335
โครงการนํารองในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอางเก็บน้ําขนาดใหญ และทางน้ําชลประทานโดยเทียบกับเกณฑมาตรฐานคุณภาพน้ํา : โครงการสงน้ําและบํารุงรักษากระเสียว Pilot Project on Assessment of Physical and Chemical Water Quality in Big scale Reservoir and Irrigational Canals by compare with Water Quality Standard : Kraseaw Water Operation and Maintenance Project โดย สุขลัคน นาเนกรังสรรค ศุภกฤษ พัฒนศิริ ธีรเดช ขาวสบาย กลุมวิจัยและพัฒนาดานวิทยาศาสตร สํานักวิจัยและพัฒนา .ศ. 2554

research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

  • Upload
    others

  • View
    0

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

โครงการนํารองในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอางเก็บน้ําขนาดใหญ

และทางน้ําชลประทานโดยเทียบกับเกณฑมาตรฐานคุณภาพน้ํา :

โครงการสงน้ําและบํารุงรักษากระเสียว

Pilot Project on Assessment of Physical and Chemical Water Quality in Big scale

Reservoir and Irrigational Canals by compare with Water Quality Standard :

Kraseaw Water Operation and Maintenance Project

โดย

สุขลัคน นาเนกรังสรรค

ศุภกฤษ พัฒนศิริ

ธีรเดช ขาวสบาย

กลุมวิจัยและพัฒนาดานวิทยาศาสตร

สํานักวิจัยและพัฒนา

พ.ศ. 2554

Page 2: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

บทคัดยอ

งานวิจัยน้ีเปนการประเมิน คุณภาพนํ้าทางกายภาพและเคมีในอางเก็บนํ้ากระเสียวและ

ทางนํ้าชลประทาน ของ โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว โดยวิเคราะหคุณภาพนํ้า

ทางกายภาพและเคมี ทั้งหมด 29 ดัชนี ผลการวิจัยพบวาคุณภาพนํ้าของ อางเก็บนํ้ากระเสียว

มีความเปนกรด – ดาง 7.6 ความนําไฟฟา 246 ไมโครโมสตอเซนติเมตร ปริมาณออกซิเจนละลาย

ในนํ้า 5.07 มิลลิกรัมตอลิตร และปริมาณบีโอดี 2.35 มิลลิกรัมตอลิตร สวนคุณภาพนํ้าของ ทางนํ้า

ชลประทาน มีความเปนกรด – ดาง 7.6 ความนําไฟฟา 284 ไมโครโมสตอเซนติเมตร ปริมาณ

ออกซิเจนละลายในนํ้า 4.64 มิลลิกรัมตอลิตร และปริมาณบีโอดี 2.62 มิลลิกรัมตอลิตร นอกจากน้ี

คุณภาพนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียวและทางนํ้าชลประทานมีคาอยูในเกณฑมาตรฐานนํ้าชลประทาน

ของ FAO (1985) มาตรฐานคุณภาพนํ้าในแหลงนํ้าผิวดิน มาตรฐานการระบายนํ้าที่มีคุณภาพตํ่า

ลงทางนํ้าชลประทานและทางนํ้าที่เชื่อมตอกับทางนํ้าชลประทานในเขตพื้นที่โครงการชลประทาน

และเกณฑคุณภาพนํ้าที่เหมาะสมตอการดํารงชีวิตของสัตวนํ้า ยกเวน ปริมาณโพแทสเซียมและ

ปริมาณสารแขวนลอย มีคามากกวาเกณฑมาตรฐาน อาจเน่ืองจากการใชปุยที่มีสารประกอบของ

โพแทสเซียมเปนสวนผสมทําใหเพิ่มปริมาณโพแทสเซียมในนํ้าที่ไหลมาจากพื้นที่เกษตรกรรม

อีกทั้งในเดือนกันยายน ตุลาคม และพฤศจิกายน ซึ่งเปนชวงฤดูฝนและมีนํ้าทวมในพื้นที่ทําให

มีการพังทลายของดิน นํ้าฝนไปชะลางหนาดินพาตะกอนดิน อินทรียวัตถุ และอนินทรียวัตถุ

ลงสูแหลงนํ้าทําใหมีปริมาณสารแขวนลอยมาก สงผลใหมีคาเฉลี่ยของปริมาณสารแขวนลอยสูงขึ้น

สรุปผลการวิจัยไดวาคุณภาพนํ้าของ อางเก็บนํ้ากระเสียวและทางนํ้าชลประทาน เหมาะสม

ตอการนําไปใชในการชลประทานและไมมีปญหาในเร่ืองความเปนพิษจากความเค็มและปริมาณ

โซเดียม จัดอยูในประเภทนํ้าชลประทานชนิด C2S1 เปนนํ้าที่มีความเค็มปานกลางและปริมาณ

โซเดียมตํ่าสามารถใชไดกับดินและพืชเกือบทุกชนิด ยกเวน พืชที่ตอบสนองไวตอความเปนพิษ

จากปริมาณโซเดียมจะเกิดความเสียหายจากการสะสมของปริมาณโซเดียม และจัดอยูใน แหลงนํ้า

ผิวดิน ประเภทที่ 3 - 4 เปนแหลงนํ้าที่ไดรับนํ้าทิ้งจากกิจกรรมบางประเภท และสามารถเปน

ประโยชนเพื่อการอุปโภคและบริโภคโดยตองผานการฆาเชื้อโรคตามปกติ และผานกระบวนการ

ปรับปรุงคุณภาพนํ้าเปนพิเศษกอน และสามารถเปนประโยชนเพื่อการเกษตรและการอุตสาหกรรม

Page 3: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

Abstract

This study is to assess the physical and chemical water quality of Kraseaw Water

Operation and Maintenance Project by analysed on 29 water quality indices. The results show that

water quality of Kraseaw Reservior are pH 7.6, EC 246 µS/cm, DO 5.07 mg/L, BOD 2.35 mg/L

and Kraseaw’s Irrigational Canal was pH 7.6, EC 284 µS/cm, DO 4.64 mg/L, BOD 2.62 mg/L.

They are within the recommended limits except Potassium and Suspended Solid values were

higher than the limits. High Potassium is caused by the influence of fertilizer that has potassium

compounds. High Suspended Solid value are caused by two major factors; 1) flooding in

September, October and November, and 2) soil’s erosion that adds soil sediment, organic matter

and inorganic matter to water body. In conclusion, water quality of Kraseaw Reservior and

Kraseaw’s Irrigational Canals are suitable for irrigation because they do not have salinity and

sodium hazard. The water can be classified as C2S1 which is medium salinity water and low

sodium water, can be used for irrigation with most crops and almost all soils except sodium

sensitive crops that may accumulate injurious concentrations of sodium. The water can also be

classified as surface water quality type 3 - 4.

Page 4: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

กิตติกรรมประกาศ

งานวิจัยเลมน้ีสําเร็จลงดวยดี ผูวิจัยขอขอบคุณ คุณสุนันทา เพ็ญสุต ผูอํานวยการกลุมวิจัย

และพัฒนาดานวิทยาศาสตร ที่ใหคําปรึกษาและแนะนําในการเขียนรายงานการวิจัย คุณศิริวัฒน

สันติเมธวิรุฬ อดีตหัวหนากลุมงานเคมี ที่ใหคําปรึกษาและใหโอกาสในการทําวิจัย และเจาหนาที่

ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียวที่ชวยเหลือในการใหขอมูลของโครงการในดานตาง ๆ

Page 5: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

สารบัญ

หนา

บทคัดยอ

Abstract

กิตติกรรมประกาศ

สารบัญ ก

สารบัญตาราง ง

สารบัญรูป ณ

บทท่ี 1

บทนํา

1.1 คํานํา

1.2 วัตถุประสงค

1.3 ขอบเขตของโครงการวิจัย

1.4 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ

1

1

3

3

4

บทท่ี 2

การตรวจเอกสาร

2.1 ขอมูลพื้นฐานของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว

2.2 ขอมูลคุณภาพนํ้าของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว

2.3 ความสัมพันธระหวางการใชประโยชนที่ดินและคุณภาพนํ้า

2.4 ความสัมพันธระหวางฤดูกาลและคุณภาพนํ้า

2.5 ดัชนีคุณภาพนํ้าทางกายภาพและเคมี

2.6 เกณฑมาตรฐานการพิจารณาคุณภาพนํ้า

6

6

10

12

16

20

34

บทท่ี 3

วิธีดําเนินการวิจัย

3.1 การสํารวจพื้นที่เพื่อกําหนดจุดเก็บตัวอยางนํ้าและเก็บขอมูล

ภาคสนาม

3.2 การเก็บตัวอยางนํ้า

3.3 การวิเคราะหคุณภาพนํ้า

3.4 การวิเคราะหขอมูล

3.5 สถานที่ทําการทดลอง / วิเคราะหคุณภาพนํ้า

37

37

37

39

42

42

Page 6: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

สารบัญ (ตอ)

หนา

บทท่ี 4

ผลการวิจัย

4.1 คุณภาพนํ้าทางกายภาพ

4.2 คุณภาพนํ้าทางเคมี

4.3 การเปรียบเทียบคุณภาพนํ้ากับเกณฑมาตรฐานนํ้าชลประทาน

ของ FAO (1985)

4.4 การเปรียบเทียบคุณภาพนํ้ากับเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้าในแหลงนํ้า

ผิวดิน

4.5 การเปรียบเทียบคุณภาพนํ้ากับเกณฑมาตรฐานการระบายนํ้าที่มี

คุณภาพตํ่าลงทางนํ้าชลประทานและทางนํ้าที่เชื่อมตอกับทางนํ้า

ชลประทานในเขตพื้นที่โครงการชลประทาน

4.6 การเปรียบเทียบคุณภาพนํ้ากับเกณฑคุณภาพนํ้าที่เหมาะสมตอ

การดํารงชีวิตของสัตวนํ้า

4.7 การเปรียบเทียบเปอรเซ็นตโซเดียมที่ละลายนํ้า (SSP) กับเกณฑของ

Wilcox (1955)

4.8 การเปรียบเทียบปริมาณโซเดียมคารบอเนตตกคาง (RSC) กับเกณฑ

ของ Eaton (1950)

4.9 การเปรียบเทียบปริมาณความกระดางทั้งหมดในรูป CaCO3 กับเกณฑ

ของ USGS (Online)

4.10 การแบงชนิดของนํ้าชลประทานตามความเค็มและปริมาณโซเดียม

ของ USDA Handbook No. 60 (1954)

43

43

59

119

120

120

121

121

121

122

122

บทท่ี 5

สรุป

5.1 สรุปและอภิปรายผล

5.2 ขอเสนอแนะ

123

123

153

เอกสารอางอิง

155

Page 7: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

สารบัญ (ตอ)

หนา

ภาคผนวก 159

ภาคผนวก ก มาตรฐานคุณภาพนํ้า 160

ภาคผนวก ข รูปจุดเก็บตัวอยางนํ้า 167

ภาคผนวก ค ผลวิเคราะหคุณภาพนํ้าทางกายภาพและเคมีระหวาง 3 ฤดูกาล 175

ภาคผนวก ง ผลวิเคราะหคุณภาพนํ้าทางกายภาพและเคมีระหวาง 12 เดือน 205

ต้ังแตเดือนกุมภาพันธ พ.ศ. 2553 – มกราคม พ.ศ. 2554

ภาคผนวก จ ผลวิเคราะหคุณภาพนํ้าทางกายภาพและเคมีทางสถิติโดยการวิเคราะห 235

ความแปรปรวนแบบทางเดียว

Page 8: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

สารบัญตาราง

ตารางท่ี

หนา

1 การใชประโยชนที่ดินเพื่อการเกษตรของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษา

กระเสียวในป พ .ศ. 2553

7

2 แผนการสงนํ้าเพื่อการปลูกพืชฤดูแลงป พ .ศ . 2553 ของโครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว

8

3 ปริมาณนํ้าฝนของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว ในป พ .ศ. 2553 9

4 การจําแนกปริมาณคลอไรดของนํ้าชลประทานโดยพิจารณาจากผลกระทบตอพืช 31

5 ความเหมาะสมในการนํานํ้าไปใชเพื่อการชลประทานโดยพิจารณาจากเปอรเซ็นต

โซเดียมที่ละลายนํ้า (SSP)

32

6 ความเหมาะสมในการนํานํ้าไปใชเพื่อการชลประทานโดย พิจารณา จากปริมาณ

โซเดียมคารบอเนตตกคาง (RSC)

32

7 การจําแนกความเปนพิษของโซเดียมในนํ้าโดยพิจารณาจาก สัดสวนของ

การดูดซับโซเดียม (SAR)

33

8 การกําหนด เกณฑความกระดางของนํ้า โดยพิจารณาจาก ปริมาณความกระดาง

ทั้งหมดในรูป CaCO3

34

9 แผนการเก็บตัวอยางนํ้าต้ังแตเดือนกุมภาพันธ พ.ศ. 2553 - มกราคม พ.ศ. 2554 38

10 ชื่อจุดเก็บตัวอยางนํ้า ที่ต้ัง พิกัดและรายละเอียดจุดเก็บตัวอยางนํ้า 38

11 ดัชนีคุณภาพนํ้าและวิธีการตรวจสอบ 41

ก.1 มาตรฐานคุณภาพนํ้าในแหลงนํ้าผิวดิน 161

ก.2 เกณฑมาตรฐานนํ้าชลประทานของ FAO ซึ่งนํามาใชเปรียบเทียบผลวิเคราะห

คุณภาพนํ้าชลประทาน

163

ก.3 มาตรฐานการระบายนํ้าที่มีคุณภาพตํ่าลงทางนํ้าชลประทาน และทางนํ้าที่ตอเชื่อม

กับทางนํ้าชลประทานในเขตพื้นที่โครงการชลประทาน

164

ก.4 เกณฑคุณภาพนํ้าที่เหมาะสมตอการดํารงชีวิตของสัตวนํ้า 165

ค.1 เปรียบ เทียบอุณหภูมินํ้าระหวาง 3 ฤดู กาล แยกตามแตละจุดเก็บตัวอยางนํ้า

ของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้า

กระเสียว

176

Page 9: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

สารบัญตาราง (ตอ)

ตารางท่ี

หนา

ค.2 เปรียบเทียบ ความนําไฟฟาระหวาง 3 ฤดู กาล แยกตามแตละจุดเก็บตัวอยางนํ้า

ของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้า

กระเสียว

177

ค.3 เปรียบเทียบ ความเค็มระหวาง 3 ฤดู กาล แยกตามแตละจุดเก็บตัวอยางนํ้า

ของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้า

กระเสียว

178

ค.4 เปรียบเทียบ ความขุนระหวาง 3 ฤดู กาล แยกตามแตละจุดเก็บตัวอยางนํ้า

ของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้า

กระเสียว

179

ค.5 เปรียบเทียบ ปริมาณสารแขวนลอยระหวาง 3 ฤดู กาล แยกตามแตละจุดเก็บ

ตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้า

กระเสียว

180

ค.6 เปรียบเทียบ ปริมาณของแข็งทั้งหมดที่ละลายในนํ้าระหวาง 3 ฤดู กาล แยกตาม

แตละจุดเก็บตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ

โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้า

กอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

181

ค.7 เปรียบเทียบ ความเปนกรด - ดางระหวาง 3 ฤดู กาล แยกตามแตละจุดเก็บ

ตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้า

กระเสียว

182

Page 10: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

สารบัญตาราง (ตอ)

ตารางท่ี

หนา

ค.8 เปรียบเทียบ ปริมาณออกซิเจนละลายในนํ้าระหวาง 3 ฤดู กาล แยกตามแตละ

จุดเก็บตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการ

สงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลง

อางเก็บนํ้ากระเสียว

183

ค.9 เปรียบเทีย บปริมาณบีโอดีระหวาง 3 ฤดู กาล แยกตามแตละจุดเก็บตัวอยางนํ้า

ของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้า

กระเสียว

184

ค.10 เปรียบเทียบ ปริมาณซัลไฟดในรูปไฮโดรเจนซัลไฟดระหวาง 3 ฤดู กาล

แยกตามแตละจุดเก็บตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน

ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้า

กอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

185

ค.11 เปรียบเทียบปริมาณฟอสเฟตฟอสฟอรัสระหวาง 3 ฤดูกาล แยกตามแตละจุดเก็บ

ตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้า

กระเสียว

186

ค.12 เปรียบ เทียบปริมาณไนไตรท - ไนโตรเจนระหวาง 3 ฤดู กาล แยกตามแตละ

จุดเก็บตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการ

สงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลง

อางเก็บนํ้ากระเสียว

187

ค.13 เปรียบเทียบปริมาณไนเตรท - ไนโตรเจนระหวาง 3 ฤดูกาล แยกตามแตละจุดเก็บ

ตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้า

กระเสียว

188

Page 11: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

สารบัญตาราง (ตอ)

ตารางท่ี

หนา

ค.14 เปรียบเทียบ ปริมาณไนโตรเจนในรูปทีเคเอ็นระหวาง 3 ฤดู กาล แยกตามแตละ

จุดเก็บตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการ

สงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลง

อางเก็บนํ้ากระเสียว

189

ค.15 เปรียบเทียบ ปริมาณแอมโมเนีย - ไนโตรเจนระหวาง 3 ฤดู กาล แยกตามแตละ

จุดเก็บตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการ

สงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลง

อางเก็บนํ้ากระเสียว

190

ค.16 เปรียบเทียบ ปริมาณอินทรียสารไนโตรเจนระหวาง 3 ฤดู กาล แยกตามแตละ

จุดเก็บตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการ

สงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลง

อางเก็บนํ้ากระเสียว

191

ค.17 เปรียบเทียบ ปริมาณไนโตรเจนทั้งหมดระหวาง 3 ฤดูกาล แยกตามแตละจุดเก็บ

ตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้า

กระเสียว

192

ค.18 เปรียบเทียบปริมาณแคลเซียมระหวาง 3 ฤดูกาล แยกตามแตละจุดเก็บตัวอยางนํ้า

ของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้า

กระเสียว

193

ค.19 เปรียบเทียบ ปริมาณแมกนีเซียมระหวาง 3 ฤดู กาล แยกตามแตละจุดเก็บ

ตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้า

กระเสียว

194

Page 12: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

สารบัญตาราง (ตอ)

