228
บทที2 การศึกษาแนวคิดการพัฒนาแบบเศรษฐกิจพอเพียงในสังคมไทย จากพัฒนาการในอดีตจนถึงปจจุบัน การศึกษา แนวคิดการพัฒนาแบบเศรษฐกิจพอเพียงในสังคมไทยจากพัฒนาการในอดีต จนถึงปจจุบันในบทนีมุงใหเหตุผลเปนขออธิบายฐานคิดที่วา แทจริงแลวแนวคิดเศรษฐกิจ พอเพียงเปนแนวคิดที่มีรากฐานซึ่งมีวิวัฒนาการมาจากระบบเศรษฐกิจและวัฒนธรรมของสังคมไทย แท ตั้ง แตอดีตสืบเนื่องมาจนปจจุบันจากความสําคัญในขอนี้จึงจําเปนตองทบทวนศึกษาประวัติ ความเปน มาของระบบเศรษฐกิจและสังคมไทยในอดีตเชื่อมโยงมาถึงปจจุบัน ทั้งนี้โดยมีแนวทาง หลักในการตอบคําถามใน 4 ประเด็นสําคัญ คือ (1) มีปจจัยอะไรบางที่เปนตัวกําหนดความพอเพียงของคนในสังคม (2) ความพอเพียงเกิดขึ้นและดํารงอยูอยางไร (3) การคลี่คลายของความพอเพียงมาสูความทันสมัยเกิดขึ้นไดอยางไร (4) ในภาวะความทันสมัยในปจจุบันเศรษฐกิจพอเพียงจะดํารงอยูหรือไม อยางไร กลาวโดยนัยเชนนีผูวิจัยจึงกําหนดแบงชวงเวลาของการศึกษาวิเคราะหแนวคิดการพัฒนา แบบเศรษฐกิจพอเพียงในสังคมไทยจากพัฒนาการในอดีตจนถึงปจจุบันออกเปน 3 ชวงเวลา แลวจึง นํามาวิเคราะหสรุปในภาพรวมไวตอนทาย กลาวคือ ชวงที่หนึ่ง คือศึกษาแนวคิดการพัฒนาแบบเศรษฐกิจพอเพียงในอดีต ซึ่งแบงออกเปน 2 ชวง คือ 1) ชวงกอนทําสนธิสัญญาเบาวริง (กอนป ..2398) หรือในสมัยรัตนโกสินทรตอนตน และ 2) ชวงหลังทําสนธิสัญญาเบาวริง (ชวงป ..2398 จนกระทั่งถึง ..2503) ชวงที่สอง คือศึกษาแนวคิดการพัฒนาแบบเศรษฐกิจพอเพียงในชวงของการคลี่คลายจาก การพัฒนาแบบเศรษฐกิจพอเพียงมาสู ภาวะความทันสมัย (ชวงป ..2504 จนถึง ..2539) และ ชวงที่สาม คือศึกษาแนวคิดการพัฒนาแบบเศรษฐกิจพอเพียงในยุคปจจุบัน (ในชวง ..2540 จนถึง ..2549) อยางไรก็ดี ในการแบงเวลาทางประวัติศาสตรออกเปน 3 ชวงนีมีวัตถุประสงคในแงที่จะ เนนถึงความเดนของแตละชวงเวลาเทานั้นมิไดหมายความวาแตละชวงเวลาจะตัดขาดจากกันไปโดย สิ้นเชิง เพราะเหตุวากระแสธารแหงประวัติศาสตรยอมไมสามารถที่จะตัดแบงจากกันโดยเด็ดขาด

บทที่ 2 การศึกษาแนวค ิดการพ ัฒนาแบบเศรษฐก ิจพอเพ ียงในส ัง ...archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2551/poleco0451py_ch2.pdfบทที่

  • Upload
    others

  • View
    1

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

  • บทที่ 2 การศึกษาแนวคิดการพัฒนาแบบเศรษฐกิจพอเพียงในสังคมไทย

    จากพัฒนาการในอดีตจนถึงปจจุบัน

    การศึกษา “แนวคิดการพัฒนาแบบเศรษฐกิจพอเพยีงในสังคมไทยจากพัฒนาการในอดีตจนถึงปจจุบัน” ในบทนี ้ มุงใหเหตุผลเปนขออธิบายฐานคิดทีว่า “แทจริงแลวแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงเปนแนวคิดที่มีรากฐานซึ่งมีววิัฒนาการมาจากระบบเศรษฐกจิและวัฒนธรรมของสังคมไทยแท ๆ ตั้ง แตอดีตสืบเนื่องมาจนปจจุบนั” จากความสําคัญในขอนี้จึงจําเปนตองทบทวนศึกษาประวตัิความเปน มาของระบบเศรษฐกิจและสังคมไทยในอดตีเชื่อมโยงมาถึงปจจุบนั ทั้งนี้โดยมแีนวทางหลักในการตอบคําถามใน 4 ประเด็นสําคญั คือ

    (1) มีปจจัยอะไรบางที่เปนตวักําหนดความพอเพียงของคนในสังคม (2) ความพอเพียงเกดิขึ้นและดํารงอยูอยางไร (3) การคลี่คลายของความพอเพียงมาสูความทันสมัยเกดิขึ้นไดอยางไร (4) ในภาวะความทันสมัยในปจจุบันเศรษฐกิจพอเพยีงจะดํารงอยูหรือไม อยางไร

    กลาวโดยนัยเชนนี้ ผูวจิัยจึงกําหนดแบงชวงเวลาของการศึกษาวิเคราะหแนวคิดการพัฒนาแบบเศรษฐกิจพอเพียงในสังคมไทยจากพฒันาการในอดีตจนถึงปจจบุันออกเปน 3 ชวงเวลา แลวจึงนํามาวิเคราะหสรุปในภาพรวมไวตอนทาย กลาวคือ ชวงที่หนึ่ง คือศึกษาแนวคิดการพัฒนาแบบเศรษฐกิจพอเพียงในอดีต ซ่ึงแบงออกเปน 2 ชวง คือ 1) ชวงกอนทําสนธิสัญญาเบาวริง (กอนป พ.ศ.2398) หรือในสมัยรัตนโกสินทรตอนตน และ 2) ชวงหลังทําสนธิสัญญาเบาวริง (ชวงป พ.ศ.2398 จนกระทั่งถึง ป พ.ศ.2503)

    ชวงที่สอง คือศึกษาแนวคดิการพัฒนาแบบเศรษฐกิจพอเพียงในชวงของการคลี่คลายจากการพัฒนาแบบเศรษฐกิจพอเพียงมาสู ภาวะความทันสมยั (ชวงป พ.ศ.2504 จนถึง ป พ.ศ.2539)

    และ ชวงที่สาม คือศึกษาแนวคิดการพัฒนาแบบเศรษฐกิจพอเพยีงในยุคปจจุบัน (ในชวงป พ.ศ.2540 จนถึง ป พ.ศ.2549) อยางไรก็ดี ในการแบงเวลาทางประวัติศาสตรออกเปน 3 ชวงนี้ มีวัตถุประสงคในแงที่จะเนนถึงความเดนของแตละชวงเวลาเทานั้นมิไดหมายความวาแตละชวงเวลาจะตดัขาดจากกนัไปโดยส้ินเชิง เพราะเหตวุากระแสธารแหงประวัติศาสตรยอมไมสามารถที่จะตัดแบงจากกนัโดยเด็ดขาด

  • 23

    ได และประเทศไทยเองกเ็ปนประเทศเลก็ ๆ ประเทศหนึ่งในโลกนี้ ที่ไมอาจจะหลกีเรนจากอิทธิพลของกระแสความเปลี่ยนแปลงของโลกได โดยเหตุนีจ้งึอาจกลาวไดในเบื้องตนวาการเปลี่ยนแปลงทาง ดานเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทย จึงเปนการเปลี่ยนแปลงเพื่อปรับตัวเองใหเขากับกระแสหลักของความเปลี่ยนแปลงในโลกในแตละชวงเวลานั้น ๆ นัน่เอง 2.1 แนวคิดการพัฒนาแบบเศรษฐกิจพอเพียงในอดตี ชวงกอนทําสนธิสัญญาเบาวร่ิง (พ.ศ. 2325- 2397)

    สําหรับในการศึกษาแนวคดิการพัฒนาแบบเศรษฐกิจพอเพียงในอดีต ในชวงกอนการทําสนธิ สัญญาเบาวร่ิง (พ.ศ. 2325- 2397) นี้นั้น มีแนวทางหลักเพื่อการตอบคําถามใน 3 ประเดน็สําคัญ คือ

    (1) มีปจจัยอะไรบางที่เปนตวักําหนดความพอเพียงของคนในสังคม (2) ความพอเพียงเกดิขึ้นและดํารงอยูอยางไร (3) เศรษฐกิจแบบตลาดในสมัยนี้ ไดมีบทบาทตอการคลี่คลายโครงสรางเศรษฐกิจและสัง

