36

สารบัญ - WordPress.com · ประวัติความเป็นมา 2 วัตถุดิบ 4 แหล่งที่มาของวัตถุดิบ

  • Upload
    others

  • View
    12

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: สารบัญ - WordPress.com · ประวัติความเป็นมา 2 วัตถุดิบ 4 แหล่งที่มาของวัตถุดิบ
Page 2: สารบัญ - WordPress.com · ประวัติความเป็นมา 2 วัตถุดิบ 4 แหล่งที่มาของวัตถุดิบ
Page 3: สารบัญ - WordPress.com · ประวัติความเป็นมา 2 วัตถุดิบ 4 แหล่งที่มาของวัตถุดิบ

ประวัติความเป็นมา 2

วัตถุดิบ 4

แหล่งที่มาของวัตถุดิบ 5

การเลือกวัตถุดิบ 6

วัสดุอุปกรณ์ 7

การเตรียมวัตถุดิบ 9

กระบวนการทำเครื่องปั้นดินเผา 14

-การปั้นขึ้นรูป 14

-การแกะลวดลาย 24

-การขูดแต่งผิว 25

-การนำเข้าเตาเผา 28

สารบัญ

Page 4: สารบัญ - WordPress.com · ประวัติความเป็นมา 2 วัตถุดิบ 4 แหล่งที่มาของวัตถุดิบ

� ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)

การทำเครื่องปั้นดินเผา

ประวัติความเป็นมา

มนุษย์รู้จักประดิษฐ์ภาชนะเครื่องปั้นดินเผาและนำมาใช้ในชีวิตประจำวันตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ จากการสำรวจแหล่งโบราณคดีในประเทศไทย พบแหล่งเตาเผาที่มีอายุราวพุทธศตวรรษที่ 15-16 กระจัดกระจายอยู่ในหลายพื้นที่ รวมทั้งมีการค้นพบเครื่องปั้นดินเผามากมายหลายชนิด ทั้งที่ผลิตจากแหล่งเตาเผาในราชอาณาจักรไทยและที่ผลิตจากแหล่งเตาเผาตา่งประเทศ เครือ่งปัน้ดนิเผาเหลา่นีผ้ลติและตกแตง่ดว้ยเทคนคิและลวดลายทีแ่ตกตา่งกนัออกไปตามความสามารถของช่างและวัตถุดิบในแต่ละท้องถิ่น เครื่องปั้นดินเผา หมายถึง สิ่งต่างๆ ที่เกิดจากการนำดินมาปั้นเป็นรูปร่างต่างๆแลว้นำไปเผาในเตาใหเ้นือ้ดนิสกุและมคีวามแขง็ซึง่ตรงกบัภาษาองักฤษวา่เซรามคิ(Ceramic) คำว่า “เครื่องปั้นดินเผา” นั้น กินความหมายครอบคลุมทั้งเครื่องปั้นดินเผาประเภทเคลือบและไม่เคลือบทั้งที่เผาไฟด้วยความร้อนสูงและความร้อนต่ำ เครื่องปั้นดินเผาสามารถแบ่งออกเป็นประเภทต่างๆ ตามลักษณะของเนื้อดินที่เผาแล้วและการเคลือบหรือไม่เคลือบผิวโดยมีชื่อเรียกของแต่ละประเภทดังนี้

Page 5: สารบัญ - WordPress.com · ประวัติความเป็นมา 2 วัตถุดิบ 4 แหล่งที่มาของวัตถุดิบ

�ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)

การทำเครื่องปั้นดินเผา

�ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)

