31

รวิชาชีพภาพท 3.11 แสดงเจด ย ทรงพ มข าวบ ณฑ 63 ภาพท 3.12 ภาพสะพานไม เม องอย ธยา

  • Upload
    others

  • View
    3

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: รวิชาชีพภาพท 3.11 แสดงเจด ย ทรงพ มข าวบ ณฑ 63 ภาพท 3.12 ภาพสะพานไม เม องอย ธยา
Page 2: รวิชาชีพภาพท 3.11 แสดงเจด ย ทรงพ มข าวบ ณฑ 63 ภาพท 3.12 ภาพสะพานไม เม องอย ธยา

คํานํา

เอกสารประกอบการสอน รายวิชาผังเมือง รหัส 3108-9001 จัดทําข้ึนตาม

จุดประสงครายวิชา มาตรฐานวิชาชีพ และคําอธิบายรายวิชา ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ

ชั้นสูง พุทธศักราช 2557 ของสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ เพ่ือให

นักเรียนในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาเทคนิคสถาปตยกรรม ไดใชเปนแนวทางในการ

เรียนรูการผังเมืองในประเทศไทย

การจัดทําเอกสารประกอบการสอน วิชาผังเมือง เลมนี้ ไดมีการศึกษาคนควาจาก

คูมือ และเอกสารตางๆ หลายเลม และเอกสารอิเล็กทรอนิกส ไดนํามาเรียบเรียงเนื้อหา ใหมีความ

ถูกตองครบถวน เพ่ือใหสอดคลองตามหลักสูตร แยกเปนหนวยการเรียนท่ีเหมาะสมกับผูเรียน เพ่ือให

ผูเรียนมีความรูความสามารถนําไปประกอบอาชีพได

ผูจัดทําหวังวาเอกสารประกอบการสอนเลมนี้ คงจะมีประโยชนตอครูผูสอน และ

ผูเรียน รวมท้ังผูสนใจท่ีจะศึกษาเก่ียวกับผังเมืองเปนอยางยิ่ง หากมีขอผิดพลาดประการใด ผูจัดทํา

หวังเปนอยางยิ่งวา จะไดรับคําติชม และขอเสนอแนะ ดวยความเต็มใจ เพ่ือใชเปนแนวทางในการ

พัฒนาเอกสารประกอบการสอนตอไป

วีระยุทธ หอมหวลด ี

ครูชํานาญการ

วิทยาลัยเทคนิคดุสิต

Page 3: รวิชาชีพภาพท 3.11 แสดงเจด ย ทรงพ มข าวบ ณฑ 63 ภาพท 3.12 ภาพสะพานไม เม องอย ธยา

สารบัญ

หนา

คํานํา ก

สารบัญ ข

สารบัญภาพ จ

จุดประสงค/มาตรฐาน/คําอธิบายรายวิชา ซ

แผนจัดการเรียนรู ญ

หนวยท่ี 1 ความหมายของการผังเมือง 1

1.1 ความหมายของเมือง 2

1.2 ความหมายของการผังเมือง 6

1.3 ความหมายของชนบทและเมือง 8

1.4 ความจําเปนของการผังเมือง 13

1.5 ขอบเขตของงานผังเมือง 17

แบบทดสอบกอนและหลังเรียนหนวยท่ี 1 21

เฉลยแบบทดสอบกอนและหลงัเรียนหนวยท่ี 1 23

หนวยท่ี 2 ความรูเกี่ยวกับชนิดและองคประกอบของเมือง 24

2.1 ขนาดและขอบเขตของเมือง 25

2.2 ชนิดของเมือง 28

2.3 รูปรางของเมือง 31

2.4 องคประกอบของเมือง 38

แบบทดสอบกอนและหลังเรียนหนวยท่ี 2 42

เฉลยแบบทดสอบกอนและหลงัเรียนหนวยท่ี 2 44

หนวยท่ี 3 ประวัติศาสตรและวิวัฒนาการของผังเมือง 46

3.1 ชุมชนดั้งเดิมหรือยุคกอนประวัติศาสตร 47

3.2 ชุมชนเมืองโบราณ 50

3.3 ชุมชนแบบยุคกลาง 57

3.4 ชุมชนแนวใหม 57

Page 4: รวิชาชีพภาพท 3.11 แสดงเจด ย ทรงพ มข าวบ ณฑ 63 ภาพท 3.12 ภาพสะพานไม เม องอย ธยา

สารบัญ (ตอ)

หนา

3.5 ชุมชนยุคอุตสาหกรรม 58

3.6 วิวัฒนาการและการตั้งถ่ินฐานในประเทศไทย 59

3.7 การวางผังเมืองสมัยใหมในประเทศไทย 68

แบบทดสอบกอนและหลังเรียนหนวยท่ี 3 72

เฉลยแบบทดสอบกอนและหลงัเรียนหนวยท่ี 3 74

หนวยท่ี 4 ทฤษฎีสําคัญทางผังเมือง 76

4.1 ธรรมชาติของเมือง 77

4.2 ทฤษฎีเก่ียวกับการขยายตัวของเมือง 83

4.3 การขยายขนาดของเมือง 88

4.4 การกลายเปนเมือง 90

4.5 การเติบโตของเมือง 91

แบบทดสอบกอนและหลังเรียนหนวยท่ี 4 92

เฉลยแบบทดสอบกอนและหลงัเรียนหนวยท่ี 4 94

หนวยท่ี 5 การวางผังเมือง 95

5.1 การนําทฤษฎีไปใชในการออกแบบวางผังเมือง 96

5.2 การวางผังเมืองรวม 96

5.3 กานกําหนดเขตวางผังเมืองรวม 97

5.4 การแบงประเภทการใชประโยชนท่ีดินตามผังเมืองรวม 98

5.5 การประมาณการการใชประโยชนท่ีดินประเภทตางๆ 100

5.6 หลักการกําหนดท่ีตั้งของการใชท่ีดินประเภทตาง ๆ 101

5.7 แนวโนมการผังเมืองในอนาคตของไทย 103

แบบทดสอบกอนและหลังเรียนหนวยท่ี 5 113

เฉลยแบบทดสอบกอนและหลงัเรียนหนวยท่ี 5 115

หนวยท่ี 6 ระบบการจัดการจราจร 117

6.1 การวางโครงขายถนน 115

Page 5: รวิชาชีพภาพท 3.11 แสดงเจด ย ทรงพ มข าวบ ณฑ 63 ภาพท 3.12 ภาพสะพานไม เม องอย ธยา

สารบัญ (ตอ)

หนา

6.2 การจําแนกประเภทของถนน 119

6.3 ประเภทของถนน 120

6.4 รูปแบบของถนนในเมือง 122

6.5 หลักการวางรูปแบบของถนนในเมือง 126

แบบทดสอบกอนและหลังเรียนหนวยท่ี 6 127

เฉลยแบบทดสอบกอนและหลงัเรียนหนวยท่ี 6 129

หนวยท่ี 7 ปญหาของเมือง 131

7.1 ปญหาท่ีเกิดข้ึนจากการขยายตัวของเมือง 132

7.2 ผลกระทบอันเกิดจากปญหาของเมือง 138

7.3 แนวทางแกไขปญหาของเมือง 141

แบบทดสอบกอนและหลังเรียนหนวยท่ี 7 148

เฉลยแบบทดสอบกอนและหลงัเรียนหนวยท่ี 7 150

หนวยท่ี 8 กฎหมายและการจัดสรรท่ีดิน 152

8.1 ความเปนมาของการจัดสรรท่ีดินในประเทศไทย 153

8.2 การจัดสรรท่ีดินเพ่ือท่ีอยูอาศัย 155

8.3 กฎหมายและการจัดสรรท่ีดิน 155

แบบทดสอบกอนและหลังเรียนหนวยท่ี 8 160

เฉลยแบบทดสอบกอนและหลงัเรียนหนวยท่ี 8 162

บรรณานุกรม 180

ภาคผนวก 186

Page 6: รวิชาชีพภาพท 3.11 แสดงเจด ย ทรงพ มข าวบ ณฑ 63 ภาพท 3.12 ภาพสะพานไม เม องอย ธยา

สารบัญภาพ

หนา

ภาพท่ี 1.1 แสดงสภาพชนบท 8

ภาพท่ี 1.2 แสดงสภาพเมือง 9

ภาพท่ี 1.3 แสดงชุมชนแออัด 15

ภาพท่ี 1.4 แสดงปญหาของเมือง 16

ภาพท่ี 1.5 แสดงความสัมพันธของการวางผังเมืองกับการพัฒนาประเทศ 18

ภาพท่ี 1.6 แสดงความสัมพันธของการวางแผนพัฒนา 19

ภาพท่ี 2.1 แสดงนครวาติกันในกรุงโรม 29

ภาพท่ี 2.2 แสดงรูปรางของเมืองแบบ Radio Centric 33

ภาพท่ี 2.3 แสดงรูปรางของเมืองแบบ Core 33

ภาพท่ี 2.4 แสดงรูปรางของเมืองแบบ Star 34

ภาพท่ี 2.5 แสดงรูปรางของเมืองแบบ Ring 34

ภาพท่ี 2.6 แสดงรูปรางของเมืองแบบ Linear 35

ภาพท่ี 2.7 แสดงรูปรางของเมืองแบบ Rectalinear 35

ภาพท่ี 2.8 แสดงรูปรางของเมืองแบบ Articulated sheet 36

ภาพท่ี 2.9 แสดงรูปรางของเมืองแบบ Branch 36

ภาพท่ี 2.10 แสดงรูปรางของเมืองแบบ Gallaxy 37

ภาพท่ี 2.11 แสดงรูปรางของเมืองแบบ Sattlelite 37

ภาพท่ี 2.12 แสดงเสนทางการสัญจร 38

ภาพท่ี 2.13 เขตพักอาศัย 40

ภาพท่ี 2.14 เขตอุตสาหกรรม 41

ภาพท่ี 2.15 เขตพักผอนหยอนใจ 41

ภาพท่ี 3.1 แสดงปรามิด 50

ภาพท่ี 3.2 แสดงลักษณะผังเมืองกรีก 53

ภาพท่ี 3.3 แสดงลักษณะผังเมืองโรมัน 54

ภาพท่ี 3.4 แสดงการจัดสวนแบบอิตาลีเรเนอรซอง 55

ภาพท่ี 3.5 แสดงการจัดสวนแบบฝรั่งเศสเรเนอรซอง 56

ภาพท่ี 3.6 แสดงการจัดสวนแบบอังกฤษเรเนอรซอง 56

ภาพท่ี 3.7 แสดงลักษณะผังเมือง Muchen 57

Page 7: รวิชาชีพภาพท 3.11 แสดงเจด ย ทรงพ มข าวบ ณฑ 63 ภาพท 3.12 ภาพสะพานไม เม องอย ธยา

สารบัญภาพ (ตอ)

หนา

ภาพท่ี 3.8 เมืองฟลอเรนส 58

ภาพท่ี 3.9 แสดงเครื่องจักรไอน้ํา 59

ภาพท่ี 3.10 แผนผังบริเวณ ต.เมืองเกา อ.เมือง จ.สุโขทัย 62

ภาพท่ี 3.11 แสดงเจดียทรงพุมขาวบิณฑ 63

ภาพท่ี 3.12 ภาพสะพานไม เมืองอยุธยา 65

ภาพท่ี 3.13 แสดงกําแพงกรุงรัตนโกสินทรสมัยแรก 67

ภาพท่ี 3.14 ผังลิทชฟลด พ.ศ. 2503 68

ภาพท่ี 3.15 การขยายตัวของกรุงเทพฯ พ.ศ. 2501-2522 69

ภาพท่ี 3.16 ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2549 70

ภาพท่ี 4.1 แสดงเมืองท่ีเปนศูนยกลางคอยรับสิ่งบริการ 78

ภาพท่ี 4.2 แสดงเมืองท่ีเปนเสนทางขนสง 78

ภาพท่ี 4.3 แสดงเมืองท่ีเกิดจากหนาท่ีพิเศษ 80

ภาพท่ี 4.4 แสดงเมืองท่ีเกิดจากการผสมผสาน 81

ภาพท่ี 4.5 แสดงการตั้งถ่ินฐานแบบเปนกลุม 82

ภาพท่ี 4.6 แสดงการตั้งถ่ินฐานแบบกระจาย 83

ภาพท่ี 4.7 ทฤษฎีรูปดาว 84

ภาพท่ี 4.8 ทฤษฎีรูปวงกลม 85

ภาพท่ี 4.9 ทฤษฎีรูปพาย 87

ภาพท่ี 4.10 แสดงการเปรียบเทียบทฤษฎีรูปวงกลม ทฤษฎีรูปพายและ 87

ทฤษฎีหลายศูนยกลาง

ภาพท่ี 6.1 การเชื่อมตอของถนนสายยอย 121

ภาพท่ี 6.2 ถนนระบบรัศมี 122

ภาพท่ี 6.3 ระบบถนนตารางหมากรุก 123

ภาพท่ี 6.4 ระบบถนนวงรอบหรือวงแหวน 125

ภาพท่ี 6.5 ระบบถนนตามแนวตรง 125

ภาพท่ี 7.1 แสดงปญหาน้ําทวมขัง 135

ภาพท่ี 7.2 แสดงปญหาการจราจรติดขัด 136

ภาพท่ี 7.3 แสดงปญหาการขาดแคลนท่ีอยูอาศัย 137

Page 8: รวิชาชีพภาพท 3.11 แสดงเจด ย ทรงพ มข าวบ ณฑ 63 ภาพท 3.12 ภาพสะพานไม เม องอย ธยา

