27
ทฤษฎีวาดวยพฤติกรรมผูบริโภค Theory of Consumer Behavior

ทฤษฎีว าด วยพฤติกรรมผู บริโภค ... · 2012-05-09 · ทฤษฎีว าด วยการลดลงของอรรถประโยชน

  • Upload
    others

  • View
    4

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ทฤษฎีว าด วยพฤติกรรมผู บริโภค ... · 2012-05-09 · ทฤษฎีว าด วยการลดลงของอรรถประโยชน

ทฤษฎีวาดวยพฤติกรรมผูบริโภคTheory of Consumer Behavior

Page 2: ทฤษฎีว าด วยพฤติกรรมผู บริโภค ... · 2012-05-09 · ทฤษฎีว าด วยการลดลงของอรรถประโยชน

ทฤษฎีวาดวยพฤติกรรมผูบริโภคทฤษฎีวาดวยพฤติกรรมผูบริโภค

เน่ืองจากผูบริโภคเปนหนวยเศรษฐกิจหนวยหน่ึงเน่ืองจากผูบริโภคเปนหนวยเศรษฐกิจหนวยหน่ึง ซึ่งเปนที่มาอันซึ่งเปนที่มาอันสําคัญของอุปสงคในสินคาและบริการตางสําคัญของอุปสงคในสินคาและบริการตาง ๆๆ และมีผลทําใหเกิดการและมีผลทําใหเกิดการผลิตสินคาและบริการตางผลิตสินคาและบริการตาง ๆๆ อยางมากมายอยางมากมาย นักเศรษฐศาสตรจึงใหความนักเศรษฐศาสตรจึงใหความสนใจตอพฤติกรรมของผูบริโภคสนใจตอพฤติกรรมของผูบริโภค

Page 3: ทฤษฎีว าด วยพฤติกรรมผู บริโภค ... · 2012-05-09 · ทฤษฎีว าด วยการลดลงของอรรถประโยชน

ขอสมมติของทฤษฎีอรรถประโยชน มี 3 ประการ

1. อรรถประโยชนหรือความพอใจสามารถวัดคาออกมาเปนหนวยนับได เรียกวา Utils

2. อรรถประโยชนหรือความพอใจในการบริโภคสินคาชนิดหนึ่ง จะเปนอิสระจากการบริโภคสินคาชนิดอื่น

3. ผูบริโภคทุกคนจะมีความรูอยางสมบูรณเก่ียวกับขอมูลที่ใชในการตัดสินใจใชจายเงิน

ทฤษฎีอรรถประโยชน (Utility Theory)

อรรถประโยชน (Utility) คือความพอใจที่บุคคลไดรับจากการอุปโภคสินคาหรือบริการชนิดใดชนิดหนึ่ง ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง

อรรถประโยชนของสินคาหรือบริการจะมีมากหรือนอยเพียงใดนั้นขึ้นอยูกับปริมาณความตองการของผูบริโภคซ่ึงมักแตกตางกัน

Page 4: ทฤษฎีว าด วยพฤติกรรมผู บริโภค ... · 2012-05-09 · ทฤษฎีว าด วยการลดลงของอรรถประโยชน

อรรถประโยชนเพิ่มและอรรถประโยชนรวม

-อรรถประโยชนเพิ่ม (Marginal Utility) คือ อรรถประโยชนหรือความพอใจที่ผูบริโภคไดรับเพ่ิมขึ้นจากการบริโภคสินคาเพ่ิมขึ้น 1 หนวย

***MU จะหาไดจากผลตางระหวาง TU ของสินคาหนวยที่มาที่หลังกับ TU ของสินคาหนวยที่มากอน

MU = =

อรรถประโยชนรวม (Total Utility : TU) คือผลรวมของอรรถประโยชนเพ่ิม (MU) ที่บุคคลไดรับจากการบริโภคสินคาตั้งแตหนวยแรกถึงหนวยที่พิจารณาอยู

