ท้ิงท่ีระบายออกจากโรงงาน ยกเวนในป พ.ศ. 2550 (คร้ังท่ี 1) ท่ีพบวามีคา COD สูงเกินคามาตรฐานดังกลาว ไดมี

การปรับปรุงแกไขจนมีคาอยูในเกณฑมาตรฐาน ซึ่งแสดงใหเห็นวามาตรการในการแกไขไดดําเนินการอยางถูกตอง

และมีประสิทธิภาพ (ตารางที่ 1.7-5)

โดยพบวาในชวงป พ.ศ. 2549-2552 ดัชนีการตรวจวิเคราะหในบอพักนํ้าสามเหล่ียม คลังกาซเขา

บอยา ซึ่งไดแก คา BOD คา COD ปริมาณ SS ปริมาณ TS และคา Grease and Oil มีแนวโนมลดตํ่าลง ดังรูปที ่

1.7-3 ซึ่งแสดงใหเห็นวาคลังฯ ไดมีการแกไขและปฏิบัติตามมาตรการตางๆ อยางตอเน่ืองเสมอมา

Page 23: บทที่ 1 Draft · ตั้งอยู ที่เขาบ อยา อ.ศรีราชา จ.ชลบุรีในป พ.ศ. 2527 เพื่อขออน

รางรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม บทที่ 1 บทนํา

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม 1-22 โครงการขยายทาเทียบเรือพรอมวางทอน้ํามันใตทะเลและกอสรางถังเก็บผลิตภัณฑเพิ่มเติมของคลังกาซเขาบอยาและคลังน้ํามันศรีราชา

ตารางที่ 1.7-5 สรุปผลการตดิตามตรวจสอบวัดคุณภาพน้ําทิ้ง บริเวณคลังกาซเขาบอยา ระหวางป พ.ศ. 2549-2552

บอพักน้ําสามเหลี่ยม คลังกาซเขาบอยา ป 2549* ป 2550* ป 2551** ป 2552** ดัชนีการตรวจวัด

ครั้งที่1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 มาตรฐาน/1 มาตรฐาน/2

pH 6.9 7.8 7.9 8.0 7.5 7.4 7.4 8.0 5.0-9.0 5.0-9.0 COD (mg/l) 82.0 - 138.0 52.0 40.0 60.0 28.0 12.0 <120 <120 BOD (mg/l) 10.0 4.8 7.0 1.0 5.0 10.0 3.5 4.0 <20 <20 Suspended Solid (mg/l) 3.5 8.0 9.0 10.0 5.0 7.5 5.0 3.0 <50 <50 TS (mg/l) - 556.0 1,066.0 964.0 - - - 268.0 <3,000*** <3,000*** TKN (mg/l) 1.31 0.84 1.7 0.93 1.68 1.68 0.54 0.50 <100 <100 Grease and Oil (mg/l) 1.5 0.9 ND 0.8 0.5 0.5 0.1 <0.1 <5.0-15 <5.0-15 Lead (mg/l) <0.2 <0.2 <0.2 <0.2 0.005 0.005 0.002 0.002 <0.2 <0.2 ที่มา : *ฝายสิ่งแวดลอมนิเวศวิทยาและพลังงาน สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย

**ภาควิชาวิศวกรรมสุขาภิบาล คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล

หมายเหตุ : 1มาตรฐานตามประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2539) เรื่อง กําหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน้ําทิ้งจากแหลงกําเนิดประเภทโรงงานอุตสาหกรรม

และนิคมอุตสาหกรรม

2 ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2539) เรื่อง กําหนดคุณลักษณะของน้ําทิ้งที่ระบายออกจากโรงงาน

ND = Not Detectable

1-22

Page 24: บทที่ 1 Draft · ตั้งอยู ที่เขาบ อยา อ.ศรีราชา จ.ชลบุรีในป พ.ศ. 2527 เพื่อขออน

รางรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม บทที่ 1 บทนํา

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม 1-23 โครงการขยายทาเทียบเรือพรอมวางทอนํ้ามันใตทะเลและกอสรางถังเก็บผลิตภัณฑเพิ่มเติมของคลังกาซเขาบอยาและคลังนํ้ามันศรีราชา

รูปที่ 1.7-3 คณุภาพน้ําทิ้งบอพักน้ําสามเหลี่ยมคลังกาซเขาบอยา

Page 25: บทที่ 1 Draft · ตั้งอยู ที่เขาบ อยา อ.ศรีราชา จ.ชลบุรีในป พ.ศ. 2527 เพื่อขออน

รางรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม บทที่ 1 บทนํา

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม 1-24 โครงการขยายทาเทียบเรือพรอมวางทอนํ้ามันใตทะเลและกอสรางถังเก็บผลิตภัณฑเพิ่มเติมของคลังกาซเขาบอยาและคลังนํ้ามันศรีราชา

รูปที่ 1.7-3 คณุภาพน้ําทิ้งบอพักน้ําสามเหลี่ยมคลังกาซเขาบอยา (ตอ-1)

นอกจากน้ี ในป 2551-2552 ไดมีการตรวจวิเคราะหคุณภาพนํ้าท้ิงในบอพักสุดทายของ API Separator

คลังกาซเขาบอยา ดําเนินการโดยภาควิชาวิศวกรรมสุขาภิบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ผลการตรวจวิเคราะห พบวาดัชนี

ตรวจวัดทุกคาอยูในเกณฑมาตรฐานตามประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและส่ิงแวดลอม ฉบับท่ี 3 (พ.ศ.