สารบัญภาพ (ตอ)

หนา

ภาพท่ี 7.4 แสดงปญหาสิ่งแวดลอม 137

Page 9: รวิชาชีพภาพท 3.11 แสดงเจด ย ทรงพ มข าวบ ณฑ 63 ภาพท 3.12 ภาพสะพานไม เม องอย ธยา

1

หนวยท่ี 1

เรื่อง

ความหมายของการผังเมือง

หัวขอเร่ือง

1.1 ความหมายของเมือง

1.2 ความหมายของการผังเมือง

1.3 ความหมายของชนบทและเมือง

1.4 ความจําเปนของการผังเมือง

1.5 ขอบเขตของงานผังเมือง

สาระสําคัญ

วิชาการผังเมือง (Town Planning or City Planning) เปนศาสตรท่ีไดรับความสนใจอยาง

กวางขวางในปจจุบันจากทุกวงการ โดยทางตรงและทางออม กลาวกันวามนุษยท้ังท่ีเปนทางสวนตัว

หรือโดยเปนหมูคณะรูจักวางแผนมาต้ังแตตอนเริ่มแรกของวิวัฒนาการยุคแรกสุดแลว และอาจพูด

ไดวาถาไมมีการวางแผน (Planning) ก็คงจะไมมีวิวัฒนาการเกิดข้ึนอยางแนนอน มนุษยก็คงจะเปน

เพียงสัตวโลกท่ีมีสัญชาตญาณ และปฏิกิริยาท่ีตอบสนองตอเหตุการณเฉพาะหนาเทานั้น ไมมีระบบ

สังคมและการปกครองท่ีมีแบบแผนท่ีแตกตางไปจากสัตวอ่ืนๆ ไมมีการเกษตรกรรม การหัตถกรรม

การอุตสาหกรรม การกอสราง ตลอดจนศิลปะ หรือการสรางสรรค ตลอดจนการฝกฝนวางแผน

อยางมีจุดมุงหมายและเหมาะสม ซ่ึงเปนพฤติกรรมพ้ืนฐานของมนุษยทุกเผาพันธุ ดังนั้น แนวความคิด

เก่ียวกับการวางแผนจึงไดมีวิวัฒนาการ และเปลี่ยนแปลงไปตามเหตุการณของโลกเสมอมา ซ่ึงสงผล

กระทบตอชีวิตของทุกคน ในดานการใชประโยชนท่ีดิน การออกแบบ การกอสราง อาคาร และ

การคมนาคม รวมท้ังการกําหนดรูปแบบความสัมพันธของนโยบายดานสังคมและเศรษฐกิจ จึงถูก

เรียกขานวา “การผังเมือง” (Town Planning) หรือ “การวางผังชุมชนและการวางผังภาค” (Urban

Planning and Regional Planning)

จุดประสงคการเรียนรู

1. อธิบายความหมายของการผังเมืองไดอยางถูกตอง

2. จําแนกความแตกตางระหวางชนบทและเมืองไดอยางถูกตอง

3. บอกความจําเปนและขอบเขตของการผังเมืองไดอยางถูกตอง

4. แสดงกิจนิสัยท่ีดีในการทํางาน ในดานการมนุษยสัมพันธท่ีดีได

Page 10: รวิชาชีพภาพท 3.11 แสดงเจด ย ทรงพ มข าวบ ณฑ 63 ภาพท 3.12 ภาพสะพานไม เม องอย ธยา

2

หนวยท่ี 1

บทนํา

การผังเมือง เปนศาสตรท่ีมีมาตั้งแตโบราณ และเปนท่ีสนใจอยางกวางขวางในปจจุบัน

ท้ังทางตรงและทางออม มีการศึกษากันมาตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน กวาจะเปนเมืองนั้น จะตองมี

องคประกอบหลายๆ ดาน โดยมีผูเชี่ยวชาญทุกแขนงใหคําจํากัดความแตกตางกันไป

1.1 ความหมายของเมือง

เมือง คืออะไร (What is a City)

คําวา “เมือง” ในประวัติศาสตรกรีกและโรมัน หมายถึง บริเวณท่ีอยูในเขตกําแพงเมือง

เทานั้น ในประเทศอังกฤษ หมายถึง บริเวณทองท่ีตําบลหนึ่งซ่ึงเปนอาณาเขตการปกครองขององค

กษัตริย ในอเมริกาหมายถึง บริเวณท่ีอยูในทองท่ีปกครองและดําเนินการของเทศบาลตามกฎหมาย

ในออสเตรเลียและแคนาดา หมายถึง ขอบเขตอํานาจขององคประกอบทองถ่ิน (เทศบาล) สําหรับไทย

เรานั้น รูสึกวาใชกันอยางกวางขวางมาก เชนคําวา เมืองไทย หมายถึงบริเวณท้ังประเทศเลยทีเดียว

ซ่ึงอาจจะหมายความแคบลงไปในขนาดของจังหวัดก็ได เชน คําวา เมืองตาก เมืองเพชรบูรณ เปนตน

แตบางทีก็หมายความถึงเฉพาะชุมนุมชนท่ีอยูในเขตท่ีเปนท่ีตั้งศาลากลางจังหวัด สําหรับคําวา“เมือง”

ใชประกอบคําวา“เทศบาล” เปนเทศบาลเมือง ในพระราชบัญญัติระเบียบราชการบริหารแหง

อาณาจักรสยาม พ.ศ.2476 ซ่ึงหมายความละเอียด ลงไปถึงเฉพาะบริหารชุมนุมชน “ในเขตเทศบาล”

ซ่ึงเปนท่ีตั้งของศาลากลางจังหวัด หรือชุมนุมชนตั้งแต 50,000 คน และอยูกันอยางหนาแนนไมต่ํากวา

2,000 คนตอตารางกิโลเมตร

ในทัศนะคติของนักประวัติศาสตร บริเวณเมืองท่ีเขาสนใจจะเปนบริเวณเฉพาะแหง

ซ่ึงสวนมากเปนเมืองใหญๆ เทานั้น ท้ังนี้ เพราะมุงหมายเพ่ือจะพิสูจนความเปนมาในอดีต

โดยอาศัยประวัติศาสตรของเมืองนั้นๆ หรือเพ่ือจะอธิบายถึงเมืองนั้นๆ ตามทฤษฎีทางประวัติศาสตร

ในทัศนะคติของนักบริหาร “เมือง” หมายถึง ขอบเขตการปกครองควบคุมตามกฎหมาย

หรือลักษณะขององคการปกครองบริหารเทานั้น ท้ังนี้ เพราะเขามุงหมายเพ่ือวางนโยบายในการ

พัฒนาหรือปรับปรุงแกไขปญหาของชุมชนเทาท่ีอยูในความรับผิดชอบของตนเพียงอยางเดียว

ในทัศนะคติของนักปรัชญา คําวา “เมือง” อาจจะเปนเพียงการบรรยายความรูสึกท่ีมี

ชุมนุมชนวา ดี เลว หรืออ่ืนๆ ดังเชนท่ีนักปราชญคริสโตเติล กลาวไววา The good Life can only

be lived in the city (ชีวิตท่ีดีนั้นตองอยูในเมืองเทานั้น) หรือท่ีนักประพันธกลาวไวในบทประพันธ

ของตนวา Hell is a city much like London (นรกคือเมืองท่ีเหมือนกับกรุงลอนดอน)

Page 11: รวิชาชีพภาพท 3.11 แสดงเจด ย ทรงพ มข าวบ ณฑ 63 ภาพท 3.12 ภาพสะพานไม เม องอย ธยา

3

ในทัศนะคติของนักภูมิ-ประวัติศาสตร หรือนักมนุษยวิทยา คําวา “เมือง” หมายเฉพาะถึง

การศึกษาคนควาเก่ียวกับพฤติการณของชุมนุมชนซ่ึงนิยามคําวา “เมือง” เปนศูนยกลางของมนุษยใน

การปกครอง และการพัฒนาท่ีดิน การจําแนกแจกแจงพ้ืนท่ี และการเปลี่ยนแปลงขนาดท่ีตั้งและ

สภาวะภายในชุมนุมชน “เมือง” เปนคําแสดงความสัมพันธเก่ียวโยงกันระหวางมนุษยกับทองถ่ิน

นักสังคมสวนใหญมักจะมอง “เมือง” ในดานท่ีเปนชุมนุมชนของมนุษยท่ีมีลักษณะสภาวะ

ของความสัมพันธระหวางมนุษยกับสิ่งแวดลอมเปนพิเศษแตกตางกับสัตวชนิดอ่ืนๆ โดยมีการรวมกัน

อยูเปนกลุมกอน และประสานกันอยูในกรอบขนบธรรมเนียมประเพณี อันเปนสถาบันพิเศษ

ทางสังคม

การใหคําจํากัดความของ “เมือง” ไดมีผูใหคําจํากัดความหลายอยาง ความไมเห็นพองตองกัน

ในคําจํากัดความของเมืองเกิดข้ึนบอยๆ แมแตในสหรัฐอเมริกาเอง สํานักงานจัดสํามะโนประชากร (A

threar of Census) ใหคําจํากัดความของ เมือง อยางหนึ่ง แตมีหลายรัฐก็ไมไดเห็นดวยกับคําจํากัด

ความนั้น นักจิตการไดเห็นพองตองกันถึงการใหคําจํากัดความของเมือง โดยการกลาวเปรียบเทียบ

ระหวางเมือง และชนบท ซ่ึงไดมีการกลาวถึงขอเปรียบเทียบดังตอไปนี้

1.1.1 จํานวนประชากร โดยการกําหนดจํานวนประชากรไวจํานวนหนึ่ง และถาชุมชนใด

มีจํานวนประชากรสูงกวาท่ีกําหนดไว ชุมชนนั้นก็เปนเขตเมือง ซ่ึงการกําหนดจํานวนประชากรนี้

ในแตละประเทศก็กําหนดแตกตางกันออกไป เชน เดนมารกกําหนดวา 200 คน ไอซแลนด 300 คน

เวเนซุเอลาและนิวซีแลนกําหนด 1,000 คน ไอเออแลนด 1,500 คน ฝรั่งเศส คองโกและอารเจนตินา

2,000 คน สหรัฐอเมริกาและเม็กซิโก 2,500 คน เบลเยี่ยม อินเดีย กานา และเนเธอแลนด 5,000 คน

กรีก 10,000 คน การใหคําจํากัดความของความเปนเมืองโดยพิจารณาจากจํานวนประชากรนี้

มีจุดออนตรงท่ีมีหลายๆ เมืองท่ีประชากรมีมากกวา 2,500 คน หรือ 10,000 คน แตไมมีคุณสมบัติ

เปนเมืองเลย ในขณะท่ีบางเมืองมีประชากรนอยกวาจํานวนท่ีกําหนดแตมีคุณสมบัติเปนเมือง

1.1.2 ความหนาแนน ไดมีนักวิชาการหลายทานไดกําหนดความหนาแนนของเมืองเอาไว

มารค เจฟเฟอสัน (Mark Jefferson) กลาววา ชุมชนใดท่ีมีความหนาแนนของประชากร 10,000

คนตอตารางไมล ชุมชนนั้นเปนเมือง นักวิชาการอ่ืนๆ ไดกําหนดความหนาแนนต่ํากวานี้ โฮป ทิสเตล

