4
635 การประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจำาปี 2554 “การพัฒนาอนาคตชนบทไทย : ฐานรากที่มั่นคงเพื่อการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน” 27-29 มกราคม 2554 การศึกษาศักยภาพเพื่อพัฒนาการท่องเที่ยววัฒนธรรมกลุ่มชาติพันธุ์ไทแสก บ้านบะหว้า ตำาบลท่าเรือ อำาเภอนาหว้า จังหวัดนครพนม A Study on Potential for Tai-Sak Ethnic Tourism development at Ban Bha-wa, Tha-Ruea District, Amphur Na-wa, Nakhonphanom Province. นพดล ตั้งสกุล 1 1 ศูนย์วิจัยท่องเที่ยวภูมิภาคลุ่มนำำาโขง มหาวิทยาลัยขอนแก่น ชั้น 3 อาคารศูนย์วิชาการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น อำาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น 40002 โทรศัพท์ 043 202427 E-mail: [email protected] บทคัดย่อ การศึกษาศักยภาพทางการท่องเที่ยววัฒนธรรมกลุ่ม ชาติพันธุ์ไทแสกบ้านบะหว้า มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารวบรวม บริบทวัฒนธรรมที่มีศักยภาพทางการท่องเที่ยวและหาแนวทางการ พัฒนาการท่องเที่ยวชุมชนไทแสก ด้วยการศึกษาข้อมูลทุติยภูมิและ รวบรวมข้อมูลปฐมภูมิในพื้นที่ โดยการสัมภาษณ์แบบลึกและการ ประชุมกลุ่มร่วมกันวิเคราะห์ข้อมูลและรับฟังความคิดเห็น แนวทาง พัฒนาการท่องเที่ยวกับผู้เกี่ยวข้องในชุมชน ผลการศึกษาพบว่า กลุ่ม ชาติพันธุ์ไทแสก บ้านบะหว้า ตำาบลท่าเรือ อำาเภอนาหว้า จังหวัด นครพนม มีความเข้มแข็งทางด้านการรวมกลุ่ม ที่ยังคงใช้ “ภาษา แสก” ในการสื่อสารกันระหว่างคนในหมู่บ้าน ด้านความเชื่อในพุทธ ศาสนา ชาวบ้านยังคงมีความเชื่อในพุทธศาสนาอย่างเหนียวแน่น และ ชาวบ้านยังคงมีความเชื่อในสิ่งเหนือธรรมชาติอยู่บ้าง ชุมชนไทแสก บ้านบะหว้า มีผู้นำาชุมชนที่เข้มแข็ง มีปราชญ์ชาวบ้านหลากหลายแขนง ทีมีความรอบรู้ เช่น ทอผ้าไหม การรักษาโรคด้วยหมอพื้นบ้าน งานช่าง ฝีมือประดิษฐ์เครื่องดนตรีอีสาน งานจักสาน และการทำาขนมประจำา ท้องถิ่น มีวิถีชีวิตที่เรียบง่าย และยังคงยึดมั่นในขนบประเพณี ตาม วิถีไทแสกและชาวพุทธอย่างเคร่งครัด มีแหล่งท่องเที่ยวใกล้เคียง หลายแห่งและชาวบ้านมีความต้องการจัดการท่องเที่ยวแบบโฮม สเตย์ จึงมีข้อเสนอแนวทางทางการพัฒนาในการให้ความรู้ความ เข้าใจเกี่ยวกับการจัดการท่องเที่ยวชุมชนแบบโฮมสเตย์ การพัฒนา บุคลากรรองรับการท่องเที่ยว เช่น การต้อนรับ การนำาเที่ยว อาหาร การแสดง การจัดกิจกรรมการท่องเที่ยวทั้งเส้นทาง รูปแบบ กิจกรรม ทางวัฒนธรรม และการจัดการประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยว โดยการ จัดการอย่างมีส่วนร่วมกับผู้เกี่ยวข้องทุกๆกลุ่ม เพื่อให้สามารถจัดการ ท่องเที่ยวได้อย่างยั่งยืน คำาสำาคัญ : ศักยภาพ, การท่องเที่ยววัฒนธรรม Abstract A Study on Potential for Tai-Sak Ethnic Tourism at Ban Bha-wa is to collecting community data and to seek ways to increase the potential of this community by studies from preliminary and secondary data through depth interviews and a participatory process for the high potential of cultural tourism. It found that Tai Sak Ban Bha-wa, Tha-Ruea District, Amphur Na-wa, Nakhonphanom Province have had high ability cul- tural tourism of Tai sak because of the strength of the group and regular language, tribe, language scanner is still used for communication between people in the village. Belief and supernatural the villagers still have these beliefs in a way, but not be as influential in their lives. In addition, the potential of Ban Bha-wa is strong community leaders with local scholars with diverse areas of knowledge such as handicrafts and silk weaving, treatment by local doctors, jobs northeast craftsman made instruments, basketry, and making local sweets with the Community. Ban Bha-wa is a simple way of life and still adhere to the convention Scan Times under way and Buddhists strictly and has many places to visit, villagers would like to management their tourism like homestay, so this study also suggests ways to development cultural tourism such as reception, guide, or activities and advertise their tourism through participation process that for sustainable tourism. Keywords : Potential, Ethnic Tourism 1. บทนำา ไทแสก เป็นกลุ่มชาติพันธุ์อีสานเผ่าหนึ่งในจำานวนหลายๆ เผ่าที่มีอยู่ในประเทศไทย จัดอยู่ในกลุ่มตระกูลภาษาไต-กะได เดิม ชาวแสก บ้านบะหว้า มีภูมิลำาเนาอยู่ที่เมืองรองขึ้นกับกรุงเว้อยู่ทาง ตอนกลางของประเทศเวียดนามและจีน ชนเผ่าแสกเป็นชนเผ่าทีมีความอุตสาหะบากบั่น ยึดมั่นในความสามัคคี เมื่อท้องถิ่นเดิมไมเหมาะสมจึงได้รวบรวมสมัครพรรคพวกอพยพหาที่อยู่ใหม่ ลงมา ตามลำานำาโขง แล้วมาตั้งถิ่นฐานชั่วคราวอยู่ระหว่างประเทศเวียดนาม กับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ต่อมาเมื่อชาวแสกเห็น ว่าบริเวณป่าหายโศก เป็นพื้นที่ที่มีความอุดมสมบูรณ์ด้วยทรัพยากร ต่างๆ จึงได้อพยพกันมาประกอบอาชีพอยู่แห่งนี้เรื่อยมาจนถึงสมัย พระสุนทรเป็นเจ้าเมืองได้เห็นว่า ชาวแสกมีความสามารถและความ เข้มแข็งสามารถปกครองตนเองได้ จึงได้ยกฐานะของชาวแสกขึ้นเป็น เมืองโดยได้เปลี่ยนชื่อใหม่จากป่าหายโศก เป็นเมืองอาจสามารถ หรือบ้านอาจสามารถ จนทุกวันนี้ เมื่อได้ยกฐานะขึ้นเป็นเมืองแล้ว มีชาวแสกเข้ามาเพิ่มขึ้นเรื่อยๆจึงพากันโยกย้ายที่อยู่ไปทำามาหากิน ในถิ่นต่างๆ เช่น บ้านไผ่ล้อม(ตำาบลอาจสามารถ) บ้านดงสมอ บ้านบะหว้า (อำาเภอนาหว้า) ในพื้นที่อำาเภอศรีสงครามจังหวัด นครพนม และที่บ้านโพธิ์ค้า (ประเทศลาว) ชาวแสกเหล่านี้ ล้วน