2539) เร่ือง กําหนดมาตรฐานควบคุมการระบายนํ้าท้ิงจากแหลงกําเนิดประเภทโรงงานอุตสาหกรรมและนิคม

อุตสาหกรรม และประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับท่ี 2 (พ.ศ. 2539) เร่ือง กําหนดคุณลักษณะของนํ้าท้ิงท่ีระบาย

ออกจากโรงงาน ยกเวนคา COD ท่ีพบวายังมคีาสูงเกินคามาตรฐานในบางคา ซึ่งทางคลังฯ ไดมีการปรับปรุงแกไขจนมี

คาอยูในเกณฑมาตรฐาน ดังตารางที่ 1.7-6 โดยจะเห็นวาคลังปโตรเลียมภาคตะวันออกไดใหความสําคัญกับการ

ปฏิบัติตามมาตรการแกไขและลดผลกระทบส่ิงแวดลอมท่ีอาจเกิดข้ึนจากการดําเนินกิจกรรมของคลังฯ อยางตอเน่ือง

Page 26: บทที่ 1 Draft · ตั้งอยู ที่เขาบ อยา อ.ศรีราชา จ.ชลบุรีในป พ.ศ. 2527 เพื่อขออน

รางรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม บทที่ 1 บทนํา

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม 1-25 โครงการขยายทาเทียบเรือพรอมวางทอนํ้ามันใตทะเลและกอสรางถังเก็บผลิตภัณฑเพิ่มเติมของคลังกาซเขาบอยาและคลังนํ้ามันศรีราชา

ตารางที ่1.7-6 สรุปผลการตดิตามตรวจสอบคุณภาพน้าํทิ้งในบอ API คลังกาซเขาบอยา ระหวางป พ.ศ.2551-2552

ผลการตรวจวิเคราะหน้ําทิ้งจากบอ API ป 2551 ป 2552 ดัชนีการตรวจวิเคราะห

ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้ง 1 ครั้งที่ 2 มาตรฐาน1 มาตรฐาน2

pH 7.4 7.6 7.6 7.1 5.0-9.0 5.0-9.0 COD (mg/l) 132 32.0 36.0 80.0 <120 <120 BOD (mg/l) 19.0 5.0 4.0 14.5 <20 <20 Suspended Solid (mg/l) 8.0 4.0 5.0 12.0 <50 <50 TKN (mg/l) 3.95 2.80 0.48 1.54 <100 <100 Grease and Oil (mg/l) 5.0 3.2 0.4 6.5 <5.0-15 <5.0-15 Lead (mg/l) 0.007 0.003 0.002 0.003 <0.2 <0.2

ที่มา : ภาควิชาวิศวกรรมสุขาภิบาล คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล

ND = Not Detectable

หมายเหตุ : 1มาตรฐานตามประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและส่ิงแวดลอม ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2539) เร่ือง กําหนด

มาตรฐานควบคุมการระบายน้ําทิ้งจากแหลงกําเนิดประเภทโรงงานอุตสาหกรรม และนิคมอุตสาหกรรม

2 ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2539) เร่ือง กําหนดคุณลักษณะของน้ําทิ้งที่ระบายออกจากโรงงาน

2) คุณภาพน้ําทะเลชายฝง

ตลอดการดําเนินงานของคลังกาซเขาบอยา ไดมีการติดตามตรวจสอบคุณภาพนํ้าทะเลชายฝงอยาง

ตอเน่ือง ปละ 2 คร้ัง ครอบคลุมชวงฤดูแลงและฤดูฝน ตามรายงานการศึกษาวิเคราะหและประเมินผลกระทบ

ส่ิงแวดลอมท่ีกําหนดใหมีการตรวจวัดคุณภาพนํ้าทะเลชายฝงบริเวณปลายสุดทาเทียบเรือคลังสํารองผลิตภัณฑ

เขาบอยา (Berth No.1) ซึ่งผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพนํ้าทะเลชายฝง ในชวงปพ.ศ. 2549-2552 พบวามี

คุณภาพดี โดยมีดัชนีการตรวจวัดทุกคา รวมถึง Total Coliform Bacteria และ Fecal Coliform Bacteria อยูใน

เกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้าทะเล ตามประกาศคณะกรรมการส่ิงแวดลอมแหงชาติ ฉบับท่ี 27 (พ.ศ. 2549) เร่ือง

กําหนดมาตรฐานคุณภาพนํ้าทะเล (คุณภาพนํ้าทะเลประเภทท่ี 5 เพื่อการอุตสาหกรรมและทาเรือ) โดยมีคา DO

อยูในชวง 3.1-8.4 mg/l คา BOD อยูในชวง 0.7-2.4 mg/l และคา SS อยูในชวง 2.6-56.0 mg/l ดังตารางที่ 1.7-7

จึงถือไดวาคุณภาพนํ้าทะเลดังกลาวไดรับผลกระทบจากการดําเนินงานของคลังกาซเขาบอยานอยมาก และมี

แนวโนมคุณภาพในทางท่ีดีขึ้น ซึ่งเปนผลจากการปฏิบัติตามมาตรการดานส่ิงแวดลอมอยางตอเน่ืองเครงครัด ดังรูปที่ 1.7-4

Page 27: บทที่ 1 Draft · ตั้งอยู ที่เขาบ อยา อ.ศรีราชา จ.ชลบุรีในป พ.ศ. 2527 เพื่อขออน

รางรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม บทที่ 1 บทนํา

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม 1-26 โครงการขยายทาเทียบเรือพรอมวางทอนํ้ามันใตทะเลและกอสรางถังเก็บผลิตภัณฑเพิ่มเติมของคลังกาซเขาบอยาและคลังนํ้ามันศรีราชา

นอกจากน้ี ยังไดมีการเก็บและวิเคราะหคุณภาพนํ้าทะเลเพิ่มเติม จากจุดเก็บตัวอยางท่ีระบุใน

รายงานการศึกษาวิเคราะหและประเมินผลกระทบส่ิงแวดลอม โดยในป พ.ศ. 2549-2550 สถาบันวิจัย

วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (วว.) ไดเก็บและวิเคราะหตัวอยางนํ้าทะเล บริเวณปลายสุดทาเทียบ