การทำเครื่องปั้นดินเผา

1. เครื่องปั้นดินเผาชนิดเนื้อดิน หรือเครื่องดินเผา (Earthenware) เป็นเครื่องปั้นดินเผา ซึ่งเผาที่อุณหภูมิ 800-1,150 องศาเซลเซียส ชิ้นงานที่ได้มักจะเปราะแตกหักง่าย และซึมน้ำ เครื่องปั้นดินเผาชนิดนี้ไม่มีการเคลือบ เนื้อดินจึงเป็นสีแดงหรือสีน้ำตาล 2. เครื่ องปั้นดินเผาชนิดเนื้ อหิน หรือ เครื่ องถ้วยหิน (Stoneware) เป็นเครื่องปั้นดินเผาซึ่งเผาที่อุณหภูมิ 1,200-1,300 องศาเซลเซียส เป็นการเผาที่ความร้อนค่อนข้างสูง เนื้อดินจึงแกร่งมาก ไม่ซึมน้ำ มักมีสีเทาหรือสีน้ำตาล อาจมีการเคลือบหรือไม่เคลือบผิวก็ได้ 3. เครื่องปั้นดินเผาชนิดเนื้อกระเบื้อง (Porcelain) เป็นเครื่องปั้นดินเผาซึ่งเผาที่อุณหภูมิสูงถึง 1,300-1,500 องศาเซลเซียส เนื้อดินจึงมีความแข็งแกร่งมากเป็นพิเศษหากเป็นชิ้นงานที่บางและโปร่งแสง เมื่อเคาะจะมีเสียงกังวาน ถือเป็นเครื่องปั้นดินเผาที่มีคุณภาพดีและราคาแพง ปัจจุบันเครื่องปั้นดินเผาที่เราคุ้นเคยมิได้จำกัดอยู่เพียงแค่ภาชนะใส่อาหารหรือน้ำเช่นหม้อดินเผา จาน ชาม หรือ โอ่ง อ่าง กระถาง อีกต่อไปแล้ว เทคโนโลยีด้านการผลิตเครื่องปั้นดินเผาช่วยให้เราสามารถผลิตเครื่องปั้นดินเผาได้หลากหลายประเภทมากขึ้น และสามารถนำไปใช้งานได้หลากหลาย อีกทั้งช่างฝีมือที่ผลิตเครื่องปั้นดินเผาก็ต้องปรับตัวเพื่อรับกับกระแสความต้องการใช้เครื่องปั้นดินเผาบางชนิดน้อยลง แล้วหันมาพัฒนาผลิตภัณฑ์ของตนให้เป็นงานศิลปหัตถกรรม เพื่อสนองตลาดของนักท่องเที่ยวที่ต้องการผลิตภัณฑ์ที่มีรูปลักษณ์สวยงามและสะท้อนอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมไปพร้อมกัน

Page 6: สารบัญ - WordPress.com · ประวัติความเป็นมา 2 วัตถุดิบ 4 แหล่งที่มาของวัตถุดิบ

� ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)

การทำเครื่องปั้นดินเผา

วัตถุดิบ

วัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตเครื่องปั้นดินเผาคือดินเหนียว โดยทั่วไปจะใช้ดินเหนียวท้องนาหรือดินเหนียวที่มีอยู่ทั่วไปบริ เวณที่ราบลุ่มแม่น้ำ สำหรับแหล่งดินเหนียวคุณภาพดีในภาคกลางนั้น อยู่ที่อำเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี ซึ่งเป็นแหล่งผลิตเครื่องปั้นดินเผาที่มีชื่อเสียงมากอีกแห่งหนึ่ง

� ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)

การทำเครื่องปั้นดินเผา

Page 7: สารบัญ - WordPress.com · ประวัติความเป็นมา 2 วัตถุดิบ 4 แหล่งที่มาของวัตถุดิบ

�ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)

การทำเครื่องปั้นดินเผา

�ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)