บ้านบะหว้า ตำาบลท่าเรือ อำาเภอนาหว้า จังหวัดนครพนม A Study ... · เชิงเอกสาร(Document)

  • Upload
    others

  • View
    8

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: บ้านบะหว้า ตำาบลท่าเรือ อำาเภอนาหว้า จังหวัดนครพนม A Study ... · เชิงเอกสาร(Document)

635

การประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจำาปี 2554“การพัฒนาอนาคตชนบทไทย : ฐานรากที่มั่นคงเพื่อการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน” 27-29 มกราคม 2554

การศึกษาศักยภาพเพื่อพัฒนาการท่องเที่ยววัฒนธรรมกลุ่มชาติพันธุ์ไทแสก

บ้านบะหว้า ตำาบลท่าเรือ อำาเภอนาหว้า จังหวัดนครพนม

A Study on Potential for Tai-Sak Ethnic Tourism development at

Ban Bha-wa, Tha-Ruea District, Amphur Na-wa, Nakhonphanom Province.

นพดล ตั้งสกุล1

1ศูนย์วิจัยท่องเที่ยวภูมิภาคลุ่มนำำำำำำำำ้ำาโขง มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ชั้น 3 อาคารศูนย์วิชาการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น อำาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น 40002 โทรศัพท์ 043 202427 E-mail: [email protected]

บทคัดย่อ การศึกษาศักยภาพทางการท่องเที่ยววัฒนธรรมกลุ่ม

ชาติพันธุ์ไทแสกบ้านบะหว้า มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารวบรวม

บริบทวัฒนธรรมที่มีศักยภาพทางการท่องเที่ยวและหาแนวทางการ

พัฒนาการท่องเที่ยวชุมชนไทแสก ด้วยการศึกษาข้อมูลทุติยภูมิและ

รวบรวมข้อมูลปฐมภูมิในพื้นที่ โดยการสัมภาษณ์แบบลึกและการ

ประชุมกลุ่มร่วมกันวิเคราะห์ข้อมูลและรับฟังความคิดเห็น แนวทาง

พฒันาการทอ่งเทีย่วกบัผูเ้กีย่วขอ้งในชมุชน ผลการศกึษาพบวา่ กลุม่

ชาติพันธุ์ไทแสก บ้านบะหว้า ตำาบลท่าเรือ อำาเภอนาหว้า จังหวัด

นครพนม มีความเข้มแข็งทางด้านการรวมกลุ่ม ที่ยังคงใช้ “ภาษา

แสก” ในการสื่อสารกันระหว่างคนในหมู่บ้าน ด้านความเชื่อในพุทธ

ศาสนา ชาวบา้นยงัคงมคีวามเชือ่ในพทุธศาสนาอยา่งเหนยีวแนน่ และ

ชาวบ้านยังคงมีความเชื่อในสิ่งเหนือธรรมชาติอยู่บ้าง ชุมชนไทแสก

บา้นบะหวา้ มผีูน้ำาชมุชนทีเ่ขม้แขง็ มปีราชญช์าวบา้นหลากหลายแขนง

ทีม่คีวามรอบรู ้เชน่ ทอผา้ไหม การรกัษาโรคดว้ยหมอพืน้บา้น งานชา่ง

ฝีมือประดิษฐ์เครื่องดนตรีอีสาน งานจักสาน และการทำาขนมประจำา

ท้องถิ่น มีวิถีชีวิตที่เรียบง่าย และยังคงยึดมั่นในขนบประเพณี ตาม

วิถีไทแสกและชาวพุทธอย่างเคร่งครัด มีแหล่งท่องเที่ยวใกล้เคียง

หลายแห่งและชาวบ้านมีความต้องการจัดการท่องเที่ยวแบบโฮม

สเตย์ จึงมีข้อเสนอแนวทางทางการพัฒนาในการให้ความรู้ความ

เข้าใจเกี่ยวกับการจัดการท่องเที่ยวชุมชนแบบโฮมสเตย์ การพัฒนา

บุคลากรรองรับการท่องเที่ยว เช่น การต้อนรับ การนำำาเที่ยว อาหาร

การแสดง การจัดกิจกรรมการท่องเที่ยวทั้งเส้นทาง รูปแบบ กิจกรรม

ทางวัฒนธรรม และการจัดการประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยว โดยการ

จดัการอยา่งมสีว่นรว่มกบัผูเ้กีย่วขอ้งทกุๆกลุม่ เพือ่ใหส้ามารถจดัการ

ท่องเที่ยวได้อย่างยั่งยืน

คำาสำาคัญ : ศักยภาพ, การท่องเที่ยววัฒนธรรม

Abstract A Study on Potential for Tai-Sak Ethnic Tourism at

Ban Bha-wa is to collecting community data and to seek ways to

increase the potential of this community by studies from

preliminary and secondary data through depth interviews and

a participatory process for the high potential of cultural tourism.