เรือหมายเลข 3 (Berth No.3) เพิ่มขึ้นจากจุดเดิม ซึ่งพบวานํ้าทะเลบริเวณดังกลาวมีคุณภาพดี อยูในเกณฑ

มาตรฐานตามประกาศคณะกรรมการส่ิงแวดลอมแหงชาติ ฉบับท่ี 27 (พ.ศ. 2549) เร่ืองกําหนดมาตรฐานคุณภาพ

นํ้าทะเล (คุณภาพนํ้าทะเลประเภทท่ี 5 เพื่อการอุตสาหกรรมและทาเรือ) เชนเดียวกัน โดยมีคา DO อยูในชวง 6.4-

7.6 mg/l คา SS อยูในชวง 25-63 mg/l คา BOD อยูในชวง 1.8-2.6 mg/l และคา Grease and Oil 0.7-1.6 mg/l

และในป พ.ศ. 2551-2552 การติดตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอม ซึ่งดําเนินการโดยภาควิชา

วิศวกรรมสุขาภิบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ไดเพิ่มเติมจุดเก็บตัวอยางข้ึนจากท่ีระบุในรายงานฯ 2 สถานี คือ สถานี

หางจากหนาทาเทียบเรือไปทางทิศเหนือ 100 เมตร และสถานีหางจากหนาทาเทียบเรือไปทางทิศใต 100 เมตร

(รวมจุดเก็บตัวอยางท้ังหมด 3 สถานี) ซึ่งนอกจากการเก็บตัวอยางนํ้าทะเลแลว ยังไดมีการเก็บตัวอยางดินตะกอน

พื้นทองนํ้า เพื่อศึกษาลักษณะสมบัติของดินตะกอน การศึกษาชนิดและปริมาณสัตวหนาดิน รวมถึงชนิดและ

ปริมาณแพลงตอนในนํ้าทะเล และการศึกษาผลผลิตขั้นปฐมภมูิ (Primary Productivity) รายละเอียดผล

การศึกษา มีดังน้ี

คุณภาพนํ้าทะเลบริเวณคลังกาซเขาบอยา จุดเก็บตัวอยางท่ีสถานีหางจากหนาทาเทียบเรือไปทาง

ทิศเหนือ 100 เมตร และสถานีหางจากทาเทียบเรือไปทางทิศใต 100 เมตร ในภาพรวมพบวามีคุณภาพดี อยูใน

เกณฑมาตรฐานตามประกาศคณะกรรมการส่ิงแวดลอมแหงชาติ ฉบบัท่ี 27 (พ.ศ. 2549) เร่ืองกําหนดมาตรฐาน

คุณภาพนํ้าทะเล ประเภทท่ี 5 (เพื่อการอุตสาหกรรมและทาเรือ) โดยสถานีหางจากทาเทียบเรือไปทางทิศใต 100

เมตร มีคา DO อยูในชวง 2.9-5.8 mg/l คา BOD 1.1-2.3 mg/l คา SS อยูในชวง 2.7-8.0 mg/l และคา Grease

and Oil นอยกวา 0.1 mg/l และท่ีสถานีหางจากทาเทียบเรือไปทางทิศเหนือ 100 เมตร พบวา มีคา DO อยูในชวง

3.3-6.2 mg/l คา BOD 1.32-2.1 mg/l คา SS อยูในชวง 2.6-6.2 mg/l และคา Grease and Oil 0.0-0.2 mg/l

การศึกษาชนิดและปริมาณแพลงตอนในนํ้าทะเล (แพลงตอนพืชและแพลงตอนสัตว) ท้ัง 3 สถานี

บริเวณทาเทียบเรือคลังกาซเขาบอยา (สถานีปลายสุดทาเทียบเรือ สถานีหางจากหนาทาเทียบเรือไปทางทิศเหนือ

100 เมตร และสถานีหางจากหนาทาเทียบเรือไปทางทิศใต 100 เมตร) พบวาในป พ.ศ. 2551 มีแพลงตอน 7-12

ไฟลัม โดยมจีาํนวนชนิด 14-29 ชนิด ปริมาณความหนาแนน 1,262-175,337 หนวย/ลิตร ซึ่งมีคาดัชนีความ

หลากหลายทางชีวภาพ (Boyd, 1981) 1.1-3.86 และในป พ.ศ. 2552 ไดศึกษาชนิดและปริมาณแพลงตอน โดยมี

แพลงตอน 7-8 ไฟลัม จาํนวนชนิด 21-33 ชนิด และมีปริมาณความหนาแนน 5,535-213,306 หนวย/ลิตร ซึ่งมีคา

ดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพ (Boyd, 1981) 1.92-3.7 แสดงถึงคุณภาพนํ้าท่ีมีการปนเปอนคอนขางสูงถึงการ

ปนเปอนปานกลาง อยางไรก็ตาม คุณภาพนํ้าทะเลบริเวณดังกลาวยังมีคุณภาพอยูในเกณฑมาตรฐานตาม

ประกาศฯ

Page 28: บทที่ 1 Draft · ตั้งอยู ที่เขาบ อยา อ.ศรีราชา จ.ชลบุรีในป พ.ศ. 2527 เพื่อขออน

รางรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม บทที่ 1 บทนํา

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม 1-27 โครงการขยายทาเทียบเรือพรอมวางทอนํ้ามันใตทะเลและกอสรางถังเก็บผลิตภัณฑเพิ่มเติมของคลังกาซเขาบอยาและคลังนํ้ามันศรีราชา

การศึกษาผลผลิตขั้นปฐมภูม ิ (Primary Productivity) ของแพลงตอนพืช บริเวณทาเทียบเรือคลัง

กาซเขาบอยา โดยในระหวางป พ.ศ.2551-2552 พบวาท่ีระดับความลึก 1 เมตร มีคา Net Primary Productivity