แหล่งที่มาของวัตถุดิบ

ดินเหนียวที่มีคุณสมบัติเหมาะสมในการนำมาผลิตเครื่องปั้นดินเผา ได้แก่ ดินเหนียวท้องนาและดินเหนียวตะกอนปากแม่น้ำซึ่งเป็นดินเหนียวที่มีเนื้อละเอียดมีทรายและเศษวัสดุอื่นๆปนอยู่น้อยจึงทำให้่ไม่เสียเวลากรองเอาสิ่งเจือปนออกมามากนัก ปัจจุบันแหล่งดินเหนียวคุณภาพดีเริ่มหายากขึ้นทุกที เพราะที่ดินมีราคาแพง ทำให้ผู้ที่ขุดดินมาขายต้องจ่ายค่าเช่าที่เพื่อทำบ่อดินในราคาที่สูงขึ้นตามไปด้วย แหล่งดินเหนียวคุณภาพดี ได้แก่ แหล่งดินเหนียวตะกอนปากแม่น้ำในอำเภอสามโคกจังหวัดปทุมธานี ดินจากแหล่งสามโคกมักขุดจากบ่อดินที่อยู่ใกล้แม่น้ำ เพราะง่ายต่อการขนส่งทางเรือเพื่อนำมาส่งลูกค้าที่เกาะเกร็ดอำเภอปากเกร็ดจังหวัดนนทบุรีแต่บ่อดินที่อยู่ใกล้แม่น้ำมักจะประสบปัญหาเมื่อถึงช่วงเวลาน้ำท่วมสูง การขุดดินในบางครั้งจำเป็นต้องดำน้ำลงไปขุดการเสียค่าเช่าที่ดินราคาแพงประกอบกับความยากลำบากในการขุดดิน จึงทำให้ในปัจจุบันมีผู้ประกอบการบ่อดินในอำเภอสามโคกเพียง2รายเท่านั้น

Page 8: สารบัญ - WordPress.com · ประวัติความเป็นมา 2 วัตถุดิบ 4 แหล่งที่มาของวัตถุดิบ

� ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)

การทำเครื่องปั้นดินเผา

การเลือกวัตถุดิบ

โดยทั่วไปดินเหนียวจากอำเภอสามโคกนั้น จะเป็นดินเหนียวที่อยู่ลึกลงไปจากระดับหน้าดินเกินกว่า 20 เซนติเมตร เพราะดินบริเวณหน้าดินจะมีอินทรีย์สารและดินเลนผสมอยู่มากเกินไป ดินจึงมีความเหนียวน้อย ไม่เหมาะที่จะนำมาทำเครื่องปั้นดินเผา ดังนั้น หน้าดินส่วนนี้จะถูกขุดลอกทิ้ง ดินที่ลึกจากระดับ 30 เซนติเมตร ลงไปอีก 80 เซนติเมตร หรือลึกไม่เกิน 1 เมตร 10 เซนติเมตร จะเป็นดินเหนียวที่มีคุณภาพดี สามารถนำมาผลิตเครื่องปั้นดินเผาได้ส่วนชั้นดินที่ลึกลงไปเกิน1เมตร10เซนติเมตรก็จะมีทรายปนอยู่มากเกินไปจนไม่สามารถนำมาผลิตเครื่องปั้นดินเผาคุณภาพดีได้

�ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)

การทำเครื่องปั้นดินเผา

� ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)

การทำเครื่องปั้นดินเผา

Page 9: สารบัญ - WordPress.com · ประวัติความเป็นมา 2 วัตถุดิบ 4 แหล่งที่มาของวัตถุดิบ

�ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)

การทำเครื่องปั้นดินเผา

วัสดุอุปกรณ์

1.เครื่องกวนดิน 2.ตะแกรงกรองกรวดทรายทำขึ้นจากมุ้งลวดอาจมี3ชั้นหรือมากกว่านั้นตะแกรงแต่ละชั้นจะมีความละเอียดที่ต่างกัน ยิ่งใช้ตะแกรงที่มีความละเอียดมากๆ ก็จะทำให้กรองเศษวัสดุได้ดีขึ้นและดินเหนียวที่ได้ก็จะมีคุณภาพสูงตามไปด้วย 3.เครื่องรีดน้ำ 4.เครื่องนวดดิน

1

2

3

4

�ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)

การทำเครื่องปั้นดินเผา

�� ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)

การทำเครื่องปั้นดินเผา

Page 10: สารบัญ - WordPress.com · ประวัติความเป็นมา 2 วัตถุดิบ 4 แหล่งที่มาของวัตถุดิบ

� ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)