ตารางท่ี

หนา

ค.20 เปรียบเทียบ ปริมาณโซเดียมระหวาง 3 ฤดูกาล แยกตามแตละจุดเก็บตัวอยางนํ้า

ของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้า

กระเสียว

195

ค.21 เปรียบเทียบ ปริมาณโพแทสเซียมระหวาง 3 ฤดู กาล แยกตามแตละจุดเก็บ

ตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้า

กระเสียว

196

ค.22 เปรียบเทียบปริมาณคารบอเนตระหวาง 3 ฤดูกาล แยกตามแตละจุดเก็บตัวอยางนํ้า

ของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้า

กระเสียว

197

ค.23 เปรียบเทียบ ปริมาณไบคารบอเนตระหวาง 3 ฤดู กาล แยกตามแตละจุดเก็บ

ตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้า

กระเสียว

198

ค.24 เปรียบเทียบ ปริมาณคลอไรดระหวาง 3 ฤดูกาล แยกตามแตละจุดเก็บตัวอยางนํ้า

ของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้า

กระเสียว

199

ค.25 เปรียบเทียบ ปริมาณซัลเฟตระหวาง 3 ฤดู กาล แยกตามแตละจุดเก็บตัวอยางนํ้า

ของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้า

กระเสียว

200

Page 13: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

สารบัญตาราง (ตอ)

ตารางท่ี

หนา

ค.26 เปรียบเทียบ เปอรเซ็นตโซเดียมที่ละลายนํ้า (SSP) ระหวาง 3 ฤดู กาล แยกตาม

แตละจุดเก็บตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน

ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้า

กอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

201

ค.27 เปรียบเทียบ สัดสวนของการดูดซับโซเดียม (SAR) ระหวาง 3 ฤดูกาล แยกตาม

แตละจุดเก็บตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน

ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้า

กอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

202

ค.28 เปรียบเทียบ ปริมาณโซเดียมคารบอเนตตกคาง (RSC) ระหวาง 3 ฤดู กาล

แยกตามแตละจุดเก็บตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน

ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้า

กอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

203

ค.29 เปรียบเทียบ ปริมาณความกระดางทั้งหมดในรูป CaCO3 ระหวาง 3 ฤดู กาล

แยกตามแตละจุดเก็บตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน

ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้า

กอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

204

ง.1 เปรียบ เทียบอุณหภูมินํ้าระหวาง 12 เดือน แยกตามแตละจุดเก็บตัวอยางนํ้า

ของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้า

กระเสียว

206

ง.2 เปรียบเทียบ ความนําไฟฟาระหวาง 12 เดือน แยกตามแตละจุดเก็บตัวอยางนํ้า

ของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้า

กระเสียว

207

Page 14: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

สารบัญตาราง (ตอ)

ตารางท่ี

หนา

ง.3 เปรียบเทียบ ความเค็มระหวาง 12 เดือน แยกตามแตละจุดเก็บตัวอยางนํ้า

ของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้า

กระเสียว

208

ง.4 เปรียบเทียบ ความขุนระหวาง 12 เดือน แยกตามแตละจุดเก็บตัวอยางนํ้า

ของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้า

กระเสียว

209

ง.5 เปรียบเทียบ ปริมาณสารแขวนลอยระหวาง 12 เดือน แยกตามแตละจุดเก็บ

ตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้า

กระเสียว

210

ง.6 เปรียบเทียบ ปริมาณของแข็งทั้งหมดที่ละลายในนํ้าระหวาง 12 เดือน แยกตาม

แตละจุดเก็บตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ

โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้า

กอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

211

ง.7 เปรียบเทียบ ความเปนกรด - ดางระหวาง 12 เดือน แยกตามแตละจุดเก็บ

ตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้า

กระเสียว

212

ง.8 เปรียบเทียบ ปริมาณออกซิเจนละลายในนํ้าระหวาง 12 เดือน แยกตามแตละ

จุดเก็บตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการ

สงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลง

อางเก็บนํ้ากระเสียว

213

Page 15: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

สารบัญตาราง (ตอ)

ตารางท่ี

หนา

ง.9 เปรียบเทีย บปริมาณบีโอดีระหวาง 12 เดือน แยกตามแตละจุดเก็บตัวอยางนํ้า

ของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้า

กระเสียว

214

ง.10 เปรียบเทียบ ปริมาณซัลไฟดในรูปไฮโดรเจนซัลไฟดระหวาง 12 เดือน

แยกตามแตละจุดเก็บตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน

ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้า

กอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

215

ง.11 เปรียบเทียบปริมาณฟอสเฟตฟอสฟอรัสระหวาง 3 ฤดูกาล แยกตามแตละจุดเก็บ

ตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้า

กระเสียว

216

ง.12 เปรียบ เทียบปริมาณไนไตรท - ไนโตรเจนระหวาง 12 เดือน แยกตามแตละ

จุดเก็บตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการ

สงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลง

อางเก็บนํ้ากระเสียว

217

ง.13 เปรียบเทียบปริมาณไนเตรท - ไนโตรเจนระหวาง 12 เดือน แยกตามแตละจุดเก็บ

ตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้า

กระเสียว

218

ง.14 เปรียบเทียบ ปริมาณไนโตรเจนในรูปทีเคเอ็นระหวาง 12 เดือน แยกตามแตละ

จุดเก็บตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการ

สงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลง

อางเก็บนํ้ากระเสียว

219

Page 16: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

สารบัญตาราง (ตอ)

ตารางท่ี

หนา

ง.15 เปรียบเทียบ ปริมาณแอมโมเนีย - ไนโตรเจนระหวาง 12 เดือน แยกตามแตละ

จุดเก็บตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการ

สงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลง

อางเก็บนํ้ากระเสียว

220

ง.16 เปรียบเทียบ ปริมาณอินทรียสารไนโตรเจนระหวาง 12 เดือน แยกตามแตละ

จุดเก็บตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการ

สงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลง

อางเก็บนํ้ากระเสียว

221

ง.17 เปรียบเทียบ ปริมาณไนโตรเจนทั้งหมดระหวาง 12 เดือน แยกตามแตละจุดเก็บ

ตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้า

กระเสียว

222

ง.18 เปรียบเทียบ ปริมาณแคลเซียมระหวาง 12 เดือน แยกตามแตละจุดเก็บตัวอยางนํ้า

ของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้า

กระเสียว

223

ง.19 เปรียบเทียบ ปริมาณแมกนีเซียมระหวาง 12 เดือน แยกตามแตละจุดเก็บ

ตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้า

กระเสียว

224

ง.20 เปรียบเทียบ ปริมาณโซเดียมระหวาง 12 เดือน แยกตามแตละจุดเก็บตัวอยางนํ้า

ของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้า

กระเสียว

225

Page 17: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

สารบัญตาราง (ตอ)

ตารางท่ี

หนา

ง.21 เปรียบเทียบ ปริมาณโพแทสเซียมระหวาง 12 เดือน แยกตามแตละจุดเก็บ

ตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้า

กระเสียว

226

ง.22 เปรียบเทียบปริมาณคารบอเนตระหวาง 12 เดือน แยกตามแตละจุดเก็บตัวอยางนํ้า

ของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้า

กระเสียว

227

ง.23 เปรียบเทียบ ปริมาณไบคารบอเนตระหวาง 12 เดือน แยกตามแตละจุดเก็บ

ตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้า

กระเสียว

228

ง.24 เปรียบเทียบ ปริมาณคลอไรดระหวาง 12 เดือน แยกตามแตละจุดเก็บตัวอยางนํ้า

ของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้า

กระเสียว

229

ง.25 เปรียบเทียบ ปริมาณซัลเฟตระหวาง 12 เดือน แยกตามแตละจุดเก็บตัวอยางนํ้า

ของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้า

กระเสียว

230

ง.26 เปรียบเทียบ เปอรเซ็นตโซเดียมที่ละลายนํ้า (SSP) ระหวาง 12 เดือน แยกตาม

แตละจุดเก็บตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน

ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้า

กอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

231

Page 18: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

สารบัญตาราง (ตอ)

ตารางท่ี

หนา

ง.27 เปรียบเทียบ สัดสวนของการดูดซับโซเดียม (SAR) ระหวาง 12 เดือน แยกตาม

แตละจุดเก็บตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน

ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้า

กอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

232

ง.28 เปรียบเทียบ ปริมาณโซเดียมคารบอเนตตกคาง (RSC) ระหวาง 12 เดือน

แยกตามแตละจุดเก็บตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน

ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้า

กอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

233

ง.29 เปรียบเทียบ ปริมาณความกระดางทั้งหมดในรูป CaCO3 ระหวาง 12 เดือน

แยกตามแตละจุดเก็บตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน

ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้า

กอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

234

จ.1 เปรียบเทียบความแตกตางทางสถิติของคาเฉลี่ยของดัชนีคุณภาพนํ้า ระหวาง

3 ฤดูกาล ของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว โดยการวิเคราะห

ความแปรปรวนแบบทางเดียว

236

จ.2 เปรียบเทียบความแตกตางทางสถิติของคาเฉลี่ยของดัชนีคุณภาพนํ้าระหวาง

3 ฤดูกาล ของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากทางนํ้าชลประทานของโครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียวโดยวิเคราะหความแปรปรวนแบบทางเดียว

237

จ.3 เปรียบเทียบความแตกตางทางสถิติของคาเฉลี่ยของดัชนีคุณภาพนํ้าระหวาง

3 ฤดูกาล ของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอาง

เก็บนํ้ากระเสียวโดยวิเคราะหความแปรปรวนแบบทางเดียว

238

จ.4 เปรียบเทียบความแตกตางทางสถิติของคาเฉลี่ยของดัชนีคุณภาพนํ้าระหวาง

ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของโครงการ

สงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลง

อางเก็บนํ้ากระเสียวโดยวิเคราะหความแปรปรวนแบบทางเดียว

239

Page 19: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

สารบัญตาราง (ตอ)

ตารางท่ี

หนา

จ.5 เปรียบเทียบความแตกตางทางสถิติของคาเฉลี่ยของดัชนีคุณภาพนํ้าระหวาง

12 เดือน ของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียวโดยวิเคราะห

ความแปรปรวนแบบทางเดียว

240

จ.6 เปรียบเทียบความแตกตางทางสถิติของคาเฉลี่ยของดัชนีคุณภาพนํ้าระหวาง

12 เดือน ของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากทางนํ้าชลประทานของโครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียวโดยวิเคราะหความแปรปรวนแบบทางเดียว

244

Page 20: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

สารบัญรูป

รูปท่ี

หนา

1 แผนที่จุดตรวจวัดคุณภาพนํ้าของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว 11

2 การจําแนกชนิดของนํ้าชลประทานตามความเค็มและปริมาณโซเดียม 36

3 จุดเก็บตัวอยางนํ้าในพื้นที่โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว 40

4 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับ คาเฉลี่ยของอุณหภูมินํ้า ระหวาง

3 ฤดูกาล ของ ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน

ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้า

กอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

46

5 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับ คาเฉลี่ยของอุณหภูมินํ้า ระหวาง

12 เดือน ของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน

ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้า

กอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

46

6 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับคาเฉลี่ยของความนําไฟฟา ระหวาง

3 ฤดูกาล ของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน

ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้า

กอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

48

7 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับคาเฉลี่ยของความนําไฟฟา ระหวาง

12 เดือน ของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน

ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้า

กอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

49

8 เปรียบเทียบคาเฉลี่ยของ ความเค็ม ระหวาง 3 ฤดูกาล ของตัวอยางนํ้าที่เก็บจาก

อางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษา

กระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

50

9 เปรียบเทียบคาเฉลี่ยของ ความเค็ม ระหวาง 12 เดือน ของ ตัวอยางนํ้าที่เก็บจาก

อางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษา

กระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

51

Page 21: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

สารบัญรูป (ตอ)

รูปท่ี

หนา

10 เปรียบเทียบคาเฉลี่ยของความขุน ระหวาง 3 ฤดูกาล ของตัวอยางนํ้าที่เก็บจาก

อางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษา

กระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

53

11 เปรียบเทียบคาเฉลี่ยของความขุน ระหวาง 12 เดือน ของ ตัวอยางนํ้าที่เก็บจาก

อางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษา

กระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

53

12 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับคาเฉลี่ยของปริมาณสารแขวนลอย

ระหวาง 3 ฤดูกาล ของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้า

ชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวัง

คุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

56

13 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับคาเฉลี่ยของปริมาณสารแขวนลอย

ระหวาง 12 เดือน ของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้า

ชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวัง

คุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

56

14 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับคาเฉลี่ยของ ปริมาณของแข็งทั้งหมด

ที่ละลายในนํ้า ระหวาง 3 ฤดูกาล ของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้า

กระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว

และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

59

15 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับคาเฉลี่ยของ ปริมาณของแข็งทั้งหมด

ที่ละลายในนํ้า ระหวาง 12 เดือน ของ ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้า

กระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว

และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

59

16 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้ากับคาเฉลี่ยของความเปนกรด – ดางระหวาง

3 ฤดูกาล ของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน

ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้า

กอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

62

Page 22: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

สารบัญรูป (ตอ)

รูปท่ี

หนา

17 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับ คาเฉลี่ยของความเปนกรด – ดาง

ระหวาง 12 เดือน ของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้า

ชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวัง

คุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

62

18 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับคาเฉลี่ยของปริมาณออกซิเจนละลายใน

นํ้าระหวาง 3 ฤดูกาล ของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้า

ชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวัง

คุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

65

19 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับคาเฉลี่ยของปริมาณออกซิเจนละลายใน

นํ้าระหวาง 12 เดือน ของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้า

ชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวัง

คุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

65

20 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับคาเฉลี่ยของปริมาณบีโอดี ระหวาง

3 ฤดูกาล ของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน

ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้า

กอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

68

21 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับ คาเฉลี่ยของปริมาณบีโอดี

ระหวาง 12 เดือน ของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้า

ชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวัง

คุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

68

22 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับคาเฉลี่ยของปริมาณซัลไฟดคิดเทียบเปน

ไฮโดรเจนซัลไฟด ระหวาง 3 ฤดูกาล ของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้า

กระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว

และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

71

Page 23: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

สารบัญรูป (ตอ)

รูปท่ี

หนา

23 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับคาเฉลี่ยของปริมาณซัลไฟดคิดเทียบเปน

ไฮโดรเจนซัลไฟด ระหวาง 12 เดือน ของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้า

กระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว

และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

71

24 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับคาเฉลี่ยของปริมาณฟอสเฟตฟอสฟอรัส

ระหวาง 3 ฤดูกาล ของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้า

ชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวัง

คุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

73

25 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับคาเฉลี่ยของปริมาณฟอสเฟตฟอสฟอรัส

ระหวาง 12 เดือน ของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้า

ชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวัง

คุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

73

26 เปรียบเทียบคาเฉลี่ยของปริมาณไนไตรท – ไนโตรเจน ระหวาง 3 ฤดูกาล ของ

ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของโครงการ

สงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลง

อางเก็บนํ้ากระเสียว

75

27 เปรียบเทียบคาเฉลี่ยของปริมาณไนไตรท – ไนโตรเจน ระหวาง 12 เดือน ของ

ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของโครงการ

สงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลง

อางเก็บนํ้ากระเสียว

76

28 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับ คาเฉลี่ยของปริมาณไนเตรท –

ไนโตรเจนระหวาง 3 ฤดูกาล ของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว

ทางนํ้าชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝา

ระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

78

Page 24: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

สารบัญรูป (ตอ)

รูปท่ี

หนา

29 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับ คาเฉลี่ยของปริมาณไนเตรท –

ไนโตรเจน ระหวาง 12 เดือน ของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว

ทางนํ้าชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝา

ระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

78

30 เปรียบเทียบคาเฉลี่ยของปริมาณไนโตรเจนในรูปทีเคเอ็น ระหวาง 3 ฤดูกาล

ของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของ

โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหล

ลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

80

31 เปรียบเทียบคาเฉลี่ยของปริมาณไนโตรเจนในรูปทีเคเอ็น ระหวาง 12 เดือน

ของ ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของ

โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหล

ลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

81

32 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับ คาเฉลี่ยของปริมาณแอมโมเนีย –

ไนโตรเจนระหวาง 3 ฤดูกาล ของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว

ทางนํ้าชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝา

ระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

83

33 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับ คาเฉลี่ยของปริมาณแอมโมเนีย –

ไนโตรเจน ระหวาง 12 เดือน ของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว

ทางนํ้าชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝา

ระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

83

34 เปรียบเทียบคาเฉลี่ยของปริมาณอินทรียสารไนโตรเจน ระหวาง 3 ฤดูกาล

ของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของ

โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหล

ลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

85

Page 25: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

สารบัญรูป (ตอ)