It found that Tai Sak Ban Bha-wa, Tha-Ruea District, Amphur

Na-wa, Nakhonphanom Province have had high ability cul-

tural tourism of Tai sak because of the strength of the group

and regular language, tribe, language scanner is still used

for communication between people in the village. Belief and

supernatural the villagers still have these beliefs in a way, but

not be as influential in their lives. In addition, the potential of

Ban Bha-wa is strong community leaders with local scholars

with diverse areas of knowledge such as handicrafts and silk

weaving, treatment by local doctors, jobs northeast craftsman

made instruments, basketry, and making local sweets with the

Community. Ban Bha-wa is a simple way of life and still adhere

to the convention Scan Times under way and Buddhists strictly

and has many places to visit, villagers would like to management

their tourism like homestay, so this study also suggests ways

to development cultural tourism such as reception, guide, or

activities and advertise their tourism through participation process

that for sustainable tourism.

Keywords : Potential, Ethnic Tourism

1. บทนำา ไทแสก เปน็กลุม่ชาตพินัธุอ์สีานเผา่หนึง่ในจำานวนหลายๆ

เผ่าที่มีอยู่ในประเทศไทย จัดอยู่ในกลุ่มตระกูลภาษาไต-กะได เดิม

ชาวแสก บ้านบะหว้า มีภูมิลำำาเนาอยู่ที่เมืองรองขึ้นกับกรุงเว้อยู่ทาง

ตอนกลางของประเทศเวียดนามและจีน ชนเผ่าแสกเป็นชนเผ่าที่

มีความอุตสาหะบากบั่น ยึดมั่นในความสามัคคี เมื่อท้องถิ่นเดิมไม่

เหมาะสมจึงได้รวบรวมสมัครพรรคพวกอพยพหาที่อยู่ใหม่ ลงมา

ตามลำานำาโขง แลว้มาตัง้ถิน่ฐานชัว่คราวอยูร่ะหวา่งประเทศเวยีดนาม

กับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ต่อมาเมื่อชาวแสกเห็น

ว่าบริเวณป่าหายโศก เป็นพื้นที่ที่มีความอุดมสมบูรณ์ด้วยทรัพยากร

ต่างๆ จึงได้อพยพกันมาประกอบอาชีพอยู่แห่งนี้เรื่อยมาจนถึงสมัย

พระสุนทรเป็นเจ้าเมืองได้เห็นว่า ชาวแสกมีความสามารถและความ

เขม้แขง็สามารถปกครองตนเองได ้จงึไดย้กฐานะของชาวแสกขึน้เปน็

เมืองโดยได้เปลี่ยนชื่อใหม่จากป่าหายโศก เป็นเมืองอาจสามารถ

หรือบ้านอาจสามารถ จนทุกวันนี้ เมื่อได้ยกฐานะขึ้นเป็นเมืองแล้ว

มีชาวแสกเข้ามาเพิ่มขึ้นเรื่อยๆจึงพากันโยกย้ายที่อยู่ไปทำามาหากิน

ในถิ่นต่างๆ เช่น บ้านไผ่ล้อม(ตำาบลอาจสามารถ) บ้านดงสมอ

บ้านบะหว้า (อำาเภอนาหว้า) ในพื้นที่อำำาเภอศรีสงครามจังหวัด

นครพนม และที่บ้านโพธิ์ค้า (ประเทศลาว) ชาวแสกเหล่านี้ ล้วน

Page 2: บ้านบะหว้า ตำาบลท่าเรือ อำาเภอนาหว้า จังหวัดนครพนม A Study ... · เชิงเอกสาร(Document)

636

การประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจำาปี 2554“การพัฒนาอนาคตชนบทไทย : ฐานรากที่มั่นคงเพื่อการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน” 27-29 มกราคม 2554

เป็นเชื้อสายและเป็นญาติพี่น้องกับชาวแสกที่บ้านอาจสามารถ จาก

คำาบอกกล่าวของชาวแสกทราบว่า ปัจจุบันยังมีเผ่าแสกที่อยู่แคว้น

สบิสองปนันาทีป่ระเทศจนี และทีส่มทุรปราการ ประเทศไทยอกีดว้ย[1]