การทำเครื่องปั้นดินเผา

5.แป้นหมุนขึ้นรูป 6.แป้นแกะสลัก 7.เตาเผาแบบใช้แก๊สเป็นเชื้อเพลิง 8.เครื่องมือแกะสลักลวดลาย มักจะเป็นเครื่องมือที่ดัดแปลงมาจากเครื่องมือเครื่องใช้อื่นๆ อาทิ ใบเลื่อยตัดโลหะที่นำมาทำเป็นมีดปลายแหลมสำหรับแกะสลัก เฟืองพลาสติกของเครื่องใช้ไฟฟ้านำมาทำเป็นอุปกรณ์ปั๊มลวดลาย และขวดน้ำพลาสติกตัดเป็นชิ้นเล็กๆใช้สำหรับตกแต่งพื้นผิวของเครื่องปั้นดินเผาให้เรียบ

5

6

7

8

Page 11: สารบัญ - WordPress.com · ประวัติความเป็นมา 2 วัตถุดิบ 4 แหล่งที่มาของวัตถุดิบ

�ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)

การทำเครื่องปั้นดินเผา

การเตรยีมวตัถดุบิ

1. ดินเหนียวที่ได้มักจะมีความชื้นไม่เท่ากันในแต่ละฤดูกาล อาทิ ฤดูน้ำหลาก บ่อดินจะถูกน้ำท่วม ดินที่ขุดขึ้นมาจึงเปียกน้ำมาก ดังนั้น จึงต้องนำดินมาพักไว้ให้แห้งประมาณ1 สัปดาห์ และเพื่อให้ดินเหนียวแห้งเร็วยิ่งขึ้น ก็จะต้องใช้เสียมแซะให้ก้อนดินเหนียวมีขนาดเล็กลง

2.เมื่อดินแห้งได้ที่แล้วนำดินมาหมักแช่น้ำทิ้งไว้ประมาณ5-7วัน 3.จากนั้นจึงนำดินที่หมักไว้มาเข้าเครื่องกวนให้ดินแตกตัวเข้ากับน้ำ ซึ่งดินที่เข้าเครื่องกวนแล้วก็จะกลายเป็นน้ำดิน

Page 12: สารบัญ - WordPress.com · ประวัติความเป็นมา 2 วัตถุดิบ 4 แหล่งที่มาของวัตถุดิบ

10 ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)

การทำเครื่องปั้นดินเผา

10

4. ตักน้ำดินจากเครื่องกวนมากรองผ่านตะแกรง เพื่อกรองเอากรวดทราย รากไม้และเศษวัสดุที่ไม่ต้องการออกก็จะได้น้ำดินที่มีความเข้มข้นสูง

Page 13: สารบัญ - WordPress.com · ประวัติความเป็นมา 2 วัตถุดิบ 4 แหล่งที่มาของวัตถุดิบ

11ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)

การทำเครื่องปั้นดินเผา

11

Page 14: สารบัญ - WordPress.com · ประวัติความเป็นมา 2 วัตถุดิบ 4 แหล่งที่มาของวัตถุดิบ

1� ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)

การทำเครื่องปั้นดินเผา ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)1�

5. นำน้ำดินที่ผ่านการกรองแล้วเข้าเครื่องรีดน้ำดิน โดยตักน้ำดินใส่ถังซึ่งมีท่อต่อเข้ากับเครื่องรีดน้ำดินน้ำดินก็จะถูกดูดเข้าเครื่องแล้วเครื่องก็จะค่อยๆบีบอัดเอาน้ำออกจากดินซึ่งจะใช้เวลาประมาณ7 ชั่วโมง ก็จะได้ดินเหนียว 100 กิโลกรัม ดินที่ออกจากเครื่องรีดน้ำจะต้องพักไว้เพื่อรอเข้าเครื่องนวดดิน โดยจะต้องมีผ้าพลาสติกมาคลุมไว้เพื่อไม่ให้ดินแห้งเร็วเกินไป

การทำเครื่องปั้นดินเผา

1� ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)