    คมแบบพอเพยีงหรือไม เพยีงใด กลาวโดยทัว่ไปแลว เศรษฐกิจไทยในสมยัรัตนโกสินทรตอนตน (ชวง พ.ศ.2325-2397)

    ภาพเศรษฐกิจที่ไดมีการศึกษาและนําเสนอจนเปนที่เชื่อถือ และยอมรับกันมาเปนเวลานานก็คอื เศรษฐกิจไทยสมัยนี้ไดร้ือฟนโครงสรางและระเบียบทางเศรษฐกิจในสมัยอยุธยาตอนปลายมาใช จึงเปนเศรษฐกิจที่ดําเนินสืบตอจากเศรษฐกจิในสมัยอยุธยาโดยไมมีการเปลี่ยนแปลงใดๆ กลาวคือ เปนเศรษฐกิจแบบพอเพยีง เศรษฐกิจแบบพอยังชีพ หรือเศรษฐกิจแบบพอเพียงเลีย้งตนเอง (Self – sufficient Economy) ซ่ึงมกีิจกรรมสําคัญทางเศรษฐกจิอยูที่ภาคเกษตรกรรมเปนหลัก และมกีารคาขายกับตางประเทศบาง ที่ดําเนนิการภายใตการผูกขาดของรัฐและกลุมชาวจนีอพยพ (ศุภรัตน เลิศพาณิชยกุล, 2542: 62)

    ไดมีงานวิชาการหลายชิ้นที่ยนืยันถึงขอเท็จจริงดังกลาวนี ้ เชน ในงานวิทยานิพนธระดับปริญญาเอก ของพระองคเจาดิลกนพรัตน ที่ช่ือวา “Die Landwirtschaft in Siam” (ประวัติศาสตรการเกษตรประเทศสยาม) เสนอที่มหาวิทยาลัยทูบิงเกน็ (Tobingen) ประเทศเยอรมนี ในป พ.ศ. 2450 ซ่ึงงานของพระองคเจาดิลกนพรัตนไดใหภาพการเกษตรของประเทศไทยอยางชัดเจน ทัง้การผลิตขาว ผลไม ผัก การใชที่ดิน นโยบายของรัฐ เปนตน ซ่ึงกลาวโดยรวมแลวก็คือ ภาพของเศรษฐกิจไทยกอนทําสนธิสัญญาเบาวริง ในป พ.ศ. 2398 เปนเศรษฐกิจแบบทาํมาหากิน เปนเศรษฐกิจเกษตรกรรมที่ผลิตเพื่อกินเพื่อใชเพื่อเล้ียงชีพ ใหพอเพยีงเลีย้งตัวเองได ไมใชผลิตเพื่อขาย การผลิตเพื่อขายเกดิขึ้นหลังจากการเปดประเทศดวยสนธิสัญญาเบาวริง และเปนจริงเฉพาะในเขต

  • 24

    ภาคกลาง (อางถึงใน ฉัตรทิพย นาถสุภา, 2545: 1–2; รายละเอียดดูเพิม่เติมไดใน วชิิตวงศ ณ ปอมเพ็ชร, 2544)

    และมีงานวิชาการที่สําคัญอีกชิ้นหนึ่งเปนของ นายวัน เดอ ไฮเด (J. Homan van der Heide) ซ่ึงเปนนายชางชลประทานชาวฮอลแลนด ที่ทางรัฐบาลไทยจางมาประจําเปนอธิบดีกรมชลประทาน เขาเขียนบทความชื่อ “The Economical Development of Siam During the Last Half Century” ลงพิมพใน Journal of the Siam Society, เลม 3, 1906. (พ.ศ.2449) ซ่ึง นายวนั เดอ ไฮเด ไดกลาวย้ําในบทความวา “กอนป พ.ศ.2398 เศรษฐกิจไทยเปนแบบพอเพยีงเลี้ยงตวัเองได (Self – sufficient) เปนเศรษฐกิจเกษตรกรรมที่มุงผลิตเพื่อกินเพื่อใช มิไดมุงผลิตเพื่อขาย” (อางถึงใน ฉัตรทิพย นาถสุภา, 2545: 3)

    นอกเหนือจากนี้ ยังมีงานประเภทรายงานการเดินทางของชาวตางประเทศ ในชวงสมัยรัตนโกสินทรตอนตนนี้ เชน ในงานของ จอหน ครอวฟอรด1 (John Crawfurd ป พ.ศ.2364 – 2365) และงานของสงัฆราชปาลเลกัวซ 2 (Pallegoix ป พ.ศ.2367 – 2366) ซ่ึงไดรายงานในภาพรวมของเศรษฐกิจไทยในชวงนี้ในลักษณะเดียวกนักลาวโดยสรุป คือเศรษฐกิจสยาม (ช่ือประเทศไทยในสมัยนั้น) เปนระบบเศรษฐกิจแบบพอเพียงเลีย้งตัวเองได(Self – sufficient Economy) โดยเปนภาพของเศรษฐกิจเกษตรกรรมแบบพอยังชีพเปนหลัก โดยเหตนุี้ประชาชนในวิถีการเกษตรแบบพอยังชพีจึงมีความพอเพยีงในตนเองสูงมาก ผูคนในหมูบานมีชีวิตที่เรียบงายในสภาพแวดลอมอันอุดมสมบูรณของธรรมชาติและมีความสามารถในการพึง่ตนเองไดในเกือบทุกดาน และการซื้อขายสินคาระหวาง ชุมชนหมูบานมีนอย สวนใหญมักเปนการแลกเปลี่ยนสิ่งของระหวางหมูบาน (Barter System) การคาขายภายในที่จํากัดนี้ทาํใหการใชเงินตราไมแพรหลายมาก การลงทุนในกิจการอุตสาหกรรม และการคาขายกับตางประเทศในชวงนี้จะกระจุกตวัอยูในกลุมชนชัน้ปกครอง คือ พระมหากษตัริย เจานาย ขนุนาง และชาวจีนอพยพที่มีทุนรอน (ศุภรัตน เลิศพาณิชยกุล, 2544: 46–54, 60–63)

    1 จอหน ครอวฟอรด เปนนักการทูตชาวอังกฤษ ที่เดินทางเขามาเจรจาเรื่องการเมืองและการคากับไทยในสมัยรัชกาลที่ 2 ในปลาย พ.ศ.2364 เรื่องการเมืองที่เจรจา คือ ปญหาไทยบุรี สวนเรื่องการคานั้นเปนเรื่องเกี่ยวกับการขอแกไขระเบียบวิธีการผูกขาดของพระคลังสินคา และการขอเปลี่ยนแปลงระบบการเก็บภาษีขาเขาและภาษีขาออก รวมทั้งการแสวงหาลูทางเปดตลาดการคากับไทย การเจรจาใชเวลานานถึง 4 เดือน แตทั้งสองฝายไมอาจทําความตกลงกันไดทั้งเรื่องการเมืองและการคา ครอวฟอรด ออกเดินทางจากประเทศไทยใน พ.ศ.2365 และไดทํารายงานเกี่ยวกับสภาพเศรษฐกิจสมัยนั้นในป พ.ศ.2366 (ศุภรัตน เลิศพาณิชยกุล, 2544: 48, 67) 2 สังฆราชปาลเลกัวซ เปนสังฆราชชาวฝรั่งเศส ผูซึ่งเขามาพํานักและเผยแพรศาสนาคริสตในประเทศไทยสมัยรัชกาลที่ 3 และรัชกาลที่ 4 ไดเขียนเอกสารชื่อ “เลาเรื่องกรุงสยาม” (ศุภรัตน เลิศพาณิชยกุล, 2544: 111)

  • 25

    กลาวโดยสรปุ ลักษณะของระบบเศรษฐกิจไทย จากงานการศึกษาและรายงานการเดินทางดังทีก่ลาว พบวาภาพของเศรษฐกิจไทยในชวงนี้เปนเศรษฐกิจเกษตรกรรมที่ผลิตเพื่อกินเพื่อใชเพื่อเล้ียงชีพ พอเพียงเลี้ยงตัวเองได หรือดังที่เรียกวา เปนเศรษฐกิจแบบพอเพียงเลี้ยงตัวเองได (Self -sufficient Economy) นั่นเอง และชวงนี้การผลิตไมไดมุงเพื่อขาย การผลิตเพื่อขายเกดิภายหลังจากการเปดประเทศดวยสนธิสัญญาเบาวร่ิง ในป พ.ศ. 2398 และมีบทบาทสําคัญเฉพาะในเขตภาคกลาง และบริเวณหวัเมืองชายทะเลตะวนัออก (ฉัตรทิพย นาถสุภา, 2545: 3; ศุภรัตน เลิศพาณิชยกิจ, 2544: 16) ดังจะไดกลาวถึงรายละเอียดตอไป