ผันแปรคอนขางมาก โดยมีคา 0.0826-466.82 mgC/m3/day และ Gross Primary Productivity 0.1221-806.52

mgC/m3/day ซึ่งเปนคาท่ีพบไดในทะเลชายฝงเขตรอนท่ัวไป

การศึกษาลักษณะสมบัติของดินตะกอนพื้นทองนํ้าทะเล ในชวงป พ.ศ.2551-2552 พบวามีคา pH

อยูในชวง 7.7-8.9 คา Total Organic Matter อยูในชวง 59.72-112.40 μg/g คา Hydrocarbon อยูในชวง 41.75-

90.42 μg/g คา Oil and Grease อยูในชวง 24.24-64.55 μg/g และคา Oxygen Consumption Rate 2.15-

2.45 mg/g ซึ่งปจจบุันยังไมไดมีการกาํหนดคามาตรฐานของดัชนีตรวจวัดสําหรับดินตะกอนในประเทศไทย

อยางไรก็ตาม ท่ีพบวามีคา Total Organic Matter คา Hydrocarbon และคา Oil and Grease คอนขางสูงในบาง

ปและบางจุดตรวจวัดน้ัน เน่ืองจากบริเวณดังกลาวเปนแหลงอุตสาหกรรมท่ีประกอบดวยโรงกล่ันนํ้ามันเอสโซ โรง

กล่ันนํ้ามันไทยออยล นิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง ซึง่อาจสงผลกระทบตอคุณภาพดินตะกอนพื้นทองนํ้าได

ประกอบกิจกรรมของโครงการ คือ การรับ เก็บสํารอง และจายผลิตภัณฑ ซึ่งไมไดมีการผลิตและโดยท่ัวไปมีการ

ร่ัวไหลนอยมาก จึงกลาวไดวากิจกรรมของโครงการไมนาจะสงผลกระทบตอคุณภาพตะกอนพื้นทองนํ้าแตอยางใด

นอกจากน้ี ยังไดมีการศึกษาชนิดและปริมาณสัตวหนาดิน ณ สถานีท่ีไดมีการเก็บตัวอยางนํ้าทะเล

แพลงตอน และตะกอนดิน ซึ่งพบวามีสัตวหนาดิน 3-5 ไฟลัม จํานวนชนิด 3-10 ชนิด ปริมาณความหนาแนน 176-

3,025 ตัว/ตารางเมตร และมคีาดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพ (Shannon-Weaver, 1949) 0.71-1.72

Page 29: บทที่ 1 Draft · ตั้งอยู ที่เขาบ อยา อ.ศรีราชา จ.ชลบุรีในป พ.ศ. 2527 เพื่อขออน

รางรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม บทที่ 1 บทนํา

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม 1-28 โครงการขยายทาเทียบเรือพรอมวางทอน้ํามันใตทะเลและกอสรางถังเก็บผลิตภัณฑเพิ่มเติมของคลังกาซเขาบอยาและคลังน้ํามันศรีราชา

ตาราง 1.7-7 สรุปผลการตดิตามตรวจสอบคุณภาพน้าํทะเลชายฝง สถานีปลายสุดทาเทียบเรอืคลังกาซเขาบอยา ระหวางป พ.ศ. 2549-2552

สถานีตรวจวัดบริเวณปลายสุดทาเทียบเรือคลังกาซเขาบอยา ป 2549* ป 2550* ป 2551** ป 2552**

ดัชนีการตรวจวัด ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2

คามาตรฐานคุณภาพน้ําทะเล ประเภทที่ 5

(เพื่อการอตุสาหกรรมและทาเรือ)

pH 7.9 8.2 8.2 8.4 8.1 8.0 8.2 7.9 7.0-8.5

BOD (mg/l) 1.9 1.6 1.5 0.7 1.7 1.1 1.5 2.4 -

DO (mg/l) 6.7 8.4 6.8 6.5 6.3 5.1 3.1 5.2 ≥4

SS (mg/l) 47.0 56.0 47.0 51.0 6.0 3.5 2.6 4.0 -

TS (mg/l) - 35,275.0 38,378.0 34,526.0 - - - - -

TDS - - - - - 38,260.0 39,620.0 37,380.0 -

TKN (mg/l) 2.24 0.75 1.1 0.65 - - - - -

Nitrate-N (ug/l) - - - - 40.0 10.0 0.01 0.03 ≤60

Grease and Oil (mg/l) 0.7 1.0 0.7 2.0 0.1 0.1 0.1 - มองไมเห็นดวยตาเปลา

Salinity (ppt) - - 30.3 27.0 28.1 27.0 28.0 27.4 เปลี่ยนแปลงไดไมเกิน10%ของคา

ความเค็มต่ําสุด

Total Coliform Bacteria (MPN/100ml) - - - - 170.0 2.0 120.0 8.0 ≤1,000

Fecal Coliform Bacteria (MPN/100ml) - - - - 110 <2.0 70.0 5.0 ≤100 ที่มา : *ฝายสิ่งแวดลอมนิเวศวิทยาและพลังงาน สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย

**ภาควิชาวิศวกรรมสุขาภิบาล คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล

1-28

Page 30: บทที่ 1 Draft · ตั้งอยู ที่เขาบ อยา อ.ศรีราชา จ.ชลบุรีในป พ.ศ. 2527 เพื่อขออน

รางรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม บทที่ 1 บทนํา

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม 1-29 โครงการขยายทาเทียบเรือพรอมวางทอนํ้ามันใตทะเลและกอสรางถังเก็บผลิตภัณฑเพิ่มเติมของคลังกาซเขาบอยาและคลังนํ้ามันศรีราชา

รูปที่ 1.7-4 คณุภาพน้ําทะเลชายฝง สถานีตรวจวัดปลายสุดทาเทียบเรือคลังกาซเขาบอยา ระหวางป พ.ศ.2549-2552

Page 31: บทที่ 1 Draft · ตั้งอยู ที่เขาบ อยา อ.ศรีราชา จ.ชลบุรีในป พ.ศ. 2527 เพื่อขออน

รางรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม บทที่ 1 บทนํา

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม 1-30 โครงการขยายทาเทียบเรือพรอมวางทอนํ้ามันใตทะเลและกอสรางถังเก็บผลิตภัณฑเพิ่มเติมของคลังกาซเขาบอยาและคลังนํ้ามันศรีราชา

รูปที่ 1.7-4 คณุภาพน้ําทะเลชายฝง สถานีตรวจวัดปลายสุดทาเทียบเรือคลังกาซเขาบอยา

ระหวางป พ.ศ.2549-2552 (ตอ-1)

• คลังน้ํามันศรรีาชา 1) คุณภาพน้ําทิ้ง

คลังนํ้ามันศรีราชาตามรายงานการศึกษาวิเคราะหและประเมินผลกระทบส่ิงแวดลอม ของคลัง

ปโตรเลียมภาคตะวันออก ระบุจุดเก็บตัวอยางนํ้าท้ิงไว 1 จุด คือ ในบอพักสุดทายของ API Separator (กอนจะ

ระบายลงพื้นท่ีติดตอกับเอสโซ-ปตท.) ของคลังนํ้ามันศรีราชา ซึ่งไดมีการติดตามตรวจสอบปละ 2 คร้ัง ครอบคลุม

ในชวงฤดูฝน และในชวงฤดูแลง

ผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพนํ้าท้ิงในบอพักสุดทายของ API Separator ในชวงป พ.ศ.2549-

2552 พบวาคาการตรวจวัดคอนขางท่ีจะผันแปรในแตละป (รูปที่ 1.7-5) อยางไรก็ตาม ดัชนีการตรวจวัดสวนใหญ

มีคาอยูในเกณฑมาตรฐานตามประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและส่ิงแวดลอม ฉบับท่ี 3 (พ.ศ. 2539)

เร่ือง กําหนดมาตรฐานควบคุมการระบายนํ้าท้ิงจากแหลงกําเนิดประเภทโรงงานอุตสาหกรรมและนิคมอุตสาหกรรม

และมาตรฐานตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับท่ี 2 (พ.ศ. 2539) เร่ือง กําหนดคุณลักษณะของนํ้าท้ิงท่ี

ระบายออกจากโรงงาน ยกเวนในบางปท่ีพบวามีคา COD และคา BOD สูงเกินคามาตรฐานดังกลาว ดังตารางที่ 1.7-8

ซึ่งตองมีความระมัดระวังและใหปรับปรุงแกไขใหมีคุณภาพตามท่ีกฎหมายกําหนดกอนท่ีจะระบายออกภายนอก

Page 32: บทที่ 1 Draft · ตั้งอยู ที่เขาบ อยา อ.ศรีราชา จ.ชลบุรีในป พ.ศ. 2527 เพื่อขออน

รางรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม บทที่ 1 บทนํา

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม 1-31 โครงการขยายทาเทียบเรือพรอมวางทอน้ํามันใตทะเลและกอสรางถังเก็บผลิตภัณฑเพิ่มเติมของคลังกาซเขาบอยาและคลังน้ํามันศรีราชา

ตารางที่ 1.7-8 สรุปผลการตดิตามตรวจสอบวัดคุณภาพน้ําทิ้ง บริเวณคลังน้ํามันศรีราชา ระหวางป พ.ศ. 2549-2552

บอพักน้ําสุดทายของ API Separator คลังน้ํามันศรีราชา ป 2549* ป 2550* ป 2551** ป 2552** ดัชนีการตรวจวัด

ครั้งที่1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 มาตรฐาน/1 มาตรฐาน/2

pH 7.0 7.8 7.8 7.9 8.7 7.5 7.8 7.4 5.0-9.0 5.0-9.0 COD (mg/l) 174.0 - 60.0 39.0 206.0 106.0 16.0 16.0 <120 <120 BOD (mg/l) 62.0 0.9 8.0 1.3 15.0 31.0 3.0 3.0 <20 <20 Suspended Solid (mg/l) 39.0 26.0 6.0 7.0 12.0 48.0 1.0 2.5 <50 <50 TS (mg/l) - 298.0 586.0 338.0 - - - 552.5 <3,000*** <3,000*** TKN (mg/l) 1.82 1.21 1.50 1.03 3.92 1.40 0.12 0.10 <100 <100 Grease and Oil (mg/l) 3.0 1.9 0.8 0.8 4.5 5.0 ND <0.1 <5.0-15 <5.0-15 Lead (mg/l) <0.2 <0.2 <0.2 <0.2 0.009 0.010 0.003 0.002 <0.2 <0.2 ที่มา : *ฝายสิ่งแวดลอมนิเวศวิทยาและพลังงาน สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย

**ภาควิชาวิศวกรรมสุขาภิบาล คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล

หมายเหตุ : 1มาตรฐานตามประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2539) เรื่อง กําหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน้ําทิ้งจากแหลงกําเนิดประเภทโรงงานอุตสาหกรรม

และนิคมอุตสาหกรรม

2 ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2539) เรื่อง กําหนดคุณลักษณะของน้ําทิ้งที่ระบายออกจากโรงงาน

ND = Not Detectable

1-31

Page 33: บทที่ 1 Draft · ตั้งอยู ที่เขาบ อยา อ.ศรีราชา จ.ชลบุรีในป พ.ศ. 2527 เพื่อขออน

รางรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม บทที่ 1 บทนํา

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม 1-32 โครงการขยายทาเทียบเรือพรอมวางทอนํ้ามันใตทะเลและกอสรางถังเก็บผลิตภัณฑเพิ่มเติมของคลังกาซเขาบอยาและคลังนํ้ามันศรีราชา