การทำเครื่องปั้นดินเผา

111���

Page 15: สารบัญ - WordPress.com · ประวัติความเป็นมา 2 วัตถุดิบ 4 แหล่งที่มาของวัตถุดิบ

1�ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)

การทำเครื่องปั้นดินเผา

1�

6. นำดินมาเข้าเครื่องนวดดิน เพื่อคลุกเคล้าให้ดินเข้ากันเป็นเนื้อเดียวและมีความชื้นเท่ากันนอกจากนี้ยังเป็นการเพิ่มความเหนียวให้กับดินอีกด้วย การนวดดินถือเป็นขั้นตอนสุดท้ายของการเตรียมวัตถุดิบดินที่ผ่านการนวดแล้วจะมีเนื้อดินที่ละเอียดเหนียวและมีความชื้นพอเหมาะสำหรับการนำไปปั้นขึ้นรูป

Page 16: สารบัญ - WordPress.com · ประวัติความเป็นมา 2 วัตถุดิบ 4 แหล่งที่มาของวัตถุดิบ

1� ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)

การทำเครื่องปั้นดินเผา

กระบวนการทำเครื่องปั้นดินเผา

1. การปั้นขึ้นรูปโดยแป้นหมุน นำดินที่ผ่านการนวดแล้วมาปั้นขึ้นรูปด้วยแป้นหมุนโดยค่อยๆใช้มือบีบดินให้ขึ้นรูปเป็นภาชนะตามต้องการการปั้นขึ้นรูปในลักษณะนี้จะต้องอาศัยความชำนาญของช่างปั้น ซึ่งช่างปั้นแต่ละคนอาจจะมีเทคนิคหรือวิธีการที่แตกต่างกันออกไปอาทิ การใช้เกรียงหรือผ้าชุบน้ำเพื่อทำให้พื้นผิวของชิ้นงานเรียบหรือใช้เล็บมือทำลวดลายบนชิ้นงาน

1� ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)

การทำเครื่องปั้นดินเผา

1�

Page 17: สารบัญ - WordPress.com · ประวัติความเป็นมา 2 วัตถุดิบ 4 แหล่งที่มาของวัตถุดิบ

1�ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)

การทำเครื่องปั้นดินเผา

1�

Page 18: สารบัญ - WordPress.com · ประวัติความเป็นมา 2 วัตถุดิบ 4 แหล่งที่มาของวัตถุดิบ

1� ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)

การทำเครื่องปั้นดินเผา

1� ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)

การทำเครื่องปั้นดินเผา

1�

Page 19: สารบัญ - WordPress.com · ประวัติความเป็นมา 2 วัตถุดิบ 4 แหล่งที่มาของวัตถุดิบ

1�ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)

การทำเครื่องปั้นดินเผา

1�ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)

การทำเครื่องปั้นดินเผา

1�

2.การปั้นชิ้นงานที่มีรูปแบบเหมือนกัน ในปริมาณมากๆ ให้ได้ขนาดที่เท่ากัน หรือมีขนาดที่ไม่แตกต่างกันมากนัก ก็อาจจะใช้ไม้ชิ้นเล็กๆ มาวัดขนาดของเส้นผ่าศูนย์กลางเพื่อให้ได้ขนาดที่ใกล้เคียงกันมากที่สุด 3.เมื่อขึ้นรูปชิ้นงานเสร็จแล้วใช้เส้นลวดขนาดเล็กตัดชิ้นงานขึ้นจากแป้นหมุน นำไปวางผึ่งลมพักไว้12ชั่วโมงหรือจนแห้งพอที่จะแกะลายได้

Page 20: สารบัญ - WordPress.com · ประวัติความเป็นมา 2 วัตถุดิบ 4 แหล่งที่มาของวัตถุดิบ

1� ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)

การทำเครื่องปั้นดินเผา

1�ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)

การทำเครื่องปั้นดินเผา

1� ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)

การทำเครื่องปั้นดินเผา

1�

Page 21: สารบัญ - WordPress.com · ประวัติความเป็นมา 2 วัตถุดิบ 4 แหล่งที่มาของวัตถุดิบ

1�ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)