ชุมชนไทแสก บ้านบะหว้า ตำาบลท่าเรือ อำาเภอนาหว้า

จังหวัดนครพนม เป็นชุมชนไทแสกอีกแห่งหนึ่งที่มีความเข้มแข็ง

ในเชิงวัฒนธรรม การรักษาเอกลักษณ์ของชาติพันธุ์ไม่ว่าจะเป็น

ภาษาแสก ขนบธรรมเนียม ประเพณี วิถีชีวิต ชาวแสกที่บ้านบะหว้า

ยงัคงยดึมัน่มาจนถงึปจัจบุนั ความเขม้แขง็ในเชงิวฒันธรรมทีป่รากฏ

ใหเ้หน็เปน็รปูธรรม คอื ไดร้บัการจดัตัง้เปน็หมูบ่า้นอนรุกัษว์ฒันธรรม

เผา่ไทแสก อกีทัง้ตำาบลทา่เรอื อำาเภอนาหวา้ จงัหวดันครพนม ยงัมจีดุ

เดน่อืน่ๆ ไดแ้ก ่เปน็แหลง่ผลติแคน พณิ โหวด และผลติผา้ไหม ทีม่ชีือ่

เสยีงของจงัหวดันครพนม ไดร้บัรางวลัเปน็หมูบ่า้น OTOP VILLAGE

CHAMPION ระดับภาคประจำำาปี 2549[2] จากรางวัลดังกล่าวทำาให้

บ้านบะหว้าเป็นที่รู้จักแก่นักท่องเที่ยวทั่วไป เป็นผลให้เกิดการ

เดินทางมาเพื่อเรียนรู้วิถีชีวิต วัฒนธรรมประเพณีและงานหัตถกรรม

พื้นบ้าน จากเหตุผลดังกล่าว ผู้ศึกษาจึงสนใจว่าชุมชนไทแสก

บ้านบะหว้ามีวีถีชีวิตและวัฒนธรรมประเพณีที่สืบทอดต่อกันมา

อย่างไร และมีศักยภาพที่น่าจะใช้เป็นทรัพยากรทางการท่องเที่ยว

ได้หรือไม่ ชุมชนมีความต้องการเป็นแหล่งท่องเที่ยวมากน้อยเพียงใด

และควรมีแนวทางการพัฒนาศักยภาพของชุมชนสู่การเป็นแหล่ง

ท่องเที่ยววัฒนธรรมเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนอย่างไร

2. วัตถุประสงค์ 1. เพือ่ศกึษาศกัยภาพการทอ่งเทีย่วทางวฒันธรรมของ

กลุ่มชาติพันธุ์ไทแสก

2. เพื่อรวบรวมข้อมูลวิถีชีวิตบริบทชุมชนวัฒนธรรม

ไทแสกบ้านบะหว้า ตำำาบลท่าเรือ อำำาเภอนาหว้า จังหวัดนครพนม

3. เพื่อหาแนวทางพัฒนาการท่องเที่ยววัฒนธรรม

ไทแสกอย่างยั่งยืน โดยกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน

3. วิธีดำาเนินงาน 3.1 ศึกษา และเก็บรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ตามแหล่ง

ข้อมูลต่างๆ โดยแบ่งข้อมูลเป็น 2 ประเภท คือ

1) ขอ้มลูปฐมภมู ิ(Primary Data) ศกึษาชมุชนจาก

กรณศีกึษา และเรือ่งราวทีส่ำำาคญัในชมุชน ใชก้ารสมัภาษณเ์ฉพาะกรณ ี

(Case studies and Stories)

2) ขอ้มลูทตุยิภมู ิ(Secondary Data) ศกึษาขอ้มลู

เชิงเอกสาร(Document) ที่เกี่ยวข้องทุกประเภท เช่น ประวัติศาสตร์

ท้องถิ่นประวัติศาสตร์กลุ่มชนชาติไท บันทึกจากหมู่บ้าน นอกจากนี้

ยังอาศัยข้อมูลจากทางราชการต่างๆ

3.2 จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ แบ่งเป็น 2 ระยะ คือ

1) จัดกระบวนการสนทนากลุ่ม (Focus Group

Discussion) โดยบคุลากรในพืน้ที ่เพือ่รว่มจดัทำำาฐานขอ้มลูพืน้ที ่กลุม่

ตัวอย่าง คือประชากรกลุ่มชาติพันธุ์ไทแสก บ้านบะหว้า ตำาบลท่าเรือ

อำาเภอนาหว้า จังหวัดนครพนม

2) จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ โดยเชิญผู้มีส่วน

เกี่ยวข้องเจ้าหน้าที่ภาครัฐ เอกชน ผู้ประกอบการด้านการท่องเที่ยว

ตัวแทนชุมชน นักวิชาการ เพื่อร่วมกันวิเคราะห์ศักยภาพการ

ท่องเที่ยว และวางแผนการจัดการการท่องเที่ยว

3.3 ดำาเนินการวิเคราะห์และจัดทำำาข้อเสนอแนะแนว

ทางการพัฒนา

3.4 จัดประชุมนำำาเสนอผลการศึกษาต่อพื้นที่ เพื่อรับฟัง

ข้อคิดเห็น

3.5 สรุปผลการศึกษา

4. ผลการศึกษา กลุ่มชาติพันธุ์ไทแสก บ้านบะหว้า มีความเข้มแข็งทาง

ด้านการรวมกลุ่มอัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์ เช่น การแต่งกายและงาน

ประเพณีที่สำำาคัญ รวมถึงวิถีการดำำาเนินชีวิตที่ยังมีความเป็นท้องถิ่น

ดั้งเดิม และภาษาประจำำาชนเผ่าที่ยังคงใช้ภาษาแสกในการติดต่อ

สื่อสารกันระหว่างคนในหมู่บ้าน ผู้นำาชุมชนมีความเข้มแข็ง นับถือ

พุทธศาสนา มีความเชื่อในสิ่งเหนือธรรมชาติอยู่บ้าง แต่ไม่เป็น

อุปสรรคในการดำำาเนินชีวิต จากผลการลงพื้นที่สำารวจและเก็บข้อมูล

พร้อมทั้งการสนทนากลุ่มระดมความคิดเห็นจากชาวบ้านเกี่ยวกับ

การจัดการท่องเที่ยววัฒนธรรมในพื้นที่ ผลการศึกษาด้านศักยภาพ

พบว่า จุดขายและจุดเด่นของแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมไทแสก

บ้านบะหว้า มีดังนี้

1) วัฒนธรรมและวิถีชีวิตแบบไทแสก บ้านบะหว้า

ชาวไทแสก บา้นบะหวา้ นบัถอืศาสนาพทุธ และปฏบิตัติาม

แนวทางของพทุธศาสนกิชนอยา่งเครง่ครดั คนในชมุชนมคีวามเชือ่ใน

เรื่องของบาปบุญ คุณโทษ และเรื่องของกฎแห่งกรรม ความเชื่อด้าน

พุทธศาสนามีอิทธิพลต่อวิถีชีวิตของคนในชุมชน มากกว่าความเชื่อ

เรือ่งผ ียกเวน้กรณผีบีรรพบรุษุทีล่กูหลานยงัคงยดึมัน่และมกีารทำาบญุ

เพื่ออุทิศส่วนกุศลไปให้แก่ผู้ล่วงลับในเทศกาลต่างๆ อย่างสมำำ่ำาเสมอ

ชุมชนไทแสก บ้านบะหว้า ปฏิบัติตามประเพณีทาง

พุทธศาสนาแต่ก็มีระเบียบปฏิบัติที่ต่างกับชาติพันธุ์อื่น ซึ่งชุมชน

ไทแสกปฏิบัติกันอย่างเคร่งครัด คือ ในการรับประทานอาหาร

ที่ต้องให้ผู้อาวุโสรับประทานอาหารก่อนเสมอ งานประเพณีที่

สำำาคัญของชาติพันธุ์ ไทแสกบ้านบะหว้า คือ งานวันผู้สูงอายุ

ในวันสงกรานต์ บุญประทายข้าวเปลือก ที่จัดขึ้นเป็นประจำำ า

ทุกปี กิจกรรมเริ่มจากวันที่ 31 ธันวาคม ในช่วงตอนเย็นหลังจากที่

ชาวบา้นเสรจ็สิน้ภารกจิในครวัเรอืน จะพากนันำำาขา้วเปลอืกจากยุง้ฉาง

ของตนไปรวมกันที่ลานกลางบ้านตามกำำาลังศรัทธา นิมนต์พระสงฆ์

มาสวดพระพุทธมนต์ เมื่อเสร็จพิธีแล้วชาวบ้านจะนำาข้าวที่ผ่านพิธี

เก็บไว้ทำาเป็นข้าวพันธุ์ในการลงนาครั้งต่อไป และข้าวอีกส่วนหนึ่ง

จะถูกแบ่งปันหรือแบ่งขายราคาถูกให้กับคนในชุมชนที่ไม่ได้ทำานา

หรอืครอบครวัทีม่ขีา้วไมเ่พยีงพอตอ่การบรโิภค เงนิทีไ่ดก้จ็ะนำาถวาย

วัดเพื่อใช้ในการกุศล

การรกัษาโรคตามวถิพีืน้บา้น ทีบ่า้นบะหวา้ ยงัมกีารรกัษา

ด้วยการแพทย์พื้นบ้านควบคู่ไปกับการรักษาด้วยแพทย์แผน

ปัจจุบัน จากการลงพื้นที่ศึกษาและเก็บข้อมูลในเรื่องความ

เชื่อด้านการรักษาโรค ทำาให้ทราบว่าวิถีการดูแลรักษาสุขภาพ

ในระบบการแพทย์พื้นบ้านของบ้านบะหว้า มีแนวทางในการ

ดำาเนินชีวิตที่ เชื่อมโยงกับธรรมชาติ ที่อุดมไปด้วยพืชสมุนไพร

Page 3: บ้านบะหว้า ตำาบลท่าเรือ อำาเภอนาหว้า จังหวัดนครพนม A Study ... · เชิงเอกสาร(Document)

637

การประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจำาปี 2554“การพัฒนาอนาคตชนบทไทย : ฐานรากที่มั่นคงเพื่อการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน” 27-29 มกราคม 2554

นานาชนิด ทำาให้ความเป็นอยู่และการดูแลสุขภาพมีความสัมพันธ์

กับธรรมชาติ และสิ่งที่เหนือธรรมชาติ หมอพื้นบ้านของชุมชน

บ้านบะหว้าถือได้ว่ามีบทบาทสำำาคัญในการดูแลรักษาสุขภาพและ

จิตใจของผู้ป่วยในชุมชนได้เป็นอย่างดี โดยมีขั้นตอนในการรักษา

แตกต่างกันไป

สว่นการประกอบอาชพี ประชากรสว่นใหญ ่ประกอบอาชพี

เกษตรกรรม เน้นการทำานาเป็นหลัก การประมง และมีการปลูกพืช

เศรษฐกิจ เช่น ข้าวโพด แตงโม และถั่วลิสง เพิ่มเติมในฤดูแล้ง พื้นที่

บ้านบะหว้าเป็นเขตชลประทาน จึงไม่พบปัญหาเรื่องการขาดแคลน

นำาเพื่อการเกษตร ประชากรยังมีอาชีพเสริมที่สร้างชื่อเสียงให้กับ

ชุมชนบ้านบะหว้า จนเป็นที่รู้จักกันเป็นอย่างดีคือ การทำาขนมพอง

ขนมดอกจอก และการทอผา้ นอกจากนีย้งัมกีารรบัเสือ้ผา้จากโรงงาน

มาเย็บส่งกันอีกหลายครัวเรือน

2) แหล่งท่องเที่ยวในชุมชนและพื้นที่ใกล้เคียง

แหลง่ทอ่งเทีย่วตา่งๆ ทีเ่ปน็ตวัเสรมิแรงดงึดดูทางการ

ท่องเที่ยวในพื้นที่ จากการสนทนากลุ่มกับชาวบ้าน ผู้นำาชุมชนและ

หน่วยงานภาครัฐในพื้นที่ พบว่า แหล่งท่องเที่ยวที่มีศักยภาพในการ

ดึงดูดนักท่องเที่ยว ได้แก่

2.1) พระธาตุประสิทธิ์ มีความโดดเด่นทางด้าน

ภูมิทัศน์ภายในวัด หากแต่ขาดป้ายสื่อความหมายในส่วนจัดแสดง

ต่างๆ

2.2) ศูนย์หัตถกรรมทอผ้าไหมบ้านท่าเรือ มีความ

โดดเดน่ดา้นผลติภณัฑท์ีไ่ดรบัรางวลัจากสมเดจ็พระนางเจา้พระบรม

ราชนินีาถ อกีทัง้ยงัเปน็แหลง่ Thailand Invitation หากแตย่งัขาดการ

จัดภูมิทัศน์โดยรอบให้ร่มรื่นและสวยงาม

2.3) แหลง่ผลติและจำาหนา่ยเครือ่งดนตรอีสีาน เปน็

แหลง่ทอ่งเทีย่วทีเ่ปน็รูจ้กัของนกัทอ่งเทีย่วทัว่ไป เปน็จดุสาธติการทำา

เครื่องดนตรีพื้นบ้านอีสาน รวมทั้งการสั่งผลิตเครื่องดนตรีนานาชนิด

จุดด้อยคือ ยังขาดป้ายสื่อความหมาย รวมทั้งป้ายบอกเรื่องราวของ

เครื่องดนตรี เพื่อให้นักท่องเที่ยวได้เรียนรู้

2.4) หมู่บ้านส่งออกตุ๊กแก เป็นแหล่งท่องเที่ยว

อีกหนึ่งจุดที่สำาคัญ ได้รับการประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อโทรทัศน์