TU = MU1+MU2+….+MUn

∆TU

∆Q

การเปล่ียนแปลงของอรรถประโยชนรวม

การเปล่ียนแปลงของปริมาณสินคา

Page 5: ทฤษฎีว าด วยพฤติกรรมผู บริโภค ... · 2012-05-09 · ทฤษฎีว าด วยการลดลงของอรรถประโยชน

Ex จากตารางอรรถประโยชนตอไปนี ้จงหาคา A , B

QQ MUMU TUTU

11 2020 2020

22 1717 3737

33 1313 AA

44 1010 6060

5 B 65

-MU คือผลตางระหวาง TU ของสินคาหนวยที่มาทีหลังกับ TU

หนวยของสินคาที่มากอน B = TU5-TU4 = 65-60 = 5

-TU คือผลรวมของ MU ที่บุคคลไดรับในการบริโภค

A = TU3 = 20+17+13 = 50

Page 6: ทฤษฎีว าด วยพฤติกรรมผู บริโภค ... · 2012-05-09 · ทฤษฎีว าด วยการลดลงของอรรถประโยชน

ทฤษฎีวาดวยการลดลงของอรรถประโยชนเพิ่ม (Theory of Diminishing Marginal Utility) อธิบายวา เม่ือบุคคลไดรับสินคาหรือบริการชนิดใดชนิดหนึ่งมาบําบัดความตองการเพ่ิมขึ้นทีละหนวย ๆ อรรถประโยชนเพ่ิมของสินคาหรือบริการหนวยที่ไดรับเพ่ิมขึ้นจะลดนอยลงตามลําดับ หรือถาบุคคลสละการบริโภคสินคาหรือบริการไปทีละหนวยแลว อรรถประโยชนเพ่ิมของสินคาหนวยที่เหลือจะเพ่ิมขึ้นเรื่อยๆ

QQ MUMU TUTU11 1212 121222 1010 222233 77 292944 44 333355 11 343466 00 34*34*77 --22 3232

จากตาราง TU และ MU ของการดื่มน้ํา ซ่ึงแสดงความสัมพันธไดดังนี้

-การดื่มน้ําแกวที ่1 ถึงแกวที ่6 TU จะเพ่ิมขึ้น สวน MU จะลดลงตามลําดับ

-เม่ือดื่มน้ําถึงแกวที ่6 TU จะมีคาสูงสุด MU จะมีคาเทากับ 0 จุดนี้เปนจุดที่ผูบริโภคไดรับความพอใจสูงสุดหรือเรียกวา จุดดุลยภาพของผูบริโภคนั้นเอง

Page 7: ทฤษฎีว าด วยพฤติกรรมผู บริโภค ... · 2012-05-09 · ทฤษฎีว าด วยการลดลงของอรรถประโยชน

ความสัมพันธระหวาง TU กับ MU ไดเปนรูปกราฟดังตอไปนี้MU,P

MU

QTU

TU=สูงสุด

0

I II III

MU=+ MU =

MU=0

-ชวงที่1 TU เพ่ิมขึ้น MU ลดลง (แตยังมีคาเปนบวก)

-ชวงที่2 TU สูงสุด MU มีคาเทากับศูนย

-ชวงที่1 TU ลดลง MU มีคาติดลบ

U

Page 8: ทฤษฎีว าด วยพฤติกรรมผู บริโภค ... · 2012-05-09 · ทฤษฎีว าด วยการลดลงของอรรถประโยชน

ดุลยภาพของผูบริโภค (Consumer Equilibrium) หมายถึง สภาพที่ผูบริโภคไดรับความพอใจสูงสุดจาการบริโภคสินคาหนึ่งหรือหลายชนิด ภายใตเงื่อนไขที่วาผูบริโภคมีงบประมาณจํากัด