    2.1.1 การวิเคราะหปจจัยท่ีกําหนดความพอเพียงใหเกิดขึน้และดํารงอยูในสังคมไทย อยางไรก็ดี การวิเคราะหเพื่อมุงตอบคําถามใน 2 ประเด็นสําคัญที่กําหนด คือ (1) มีปจจัยอะไรบางที่เปนตวักําหนดความพอเพียงของคนในสังคม (2) ความพอเพียงเกดิขึ้นและดํารงอยูอยางไร โดยความสําคญันี้จึงไดจัดวางเงื่อนไขของปจจัยในการอธิบายออกเปน 5 ดาน เพื่อเชื่อม

    โยงดานเหตุผลสําหรับการอธิบายในการตอบโจทยหลักขางตน คือ (1) ดานความอุดมสมบูรณของทรัพยากรธรรมชาติ ที่เปนฐานของความมั่นคงดานปจจยั

    ในปจจยัการดาํรงชีพ (2) ดานความสัมพันธทางสังคมและวัฒนธรรมของชุมชน (3) ดานความสัมพันธของราษฎรชาวบานกับรัฐ (4) บทบาทของเศรษฐกิจแบบตลาดและผลกระทบตอโครงสรางของเศรษฐกิจและสังคม

    แบบพอเพียง (5) ดานการคมนาคมภายใน ปจจัยในการอธิบายทั้ง 4 ดานนี้ มีขอพิจารณาวิเคราะห ดงันี้

    (1) ดานความอุดมสมบูรณของทรัพยากรธรรมชาต ิ ท่ีเปนฐานของความมั่นคงดานปจจัยในปจจัยการดํารงชีพ

    ดานปจจยัของความอุดมสมบูรณของทรัพยากรธรรมชาติ นับไดวาที่มีความเหมาะสมอยางยิ่งในการผลิตทางการเกษตร โดยเฉพาะการปลูกขาว ดังหลักฐานยืนยนัในรายงานของ จอหน ครอวฟอรด (John Crawfurd) นักการทูตชาวอังกฤษที่เขามาเจรจาเรื่องการเมืองและการคากับไทยในสมัยรัชกาลที่ 2 ในสมัยรัตนโกสินทร ซ่ึงไดบันทกึถึงความอุดมสมบูรณทางการเกษตรและความมั่งคั่งทางทรัพยากรธรรมชาติของไทย ไวในรายงานของเขาตอนหนึ่งวา

  • 26

    “...อาณาจักรอันกวางใหญไพศาลของกรุงสยามมีดิน และการเพาะปลูกนานาชนดิ ขาพเจาเชื่อวาคงจะไมผิดทีจ่ะกลาววา ไมมีประเทศใดในโลกที่อุดมสมบูรณเชนนี้ เพราะไมแตจะอุดมไปดวยแรธาติ พืชพรรณธัญญาหาร และปศุสัตวนานาชนิด แตยงัอุดมไปดวยผลิตผลที่จะชวยกระตุนใหมกีารคาพาณิชยเกดิขึ้น และเปนที่สนใจของชาวตางชาติที่จะเขาไปพํานักอาศยั...” (จอหน ครอวฟอรด, 2515: 100)

    และ จอหน ครอวฟอรด ไดอธิบายเพิ่มเติมถึงการปลูกขาวในแหลงบริเวณที่ราบลุมภาคกลาง อันเปนแหลงปลูกขาวที่สําคัญที่สุดของอาณาจักร เชนบริเวณ กรุงเทพฯ นนทบุรี ปทุมธานี อยุธยา อางทอง สิงหบุรี สระบุรี ลพบุรี เมืองอินทร เมืองพรม เมืองมโนรมย ชัยนาท อุทัยธานี นครสวรรค นครนายก ปราจีนบุรี ชลบุรี ฉะเชิงเทรา นครชัยศรี สุพรรณบุรี สาครบุรี และสมุทรปราการ เปนตน โดย จอหน ครอวฟอรด ไดบรรยายไววา

    “...เนื้อที่ที่ใชปลูกขาวเปนบริเวณกวางใหญน้ําทวมถึงได อยูในลุมน้ําเจาพระยา ดินแดนสวนนี้ของประเทศเปนสวนที่อุดมสมบูรณมาก สามารถปลูกขาวไดผลผลิตสูง โดยใชแรงงานเพียงแตนอย ฉะนั้นจึงไมมีที่ไหนทีจ่ะสามารถปลูกขาวไดในราคาถูกกวาทีก่รุงสยาม...” (จอหน ครอวฟอรด, 2515: 102)

    นอกจากนี้ สังฆราชปาลเลกัวซ (Pallegoix) ซ่ึงเปนสังฆราช ชาวฝรั่งเศส ผูซ่ึงไดเขามาพํานักและเผยแผศาสนาในประเทศสยามในสมัยรัชกาลที่ 3 และรัชกาลที่ 4 ไดบรรยายถึงความอุดมสมบูรณของทรัพยากรในประเทศไทย โดยเฉพาะการปลกูขาว ดังความตอนหนึ่งวา

    “...ขาพเจาไมทราบวาในโลกนี้ยังจะมีประเทศใดบาง ที่มีความอุดมสมบูรณยิง่ไปกวาประเทศสยามหรือหาไม โคลนตมของแมน้ําไดทําใหผืนแผนดนิอุดมไปดวยปุยอยูทุกปโดยแทบจะไมตองบํารุงผืนดินเลย กไ็ดตนขาวกอใหญอันมีรสดีวเิศษซึ่งไมเพยีงแตพอเล้ียงประชาชนพลเมืองเทานั้น ยังสงออกไปขายยังเมืองจีนและทีอ่ื่น ๆ ไดอีก ....” (สังฆราชปาลเลกัวซ, 2520: 13)

    จากหลักฐานยนืยันทีย่กมากลาวอางเหลานี ้ ลวนสอดคลองกับผลการศึกษาคนควาทางประวัติศาสตรไทยของ ชัย เรืองศิลป ที่อธิบายวา “ความอุดมสมบรูณอันยังประโยชนแกเกษตรกรอยางมากมายนั้นปรากฏใหเห็นไดทัว่ราชอาณาจักรของไทย โดยเฉพาะบริเวณภาคกลางที่แมน้ําเจาพระยาไหลผานที่ราบต่ําอันกวางใหญไพศาลที่สุดในเมืองไทย นอกจากนั้น ยังรวมถึงบริเวณที่แมน้ําสายสําคญัไหลผาน เชน ปง วัง ยม นาน ปาสัก และสะแกกรัง เปนตน” นอกจากนี้ ชัย เรืองศิลป ยังอธิบายการปลูกขาวในพื้นที่บริเวณอ่ืน ๆ ไวดวยวา “ในภาคเหนือนั้นถึงจะมีน้ําทวมตลิ่งในฤดูน้ํามาก แตน้ําขังอยูไดไมนาน เพราะพืน้ที่มีความลาดเทก็สามารถปลูกขาวไดดี ทางภาคใตแหลงทํานาที่ใหญโตที่สุดก็คือแถบเมืองนครศรีธรรมราช สวนทางภาคอีสาน แหลงทํานาใหญโตที่สุดก็

  • 27

    คือแถบเมืองนครราชสีมา ซ่ึงขาวที่ปลูกกันแพรหลายในบริเวณนี้จะเปนขาวเหนยีว ซ่ึงชาวบานชอบกินมากกวาขาวเจา” (ชัย เรืองศิลป, 2522: 124–125)

    สําหรับงานศึกษาของพระองคเจาดิลกนพรฐั ไดอธิบายถึงความอุดมสมบูรณดังกลาววารวมถึงบริเวณคาบสมุทรมลายู และบริเวณที่แมน้ําโขงไหลผาน เปนตน โดยพระองคเจาดิลกนพรฐัทรงสรุปในตอนทายวา “ทรัพยากรธรรมชาติของประเทศสยามนั้น มีอยูอยางอุดมสมบูรณ ไมวาจะเปนแหลงน้ําซึ่งจําเปนตอการทํานาและทําสวนผลไม และทรัพยากรธรณีอันไดแกแรธาตุตาง ๆ และดิน อีกทั้งทรัพยากรปาไม” (อางถึงใน วิชิตวงศ ณ ปอมเพช็ร, 2544: บทที่ 3)

    เหลานี้จึงลวนเปนหลักฐานยนืยันไดวา ปจจัยทางดานความอุดมสมบูรณของทรัพยากร ธรรมชาติดังกลาว คืออีกปจจัยที่สําคัญในการกําหนดวิถีการผลิตแบบการเกษตร โดยเฉพาะการปลูกขาว รวมถึงการผลิตสินคาจําเปนอื่น ๆ อันถือเปนการผลิตที่สําคัญที่สุดในโครงสรางเศรษฐกจิแบบพอเพยีงในยุคสมัยรัตนโกสินทรตอนตนนี ้