อยู่บ่อยครั้ง จึงเป็นที่สนใจของนักท่องเที่ยว หากแต่หมู่บ้านดังกล่าว

ยังขาดการประชาสัมพันธ์ที่ตั้งของหมู่บ้านของตน ขาดป้ายบอก

ทาง และผู้อธิบายเรื่องราวในชุมชน นักท่องเที่ยวที่เข้าไปเที่ยวชม

มักได้ชื่นชมเพียงบรรยากาศ แต่ขาดความรู้ของวัฒนธรรมพื้นถิ่น

ดงันัน้ จงึไดก้ำำาหนดแนวทางการพฒันาการทอ่งเทีย่ววฒันธรรมไทแสก

บ้านบะหว้า ไว้ดังนี้

1. ให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการ

ท่องเที่ยวชุมชน เพราะชุมชนบ้านบะหว้ายังไม่เคยจัดการท่องเที่ยว

มาก่อน

2. การเตรียมความพร้อมของชุมชนโดยจัดตั้ง

กลุ่มทำางานด้านการท่องเที่ยว เพื่อให้ชุมชนสามารถทำำางานได้อย่าง

เป็นระบบในระยะเริ่มแรก

3. จดัการทอ่งเทีย่วแบบโฮมสเตย ์เพือ่สง่เสรมิ

ใหน้กัทอ่งเทีย่วไดเ้รยีนรูว้ฒันธรรมทอ้งถิน่ อนัเปน็สิง่ทีน่า่สนใจศกึษา

สำำาหรับนักท่องเที่ยวคุณภาพ

4. การพัฒนาศักยภาพบุคลากรในการนำำา

เทีย่ว การสบืทอดวฒันธรรมและการสือ่ความหมายทางวฒันธรรมแก่

นักท่องเที่ยว และการพัฒนาบุคลากรกลุ่มต่างๆ เช่น กลุ่มต้อนรับ

กลุ่มการแสดง เป็นต้น

5. จัดเส้นทางท่องเที่ยว รูปแบบและกิจกรรม

ท่องเที่ยว สำำาหรับการประชาสัมพันธ์ท่องเที่ยวโดยการประสานงาน

กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและการสื่อสารในรูปแบบที่หลากหลาย

จากผลการสนทนากลุ่ม พบว่าชาวบ้านส่วนใหญ่ต้องการให้เกิด

การจัดการท่องเที่ยวแบบโฮมสเตย์ควบคู่ไปกับการท่องเที่ยวแบบ

วฒันธรรมชนเผา่ เพือ่ใหน้กัทอ่งเทีย่วทีส่นใจรปูแบบวถิชีวีติชมุชน ได้

เข้าถึงและสัมผัสแก่นแท้ของชุมชน นักท่องเที่ยวจะเกิดการเรียนรู้ถึง

วถิชีวีติปจัจบุนั ภาษา วฒันธรรม อาหาร ความเปน็อยูข่องชมุชน โดย

เนน้ทีก่ารพฒันาดา้นภมูปิญัญาทีส่รา้งสรรค ์ไมท่ำำาลายสภาพแวดลอ้ม

ทั้งไม่นำำาวิถีชีวิตและวัฒนธรรมของคนในท้องถิ่นมาทำำาให้เป็นสินค้า

เพื่อก่อให้เกิดรายได้แต่เพียงอย่างเดียว

5. สรุปและข้อเสนอแนะ ชาตพินัธุไ์ทแสก บา้นบะหวา้ มศีกัยภาพในการพฒันาดา้น

การทอ่งเทีย่ววฒันธรรมเปน็อยา่งมาก เนือ่งจากเปน็แหลง่วฒันธรรม

ชาตพินัธุไ์ทแสกทีม่กีารสบืทอดกนัมาอยา่งยาวนาน โดยเฉพาะภาษา

ไทแสกที่ชาวบ้านยังคงใช้สื่อสารกันอยู่ในปัจจุบันไม่ว่าจะเป็นเด็ก

ผู้ใหญ่ หรือผู้เฒ่าผู้แก่และมีการรณรงค์ให้ใช้ภาษาแสกในการสื่อสาร

กันภายในกับคนในชุมชนทุกคน ชาวบ้านได้รับการปลูกฝังให้ยึดมั่น

ชุมชนไทแสก บ้านบะหว้า ปฏิบัติตามประเพณีทางพุทธศาสนา แต่ก็มีระเบียบปฏิบัติที่ต่างกับชาติพันธุ์อ่ืน ซึ่งชุมชนไทแสกปฏิบัติกันอย่างเคร่งครัด คือ ในการรับประทานอาหารที่ต้องให้ผู้อาวุโสรับประทานอาหารก่อนเสมอ งานประเพณีที่ส้าคัญของชาติพันธุ์ไทแสก บ้านบะหว้า คือ งานวันผู้สูงอายุในวันสงกรานต์ บุญประทายข้าวเปลือก ที่จัดขึ้นเป็นประจ้าทุกปี กิจกรรมเริ่มจากวันที่ 31 ธันวาคม ในช่วงตอนเย็นหลังจากที่ชาวบ้านเสร็จสิ้นภารกิจในครัวเรือน จะพากันน้าข้าวเปลือกจากยุ้งฉางของตนไปรวมกันที่ลานกลางบ้านตามก้าลังศรัทธา นิมนต์พระสงฆ์มาสวดพระพุทธมนต์ เมื่อเสร็จพิธีแล้วชาวบ้านจะน้าข้าวที่ผ่านพิธี เก็บไว้ท้าเป็นข้าวพันธุ์ในการลงนาครั้งต่อไป และข้าวอีกส่วนหนึ่งจะถูกแบ่งปันหรือแบ่งขายราคาถูกให้กับคนในชุมชนที่ไม่ได้ท้านา หรือครอบครัวที่มีข้าวไม่เพียงพอต่อการบริโภค เงินที่ได้ก็จะน้าถวายวัดเพื่อใช้ในการกุศล การรักษาโรคตามวิถีพ้ืนบ้าน ที่บ้านบะหว้า ยังมีการรักษาด้วยการแพทย์พ้ืนบ้านควบคู่ไปกับการรักษาด้วยแพทย์แผนปัจจุบัน จากการลงพ้ืนที่ศึกษาและเก็บข้อมูลในเรื่องความเชื่อด้านการรักษาโรค ท้าให้ทราบว่าวิถีการดูแลรักษาสุขภาพในระบบการแพทย์พ้ืนบ้านของบ้านบะหว้า มีแนวทางในการด้าเนินชีวิตที่เชื่อมโยงกับธรรมชาติ ที่อุดมไปด้วยพืชสมุนไพรน า น า ช นิ ด ท้ า ใ ห้ ค ว า ม เ ป็ น อ ยู่ แ ล ะ ก า ร ดู แ ล สุ ข ภ า พ มีความสัมพันธ์กับธรรมชาติ และสิ่งที่ เหนือธรรมชาติ หมอพ้ืนบ้านของชุมชนบ้านบะหว้าถือได้ว่ามีบทบาทส้าคัญในการดูแลรักษาสุขภาพและจิตใจของผู้ป่วยในชุมชนได้เป็นอย่างดี โดยมีขั้นตอนในการรักษาแตกต่างกันไป