ในการวิเคราะหพฤติกรรมของผูบริโภคเพื่อหาดุลยภาพของผูบริโภค จะตองมีสมมติฐาน 2 ประการ ดังนี้

1. ผูบริโภคแตละคนมีงบประมาณจํากัด

2. ผูบริโภคทุกคนตางแสวงหาความพอใจสูงสุดจากการบริโภคสินคาหรือบริการ

กรณีท่ี 1 ผูบริโภคตองการใชเงินจํานวนจํากัดซ้ือสินคาเพียงอยางเดียว โดยราคาของสินคาจะเทากันทุกหนวย

ดุลยภาพของผูบริโภค MU ของสินคา = MU ของเงิน

หรือ MUx = Pxถา MUx>Pxจะเกิด สวนเกินผูบริโภค (Consumer ‘s Surplus)

Page 9: ทฤษฎีว าด วยพฤติกรรมผู บริโภค ... · 2012-05-09 · ทฤษฎีว าด วยการลดลงของอรรถประโยชน

****สวนเกินของผูบริโภค คือ อรรถประโยชนรวมทั้งหมดที่ผูบริโภคไดรับเพ่ิมขึ้นมากกวาจํานวนเงินที่จายเพ่ิมขึ้น เพ่ือใหไดสินคาเพ่ิมขึ้นจํานวนหนึ่ง หรืออีกความหมายหนึ่งก็คือ สวนแตกตางระหวางราคาที่ผูบริโภคจายจริงกับราคาที่ผูบริโภคยินดีที่จะจายเพ่ือใหไดสินคานั้น MU,P

A

B

C

F

G

D

Q2 4 60

20

40

60

***-ถาราคาสูงสุด สวนเกินของผูบริโภคเปนศูนย-ถาราคาสูง สวนเกินของผูบริโภคจะลดนอยลง-ถาราคาต่ํา สวนเกินของผูบริโภคจะเพิ่มข้ึน-ถาราคาเปนศูนย สวนเกินของผูบริโภคจะมีคามากท่ีสุด

จากรูป - สวนเกินผูบริโภค ไดแก พ.ท. ทั้งหมดที่อยูเหนือราคา OGขึ้นไป หรือเหนือเสน GC ขึ้นไปซึ่งก็คือ พ.ท. ∆ACG

- ถาราคาสูงขึ้นเปน 40 บาท สวนเกินของผูบริโภค = พ.ท. ∆ADB ซึ่ง ∆ADB < ∆ACGจากการวิเคราะหดังกลาว สรุปไดวา “ราคาเปนตัวกําหนดสวนเกินผูบริโภค”

Q MUx Px

MUx = Px

1

2

3

4

60

40

20

0

20

20

20

20

Page 10: ทฤษฎีว าด วยพฤติกรรมผู บริโภค ... · 2012-05-09 · ทฤษฎีว าด วยการลดลงของอรรถประโยชน

กรณีที ่2 ผูบริโภคตองการใชเงินจํานวนจํากัดซ้ือสินคามากกวา 1 ชนิด และทุกชนิดมีราคาเทากัน การหาดุลยภาพของผูบริโภค คือซ้ือสินคาแตละชนิดจนกระทั้งอรรถประโยชนเพ่ิมของสินคาแตละชนิดเทากันและเงินหมดพอดี

*** ดุลยภาพของผูบริโภค 1. MUx = MUy =….MUn

2.เงินที่มีอยูหมดพอดีEx กําหนดให MUx และ MUy มีคาดังนี้

QQ MUxMUx MuyMuy11 7070 686822 6767 666633 6363 646444 5757 636355 5050 606066 4545 5353

สมมติให ก. มีเงิน 7 บาท ตองการซื้อสินคา 2 ชนิด คือ สินคา x และ สินคา yโดยราคาสินคา 2 ชนิดเทากัน คือราคาหนวยละ 1 บาท