การทำเครื่องปั้นดินเผา

1�ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)

การทำเครื่องปั้นดินเผา

1�1� ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)

การทำเครื่องปั้นดินเผา

Page 22: สารบัญ - WordPress.com · ประวัติความเป็นมา 2 วัตถุดิบ 4 แหล่งที่มาของวัตถุดิบ

�0 ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)

การทำเครื่องปั้นดินเผา

�0

Page 23: สารบัญ - WordPress.com · ประวัติความเป็นมา 2 วัตถุดิบ 4 แหล่งที่มาของวัตถุดิบ

�1ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)

การทำเครื่องปั้นดินเผา

�1ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)

การทำเครื่องปั้นดินเผา

�1

Page 24: สารบัญ - WordPress.com · ประวัติความเป็นมา 2 วัตถุดิบ 4 แหล่งที่มาของวัตถุดิบ

�� ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)

การทำเครื่องปั้นดินเผา

�� ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)

การทำเครื่องปั้นดินเผา

��

4.ขูดแต่งพื้นผิวของชิ้นงานให้เรียบเสมอกัน

Page 25: สารบัญ - WordPress.com · ประวัติความเป็นมา 2 วัตถุดิบ 4 แหล่งที่มาของวัตถุดิบ

��ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)

การทำเครื่องปั้นดินเผา

��ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)

การทำเครื่องปั้นดินเผา

��

5.นำชิ้นงานที่แห้งพอที่จะแกะลายมาร่างโครงของลวดลายจนรอบทั้งชิ้นงาน

Page 26: สารบัญ - WordPress.com · ประวัติความเป็นมา 2 วัตถุดิบ 4 แหล่งที่มาของวัตถุดิบ

�� ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)

การทำเครื่องปั้นดินเผา

�� ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)

การทำเครื่องปั้นดินเผา

��

6. เริ่มแกะลายโดยใช้มีดปลายแหลมเน้นลวดลายให้ชัดขึ้นแล้วค่อยๆ เพิ่มรายละเอียดของลวดลายจนเสร็จสมบูรณ์

Page 27: สารบัญ - WordPress.com · ประวัติความเป็นมา 2 วัตถุดิบ 4 แหล่งที่มาของวัตถุดิบ

��ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)

การทำเครื่องปั้นดินเผา

��

7.นำชิ้นงานที่แกะลายเรียบร้อยแล้วมาขูดแต่งพื้นผิวให้เรียบและเก็บรายละเอียดเป็นครั้งสุดท้าย

Page 28: สารบัญ - WordPress.com · ประวัติความเป็นมา 2 วัตถุดิบ 4 แหล่งที่มาของวัตถุดิบ

�� ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)

การทำเครื่องปั้นดินเผา ��ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)

การทำเครื่องปั้นดินเผา

�� ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)

การทำเครื่องปั้นดินเผา

��

8.นำชิ้นงานที่แกะลายเรียบร้อยแล้วผึ่งลมทิ้งไว้ประมาณ1สัปดาห์

Page 29: สารบัญ - WordPress.com · ประวัติความเป็นมา 2 วัตถุดิบ 4 แหล่งที่มาของวัตถุดิบ

��ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)

การทำเครื่องปั้นดินเผา ��ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)

การทำเครื่องปั้นดินเผา

���� ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)

การทำเครื่องปั้นดินเผา

Page 30: สารบัญ - WordPress.com · ประวัติความเป็นมา 2 วัตถุดิบ 4 แหล่งที่มาของวัตถุดิบ

�� ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)

การทำเครื่องปั้นดินเผา

�� ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)

การทำเครื่องปั้นดินเผา

��

9. เมื่อชิ้นงานที่ผึ่งลมทิ้งไว้แห้งแล้วจึงนำเข้าเตาเผาโดยใช้อุณหภูมิในการเผาประมาณ1,000-1,150 องศาเซลเซียส ใช้เวลาประมาณ 24 ชั่วโมง จากนั้นจึงพักเตาให้ความร้อนค่อยๆ คลายตัวอย่างช้าๆ ซึ่งต้องใช้ เวลาอีกประมาณ 24 ชั่วโมง จากนั้นจึงนำเครื่องปั้นดินเผาออกจำหน่ายการนำชิ้นงานออกจำหน่ายจะต้องมีการตรวจสอบคุณภาพเสียก่อนเนื่องจากชิ้นงานเมื่อเผาแล้วจะมีการแตกร้าวเสียหายไม่ได้มาตรฐานประมาณ3-5เปอร์เซ็นต์