    และเพื่อช้ีชัดในเหตุผลที่วา ปจจัยดานความอุดมสมบูรณของทรัพยากรธรรมชาติคือฐานสําคัญแหงความมั่นคงดานปจจัยในปจจัยการดํารงชีพของผูคนในโครงสรางเศรษฐกจิแบบพอเพยีงในยุคสมัยรัตนโกสินทรตอนตนนี้ จึงจําเปนตองนําเสนอขอคนพบจากปจจยัอยางนอย 4 ประการ ที่สามารถยืนยันไดวา ความพอเพียงและสามารถพึ่งพาตนเองไดในดานปจจัยดํารงชีพอยางมั่นคงของชุมชนหมูบานและสังคม ซ่ึงไดเกิดขึ้นและคงอยูอยางแนบแนนในวิถีการดําเนนิชีวิตของผูคนในสังคมยุค สมัยนี้ กลาวคือ

    (1) ความสําคญัของการปลูกขาว (2) ดานความพอเพียงของปจจัยดานที่ดนิ (3) ดานนโยบายของรัฐบาลที่สนับสนุนใหประชาชนปลูกขาว (4) การผลิตสินคาอื่นเพื่อการยังชีพในระบบเศรษฐกิจแบบพอเพียง โดยปจจยัในการอธิบายทั้ง 4 ดานนี้ มีขอพจิารณาวเิคราะห ดังนี ้ ประการแรก ความสําคัญของการปลูกขาว กลาวไดวา ขาวเปนอาหารหลักของคนไทยทุกคนมาเปนเวลายาวนานนับไดหลายพันป

    จนถึงปจจุบันขาวมีความสําคัญและผูกพันกับวิถีชีวิตของคนไทยอยางลึกซึ้งเพราะขาวเปรียบเสมือน ชีวิตของคนไทย ดวยขาวมอิีทธิพลตอแบบแผนการดํารงชีวิตของคนจาํนวนมากในสังคมไทยเพราะเปนตัวกําหนดวิถีชีวิตความเปนอยูของราษฎรสวนใหญที่เปนชาวนา ที่สําคัญประเทศไทยมีสภาพ แวดลอมทางธรรมชาติเอื้ออํานวยตอการยังชีพดวยการทํานา ทําไร ปลูกขาว ซ่ึงในยุคอดีตธรรมชาติจะมีอิทธิพลอยางสําคัญในการควบคุมและกําหนดแบบแผนการผลิตคือการปลูกขาว และ

  • 28

    สงผลตอ เนื่องมาถึงแบบแผนการดํารงชีวติของผูคนในสังคมที่เรียกกนัวา “วัฒนธรรมขาว” อันถือไดวาเปนลักษณะอันสําคัญอยางหนึ่งของความเปนไทย ซ่ึงแตกตางไปจากชนชาติอ่ืน และที่สําคญัอยางมากก็คือวา ภายใตโครงสรางการผลิตในลักษณะนี ้ เปนเหตุผลสําคัญที่อธิบายถึงความสามารถในการ “พึ่งตนเอง” ดานอาหารการกิน ไดเปนอยางดี โดยเฉพาะอยางยิ่งสังคมในชมุชนชนบทซึ่งเปนชุมชนหนวยที่เล็กที่สุดในสังคมของไทย (รายละเอยีดดไูดใน งามพิศ สัตยสงวน, 2545: 2-3, โดยเฉพาะในบทที่ 12)

    ภาพเชนนี้สะทอนเปนที่ชัดเจนวาการเกษตรจึงถือเปนองคประกอบพืน้ฐานทางเศรษฐกิจที่สําคัญที่สุดสําหรับโครงสรางทางเศรษฐกจิในยุคนี้ และการผลิตทางการเกษตรทีสํ่าคัญที่สุดจนกลาวไดวาสําคัญเหนือการผลิตสิ่งอื่น ๆ อยางมากก็คือ “การปลูกขาว” นี้เอง ดังขอสรุปยืนยันตรงกันใน 3 ประเด็นหลัก ทั้งในงานศกึษาวิจยัของ ฉัตรทิพย นาถสุภา และจากผลการศึกษาคนควาของ ศุภรัตน เลิศพาณิชยกุล ที่ช้ีชัดวา 1) การเกษตรแบบพอยังชีพในสมัยรัตนโกสินทรตอนตนก็คอืการปลูกขาวเปนพืชหลัก โดยภาพของการปลูกขาวเปนพืชหลักนี้มีอยูทัว่ไปในทุกภูมิภาคของอาณาจักร 2) วัตถุประสงคหลักของการปลูกขาว เปนรูปแบบของการผลิตเพื่อใชเอง (Production for use) เพือ่อยูเพื่อกนิเองในครอบครัว ไมใชผลิตเพือ่แลกเปลี่ยน ไมใชผลิตเพือ่ขาย และ 3) ลักษณะของการผลิต ขึ้นอยูกับความอดุมสมบูรณของทรัพยากรธรรมชาติเปนการผลิตที่ใชแรงงานในครอบครัวและทรัพยากรธรรมชาติคือที่ดินเปนปจจัยพืน้ฐานอันสําคญั เนื่องจากระดับเทคโนโลยีการผลิตอยูในระดับต่ํา และขึ้นอยูกับภูมิอากาศโดยธรรมชาติ (ฉัตรทิพย นาถสุภา, 2533: 17, 2545: 27; ศุภรัตน เลิศพาณิชยกุล, 2547: 65)

    เหลานี้จึงลวนเปนหลักฐานสาํหรับการยืนยนัวา ปจจยัทางดานความอุดมสมบูรณของทรัพยากรธรรมชาติดังกลาว คืออีกปจจัยที่สําคัญมากในการกําหนดวิถีการผลิตแบบการเกษตรโดย เฉพาะการปลกูขาว อันถือเปนการผลิตที่สําคัญที่สุดในโครงสรางเศรษฐกิจแบบพอเพียงในยุคสมยัรัตนโกสินทรตอน ตนนี ้

    ประการที่สอง ดานความพอเพียงของปจจยัดานทีด่ิน กลาวคือ การคงอยูของลักษณะการผลิตแบบพอยังชีพของราษฎรไทยยังขึ้นอยูกับการมี

    ทรัพยากรโดยเฉพาะที่ดนิอยางเหลือเฟอ ตอเร่ืองนี้ในงานวิจยัช้ินสําคญัของ ฉัตรทิพย นาถสุภา เร่ือง “เศรษฐกิจหมูบานไทยในอดีต” ไดขอคนพบอนัเปนสิ่งยนืยนัถึงปจจัยสําคญัที่กลาวนี้ ดังขอความที่ระบุวา

    “...ที่ดินในเมอืงไทยเทยีบกบัจํานวนประชากร นับวามากกวาในประเทศเพื่อน เซอรจอหน เบาวร่ิง ประมาณวา ใน ค.ศ.1850 (พ.ศ.2393) ไทยมีพลเมือง 4.5 – 5 ลานคน พระองคเจา

  • 29

    ดิลกนพรัตน ประมาณวาใน ค.ศ.1904 (พ.ศ.2447) ไทยมีพลเมือง 7 ลานคน อาศัยอยูในเนื้อที่ทั้งหมด 634,000 ตารางกิโลเมตร หรือ 11 คน ตอ 1 ตารางกิโลเมตร เทียบกับ พมา 16 คน อินโดนีเซีย 21 คน (รวมทุกเกาะ) ฟลิปปนส 25 คน อินเดีย 73 คน ในชวงเวลาใกลเคียงกันพระองคเจาดิลกนพรัตนทรงประมาณวา จํานวนนีป้ระมาณ 3 ลานคน อยูในภาคกลางหรือที่เรียกวาสยามต่าํ 2 ลานคน อยูในภาคใต อีก 2 ลานคน อยูในภาคเหนือ และภาคอีสานที่รวมเรียกวาสยามสูง แมผูที่อยูในภาคกลางกไ็มรูสึกแออัด ยังขยายพื้นทีท่ํากินไดไมยากโดยการถางปาออกไป ในภาคกลางเทานั้น ที่หมูบานมีขนาดใหญ สวนในภาคอืน่ ๆ หมูบานมีขนาดเล็ก และมบีานแยกอยูโดดเดี่ยว ในภาคอีสานสถิติป ร.ศ.115 (ค.ศ.1896 หรือ พ.ศ.2439) ระบุวาเฉลี่ยแลวหมูบานแถบจังหวดันครราชสีมามีเพียง 38 หลังคาเรือนหรือประชากร 203 คน เหตุนีก้ารขยายพืน้ที่ทํากินไดเร่ือยนี้ ทําใหสามารถมีพื้นที่ดินสําหรับผลิตขาวเพื่อบริโภคแมประชากรจะเพิ่มขึ้น...” (ฉัตรทิพย นาถสุภา, 2533: 17–18)

    อยางไรก็ดี มขีอนาสังเกตวา ในขณะที่ทรัพยากรธรรมชาติโดยเฉพาะที่ดิน โดยสภาพแลวถือเปนของพระมหากษตัริยดังระบใุนพระไอยการลักษณะเบด็เสร็จ บทที่ 52 ตอนหนึ่งวา