1.ผูบริโภคไดรับความพอใจสูงสุดเมื่อ บริโภค X และ Y อยางละกี่หนวย

2. ณ จุดดุลยภาพผูบริโภคจะไดรับอรรถประโยชนรวมจากการบริโภคสินคา X และ สินคา Y จํานวนกี่ Util

Page 11: ทฤษฎีว าด วยพฤติกรรมผู บริโภค ... · 2012-05-09 · ทฤษฎีว าด วยการลดลงของอรรถประโยชน

อธิบาย ขอ 1. จากตาราง ดุลยภาพของผูบริโภคเกิดขึ้นเม่ือ MUx = MUy = 63 หนวย

ดังนั้น ผูบริโภคจะซ้ือสินคา X = 3 หนวย เปนเงิน 3 X 1 =3 และซ้ือสินคา Y = 4 หนวย เปนเงิน 4 x 1 = 4ซ่ึงทําใหเงินหมดพอดี

ขอ 2. อรรถประโยชนรวม (TU) จากการบริโภคสินคา X และ Y มีคาเทากับ (70+67+63) + (68+66+64+63) = 461 ยูทิล

(TUx) (TUy)

กรณีท่ี 3 ผูบริโภคมีเงินจํากัด แตตองการซ้ือสินคามากกวา 1 ชนิด และสินคาแตละชนิดมีราคาไมเทากัน

ดุลยภาพของผูบริโภคดุลยภาพของผูบริโภค 1.MUx =MUy = … =MUn

2.เงินที่มีอยูหมดพอดี

Px Py Pn

Page 12: ทฤษฎีว าด วยพฤติกรรมผู บริโภค ... · 2012-05-09 · ทฤษฎีว าด วยการลดลงของอรรถประโยชน

Ex ตารางแสดงอรรถประโยชนจากการบริโภคสินคา A และ B ของนายดํามีดังนี ้

จํานวนหนวยสินคาจํานวนหนวยสินคา MUMU สินคาสินคา AA MUMU สินคาสินคา BB11 1010 505022 88 404033 66 303044 44 202055 22 1010

1. ถาสินคา A ราคา 2 บาท/หนวย สินคา B ราคา 5 บาท/หนวย และนายดํามีรายได 24 ในการซ้ือสินคา 2 ชนิด เขาจะตัดสินใจซ้ืออยางไร

Page 13: ทฤษฎีว าด วยพฤติกรรมผู บริโภค ... · 2012-05-09 · ทฤษฎีว าด วยการลดลงของอรรถประโยชน

วิธีทํา กําหนดให Pa = 2 บาท Pb = 5 บาท รายได 24 บาทจํานวนหนวยจํานวนหนวยสินคาสินคา MU MU

สินคาสินคา AAMU MU สินคาสินคา BB

MUb

11 1010 10/2= 510/2= 5 5050 50/550/5== 1010

22 88 8/2= 48/2= 4 4040 40/540/5== 88

33 66 6/2= 36/2= 3 3030 30/530/5== 66

44 44 4/2= 24/2= 2 2020 20/520/5== 44

55 22 2/2= 12/2= 1 1010 10/510/5== 22

MUaPa Pb

ฉะน้ัน นายดําควรซื้อสินคา A= 2 หนวย และซื้อสินคา B= 4 หนวย

โดยมีคาใชจายท้ังหมดเทากับ(2×2) + (4×5) = 24 บาท

Page 14: ทฤษฎีว าด วยพฤติกรรมผู บริโภค ... · 2012-05-09 · ทฤษฎีว าด วยการลดลงของอรรถประโยชน

2. อรรถประโยชนรวม (TU) สูงสุดท่ีนายดําไดรับจากการเลือกซื้อสินคา 2 ชนิด เทากับกี่ยูทิล