Page 31: สารบัญ - WordPress.com · ประวัติความเป็นมา 2 วัตถุดิบ 4 แหล่งที่มาของวัตถุดิบ

��ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)

การทำเครื่องปั้นดินเผา

��ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)

การทำเครื่องปั้นดินเผา

��

Page 32: สารบัญ - WordPress.com · ประวัติความเป็นมา 2 วัตถุดิบ 4 แหล่งที่มาของวัตถุดิบ

�0 ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)

การทำเครื่องปั้นดินเผา

�0 ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)

การทำเครื่องปั้นดินเผา

�0

ขอขอบคุณ กลุ่มหัตถกรรมเครื่องปั้นดินเผาเกาะเกร็ดอำเภอปากเกร็ดจังหวัดนนทบุรี ชูสวัสดิ์พรรธุรานนท์ สุรัชบัวหิรัญ วรพงษ์เคี่ยมสมุทร

Page 33: สารบัญ - WordPress.com · ประวัติความเป็นมา 2 วัตถุดิบ 4 แหล่งที่มาของวัตถุดิบ

�1ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)

การทำเครื่องปั้นดินเผา

�1ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)

การทำเครื่องปั้นดินเผา

�1

บรรณานุกรม โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. สารานกุรมไทยสำหรบัเยาวชนฯฉบบัเสรมิการเรยีนรู้เล่ม11.กรงุเทพฯ:2551.บรรษัทเงินอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย. เครื่องปั้นดินเผาและเครื่องเคลือบกับพัฒนาการ ทางเศรษฐกิจและสังคมสยาม.กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์รุ่งเรืองรัตน์,2539.วิบูลย์ลี้สุวรรณ.มรดกไทย.กรุงเทพฯ:ปาณยา,2511.วบิลูย์ลีส้วุรรณ.พจนานกุรมหตัถกรรมเครือ่งมอืเครือ่งใชพ้ืน้บา้น.พมิพค์รัง้ที่3.กรงุเทพฯ: เมืองโบราณ,2548.สถาบนัศลิปะและวฒันธรรมมหาวทิยาลยัเทคโนโลยรีาชมงคลรตันโกสินทร์.“วารสารวชิาการ ด้านศิลปวัฒนธรรม.”ปีที่1:ฉบับที่1(2551):95-98.สมชัยใจดีและยรรยงศรีวิริยาภรณ์.ประเพณีและวัฒนธรรมไทย.กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์ ไทยวัฒนาพานิช,2549.สุขุมาลเล็กสวัสดิ์.เครื่องปั้นดินเผา:พื้นฐานการออกแบบและปฏิบัติงาน.กรุงเทพฯ: แอคทีฟพริ้นท์,2548.

Page 34: สารบัญ - WordPress.com · ประวัติความเป็นมา 2 วัตถุดิบ 4 แหล่งที่มาของวัตถุดิบ

ISBN 978-974-604-530-8 เจ้าของ ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน) ผู้จัดทำ บริษัท 2 Talents จำกัด พิมพ์ที่ ห้างหุ้นส่วนจำกัด ไอคอนพริ้นติ้ง พิมพ์ครั้งที่ 1 ปีที่พิมพ์ ธันวาคม 2551 จำนวนพิมพ์ 1,200 เล่ม

Page 35: สารบัญ - WordPress.com · ประวัติความเป็นมา 2 วัตถุดิบ 4 แหล่งที่มาของวัตถุดิบ
Page 36: สารบัญ - WordPress.com · ประวัติความเป็นมา 2 วัตถุดิบ 4 แหล่งที่มาของวัตถุดิบ