รูปท่ี

หนา

35 เปรียบเทียบคาเฉลี่ยของปริมาณอินทรียสารไนโตรเจน ระหวาง 12 เดือน

ของ ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของ

โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหล

ลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

86

36 เปรียบเทียบคาเฉลี่ยของปริมาณไนโตรเจนทั้งหมด ระหวาง 3 ฤดูกาล ของ

ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของโครงการ

สงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลง

อางเก็บนํ้ากระเสียว

88

37 เปรียบเทียบคาเฉลี่ยของปริมาณไนโตรเจนทั้งหมด ระหวาง 12 เดือน ของ

ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของโครงการ

สงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลง

อางเก็บนํ้ากระเสียว

88

38 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับคาเฉลี่ยของปริมาณแคลเซียม ระหวาง

3 ฤดูกาล ของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน

ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้า

กอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

90

39 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับคาเฉลี่ยของปริมาณแคลเซียม ระหวาง

12 เดือน ของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน

ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้า

กอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

91

40 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับ คาเฉลี่ยของปริมาณแมกนีเซียม

ระหวาง 3 ฤดูกาล ของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้า

ชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวัง

คุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

93

Page 26: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

สารบัญรูป (ตอ)

รูปท่ี

หนา

41 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับ คาเฉลี่ยของปริมาณแมกนีเซียม

ระหวาง 12 เดือน ของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้า

ชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวัง

คุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

93

42 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับคาเฉลี่ยของปริมาณโซเดียม ระหวาง

3 ฤดูกาล ของ ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน

ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้า

กอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

95

43 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับ คาเฉลี่ยของปริมาณโซเดียม

ระหวาง 12 เดือน ของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้า

ชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวัง

คุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

96

44 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้ากับคาเฉลี่ยของปริมาณโพแทสเซียมระหวาง

3 ฤดูกาล ของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน

ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอน

ไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

98

45 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับ คาเฉลี่ยของปริมาณโพแทสเซียม

ระหวาง 12 เดือน ของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้า

ชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวัง

คุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

98

46 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับคาเฉลี่ยของปริมาณคารบอเนต ระหวาง

3 ฤดูกาล ของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน

ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้า

กอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

100

Page 27: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

สารบัญรูป (ตอ)

รูปท่ี

หนา

47 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับ คาเฉลี่ยของปริมาณคารบอเนต

ระหวาง 12 เดือน ของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้า

ชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวัง

คุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

101

48 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับคาเฉลี่ยของปริมาณไบคารบอเนต

ระหวาง 3 ฤดูกาล ของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้า

ชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวัง

คุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

103

49 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับคาเฉลี่ยของปริมาณไบคารบอเนต

ระหวาง 12 เดือน ของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้า

ชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวัง

คุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

103

50 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับคาเฉลี่ยของปริมาณคลอไรด ระหวาง

3 ฤดูกาล ของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน

ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้า

กอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

105

51 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับ คาเฉลี่ยของปริมาณคลอไรด

ระหวาง 12 เดือน ของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้า

ชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวัง

คุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

106

52 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับคาเฉลี่ยของปริมาณซัลเฟ ตระหวาง

3 ฤดูกาล ของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน

ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้า

กอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

108

Page 28: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

สารบัญรูป (ตอ)

รูปท่ี

หนา

53 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับคาเฉลี่ยของปริมาณซัลเฟต ระหวาง

12 เดือน ของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน

ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้า

กอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

108

54 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับ คาเฉลี่ยของเปอรเซ็นตโซเดียม

ที่ละลายนํ้า (SSP) ระหวาง 3 ฤดูกาล ของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้า

กระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว

และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

110

55 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับ คาเฉลี่ยของเปอรเซ็นตโซเดียม

ที่ละลายนํ้า (SSP) ระหวาง 12 เดือนของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้า

กระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว

และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

111

56 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับคาเฉลี่ยของสัดสวนของการดูดซับ

โซเดียม (SAR) ระหวาง 3 ฤดูกาล ของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้า

กระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว

และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

113

57 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับคาเฉลี่ยของสัดสวนของการดูดซับ

โซเดียม (SAR) ระหวาง 12 เดือน ของ ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้า

กระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว

และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

113

58 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับคาเฉลี่ยของปริมาณโซเดียมคารบอเนต

ตกคาง (RSC) ระหวาง 3 ฤดูกาล ของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้า

กระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว

และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

116

Page 29: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

สารบัญรูป (ตอ)

รูปท่ี

หนา

59 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับคาเฉลี่ยของปริมาณโซเดียมคารบอเนต

ตกคาง (RSC) ระหวาง 12 เดือน ของ ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้า

กระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว

และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

116

60 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้ากับคาเฉลี่ยของปริมาณความกระดางทั้งหมด

ในรูป CaCO3 ระหวาง 3 ฤดูกาล ของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้า

กระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว

และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

119

61 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้ากับคาเฉลี่ยของปริมาณความกระดางทั้งหมด

ในรูป CaCO3 ระหวาง 12 เดือน ของ ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้า

กระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว

และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

119

ข.1 จุดเก็บตัวอยางนํ้าจุดที่ 1 : ตนนํ้ากระเสียว ฝายวังคัน 168

ข.2 จุดเก็บตัวอยางนํ้าจุดที่ 2 : บริเวณตนอางเก็บนํ้ากระเสียว 168

ข.3 จุดเก็บตัวอยางนํ้าจุดที่ 3 : บริเวณกลางอางเก็บนํ้ากระเสียว 169

ข.4 จุดเก็บตัวอยางนํ้าจุดที่ 4 : บริเวณกระชังเลี้ยงปลาในอางเก็บนํ้ากระเสียว 169

ข.5 จุดเก็บตัวอยางนํ้าจุดที่ 5 : บริเวณทายอางเก็บนํ้ากระเสียว 170

ข.6 จุดเก็บตัวอยางนํ้าจุดที่ 6 : ฝายวิทยาลัยเกษตร 170

ข.7 จุดเก็บตัวอยางนํ้าจุดที่ 7 : โรงงานนํ้าตาล 171

ข.8 จุดเก็บตัวอยางนํ้าจุดที่ 8 : สะพานวังนํ้าโจน 171

ข.9 จุดเก็บตัวอยางนํ้าจุดที่ 9 : ระบบสงนํ้า 172

ข.10 จุดเก็บตัวอยางนํ้าจุดที่ 10 : ปลายลําหวยขจี 172

ข.11 จุดเก็บตัวอยางนํ้าจุดที่ 11 : สะพานวัดไทร 173

ข.12 การเก็บตัวอยางนํ้า 173

ข.13 การวิเคราะหคุณภาพนํ้าในภาคสนาม 174

ข.14 ทีมงานวิจัย 174

Page 30: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

Page 31: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

บทที่ 1

บทนํา

1.1 คํานํา

ทรัพยากรนํ้าเปนทรัพยากรที่มีความสําคัญตอมนุษย พืช สัตวและสิ่งแวดลอม โดย เฉพาะ

ตอ การเจริญเติบโตของพืชซึ่งเปนจุดเร่ิมตนของหวงโซอาหารกอใหเกิดความหลากหลาย

ทางชีวภาพ การดํารงชีวิตของมนุษยและสัตว และเปนปจจัยสําคัญในการรักษาระบบนิเวศน

ใหมีความสมดุลตามธรรมชาติและยั่งยืน นํ้าเปนทรัพยากรที่ไมมีวันหมดแตในปจจุบันนํ้ากําลัง

ขาดแคลนทั้งในดานปริมาณและคุณภาพ การขาดแคลนนํ้าในดานปริมาณสามารถใชการบริหาร

จัดการนํ้าแกไขไดแตการขาดแคลนนํ้าในดานคุณภาพน้ันการแกไขเปนไปไดยากเน่ืองจากมีสาเหตุ

ที่หลากหลายและซับซอน จึงควรจะมีการตรวจสอบคุณภาพนํ้าในแหลงนํ้าอยางสม่ําเสมอ

มลพิษทางนํ้าเกิดขึ้นไดแทบจะทุกพื้นที่ในประเทศไทยไมเหมือนมลพิษทางอากาศหรือทางเสียง

ที่จะเกิดในเขตเมืองที่มีการจราจรหนาแนนและในเขตอุตสาหกรรม แตมลพิษทางนํ้าเกิดไดทั้งใน

พื้นที่เกษตรกรรม ชุมชนและอุตสาหกรรม น่ันคือมลพิษทางนํ้าสามารถเกิดในทุกพื้นที่ที่มี

การใชนํ้า นํ้าเสียที่เกิดจากโรงงานอุตสาหกรรมยังสามารถบําบัดไดและมีกฎหมายควบคุม

แตการบําบัดนํ้าเสียจาก การ เกษตรทําไดยากเน่ืองจากเปนแหลงกําเนิดมลพิษประเภท

ไมมีจุดแนนอน (non – point source) และมลพิษที่ระบายออกจะมีทั้งที่เกิดจากนํ้าไหลบาหนาดิน

และการระบายนํ้าทิ้งโดยตรง

ประเทศไทยเปนประเทศเกษตรกรรม ซึ่งอาศัยนํ้าจากแหลงนํ้าธรรมชาติและแหลงนํ้า

ชลประทาน ถาแหลงนํ้าที่นํามาใชมีการปนเปอนของมลสารที่กอใหเกิดมลพิษทางนํ้า จะทําให

คุณภาพของนํ้า เปลี่ยนแปลงไปจนไมเหมาะสมตอการนําไปใชประโยชน ซึ่งจะ สงผลกระทบ

ตอ การ เกษตรและเศรษฐกิจของประเทศ รวมทั้งสภาพแวดลอมและสุขภาพของประชาชน

ปจจุบันภาครัฐจึงใหความสําคัญตอปญหามลพิษทางนํ้าโดยมีกฎหมายสิ่งแวดลอม

ออกมาควบคุมรวมทั้งกําหนดใหตองมีการบําบัดนํ้าทิ้งจากอาคาร ที่ดิ นจัดสรร โรงงาน

อุตสาหกรรมและนิคมอุตสาหกรรมกอนปลอยลงสูแหลงนํ้าผิวดิน แหลงนํ้าใตดินและทางนํ้า

ชลประทาน ปญหานํ้าเสียจาก การเกษตรเกิดจาก การใชปุยและสารเคมี ปองกันและกําจัดศัตรูพืช

จํานวนมาก ทําใหเกิด การตกคางของสารอินทรีย ตะกอนแขวนลอย ธาตุอาหารสวนเกินประเภท

ไนโตรเจนและฟอสฟอรัส เมื่อมีการระบายนํ้าออกจากแปลงนา ภายหลังการปลูกขาวและกอนการ

เก็บเกี่ยวหรือจากนํ้าฝนที่ไหลชะพื้นที่นา ลงสูทางนํ้าชลประทานทําใหมลสารเหลาน้ี ไหล ลงสู

ทางนํ้าชลประทานกอ ใหเกิดการเปลี่ยนแปลงคุณภาพนํ้า แมวามลสารเหลาน้ีจะมีคาไมสูงมาก

แตเมื่อปลอย ลงสูทางนํ้าชลประทานแลวสามารถกอใหเกิดการแพรกระจายของวัชพืช ทําให

Page 32: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

2

มีสาหรายและพืชนํ้าเพิ่มจํานวนอยางรวดเร็ว จน เกิดสภาพยูโทรฟเคชั่น ( Eutrophication)

เมื่อสาหรายและพืชนํ้าตายจะกลายเปนอาหารของจุลินทรียในนํ้าทําใหมีปริมาณจุลินทรียเพิ่มขึ้น

จึงมี ปริมาณ ออกซิเจนละลายในนํ้าลดลงกอใหเกิดการเนาเหม็นของทางนํ้าชลประทาน

สงผลกระทบตอระบบนิเวศในแหลงนํ้าและลดคุณคาของการใชประโยชนจากทางนํ้าชลประทาน

ดวย

โครงการวิจัยน้ีเปนโครงการนํารองในการประเมินคุณภาพนํ้าทางกายภาพและเคมี

ในอางเก็บนํ้าขนาดใหญและทางนํ้าชลประทานตามแผนยุทธศาสตร 4 ป ต้ังแต พ .ศ. 2553 - 2556

ของกรมชลประทาน ซึ่งมีเปาประสงคในดานคุณภาพการใหบริการโดยมีตัวชี้วัดเปนรอยละ

ของอางเก็บนํ้าขนาดใหญและทางนํ้าชลประทานที่คุณภาพนํ้าไดเกณฑมาตรฐาน งานวิจัยน้ี

ไดกําหนดพื้นที่ศึกษา คือ อางเก็บนํ้ากระเสียวและทางนํ้าชลประทานในเขตพื้นที่โครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียวเน่ืองจาก

1) โครงการ สงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว มีอางเก็บนํ้ากระเสียว ซึ่งเปนอางเก็บนํ้า

ขนาดใหญและมีพื้นที่การเพาะปลูกสวนใหญเปนนาขาวซึ่งถือวานํ้าทิ้งจากนาขาวเปนแหลงกําเนิด

มลพิษทางนํ้าที่สําคัญแหลงหน่ึง

2) ฝายจัดสรรนํ้าและปรับปรุงระบบชลประทานของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษา

กระเสียวไดตรวจสอบคุณภาพนํ้าเปนประจําทุกเดือนรวมระยะเวลา 3 ป โดยใชเคร่ืองวัดคุณภาพนํ้า

แบบหัวรวมวัดคาอุณหภูมินํ้า ความเปนกรด – ดาง และปริมาณออกซิเจนละลายในนํ้า จากขอมูล

คุณภาพนํ้าของโครงการ สงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว สามารถนํามาเปนขอมูลพื้นฐานในการ

กําหนดจุดเก็บตัวอยางนํ้าอีกทั้งเปนการแสดงวาโครงการ สงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว

ใหความสําคัญกับการตรวจสอบคุณภาพนํ้า ดังน้ันจึงควรมีการวิเคราะหดัชนีคุณภาพนํ้าชนิดอ่ืน

ในหองปฏิบัติการเพื่อใหมีขอมูลคุณภาพนํ้าที่ครอบคลุมและสามารถนําไปใชประโยชนในการ

ประเมินคุณภาพนํ้าไดดีขึ้นกวาขอมูลคุณภาพนํ้าที่ไดจาก เคร่ืองวัดคุณภาพนํ้า แบบหัวรวม

เพียงอยางเดียว

จากเหตุผลดังกลาวโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียวจึงควรเปนโครงการนํารอง

ในการประเมินคุณภาพนํ้าตามแผนยุทธศาสตร 4 ป ของกรมชลประทาน ผลวิเคราะหคุณภาพนํ้า

ที่ไดจะมีประโยชนในการควบคุมคุณภาพนํ้าของโครงการ สงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว ใหอยูใน

เกณฑมาตรฐานและนําไปสูการควบคุมการระบายนํ้าทิ้งจากการเกษตรกรรม อุตสาหกรรม

และชุมชนลงสูทางนํ้าชลประทานซึ่งเปนการควบคุมมลพิษทางนํ้ารวมทั้งเปนการปองกัน

การแพรกระจายของมลพิษทางนํ้าไปสูแมนํ้าสุพรรณหรือแมนํ้าทาจีน

Page 33: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

3

1.2 วัตถุประสงค

1.2.1 เพื่อตรวจสอบและวิเคราะหคุณภาพนํ้าทางกายภาพและเคมีในอางเก็บนํ้ากระเสียว

และทางนํ้าชลประทานในเขตพื้นที่โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว

1.2.2 เพื่อประเมินคุณภาพนํ้าในอางเก็บนํ้ากระเสียวและทางนํ้าชลประทานในเขตพื้นที่

โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว โดยเทียบกับคามาตรฐานนํ้าชลประทาน มาตรฐาน

การระบายนํ้าที่มีคุณภาพตํ่าลงทางนํ้าชลประทานและทางนํ้าที่เชื่อมตอกับทางนํ้าชลประทานในเขต

พื้นที่โครงการชลประทาน มาตรฐานคุณภาพนํ้าในแหลงนํ้าผิวดิน และเกณฑคุณภาพนํ้าที่เหมาะสม

ตอการดํารงชีวิตของสัตวนํ้า

1.2.3 เพื่อเปนขอมูลในการควบคุมคุณภาพนํ้าทิ้งที่ระบายลงสูทางนํ้าชลประทานซึ่งเปน

การควบคุมมลพิษทางนํ้าเพื่อใหคุณภาพนํ้าในโครงการ สงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว อยูในเกณฑ

มาตรฐานและเปนการปองกันการแพรกระจายของมลพิษทางนํ้าไปสูแมนํ้าทาจีน

1.3 ขอบเขตของโครงการวิจัย

โครงการวิจัยน้ีเปนโครงการนํารองในการประเมินคุณภาพนํ้าทางกายภาพและเคมี

ในอางเก็บนํ้าขนาดใหญและทางนํ้าชลประทานตามเปาประสงคของกรมชลประทานในดาน

คุณภาพการใหบริการซึ่งมีตัวชี้วัดเปนรอยละของอางเก็บนํ้าขนาดใหญและทางนํ้าชลประทาน

ที่คุณภาพนํ้าไดเกณฑมาตรฐาน มีขอบเขตของโครงการวิจัย ดังน้ี

1.3.1 กําหนดพื้นที่ศึกษา คือ อางเก็บนํ้ากระเสียวและทางนํ้าชลประทานในเขตพื้นที่

โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว จุดเก็บตัวอยางมีทั้งหมด 11 จุด ซึ่งครอบคลุมพื้นที่

ในอางเก็บนํ้ากระเสียวและทางนํ้าชลประทานของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว สามารถ

แบงจุดเก็บตัวอยางนํ้าทั้ง 11 จุด ออกเปน 3 กลุม ไดแก

กลุมที่ 1 เปนตัวแทนคุณภาพนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว คือ จุดเก็บตัวอยางนํ้าจาก