TU ของสินคา A และ B = (10+8)+(50+40+30+20) =158 ยูทิล

ถาราคาสินคา Px เปลี่ยนแปลง ขณะที่ราคาสินคา Py คงที่ อัตราสวนระหวาง MUx < MUy

Px Py

Page 15: ทฤษฎีว าด วยพฤติกรรมผู บริโภค ... · 2012-05-09 · ทฤษฎีว าด วยการลดลงของอรรถประโยชน

สมมติใหผูบริโภคมีเงินอยู 29 บาท สําหรับซื้อสินคา 3 ชนิด คือ สินคา X , Y และ Z ซึ่งราคาตางกันเปนหนวยละ 1 บาท 2 บาท และ 3 บาทตามลําดับถา MU ของสินคาแตละชนิดเปนดังนี้

QQ MUxMUx MUx/PxMUx/Px MUyMUy MUy/PyMUy/Py MUzMUz MUz/PzMUz/Pz11 5050 5050 6060 3030 106106 35.3335.33

22 4545 4545 5454 2727 9595 31.6631.66

33 3939 3939 4040 **20**20 8888 29.3329.33

44 3232 3232 3535 17.5017.50 8080 26.6626.66

55 2020 **20**20 2222 1111 7272 2424

66 1111 1111 1010 55 6060 **20**20

77 55 55 88 44 5050 16.6616.66

Page 16: ทฤษฎีว าด วยพฤติกรรมผู บริโภค ... · 2012-05-09 · ทฤษฎีว าด วยการลดลงของอรรถประโยชน

เพราะฉะน้ัน กรณีน้ี ดุลยภาพจะเกิดขึ้นเมื่อ

-บริโภคสินคา X = 5 หนวย เปนเงิน = 5×1 = 5 บาท

-บริโภคสินคา Y = 3 หนวย เปนเงิน = 3×2 = 6 บาท

-บริโภคสินคา Z = 6 หนวย เปนเงิน = 6×3 = 18 บาท

รวมเปนเงินที่ซื้อสินคา X ,Yและ Z ทั้งสิ้น =5+6+18=29 บาท

Page 17: ทฤษฎีว าด วยพฤติกรรมผู บริโภค ... · 2012-05-09 · ทฤษฎีว าด วยการลดลงของอรรถประโยชน

2.2.ทฤษฎีวาดวยความพอใจเทากันทฤษฎีวาดวยความพอใจเทากัน(The Indifference Curve Theory)(The Indifference Curve Theory)

เปนทฤษฎีที่อธิบายวา เม่ือผูบริโภคมีรายไดจํานวนจํากัดสําหรับซ้ือสินคา 2 ชนิด ถาซ้ือสินคาชนิดหนึ่งเพ่ิมขึ้น ก็จะตองลดปริมาณการซ้ือสินคาอีกชนิดหนึ่งลง เพื่อรักษาระดับความพอใจใหเทาเดิม

-อัตราการเพิ่มของการทดแทนกันอัตราการเพิ่มของการทดแทนกัน (Marginal Rate of Substitution: MRS) อธิบายพฤติกรรมของผูบริโภควาดวยเสนความพอใจเทากัน มีความสัมพันธใกลชิดเกี่ยวกับเร่ืองการทดแทนกัน ซ่ึงอธิบายความสัมพันธไดเปน 2 ลักษณะ คือ

***ลักษณะท่ี 1 MRS = -∆Y X for Y ∆X

อานวา อัตราการเพ่ิมของการทดแทนกันของสินคา X ตอสินคา Y หมายถึง จํานวนสินคา X ที่เพ่ิมขึ้น เพ่ือนําไปทดแทนสินคา Y ที่ลดลง

Page 18: ทฤษฎีว าด วยพฤติกรรมผู บริโภค ... · 2012-05-09 · ทฤษฎีว าด วยการลดลงของอรรถประโยชน

***ลักษณะท่ี 2 MRS = -∆XY for X -∆Y

อานวา อัตราการเพ่ิมของการทดแทนกันของสินคา Y ตอสินคา X หมายความวา ถาบริโภคสินคา Y เพ่ิมขึ้น จะตองการบริโภคสินคา X ลดลงลง