เอลดริดจ (Hope Tisdale Eldridge) ไมเห็นดวยกับ เจฟเฟอสัน เขากลาววา การกลายเปนเมือง คือ

ขบวนการของการท่ีประชากรมาอยูรวมกัน

1.1.3 ประวัติศาสตร ไดมีการนําเอาประวัติศาสตรมาใชในการกําหนดความเปนเมืองโดย

หลักการท่ีวาชุมชนจะเปนเมืองก็ดูตามประวัติของมันวามันเคยเปนเมืองมาในอดีตหรือไม ประชาชน

จะยอมรับความเปนเมืองของชุมชนสืบตอกันมาตั้งแตในอดีต ซ่ึงในอดีตนั้น เมืองและชนบทมีความ

แตกตางกันมาก และการใชคําจํากัดความก็ไมคอยจะมีหลักเกณฑอะไรนัก

Page 12: รวิชาชีพภาพท 3.11 แสดงเจด ย ทรงพ มข าวบ ณฑ 63 ภาพท 3.12 ภาพสะพานไม เม องอย ธยา

4

1.1.4 พระราชบัญญัติการปกครอง ในกรณีนี้รัฐบาลเปนผูกําหนดวาชุมชนใดจะเปนเขต

เมือง ในสหรัฐอเมริกาชุมชนใดจะเปนเมืองหรือชนบทข้ึนอยู กับการกําหนดของรัฐแตละรัฐ

ตามกฎหมายของเทศบาลของประเทศยุโรปในยุคกลางนั้นชุมชนท่ีเปนเมืองเทานั้นท่ีมีสิทธิท่ีจะเปด

ตลาดได

1.1.5 ส่ิงประดิษฐท่ีมองเห็น เมืองเปนเขตท่ีถูกสรางข้ึนมา แตชนบทเกิดข้ึนเอง สวนประกอบ

ของเมืองเปนสิ่งท่ีมนุษยสรางข้ึน เชน ถนน ตึกรามบานชอง ทางน้ํา และสิ่งประดิษฐอ่ืนๆ ริชารด

แอลไมเออร (Richard L.Meier) ไดใหคําจํากัดความของเมืองวา คือ สถานท่ีซ่ึงสะสมสิ่งประดิษฐท่ี

มนุษยสรางข้ึนจนกระท่ังทําใหสภาพแวดลอมทางธรรมชาติหมดไป แตสิ่งกอสรางใหมๆ ก็เกิดข้ึนในเขต

ชนบทไดเหมือนกัน เชน อาจจะมีตึกใหญโต มีลิฟทข้ึนลง เพ่ือเปนท่ีเก็บผลิตผลทางการเกษตรกรรม

นักสังคมวิทยา กลาววา “ควรจะใหคําจํากัดความของเมืองโดยพิจารณาถึงประชากรไมใชสิ่งของ”

1.1.6 การดํารงชีวิต หมายถึง แบบของชีวิตและความรูสึก เมืองจะมีแบบแผนและ

ทัศนคติอยางหนึ่ง ชนบทก็มีอีกอยางหนึ่งแตกตางกันออกไป ชาวเมืองจะมีความใกลชิดกันในดาน

กายภาพ เชน เดินเบียดเสียดเยียดยัดกันอยูในถนน หรือบนรถเมล แตดานจิตใจหรือความรูสึก หรือ

ความสัมพันธเขาจะหางไกลกัน แบบอยางของชาวเมืองนั้นจะเปนผูวองไวรักษาเวลาอาศัยอยู

ในบาน ในอาณาเขตและไมรูจักเพ่ือนบานใกลเรือนเคียง

1.1.7 อาชีพ อาจกลาวไดอยางงายๆ วา ชาวเมือง คือผูท่ีไมไดประกอบอาชีพในการเพาะปลูก

อยูกับดินทราย ในป ค.ศ. 1938 สภาของสถาบันสถิตินานาชาติไดแนะนําใหคําจํากัดความของเมือง

วาใหพิจารณาตามเปอรเซ็นตของประชากรท่ีประกอบอาชีพตางๆ ในเมืองอาชีพสวนใหญ จะเปน

อาชีพบริการ การคา และการอุตสาหกรรม และในเมืองมีการแบงงานกันทํามากมายหลายประเภท

แตถาหากใชคําจํากัดความอันนี้ก็มีปญหาอีก คือวา มีเมืองใหญๆ หลายเมืองในฮังการีและบัลกาเรีย

จะถูกจัดวาเปนเขตชนบท และมีเมืองเล็กๆ ซ่ึงเปนชุมทางรถไฟในแคนซัส อเมริกา จะถูกจัดวาเปน

เมือง และการใชกฎเกณฑอันนี้ของเมืองท่ีอยูในเขตเหมืองแร จะนําไปสูความยากลําบากและ

ครอบคลุมในการใหคําจํากัดความของเมืองท่ีอยูในเขตเหมืองแร เพราะอาชีพของเขาเหลานั้น ไมใช

การเกษตรกรรม แตก็ไมใชอาชีพแบบชาวเมืองดวย

1.1.8 คุณลักษณะของยานการคา ยานการคาจะกําหนดความเปนเมืองได ยานท่ีเปน

ตลาดยานนั้นก็เปนเมือง เฟรดดริค แรทเซล (Friedrich Ratzel) ไดใหคําจํากัดความของเมืองวา

“เมือง คือสถานท่ีท่ีกวางใหญ เปนท่ีรวมของมนุษยอยางถาวรและอาณาบริเวณนั้นจะเปนยานการคา

ใหญ” อารเธอร สเมลล (Arther Smailes) กลาววา “เมือง คือ สถานท่ีซ่ึงมีธนาคารและรานคา”

กฎเกณฑอันนี้แคบมาก เพราะการธุรกิจนั้นเปนเพียงสวนหนึ่งของเมืองเทานั้น

Page 13: รวิชาชีพภาพท 3.11 แสดงเจด ย ทรงพ มข าวบ ณฑ 63 ภาพท 3.12 ภาพสะพานไม เม องอย ธยา

5

1.1.9 การอุตสาหกรรม โดยการใชกฎเกณฑวา เมือง คือ ท่ีท่ีมีโรงงาน แตในเขตชนบท ก็

อาจจะมีโรงงานเล็กหลายโรงงาน หรืออาจจะมีโรงงานใหญสักโรงงานหนึ่งก็ได และชนบทนั้นก็ถูก

เรียกวาเปนเขตเมืองหรือ

1.1.10 ความเปนกาฝากหรือการตองพ่ึงผูอ่ืน ธรรมชาติของเมืองจะตองเปนกาฝากของ

ชนบท เวอเนอร สอมบารท (Werner Sombart) กลาววา เมือง คือ ท่ีรวมของมนุษยท่ีตองพ่ึงพา

ผลผลิตทางเกษตรกรรมและแรงงานจากชนบทเพ่ือการอยูรอดของตนเอง ความตองการอาหารทุกวัน

ทําใหเมืองตองข้ึนอยูกับเขตชนบท มักจะมีคําโบราณกลาววา ชนบทคือชีวิต สวนเมืองนั้นคือ กาฝาก

หรือพยาธิหรือความเสื่อมโทรมท้ังหลาย และในการตอบแทนเมืองก็ไดใหสิ่งฟุมเฟอยของชีวิตแก

ชนบท หรือไมก็ใหความคุมครองทางดานการทหารแกชนบท แตกฎเกณฑนี้ไมเปนจริงสําหรับประเทศ

พัฒนาแลว เพราะวาท้ังเมืองและชนบทตางก็หวังพ่ึงตัวเองในดานอุตสาหกรรม เกษตรกรรม

การทหาร การศึกษา การแพทย และสิ่งประดิษฐตางๆ

1.1.11 การคมนาคมขนสง เมืองเปนศูนยกลางของการคมนาคมขนสง ตัวอยางคือ ใน

ฝรั่งเศส ท่ีมีคํากลาววา “เสนทางทุกสายมุงสูกรุงปารีส” ในกรุงปารีสนั้น ทางรถไฟทุกสายตองไปสู

กรุงปารีส เราจะเดินทางจากเมือง เอ ไปเมือง บี ซ่ึงหางกันเพียง 50 ไมล โดยไมผานปารีสไมได

เราจะตองนั่งรถไฟ 150 ไมลเขาปารีสแลวก็เปลี่ยนรถไฟเดินทางไปอีก 175 ไมล จึงจะถึงจุดหมาย

ปลายทาง ชารล คูลี (Charles H. Cooley) กลาวไววา การท่ีเสนทางคมนาคม มีการหยุดท่ีแหงใด

แหงหนึ่งทําใหเกิดเมืองใหมข้ึนมา

1.1.12 การเดินทาง การเดินทางเปนการกระจายสวนของเมือง ชาวเมืองสวนใหญมีการ

เดินทาง แตชาวนาในสวนตางๆ ของโลก ก็เชนกัน จีน บรันส และปแอร เคสฟอนเพน (Chin Bruns and

Piere Kesfonpen) ไดใหการเดินทางเปนตัวแยกเมืองออกจากชนบท เขากลาววา “ชาวเมืองสวน

ใหญจะใชเวลาในการทํางานสวนมากอยูในเมือง สวนชาวชนบทนั้นจะใชเวลา ในการทํางานสวนใหญ

อยูนอกชุมชน”

1.1.13 การปกครองและศาสนา เมืองมักจะเปนศูนยกลางของโบสถ และการปกครอง

เฮนรี่ พิเรน (Henry Pirenne) บรรยายถึงเมืองวา “ลักษณะเดนของเมือง คือ ประตูเมือง โบสถ และความ

หนาแนนของประชากร” แตคําจํากัดความนี้มันไมเหมาะสมกับสมัยนี้ ศาสนา และการปกครองไดลด

ความสําคัญลงมากแลว ในเมืองท่ีเจริญแลวหลายเมือง

1.1.14 จุดศูนยกลาง เมืองเปนจุดศูนยกลางสําคัญท่ีทุกสิ่งทุกอยางเกิดข้ึน ศูนยกลางของ

เมืองในแตละเมืองไมเหมือนกัน บางเมืองอาจจะหมายถึงยานถนนหลักของเมือง (Main Street) บางเมือง

อาจจะหมายถึงยานธุรกิจการคา อยางไรก็ตาม ศูนยกลางของเมือง คือ ท่ีซ่ึงไมมีคนอาศัยอยู แตเปน

สถานท่ีท่ีมีคนเปนจํานวนมากเดินทางไปเพ่ือจะทํางาน จายของ หรือเพ่ือเขาชมมหรสพ และเปนยาน

Page 14: รวิชาชีพภาพท 3.11 แสดงเจด ย ทรงพ มข าวบ ณฑ 63 ภาพท 3.12 ภาพสะพานไม เม องอย ธยา

6

ท่ีมีทรัพยสินแพงท่ีสุดของเมือง มีเมืองหลายเมืองท่ีมีศูนยกลางหลายศูนยกลาง แตก็มีบางเมืองท่ีได

รวมศูนยกลางเหลานี้เขาดวยกัน ในยุคท่ีรถยนตเปนท่ีแพรหลายนี้ เมืองมักจะกระจายศูนยธุรกิจ

รานคา และมหรสพออกไป

1.1.15 ความแปลก ความไมเหมือนกัน (Heterogeneity) เมืองมีความซับซอนและ

ปนเปกันมากกวาในชนบท ในเมืองมีสิ่งกอสรางและประชากรหลากหลายประเภท แฮนส ดอรีส

(Hans Dorries) กลาววา “เรารูจักเมืองก็โดยแบบแผนการควบคุม ความใกลชิดของกลุมคนท่ีอยู

รอบๆ ศูนยกลาง และมีสิ่งมากมายหลายประเภทในเมือง”