ส่ว นก าร ป ระ ก อ บ อา ชีพ ป ร ะช าก ร ส่ว นใ ห ญ่ ประกอบอาชีพเกษตรกรรม เน้นการท้านาเป็นหลัก การประมง และมีการปลูกพืชเศรษฐกิจ เช่น ข้าวโพด แตงโม และถั่วลิสง เพ่ิมเติมในฤดูแล้ง พ้ืนที่บ้านบะหว้าเป็นเขตชลประทาน จึงไม่พบปัญหาเรื่องการขาดแคลนน้้าเพ่ือการเกษตร ประชากรยังมีอาชีพเสริมที่สร้างชื่อเสียงให้กับชุมชนบ้านบะหว้า จนเป็นที่รู้จักกันเป็นอย่างดีคือ การท้าขนมพอง ขนมดอกจอก และการทอผ้า นอกจากนี้ยังมีการรับเสื้อผ้าจากโรงงานมาเย็บส่งกันอีกหลายครัวเรือน 2) แหล่งท่องเที่ยวในชุมชนและพ้ืนที่ใกล้เคียง แหล่งท่องเที่ยวต่างๆ ที่ เป็นตัวเสริมแรงดึงดูดทางการท่องเที่ยวในพ้ืนที่ จากการสนทนากลุ่มกับชาวบ้าน ผู้น้าชุมชนและหน่วยงานภาครัฐในพ้ืนที่ พบว่า แหล่งท่องเที่ยวที่มีศักยภาพในการดึงดูดนักท่องเที่ยว ได้แก่ 2.1) พระธาตุประสิทธิ์ มีความโดดเด่นทางด้านภูมิทัศน์ภายในวัด หากแต่ขาดป้ายสื่อความหมายในส่วนจัดแสดงต่างๆ 2.2) ศูนย์หัตถกรรมทอผ้าไหมบ้านท่าเรือ มีความโดเดเด่นด้ า น ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ไ ด รั บ ร า ง วั ล จ า ก ส ม เ ด็ จ พ ร ะ น า ง เ จ้ าพระบรมราชินีนาถ อีกทั้งยังเป็นแหล่ง Thailand Invitation หากแต่ยังขาดการจัดภูมิทัศน์โดยรอบให้ร่มรื่นและสวยงาม 2.3) แหล่งผลิตและจ้าหน่ายเครื่องดนตรีอีสาน เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่เป็นรู้จักของนักท่องเที่ยวทั่วไป เป็นจุดสาธิตการท้าเครื่องดนตรีพ้ืนบ้านอีสาน รวมทั้งการสั่งผลิตเครื่องดนตรีนานาชนิด จุดด้อยคือ ยังขาดป้ายสื่อความหมาย รวมทั้งป้ายบอกเรื่องราวของเครื่องดนตรี เพื่อให้นักท่องเที่ยวได้เรียนรู้ 2.4) หมู่บ้านส่งออกตุ๊กแก เป็นแหล่งท่องเที่ยวอีกหนึ่งจุดที่ส้าคัญ ได้รับการประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อโทรทัศน์อยู่บ่อยครั้ง จึงเป็นที่สนใจของนักท่องเที่ยว หากแต่หมู่บ้านดังกล่าวยังขาดการประชาสัมพันธ์ที่ตั้งของหมู่บ้านของตน ขาดป้ายบอกทาง และผู้อธิบายเร่ืองราวในชุมชน นักท่องเที่ยวที่เข้าไปเที่ยวชม มักได้ชื่นชมเพียงบรรยากาศ แต่ขาดความรู้ของวัฒนธรรมพ้ืนถิ่น ดังนั้น จึงได้ก้าหนดแนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยววัฒนธรรมไทแสก บ้านบะหว้า ไว้ดังนี้ 1. ให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการท่องเที่ยวชุมชน เพราะชุมชนบ้านบะหว้ายังไม่เคยจัดการท่องเที่ยวมาก่อน 2. การเตรียมความพร้อมของชุมชนโดยจัดตั้งกลุ่มท้างานด้านการท่องเที่ยว เพ่ือให้ชุมชนสามารถท้างานได้อย่างเป็นระบบในระยะเริ่มแรก 3. จัดการท่องเที่ยวแบบโฮมสเตย์ เพ่ือส่งเสริมให้นักท่องเที่ยวได้เรียนรู้วัฒนธรรมท้องถิ่น อันเป็นสิ่งที่น่าสนใจศึกษาส้าหรับนักท่องเที่ยวคุณภาพ 4. การพัฒนาศักยภาพบุคลากรในการน้าเที่ยว การสืบทอดวัฒนธรรมและการสื่อความหมายทางวัฒนธรรมแก่นักท่องเที่ยว และการพัฒนาบุคลากรกลุ่มต่างๆ เช่น กลุ่มต้อนรับ กลุ่มการแสดง เป็นต้น

Page 4: บ้านบะหว้า ตำาบลท่าเรือ อำาเภอนาหว้า จังหวัดนครพนม A Study ... · เชิงเอกสาร(Document)

638

การประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจำาปี 2554“การพัฒนาอนาคตชนบทไทย : ฐานรากที่มั่นคงเพื่อการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน” 27-29 มกราคม 2554