    “...ที่ในแวนแควนกรุงเทพพระมหานครศรอียุธยามหาดิลกภพนพรัตนราชธานีบุรีรัมยเปนที่แหงพระเจาอยูหวั หากใหราษฎรทั้งหลายผูเปนขาแผนดินอยู จะไดเปนที่ราษฎรหามิได...” (อางถึงใน อนสุรณ อุณโณ, 2547: 13)

    จากขอความในกฎหมายดังมาตราที่ยกมากลาวนี ้ยศ สันตสมบัติ มีความเหน็วา ในขณะที่ทรัพยากรธรรมชาติ เชน ที่ดิน แมโดยทฤษฎีจะเปนของพระมหากษัตริยเหมือนเชนแรงงาน แตรัฐก็อนุญาตใหราษฎรในชุมชนทองถ่ินมีสิทธิเหนือทรัพยากร ไมไดตรากฎหมายใหทรัพยากรปา นา หรือสวนเปนของรัฐโดยตรง และไมไดกาํหนดกฎเกณฑการใชทรัพยากร จะเขามาของเกี่ยวเฉพาะการเก็บภาษีอากร การชี้ขาดขอพิพาท และการบังคับเวณคืนเทานั้น (ยศ สันตสมบัติ, 2543: 109)

    ทางดาน ศุภรัตน เลิศพาณิชยกุล ไดสันนิษฐานและตคีวามกฎหมายมาตราดังกลาวไปในทํานองเดียวกนัในแงที่วา แมในทางทฤษฎีแลวพระมหากษัตริยทรงเปนเจาของที่ดนิทั้งหมดในพระราชอาณาจักรแตเพยีงพระองคเดียว ซ่ึงพระองคจะพระราชทานสิทธิในการถือครองและสรางผลประโยชนจากที่ดนิแกเจานาย ขนุนาง พระสงฆ ไพร และทาส ลดหล่ันกันไปตามศักดินาของแตละบุคคล และทรงไวซ่ึงพระราชอํานาจที่จะเรียกที่ดินคนืเมือ่ไรก็ไดโดยไมตองจายคาเวณคืน (ศุภรัตน เลิศพาณิชยกุล, 2547: 75; รายละเอียดดูเพิ่มเติมใน พลตรี หลวงวจิิตรวาทการ, 2544: 11 โดยเฉพาะในบทที่ 1)

    อยางไรก็ดีมีผลการศึกษาหลายชิ้นไดใหขอสันนิษฐานวา ในทางปฏิบัติแลวการจะเรียกสิทธิในการถือครองที่ดินที่ไดพระราชทานไปแลวคนจากพวกเจานายและขุนนาง หรือที่มักเรยีกกันวาพวกมูลนายนัน้ คงจะไมใชกระทาํกนัไดอยางงายดาย หากตองขึ้นอยูกับพระราชอํานาจทาง

  • 30

    การเมืองของพระมหากษัตริยแตละพระองค ดวยเหตผุลเชนนี้ จงึกลาวไดวาชนชั้นปกครองซึ่งประกอบดวย พระมหากษัตริย เจานาย และขุนนาง เปนผูครอบครองปจจัยการผลิตเรื่องที่ดิน สําหรับพวกไพรหรือราษฎรก็ไดรับสิทธิในการถือครองที่ดินจํานวนหนึ่งสันนษิฐานวาประมาณ 10-25ไร (เชนใน ศุภรัตน เลิศพาณิชยกุล, 2547: 75; จิตร ภูมิศักดิ,์ 2541: 169; ธเนศวร เจริญเมือง, 2542: 80; พลตรีหลวงวจิิตรวาทการ, 2544: 20-21 เปนตน) เพื่อใชเพาะปลูกเลี้ยงตนเองและเสียภาษีอากรใหรัฐบาล สวนการเรียกที่ดนิคืนจากราษฎรนั้นนาจะไมคอยไดกระทํากนั เพราะพวกไพรเปนผูสรางผลผลิตที่สําคัญของสังคม ผลผลิตที่สรางขึ้นก็ใหผลประโยชนแกรัฐ อีกทั้งพวกไพรกถื็อครองที่ดินจํานวนไมมากดวย นอกจากนัน้ เนื่องจากวาในสมัยรัตนโกสินทรตอนตนนี้ประชากรในอาณาจักรยังมนีอยแรงงานจงึมอียูจํากดั แมวาพวกมูลนายจะไดควบคุมแรงงานไพรและมีขาทาสเปนบริวาร แตกย็ังไมมีแรงงานมากเพยีงพอที่จะไปบกุเบิกสรางผลประโยชนจากที่ดนิเต็มจํานวนตามศักดินา ที่ไดรับพระราชทาน จึงไมปรากฏปญหาการถือครองที่ดินเกนิศักดนิาจนตองไปเรยีกที่ดินคืนจากกลุมไพร (ศุภรัตน เลิศพาณิชยกุล, 2547: 75)

    นอกจากนี้ยังมขีอสันนิษฐานที่สําคัญอีกชิ้นหนึ่ง ที่สนบัสนุนปจจยัสําคญัที่กลาวนี้ คือ ในงานศึกษาของ สุพจน เจียมใจ โดยสุพจน ใหขออธิบายไวอยางนาสนใจกลาวโดยสรุปก็คือวา จากผลการศึกษาพจิารณาจากเอกสารชั้นตนที่มีอยู กลาวไดวา ไพรหรือเกษตรกรชาวไทยในสังคมศักดินาสมัยรัตนโกสินทรตอนตนนี้ไมประสบปญหาเรื่องที่ดนิทํากิน แมวาจะไมไดเปนเจาของปจจัยการผลิตนี้โดยตรงก็ตาม ปรากฏการณดังกลาวนี้สะทอนใหเห็นอยางชัดเจนจากกฎหมายเกีย่วกับที่ดินหลายมาตรา เชน รัฐบาลไดออกกฎหมายอนุญาตใหราษฎรจับจองที่ดินรกรางวางเปลาไดโดยเสรี เพียงแตวาจะตองไปแจงใหเจาหนาทีข่องทางการมาดูที่ดินที่ตองการจะจับจอง เพื่อทางการจะไดออกโฉนดใหไวเปนหลักฐาน ซ่ึงก็จะมปีระโยชนตอทางการในเรื่องการเก็บภาษี สวนผูที่จับจองที่ดินโดยไมแจงใหเจาหนาที่ของรัฐทราบถือวามีความผิดจะไดรับโทษ นอกจากนั้น ในงานของ สุพจน ยังอธิบายเพิ่มเติมวา รัฐบาลเองยังมีนโยบายสงเสริมใหราษฎรบุกเบิกสรางผลประโยชนจากที่ดินตาง ๆ อยางเต็มที่ ดงัเห็นไดจากการออกกฎหมายยกเวนการเกบ็ภาษีในปแรกแกราษฎรที่ทําการหักรางถางพงเพื่อใหไดทีด่ินผืนใหมหรือกรณีการใหบําเหน็จแกเจาหนาที่ของทางการที่สามารถชักชวนใหราษฎรไปบุกเบกิจับจองที่ดนิในการทําไรนา รวมถึงการออกกฎหมายวาทีด่ินที่ไดออกโฉนดแลวนัน้จะตองสรางผลประโยชนทกุป มิฉะนั้นจะถูกเวณคืนใหผูอ่ืนเขาไปทําประโยชนแทน (สุพจน เจียมใจ, 2527: 93- 96)

    เหลานี้ลวนยืนยันวาสภาพการมีทรัพยากรทีด่ินอยางเหลือเฟอในยุคสมยันี้นั้น มีผลตอความมั่นคงของลักษณะการผลิตแบบพอยังชีพ โดยเฉพาะการปลูกขาวซึ่งถือเปนรากฐานที่สําคัญที่สุดในโครงสรางของเศรษฐกิจแบบพอเพียงในยุคสมัยนี้

  • 31

    ประการที่สาม ดานนโยบายของรัฐบาลที่สนับสนุนใหประชาชนปลูกขาว ดังขออธิบายในงานเขียนของ เจมส ซี อินแกรม (James C. Ingram) ทีช่ื่อวา “Change in