หมายเหตุ: เคร่ืองหมายลบที่ติดมากับ ∆Y และ ∆X เปนเพียงตัวที่บอกใหทราบถึงทิศทางการเปลี่ยนแปลงของอัตราการเพ่ิมของการทดแทนกันของสินคา X กับสินคา Y วามีการเปลี่ยนแปลงในทิศทางตรงกันขาม

ลักษณะของความพอใจเทากัน หมายถึง เม่ือผูบริโภคมีเงินจํานวนหนึ่งสําหรับซ้ือสินคาและบริการ 2 ชนิด ไมวาสวนประกอบของสินคา 2 ชนิด จะมีสัดสวนเทาใด ผูบริโภคจะไดรับความพอใจเทากันเสมอ

Page 19: ทฤษฎีว าด วยพฤติกรรมผู บริโภค ... · 2012-05-09 · ทฤษฎีว าด วยการลดลงของอรรถประโยชน

สวนประกอบสวนประกอบ สินคาสินคา XX สินคาสินคา YY ∆∆XX ∆∆YY MRS x for yMRS x for y((∆∆YY//∆∆XX))

กก 11 ∆∆X=1X=1 1515 ∆∆Y=Y=--55

ขข 22 1010 11 --55 --55//1=1=--55

คค 33 66 11 --44 --44//1=1=--44

งง 44 33 11 --33 --33//1=1=--33จจ 55 11 11 --22 --22//1=1=--22

ตารางแสดงอัตราการเพ่ิมของการทดแทนกันของสินคา X กับสินคา Y

จากตาราง MRS x for y มีคาเทากับ -5, -4, -3, -2 ตามลําดับ จะเห็นวา MRS x for y ลดลงเร่ือย ๆ (ไมพิจารณาเคร่ืองหมายลบ) ซึ่งเปนไปตามกฎการลดนอยถอยลงของอัตราการเพ่ิมของการทดแทนกัน ที่กลาววา “เมื่อผูบริโภคไดรับสินคาชนิดหนึ่งเพ่ิมขึ้น (X) คุณคาของสินคาชนิดนั้นจะลดลงเร่ือย ๆ ในขณะที่สินคาอีกชนิดหนึ่ง (Y) จะมีคุณคามากขึ้นเร่ือย ๆ

Page 20: ทฤษฎีว าด วยพฤติกรรมผู บริโภค ... · 2012-05-09 · ทฤษฎีว าด วยการลดลงของอรรถประโยชน

ถานําตัวเลขในตารางมา plot เปนกราฟก็จะไดเสนความพอใจเทากัน(Indifference Curve :IC) ซึ่งมีลักษณะเปนเสนโคงเวาเขาหาจุดกําเนิด

ICX

Y

0

15

10

6

31

1 2 3 4 5

Slope ของเสน IC = MRS x for y = -∆Y∆X

เสน IC มีลักษณะสําคัญ 5 ประการคือ

1. จะตองมีลักษณะเปนเสนทอดลงจากซายไปขวา

2. เปนเสนโคงเวาเขาหาจุดกําเนิด แสดงวาสินคา 2 ชนิดทดแทนกันไดไมสมบูรณ บางกรณีเสน IC อาจไมเปนเสนโคงก็ได ซึ่งจะม ี2 ลักษณะคือ

Page 21: ทฤษฎีว าด วยพฤติกรรมผู บริโภค ... · 2012-05-09 · ทฤษฎีว าด วยการลดลงของอรรถประโยชน

2.1 กรณีสินคา 2 ชนิดเปนสินคาที่ทดแทนกันไดอยางสมบูรณ เสน IC จะมีลักษณะเปนเสนตรง ทอดลงจากซายไปขวาดังรูป