ในพระพุทธศาสนา กล่าวคือ ยึดถือคติทำำาดีได้ดี ทำำาชั่วได้ชั่ว ทำำาให้

ชาวไทแสก บ้านบะหว้า มีแนวปฏิบัติและการดำำาเนินชีวิตที่เรียบง่าย

และสงบสุข ไม่มีความขัดแย้งในชุมชน ชุมชนมีความร่วมมือร่วมใจ

กันอย่างเข้มแข็งในการประกอบกิจกรรมหรืองานประเพณีต่างๆ

ของหมู่บ้าน เช่น งานวันผู้สูงอายุในช่วงเทศกาลสงกรานต์ ชาวบ้าน

ทุกหลังคาเรือนจะรวมตัวกัน เพื่อไปกราบไหว้ รดนำำำำำำำำ้ำา ขอพร จากผู้สูง

อายุในหมู่บ้าน พร้อมทั้งนำำาสิ่งของหรือเงินทองมอบไว้ให้แก่ผู้สูงอายุ

ท่านนั้นด้วย อีกทั้งในหนึ่งรอบปี ชาวไทแสกจะมีงานบุญประเพณี

ต่างๆ ตลอดทั้ง 12 เดือน ซึ่งงานประเพณีดังกล่าวมีความคล้ายคลึง

กับประเพณีของคนอีสาน นอกจากนั้นในชุมชนยังมีภูมิปัญญา

ท้องถิ่นหลากหลายแขนงที่น่าสนใจ เช่น งานหัตถกรรมทอผ้าไหม

การรักษาโรคด้วยหมอพื้นบ้าน งานช่างฝีมือประดิษฐ์เครื่องดนตรี

อีสาน งานจักสาน และการทำำาขนมอย่างดั้งเดิม ด้วยความที่ชุมชน

บ้านบะหว้ามีวิถีชีวิตที่เรียบง่าย และยังคงยึดมั่นในขนบประเพณี

ตามวิถีไทแสกและชาวพุทธอย่างเคร่งครัด จึงเป็นสิ่งที่น่าสนใจ และ

น่าเรียนรู้ สำำาหรับนักท่องเที่ยวผู้ที่มีความชื่นชอบ ต้องการเรียนรู้

และสมัผสัวฒันธรรมพืน้ถิน่อยูไ่มน่อ้ย ขอ้เสนอแนะในการพฒันาการ

ท่องเที่ยววัฒนธรรมกลุ่มชาติพันธุ์ไทแสกบ้านบะหว้า คือ 1) การให้

ความรูค้วามเขา้ใจเกีย่วกบัการจดัการทอ่งเทีย่วชมุชน โดยคำำาแนะนำำา

จากสถาบันการศึกษาที่เกี่ยวข้อง 2) จัดตั้งกลุ่มทำำางานการท่องเที่ยว

ในหมูบ่า้น จดัการการทอ่งเทีย่วโดยการจดักจิกรรมทางวฒันธรรมไท

แสกเป็นหลัก 3) สร้างความเข้าใจและจัดทำำา โฮมสเตย์ในหมู่บ้านเพื่อ

รองรบันกัทอ่งเทีย่วใหไ้ดส้มัผสัวถิชีวีติวฒันธรรมไทแสกอยา่งถกูตอ้ง

และ 4) เรง่พฒันาบคุลากรของชมุชนใหส้ามารถสบืทอดวฒันธรรมและ

สือ่สารวฒันธรรมดว้ยการเปน็ผูน้ำำาเทีย่วไดอ้ยา่งมคีณุภาพ พรอ้มๆกบั

การประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวชุมชนต่อไป

6. กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยเรื่อง การศึกษาศักยภาพเพื่อพัฒนาการท่องเที่ยว

วัฒนธรรมกลุ่มชาติพันธุ์ไทแสก บ้าน บะหว้า ตำาบลท่าเรือ อำำาเภอ

นาหวา้ จงัหวดันครพนม ภายใตช้ดุโครงการวจิยั การศกึษาศกัยภาพ

เพื่อพัฒนาการท่องเที่ยววัฒนธรรมกลุ่มชาติพันธุ์ในอีสาน-ลุ่มนำำำำำ้ำาโขง

ได้รับทุนอุดหนุนจากโครงการวิจัยประเภทอุดหนุนทั่วไป ประจำำา

ปงีบประมาณ พ.ศ. 2552 (เพิม่เตมิ) จากมหาวทิยาลยัขอนแกน่ สำำาเรจ็ลุ

ลว่งลงไดด้ว้ยด ีดว้ยความรว่มมอืจากชมุชนบา้นบะหวา้ ผูน้ำำาชมุชน ที่

มคีวามเขม้แขง็ และปราชญช์าวบา้น ทีม่คีวามรอบรู ้สามารถถา่ยทอด

เรื่องราวและเรื่องเล่าให้แก่คณะทำำางานได้มีความรู้ในสิ่งรอบตัว

เพิม่มากขึน้ และขอขอบคณุ อาจารยป์รชีา ชยัปญัหา ทีก่รณุาใหค้วาม

อนุเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานของหมู่บ้าน และประวัติความเป็นมาของ

ชาวไทแสกที่อาศัยอยู่ในพื้นที่อีสาน-ลุ่มนำำำำำำำำำำำ้ำาโขงด้วยดี และท้ายที่สุด

ขอขอบคุณชาวบ้าน บ้านบะหว้าทุกคนที่ได้เสียสละเวลาร่วมพูดคุย

และให้สัมภาษณ์ต่อคณะทำำางานในครั้งนี้ จึงทำำาให้งานวิจัยชั้นนี้

สำำาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี บรรลุตามวัตถุประสงค์ทุกประการ

7. เอกสารอ้างอิง[1] ปทุมทิพย์ ม่านโคกสูง. กลุ่มชาติพันธุ์ในจังหวัดสกลนคร.

มปท., 2547.

[2] สมศักดิ์ ศรีสันติสุข และปรีชา ชัยปัญหา. วิถีครอบครัวและ

ชุมชนไทยแสกบ้านบะหว้า ตำาบลท่าเรือ อำาเภอนาหว้า

จังหวัดนครพนม. มปท., 2538.

[3] ปรชีา ชยัปญัหา. การวจิยัและพฒันากระบวนการมสีว่นรว่ม

ของชุมชนในการอนุรักษ์ภาษาไทยแสก กรณีศึกษา

บ้านบะหว้า ตำาบลท่าเรือ อำาเภอนาหว้า จังหวัดนครพนม.

วิทยานิพนธ์ ศศ.ม. สกลนคร: มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร,

2549.