บริเวณตนอางเก็บนํ้ากระเสียว บริเวณกลางอางเก็บนํ้ากระเสียว บริเวณกระชังเลี้ยงปลา

ในอางเก็บนํ้ากระเสียว และบริเวณทายอางเก็บนํ้ากระเสียว

กลุมที่ 2 เปนตัวแทนคุณภาพนํ้าของทางนํ้าชลประทาน คือ จุดเก็บตัวอยางนํ้าจาก

ฝายวิทยาลัยเกษตร โรงงานนํ้าตาล สะพานวังนํ้าโจน ระบบสงนํ้า ปลายลําหวยขจี และสะพาน

วัดไทร

กลุมที่ 3 เปนจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว คือ จุดเก็บ

ตัวอยางนํ้าจากตนนํ้ากระเสียว ฝายวังคัน

Page 34: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

4

1.3.2 เก็บตัวอยางนํ้าเดือนละ 1 คร้ัง เปนระยะเวลา 12 เดือน เพื่อวิเคราะหคุณภาพนํ้า

ทางกายภาพและเคมี ไดแก อุณหภูมินํ้า ความนําไฟฟา ความเค็ม ความขุน ปริมาณ สารแขวนลอย

ปริมาณของแข็งทั้งหมดที่ละลายในนํ้า ความเปนกรด - ดาง ปริมาณออกซิเจนละลาย ในนํ้า ปริมาณ

บีโอดี ปริมาณซัลไฟดคิดเทียบเปนไฮโดรเจนซัลไฟด ปริมาณฟอสเฟตฟอสฟอรัส ปริมาณไนไตรท

– ไนโตรเจน ปริมาณไนเตรท - ไนโตรเจน ปริมาณไนโตรเจนในรูปทีเคเอ็น ปริมาณแอมโมเนีย –

ไนโตรเจน ปริมาณอินทรียสารไนโตรเจน ปริมาณไนโตรเจนทั้งหมด ปริมาณแคลเซียม ปริมาณ

แมกนีเซียม ปริมาณโซเดียม ปริมาณ โพแทสเซียม ปริมาณคารบอเนต ปริมาณไบคารบอเนต

ปริมาณคลอไรด ปริมาณซัลเฟต เปอรเซ็นตโซเดียมที่ละลายนํ้า (SSP) ปริมาณโซเดียมคารบอเนต

ตกคาง (RSC) สัดสวนของการดูดซับโซเดียม (SAR) และปริมาณความกระดางทั้งหมดในรูป

CaCO3

1.3.3 จากน้ัน นําผลวิเคราะหคุณภาพนํ้าที่ไดไปเปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐาน

นํ้าชลประทาน มาตรฐานการระบายนํ้าที่มีคุณภาพตํ่าลงทางนํ้าชลประทานและทางนํ้าที่เชื่อมตอกับ

ทางนํ้าชลประทานในเขตพื้นที่โครงการชลประทาน มาตรฐานคุณภาพนํ้าในแหลงนํ้าผิวดิน

และเกณฑคุณภาพนํ้าที่เหมาะสมตอการดํารงชีวิตของสัตวนํ้า

1.4 ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ

1.4.1 เน่ืองจากงานวิจัยน้ีไดนําขอมูลคุณภาพนํ้าทางกายภาพและเคมีของอางเก็บนํ้า

กระเสียวและทางนํ้าชลประทานในเขตพื้นที่โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียวไปเทียบกับ

เกณฑมาตรฐานตาง ๆ ดังน้ันโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียวสามารถนําไปใชเปนขอมูล

ในการควบคุมคุณภาพนํ้าทิ้งที่ระบายลงสูทางนํ้าชลประทานซึ่งเปนการควบคุมมลพิษทางนํ้า

เพื่อใหคุณภาพนํ้าในโครงการ สงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว อยูในเกณฑมาตรฐานและเปนการ

ปองกันการแพรกระจายของมลพิษทางนํ้าไปสูแมนํ้าทาจีน

1.4.2 โครงการวิจัยน้ีจะเปนโครงการนํารองในการตรวจสอบคุณภาพนํ้าในอางเก็บนํ้า

ขนาดใหญและทางนํ้าชลประทานที่อยูในเขตพื้นที่ของโครงการชลประทานตาง ๆ รวมทั้งกระตุน

ใหหนวยงานที่รับผิดชอบในเร่ืองน้ีสนใจใหความสําคัญและเห็นประโยชนของการตรวจสอบ

คุณภาพนํ้า

1.4.3 เมื่อมีการตรวจสอบคุณภาพนํ้าของอางเก็บนํ้าขนาดใหญและทางนํ้าชลประทาน

อยางสม่ําเสมอและครอบคลุมพื้นที่ในโครงการชลประทานตาง ๆ เปนระยะเวลาพอสมควร

จะนําไปสูการกําหนดเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้าชลประทาน มาตรฐานการระบายนํ้าที่มี

คุณภาพตํ่าลงทางนํ้าชลประทานและทางนํ้าที่เชื่อมตอกับทางนํ้าชลประทานในเขตพื้นที่โครงการ

ชลประทานใหมีดัชนีคุณภาพนํ้าที่ทันสมัยและเหมาะสมกับสภาพแวดลอมของพื้นที่

Page 35: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

5

และกระบวนการที่แทจริงของกิจกรรมทางการเกษตรและอุตสาหกรรมที่อยูในเขตพื้นที่รับผิดชอบ

ของสํานักชลประทานตาง ๆ

Page 36: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

บทท่ี 2

เอกสารท่ีเกี่ยวของ

2.1 ขอมูลพื้นฐานของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว

โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียวต้ังอยูทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของจังหวัด

สุพรรณบุรี ณ ตําบลดานชาง อําเภอดานชาง จังหวัดสุพรรณบุรี ที่แลตติจูด 14 0 49' 57 '' ลองติจูด

99 0 39' 41 '' ระยะเวลากอสรางโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว รวม 16 ป โดยเร่ิมต้ังแต

ป พ.ศ. 2509 แลวเสร็จป พ .ศ. 2524 ประกอบดวย เขื่อนเก็บกักนํ้า เขื่อนทดนํ้า ระบบสงนํ้าและ

ระบบ ระบายนํ้า โดย อางเก็บนํ้ากระเสียวมีความจุสูงสุด 390 ลานลูกบาศกเมตร ที่ระดับ +90.64

เมตร (ร.ท.ก.) มีพื้นที่ผิวนํ้า 46 ตารางกิโลเมตร ปริมาณนํ้าเก็บกัก 240 ลานลูกบาศกเมตร ที่ระดับ

+87.00 เมตร (ร.ท.ก.) มีพื้นที่ผิวนํ้า 35 ตารางกิโลเมตร ปริมาณนํ้าตํ่าสุด 40 ลานลูกบาศกเมตร

ที่ระดับ +78.00 เมตร (ร.ท.ก .) มีพื้นที่ผิวนํ้า 10.42 ตารางกิโลเมตร เปนปริมาณนํ้า

นอนกนอาง 40 ลานลูกบาศกเมตร ปริมาณนํ้าที่ใชการ 200 ลานลูกบาศกเมตร มีพื้นที่รับนํ้าฝน

เหนือเขื่อน 1,220 ตารางกิโลเมตร สําหรับระบบสงนํ้าและระบบระบายนํ้าประกอบดวย

คลองสงนํ้าทั้งหมด 7 สาย และคลองระบายนํ้า จํานวน 8 สาย

พื้นที่ความรับผิดชอบของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียวประกอบดวยพื้นที่

อางเก็บนํ้าและพื้นที่หัวงาน อยูในเขตตําบลดานชาง อําเภอดานชาง จังหวัดสุพรรณบุรี พื้นที่ในเขต

ชลประทานอยูในพื้นที่ 50 หมูบาน 11 ตําบล 3 อําเภอ โดยมีพื้นที่ทั้งหมด 130,000 ไร พื้นที่

ชลประทาน 110,844 ไร ใน 3 อําเภอ ไดแก

1. อําเภอเดิมบางนางบวช ประกอบดวย ตําบลหัวนา ตําบลปาสะแก ตําบลวังศรีราช

ตําบลบอกรุ และตําบลหนองกระทุม

2. อําเภอสามชุก ประกอบดวย ตําบลหนองสะเดา ตําบลหนองผักนาก และตําบลกระเสียว

3. อําเภอหนองหญาไซ ประกอบดวย ตําบลแจงงาม ตําบลหนองโพธิ์ และตําบลหนอง

หญาไซ

การใชประโยชนที่ดินเพื่อการเกษตรของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว

ในป พ .ศ. 2553 สวนใหญใชทํานา คิดเปน 66.54 เปอรเซ็นต รองลงมา คือ ออย ไมผล บอปลา

และพืชผัก ตามลําดับ โดยตําบลที่มีพื้นที่ทํานาขาวมากที่สุด คือ ตําบลหนองสะเดา คิดเปน

99.17 เปอรเซ็นต และอําเภอที่มีพื้นที่ทํานาขาวมากที่สุด คือ อําเภอสามชุก คิดเปน 98.09

เปอรเซ็นต รายละเอียดการใชประโยชนที่ดินเพื่อการเกษตรแยกเปนตําบลและอําเภอ แสดงดัง

ตารางที่ 1

Page 37: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

7

ตารางท่ี 1 การใชประโยชนท่ีดินเพื่อการเกษตรของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียวในป พ .ศ. 2553

อําเภอ ตําบล พื้นท่ีท้ังหมด

(ไร)

พื้นท่ีรับน้ํา

(ไร)

ขาว

(ไร)

ออย

(ไร)

ไมผล

(ไร)

บอปลา

(ไร)

พืชผัก

(ไร)

หนองหญาไซ

หนองโพธ์ิ 48,971 39,987 24,409 620 542 - 160

หนองหญาไซ 9,983 8,170 5,438 200 165 10 -

แจงงาม 5,608 5,313 1,242 300 74 24 41

รวม 64,562 53,470 31,089 1,120 781 34 201

สามชุก

หนองสะเดา 20,861 17,320 9,676 - 15 13 4

หนองผักนาก 2,876 2,516 950 - 36 6 7

กระเสียว 993 847 802 - - - -

รวม 24,730 20,683 11,428 - 51 19 11

เดิมบางนางบวช

บอกรุ 15,679 14,411 5,413 1,090 241 7 -

วังศรีราช 2,977 2,531 1,215 170 29 - -

ปาสะแก 6,931 6,021 2,168 560 79 16 4

หัวนา 8,465 7,759 4,402 580 21 9 -

หนองกระทุม 6,656 5,969 2,970 305 98 - -

รวม 40,708 36,691 16,168 2,705 468 32 4

รวมท้ังหมด 130,000 110,844 58,685 3,825 1,300 85 216

ที่มา : โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว สํานักชลประทานที่ 12 กรมชลประทาน

Page 38: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

8

จากการประชุมคณะกรรมการจัดการนํ้าชลประทานโครงการกระเสียวเพื่อรวมกัน

พิจารณาบริหารจัดการนํ้าในอางเก็บนํ้ากระเสียว ป พ .ศ. 2553 มีมติกําหนดใหมีการสงนํ้า

เพื่อการเพาะปลูกพืชฤดูแลง ป พ .ศ. 2553 ในวันที่ 20 กุมภาพันธ 2553 ซึ่งโครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียวไดออกประกาศโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว ฉบับที่ 1/2553

โดยกําหนดแผนการสงนํ้าเพื่อการปลูกพืชฤดูแลง ป พ .ศ. 2553 ซึ่งจะสงนํ้าแบบหมุนเวียน

แสดงดังตารางที่ 2 สวนแผนการสงนํ้าเพื่อการปลูกพืชฤดูฝน ป พ .ศ. 2553 ไดกําหนดวา

จะเปดนํ้าที่เขื่อนกระเสียวในวันที่ 31 กรกฎาคม 2553 และวันที่ 1 สิงหาคม 2553 จะสงนํ้า

เขาคลองสงนํ้า ตามประกาศโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว ฉบับที่ 5/2553

และกําหนดการปดนํ้าฤดูฝน ป พ .ศ. 2553 ในวันที่ 15 ธันวาคม 2553 ตามประกาศโครงการ

สงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว ฉบับที่ 9/2553

ตารางท่ี 2 แผนการสงนํ้าเพื่อการปลูกพืชฤดูแลงป พ .ศ. 2553 ของโครงการสงนํ้าและบํารุง

รักษากระเสียว

ชวงเวลา การสงนํ้า (วัน) ปริมาณนํ้าท่ีใชโดยประมาณ

(ลาน ลบ .ม.)

20 ก.พ. 53 ถึง 2 เม.ย. 53 สงนํ้า 41 66

3 เม.ย. 53 ถึง 12 เม.ย. 53 หยุดการสงนํ้า 10 -

13 เม.ย. 53 ถึง 30 เม.ย. 53 สงนํ้า 18 32

1 พ.ค. 53 ถึง 10 พ.ค. 53 หยุดการสงนํ้า 10 -

11 พ.ค. 53 ถึง 28 มิ.ย. 53 สงนํ้า 49 52

รวม 150

ที่มา : โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว สํานักชลประทานที่ 12 กรมชลประทาน

โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียวมีสถานีวัดปริมาณนํ้าฝนทั้งหมด 13 สถานี

ซึ่งครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมดของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว โดยสถานีตรวจวัด

ทั้ง 13 สถานี ต้ังอยูที่ หัวงานโครงการ หัวเขื่อน และคลองสงนํ้าทั้ง 7 สาย สําหรับปริมาณ

นํ้าฝนเฉลี่ยทั้งโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียวในป พ .ศ. 2553 มีคาเทากับ 1030.12

มิลลิเมตร แสดงดังตารางที่ 3

Page 39: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

7

ตารางท่ี 3 ปริมาณนํ้าฝนของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว ในป พ .ศ. 2553

สถานีตรวจวัด

เดือน

ปริมาณน้ําฝน (มิลลิเมตร)

หัวงาน

โครงการ

หัวเขื่อน 1 ซาย 1 ขวา – 1 ซาย 1 ซาย -1 ขวา – 1 ซาย 1 ขวา 1ซาย- 1 ขวา 1ขวา - 1ขวา 2 ซาย – 1 ขวา เฉลี่ย

รายเดือน 0+000 0+000 3+700 12+500 0+000 6+000 7+500 15+000 0+000 5+200 9+800 8+300

KS - 1 KS - 2 KS - 3 KS - 4 KS - 5 KS - 6 KS - 7 KS - 8 KS - 9 KS - 10 KS - 11 KS - 12 KS - 13

มกราคม 5.9 5 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 5.5

กุมภาพันธ 1.2 0.9 0 0 0 0 0 10.4 0 65 3.7 0 0 1.1

มีนาคม 10.1 7 0 0 0 0 0 11.5 35.4 39.5 38 60 32.5 8.6

เมษายน 3 2.5 2.5 15 30 18.5 22.4 27.2 5.2 33 13.7 6 8.5 2.8

พฤษภาคม 34.4 49.5 47.2 54.5 47.2 49.3 42.4 54.4 68.2 75.9 81.7 50.7 52 42.0

มิถุนายน 98.5 131.4 92.5 103.6 99.5 89.5 77.9 108.9 70.1 118.2 62.2 81.4 54.9 115.0

กรกฎาคม 222 232.8 94.1 125.2 176.4 119.4 144.2 146.6 114.9 103.5 136.3 70.8 81 227.4

สิงหาคม 239.5 285.3 157.2 198.2 181.3 118.6 180.6 172.7 132.7 131.4 193.5 110.8 158.3 262.4

กันยายน 213.6 217.5 249.7 260.2 248.7 232.1 257.5 287.9 237.3 321.4 362.1 178.8 276.6 215.6

ตุลาคม 289.7 260.7 247.7 308.6 267.2 302.9 261.5 371.4 255.7 336.5 245.9 225.7 237.8 275.2

พฤศจิกายน 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0

ธันวาคม 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0

ปริมาณน้ําฝนรวม

แตละสถาน ี1117.9 1192.6 890.9 1065.3 1050.3 930.3 986.5 1191 919.5 1224.4 1137.1 784.2 901.6

ปริมาณน้ําฝนเฉลี่ย

แตละสถานี 124.21 132.51 98.99 118.37 116.70 103.37 109.61 132.33 102.17 136.04 126.34 87.13 100.18

ปริมาณน้ําฝนเฉล่ียทั้งโครงการ 1030.12

ที่มา : โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว สํานักชลประทานที่ 12 กรมชลประทาน

Page 40: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

10

2.2 ขอมูลคุณภาพนํ้าของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว

ฝายจัดสรรนํ้าและปรับปรุงระบบชลประทานของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว

มีการตรวจสอบคุณภาพนํ้าเปนประจําทุกเดือนเดือนละ 1 คร้ัง โดยใชเคร่ืองวัดคุณภาพนํ้า

แบบหัววัดรวม คาคุณภาพนํ้าที่ตรวจวัด คือ อุณหภูมินํ้า ความเปนกรด - ดาง และ ปริมาณ

ออกซิเจนละลายในนํ้า ซึ่งมีจุดตรวจวัด 9 จุด ไดแก

จุดตรวจวัดที่ 1 ตนนํ้ากระเสียว วังคัน หมูที่ 1 ต.วังคัน อ.ดานชาง จ.สุพรรณบุรี

จุดตรวจวัดที่ 2 อางเก็บนํ้ากระเสียว หมูที่ 3 ต.ดานชาง อ.ดานชาง จ.สุพรรณบุรี

จุดตรวจวัดที่ 3 ฝายวิทยาลัยเกษตร หมูที่ 1 ต.ดานชาง อ.ดานชาง จ.สุพรรณบุรี

จุดตรวจวัดที่ 4 โรงงานนํ้าตาล หมูที่ 10 ต.หนองมะคาโมง อ.ดานชาง จ.สุพรรณบุรี

จุดตรวจวัดที่ 5 สะพานวังนํ้าโจน หมูที่ 10 ต.หนองมะคาโมง อ.ดานชาง จ.สุพรรณบุรี

จุดตรวจวัดที่ 6 ระบบสงนํ้า หมูที่ 1 ต.หนองกระทุม อ.เดิมบางนางบวช จ.สุพรรณบุรี

จุดตรวจวัดที่ 7 ปลายลําหวยขจี หมูที่ 2 ต.วังศรีราช อ.เดิมบางนางบวช จ.สุพรรณบุรี

จุดตรวจวัดที่ 8 สะพานวัดไทร หมูที่ 1 ต.กระเสียว อ.สามชุก จ.สุพรรณบุรี

จุดตรวจวัดที่ 9 บอยืมฝงขวา มะขามเฒาอูทอง หมูที่ 1 ต.กระเสียว อ.สามชุก จ.สุพรรณบุรี