    Thailand since 1850” ที่ระบุถึงประเด็นสาํคัญนี้ไววา “ดานรัฐบาลเองก็ไดสนับสนนุใหประชาชนเพาะปลูกขาวใหมากที่สุดเทาที่จะมากได เพราะขาวเปนพืชหลักที่ใชเล้ียงผูคนภายในอาณาจกัร และยังตองเก็บสํารองไวใชในราชการได เชน จายเปนเสบียงแกกองทัพในยามศกึสงคราม จายเปนเสบียงแกผูเดนิทางไปติดตอราชการตาง ๆ หรือนําออกขายใหแกประชาชนในราคาถูกเมื่อเกิดการขาดแคลนขาวอันเนื่องมาจากฝนแลงหรือน้ําทวม และสงไปขายตางประเทศเมือ่มีเหลือจากการบริโภค และไดเก็บสํารองไวอยางเพียงพอแลว ตามหลักฐานที่มีอยูขาวเปนสินคาออกที่สําคัญของไทยในสมัยอยุธยาตอนปลาย ในชวงเวลาดังกลาวการคาขาวระหวางไทยและจีนเจริญรุงเรืองมาก แตในสมยัรัตนโกสินทรตอนตน มีการสงขาวเปนสินคาออกบาง แตยังมีปริมาณนอยและไมแนนอนเมื่อเทยีบกับสินคาเกษตรอื่น ๆ เชน พริกไทย ยาสูบ ฝาย กระวาน กานพลู เปนตน เพราะขาวเปนสินคาควบคุม จะสงไปขายตางประเทศไดก็ตอเมื่อมีประมาณสํารองอยางพอเพียงในประเทศแลว หนังสือหลายเลมกลาววา มกีฎหามมิใหสงขาวออกนอกประเทศ เวนเสียแตวาในปนั้น ๆ จะผลิตขาวไดมากพอกินไปถึง 3 ป จึงจะสงขาวไปขายตางประเทศได” (James C. Ingram, 1955 pp. 23-24, อางถึงใน ศุภรัตน เลิศพาณิชยกุล, 2544: 51)

    นอกจากนี้ ในปริญญานิพนธของ สุพจน เจียมใจ เร่ือง “การศึกษาวเิคราะหสภาพเศรษฐกิจของไทยสมัยรัตนโกสินทรตอนตน ระหวาง พ.ศ. 2325 – 2393” ยังใหขออธิบายเพิ่มเติมตอกรณีนีก้ลาวโดยสรุปก็คอื ดานความเอาใจใสของรัฐบาลตอการปลูกขาวนั้น จะเห็นไดจากการมีคําสั่งใหเจาเมอืงตาง ๆ สงรายงานจํานวนฝน น้ําทา และตนขาวในชวงฤดูการทาํนามาใหรัฐบาลทราบอยางสม่ําเสมอ หากไมรายงานมาหรือนาน ๆ รายงานมาครั้งหนึ่ง รัฐบาลจะถือวาเจาเมอืงละเลยกับงานราชการ มีความผิดเปนอันมาก นอกจากเรื่องที่รายงานแลว รัฐบาลมักกําชับใหเจาเมอืงตาง ๆ คอยเอาใจใสตรวจตราการทํานาของราษฎร ภูมิภาคใดพอจะทํานาไดปละ 2 คร้ัง ก็ใหเจาเมืองกรมการชวยจดัแจงคิดอานใหราษฎรทํานาปละ 2 ครั้ง เพื่อจะไดเม็ดขาวมาก ๆ ไวใชในอาณาจักร ถาหากมีพื้นทีร่กรางวางเปลาอยู ก็ใหเจาเมืองกรมการชักชวนใหราษฎรบุกเบิกแผวถางพื้นที่เพื่อทํานาตอไป บางครั้งเมื่อราษฎรขาดแคลนควายที่จะใชไถนาก็มีการแจกจายควายใหราษฎรยืมไปทํานาไดดวย (สุพจน เจียมใจ, 2527: 58-60)

    นอกจากนั้น จากหลักฐานขอความในจดหมายเหตุรัชกาลที่ 3 เลขที่ 8 จ.ศ.1194 สารตราเจาพระยาจักรีมาถึงพระยานครชัยศรี พระวิเศษฤาไชย เร่ืองใหทํานาในที่สวนกลวยสวนออย โดยใจความสําคัญระบุวา “หากภายหลังน้ําทวมพื้นที่นาตาง ๆ ทําใหไดผลผลิตนอย นอกจากพืน้ที่นาเดิมแลว ยังพอจะทํานาตามไรออย และสวนกลวยตาง ๆ ได รัฐบาลก็จะสงเสริมใหราษฎรทํานาในที่

  • 32

    สวนที่ไรเหลานั้นดวย ทั้งนี้เพื่อจะไดมีขาวเพียงพอกับความตองการบริโภคภายในอาณาจักร” (อางถึงใน ศุภรัตน เลิศพาณิชยกุล, 2547: 66)

    โดยนยัที่กลาวนี้ จึงสรุปไดวาการผลิตขาวในสมยัรัตนโกสินทรตอนตนนี้ จึงเปนการผลิตแบบพอยงัชีพมุงสนองความตองการในการบริโภคใหพอเพียงภายในประเทศเปนสําคัญ กลาว คือ เปนภาพของสังคมไทยที่มีความสามารถในการพึ่งตนเองไดเปนอยางดี ในดานอาหารการกิน

    ประการที่สี่ การผลิตสนิคาอืน่เพื่อการยังชพีในระบบเศรษฐกิจแบบพอเพียง นอกเหนือจากขาว ซ่ึงนับเปนอาหารหลักของคนไทยทกุภาคแลว ลักษณะการผลิตสินคา

    อ่ืนๆในระบบเศรษฐกิจแบบพอเพียงในสมยัรัตนโกสินทรตอนตนจะมลัีกษณะเหมือนในอดตีที่ผาน มาซึ่งมีลักษณะที่ทําใหหมูบานในวิถีการผลิตภายใตโครงสรางของเศรษฐกิจแบบพอเพียงในยุคสมยัรัตนโกสินทรตอนตนนี้ มีความสามารถในการพึ่งพาตนเองไดในเกือบทุกดาน หรือกลาวไดวาเปนสภาพเศรษฐกจิและสังคมทีม่ีความพอเพยีงในตนเองสูงพอควรดวย สภาพของผูคนในหมูบานมีชีวิตที่เรียบงายในสภาพแวดลอมของธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ ดังจะไดกลาวถึงลักษณะการผลิตสินคาอื่น ๆ นอกเหนือจากการผลิตขาว โดยแยกพจิารณาเปนลักษณะการผลิตที่สําคัญได 7 ประการสําคัญดังตอไปนี้

    (1) ราษฎรมกีารปลูกฝายเพื่อนํามาทอผาหรือทําเปนเครื่องนุงหมไวใชเอง บางทองที่ก็เล้ียงตัวหมอนสําหรับทอไหมเอง (ฉัตรทิพย นาถสุภา, 2545: 29)

    ซ่ึงเมื่อพิจารณาจากหลักฐานที่มีอยู ทั้งรายงานของชาวตางประเทศ 3 ทั้งเอกสารของทางราชการ4 และขอมูลตาง ๆ จากวรรณคดีรวมสมัยแลว5 สามารถประมวลและสรุปไดวา ฝายเปนพืชไรที่ปลูกกันมากที่สุดในสมยัรัตนโกสินทรตอนตนนี้ และจะปลูกกันในทุกภูมิภาคโดยในภูมภิาคที่มีการคมนาคมติดตอกับกรุงเทพฯ และเมืองทาอื่น ๆ ไดสะดวกก็จะปลูกเปนจํานวนมากกวา คือถาเหลือจากใชในชีวิตประจําวนั แลวกจ็ะนําไปขาย

    3 เชน จากบันทึกรายงานของ จอหน ครอวฟอรด (John Crawfurd, 1976: 424-425 (ดูในชัย เรืองศิลป, 2522: 106)

    4 เชน จากจดหมายเหตุรัชกาลที่ 2 , เลม 1 หนา 56 เรื่อง “บัญชีเกณฑเครื่องทําพระเมรุพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก จ.ศ.1171” กรมศิลปากร. (ดูใน ชัยเรืองศิลป, 2522: 60-61)

    5 เชน จากวรรณคดีเรื่อง “ขุนชาง ขุนแผน” ตอนที่กลาวถึงนางพิมพิลาไลยไปตรวจไรฝาย (ดูใน ศภุรตัน เลิศพาณิชยกุล, 2547: 69) และ “โครงนิราศสุพรรณ” แตงโดย สุนทรภู กวีเอกแหงกรุงรัตนโกสินทรตอนตน (สุนทรภู, 2520: 60) เปนตน