รูปที่ 1.7-5 คณุภาพน้ําทิ้งบอพักสุดทายของ API Separator คลังน้ํามันศรีราชา

Page 34: บทที่ 1 Draft · ตั้งอยู ที่เขาบ อยา อ.ศรีราชา จ.ชลบุรีในป พ.ศ. 2527 เพื่อขออน

รางรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม บทที่ 1 บทนํา

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม 1-33 โครงการขยายทาเทียบเรือพรอมวางทอนํ้ามันใตทะเลและกอสรางถังเก็บผลิตภัณฑเพิ่มเติมของคลังกาซเขาบอยาและคลังนํ้ามันศรีราชา

รูปที่ 1.7-5 คณุภาพน้ําทิ้งบอพักสุดทายของ API Separator คลังน้ํามันศรีราชา (ตอ-1)

2) คุณภาพน้ําทะเลชายฝง

ตลอดการดําเนินกิจกรรมของคลังนํ้ามันศรีราชา ไดมีการติดตามตรวจสอบคุณภาพนํ้าทะเล บริเวณ

ปลายสุดทาเทียบคลังนํ้ามันศรีราชาอยางตอเน่ือง ปละ 2 คร้ัง ครอบคลุมในชวงฤดูแลงและฤดูฝน ตามท่ีระบุใน

รายงานการศึกษาวิเคราะหและประเมินผลกระทบส่ิงแวดลอมของคลังปโตรเลียมภาคตะวันออกในปจจบุนั

Page 35: บทที่ 1 Draft · ตั้งอยู ที่เขาบ อยา อ.ศรีราชา จ.ชลบุรีในป พ.ศ. 2527 เพื่อขออน

รางรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม บทที่ 1 บทนํา

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม 1-34 โครงการขยายทาเทียบเรือพรอมวางทอนํ้ามันใตทะเลและกอสรางถังเก็บผลิตภัณฑเพิ่มเติมของคลังกาซเขาบอยาและคลังนํ้ามันศรีราชา

ผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพนํ้าทะเลชายฝง บริเวณปลายสุดทาเทียบเรือคลังนํ้ามันศรีราชา

ในชวง 4 ป ระหวางป พ.ศ. 2549-2552 พบวาดัชนีการตรวจวิเคราะหสวนใหญมีคาอยูในเกณฑมาตรฐานตาม

ประกาศคณะกรรมการส่ิงแวดลอมแหงชาติ ฉบับท่ี 27 (พ.ศ. 2549) เร่ืองกําหนดมาตรฐานคุณภาพนํ้าทะเล

(คุณภาพนํ้าทะเลประเภทท่ี 5 เพื่อการอุตสาหกรรมและทาเรือ) โดยพบวาคาดัชนีการตรวจวิเคราะหมีแนวโนมลด

ตํ่าลง ดังรูปที่ 1.7-6 โดยคา DO อยูในชวง 3.0-8.5 mg/l คา BOD อยูในชวง 1.0-3.1 mg/l คา SS อยูในชวง 2.8-

63.0 mg/l และคา Grease and Oil นอยกวา 0.10-1.50 mg/l ดังตารางที่ 1.7-9 ซึ่งแสดงใหเห็นวาการดําเนินงาน

ของคลังนํ้ามันศรีราชาสงผลกระทบตอคุณภาพนํ้าทะเลนอยมาก

นอกจากน้ีแลว ยังไดมีการเก็บตัวอยางนํ้าทะเลเพ่ิมเติมจากจุดเกบ็ตัวอยางท่ีระบใุนรายงานการศึกษา

วิเคราะหและประเมินผลกระทบส่ิงแวดลอมของคลังปโตรเลียมภาคตะวันออก กลาวคือ ในป พ.ศ. 2549-2550

สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (วว.) ไดเก็บและวิเคราะหตัวอยางนํ้าทะเลเพิ่มเติม 3

สถานี คือ 1. สถานีหนาทาเทียบเรือหมายเลข 4 (Sea Berth หรือทาเทียบเรือกลางทะเล) 2. สถานีหางจากทา

เทียบเรือหมายเลข 4 ไปทางทิศเหนือ 100 เมตร และ 3. สถานีหางจากทาเทียบเรือหมายเลข 4 ไปทางทิศใต 100

เมตร (รวมในป 2549-2550 มีการเก็บตัวอยางนํ้าทะเลบริเวณคลังนํ้ามันศรีราชาท้ังหมด 4 สถานี) ซึ่งจากผลการ

ติดตามตรวจสอบ พบวาคุณภาพนํ้าทะเลบริเวณทาเทียบเรือหมายเลข 4 หรือ Sea Berth ท้ัง 3 สถานี มีคุณภาพดี

อยูในเกณฑมาตรฐานตามประกาศคณะกรรมการส่ิงแวดลอมแหงชาติ ฉบับท่ี 27 (พ.ศ. 2549) เร่ืองกําหนด

มาตรฐานคุณภาพนํ้าทะเล (คุณภาพนํ้าทะเลประเภทท่ี 5 เพื่อการอุตสาหกรรมและทาเรือ) โดยมีคา

- pH อยูในชวง 8.2-8.4

- คา DO อยูในชวง 6.0-8.0 mg/l

- คา BOD อยูในชวง 0.3-3.0 mg/l

- คา SS อยูในชวง 40.0-71.0 mg/l

- คา Grease and Oil อยูในชวง 0.3-2.3 mg/l

และในป พ.ศ.2551-2552 การติดตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอมคลังนํ้ามันศรีราชา ซึ่ง

ดําเนินการโดยภาควิชาวิศวกรรมสุขาภิบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ไดเก็บและวิเคราะหตัวอยางนํ้าทะเลเพิ่มเติมจาก

จุดเก็บตัวอยางท่ีระบุในรายงานการศึกษาวิเคราะหและประเมินผลกระทบส่ิงแวดลอม 2 สถานี คือ สถานีหางจาก

หนาทาเทียบเรือไปทางทิศเหนือ 100 เมตร และสถานีหางจากหนาทาเทียบเรือไปทางทิศใต 100 เมตร (รวมจุด