1.1.16 การใชปจจัยหลายอยาง เปนวิธีท่ีดีมาก เพราะโดยการพิจารณาหลายๆ ปจจัย

ท่ีกลาวมาแลวรวมกัน ถาโดยวิธีการนี้พอจะสรุปไดวา เมืองคือท่ีซ่ึง

1) คนเปนจํานวนมากอาศัยอยูในเขตท่ีติดตอกัน

2) คนประกอบอาชีพท่ีไมใชเกษตรกรรม

3) คนจะมีวิถีทางดําเนินชีวิตเปนแบบอยางท่ีมีการติดตอกันโดยไมรูจักชื่อเสียง และ

แบบเปนทางการและมีความสัมพันธแบบทุติยภูมิ

นักวิชาการตางๆ จะไมเห็นพองตองกันในคําจํากัดความของเมือง ท้ังนี้ก็เพราะวาตัวเมือง

แตละเมืองก็มีความแตกตางกันในแงตางๆ มากมาย

1.2 ความหมายของการผังเมือง

วิชาการผังเมือง (Town Planning or City Planning) เปนศาสตรท่ีไดรับความสนใจอยาง

กวางขวางในปจจุบันจากทุกวงการท้ังโดยทางตรงและทางออม กลาวกันวา มนุษยท้ังท่ีเปนทาง

สวนตัวหรือโดยเปนหมูคณะรูจักวางแผนมาตั้งแตตอนเริ่มแรกของวิวัฒนาการยุคแรกสุดแลว และอาจ

พูดไดวา ถาไมมีการวางแผน (Planning) ก็คงจะไมมีวิวัฒนาการเกิดข้ึนอยางแนนอน มนุษยก็คงจะ

เปนเพียงสัตวโลกท่ีมีสัญชาตญาณ และปฏิกิริยาท่ีตอบสนองตอเหตุการณเฉพาะหนาเทานั้น ไมมี

ระบบสังคมและการปกครองท่ีมีแบบแผนท่ีแตกตางไปจากสัตวอ่ืนๆ ไมมีการเกษตรกรรม การ

หัตถกรรม การอุตสาหกรรม การกอสราง ตลอดจนศิลปะ หรือการสรางสรรค ตลอดจนการฝกฝน

วางแผนท่ีมีจุดมุงหมาย และเหมาะสมเปนพฤติกรรมพ้ืนฐานของมนุษยทุกเผาพันธุ ดังนั้น

แนวความคิดเก่ียวกับการวางแผนก็ไดเติบโต และเปลี่ยนแปลงไปตามเหตุการณ และวิวัฒนาการของ

โลกเสมอมา ซ่ึงสงผลกระทบตอชีวิตของทุกคน ซ่ึงในดานการใชประโยชนท่ีดินและทรัพยากร การ

ออกแบบ การกอสราง อาคาร และการคมนาคม รวมท้ังการกําหนดรูปแบบความสัมพันธของ

นโยบายดานสงัคมและเศรษฐกิจ ถูกเรียกขานวา “การผังเมือง” (Town Planning) หรือ “การวาง

ผังชุมชนและการวางผังภาค” (Urban Planning and Regional Planning)

Page 15: รวิชาชีพภาพท 3.11 แสดงเจด ย ทรงพ มข าวบ ณฑ 63 ภาพท 3.12 ภาพสะพานไม เม องอย ธยา

7

ความสนใจในเรื่องการวางผังเมืองไดปรากฏใหเห็นเดนชัดในราวตนศตวรรษท่ี 19 หลังการ

ปฏิวัติอุตสาหกรรม โดยเฉพาะยุโรปและอเมริกามีการตื่นตัวในเรื่องการผังเมืองอยางแพรหลาย มีการ

จัดการประชุมเก่ียวกับการวางผังเมืองข้ึนครั้งแรกในอเมริกา เม่ือ ค.ศ. 1909 ซ่ึงไดรับความสนใจอยาง

มาก ท้ังจากประชาชนท่ัวไปและสถาบันตางๆ กลุมผูเขารวมประชุมท่ีสําคัญ ไดแก สถาบันการวาง

ผังเมืองอเมริกา (The American City Planning Institute) และสถาบันการวางผังเมืองของ สหราช

อาณาจั ก ร แล ะแคนาด า (The Town Planning Institutes of Great Britain and Canada)

หลังจากนั้น ก็ไดมีการจัดการประชุมเก่ียวกับการผังเมืองระหวางกลุมประเทศยุโรปและอเมริกาข้ึนอีก

หลายครั้ง ทําใหการวางผังเมืองเปนท่ีรูจักแพรหลายไปท่ัวโลก โดยเฉพาะอยางยิ่งหลังสงครามโลก

ครั้งท่ีสองเปนตนมา หรือราวๆ ครึ่งแรกของศตวรรษท่ี 20 นับได วาเปนยุคเริ่มตนของการวางผัง

เมืองสมัยใหม ไดมีการประชุมครั้งใหญเก่ียวกับการจัดท่ีอยูอาศัย (Housing) และการวางผังเมือง

(Town Planning) เม่ือเดือนตุลาคม ค.ศ. 1946 ท่ีเมือง Hasting ประเทศอังกฤษ มีจํานวน

ผูเขารวมประชุมถึง 1,257 คน จาก 23 ประเทศ เรื่องท่ีสนใจกันมากท่ีสุดในการประชุมครั้งนั้นไดแก

การวางแผนปรับปรุงบริเวณศูนยกลางเมือง การกระจายความสําคัญออกจากศูนยกลาง

(Decentralization) การจัดท่ีอยูอาศัย (Housing) และหลักการของแผนปฏิบัติงาน (Methods of

Implementation)

ความสนใจท่ีปรากฏใหเห็นเดนชัดดังกลาว ยอมแสดงวา วิชาการผังเมือง เปนศาสตรท่ี

ประชาชนท่ัวไป ทุกคน ทุกกลุม ทุกหนวย มีสวนเก่ียวของอยูดวยเสมอ ไมเพียงแตประชาชนท่ี

อาศัยอยูในเมืองเล็ก หรือแมแตในหมูบาน ในชนบท ตางก็กระหายท่ีไดรับรูเรื่องราวของการวางผัง

เมือง หรือการพัฒนาเมือง และพรอมท่ีจะสละเวลาและพลังงานเพ่ือท่ีจะเรียนรูถึงวิธีการวางแผน

ท่ีจะทําใหชุมชนของตนเอง ไดรับประโยชนจากการพัฒนา เพ่ือใหเมืองมีความนาอยูยิ่งๆ ข้ึน

ในเบื้องตนของกระบวนการผังเมืองจําเปนท่ีจะตองศึกษาถึงเรื่องราวในดานตางๆ ท่ีเก่ียวของกับ

การผังเมือง การวางแผนชุมชนเมือง มิใชเรื่องท่ีเก่ียวกับดานความสวยงาม ดานสังคม และดาน

สุขอนามัยเทานั้น แตยังเก่ียวเนื่องกับดานการจราจร การคมนาคมขนสง ดานสิทธิการใชท่ีดิน และ

ตลาดท่ีดิน ดานเศรษฐกิจการใชท่ีดิน การใชพลังงาน การระบายน้ํา การบําบัดน้ําเสีย และสิ่ง

ปฏิกูล ซ่ึงจําเปนอยางยิ่งท่ีจะตองศึกษา วิเคราะห และประสานงาน กําหนดการวางแผนลวงหนา

การวางผังเมืองมิใชเปนเพียงการวางแผนเมืองใหม หรือการขยายเมือง แตยังหมายรวมถึงการศึกษา

ขอมูล ในดานตางๆ เก่ียวกับการปรับปรุงและฟนฟูเมืองท่ีเสื่อมโทรม ซ่ึงมิไดครอบคลุมเฉพาะพ้ืนท่ี

“เมือง” เทานั้น แตยังเก่ียวเนื่องกับการตั้งถ่ินฐานของมนุษยทุกกลุมชนและทุกระดับความสําคัญ

ซ่ึงในกระบวนศาสตรท่ีเก่ียวของกับการออกแบบและผังเมืองนั้น นอกจากวิชาสถาปตยกรรม

(Architecture) ภูมิสถาปตยกรรม (Landscape Design) วิชาการสํารวจ (Surveying) ในแขนง

ตางๆ และศาสตรแขนงวิศวกรรมโยธา (Civil Engineering) ซ่ึงเปนศาสตรท่ีเก่ียวของโดยตรงกับ

Page 16: รวิชาชีพภาพท 3.11 แสดงเจด ย ทรงพ มข าวบ ณฑ 63 ภาพท 3.12 ภาพสะพานไม เม องอย ธยา

8

การออกแบบดานกายภาพของเมืองแลว ยังมีศาสตรแขนงอ่ืนๆ อีกหลายแขนงท่ีมีสวนรวมใน

การวิเคราะห และอธิบายเรื่องของเมืองในแงตางๆ ไดอยางดี อาทิ ประชากรศาสตร (Population

Study) สังคมวิทยาชุมชน (Urban Sociology) ภูมิศาสตรชุมชน (Urban Geography) เปนตน

1.3 ความหมายของชนบทและเมือง

การตั้งถ่ินฐานของมนุษยในโลกมีอยูสองแบบ คือ ชนบท (Rural) และ เมือง (Urban)

องคการสหประชาชาติไดใหคําจํากัดความของการตั้งถ่ินฐานมนุษยไววา เปนสิ่งแวดลอมท่ีมนุษยสราง

ข้ึนในรูปของชุมชน ซ่ึงอาจจะมีขนาดตั้งแตหมูบานจนถึงมหานคร แตไมวาจะมีขนาดใด ก็ตาม

การตั้งถ่ินฐานของมนุษยมีความหมายรวมถึงคน (People) และระบบการดํารงชีวิต (Life Supporting

System) อันไดแก สิ่งสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ ท่ีจัดสรรใหแกคนในชุมชน อาทิ ท่ีอยูอาศัย

น้ําสะอาด การสื่อสาร การคมนาคม พลังงาน การอนามัย การศึกษา การประชาสงเคราะห รวมท้ังความ

ตองการทางดานวัฒนธรรม เปนตนวา ศาสนสถาน หองสมุด พิพิธภัณฑ โรงมหรสพ และสนาม

กีฬา เปนตน ในการท่ีจะบอกหรือชี้ใหชัดเจนลงไปวาชุมชนใด เปนชุมชนชนบท หรือชุมชนเมืองนั้น

จะตองพิจารณาจากขอกําหนดและหลักเกณฑของแตละแหง อยางไรก็ตามในชั้นตนนี้ เราสามารถ

อาศัยพิจารณาจากคําจํากัดความท่ีมีผูพยายามบัญญัติข้ึน ดังนี ้

1.3.1 ชนบท หมายถึง เปนชุมชนท่ีมีพ้ืนท่ีท่ีมีประชากรอยูอาศัยกระจัดกระจาย อาคารไม

หนาแนน กิจกรรมและอาชีพจะมีลักษณะคลายคลึงกันเปนสวนใหญ คือ อาชีพเกษตร ความสัมพันธ

ทางสังคม และการติดตอเชื่อมโยงไมซับซอน (ดังภาพท่ี 1.1)

ภาพท่ี 1.1 แสดงสภาพชนบท

ท่ีมา : www.guitarthai.com

Page 17: รวิชาชีพภาพท 3.11 แสดงเจด ย ทรงพ มข าวบ ณฑ 63 ภาพท 3.12 ภาพสะพานไม เม องอย ธยา

9

1.3.2 เมือง หมายถึง เมืองท่ีมีพ้ืนท่ีท่ีประชากรมารวมตัวอยู อยางหนาแนน มีอาคาร

บานเรือนท่ีถาวร มีกิจกรรม หรืออาชีพท่ีหลากหลาย รวมท้ังความสัมพันธของประชากรเหลานั้น

มีหลายรูปแบบ คอนขางเปนทางการ มีระเบียบ มีขอกฎหมายเปนบรรทัดฐาน และติดตอสัมพันธ

เชื่อมโยงดวยระบบการคมนาคมและการสื่อสารท่ีซับซอน นอกจากความหมายของชุมชนชนบท และ

เมืองตามท่ียกมาเปนตัวอยางขางตนนี้แลว เราอาจพิจารณาไดจากการสังเกตถึงลักษณะของ

องคประกอบในดานตางๆ ของแตละชุมชน ซ่ึงมีลักษณะสําคัญอยู 2 ประการ คือ (ดังภาพท่ี 1.2)