สําหรับแผนที่จุดตรวจวัด คุณภาพนํ้า ทั้ง 9 จุดของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว

แสดงดังรูปที่ 1

จากขอมูลคุณภาพนํ้าที่ตรวจวัด ต้ังแตป พ .ศ. 2549 – 2552 พบวา คุณภาพนํ้ามีคา อยูใน

เกณฑมาตรฐานนํ้าชลประทาน ของ FAO (1985) มาตรฐานการระบายนํ้าที่มีคุณภาพตํ่าลงทางนํ้า

ชลประทานและทางนํ้าที่เชื่อมตอกับทางนํ้าชลประทานในเขตพื้นที่โครงการชลประทาน เกณฑ

คุณภาพนํ้าที่เหมาะสมตอการดํารงชีวิตของสัตวนํ้า และ มาตรฐานคุณภาพนํ้าในแหลงนํ้าผิวดิน

ประเภทที่ 2 ยกเวน ปริมาณออกซิเจนละลายในนํ้าของจุดตรวจวัดที่ 1 เดือนกุมภาพันธ มีนาคม

และมิถุนายน 2549 จุดตรวจวัดที่ 2 เดือนมีนาคม 2549 และเดือนมิถุนายน 2550 จุดตรวจวัดที่ 3

เดือนมิถุนายน 2549 จุดตรวจวัดที่ 4 เดือนมกราคม มิถุนายน และกรกฎาคม 2549 จุดตรวจวัดที่ 5

เดือนมกราคม มิถุนายน กรกฎาคม และกันยายน 2549 จุดตรวจวัดที่ 6 เดือนมกราคม กุมภาพันธ

มิถุนายน กรกฎาคม และกันยายน 2549 จุดตรวจวัดที่ 7 เดือนมกราคม มิถุนายน และกรกฎาคม

2549 จุดตรวจวัดที่ 8 เดือนมกราคม มีนาคมถึงกรกฎาคม กันยายนถึงธันวาคม 2549 เดือน

มกราคมถึงพฤษภาคม และธันวาคม 2550 เดือนพฤศจิกายนและธันวาคม 2552 จุดตรวจวัดที่ 8

เดือนมกราคม เมษายนถึงธันวาคม 2549 เดือนมกราคมถึงพฤษภาคม กรกฎาคมถึงธันวาคม 2550

เดือนมกราคม เมษายนถึงตุลาคม 2551 และกันยายนถึงธันวาคม 2552 มีคาอยูในเกณฑมาตรฐาน

คุณภาพนํ้าในแหลงนํ้าผิวดินประเภทที่ 3 สวนจุดตรวจวัดที่ 8 เดือนกุมภาพันธ 2549 และจุด

ตรวจวัดที่ 9 เดือนมีนาคม 2549 มีคาอยูในเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้าในแหลงนํ้าผิวดินประเภทที่ 4

Page 41: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

11

#S

#S

#S

#S

#S#S

#S#S

#S#S

#S#S

อ �างเก ็�บน �ำกระเส ี�ยว

ร.4ขวา

ร.1ซ �าย

ร.3ขวา

ร.1ขวา

ร.2ขวา

ร.1ขวา -1ซ �าย

ร.1ซ �าย -1ซ �าย

ห �วย

ก ระ เ

ส ี�ย ว

�วยกระเส ี�ยว

�ยว

ห �วยกร

ะเส

ี�ยว

ห �วยกร

ะเส ี�ยว

ส �ยว

ห �วยกร

ะเส

ี�ยว

1 ขวา

1 ซ �าย1ขวา - 1ซ �าย

1ขวา - 1ขวา

2ซ �าย - 1ขวา1ซ �าย

- 1ขวา

1ซ �าย-1ขวา-1ซ �าย

ลำห �วยกระเส ี�ยว

จุดท่ี 2

จุดท่ี 1

จุดท่ี 8

จุดท่ี 9

จุดท่ี 7 จุดท่ี 6

จุดท่ี 5

จุดท่ี 4 จุดท่ี 3

รูปท่ี 1 แผนท่ีจุดตรวจวัดคุณภาพนํ้าของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว

Page 42: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

12

2.3 ความสัมพันธระหวางการใชประโยชนท่ีดินและคุณภาพนํ้า

พื้นที่โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียวมีการใชประโยชนที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม

และอุตสาหกรรมโดยในภาคเกษตรกรรมสวนใหญจะทํานาขาวและไรออย การใชประโยชนที่ดิน

แตละประเภทมีผลตอคุณภาพนํ้าแตกตางกัน เมื่อพิจารณาผลกระทบของการใชประโยชนที่ดิน

ตอคุณภาพนํ้าทางกายภาพโดยใชการเปรียบเทียบอัตราสวนของพื้นที่ที่เปลี่ยนแปลง

จากสภาพธรรมชาติตอพื้นที่ธรรมชาติ พบวา พื้นที่อยูอาศัยและทําการเกษตรกอใหเกิดผลกระทบ

ตอคุณภาพนํ้าทางกายภาพมากที่สุด คา ความนําไฟฟาและปริมาณของแข็งทั้งหมดในนํ้าในพื้นที่

อยูอาศัยและทําการเกษตรมีคาสูงกวาพื้นที่ทําไรเลื่อนลอย พื้นที่ปาธรรมชาติและพื้นที่เลี้ยงสัตว

สวนความขุน สี อุณหภูมิ นํ้า และความโปรงแสงในรูปความลึกมีคาไมตางกันอยางชัดเจน

ตามประเภทของการใชประโยชนที่ดินแตจะผันแปรตามฤดูกาลมากกวา (วัชรีพร , 2540)

สอดคลองกับงานวิจัยของพจนา (2536) ซึ่งศึกษาความสัมพันธระหวางการใชที่ดินกับคุณภาพนํ้า

ในลุมนํ้าคลองลาด จังหวัดฉะเชิงเทรา พบวา ความขุนจะสูงสุดในบริเวณชวงกลางของลํานํ้า

ซึ่งเปนบริเวณที่มีการทําไรมากที่สุด ปริมาณ บีโอดีจะสูงเมื่อนํ้าไหลผานเขตชุมชนและปศุสัตว

โดยจะมีคาสูงสุดในชวงปลายของลํานํ้า ปริมาณของไนเตรท - ไนโตรเจนมีคาสูงในบริเวณที่ทําไร

สวนปริมาณ ของฟอสเฟตมีคาเพิ่มขึ้นตามระยะทางที่นํ้าไหลผานและสูงสุดในบริเวณชวงปลาย

ของลํานํ้าเน่ืองจากไดรับการปนเปอนของนํ้าทิ้งจากบานเรือนที่มีผงซักฟอกปนเปอน

นอกจากน้ีวิทยา วุนชุม (2543) ไดศึกษาการเปลี่ยนแปลงคุณภาพนํ้าและการสะสม

ของฟอสฟอรัสและไนโตรเจนในดินกนบอเลี้ยงกุงกุลาดําระบบความเค็มตํ่า พบวา ความเปน

กรด - ดาง ปริมาณของแข็งทั้งหมดที่ละลายในนํ้า ปริมาณของแข็งแขวนลอยทั้งหมด และปริมาณ

บีโอดีมีคาสูงกวามาตรฐานการระบายนํ้าลงทางนํ้าชลประทาน นอกจากน้ี ปริมาณออกซิเจนละลาย

ในนํ้า ปริมาณบีโอดี ความเปนกรด – ดาง ปริมาณของแข็งแขวนลอย ปริมาณไนโตรเจนทั้งหมด

และ ปริมาณ ฟอสฟอรัสทั้งหมดเพิ่มขึ้นตามระยะเวลาการเลี้ยงกุงอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

สวนความโปรงแสง อุณหภูมิ นํ้า ความเค็ม ปริมาณ ของแข็งทั้งหมด ที่ละลายในนํ้า ความกระดาง

ปริมาณ ไนเตรท - ไนโตรเจน และปริมาณ ออรโธฟอสเฟต มีคาลดลงตามระยะเวลาการเลี้ยงกุง

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

ปญหานํ้าเสียจากเกษตรกรรมมีแหลงกําเนิดจากการเลี้ยงสุกร การเลี้ยงสัตวปก การเลี้ยงโค

การเพาะเลี้ยงสัตวนํ้า และการเพาะปลูก ซึ่งนํ้าเสียจาก การเพาะเลี้ยงสัตวนํ้าและการเพาะปลูก

ทําใหเกิดนํ้าเสียที่มีความสกปรกไมสูงแตมีปริมาณมาก สวนนํ้าเสียจากการเลี้ยงสุกรทําใหเกิด

นํ้าเสียซึ่งมีความสกปรกสูง นํ้าเสียจากการเกษตรกรรมที่เกิดขึ้นทั้งหมดมีประมาณ

114 ลานลูกบาศกเมตรตอวัน ทําใหเกิดปริมาณความสกปรก 890 ตันบีโอดีตอวัน แบงเปนนํ้าทิ้ง

จากการเพาะปลูกประเภททํานาประมาณ 106.8 ลานลูกบาศกเมตรตอวัน คิดเปนปริมาณ

Page 43: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

13

ความสกปรก 390 ตันบีโอดีตอวัน นํ้าทิ้งจากการเพาะเลี้ยงสัตวนํ้ามีประมาณ 7.1 ลานลูกบาศกเมตร

ตอวัน ทําใหเกิดปริมาณความสกปรก 200 ตันบีโอดีตอวัน นํ้าเสียจากการเลี้ยงสุกรเปนนํ้าทิ้ง

ที่มีความสกปรกสูงมีประมาณ 0.1 ลานลูกบาศกเมตรตอวัน ทําใหเกิดปริมาณความสกปรก

300 ตันบีโอดีตอวัน (กรมควบคุมมลพิษ, Online) สอดคลองกับผลการศึกษาของเสาวนีย (2545)

ซึ่งพบวาการใชประโยชนที่ดินที่กอใหเกิดผลกระทบตอคุณภาพนํ้าของอางเก็บนํ้าลําตะคอง

คือ การประกอบกิจกรรมปศุสัตวโดยเฉพาะบริเวณพื้นที่รอบอางเก็บนํ้าลําตะคองซึ่งมีปริมาณ

คาภาระบีโอดีสูงที่สุดถึง 16,213 กิโลกรัมตอวัน คิดเปนรอยละ 81.81 ของคาภาระบีโอดี

จากการใชประโยชนที่ดินทั้งหมด

ปญหานํ้าเสียจากการเกษตรกรรมที่เกิดจากการเพาะปลูกสวนใหญจะเกิดจากการทํานา

เน่ืองจากพื้นที่นามีมากกวารอยละ 30 ของพื้นที่เพาะปลูกทั้งหมดซึ่งมีประมาณ 130 ลานไร

คิดเปนพื้นที่การทํานา เกือบ 1 ใน 3 ของพื้นที่ประเทศและกระจายอยูทั่วทุกภาค ของประเทศไทย

ขอมูลจากกรมควบคุมมลพิษ พบวา ป พ.ศ. 2545 มีปริมาณความสกปรกในรูปบีโอดี

จากการทํานาขาวคิดเปน 365,088.5 กิโลกรัมตอวัน โดยภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีปริมาณความ

สกปรกในรูปบีโอดี มากที่สุด คือ มีคา เทากับ 178,123.0 กิโลกรัมตอวัน รองลงมา คือ ภาคเหนือ

ภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคใต มีปริมาณความสกปรกในรูปบีโอดี เทากับ 85,693.7 กิโลกรัม

ตอวัน 72,392.3 กิโลกรัมตอวัน 16,301.1 กิโลกรัมตอวัน และ 12,578.4 กิโลกรัมตอวัน ตามลําดับ

ผลรวมปริมาณความสกปรกในรูปบีโอดีของทุกภาค เทากับ 365,088.5 กิโลกรัมตอวัน

ภาคกลางมีปริมาณความสกปรกเกิดขึ้นมากที่สุดแมวาจะมีพื้นที่ทํานานอยกวา

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเน่ืองจากภาคกลางมีพื้นที่การทํานาปรังมาก โดยนาปรังมีปริมาณนํ้าทิ้ง

488 ลูกบาศกเมตรตอไรตอป มีคาบีโอดี 5.5 มิลลิกรัมตอลิตร มีปริมาณความสกปรกในรูปบีโอดี

0.007 กิโลกรัมตอไรตอวัน สวนนาปมีปริมาณนํ้าทิ้ง 820 ลูกบาศกเมตรตอไรตอป มีคาบีโอดี

2.4 มิลลิกรัมตอลิตร มีปริมาณความสกปรกในรูปบีโอดี 0.005 กิโลกรัมตอไรตอวัน (กรมควบคุม

มลพิษ, Online)

การใชปุยและสารเคมี ปองกันและกําจัดศัตรูพืช จํานวนมาก ทําใหเกิดการตกคาง

ของธาตุอาหารสวนเกินประเภทไนโตรเจนและฟอสฟอรัส สารอินทรีย และตะกอนแขวนลอย

เมื่อมีการระบายนํ้า หรือจากนํ้าฝนที่ไหลชะพื้นที่ที่มีการตกคางของธาตุอาหารสวนเกิน

ลงสูทางนํ้าชลประทานทําใหมลสารเหลาน้ีลงสูทางนํ้าชลประทานกอ ใหเกิดการเปลี่ยนแปลง

คุณภาพนํ้า เกิดการแพรกระจายของวัชพืช สาหรายและพืชนํ้า ที่เพิ่มจํานวนอยางรวดเร็ว เกิดสภาพ

ยูโทรฟเคชั่น (Eutrophication) เมื่อสาหรายและพืชนํ้าตายจะกลายเปนอาหารของจุลินทรียในนํ้า

ทําใหมีปริมาณจุลินทรียเพิ่มขึ้นจึงมีคาออกซิเจนละลายในนํ้าลดลงกอใหเกิดการเนาเหม็น

Page 44: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

14

ของทางนํ้าชลประทาน สงผลกระทบตอระบบนิเวศในแหลงนํ้าและลดคุณคาการใชประโยชน

จากทางนํ้าชลประทานดวย

กรมควบคุมมลพิษ (2548) ไดจัดทํา คูมือแนวทางการลดและปองกันมลพิษจากการ

ทํานาขาวเพื่อลดมลพิษที่เกิดจากขั้นตอนตาง ๆ ในการทํานาขาวซึ่งเกษตรกรสามา รถนําไป

ปฏิบัติไดโดยไมตองลงทุนเพิ่มและเปนการจัดการทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพโดยกําหนดเกณฑ

การปฏิบัติที่ดี 9 เกณฑ ประกอบดวย การปฏิบัติที่ดีในการคัดเลือกและเตรียมพันธุขาว การปฏิบัติ

ที่ดีในการเตรียมดิน การปฏิบัติที่ดีในการปลูกขาว การปฏิบัติที่ดีในการจัดการนํ้าในนาขาว

การปฏิบัติที่ดีในการใสปุยและปรับปรุงดิน การปฏิบัติที่ดีในการควบคุมศัตรูพืชในนาขาว

การปฏิบัติที่ดีในการจัดการตอซังและฟางขาว การปฏิบัติที่ดีในการจัดรูปที่ดินเพื่อลดและควบคุม

มลพิษในแปลงนา และการปฏิบัติที่ดีในการจัดการสภาพแวดลอมในแปลงนา ถาสามารถปฏิบัติ

ไดตามเกณฑเหลาน้ีจะทําใหลดปริมาณการใชนํ้าตลอดฤดูปลูก ขาวไดประมาณ 40 เปอรเซ็นต

และลดคาใชจายในการสูบนํ้าเขาแปลงนา รวมทั้งปองกัน ลด และควบคุมมลพิษจากนํ้าทิ้ง

ในนาขาวไดอยางสมบูรณโดยที่ไมทําใหขาวมีผลผลิตและคุณภาพลดลง

จากการศึกษาผลกระทบของการเพาะปลูกดวยการชลประทานตอคุณภาพนํ้าแมนํ้า

แมกลองโดยวิเคราะหคุณภาพนํ้าจากคลองสงนํ้าชลประทานและคลองระบายนํ้าชลประทาน

ในพื้นที่โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษาทามะกา จังหวัดกาญจนบุรี พบวา ดัชนีคุณภาพนํ้าที่ไดรับ

อิทธิพลจากกิจกรรมการใชประโยชนที่ดินซึ่งแตกตางกันในแตละชวงเวลาของการเพาะปลูก ไดแก

ความขุน ปริมาณไนเตรท และปริมาณแอมโมเนีย โดยที่ความขุนของนํ้าในคลองระบายนํ้าในชวง

กอนการเพาะปลูกจะมีคาตํ่าสุด รองลงมา ไดแก ระหวางการเก็บเกี่ยว และชวงที่อยูระหวาง

การเพาะปลูก ตามลําดับ สวน ปริม าณไนเตรทมีคาสูงในเดือนเมษายน และ ตุลาคม เน่ืองจาก

ในฤดูกาลปลูกขาวนาปรังจะทําการใสปุยคร้ังที่สองในชวงเดือนเมษายน และฤดูกาลปลูกขาวนาป