  • 33

    ซ่ึง ฉัตรทิพย นาถสุภา ไดอธิบายรายละเอียดยืนยันไวในผลการวิจยัเร่ือง “เศรษฐกิจหมูบานไทยในอดีต” วา ในสมัยรัตนโกสินทรตอนตนนี้ ชาวนาทอผาใชเองโดยใชกี่ธรรมดา ปลูกฝายและเลี้ยงตวัหมอนสําหรับทอไหมเองฝายตองปลูกในที่ดอน ดังนั้นบางหมูบานจึงอาจไมเพียงพอในตวัเองในการปลูกฝาย อาจตองซื้อหรือแลกเปลี่ยนบาง สมอฝายที่สุกแลวจะถูกตีใหฟูเปนแบบสําลี แลวนาํมากรอดวยหลาเปนเสนดาย แลวเอาเสนดายไปทอเปนผาฝาย แมในภาคกลางซ่ึงเปนที่ลุมในที่หลายแหงก็ยังมีการเขน็ดายจากฝายทีป่ลูกเอง เชน ที่อําเภอทาเรือ จังหวัดอยุธยา ก็ยังคงเข็นดายในชวงปลายคริสตศตวรรษที่ 19 ที่จังหวดัพิจิตรและพษิณุโลกก็ปลูกฝายในภาคใตที่อําเภอปากพนงัตอนบน และอําเภอลานสกา จังหวัดนครศรีธรรมราช สวนในภาคอสีานมีปลูกฝายแพรหลายทีจ่ังหวัดอุบลราชธาน ี กาฬสินธุ มหาสารคาม นครพนม และเลย (ดูรายละเอียดไดใน FO 69/90 Report on the country traversed by Mr.Satow, April 3, 1886 , P.7 อางถึงใน ฉัตรทิพย นาถสุภา, 2533: 14) สวนการทอผาใชเองนั้นทํากันแพรหลายทั่วทกุภาคในสังคมไทยโบราณรวมทั้งภาคกลาง (เอกสารยืนยนัคํากลาวนี้ ฉัตรทิพย ระบุไววา เชนในประชุมประกาศรัชกาลที่ 4 เลม 3 , 2407 เลขที่ 253 , จัดพิมพโดยคุรุสภา ป พ.ศ.2504 หนา 232 เปนตน) สําหรับผาคลองตะเคียนใกลตวัเมืองอยุธยานั้นมีช่ือเสียงมาก แมจนสมัยรัตนโกสินทรนี้

    นอกจากนี้ในงานวิจยัของ ฉัตรทิพย นาถสุภา ช้ินสําคัญนี้ ยังไดอธิบายตอไปวา สําหรับการทอผา มักเปนหนาที่ของผูหญิงที่ทอกันมากในหนาแลง หรือถาเปนหนาฝนกเ็มื่อวางจากนา เชน ระหวางที่รอใหขาวโต สวนเวลากลางคืนใชกรอดายโดยเฉพาะในคนืเดือนหงาย เรียกวาลงขวง และเปนประเพณีสังคมที่ชายหนุมจะมาพบปะหญิงสาวใตถุนลานบานระหวางลงขวงนี้ ประเพณนีี้แพรหลายในชุมชนไทลาวในอดีต และการทอผาตําหูกเปนกิจการที่สําคญัของครอบครัว และหมูบานจนถึงขั้นที่วาตามประเพณไีทลาวแลวหญิงสาวที่ทอผาไมเปนจะไมไดแตงงานทีเดยีว แตการทอผาดงักลาวนี้กไ็มมกีารพัฒนาทางเทคโนโลยี ใชแรงคนเปนหลัก จะทอไดผานุงผืนหนึ่งก็ตองทอตลอด 2 – 3 วัน ซ่ึงสภาพที่วานี้ ฉัตรทิพย นาถสุภา ไดตั้งขอสังเกตวา การทอผารวมอยูกับการทํานาอยูในบานเดยีวกัน คือชาวนาเปนชางทอผาดวยพรอมกัน มไิดมีการแบงงานกันทําเด็ดขาดวาคนนี้เปนชางทอผา คนโนนเปนชาวนา ไมมีการแยกการทอผาไปทําในหมูบานทอผาโดยเฉพาะโดยไมทํานา (ฉัตรทิพย นาถสุภา, 2533: 14-15)

    นอกจากนี้ในบันทึกของ สังฆราชปาลเลกัวซ (Pallegoix) ยังระบุยนืยันไววา “ชาวนาของสยามแตโบราณก็ทอผาดวย นอกจากพวกชนกลุมนอยที่ลาหลังมากบางสวน เชน พวกขา และถ่ิน ทอผาไมเปนก็มี พวกนีต้องเอาฝายไปแลกผา” (สังฆราชปาลเลกัวซ, 2520: 51)

  • 34

    (2) อาหารหลกัอีกอยางหนึ่งของคนไทยในทุกภาคภายใตระบบเศรษฐกิจแบบพอเพยีงในยุคสมัยนี้ก็คือ ปลา6 กลาวไปแลวเปนทีแ่นชัดวา เมืองไทยขึ้นชื่อลือนามวาอุดมไปดวย ปลา กุง และ หอย ซ่ึงมีรสดี มิใชแตชุกชุมมากในสมัยอยธุยาเทานั้น ในสมัยรัตนโกสินทรนี้กย็ังชุกชุมอยู (ชัย เรืองศิลป, 2522: 100)

    ซ่ึงในงานวจิัยของ ฉัตรทิพย นาถสุภา อธิบายไววา “การจับปลาก็ใชวธีิการงาย ๆ ตั้งแตใชชอนเอา ใชฉมวก ใชสุมตามริมหาดชายฝง โดยเอาไตไปสองกลางคืน ใชหลุมดกัเวลาน้ําแหงลง หรือกั้นคลองเวลาหนาแลง ใชโพงใสเหยื่อปลาเล็กลอใหปลาวิ่งเขาไปแลวออกไมได ใชแหกั้นขวาง น้ํา ใชเบ็ด หรือในภาคใตใชวิธีงายที่สุดแทบไมนาเชื่อคือ เอาสีขาวทาไมกระดานที่ตอเปนปกเรอืลงไปในน้ําเสมอกับทองเรือพายไปริมตลิ่งที่มีพงหญารกเรียกวา เรือผีหลอก ปลาที่ขี้ตื่น เชน ปลากระบอก ปลากะพง จะตกใจกระโดดหนีตกเขาเรือเอง เนื่องจากในอดีตปลามีอยูอยางอดุมสมบูรณมาก เพราะฉะนัน้ดวยวิธีงาย ๆ เหลานี้ ชาวบานก็หาปลามากินไดไมยาก วิธีการจับปลาเหลานี้ใชเครื่องมืองาย ๆ หรือแทบไมใชเลย จะใชแรงงานเปนหลัก และตามแถบฝงทะเลก็หาปลากันแถวชายฝงไมไดออกไปในทองทะเล เรือในระยะแรกเปนเรือขุดนั่งไดเพยีง 1 – 2 คน ใชแจวบางใชใบบางออกไปไกลฝงไมได หรือวิธีจับปลาดวยมอืเปลา ปลาชอน ปลาเนื้อออนหางายมากในภาคกลาง ถาจบัมาแลวเหลือก็ทําปลาแหง ปลาเค็ม ถาเปนภาคอีสานก็ทําปลารา แถบที่มีปลามากเปนพิเศษคือ ที่ลุมน้ําทวมนาน หรือที่เปนบึงใหญ เชน แถบตะวันตกของแมน้ําเจาพระยา อําเภอผักให จังหวดัพระนครศรีอยธุยา อําเภอบางปลามา จังหวัดสุพรรณบุรี บึงสีไฟและหนองน้ําตาง ๆ จังหวดัพิจิตร บึงบอระเพ็ด จังหวดันครสวรรค ลุมแมน้ําสงคราม จงัหวัดสกลนคร และนครพนม ริมฝงแมน้ําโขง และชายฝงทะเลภาคใต เปนตน นอกจากนี้ ในภาคกลางนอกจากปลายังมีกุงซึ่งก็ชุมมาก สามารถดําน้ําลงไปจับขึ้นมาไดดวยมอืเปลาตามเสาเรือนที่กุงมาเกาะ ในภาคใตก็มีการหาหอยโดยใชไมแหลมขุดจากดนิ หรือหนวงปูคอืหยอนดายลงไปใหปใูชกามคีบแลวดึงขึ้นมาและเอาสวิงตัก” (ฉัตรทิพย นาถสุภา, 2533: 12-13) 6 ลักษณะดังกลาวนี้พบวาเปนมาตั้งแตยุคกอนหนามาจนถึงยุคนี้ เชน 1) ไดกลาวไวในหนังสือ “ประชุมศิลาจารึก” ซึ่งจัดพิมพโดยสํานักนายกรัฐมนตรี เมื่อป พ.ศ.2508 ที่กลาวถึงขอความในศิลาจารึกสุโขทัย หลักที่ 1 ที่มีจารึกไววา “ในน้ํามีปลา ในนาปขาว” 2) ในหนังสือช่ือ “ประวัติศาสตรธรรมชาติและการเมืองแหงราชอาณาจักรสยาม” เขียนโดยดูนิโกลาส แชรแวส ระบุไวในหนา 99 วา “อาหารหลักของคนไทย คือ ขาว ปลาและผัก” และ 3) ในหนังสือบันทึกของ สังฆราช ปาลเลกัวซ ช่ือ “เลาเรื่องกรุงสยาม” หนาที่ 194 ระบุวา “อาหารธรรมดาสําหรับคนไทย คือ ขาว ปลา ผัก และผลไม” เปนตน (อางถึงใน ฉัตรทิพย นาถสุภา, 2533: 82)