ภาพท่ี 1.2 แสดงสภาพเมือง

ท่ีมา : http://www.voucherthai.com/forum_posts.asp

1) ลักษณะทางกายภาพ (Physical Character) ไดแก ลักษณะท่ีสามารถสังเกตเห็นได

ดวยตา เชน ลักษณะภูมิประเทศ พ้ืนท่ีดิน การใช พ้ืนท่ีดิน การจัดระบบสาธารณูปโภคและ

สาธารณูปการ สภาพท่ีอยูอาศัย สิ่งกอสราง รวมท้ังสิ่งประดิษฐและสถาปตยกรรมตางๆ จะมี

ความแตกตางกันเห็นไดชัดในระหวางชุมชนชนบทและเมือง กลาวคือ การใชพ้ืนท่ีดินของชุมชนเมือง

จะหนาแนน และมีระบบมากกวาในชนบทการจัดการในดานการบริการและสิ่งอํานวยความสะดวก

ตางๆ มีมากและอาศัยเทคนิควิทยาการมากกวาชนบท สวนในดานบรรยากาศของธรรมชาตินั้น

ในชนบทกลับมีมากกวาในเมืองซ่ึงจะมีลักษณะของธรรมชาติเหลือนอยมากและถูกดัดแปลงไปจากเดิม

2) ลักษณะท่ีไมใชกายภาพ (Non-Physical Character) ไดแก เรื่องราวอันเก่ียวกับ

คนท่ีอาศัยอยูในแตละชุมชน อาทิ จํานวน ความหนาแนน อาชีพ วัฒนธรรม ประเพณี เผาพันธุ

และพฤติกรรมของคนและกลุมคนท่ีอยูรวมกัน หรือเรื่องราวทางเศรษฐกิจและสังคมนั่นเอง เชน

จํานวนประชากรในเมือง มักมีมากกวาในชนบท โดยเฉพาะประชากรวัยทํางาน ท้ังนี้ เพราะในเมือง

Page 18: รวิชาชีพภาพท 3.11 แสดงเจด ย ทรงพ มข าวบ ณฑ 63 ภาพท 3.12 ภาพสะพานไม เม องอย ธยา

10

มีโอกาสท่ีจะหางานทําไดงายกวาและไดรับคาจางแรงงานมากกวาในชนบท ในเมืองมีสถานท่ีดึงดูดให

คนมาอาศัยและดําเนินชีวิตมากกวา เชน สถานท่ีใหความบันเทิง สถาบันการศึกษา สถานบริการ

ทางการแพทย ดังนั้น ในชนบทจึงมีประชากรท่ีมีอายุในวัยท่ีเปนภาระกับครอบครัว คือ เด็กและ

คนชราในอัตราท่ีสูงกวาในเมือง อาชีพในชนบท คือ การเกษตรซ่ึงจําเปนตองใชพ้ืนท่ีดินมาก จึงทําให

ความหนาแนนของประชากรตอพ้ืนท่ีในชนบทนอยกวาในเมืองมาก ท้ังนี้ เพราะอาชีพของคนเมือง

ไมใชการเกษตรและใชพ้ืนท่ีนอยกวามาก นอกจากนี้แลว เรื่องราวทางดานสังคมและวัฒนธรรมของ

ชาวชนบทเปนไปอยางเรียบงาย มีความยุงยากนอยกวาสังคมชาวเมือง เปนตน เพ่ือใหสามารถอธิบาย

ไดชัดเจนข้ึน จึงขอยกตัวอยางความแตกตางระหวางชุมชนชนบทและชุมชนเมืองท่ีมีผูรูไดใหขอคิด

ไวมากมาย สรุปไดดังนี ้

(1) อาชีพ (Occupation)

ชนบท การเกษตรกรรม ไดแก การเพาะปลูกพืช เลี้ยงสัตว และขยายพันธุสัตว

มีความผูกพันกับธรรมชาติโดยตรง ซ่ึงจากความไมแนนอนของธรรมชาติ เชน การผิดปกติของฤดูกาล

ความแหงแลง อุทกภัย โรค และแมลงศัตรูพืช หรือสัตว เหลานี้ เปนสาเหตุท่ีทําให ชาวชนบทท่ัวไปมี

ความสามารถทํางานไดหลายอยางมากกวาชาวเมือง ลกัษณะของอาชีพทําใหตองทํางานอยูกลางแจง

ตองการพ้ืนท่ีมาก ทํางานเปนกลุมหรือหนวยเล็กๆ ถือวาครอบครัวเปนศูนยกลางของอาชีพ คือเปนท่ี

เก็บผลิตผลและปรึกษาหารือกันตลอดจนเปนท่ีจําหนาย แลกเปลี่ยนสินคากัน เปนตน

เมือง ชาวเมืองมักมีอาชีพสวนใหญทําอยูในท่ีรมมากกวากลางแจง แมวาจําเปนตอง

ทํางานกลางแจง ก็มีวิธีปองกันใหพันจากการเผชิญหนากับธรรมชาติโดยตรง เชน ใชรมกางกัน

แสงแดด หรือสวมหมวก แวนตากันแดด กันลม เสื้อกันฝนเม่ือฝนตก เปนตน คนในครอบครัวเดียวกัน

มักไมคอยยุงเก่ียวกับอาชีพของอีกคนหนึ่ง ประเภทของงานท่ัวไปเปนงานท่ีอาศัยคาจางเลี้ยงชีพ

(Wage-Carner) แตละคนจะเลือกทํางานท่ีตนมีความถนัด (Specialist) ไมมีใครหรือมีก็เพียงคนสอง

คนเทานั้น ท่ีดําเนินตามอาชีพของพอแม คนท่ีไดรับการฝกอบรมในงานฝมือมักจะพนภาระครอบครัว

ตั้งแตอายุนอยๆ และชางฝมือท่ีชํานาญในงานอยางใดอยางหนึ่ง (Skill Labor) มักเปลี่ยนอาชีพยาก จะมี

สถานท่ีทํางานเปนศูนยกลางของอาชีพ ไดแก ท่ีทํางาน (Office) โรงงาน เปนตน

(2) สภาพธรรมชาติ (Natural Environment)

ชนบท ลักษณะอาชีพทําใหคนชนบทอยูใกลชิด และสัมผัสธรรมชาติโดยตรง

สภาพแวดลอมท่ัวไปเปนไปตามธรรมชาติ การดํารงชีพ การกอสรางบานเรือน และสิ่งกอสรางตางๆ

เปนไปอยางเรียบงาย และตามแตธรรมชาติจะอํานวยให

เมือง สภาพแวดลอมโดยท่ัวไปเปนสิ่งท่ีมนุษยสรางข้ึน ลักษณะธรรมชาติจริงๆ มีนอย

และไมสดใสดังเชนชนบท มักพบกับสภาวะแสงแดดทึบ หรือจาจนเกินกวาปกติ เนื่องจากสิ่งกอสราง

ท่ีดัดแปลงใหผิดธรรมชาติ เชน อาคารบานเรือน ถนน สะพาน ลวนทําจากวัสดุท่ีถูกดัดแปลงหรือ

Page 19: รวิชาชีพภาพท 3.11 แสดงเจด ย ทรงพ มข าวบ ณฑ 63 ภาพท 3.12 ภาพสะพานไม เม องอย ธยา

11

สังเคราะหข้ึน ไดแก อิฐ ปูนซีเมนต เหล็ก คอนกรีต แอสฟลส ใยหิน เปนตน อากาศไมบริสุทธิ์มี

สิ่งเจือปน เชน ฝุนละออง และไอเสียรถยนต เปนตน

(3) ขนาดของชุมชน (Size of Community) ในท่ีนี้เรายึดขนาดของศูนยกลาง

ชุมชนเปนหลักในการบอกขนาดชุมชน

ชนบท ยิ่งมีความเปนชนบทมากเทาใด ขนาดของศูนยกลางจะยิ่งมีขนาดเล็กลง

มากยิ่งๆ ข้ึน ศูนยกลางของชุมชนชนบท ไดแก วัด โรงเรียน ท่ีทําการของชุมชน เปนตน จะมีขนาด

ใหญข้ึนเม่ือความเปนชนบทมีนอยลงๆ เรียกวา ขนาดของชุมชนมีความสัมพันธทางลบกับความ

เปนชนบท

เมือง ตรงกันขามกับชนบท ความสัมพันธระหวางขนาดของศูนยกลางชุมชนกับความ

เปนเมืองเปนไปในทางบวก นั่นคือยิ่งความเปนเมืองมีมากเทาใดขนาดของศูนยกลางชุมชนจะยิ่งมี

ขนาดใหญตามไปดวย

(4) ความหนาแนนของประชากร (Density of Population)

ชนบท ในเขตถ่ินฐานเดียวกันและในเวลาเดียวกัน ความหนาแนนของประชากรตอ

พ้ืนท่ีในชนบทยอมตองนอยกวาของชุมชนเมือง ก็เพราะคนชนบทมีความโดดเดี่ยวมากกวาคนเมือง

ในการทํางาน คือ งานดานเกษตรกรรมตองใชพ้ืนท่ีมาก และคนชนบทก็ครอบครองจํานวนพ้ืนท่ีดิน

มากกวาคนเมืองโดยเฉลี่ย

ดังนั้น เม่ือคิดจํานวนคนตอพ้ืนท่ีท้ังหมดของชุมชน ยอมมีความหนาแนนในอัตราตํ่า

กวาของชุมชนเมืองอยางเห็นไดชัด หรือกลาวไดวาความหนาแนนของคนในชนบท มีสวนสัมพันธ

ทางลบกับความเปนชนบทนั่นเอง

เมือง คนในเมืองไมมีความจําเปนตองใชพ้ืนท่ีมากในการดํารงชีวิตและทํางาน

ความสามารถในการใหบริการดานตางๆ ของเมืองมีจํากัด คนจึงพยายามอยูรวมกันในเนื้อท่ีท่ีถูก

จํากัดนี้ แมวาบางชุมชนเมืองอาจมีขนาดของชุมชนใหญกวาชนบทก็ตาม จํานวนประชากรท่ีอาศัย

อยูในเมืองก็จะมีมากตามไปดวย ดังนั้นความหนาแนนของประชากรตอพ้ืนท่ีของเมืองจึงมากกวาใน

ชนบทเสมอ หรือกลาวไดอีกวาความสัมพันธระหวางความหนาแนนของประชากรของเมือง มี

สวนสัมพันธในทางบวกกับความเปนเมือง

(5) ความเหมือนและแตกตางของประชากร (Homogeneity & Heterogeneity

of Population)

ชนบท ทางดานรางกายและความคิดเห็นตอสังคม เชน เผาพันธุ ภาษา ความเชื่อ

ขนบธรรมเนียม จารีตประเพณี การนับถือศาสนา ลักษณะพฤติกรรมโดยท่ัวไป คอนขางเทากัน

Page 20: รวิชาชีพภาพท 3.11 แสดงเจด ย ทรงพ มข าวบ ณฑ 63 ภาพท 3.12 ภาพสะพานไม เม องอย ธยา

12

หรือเหมือนกัน อาชีพสวนใหญก็คลายคลึงกันหรือเหมือนกัน หากมีสิ่งแปลกปลอมไมวาจะเปนใน

ดานใดก็จะเห็นไดรูไดทันที เรียกลักษณะนี้วา Heterogeneity

เมือง ในเวลาและในภูมิภาคเดียวกัน ลักษณะดังกลาวจะแตกตางจากชนบทในทาง

ตรงกันขาม คือ ในเมืองนั้นเปนท่ีรวมของคนหลายเผาพันธุ หลายชนิด ความเชื่อ ความคิดเห็น จารีต

ประเพณี อาชีพ ศาสนา ตลอดจนพฤติกรรมในดานตางๆ มีลักษณะ และมีความแตกตางกันเห็นได

ชัดเจน เปนลักษณะนี้วาความแตกตางกัน (Heterogeneity)

(6) ความแตกตางทางสังคม (Social Differentiation & Stratification)

ชนบท เนื่องจากคนในชนบทมักเปนพวกเดียวกัน จึงมีความแตกตางทางสังคมนอย

กวาในเมือง และการถือชั้นวรรณะในชนบทมีเขมขนกวาในเมือง โดยมักยึดถือวรรณะตามตระกูล

เชน คนท่ีเกิดในตระกูลผูดี ก็จะมีฐานะสูงกวาคนอ่ืนๆ และไมคอยมีการเปลี่ยนฐานะ เพราะสังคม