X

Y

IC

2.2 กรณีสินคา 2 ชนิดนํามาใชทดแทนกันไมไดเลย แตสามารถใชประกอบกันไดอยางสมบูรณ เชน รองเทาขางซายกับขางขวา ในกรณีนี้ MRS จะมีคา =0 และเสน IC จะหักเปนมุมฉาก ดังรูป

X

Y

IC

Page 22: ทฤษฎีว าด วยพฤติกรรมผู บริโภค ... · 2012-05-09 · ทฤษฎีว าด วยการลดลงของอรรถประโยชน

3. เสน IC จะตัดกันไมได เพราะทุก ๆ จุด บนเสน IC เดียวกันจะใหความพอใจเทากัน เสน IC เสนที่อยูสูงกวาจะใหความพอใจมากกวา ดังรูป

X

Y

IC2

IC1

AB

C

จากรูป -จุด A เทากับจุด B เพราะอยูบนเสน IC เดียวกัน

-จุด A เทากับจุด C เพราะอยูบนเสน IC เดียวกัน

-แตจุด B ไมเทากับจุด C เพราะอยูบนเสน IC คนละเสน กัน จากขอขัดแยงตรงนี้เอง จึงกําหนดวาเสน IC จะตัดกันไมได

4. เสน IC จะเปนเสนตอเนื่องไมขาดตอน เพราะสวนประกอบตาง ๆ ของสินคาทั้ง 2 ชนิดมีอยูอยางมากมายนับไมถวน5. เสน IC เสนที่อยูสูงขึ้นไปทางขวามือ จะใหความพอใจมากกวา

X

Y

IC1IC2IC3 IC3 > IC 2 > IC1

Page 23: ทฤษฎีว าด วยพฤติกรรมผู บริโภค ... · 2012-05-09 · ทฤษฎีว าด วยการลดลงของอรรถประโยชน

เสนงบประมาณหรือเสนราคา (Budget Line or Price Line)

บางทีอาจเรียกวา “เสนความเปนไปไดในการบริโภค” เพราะ เปนเสนที่แสดงสวนประกอบตาง ๆ ของสินคา 2 ชนิด ซึ่งสามารถซื้อไดดวยเงินจํานวนเทากัน ณ ระดับราคาตาง ๆ

-เสนงบประมาณมีลักษณะเปนเสนตรงที่ทอดลงจากซายไปขวา และมีคาความชันเปนลบ

EX ตารางแสดงสวนประกอบตาง ๆ ของสินคา X กับสินคา Y ที่ใชเงินงบประมาณจํานวนเทากันถาผูบริโภคมีงบประมาณ = 50 บาท โดยสินคา X ราคาหนวยละ 2 บาท และสินคา Y หนวยละ 5 บาท

สินคา Y (Py =5)สวนประกอบ สินคา X (Px=2)

25

20

15

10

5

0

0

2

4

6

8

10

Page 24: ทฤษฎีว าด วยพฤติกรรมผู บริโภค ... · 2012-05-09 · ทฤษฎีว าด วยการลดลงของอรรถประโยชน

เมื่อนําขอมูลในตารางมา plot กราฟ จะไดเสนงบประมาณดังนี้

10

8

6

4

2

05 10 15 20 25 X

Y

A

B

CD.

E.

จากรูป เสน AB คือ เสนงบประมาณของผูบริโภค ทุก ๆ จุดบนเสน AB แสดงถึงสวนประกอบระหวางสินคา X กับสินคา Y ท่ีสามารถซื้อไดดวยเงินจํานวนจํากัด

-จุด C ใชเงินเทากับ 50 บาท โดยซื้อ X = 15 หนวย ซื้อ Y = 4 หนวย (C อยูบนเสน AB)

-จุด D ใชเงินนอยกวา 50 บาท (D ตํ่ากวาเสน AB)

-จุด E ใชเงินมากกวา 50 บาท (E สูงกวาเสน AB)