จะทําการใสปุยในเดือนตุลาคม สําหรับขั้นตอนการใสปุยเกษตรกรจะทําการระบายนํ้าออกจาก

พื้นที่กอนแลวจึงทําการใสปุยซึ่งเปนวิธีการใสปุยที่ถูกวิธี นํ้าที่ระบายออกจากนาขาวย อมมีปุย

ที่ตกคางละลายออกมาดวยทําใหปริมาณไนเตร ทในคลองระบายนํ้าสูงขึ้นในช วงน้ีอีกทั้งในชวง

เดือนตุลาคม เปนชวงที่ มีปริมาณฝนตกมาก ปริมาณไนเตร ทที่พบในคลองระบ ายนํ้าชลประทาน

จึงมีคาสูงที่สุดและปริมาณไนเตรทมีคาสูงอีกคร้ังในชวงตนเดือนพฤศจิกายนเพราะเปนอีกชวงหน่ึง

ที่เกษตรกรทําการใสปุยใหกับนาขาวซึ่งเปนชวงขาวต้ังทองน่ันเอง ปริมาณแอมโมเนียมีค าสูงขึ้น

ในเดือนพฤษภาคมซึ่งเป นชวงที่เกษตรกรใสปุยในพื้นที่นาในชวงที่ขาวเร่ิมต้ังทอง โดยแหลงนํ้า

ที่มีปริมาณสา รประกอบไนโตรเจนและแอมโมเนียสูง แสดงวาแหลงนํ้าน้ั นเพิ่งไดรับสิ่งสกปรก

มาไมนาน ทําใหสามารถระบุไดคอนขางชัดเจนวา ในชวงน้ีแอมโมเนียนาจะไดจากปุยที่เกษตรกร

ใสในนาขาว (ภาสกร, 2542)

Page 45: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

15

นอกจากน้ีพรชัย (2543) ไดศึกษาตะกอนแขวนลอยในลําธารที่เกิดขึ้นจากการใชประโยชน

ที่ดินของบริเวณลุมนํ้าแมทะลาย อําเภอแมแตง จังหวัดเชียงใหม พบวา ชุมชนต้ังใกลกับลําธาร

มีแนวโนมเปนสาเหตุใหเกิดตะกอนแขวนลอยมากขึ้น นํ้าในลําธารกอนไหลเขาหมูบานสองแหง

คือ บานหวยตาดและบานแมทะลาย มีคาตะกอนแขวนลอย เทากับ 29.42 และ 31.62 มิลลิกรัม

ตอลิตร ตามลําดับ และหลังจากที่ผานหมูบานทั้งสอง แหงมีคาตะกอนแขวนลอย เทากับ 39.23 และ

42.91 มิลลิกรัมตอลิตร ตามลําดับ แสดงใหเห็นวากิจกรรมของมนุษยและสัตวเลี้ยงใกลลําธาร

ทําใหเกิดการชะลางพังทลายของดินโดยการพังทลายของตลิ่ง และการชะลางของดินขางลําธาร

ปริมาณตะกอนแขวนลอยทุกเดือนในแตละการใชประโยชนทั้งหมดมีคาความผันแปรมาก กลาวคือ

มากกวา 50 เปอรเซ็นต บางแหงมากกวา 100 เปอรเซ็นต เน่ืองจากการตกของฝนและกิจกรรมของ

มนุษยในแตละเดือนตางกัน โอกาสที่จะมีนํ้าไหลบาหนาดิน นํ้าไหลในลําธาร การพังทลายของดิน

เน่ืองจากมนุษย และสัตวเลี้ยงใกลลําธารในแตละเดือนจึงตางกันมาก จากการเปรียบเทียบคุณภาพนํ้าในพื้นที่ปาไม เกษตรกรรม ปาไมผสมเกษตรกรรม โดยใช

ลุมนํ้าขนาดเล็กทั้ง 6 ลุมนํ้า ในลุมนํ้าสาขาแมถาง จังหวัดแพร พบวา ลุมนํ้าที่มีพื้นที่ทําการเกษตร

จะมีปริมาณบีโอดีสูงกวาลุมนํ้าที่เปนพื้นที่ปาไม เน่ืองจากบริเวณที่มีการเพาะปลูกพืชผลทางการ

เกษตรมี การ ชะลางดินเปนสาเหตุที่ทําใหมีตะกอนดิน ซากพืชผลทางการเกษตรรวมทั้งปุย

จากแปลงเกษตรลงมาสงผลใหบริเวณลุมนํ้าดังกลาวมี ปริมาณ บีโอดีสูง สวนปริมาณ ไนเตรท -

ไนโตรเจน ปริมาณแอมโมเนีย - ไนโตรเจน และปริมาณฟอสฟอรัสทั้งหมดมีคาเฉลี่ยมากที่สุด

ในพื้นที่เกษตรกรรม รองลงมา ไดแก พื้นที่ปาไมผสมเกษตรกรรม และพื้นที่ปาไม ตามลําดับ

เน่ืองจากในพื้นที่เกษตรกรรมมีการใชปุยและสารเคมีเพื่อเพิ่มผลผลิตพืชซึ่งการใชปุยที่มีไนโตรเจน

เปนองคประกอบเมื่อเกิดการปนเปอนลงสูแหลงนํ้าจะมีคามากกวาพื้นที่ที่ไมมีการใชปุย 3 - 10 เทา

โดยไนเตรท - ไนโตรเจนน้ันมาจากปุยที่มีสวนประกอบของธาตุไนโตรเจน ปุยเคมี และปุยอินทรีย

ซึ่งพืชสามารถนําไปใชประโยชนไดตองอยูในรูปของไนเตรท - ไนโตรเจน เมื่อมีการใสปุยเทากับ

เปนการเพิ่มปริมาณไนเตรท – ไนโตรเจนทางออมแกลุมนํ้าดวย สวนปริมาณฟอสฟอรัสมาจาก

ปุยเคมีและปุยอินทรียที่ใสในพื้นที่เพาะปลูกพืชผลทางการเกษตร เมื่อฝนชะลางปุยสวนที่เหลือลงสู

แหลงนํ้าสงผลทําใหแหลงนํ้าน้ันมีปริมาณฟอสฟอรัสสูงขึ้น ซึ่งฟอสฟอรัสที่อยูในรูปของ

สารอินทรียถูกยอยสลายโดยจุลินทรียจะไดฟอสฟอรัสในรูปของสารอนินทรียคือฟอสเฟต

(นภาพรและสมนิมิตร, 2552)

จากรายงานการวิจัยการใชนํ้าในเขตคลอง ชลประทาน รังสิตใต พบวา รูปแบบการใชนํ้า

ในเขตคลองชลประทานรังสิตใตจะแตกตางกันไปตามสภาพการใชที่ดินโดยรอบคลองแตละคลอง

บริเวณคลองหน่ึงถึงคลองหาซึ่งเปนยานที่มีการคาพาณิชยและชุมชนหนาแนนปานกลาง

คุณภาพนํ้าในคลองอยูในระดับตํ่า ไมเหมาะสมกับการอุปโภคบริโภค การใชประโยชนจะเปนการ

Page 46: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

16

ใชเพื่อการเกษตรกรรมและเพื่อการสัญจรไปมา สําหรับพื้นที่คลองหกถึงคลองสิบสี่ คุณภาพนํ้า

ยังอยูในเกณฑเพื่อการอุตสาหกรรมและเกษตรกรรม และจะคอนขางสะอาดกวานํ้าในคลองตน ๆ

การใชนํ้าในบ ริเวณ น้ีจึงใชเพื่อการเกษตรและอุปโภคบริโภค ผูวิจัยไดเสนอแนวทางแกไขวา

ใหตรวจวัด คุณภาพนํ้า ในคลองสายตาง ๆ และควบคุมการสงจายเพื่อรักษาระดับนํ้าที่เหมาะสม

รวมทั้งการควบคุมคุณภาพนํ้าทิ้งโรงงานอุตสาหกรรมและหมูบานจัดสรรใหไดตามมาตรฐานนํ้าทิ้ง

นอกจากน้ีควรมีการควบคุมการใชที่ดินใหเปนไปตามสํานักผังเมืองอยางเครงครัดและกําหนด

มาตรการที่เขมงวดตอการรักษาความสะอาดของรานคาในคลองและริมคลอง (จันทราและพันธวัศ ,

2541) เมื่อเปรียบเทียบคุณภาพนํ้าของแมนํ้านานที่ไหลผานพื้นที่เกษตรกรรมและชุมชนเมือง

จังหวัดพิษณุโลก พบวา คุณภาพนํ้าโดยรวมในแตละเดือนของแมนํ้านานที่ไหลผานพื้นที่

เกษตรกรรมและชุมชนเมืองสวนใหญจัดอยูในแหลงนํ้าประเภทที่ 2 - 4 และนํ้าในแมนํ้านาน

ที่ไหลผานพื้นที่เกษตรกรรมจัดเปนแหลงนํ้าที่มีคุณภาพดีกวานํ้าในแมนํ้าที่ไหลผานชุมชนเมือง

(วรางคลักษณและชัยวัฒน, 2548)

2.4 ความสัมพันธระหวางฤดูกาลและคุณภาพนํ้า

ฤดูกาลในประเทศไทยมีทั้งหมด 3 ฤดู ไดแก ฤดูฝน (เดือนพฤษภาคมถึงตุลาคม ) ฤดูหนาว

(เดือนพฤศจิกายนถึงมกราคม ) และฤดูรอน (เดือนกุมภาพันธถึงเมษายน ) คุณภาพนํ้าในแตละ

ฤดูกาลมีความแตกตางกันเน่ืองจากสวนใหญดัชนีคุณภาพนํ้าขึ้นอยูกับอุณหภูมิ ปริมาณนํ้า ปริมาณ

นํ้าฝน อัตราการไหลของนํ้า เมื่อปจจัยเหลาน้ีเปลี่ยนแปลงไปทําใหคาดัชนีคุณภาพนํ้าเปลี่ยนแปลง

ไปดวย

ปริมาณ นํ้าฝนมีความสัมพันธ กับดัชนีคุณภาพนํ้าบางคา ไดแก ความ ขุน ความนําไฟฟา

และปริมาณของแข็งทั้งหมดที่ละลายนํ้า จากการผลศึกษาของภาสกร (2542) พบวา ในเดือน

ตุลาคมซึ่งมีฝนตกลงมามากที่สุดจะมีความขุนสูงมากแตมีความนําไฟฟาที่ไมสูงมากนักเน่ืองจาก

นํ้าในคลองระบายมีปริมาณมากทําใหเจือจางความเขมขนของสารละลายในนํ้าลดลง ขณะที่

ความขุนของนํ้าในคลองระบายนํ้าชลประทานมีความสัมพันธในทิศทางเดียวกันกับปริมาณนํ้าฝน

ความขุนของนํ้าในคลองสงนํ้าชลประทานมีแนวโนมผันแปรไปตามปริมาณนํ้าฝนในแตละเดือน

การที่มีฝนตกมากในเดือนกอนการเก็บตัวอยางนํ้าและฝนตกกอนที่จะมีการเก็บตัวอยางนํ้ามีผล

ทําใหความขุนของนํ้าสูงขึ้นเน่ืองจากมีการชะลางพังทลายของดินในอัตราคอนขางมาก

สวนปริมาณของแข็งทั้งหมดที่ละลายนํ้าในชวงเดือนพฤษภาคมถึงเดือนพฤศจิกายนมีคาอยูใน

เกณฑที่สูงโดยเฉพาะเดือนพฤศจิกายนจะมีปริมาณของแข็งทั้งหมดที่ละลายนํ้ามีคาสูงที่สุด

เน่ืองจากเปนชวงที่มีฝนตกมากที่สุดเกิดการชะลางนํ้าเอาของแข็งทั้งที่ละลายนํ้าและไมละลายนํ้า

ไหลลงสูแหลงนํ้า อีกทั้งในคลองสงนํ้าชลประทานจะเกิดการชะลางของแข็งและสารละลาย

Page 47: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

17

ลงสูคลองไมมากนักเน่ืองจากจะทําการชะลาง ไดเฉพาะสวนที่เปนคันคลองซึ่งมีพื้นที่ไมมาก

ยกเวน ในชวงฤดูฝนซึ่งนํ้าฝนจะชะลางของแข็งและตะกอนลงสูเขื่อนวชิราลงกรณซึ่งทําใหชวงน้ี

มีปริมาณของแข็งทั้งหมดที่ละลายนํ้ามาก

เมื่อเปรียบเทียบคุณภาพนํ้าในแมนํ้านานที่อยูในเขตเทศบาลเมืองพิษณุโลกในแตละฤดูกาล

พบวา ฤดูรอนมีอุณหภูมินํ้า ความนําไฟฟา ความเปนกรด – ดาง ปริมาณบีโอดี ปริมาณซีโอดี และ

ปริมาณของแข็งทั้งหมดที่ละลายในนํ้าสูงที่สุด สวนฤดูฝนมีความขุน ปริมาณออกซิเจนละลายในนํ้า

ปริมาณแคดเมียม ปริมาณทองแดง ปริมาณสังกะสี ปริมาณตะกั่ว และปริมาณปรอทสูงที่สุด

(อุษา, 2536) สอดคลองกับผลการศึกษาของวรางคลักษณและชัยวัฒน (2548) ซึ่งพบวา ความขุน

มีคาตํ่าสุดในฤดูหนาวและมีคาสูงสุดในฤดูฝน สวนปริมาณออกซิเจนละลายในนํ้ามีคาสูงสุด

ในฤดูรอนเน่ืองจากมีปริมาณนํ้าในแมนํ้านอยที่สุดของปทําใหเกิดการแทรกตัวของกาซออกซิเจน

ลงในแมนํ้าไดอยางทั่วถึง

เมื่อพิจารณาคุณภาพนํ้าตามฤดูกาลใน บริเวณลุมนํ้าแมทะลาย อําเภอแมแตง จังหวัด

เชียงใหม ลักษณะของนํ้า ในชวงฤดูแลงมีความสกปรกมากกวาฤดูฝนเน่ือง มาจากสองกิจกรรม

กิจกรรมแรก คือ เกษตรกรลางอุปกรณ ที่ใชใน การพนสารเคมีในลําธารหรือทิ้ง ภาชนะที่ บรรจุ

สารเคมีลงลําธาร และกิจกรรมที่สอง คือ การจับสัตวนํ้า เมื่อถึงกลางฤดูฝนหวยแมทะลายทั้งสาย

มีความสะอาดมากขึ้น เ พราะ นํ้าที่ไหลบาในฤดูฝนชะลาง ทําให สิ่งสกปรกในลําธารลดลง

และการไหลของนํ้าที่เพิ่มขึ้นทําใหปริมาณออกซิเจนในอากาศสามารถเขาไปฟอกใหสะอาดขึ้น

(พรชัย, 2543) สอดคลองกับงานวิจัยของ ชลาทรและสุเทพ (2547) ซึ่งสรุปวาปจจัยสําคัญที่มีผล

ตอคุณภาพนํ้า ไดแก ฤดูกาลของป การมีฝนตก และธรรมชาติของพื้นที่ เมื่อเปรียบเทียบ

ทั้ง 3 ฤดูกาล พบวา ในชวงตนฤดูฝนแหลงนํ้าจะมีปริมาณบักเตรีเพิ่มสูงขึ้นมากกวาฤดูอ่ืน

เน่ืองจากในฤดูฝนจะมีนํ้าไหลบาหนาดินนําพาอินทรียวัตถุ ธาตุอาหาร รวมทั้งจุลินทรียตามผิวดิน

ลงสูแหลงนํ้าทําใหมีปริมาณบักเตรีสูงเกินมาตรฐานจึงไมเหมาะสมตอการนํานํ้าไปใชประโยชน

จากการวิจัยของ รตีวรรณและคณะ (2543) สรุปไดวา ดัชนีคุณภาพนํ้าที่มีการเปลี่ยนแปลง

ตามฤดูกาล ไดแก อุณหภูมินํ้า ความขุน ปริมาณออกซิเจนละลายนํ้า ปริมาณแอมโมเนีย –

ไนโตรเจน และปริมาณไนเตรท – ไนโตรเจน สวนปริมาณฟอสเฟตและปริมาณไนไตรท -

ไนโตรเจน ไมมีแนวโนมการเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาลโดยมีการเปลี่ยนแปลงขึ้นลงตลอดเวลา

ที่ศึกษา ซึ่งผลการวิจัยน้ี พบวา - อุณหภูมินํ้ามีแนวโนมเปลี่ยนแปลงตามเวลา พบวา เดือนธันวาคมมีอุณหภูมินํ้า

ลดตํ่ากวาทุกเดือน อาจเน่ืองจากอุณหภูมินํ้าตามธรรมชาติจะมีแนวโนมผันแปรตามอุณหภูมิอากาศ

และอุณหภูมินํ้ายังมีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้นทีละนอยเมื่อเขาสูฤดูแลง

Page 48: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

18

- ความขุนมีคาสูงสุดในเดือนสิงหาคมสอดคลองกับปริมาณนํ้าฝนที่มาก และความ

โปรงแสงของนํ้าที่มีคาตํ่าในเดือนน้ีเชนกัน เน่ืองจากในชวงที่มีฝนตกนํ้าฝนไดชะลางพัดพาเอา

ตะกอนดินและสารแขวนลอยจํานวนมากลงสูแมนํ้า จึงมักพบวาในชวงที่มีฝนความขุนของนํ้า

จะสูงกวาชวงที่ไมมีฝนตก

- ปริมาณออกซิเจนละลายในนํ้าบริเวณปากแมนํ้าบางปะกงมีปริมาณสูงสุดในเดือน

มิถุนายนซึ่งเปนชวงตนของฤดูฝนโดยพบสูงถึง 10 มิลลิกรัมตอลิตร เน่ืองจากนํ้าฝนไดชะลางเอา