ยอมรับนับถือ แมวาลักษณะอ่ืนๆ ท่ัวไปจะเหมือนกัน

เมือง มีการแบงชนชั้นมากกวาในชนบท โดยยึดถือสถานะทางอาชีพ รายได

การศึกษา ท่ีอยูอาศัย การแตงกาย และภาษาท่ีพูดเปนขอกําหนดการเปลี่ยนแปลงสถานะทางสังคม

เปนไปไดงายดวยการยกระดับหรือลดระดับของขอกําหนดดังกลาว

(7) การเคล่ือนยาย (Mobility)

ชนบท การเคลื่อนยายในทางอาณาเขต (Territory) หรือในทางอาชีพของคนชนบท

มีนอยและไมรุนแรง การเคลื่อนยายเปนแบบตัวใครตัวมันจากชนบทเขาสู เมือง (Migratory

Movement) ในบางครั้งอาจเปนการเคลื่อนยายเพ่ือเปลี่ยนอาชีพ (Movement From Occupation

to Occupation) แฝงอยูดวย

เมือง มีความเขมขนของการเคลื่อนยายรุนแรงกวาชนบทมาก ซ่ึงมีท้ังการเคลื่อนยาย

ภายในบริเวณเมือง ระหวางเมือง และเขาสูเมืองภายในเมือง เชน การเคลื่อนยายท่ีสัมพันธกันกับ

การเปลี่ยนสถานะทางสังคม (Social Movement as Characterized by Rising and Falling of

Status) สวนการเคลื่อนยายจากเมืองสูชนบทมีนอย ยกเวนในเทศกาลท่ีสําคัญ ๆ หรือเม่ือมีภัยพิบัติ

เปนตน

(8) การติดตอกัน (System of Interaction)

ชนบท ขนาดของความสัมพันธท้ังจํานวนคนและพ้ืนท่ีในชนบท เปนขนาดเล็กๆ

แคบๆ สวนใหญเปนแบบการติดตอเบื้องตน ความสัมพันธมักเปนเรื่องสวนตัว และยั่งยืนถาวรใน

ลักษณะท่ีสุจริตใจและงายๆ “Man is Interacted as a Human Person”

Page 21: รวิชาชีพภาพท 3.11 แสดงเจด ย ทรงพ มข าวบ ณฑ 63 ภาพท 3.12 ภาพสะพานไม เม องอย ธยา

13

เมือง มีความสัมพันธติดตอกันมากกวาท้ังจํานวนและพ้ืนท่ี ซ่ึงสวนใหญมักไมเปน

สวนบุคคล (Impersonal) และไมยั่งยืนถาวร คือ มักมีลักษณะเปนทางการ (Formal) เปนครั้ง

คราวผิวเผินและหลายชั้นหลายแบบ (Manifoldness)

จากลักษณะดังกลาวท้ังหมดขางตน เรียกวา เปนองคประกอบของเมือง คือ ปจจัย

หรือคุณลกัษณะท่ีจะตองประกอบเขาดวยกัน จึงทําใหเกิดลักษณะท่ีเรียกวา “ชุมชน” ซ่ึงในประเทศไทย

ใชคําวา “ชุมชนเมือง” เปนครั้งแรกอยางเปนทางการในการสํารวจสํามะโนประชากร ป พ.ศ. 2513

เพ่ือกําหนดนิยามคําวา เมือง ใหชัดเจนและเปนสากลตามกฎหมายโดยมีเกณฑ เพ่ือมีวัตถุประสงค คือ

การยกฐานะของชุมชนและเห็นความสําคัญของชุมชนท่ีมีลักษณะพิเศษแตกตางออกไปจากสภาพ

ชนบทท่ัวไป โดยแบงความหมายของเมืองออกเปน 3 ระดับ คือ

1. นคร หรือ เทศบาลนคร หมายถึง เขตท่ีมีประชากรตั้งแต 50,000 คนข้ึนไป

และมีความหนาแนนของประชากรตอพ้ืนท่ี ไมต่ํากวา 3,000 คน ตอ หนึ่งตารางกิโลเมตร

2. เมือง หรือ เทศบาลเมือง หมายถึง เขตท่ีมีประชากรอยางนอย 10,000 คน

ข้ึนไป และมีความหนาแนนของประชากรตอพ้ืนท่ี ไมต่ํากวา 3,000 คน ตอ หนึ่งตารางกิโลเมตร

3. ตําบล หรือ เทศบาลตําบล หมายถึง เขตท่ีมีสภาพความเปนอยูแบบเมืองมีรายได

พอท่ีจะจัดบริการสาธารณูปโภคและสาธารณูปการในพ้ืนท่ีนั้นๆ อยางเพียงพอ และมีการประกาศ

อยางเปนทางการใหเปนเขตเทศบาล จากขอแตกตางระหวางชนบทและเมืองท้ังกายภาพและ

ทางสังคม นอกจากจะเปนเครื่องชวยในการพิจารณาตัดสินวาชุมชนใดเปนชุมชนเมืองแลว ก็ยังทําให

เรามักจะมองเห็นปญหาท่ีเกิดข้ึนกับชุมชนเมือง อันเนื่องมาจากความเจริญทางเทคโนโลยีใหมๆ ของ

มนุษยชาตินั่นเองได ทําใหมนุษยหางเหินไป บรรยากาศท่ีเปนธรรมชาติ และความเปนอยู

งายๆ อยางในชนบทยิ่งข้ึนทุกๆ ท่ี โดยเฉพาะ “เมือง” ไดกลายเปนแหลงรวมความสับสนวุนวาย

และมีความซับซอนของปญหาท้ังในระดับสวนบุคคล และสวนรวมอยางแยกกันแทบไมออก

ยิ่งอัตราการเติบโตและกลายเปนชุมชนเมือง นับวันจะเพ่ิมข้ึนอยางรวมเร็ว ความสับสนวุนวายและ

ปญหาตางๆ ก็จะเพ่ิมข้ึน และทวีความรุนแรงยิ่งข้ึนเรื่อยๆ ความเดือดรอนดังกลาว มิใชจะมีผล

โดยตรงตอชีวิตความเปนอยูของคนท่ีอาศัยอยู ในเมืองเทานั้น ยังสงผลกระทบถึงชนบทดวย

เพราะชุมชนมนุษยสองแบบนี้ จําเปนตองติดตอสัมพันธกันเก้ือกูลกันอยูเสมอ หนทางหนึ่งท่ีจะชวย

แกปญหาดังกลาว ก็คือ “การผังเมือง”

1.4 ความจําเปนของการผังเมือง

โดยความหมายของคําวา “ผังเมือง” ซ่ึงหมายถึงลักษณะโครงสรางทางดานกายภาพ

ของเมือง อันประกอบข้ึนจากสภาพภูมิศาสตร (Topography) และรูปแบบของการใชท่ีดิน (Land

Use Pattern) การจัดระบบสัญจร (Circulation System) ตลอดจนการกอสรางอาคาร ท่ีอยูอาศัย

Page 22: รวิชาชีพภาพท 3.11 แสดงเจด ย ทรงพ มข าวบ ณฑ 63 ภาพท 3.12 ภาพสะพานไม เม องอย ธยา

14

และสิ่งกอสรางอ่ืนๆ ท่ีจําเปนตอการดํารงชีวิตของคนในเมืองนั้น ยอมมีลักษณะเฉพาะตัวแตกตางกัน

ไปในแตละเมือง ถาเปรียบเทียบเมืองเหมือนกับรางกายมนุษยหรือสิ่งมีชีวิต เราจะพบวาเมือง

มีวิวัฒนาการและวงจรชีวิตเหมือนสิ่งมีชีวิต คือ มีกําเนิดมีพัฒนาการหรือการเติบโต และมี

ความเสื่อม โดยจะเห็นไดวาในประวัติศาสตรของเมืองตางๆ ในโลก และในประเทศไทยจะมีกําเนิด

คลายๆ กัน คือ เกิดจากการท่ีประชากรมาตั้งชุมชนเพ่ือการคาขาย ติดตอแลกเปลี่ยนสินคา

ท้ังภายในและระหวางชุมชน หรือตางประเทศ และเจริญเติบโตจนเปนศูนยกลางการคาขาย ธุรกิจ

การปกครอง หรือแมแตเปนศูนยกลางศิลปวัฒนธรรม ซ่ึงในชวงเวลาท่ีผานไป ประชากรเพ่ิมข้ึน

เมืองนั้นๆ ก็จะมีพัฒนาการเติบโตข้ึนโดยขยายตัวออกไปยังพ้ืนท่ีโดยรอบ มีความสําคัญและ

มีหนาท่ีเพ่ิมมากข้ึน ถาเมืองนั้นไมสามารถดํารงความสําคัญหรืออิทธิพลของตนเองไวไดก็เริ่มเสื่อมลง

ถาเปรียบประเทศเปนเสมือนรางกายมนุษยแลว เมืองก็เปรียบเหมือนเปนหัวใจของประเทศ ซ่ึงทําหนาท่ี

เปนผูหลอเลี้ยงประเทศดวยความเปนศูนยกลางของเศรษฐกิจสังคม การเผยแพรความเจริญสูสวน

ตางๆ ของประเทศ เปนแหลงโอกาสของงาน ซ่ึงมีการอพยพของประชากรมาหางานทํา เมืองบาง

แหงในประเทศจะเปนศูนยกลางของกิจกรรมทุกดาน เปรียบเสมือนทําหนาท่ีเปนหัวใจสูบฉีดโลหิต

ไปเลี้ยงรางกาย และทําหนาท่ีเปนสมองสั่งการไปพรอมกันดวย ลักษณะของเมืองท่ีทําหนาท่ีเปน

ศูนยรวมทุกดาน จนเปนศูนยกลางความเจริญเพียงแหงเดียวของประเทศ เรียกวา เมืองเอกนคร

(Primate City) คือ เมืองท่ีเปนศูนยกลางความเจริญเติบโตของประเทศซ่ึงมีความเจริญเติบโต

มากกวาเมือง ในลําดับรองลงมาอยางมาก (พิจารณาจากสัดสวนประชากร อัตราการเจริญเติบโต

เปนตน) และมักเปนเมืองท่ีทําหนาท่ีหลายๆ อยาง ท้ังเปนเมืองหลวง เมืองทา เมืองศูนยกลาง

เศรษฐกิจ ศูนยกลางการปกครองเมืองท่ีมีลักษณะเชนนี้ เชน กรุงเทพมหานคร มนิลา จารกาตาร

เมืองหลวงของประเทศในแถบลาตินอเมริกา เปนตน ซ่ึงเมืองเหลานี้ จะทําหนาท่ีท้ังเปนเมืองหลวง

เมืองทา เมืองศูนยกลางเศรษฐกิจวัฒนธรรมของประเทศ ผลกระทบของประเทศเหลานี้ คือ จะมี

การอพยพของประชากรสูง เพ่ือเขามาหางานทําและโอกาสทางเศรษฐกิจ ถารัฐบาลกลาง

และทองถ่ินไมเตรียมพรอมในดานตางๆ จะทําใหเกิดปญหาตางๆ ตามมา เชน ปญหาท่ีอยูอาศัย

ปญหาจราจร ปญหาขาดแคลนบริการสาธารณะตางๆ เชน น้ําประปา โรงเรียน สวนสาธารณะ

การสาธารณะสุข ปญหาความเสื่อมโทรมของคุณภาพสิ่งแวดลอม เชน อากาศเสีย น้ําเสีย ขยะ ปญหา

ความไมเหมาะสมของตัวผังเมืองกับความตองการใชสอย และการดํารงชีวิตของคนในเมือง และปญหา

ท่ีใหญมากปญหาหนึ่ง คือ ความพยายามท่ีจะหาจุดสมดุล ระหวางความจําเปนสวนตัวของแตละคน

ท่ีสวนรวมจะสามารถใหไดกับความจําเปนของสวนรวมท่ีแตละคนจะตองเสียสละรวมกันและทํา

อยางไรท่ีความตองการของคนเมืองกับธรรมชาติจะไปดวยกันไดอยางเหมาะสม โดยไมใหสิ่งหนึ่งสิ่งใด

ขาดหรือเสื่อมเสียไป (ดังภาพท่ี 1.3)

Page 23: รวิชาชีพภาพท 3.11 แสดงเจด ย ทรงพ มข าวบ ณฑ 63 ภาพท 3.12 ภาพสะพานไม เม องอย ธยา