เก็บตัวอยางท้ังหมด 3 สถานี) ซึ่งนอกจากการเก็บตัวอยางนํ้าทะเลแลว ยังไดมีการเก็บตัวอยางดินตะกอนพื้นทอง

นํ้า เพื่อศึกษาลักษณะสมบัติของดินตะกอน การศึกษาชนิดและปริมาณสัตวหนาดิน การศึกษาชนิดและปริมาณ

แพลงตอนในนํ้าทะเล และการศึกษาผลผลิตขั้นปฐมภูมิ (Primary Productivity) รายละเอยีดผลการศึกษา มีดังน้ี

Page 36: บทที่ 1 Draft · ตั้งอยู ที่เขาบ อยา อ.ศรีราชา จ.ชลบุรีในป พ.ศ. 2527 เพื่อขออน

รางรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม บทที่ 1 บทนํา

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม 1-35 โครงการขยายทาเทียบเรือพรอมวางทอนํ้ามันใตทะเลและกอสรางถังเก็บผลิตภัณฑเพิ่มเติมของคลังกาซเขาบอยาและคลังนํ้ามันศรีราชา

คุณภาพนํ้าทะเลบริเวณคลังนํ้ามันศรีราชา จุดเก็บตัวอยางท่ีสถานีหางจากหนาทาเทียบเรือคลัง

นํ้ามันศรีราชา ไปทางทิศเหนือ 100 เมตร และสถานีหางจากทาเทียบเรือไปทางทิศใต 100 เมตร ในภาพรวม

พบวามีคุณภาพดี อยูในเกณฑมาตรฐานตามประกาศคณะกรรมการส่ิงแวดลอมแหงชาติ ฉบบัท่ี 27 (พ.ศ. 2549)

เร่ืองกําหนดมาตรฐานคุณภาพนํ้าทะเล ประเภทท่ี 5 (เพื่อการอุตสาหกรรมและทาเรือ) ซึ่งในบางปและในบาง

สถานีท่ีพบวามคุีณภาพตํ่ากวามาตรฐาน โดยสถานีหางจากทาเทียบเรือไปทางทิศใต 100 เมตร มีคา DO อยู

ในชวง 2.85-6.4 mg/l คา BOD 1.68-2.5 mg/l คา SS อยูในชวง 3.0-6.4 mg/l และคา Grease and Oil 0.0-0.2

mg/l และท่ีสถานีหางจากทาเทียบเรือไปทางทิศเหนือ 100 เมตร พบวา มคีา DO อยูในชวง 2.95-6.5 mg/l คา

BOD 1.40-2.6 mg/l คา SS อยูในชวง 2.6-6.2 mg/l และคา Grease and Oil นอยกวา 0.1 mg/l

การศึกษาชนิดและปริมาณแพลงตอนในนํ้าทะเล (แพลงตอนพืชและแพลงตอนสัตว) ท้ัง 3 สถานี

บริเวณทาเทียบเรือคลังนํ้ามันศรีราชา (สถานีปลายสุดทาเทียบเรือ สถานีหางจากหนาทาเทียบเรือไปทางทิศเหนือ

100 เมตร และสถานีหางจากหนาทาเทียบเรือไปทางทิศใต 100 เมตร) พบวาในป พ.ศ. 2551 มีแพลงตอน 9-10

ไฟลัม โดยมจีาํนวนชนิด 14-29 ชนิด ปริมาณความหนาแนน 2,174-142,872 หนวย/ลิตร ซึ่งมีคาดัชนีความ

หลากหลายทางชีวภาพ (Boyd, 1981) 1.2-3.41 และในป พ.ศ. 2552 ไดศึกษาชนิดและปริมาณแพลงตอน โดยมี

แพลงตอน 7-10 ไฟลัม จํานวนชนิด 20-29 ชนิด และมปีริมาณความหนาแนน 7,848-191,460 หนวย/ลิตร ซึ่งมี

คาดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพ (Boyd, 1981) 1.95-3.1 แสดงถึงคุณภาพนํ้าท่ีมีการปนเปอนคอนขางสูงถึง

การปนเปอนปานกลาง อยางไรก็ตาม คุณภาพนํ้าทะเลบริเวณดังกลาวยังมีคุณภาพอยูในเกณฑมาตรฐานตาม

ประกาศฯ

การศึกษาผลผลิตขั้นปฐมภูม ิ (Primary Productivity) ของแพลงตอนพืช บริเวณทาเทียบเรือคลัง

นํ้ามันศรีราชา โดยในระหวางป พ.ศ.2551-2552 พบวาท่ีระดับความลึก 1 เมตร มีคา Net Primary Productivity

ผันแปรคอนขางมาก โดยมีคา 0.2292-582.24 mgC/m3/day และ Gross Primary Productivity 0.1179-

1,077.36 mgC/m3/day ซึ่งเปนคาท่ีพบไดในทะเลชายฝงเขตรอนท่ัวไป

การศึกษาลักษณะสมบัติของดินตะกอนพื้นทองนํ้าทะเล ในชวงป พ.ศ.2551-2552 พบวามีคา pH

อยูในชวง 7.5-8.8 คา Total Organic Matter อยูในชวง 76.50-109.50 μg/g คา Hydrocarbon อยูในชวง

58.72-82.06 μg/g คา Oil and Grease อยูในชวง 40.25-70.05 μg/g และคา Oxygen Consumption Rate

2.39-2.58 mg/g ซึ่งปจจุบันยังไมไดมีการกาํหนดคามาตรฐานของดัชนีตรวจวัดสําหรับดินตะกอนในประเทศไทย

อยางไรก็ตาม ท่ีพบวามคีา Total Organic Matter คา Hydrocarbon และคา Oil and Grease คอนขางสูงในบาง