สารอาหารที่อุดมสมบูรณลงสูแมนํ้า ทําใหนํ้ามีสารอาหารในปริมาณที่เหมาะสมตอการเจริญเติบโต

ของแพลงกตอนพืชซึ่งกระบวนการสังเคราะหแสงของแพลงกตอนพืชจะใหออกซิเจนปริมาณมาก

สูแหลงนํ้า ปริมาณออกซิเจนละลายในนํ้ามีคาตํ่าในเดือนสิงหาคมและตุลาคมซึ่งเปนเดือนที่มี

ฝนตกหนักโดยมีคาตํ่ากวาเดือนที่มีฝนตกนอยและไมตกเลย เน่ืองจากนํ้าฝนไดชะลางอินทรียสาร

และตะกอนลงสูแมนํ้าจํานวนมากซึ่งตะกอนเหลาน้ีจะขัดขวางทางเดินของแสง ทําใหกระบวนการ

สังเคราะหแสงลดลง ปริมาณออกซิเจนละลายในนํ้าจึงลดลงดวย นอกจากแบคทีเรียตองการใช

ออกซิเจนเพื่อยอยสลายอินทรียสารในนํ้าทิ้งใหกลายเปนอนินทรียสาร จึงทําใหปริมาณออกซิเจน

ละลายในนํ้าลดลงดวย - การที่นํ้าฝนได ชะลางพัดพาเอาปุย ตะกอน และอินทรียสารตาง ๆ ลงสูแมนํ้า

ทําใหมี ปริมาณแอมโมเนีย – ไนโตรเจน และ ปริมาณไนเตรท – ไนโตรเจน มีคาสูงใน ฤดูฝน

โดยเฉพาะเดือนตุลาคม จะมีปริมาณแอมโมเนีย – ไนโตรเจนสูงมาก แตในเดือนมิถุนายน มีคาตํ่า

อาจเน่ืองจากการนําไปใช ของแพลงกตอนพืชเ พราะ แอมโมเนีย – ไนโตรเจน เปนไนโตรเจน

รูปแบบแรกที่แพลงกตอนพืชจะเลือกใชเพื่อการเจริญเติบโต สวนปริมาณไนเตรท – ไนโตรเจน

เพิ่มขึ้นเมื่อเขาสูฤดูฝน และลดลงเมื่อเขาฤดูแลง เน่ืองจาก แบคทีเรียจะทําการยอยสลายกลายเปน

ไนเตรทโดยกระบวนการไนตริฟเคชั่น จึงพบวามีปริมาณไนไตรท – ไนโตรเจน สูงในเดือน

ที่มีปริมาณฝนตกนอยหรือปานกลาง แตปริมาณไนไตรท – ไนโตรเจน ในแตละเดือนมีการ

เปลี่ยนแปลงตลอดเวลาไมสามารถบอกแนวโนมได การ ที่มีปริมาณไนไตรท – ไนโตรเจน ตํ่า

อาจเน่ืองจากไนไตรท เปนตัวกลางของการเกิดปฏิกิริยาไนตริฟเคชั่น และปฏิกริยาดีไนตริฟเคชั่น

ดังน้ันจึงพบปริมาณไนไตรท - ไนโตรเจนคอนขางตํ่าและมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา

นอกจากน้ีนิรชร (2545) วิเคราะหคุณภาพนํ้าในแมนํ้าบางปะกง ไดแก อุณหภูมินํ้า

ความเปนกรด – ดาง ความขุน ปริมาณของแข็งแขวนลอยทั้งหมด ความนําไฟฟา ความเค็ม ปริมาณ

ออกซิเจนละลายในนํ้า ปริมาณบีโอดี ปริมาณไนเตรท ปริมาณฟอสฟอรัสรวม ปริมาณ

ความกระดางทั้งหมด ปริมาณตะกั่ว ปริมาณปรอท และปริมาณโครเมียม พบวา คุณภาพนํ้า

ในแมนํ้าบางปะกงมีการเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาลโดยคุณภาพนํ้าสวนใหญมีคาสูงในชวงฤดูรอน

ตนฤดูฝน และปลายฤดูหนาว

Page 49: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

19

สุจยาและเดชา (2544) พบวา ดัชนีคุณภาพนํ้าในแมนํ้ายมที่เปลี่ยนแปลงตามฤดูกาล ไดแก

ความนําไฟฟา ความขุน ปริมาณสารแขวนลอย ความเปนกรด – ดาง ปริมาณไนเตรท และปริมาณ

ฟอสเฟต โดยความนําไฟฟาในฤดูรอนและฤดูหนาวจะมีมากกวาฤดูฝนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 เน่ืองจากนํ้าฝนไปเจือจางความเขมขนของแรธาตุหรือสารประกอบตาง ๆ

หรือปริมาณของแข็งทั้งหมดที่ละลายในนํ้า สวนความขุนและปริมาณสารแขวนลอยในฤดูฝน

มีมากกวาฤดูรอนและฤดูหนาวอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 เน่ืองจากนํ้าฝน

ไดชะลางตะกอนดินทราย หรือวัตถุอินทรียอ่ืน ๆ ลงสูแหลงนํ้าเปนจํานวนมาก และปริมาณ

ไนเตรทและปริมาณฟอสเฟตในฤดูฝนมีมากกวาฤดูรอนและฤดูหนาวอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 เน่ืองจากนํ้าฝนไดชะลางปุยจากการเพาะปลูกพืชและการปลอยนํ้าเสียจาก

บานเรือนที่ต้ังอยูริมบริเวณสองฝงของแมนํ้ายม

จากการศึกษาผลของฤดูกาลตอคุณภาพนํ้าและกลุมของแพลงกตอนพืชในอางเก็บนํ้า

ดอยเตา จังหวัดเชียงใหม ป 2547 – 2548 พบวา ดัชนีคุณภาพนํ้าที่มีคาสูงสุดในฤดูหนาว ไดแก

ปริมาณออกซิเจนละลายในนํ้า ปริมาณบีโอดี และปริมาณไนเตรท – ไนโตรเจน โดยปริมาณ

ออกซิเจนละลายในนํ้ามีคา สูงสุดในฤดูหนาวเปนผลจากการสังเคราะหแสงของแพลงกตอนพืช

ปริมาณบีโอดี ในฤดูหนาว มีคามากกวา ฤดูรอนกับฤดูฝนเพราะมีปริมาณของเสียที่เจือปนภายใน

อางเก็บนํ้ามากกวา ปริมาณไนเตรท – ไนโตรเจนมีคา ตํ่าในทุกฤดูกาลแตในฤดูหนาว มีคาสูงกวา

ฤดูรอนและฤดูฝน มาก เน่ืองจาก ในฤดูรอนนํ้าแหงซึ่งเปนเวลาเดียวกับที่มีการเพาะปลูกรอบ

อางเก็บนํ้า พื้นที่รอบอางเก็บนํ้าถูกใชสําหรับกิจกรรมทางการเกษตรและการเลี้ยงสัตว

ภายหลังระดับนํ้าเพิ่มขึ้นอยางตอเน่ืองในฤดูฝนและฤดูหนาว ซึ่งในระหวางน้ันเกิดนํ้าทวมและ

รอบพื้นที่เต็มไปดวยนํ้า ดังน้ันแหลงของ ปริมาณไนเตรท – ไนโตรเจน อาจเกิดจากการยอยสลาย

ของพืชและตนไมโดยแบคทีเรียที่ไมใชออกซิเจนที่กนอางเก็บนํ้า ปริมาณไนเตรท – ไนโตรเจน

มีคาสูงในเดือนพฤศจิกายนเพราะของเสียจากกิจกรรม ของมนุษยที่มีมากมายในอางเก็บนํ้าดอยเตา

สวนดัชนีคุณภาพนํ้าที่มีคาสูงสุดในฤดูฝน ไดแก ความขุน มีคามากที่สุดในฤดูฝน รองลงมา คือ

ฤดู รอน และ ฤดู หนาว ตามลําดับ ปริมาณแอมโมเนีย – ไนโตรเจน มีคาสูงสุดในฤดูฝน

ซึ่งสัมพันธกับฝนตกและการผสมของนํ้า และมีคา ลดลงอยางตอเน่ืองในฤดูรอน ยกเวน

เดือนมีนาคมที่มีปริมาณแอมโมเนีย – ไนโตรเจนสูง เน่ืองจากการผสมของนํ้าที่ทําใหปริมาณ

แอมโมเนีย – ไนโตรเจนที่กนอางขึ้นมาที่ผิวนํ้า นอกจากน้ี การเปลี่ยนแปลงของความเปน

กรด – ดางตามฤดูกาลมีแนวโนมไมชัดเจน และความนําไฟฟามีคาตํ่าสุดในฤดูฝนเพราะการเจือจาง

จากนํ้าฝน (วนัสสุดา, 2549)

จากผล การตรวจวัดคุณภาพนํ้าในพื้นที่ปาไม เกษตรกรรม ปาไมผสมเกษตรกรรม

โดยใชลุมนํ้าขนาดเล็ก ทั้ง 6 ลุมนํ้า ในลุมนํ้าสาขาแมถาง จังหวัดแพร พบวา ปริมาณออกซิเจน

Page 50: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

20

ละลายในนํ้ามีแนวโนมลดลงตามระยะเวลาที่ทําการศึกษา โดยเฉพาะต้ังแตเดือนสิงหาคม

เปนตนไป เน่ืองจากบริเวณลุมนํ้าที่มีการประกอบกิจกรรมทางการเกษตร ในชวงของการเก็บเกี่ยว

พืชผลทางการเกษตรน้ันจะมีเศษซากของพืชหลงเหลืออยู ซึ่งสอดคลองกับปริมาณ สารแขวนลอย

ที่มีคาสูงในเดือนสิงหาคมซึ่งเปนชวงที่มีฝนตกมาก เมื่อฝนตกก็จะมีการชะลางเอาเศษซากพืช

เหลาน้ีลงนํ้าไปดวย ซึ่งซากพืชเหลาน้ีถือเปนสารอินทรียที่เปนสาเหตุสําคัญทําใหปริมาณออกซิเจน

ละลายในนํ้าลดลงเพราะวาจุลินทรียจะใชออกซิเจนที่ละลายในนํ้าในการยอยสลายสารอินทรีย

ที่อยูในนํ้า ปริมาณสารแขวนลอยของลุมนํ้าทั้ง 6 ลุมนํ้า มีคาสูงสุดในชวงเดือนสิงหาคมซึ่งมีคา

มากกวาคาธรรมชาติ เน่ืองจากมีการไถ พรวนดิน เพื่อกําจัดวัชพืช และใสปุยแกพืช เมื่อฝนตก

จึงเกิดการชะลางเอาดินลงสูแหลงนํ้า จึงสงผลใหในเดือนสิงหาคมมีปริมาณ สารแขวนลอยมากกวา

เดือนอ่ืน ๆ โดยปริมาณสารแขวนลอยน้ีจะมีการแปรผันตามความขุนดวย เมื่อความขุนมากขึ้น

ในชวงเดือนสิงหาคม ก็มีปริมาณ สารแขวนลอยมากขึ้นตามไปดวย เน่ืองจาก เปนบริเวณ ที่มี

การเพาะปลูกพืชผลทางการเกษตร จึงเปนสาเหตุทําใหมีตะกอนดิน ซากพืชผลทางการเกษตร รวมทั้งปุยจากแปลงเกษตรลงมาดวย สงผลใหบริเวณลุมนํ้าดังกลาวมีปริมาณของแข็งทั้งหมดในนํ้า

สูงกวาบริเวณซึ่งเปนพื้นที่ปา ที่มีสิ่งปกคลุมดินที่ดีกวาทําใหปองกันการชะลางหนาดินได (นภาพร

และสมนิมิตร, 2552)

2.5 ดัชนีคุณภาพนํ้าทางกายภาพและเคมี

2.5.1 ดัชนีคุณภาพนํ้าทางกายภาพ ไดแก อุณหภูมินํ้า (Water Temperature) ความนําไฟฟา

(Electrical Conductivity : EC) ความเค็ม (Salinity) ความขุน (Turbidity) ปริมาณสารแขวนลอย

(Suspended Solid : SS) และปริมาณของแข็งทั้งหมดที่ละลายในนํ้า (Total Dissolved Solid : TDS)

อธิบายความหมายและการนําไปใชโดยสรุปดังน้ี

1) อุณหภูมินํ้า (Water Temperature)

อุณหภูมินํ้าเปนคาที่วัดในภาคสนาม ณ เวลาที่เก็บตัวอยางนํ้า เน่ืองจากเปนคา

ที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลงของคุณภาพนํ้าบางคา เชน ความนําไฟฟา การละลายของออกซิเจน

โดยอุณหภูมินํ้าตามธรรมชาติจะแปรผันตามภูมิอากาศ ความเขมของแสงสวางจากดวงอาทิตย

กระแสลม ความลึก ปริมาณสารแขวนลอยหรือความขุน รวมทั้งสภาพแวดลอมของแหลงนํ้า

โดยทั่วไปแลวในแมนํ้าสายสําคัญของประเทศมีอุณหภูมิอยูในชวง 23 – 32 องศาเซลเซียส

อุณหภูมินํ้าเปนคาที่มีความสําคัญตอการดํารงชีวิตของสัตวนํ้าโดยอุณหภูมินํ้าที่สูงขึ้นสงผลกระทบ

ตออัตราเมตาบอลิซึมและการสืบพันธุ นอกจากน้ีการเพิ่มของอุณหภูมิเน่ืองจากการปลอยนํ้า

ที่มีอุณหภูมิสูงจากโรงงานอุตสาหกรรมเปนการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมินํ้าอยางรวดเร็ว

ทําใหสิ่งมีชีวิตตายและสงผลกระทบตอระบบนิเวศน

Page 51: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

21

2) ความนําไฟฟา (Electrical Conductivity : EC)

ความนําไฟฟา เปนคาที่วัดในภาคสนาม ณ เวลาที่เก็บตัวอยางนํ้า เน่ืองจาก

เปนคาที่ขึ้นอยูกับ ความเขมขนและชนิดของอิออนที่อยูในนํ้ารวมทั้งอุณหภูมิ นํ้าดวย

ความนําไฟฟาเปนผลรวมของอิออนทั้งหมดที่แตกตัวในนํ้าโดยไมสามารถบงชี้ชนิดของอิออนได

บอกไดแตเพียงวามีอิออนที่แตกตัวในนํ้าเพิ่มขึ้นหรือลดลง เมื่ออุณหภูมินํ้าสูงขึ้นสารตาง ๆ

จะแตกตัวไดดีขึ้นทําใหมีอิออนเพิ่มขึ้นดวย ความนําไฟฟาที่เพิ่มขึ้นแสดงวามีอิออนที่แตกตัวในนํ้า

เพิ่มขึ้น สวนความนําไฟฟาที่ลดลงแสดงวามีอิออนที่แตกตัวในนํ้าลดลง ความนําไฟฟา

มีความสําคัญมากตอการนํานํ้าไปใชประโยชนควรจะมีการตรวจวัดเปนอันดับแรกเพื่อประเมิน

คุณภาพนํ้าเสมอ ความนําไฟฟาของแมนํ้าจะแตกตางกันไปตามระยะทางโดยบริเวณตนนํ้า

จะมีความนําไฟฟาตํ่าและคอย ๆ สูงขึ้นเมื่ออยูติดตอกับทะเล เน่ืองจากในระยะทางที่เพิ่มขึ้น

นํ้าจะชะลางเอาสารตาง ๆ ซึ่งเกิดจากธรรมชาติและกิจกรรมของมนุษยสะสมเพิ่มขึ้นตามลําดับ

(ไมตรีและจารุวรรณ, 2529)

เมื่อพิจารณาความนําไฟฟาและการนํานํ้าชลประทานไปใชในการปลูกพืช

ของ USDA Handbook No. 60 (1954) พบวา นํ้าชลประทานที่มีความนําไฟฟานอยกวา 750

ไมโครโมสตอเซนติเมตร เหมาะสมกับการชลประทานโดยไมมีปญหาเร่ืองความเค็ม

ความนําไฟฟาในชวง 750 – 2,250 ไมโครโมสตอเซนติเมตร สามารถปลูกพืชในระบบที่มี

การจัดการนํ้าที่ดี คือ มีการระบายนํ้าและการชะลางที่เหมาะสม แตจะเกิดปญหาเร่ืองความเค็มได

ถามีการระบายนํ้าและการชะลางที่ไมดี และความนําไฟฟามากกวา 2,250 ไมโครโมสตอเซนติเมตร

ไมเหมาะสมกับการนําไปใชในการชลประทาน มีขอจํากัด คือ จะใชกับพืชที่ทนเค็มไดเทาน้ัน

3) ความเค็ม (Salinity)

ความเค็มหมายถึงปริมาณเกลือแรตาง ๆ ที่ละลายอยูในนํ้า คิดเปนหนวยนํ้าหนัก

เปนกรัมของสารดังกลาวตอกิโลกรัมของนํ้าหรือสวนในพันสวน (part per thousand หรือ ppt) ความเค็มของแหลงนํ้าแตละประเภทมีคาแตกตางกัน นํ้าจืดมีความเค็มอยูในชวง 0.0 - 0.21 ppt

นํ้ากรอยมีความเค็มอยูในชวง 0.21 - 30 ppt และนํ้าทะเลมีความเค็มมากกวา 30 ppt ความเค็ม

ของแหลงนํ้ามีผลกระทบตอการนํานํ้ามาใชประโยชนโดยนํ้าจะเร่ิมมีรสเค็มที่ความเค็ม 0.5 ppt