15

ภาพท่ี 1.3 แสดงชุมชนแออัด

ท่ีมา : webboard.new.sanook.com/forum/?topic

ดังนั้นประเทศจึงจําเปนตองมีการวางแผนการจัดการเมือง หรือการพัฒนาเมืองใหเหมาะสม

รวมท้ังการมีผังเมืองท่ีดี เพ่ือใหมีการใชทรัพยากรท่ีเหมาะสม ประหยัด เปนธรรม และเปนการ

วางแผนเพ่ือเตรียมรับมือกับปญหาท่ีจะเกิดข้ึนลวงหนาอยางมีระบบ และยังคงเปนปญหาท่ีนาเปน

หวงอยางมากดวยเหตุผลหลายประการ คือ

1.4.1 อัตราความเปนเมืองท่ีเกิดข้ึนในโลกท่ีกําลังพัฒนา เกิดข้ึนอยางรวดเร็ว ซ่ึงไมเคย

มีมากอน คาดวาในป ค.ศ. 2000 ประมาณครึ่งหนึ่งของประชากรโลกจะอาศัยอยูในเขตเมือง

(ธนาคารโลก : รายงานการพัฒนาของโลก ค.ศ. 1993)

1.4.2 เมืองตางๆ กําลังมีการขยายตัวท่ีโตข้ึน อัตราการเพ่ิมข้ึนของประชากรท่ีสูงสุด

เกิดข้ึนในเมืองท่ีใหญท่ีสุดของประเทศท่ียากจนท่ีสุด

1.4.3 อัตราการเจริญเติบโตอยางรวดเร็วของเมือง มีผลกระทบตอการพัฒนาชนบทและ

การพัฒนาเมือง ในสวนท่ีเก่ียวกับการพัฒนาชนบทนั้น ความเปนเมืองเปดโอกาสใหประชาชนมีรายได

เพ่ิมข้ึน แตมีผลเสียทางสังคม คือการมีชนบท ตองสูญเสียประชากรในชนบทไปใหสังคมเมือง

1.4.4 การเจริญเติบโตอยางรวดเร็วของเมืองท่ีไมมีการวางแผน มักเกิดข้ึนพรอมกับการ

วาจางแรงงานดวยคาแรงถูกๆ ความยากจน การเก็งกําไรเก่ียวกับราคาท่ีดิน คาใชจายเก่ียวกับ

ท่ีพักอาศัยท่ีสูงข้ึน กอใหเกิดแหลงชุมชนแออัด หรือสลัม และการบุกรุกเขาไปสรางท่ีพักอาศัย

การขาดแคลน และขาดมาตรฐานในบริการสังคม บรกิารโครงสรางพ้ืนฐาน การขนสงสาธารณะ และ

มลภาวะท่ีเปนพิษตางๆ ในเมือง เปนตน

Page 24: รวิชาชีพภาพท 3.11 แสดงเจด ย ทรงพ มข าวบ ณฑ 63 ภาพท 3.12 ภาพสะพานไม เม องอย ธยา

16

1.4.5 ธนาคารโลกไดประมาณการไววา เม่ือถึง ค.ศ. 2000 รอยละ 57 ของครัวเรือนท่ี

ยากจนท่ีสุด 131 ลานครัวเรือนโลก จะอาศัยอยูในเขตเมือง จากการสํารวจขององคการอนามัยโลก

พบวา ประมาณครึ่งหนึ่งของเด็กในชุมชนแออัด และผูอาศัยอยูในเขตเมืองนอยกวาครึ่งจะมีโอกาสได

ดื่มน้ําประปาและการบริการสาธารณสุขท่ีปลอดภัย

จากปญหาดังกลาวขางตน คือ สาระสําคัญของการผังเมือง ถาเราจะลองพิจารณาใหจริงจัง

ก็จะพบวาคนทุกๆ คน ตางก็มีสวนทําใหเกิดปญหาแกเมืองข้ึนมากบางนอยบาง เพราะในการ

ดํารงชีวิตและประกอบกิจกรรมประจําวันนั้น ทุกคนตางก็ไดนําเอาสิ่งตางๆ ท่ีอยูในธรรมชาติ

นับตั้งแตอากาศท่ีเราหายใจเขาไป พ้ืนดินท่ีเราอาศัยปลูกบานสรางสิ่งกอสรางตางๆ ข้ึนมาใช

ประโยชน โดยผสมผสานเขากับเทคโนโลยีพัฒนาข้ึน เพ่ือสนองตอความตองการของมนุษย

ซ่ึงโดยท่ัวไปแลวทุกคนตางก็ตองการผลตอบแทนทางดานเศรษฐกิจ และความสะดวกสบายของ

ตนเองเปนสําคัญ จนมักจะมองขามผลเสียและปญหาท่ีจะเกิดข้ึนตอสวนรวมท้ังในทางตรงและ

ทางออม ไมวาจะเปนเรื่องสภาพแวดลอมหรือสภาพสังคมก็ตาม

ภาพท่ี 1.4 แสดงปญหาของเมือง

ท่ีมา : www.trendypda.com

จากภาพขางบนนี้ ถาเราสมมุติวาทุกคนมีสวนในการสรางปญหาใหแกเมืองเปนจํานวนเทาๆ กัน

เราก็จะสามารถคํานวณไดอยางงาย ๆ ดังนี้

X =

จํานวนประชากร

ของเมือง ก. ปัญหาทีแ่ต่ละคน

สร้างขึน้

ปัญหาของเมือง ก.

Page 25: รวิชาชีพภาพท 3.11 แสดงเจด ย ทรงพ มข าวบ ณฑ 63 ภาพท 3.12 ภาพสะพานไม เม องอย ธยา

17

ซ่ึงงานในการแกปญหาของเมืองใดๆ ก็ตาม เปนงานข้ันพ้ืนฐานของนักบริหารและนักผังเมือง

ความเปนอยู ความสะดวกสบายของประชาชนท่ัวไป ข้ึนอยูกับความคิดเห็นและการตัดสินใจของ

กลุมคนดังกลาวเปนหลัก แตท้ังนี้ไมไดหมายความวา กลุมคนดังกลาวจะสามารถแกปญหาไดผลท่ีสุด

ถาหากไมไดรับความรวมมือในการใหขอมูลท่ีแทจริง ในดานตางๆ จากทุกคน ตลอดจนลดปริมาณ

ของปญหาท่ีแตละคนมีสวนสรางลงเสียบาง เพ่ือใหเขาใจถึงความหมายของการวางผังเมืองใหกระชับ

และชัดเจน จึงขอยกตัวอยางคําจํากัดความท่ีผูเรียบเรียงไวเฉพาะท่ีเดนๆ ดังนี ้

การผังเมือง เปนแผนงานชนิดหนึ่ง ซ่ึงใชในการพัฒนาเมือง จัดสรางสิ่งแวดลอมท่ีเก่ียวของกับ

การดํารงชีวิตประจําวันของประชาชน ใหมีความเก่ียวเนื่องสัมพันธกันอยางมีระบบและเปนระเบียบ

บนพ้ืนท่ีของชุมชนนั้น นอกจากนี้งานวางผังเมืองยังมีลักษณะเตรียมการและคาดคะเน เก่ียวกับชีวิต

ของชุมชนและกิจกรรมในเมืองนั้นท้ังหมดตามหลกัวิชาการ

การผังเมือง คือ การจัดชุมชนหรือจัดเมือง ใหมีความเปนระเบียบเรียบรอย สวยงาม

ถูกสุขลักษณะ ความเปนอยู มีการใชท่ีดินเพ่ือตั้งบานเรือนอยูอาศัย ท่ีดินเพ่ือประกอบการอุตสาหกรรม

หรือการคาขาย เปนตน ใหอยูในยานท่ีเหมาะสมไมปะปนกันจนกอใหเกิดผลเสียซ่ึงกันและกัน

นอกจากนั้นก็ยังจัดใหมีระบบการคมนาคมขนสง ระบบสาธารณูปโภค และสาธารณูปการท่ีเพียงพอ

และตั้งอยูในท่ีเหมาะสมกับความตองการของคนในชุมชนนั้นๆ ท้ังนี้ เพราะจุดประสงคท่ีจะขจัด

หรือลดปญหาตางๆ ซ่ึงจะเกิดข้ึนในเมือง ใหหมดไป อันจะเปนการนําไปสูความผาสุกของคนใน ชุมชน

นั้นๆ

1.5 ขอบเขตของงานผังเมือง

จากความหมายของการวางผังเมืองท่ีไดยกตัวอยางมาแลว อาจพูดไดวาการผังเมือง

คือ การพัฒนาเมือง เพ่ือใหเกิดความสุขความพอใจแกประชาชนผูอยูอาศัยรวมกันในเมืองนั้นๆ

โดยเนนการควบคุมและพัฒนาทางดานกายภาพ ใหมีความสัมพันธอยางมีระบบกับการพัฒนา

ในดานอ่ืนๆ เปนหลัก เพ่ือใหมองเห็นขอบเขตของการทํางานและความสัมพันธกับการพัฒนา

ดานอ่ืนๆ ชัดเจนข้ึน ซ่ึงจะตองพิจารณาในเรื่องดังตอไปนี้

1.5.1 ความสัมพันธของการผังเมืองกับการพัฒนาประเทศ

การวางแผนพัฒนาพอจะแบงออกไดตามขนาดของพ้ืนท่ี ท่ีทําการวางแผนไดเปน

4 ระดับ ซ่ึงแตละระดับตางก็มีความเก่ียวของกัน ดังนี้

1) การวางแผนพัฒนาประเทศ โดยท่ัวไปการวางแผนพัฒนาจะเริ่มจากระดับประเทศ

เพราะประเทศมีพ้ืนท่ีอันกวางใหญ ประกอบดวยภาคหลายภาค และเมืองจํานวนมาก การวางแผน

ระดับนี้จะทําอยางกวางๆ โดยมีพ้ืนฐานอยูบนความเขาใจถึงสภาพท่ีเปนอยูปจจุบัน ท้ังทางดาน

Page 26: รวิชาชีพภาพท 3.11 แสดงเจด ย ทรงพ มข าวบ ณฑ 63 ภาพท 3.12 ภาพสะพานไม เม องอย ธยา

18

ประชากร ทรัพยากร สภาพเศรษฐกิจ สภาพภูมิศาสตร และความสัมพันธระหวางสวน ตางๆ ของ

ประเทศ จนสามารถระบุปญหาสาเหตุท่ีทําใหเกิดปญหา และแนวทางท่ีควรจะพัฒนาประเทศ

2) การวางแผนพัฒนาภาค คือ การวางแผนท่ีมีขอบเขตพ้ืนท่ีท่ีจะทําการวางแผน

ซ่ึงเล็กกวาของประเทศ แตเปนพ้ืนท่ีเก่ียวของกับเมืองมากกวา 1 เมือง เนื่องจากพ้ืนท่ีเล็กลง

การศึกษาและวางแผนจึงลงลึก และละเอียดกวาการวางแผนระดับประเทศ หรือเปนการวางแผน

หรือศึกษาเฉพาะเรื่อง เชน การวางแผนพัฒนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ การวางแผนพัฒนาเมืองใน

ลุมแมน้ําเจาพระยาตอนบน เปนตน

3) การวางแผนพัฒนาเมือง มีขอบเขตของพ้ืนท่ี ท่ีจะทําการศึกษา และวางแผนอยู

เพียงแตภายในเขตของเมือง เมืองหนึ่งนั้น การวางแผนจะทําละเอียดกวาสองระดับท่ีกลาวมาแลว

เพราะมีพ้ืนท่ีเล็กกวา เชน การวางผังเมืองกรุงเทพฯ หรือการวางแผนพัฒนาเมืองขอนแกน ใหเปน

เมืองหลักของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

4) การวางแผนพัฒนาสวนใดสวนหนึ่งของเมือง ก็คือ การทําการศึกษาและ

วางแผนพัฒนาท่ีละเอียดยิ่งข้ึนไปอีก เพราะพ้ืนท่ีเล็กลง เชน การวางแผนปรับปรุงบริเวณเกาะ

รัตนโกสินทร หรือการวางแผนปรับปรุงฟนฟูบริเวณแหลงเสื่อมโทรมทาเรือคลองเตย เปนตน

การวางแผนพัฒนา การวางแผนพัฒนา

เมืองขอนแกน ภาค

ตะวันออกเฉียงเหนือ

การวางแผนพัฒนา การวางแผนพัฒนา

บริเวณบึงทุงสราง ประเทศไทย

ภาพท่ี 1.5 แสดงความสัมพันธของการวางผังเมืองกับการพัฒนาประเทศ

ท่ีมา : กรมการผังเมือง กระทรวงมหาดไทย

จากแผนผังนี้แสดงระดับของการวางแผนท้ัง 4 ระดับ ท่ีแบงกันได ตามขนาดของพ้ืนท่ี

ซ่ึงระดับของการวางแผน 4 ระดับนี้ จะมีความเก่ียวของสอดคลองกันเปนทอดๆ กลาวคือ การวาง

แผนพัฒนาสวนใดสวนหนึ่งของเมืองใด จะตองเขาใจแนวทาง และขอกําหนดของการวางแผนพัฒนา

เมืองนั้น ซ่ึงแนวทางและขอกําหนดดังกลาวก็ตองมีการวางแผนแนวทางตามแผนการและนโยบายใน

Page 27: รวิชาชีพภาพท 3.11 แสดงเจด ย ทรงพ มข าวบ ณฑ 63 ภาพท 3.12 ภาพสะพานไม เม องอย ธยา

19

การพัฒนาภาคท่ีเมืองนั้นตั้งอยู ซ่ึงแผนการพัฒนาภาคก็ยอมตองสอดคลองและดําเนินตามนโยบาย

ของแผนการพัฒนาประเทศดวย

ภาพท่ี 1.6 แสดงความสัมพันธของการวางแผนพัฒนา

ท่ีมา : วรรณรินทร พัฒนะอเนก.2543.