  • 35

    เหลานี้แสดงใหเห็นวาสัตวน้ําในธรรมชาติในยุคนี้มีความอุดมสมบูรณมาก ดังคํากลาวติดปากของชาวบานที่ช้ีใหเหน็ถึงความอุดมสมบูรณที่กลาวนี้วา “สามารถหุงขาวตาํน้ําพริกไวรอไดเลยกอนลงไปจับปลา” (ฉัตรทิพย นาถสุภา, 2533: 13)

    (3) ดานการทําสวนผลไมและการปลูกพืชผักตาง ๆ ในสมัยรัตนโกสินทรตอนตนนี ้ ราษฎรจะปลูกเพื่อการบริโภคในครัวเรือนเปนสําคัญ เมื่อมีเหลือจึงคอยนําออกขายหรือแลกเปลี่ยนกับสิ่งของอื่น ๆ ตามตลาดนัด7 สําหรับการทําสวนผลไมนั้น จากบนัทกึของ นายจอหน ครอวฟอรด ระบุวา เมื่อเขาลงเรือออกจากที่พักรับรองทูตไปชมทิวทศันในกรุงเทพฯ หลายแหง เห็นแตสวนผลไมมีอยูทั่วไปทุกหนทุกแหง นอกจากนี้ นายจอหน ครอวฟอรด ยงักลาวยกยองผลไมบางชนิดที่ปลูกในสวนกรุงเทพฯ เชน ทุเรียน มังคุด ล้ินจี่ สม มะมวง และสัปปะรด วามีรสอรอยกวาผลไมของแควนบังกะหลา บอมเบ แหลมมลายู ลังกา และชวา และกลาววาผลไมที่กลาวชื่อมานี้กําลังชุกในตอนที่เขาอยูในกรุงเทพฯ เขาอางจดหมายเหตุของชาวฝรัง่เศสวา เมืองธนบุรีขึ้นชื่อทางผลไมมาชานานแลว กรุงศรีอยุธยาไดผลไมไปจากเมืองนี้เปนสวนมาก เขายังบอกดวยวา ทุเรียน และมังคุดเปนภาษามาลายู สวนล้ินจี่นัน้ไทยไดพนัธุจากเมืองจีนมาปลูก (John Crawfurd, 1967: 140 อางถึงใน ชัย เรืองศิลป, 2522: 105-106)

    ทั้งนี้จะเห็นวาทองที่ในกรุงเทพฯ เปนทําเลเหมาะสมมากในการทําสวน เนื่องจากอยูใกลทะเลในระยะพอสมควร มีน้ําขึ้นน้ําลงทกุ ๆ วัน และน้ําทะเลที่เขามาปนกับน้ําทาเปนปุยวิเศษซึ่งไมตองซื้อหา ปลูกตนไมอะไรลงไปก็เจริญเติบโตใหผลทันอกทันใจ นอกจากนี้ไดมีการสํารวจตนไมผลที่จะตองเสียอากรสวนใหญ ในตนรัชกาลที่ 4 นั้น จํานวน 8 ชนิด คือ หมาก มะพราว พลู มะมวง มะปราง ทุเรียน มังคุด และลางสาด พบวาปลูกกันมากโดยเฉพาะในกรุงเทพฯ นนทบุรี นครเขื่อนขันธ สมุทรปราการ สาครบุรี สมุทรสงคราม นครไชยศรี ราชบุรี เพชรบุรี และ ฉะเชิงเทรา (ชัย เรืองศิลป, 2522: 106) นอกจากนี้ยังมีไมผลอ่ืน ๆ ที่ปลูกกนัทั่วไป เชน ฝร่ัง กลวย มะขาม มะตูม มะกรดู มะนาว หมาก ขนุน ชมพู มะละกอ นอยหนา ลําไย ทับทิม เปนตน (ศุภรัตน เลิศพาณิชยกุล, 2547: 66; วิชิตวงศ ณ ปอมเพ็ชร, 2544: 82)

    7 ชุมชนบานนอกมักจะไมมีตลาดประจําเพราะมีผูคนเบาบางแตมีตลาดนัดสําหรับเปนสถานที่แลก เปลี่ยนและซื้อขายสินคาตาง ๆ อาชีพหลักของชาวบานคือทํานาทําไร สวนมากทําเพียงใหไดผลผลิตพอกินพอใชเทานั้น เพื่อใหไดอาหารอยางอื่นนอกจากขาว เชน เกลือ น้ําปลา กะป ปลารา ปลาเค็ม และของใชอันจําเปนอยางเพียงพอ พวกเขาจึงตองทํางานพิเศษ เชน ปลูกฝาย ทําสวนครัว เลี้ยงปศุสัตว เลี้ยงไหม กรอดาย ทอผา สานเสื่อ สานตะกรา และกระบุง เพื่อจะไดมีผลผลิตนําไปแลกเปลี่ยนและขายที่ตลาดนัด การติดตลาดนัดจึงเปนของจําเปนที่ชุมชนจะตองจัดใหมีขึ้น สวนวันนัดติดตลาดก็แลวแตความเห็นดีเห็นชอบของชาวบาน อาจจะเปนเดือนละครั้ง ปกษละครั้ง สัปดาหละครั้ง หรือหาวันตอครั้งก็ได (ชัย เรืองศิลป, 2522: 128)

  • 36

    สําหรับการปลูกพืชผักตาง ๆ นั้น ก็มกีารปลูกกันโดยทัว่ไปทุกภูมภิาค ดวยการเกษตรในสมัยนี้เปนการเกษตรที่อุดมสมบูรณ ทั้งนี้การผลิตก็เพือ่การบริโภคในครัวเรือนเปนหลัก เมื่อมีเหลือก็นําออกไปแลกเปลี่ยนหรือขายในตลาด พืชผักเหลานี้ เชน พริก มะเขือ เผือก มันเทศ ถ่ัวฝกยาว หัวผักกาด ผักกาด หอม เปนตน (ศุภรัตน เลิศพาณิชยกุล, 2547: 66, 71; นิธิ เอยีวศรีวงศ, 2525: 106) นอกเหนือจากนี้ สําหรับผักบางชนิดกห็ามาเปนอาหารไดจากธรรมชาติ เชน หาไดจากปลวกนา ซ่ึงก็คือดินดอนริมคันนา มีตนไมใหญที่ชาวนามักเหลือเอาไวจากการหักรางถางพงแปลงเปนนาเพราะไมมีกําลังพอที่จะขุดออกไปได คอย ๆ ขุดไปปละเล็กละนอย หลังจากฝนตกที่ปลวกนี้ จะมเีห็ดขึ้น มหีนอไม ตําลึง เลียง ขึ้นมาชาวนาก็เก็บมากินได หรือที่ชายนามีผักบุงขึ้นเอง สําหรับนาที่อยูชายปา ผักเหลานี้ก็หาไดจากปาอีกดวย สําหรับในบริเวณบานก็จะปลูกผักสวนครัวเอาไวกนิ เชน ตนหอม ขิง ขา ตะไคร เปนตน (ฉัตรทิพย นาถสุภา, 2545: 29)

    (4) นอกเหนือจากอาหาร การเพาะปลูก และเครื่องนุงหม ชาวนายังมอีาชีพเสริมอีกอยางหนึ่งคือการหาของปา โดยสวนหนึ่งตองการหาอาหารเพิ่มดวยการลาสัตว เชน วัวปา ควายปา หมูปา เกง กวาง ไกปา เปนตน เครื่องมอืที่ใชมีตั้งแตหนาไมในยุคแรกจนถึงปนคาบศิลา ตามมาดวยปนแก็ปในระยะตอมา หรืออาจใชตาขายหรือใชแรวดักสัตว สําหรับชาวอีสานยังกนิสัตวเล็กดวย เชน กระรอก กิ้งกา แย และเหีย้ ตอนบายพวกเขาสวนหนึ่งจะออกไปหาสัตวเล็กเหลานี้เปนประจํา เรียกวา “ไปหากับขาว” สําหรับการหาของปาอีกสวนหนึ่งคือเพื่อสงสวยใหแกรัฐ (ฉัตรทิพย นาถสุภา, 2533: 13, 2545: 29; ขอมูลที่กลาวนี้มีความสอดคลองกับหลักฐานจากบันทึกชาวตางชาติ เชน บันทึกเรือ่ง “เลาเรื่องกรุงสยาม” ของสังฆราชปาลเลกัวซ, 2520: 69 เปนตน) จนกลาวไดวาแมปาจะเต็มไปดวยอันตรายแตมีของมีคามากมาย ปายังเปนที่มาของสินคาหลายประเภท เชน เนื้อสัตวเปนแหลงโปรตีน สมุนไพร เปลือกไม และสิ่งสกัดจากสัตวเปนยา มีของที่นําไปผลิตสินคาอื่น ๆ มีวัตถุดิบสําหรับการกอสราง สินคาประเภทฟุมเฟอย และของที่ใชในงานพิธี อาทิเชน งาชาง หนังสัตว สียอมผา ยางไม ปอ ฝาย รังนก ไหม เรว น้ําผ้ึง เงิน ทองคํา ดีบุก พลอย ทองแดง กํามะถัน ไมฝาง ไม