สมการเสนงบประมาณ I = Px . Qx + Py .Qy

ดังนั้น คาใชจาย ณ จุด C = (Px . Qx) + (Py .Qy)

= (2 × 15) + (5×4) = 50 บาท

Page 25: ทฤษฎีว าด วยพฤติกรรมผู บริโภค ... · 2012-05-09 · ทฤษฎีว าด วยการลดลงของอรรถประโยชน

ดุลยภาพผูบริโภค (Consumer s’ Surplus) คือ จุดสัมผัสระหวางเสนงบประมาณกับเสนความพอใจเทากัน แสดงใหเห็นถึงจํานวนสินคาและบริการแตละชนิดที่ผูบริโภคจะซ้ือเพ่ือใหไดรับความพอใจสูงสุดดวยเงินจํานวนหนึ่ง

.E

.G

.D

Y

XX1

Y1

0 IC1IC2

IC3

.F

จากรูป -ณจุด E เปนจุดดุลยภาพเพราะ IC2 สัมผัสกับเสน AB (Budget Line)-จุด F ใหความพอใจ มากกวา จุด E เพราะอยูบนเสนงบประมาณท่ีสูงกวา แตใชงบประมาณมากกวาจุด E

-จุด G ใหความพอใจ เทากับ จุด E เพราะอยูบนเสนงบประมาณเดียวกัน แตใชงบประมาณมากกวาจุด E

-จุด D ใหความพอใจ นอยกวา จุด E เพราะอยูบนเสน IC1 ซึ่งตํ่ากวาเสน IC2

A

B

**** จุด E คือจุดดุลยภาพของผูบริโภค ซึ่งบอกความสําคัญไดดังนี้

1.เสน IC สัมผัสกับเสน งบประมาณ

2. Slope ของเสน IC = Slope ของเสนงบประมาณ

3. MRS x for y = -PXPy

Page 26: ทฤษฎีว าด วยพฤติกรรมผู บริโภค ... · 2012-05-09 · ทฤษฎีว าด วยการลดลงของอรรถประโยชน

เสนแนวทางการบริโภคอันเนื่องมาจากราคา(Price Consumption Curve : PCC) และเสนแนวทางการบริโภคอันเนื่องมาจากรายได(Income Consumption Curve : ICC)

1.ผลของการท่ีราคาสินคาชนิดใดชนิดหน่ึงเปลี่ยนแปลงไป อธิบายไดดังรูปตอไปน้ี

IC3IC2IC1 PCC

E

E1E2

A

A

BB1B2 X

Y

X1X2X3

Y1

Y2

Y3

0

จากรูป เมื่อลากเสนเชื่อม E, E1 และ E2 เขาดวยกันจะไดเสนแนวทางในการบริโภคอันเน่ืองมาจากราคาสินคาเปล่ียนแปลง (Price Consumption Curve : PCC) ผูบริโภคจะบริโภคสินคา X และ Y ตามแนวเสนน้ี จึงจะไดรับความพอใจสูงสุด

Page 27: ทฤษฎีว าด วยพฤติกรรมผู บริโภค ... · 2012-05-09 · ทฤษฎีว าด วยการลดลงของอรรถประโยชน

2. ผลของการท่ีรายไดเปลี่ยนแปลงขณะที่ Px และ Py คงท่ี อธิบายไดดังรูปตอไปนี้

X

Y

ICC

IC1IC2

IC3

A

B B1 B2

A1

A2

EE1

E2

0

จากรูป เมื่อลากเสนเชื่อมจุดดุลยภาพ E, E1 และ E2 เขาดวยกันจะไดเสนแนวทางในการบริโภคอันเน่ืองมาจากรายไดเปล่ียนแปลง (Income Consumption Curve :ICC) ผูบริโภคจะบริโภคสินคา X และสินคา Y ตามแนวเสนน้ี จึงไดรับความพอใจสูงสุด เมื่อรายไดเปล่ียนแปลงไป