1.5.2 การวางแผนพัฒนา ไมวาจะเปนระดับใดก็ตามจะประกอบดวย งานหลัก 3 ดาน คือ

1) การวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจ คือ การวางแนวทางท่ีจะเพ่ิมผลผลิต ของชุมชน

(ประเทศ) เพ่ิมรายไดของชุมชน (ประเทศ) และประชากรจะบอกถึงการสงเสริมการลงทุนในกิจกรรม

อะไร อยางไร และแคไหน

2) การวางแผนพัฒนาสังคม เพ่ือพัฒนาคุณภาพของประชากรและความเปนอยู

ของประชาชน ซ่ึงไดแก การจัดใหมีบริการสาธารณะ เชน การศึกษา การรักษาพยาบาล ฯลฯ บริการ

แกประชาชน

3) การวางแผนพัฒนาดานกายภาพ คือ การเลือกท่ีตั้งสําหรับกิจกรรมตางๆ

ท่ีไดระบุไวในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม รวมท้ังกิจกรรมอ่ืนๆ ท่ีควรจะมีเพ่ือสนับสนุน หรือ

สงเสริมกิจกรรมเหลานี้ การเตรียมท่ีดินสําหรับการใชเปนท่ีตั้งของกิจกรรมตางๆ และสิ่งสาธารณูปโภค

สาธารณูปการ

จากแผนพัฒนาท้ัง 3 ดานนี้ โดยท่ัวไปจะทําควบคูกันไป และมักจะปรากฏอยูในรายงานเลม

เดียวกันบอยครั้ง ไมสามารถแยกออกเปนดานใดดานหนึ่งไดชัดเจน ในท่ีนี้เราจะแยกมาทําความเขาใจ

เก่ียวกับการวางแผนพัฒนาดานกายภาพ ซ่ึงเก่ียวของตรงกับการวางผังเมือง การวางแผนพัฒนาดาน

กายภาพ จะตองประสานกับการวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในทุกระดับของการวางแผน

สําหรับการวางแผนพัฒนาดานกายภาพระดับประเทศและภาค จะเปนการเลือกภาคและเมืองท่ีควร

จะสงเสริมใหเปนท่ีตั้งของกิจกรรมประเภทตางๆ ท่ีสอดคลองกับแนวทางท่ีตองการพัฒนาใหประเทศ

การวางแผน พฒันาสังคม

การวางแผน พฒันา

เศรษฐกิจ

การวางแผน กายภาพ

Page 28: รวิชาชีพภาพท 3.11 แสดงเจด ย ทรงพ มข าวบ ณฑ 63 ภาพท 3.12 ภาพสะพานไม เม องอย ธยา

20

กาวข้ึนสูความเจริญทางดานเศรษฐกิจ และสังคมท่ีตั้งจุดมุงหมายเอาไว ท้ังนี้การวางผังพัฒนาดาน

กายภาพท้ัง 2 ระดับนี้ จะตองพิจารณาจากความสัมพันธระหวางเมืองหรือภาคตางๆ เพ่ือใหการพัฒนา

เปนไปอยางสมดุล และมีประสิทธิภาพ ซ่ึงสามารถแบงไดดังนี ้

(1) การวางแผนพัฒนาดานกายภาพในระดับเมือง หรือท่ีเรียกกันวา “การวางผังเมือง”

ก็คือการเตรียมพ้ืนท่ีสําหรับการใชสอยชนิดตางๆ ท่ีควรจัดใหมี ท้ังนี้โดยพิจารณาจากหนาท่ี และ

ขอบเขตของเมืองนั้นๆ (ขอบเขตความสามารถ หรือจํากัดในการใหบริการ ขอบเขตจํานวนประชากร

ท่ีมีในเมือง) ท่ีถูกกําหนดจากแผนพัฒนาระดับท่ีสูงกวา เพ่ือสนับสนุนใหเมืองนั้นๆ สามารถทําหนาท่ี

ท่ีถูกกําหนดใหอยางมีประสิทธิภาพ และใหประชาชนในเมืองนั้นๆ มีความเปนอยูท่ีดีข้ึน

(2) การวางแผนพัฒนาดานกายภาพสวนใดสวนหนึ่งของเมือง ก็คือ การวางผังบริเวณของ

การใชท่ีดินชนิดตางๆ ของพ้ืนท่ีบางสวนของเมือง ในรายละเอียดเก่ียวกับการออกแบบและ

การกอสรางตลอดจนการใชสอยท่ีดินสวนนั้นๆ ไดแก ท่ีต้ัง ขนาดชวงกวางยาว ความสูงของอาคาร

ทางสัญจรและสิ่งสาธารณูปโภค สาธารณูปการชนิดตางๆ ท้ังนี้ เพ่ือนําไปเปนแนวทางสําหรับ

การออกแบบ และจัดใหมีสิ่งตางๆ ภายในบริเวณนั้นๆ โดยระมัดระวังใหเกิดผลเสียตอสวนรวมนอย

ท่ีสุด

Page 29: รวิชาชีพภาพท 3.11 แสดงเจด ย ทรงพ มข าวบ ณฑ 63 ภาพท 3.12 ภาพสะพานไม เม องอย ธยา

21

แบบทดสอบกอนและหลงัเรียน

หนวยที่ 1. ความหมายของการผังเมือง

ตอนท่ี 1. จงเติมขอความลงในชองวางใหสมบูรณ

1. คําวา “เมือง” ในประวัติศาสตรกรีกและโรมัน หมายถึงอะไร

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

2. ความสนใจในเรื่อง การวางผังเมือง ไดปรากฏใหเห็นเดนชัด ในราวตนศตวรรษใด

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

3. การตั้งถ่ินฐานของมนุษย มีอยูก่ีแบบ อะไรบาง

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

4. “เมือง” มีวิวัฒนาการและวงจรชีวิต เหมือนสิ่งมีชีวิตอยางไร

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

5. การวางแผนพัฒนา แบงออกไดตามขนาดของพ้ืนท่ีไดเปนก่ีระดับ มีความเก่ียวของกันอยางไร

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

Page 30: รวิชาชีพภาพท 3.11 แสดงเจด ย ทรงพ มข าวบ ณฑ 63 ภาพท 3.12 ภาพสะพานไม เม องอย ธยา

22

ตอนท่ี 2 จงเลือกขอท่ีถูกตองเพียงขอเดียว

1. ขอใดไมใชทัศนะคติท่ีเก่ียวของกับความหมายของ “เมือง”

ก. ทัศนะคติของนักบริหาร

ข. ทัศนะคติของนักปรัชญา

ค. ทัศนะคติของนักภมิูศาสตร-ประวัติศาสตร

ง. ทัศนะคติของนักการเมือง

2. ขอใดไมใชการกลาวเปรียบเทียบระหวางเมืองและชนบท

ก. จํานวนประชากร ข. อนาคต

ค. ประวัติศาสตร ง. พระราชบัญญัติการปกครอง

3. การประชุมครั้งใหญเก่ียวกับการจัดท่ีอยูอาศัยและการวางผังเมือง เม่ือเดือนตุลาคม ค.ศ.1946

จัดข้ึนท่ีประเทศอะไร

ก. อังกฤษ ข. ฝรั่งเศส

ค. เยอรมัน ง. อิตาลี

4. การยกฐานะของชุมชนและเห็นความสําคัญของชุมชนท่ีมีลักษณะพิเศษ ท่ีแตกตางออกไปจาก

สภาพชนบทท่ัวไป โดยแบงความหมายของเมือง ออกเปน 3 ระดับ คืออะไรบาง

ก. จังหวัด , อําเภอ , ตําบล

ข. ประเทศ , จังหวัด , อําเภอ

ค. เทศบาลนคร , เทศบาลเมือง , เทศบาลตําบล

ง. จังหวัด , อําเภอ , หมูบาน

5. ผังเมือง หมายถึง ลักษณะโครงสรางทางดานกายภาพของเมือง อันประกอบข้ึนจากอะไร

ก. สภาพภูมิศาสตร

ข. สภาพดาราศาสตร

ค. สภาพอุทกศาสตร

ง. สภาพพ้ืนผิวโลก

Page 31: รวิชาชีพภาพท 3.11 แสดงเจด ย ทรงพ มข าวบ ณฑ 63 ภาพท 3.12 ภาพสะพานไม เม องอย ธยา

23

เฉลยแบบทดสอบกอนและหลังเรียน

หนวยที่ 1. ความหมายของการผังเมือง

ตอนท่ี 1. จงเติมขอความลงในชองวางใหสมบูรณ

1. คําวา “เมือง” ในประวัติศาสตรกรีกและโรมัน หมายถึง บริเวณท่ีอยูในเขตกําแพงเมืองเทานั้น

ในประเทศอังกฤษเคยหมายถึง บริเวณทองท่ีตําบลหนึ่งซ่ึงเปนอาณาเขตการปกครองขององคบิชอบ

หรือขององคกษัตริยในอเมริกา หมายถึง บริเวณท่ีอยูในทองท่ีปกครองและดําเนินการของเทศบาล

ตามกฎหมาย ในออสเตรเลียและแคนาดา หมายถึงขอบเขตอํานาจขององคประกอบทองถ่ิน

(เทศบาล) สําหรับไทยเรานั้น รูสึกวาใชกันอยางกวางขวางมาก เชนคําวา เมืองไทย หมายถึงบริเวณท้ัง

ประเทศเลยทีเดียว

2. ความสนใจในเรื่อง การวางผังเมือง ไดปรากฏใหเห็นเดนชัด ในราวตนศตวรรษท่ี 19 หลังการ

ปฏิวัติอุตสาหกรรม โดยเฉพาะยุโรปและอเมริกามีการตื่นตัวในเรื่องการผังเมืองอยางแพรหลาย มีการ

จัดการประชุมเก่ียวกับการวางผังเมืองข้ึนครั้งแรกในอเมริกา เม่ือ ค.ศ. 1909

3. การตั้งถ่ินฐานของมนุษย มีอยู 2 แบบ คือ ชนบท (Rural) และเมือง (Urban)

4. “เมือง” มีวิวัฒนาการและวงจรชีวิตเหมือนสิ่งมีชีวิต คือ มีกําเนิด มีพัฒนาการ หรือการเติบโต

และมีความเสื่อม

5. การวางแผนพัฒนา แบงออกไดตามขนาดของพ้ืนท่ี ไดเปน 4 ระดับ มีความเก่ียวของกัน คือ

1. การวางแผนพัฒนาประเทศ

2. การวางแผนพัฒนาภาค

3. การวางแผนพัฒนาเมือง

4. การวางแผนพัฒนาสวนใดสวนหนึ่งของเมือง

ตอนท่ี 2 จงเลือกขอท่ีถูกตองเพียงขอเดียว

1. ง.

2. ข.

3. ก.

4. ค.

5. ก.