ปและบางจุดตรวจวัดน้ัน เน่ืองจากบริเวณพื้นท่ีใกลเคียงเปนพื้นท่ีอุตสาหกรรมเปนสวนใหญ เชน นิคม

อุตสาหกรรมแหลมฉบัง โรงกล่ันนํ้ามันไทยออยล โรงกล่ันนํ้ามันเอสโซ เปนตน จึงอาจมผีลกระทบรวมดวย และ

เน่ืองจากกิจกรรมหลักของคลังนํ้ามันศรีราชาคือ การรับ เก็บสํารอง และจายผลิตภัณฑ ซึ่งโดยท่ัวไปเกิดการ

ร่ัวไหลนอยมาก จึงอาจกลาวไดวา กิจกรรมของโครงการสงผลกระทบตอคุณภาพของตะกอนดินนอยมาก

Page 37: บทที่ 1 Draft · ตั้งอยู ที่เขาบ อยา อ.ศรีราชา จ.ชลบุรีในป พ.ศ. 2527 เพื่อขออน

รางรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม บทที่ 1 บทนํา

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม 1-36 โครงการขยายทาเทียบเรือพรอมวางทอนํ้ามันใตทะเลและกอสรางถังเก็บผลิตภัณฑเพิ่มเติมของคลังกาซเขาบอยาและคลังนํ้ามันศรีราชา

นอกจากน้ี ยังไดมีการศึกษาชนิดและปริมาณสัตวหนาดิน ณ สถานีท่ีไดมีการเก็บตัวอยางนํ้าทะเล

แพลงตอน และตะกอนดิน ซึง่พบวามีสัตวหนาดิน 3-6 ไฟลัม จํานวนชนิด 3-9 ชนิด ปริมาณความหนาแนน 191-

4,327 ตัว/ตารางเมตร และมคีาดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพ (Shannon-Weaver, 1949) 0.0-1.31

Page 38: บทที่ 1 Draft · ตั้งอยู ที่เขาบ อยา อ.ศรีราชา จ.ชลบุรีในป พ.ศ. 2527 เพื่อขออน

รางรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม บทที่ 1 บทนํา

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม 1-37 โครงการขยายทาเทียบเรือพรอมวางทอน้ํามันใตทะเลและกอสรางถังเก็บผลิตภัณฑเพิ่มเติมของคลังกาซเขาบอยาและคลังน้ํามันศรีราชา

ตาราง 1.7-9 สรุปผลการตดิตามตรวจสอบคุณภาพน้าํทะเลชายฝง สถานีปลายสุดทาเทียบเรอืคลังน้ํามันศรีราชา ระหวางป พ.ศ. 2549-2552

สถานีตรวจวัดบริเวณปลายสุดทาเทียบเรือคลังน้ํามันศรีราชา ป 2549* ป 2550* ป 2551** ป 2552**

ดัชนีการตรวจวัด ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2

คามาตรฐานคุณภาพน้ําทะเล ประเภทที่ 5

(เพื่อการอตุสาหกรรมและทาเรือ)

pH 8.0 8.3 8.2 8.4 8.2 8.2 8.2 7.9 7.0-8.5

BOD (mg/l) 1.3 3.1 1.40 1.0 1.40 1.64 1.80 2.50 -

DO (mg/l) 6.8 8.5 6.8 6.4 6.2 6.5 3.0 6.0 ≥4

SS (mg/l) 46.0 63.0 45.0 42.0 6.8 3.2 2.8 4.0 -

TS (mg/l) - 34,656.0 31,984.0 35,060.0 - - - - -

TDS - - - - - 36,620.0 39,600.0 37,140.0 -

TKN (mg/l) 0.28 0.75 0.70 0.75 - - - - -

Nitrate-N (ug/l) - - - - 50.0 10.0 0.02 0.03 ≤60

Grease and Oil (mg/l) 0.60 1.50 0.70 1.20 <0.10 0.10 0.10 - มองไมเห็นดวยตาเปลา

Salinity (ppt) 30.1 26.5 31.2 26.9 28.2 26.0 28.3 26.9 เปลี่ยนแปลงไดไมเกิน10%ของคา

ความเค็มต่ําสุด

Total Coliform Bacteria (MPN/100ml) 4.0 <2.0 <2.0 2.0 350.0 2.0 70.0 170.0 ≤1,000

Fecal Coliform Bacteria (MPN/100ml) 4.0 <2.0 <2.0 2.0 220.0 <2.0 50.0 70.0 ≤100

1-37

Page 39: บทที่ 1 Draft · ตั้งอยู ที่เขาบ อยา อ.ศรีราชา จ.ชลบุรีในป พ.ศ. 2527 เพื่อขออน

รางรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม บทที่ 1 บทนํา

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม 1-38 โครงการขยายทาเทียบเรือพรอมวางทอนํ้ามันใตทะเลและกอสรางถังเก็บผลิตภัณฑเพิ่มเติมของคลังกาซเขาบอยาและคลังนํ้ามันศรีราชา

รูปที่ 1.7-6 คณุภาพน้ําทะเลชายฝง สถานีตรวจวัดปลายสุดทาเทียบเรือคลังน้าํมนัศรีราชา ระหวางปพ.ศ. 2549-2552

Page 40: บทที่ 1 Draft · ตั้งอยู ที่เขาบ อยา อ.ศรีราชา จ.ชลบุรีในป พ.ศ. 2527 เพื่อขออน

รางรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม บทที่ 1 บทนํา

รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม 1-39 โครงการขยายทาเทียบเรือพรอมวางทอนํ้ามันใตทะเลและกอสรางถังเก็บผลิตภัณฑเพิ่มเติมของคลังกาซเขาบอยาและคลังนํ้ามันศรีราชา

รูปที่ 1.7-6 คณุภาพน้ําทะเลชายฝง สถานีตรวจวัดปลายสุดทาเทียบเรือคลังน้าํมนัศรีราชา ระหวางปพ.ศ. 2549-2552 (ตอ-1)