ซึ่งเร่ิมจะไมเหมาะสมตอการนํามาทํานํ้าประปา ความเค็ม 1 ppt ไมเหมาะที่จะนํามาใช

เพื่อการชลประทาน และความเค็มที่มากกวา 7 ppt ไมเหมาะตอการเพาะเลี้ยงและดํารงชีวิต

ของสัตวนํ้า (กรมควบคุมมลพิษ, 2546)

4) ความขุน (Turbidity)

ความขุนแสดงถึงความสามารถในการดูดกลืนแสงของแหลงนํ้าถามีความขุนสูง

แสดงวา มีการสองผานของแสงนอยซึ่งเกิดจากตะกอน อินทรียสาร อนินทรียสาร แพลง กตอน

Page 52: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

22

หรือสิ่งมีชีวิตเล็ก ๆ ที่แขวนลอยในนํ้า ความขุนของนํ้าขึ้นอยูกับชนิดของพื้นทองนํ้า ความเร็ว

ของนํ้า การใชที่ดินตนนํ้าลําธาร การยอยสลายของพืช และอุณหภูมิ เปนตน ความขุนทําให

อุณหภูมินํ้าเปลี่ยนแปลงโดยเฉพาะผิวนํ้าผิวบนจะดูดซับความรอนทําใหอุณหภูมินํ้าสูงกวาปกติ

อาจเปนอันตรายแกสัตวนํ้าบางชนิด อีกทั้งมีผลตอการละลายของออกซิเจนในนํ้าดวย

นํ้าที่มีสารแขวนลอยอยูมากจะสามารถดูดซับปริมาณออกซิเจนไดนอยกวานํ้าที่ใสกวา

นํ้าที่มีความขุนมาก ทําใหแสงสวางสองลงไปไมไดลึกทําใหขัดขวางปฏิกิริยาการสังเคราะหแสง

ของพืชนํ้าโดยเฉพาะแพลงกตอนพืชทําใหปริมาณอาหารในธรรมชาติของสัตวนํ้าลดลงดวย

นอกจากน้ียังสง ผลตอการนํานํ้าไปใชประโยชนในดานตางๆ เชน อุปโภค บริโภค การเกษตร

และอุตสาหกรรม แหลงนํ้าโดยทั่วไปไมควรมีความขุนสูงกวา 100 เอ็นทียู ความขุนของแหลงนํ้า

ผิวดินจะมีคาสูงและผันแปรไปตามฤดูกาล โดยความขุนมีคาสูงที่สุดในชวงฤดูฝนและตํ่าสุดในชวง

ฤดูรอนและหนาว ฝนคร้ังแรกของปจะทําใหแมนํ้าลําคลองมีความขุนสูงมากเน่ืองจากไดชะลาง

ความสกปรกบนพื้นดินเปนคร้ังแรกของป สวนอางเก็บนํ้าตาง ๆ มักมีความขุนตํ่าตลอดป

5) ปริมาณสารแขวนลอย (Suspended Solid : SS)

ปริมาณสารแขวนลอย หมายถึง ของแข็งที่เหลือคางบนกระดาษกรองใยแกว

มาตรฐานหลังจากการกรองตัวอยาง นํ้าที่ทราบปริมาตรแนนอน และนําไปอบแหงที่อุณหภูมิ

103 - 105 องศาเซลเซียส สารแขวนลอย ประกอบดวยสวนที่เปนสารอินทรียและสารอนินทรีย

ซึ่งไหลบามาจากแผนดิน สวนใหญสารแขวนลอยมาจากการพังทลายของพื้นดินที่ทําการเกษตร

การตัดไม การทําเหมืองแร และการกอสราง สารแขวนลอยสงผลกระทบตอการสองผาน

ของแสงลงสูแหลงนํ้าทําใหสาหรายผลิตอาหาร และออกซิเจนลดลง เมื่อนํ้าไหลชา เชน ไหลลงสู

อางเก็บนํ้า สารแขวนลอยจะตกตะกอนลงสูกนอางเก็บนํ้าทําใหนํ้าใสแตเกิดการสะสมของตะกอน

ที่กนอางเก็บนํ้าแทน

6) ปริมาณของแข็งท้ังหมดท่ีละลายในนํ้า (Total Dissolved Solid : TDS)

ปริมาณของแข็งทั้งหมด ที่ละลาย ในนํ้า หมายถึง ของแข็งที่กรองผาน

กระดาษกรองใยแกวมาตรฐานและยังคงเหลืออยูหลังจากระเหยไอนํ้าแลวอบแหงที่อุณหภูมิ

103 - 105 องศาเซลเซียส ปริมาณของแข็งทั้งหมด ที่ละลาย ในนํ้าแสดงถึงความเขมขนของ

สารที่ละลายอยูโดยไมสามารถบอกไดวาเปนสารชนิดใด การคํานวณปริมาณของแข็งทั้งหมด

ที่ละลายในนํ้าสามารถคํานวณจากการนําความนําไฟฟามาคูณดวยคาคงที่ 0.55 – 0.90 จะไดปริมาณ

ของแข็งทั้งหมด ที่ละลาย ในนํ้า ในหนวยมิลลิกรัมตอลิตร สําหรับนํ้าเพื่อการชลประทาน

จะคูณดวยคาคงที่ 0.64 (USDA, 1954)

Page 53: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

23

2.5.2 ดัชนีคุณภาพนํ้าทางเคมี ไดแก ความเปนกรด – ดาง (pH) ปริมาณออกซิเจนละลาย

ในนํ้า (Dissolved Oxygen : DO) ปริมาณบีโอดี (Biochemical Oxygen Demand : BOD) ปริมาณ

ซัลไฟดคิดเทียบเปนไฮโดรเจนซัลไฟด (H 2S) ปริมาณไนโตรเจนทั้งหมด (Total Nitrogen)

ปริมาณอินทรียสารไนโตรเจน (Organic Nitrogen) ปริมาณแอมโมเนีย – ไนโตรเจน (NH 3 – N)

ปริมาณไนโตรเจนในรูปทีเคเอ็น (Total Kjeldalh Nitrogen : TKN) ปริมาณไนเตรท – ไนโตรเจน

(NO 3 – N) ปริมาณไนไตรท – ไนโตรเจน (NO 2 – N) ปริมาณฟอสเฟต (PO 4) ปริมาณแคลเซียม

(Ca) ปริมาณแมกนีเซียม (Mg) ปริมาณโซเดียม (Na) ปริมาณโพแทสเซียม (K) ปริมาณคารบอเนต

(CO 3) ปริมาณไบคารบอเนต (HCO 3) ปริมาณคลอไรด (Cl) ปริมาณซัลเฟต (SO 4) เปอรเซ็นต

โซเดียมที่ละลายนํ้า (Sodium Soluble Percentage : SSP) ปริมาณโซเดียมคารบอเนตตกคาง

(Residual Sodium Carbonate : RSC) สัดสวนของการดูดซับโซเดียม (Sodium Adsorption Ratio :

SAR) และปริมาณความกระดางทั้งหมดในรูป CaCO3 (Total Hardness as CaCO3) อธิบาย

ความหมายและการนําไปใชโดยสรุปดังน้ี

1) ความเปนกรด – ดาง (pH)

ความเปนกรด – ดาง เปนคาที่แสดงปริมาณความเขมขนของไฮโดรเจนอิออน

ในนํ้ามาจากคําวา positive potential of hydrogen ions โดยความเปนกรด – ดางของสารละลาย คือ

คาลบของ logarithm ของความเขมขนของไฮโดรเจนอิออน หรือ pH = - log [H+] คาที่บอก

ความเปนกรด คือ ความเขมขนของไฮโดรเจนอิออน [H+] และคาที่บอกความเปนดาง คือ

ความเขมขนของไฮดรอกซิลอิออน [OH-] โดยความเปนกรด – ดางมีคาต้ังแต 0 - 14 ความเปน

กรด – ดาง เทากับ 7 แสดงความเปนกลาง ความเปนกรด – ดางตํ่ากวา 7 แสดงความเปนกรด

สวนความเปนกรด – ดางสูงกวา 7 แสดงความเปนดาง ความเปนกรด – ดางมีความสําคัญตอการ

คํานวณปริมาณคารบอเนต ไบคารบอเนต และคารบอนไดออกไซด นํ้าธรรมชาติมีความเปนกรด –

ดางอยูในชวง 5 - 9 และสวนใหญเปนดางออน ๆ เพราะมีไบคารบอเนตและคารบอเนต การวัด

ความเปนกรด – ดางควรวัดในแหลงนํ้าโดยตรง ความเปนกรด – ดางมีการเปลี่ยนแปลงในรอบวัน

คือ ชวงเชามืดความเปนกรด – ดางตํ่า เน่ืองจากชวงเวลากลางคืนมีการหายใจจากสัตวนํ้าและ

แพลงคตอนพืช ทําใหคารบอนไดออกไซดในนํ้าสูงขึ้นและทําปฏิกิริยากับนํ้าเปนกรดคารบอนิก

สวนชวงบายความเปนกรด – ดางสูง เน่ืองจากแพลง กตอนพืชและพืชนํ้า ใชคารบอนไดออกไซด

สําหรับการสังเคราะหแสงทําใหนํ้าสูญเสียคารบอนไดออกไซด

2) ปริมาณออกซิเจนละลายในนํ้า (Dissolved Oxygen : DO)

ปริมาณออกซิเจนละลายในนํ้ามีความสัมพันธกับความดันบรรยากาศ อุณหภูมิ

ปริมาณของแข็งละลายในนํ้า และความเค็ม เมื่อคาเหลาน้ีมีการเปลี่ยนแปลงปริมาณออกซิเจน

ละลายในนํ้าก็จะเปลี่ยนแปลงไปดวย จึงควรตรวจวัดปริมาณออกซิเจนละลายในนํ้าในแหลงนํ้า

Page 54: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

24

โดยตรง ซึ่งออกซิเจนละลายนํ้าไดมากขึ้นเมื่อความดันเพิ่มขึ้น อุณหภูมิ และความเค็มของนํ้าลดลง ปริมาณออกซิเจนละลายในนํ้าถูกควบคุมโดยกระบวนการทางกายภาพและชีวเคมี

หลายกระบวนการ แหลงที่มาสําคัญของออกซิเจนละลายในนํ้าตามธรรมชาติไดจากการสังเคราะห

แสงของผูผลิต ไดแก แพลงกตอนพืช พืชนํ้า สาหราย และการแพรจากบรรยากาศซึ่งจะเกิดขึ้นได

เมื่อนํ้ามีปริมาณออกซิเจนตํ่ากวาจุดอ่ิมตัว ปริมาณออกซิเจนละลาย ในนํ้าในชวงเวลาระหวางวัน

มีคาแตกตางกันโดยชวงเวลาเชามืดกอนดวงอาทิตยขึ้น ปริมาณออกซิเจนละลาย ในนํ้าจะมีคาตํ่าสุด แลวคอย ๆ เพิ่มสูงขึ้นในตอนกลางวันจนมีคาสูงสุดในตอนบายเน่ืองจากการสังเคราะหแสง

ของแพลงกตอนพืช หลังจากกระบวนการสังเคราะหแสงสิ้นสุดลงสิ่งมีชีวิตตาง ๆ ที่อาศัยอยูในนํ้า

มีแตการใชออกซิเจนเพื่อการหายใจ ทําใหปริมาณออกซิเจนละลายในนํ้าคอย ๆ ลดลงอีกคร้ัง

ปริมาณออกซิเจนละลายในนํ้าเปนดัชนีชี้วัดวาในแหลงนํ้ามีการปนเปอนอยางไร

และเหมาะสมตอการดํารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตในนํ้าหรือไม โดยทั่วไปแหลงนํ้าที่มีปริมาณออกซิเจน

ละลายในนํ้าสูงกวาแสดงถึงคุณภาพนํ้าที่ดีกวา ถาปริมาณออกซิเจนละลายในนํ้าตํ่า ปลาและ

สิ่งมีชีวิตอ่ืนอาจตาย สวนใหญปริมาณออกซิเจนละลายในนํ้ามาจากออกซิเจนในอากาศ

ที่ละลายลงในนํ้า อีกสวนหน่ึงมาจากการสังเคราะหแสงของพืชนํ้า กระแสนํ้าเพิ่มปริมาณ

ออกซิเจนละลายในนํ้าเพราะอากาศถูกจับภายใตการเคลื่อนที่เร็วของนํ้าและออกซิเจนจากอากาศ

จะละลายลงนํ้า ปริมาณออกซิเจนละลายในนํ้าขึ้นอยูกับอุณหภูมิ นํ้าเย็นมีปริมาณออกซิเจนละลาย

ในนํ้ามากกวานํ้ารอน ปริมาณออกซิเจนละลายในนํ้าอยูในชวง 0 – 18 มิลลิกรัมตอลิตร แมวา

สวนใหญแมนํ้าตองการปริมาณออกซิเจนละลายในนํ้าอยางนอย 5 – 6 มิลลิกรัมตอลิตร เพื่อความ

หลากหลายของสิ่งมีชีวิตในนํ้า

3) ปริมาณบีโอดี (Biochemical Oxygen Demand : BOD)

ปริมาณบีโอดี คือ ปริมาณออกซิเจนที่แบคทีเรียใชในการยอยสลายสารอินทรีย

ในนํ้า ดังน้ันปริมาณบีโอดี จึงบอกถึงความสกปรกของแหลงนํ้าวามีมากนอยเพียงใดและแสดงถึง

ปริมาณสารอินทรีย ที่ปนเปอนอยูในแหลงนํ้าน้ัน ๆ ปริมาณบีโอดีจึงมีความสําคัญในการเฝาระวัง

การปนเปอนของแหลงนํ้า การหาปริมาณบีโอดีเปนวิธีการทางชีววิเคราะหซึ่งเกี่ยวของกับการวัด

ปริมาณ ออกซิเจนที่แบคทีเรียใชยอยสารอินทรียในนํ้าภายใตสภาวะที่คลายคลึงกับในธรรมชาติ

มากที่สุดจึงตองทําใหปจจัยตาง ๆ ที่มีอิทธิพลตออัตราการยอยสลายคงที่ โดยการวิเคราะห ปริมาณ

บีโอดีตามวิธีมาตรฐานจะบมตัวอยางที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส เปนเวลา 5 วัน

ถาในแหลงนํ้ามี ปริมาณ อินทรียสารมากจะทําใหมีแบคทีเรียจํานวนมาก

มาทําหนาที่ยอยสลายและทําใหความตองการออกซิเจนสูงขึ้นสงผลใหปริมาณบีโอดีสูงตามไปดวย

เมื่ออินทรียสารเหลาน้ีถูกยอยสลายหรือแพรกระจายไปตลอดลํานํ้า ปริมาณ บีโอดีจะเร่ิมลดลง

ธาตุอาหารที่สําคัญที่ทําให ปริมาณ บีโอดีสูงขึ้น ไดแก ไนเตรทและฟอสเฟต เน่ืองจากไนเตรท

Page 55: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

25

และฟอสเฟตเปนสารอาหารของพืช และทําใหพืชเจริญเติบโตเร็ว เมื่อพืชโตเร็วก็จะตายเร็วดวย

ทําใหมีปริมาณอินทรียสารในนํ้าเพิ่มขึ้นซึ่งจะถูกยอยสลายโดยแบคทีเรียเปนผลใหปริมาณบีโอดีสูง

นอกจากน้ีนํ้าที่มีอุณหภูมิสูงจะมี ปริมาณบีโอดีสูงกวานํ้าที่มีอุณหภูมิตํ่า เมื่ออุณหภูมิของนํ้าเพิ่มขึ้น

อัตราการสังเคราะหแสงของสาหรายและพืชนํ้าจะเพิ่มขึ้นทําใหพืชโตเร็วขึ้นและตายเร็วขึ้นดวย

เมื่อพืชตายจะตกลงสูทองนํ้าและถูกยอยสลายโดยแบคทีเรียซึ่งแบคทีเรียตองใชออกซิเจน

ในการยอยสลายดังน้ัน ปริมาณ บีโอดีในบริเวณน้ีจึงสูง อุณหภูมินํ้าที่เพิ่มขึ้นจะเรงการยอยสลาย

ของแบคทีเรียและเปนผลให ปริมาณ บีโอดีสูงขึ้นดวย การที่ ปริมาณ บีโอดีสูงทําใหปริมาณ

ออกซิเจนละลายในนํ้าลดลงเพราะออกซิเจนที่อยูในนํ้าถูกใชในการยอยสลายโดยแบคทีเรีย

และเมื่อปริมาณออกซิเจนละลายในนํ้าลดลงทําใหสัตวนํ้าตายเน่ืองจากออกซิเจนไมเพียงพอ

ในการใชหายใจ

4) ปริมาณซัลไฟดคิดเทียบเปนไฮโดรเจนซัลไฟด (H 2 S)

ปริมาณไฮโดรเจนซัลไฟดในนํ้า เปนคาที่แสดงถึงปริมาณออกซิเจนละลาย

ในนํ้าและความเปนกรดของแหลงนํ้า ซัลไฟดอิออนสามารถเกิดเปนสารประกอบกับโลหะได

เชน การเกิดปฏิกิริยาระหวางเหล็กและซัลไฟดไดเปนเฟอริกซัลไฟดในนํ้าเสียซึ่งพบไดบอย

เน่ืองจากในนํ้าจะมีปริมาณเหล็กอยูคอนขางสูงจึงเกิดเปนเฟอริกซัลไฟดในปริมาณสูงดวย

และ การที่ เฟอริกซัลไฟดเปนตะกอนสีดําเมื่อมีปริมาณเฟอริกซัลไฟดในนํ้าจํานวนมากพอ

จึงเปนสวนหน่ึงที่ทําใหนํ้าเสียมีสีดํา ซัลไฟดในนํ้าเสียมาจาก 3 แหลง คือ การยอยสลาย

ของสารอินทรีย ขบวนการผลิตของโรงงานอุตสาหกรรม และ ปฏิกิริยารีดักชั่นของซัลเฟต

โดยจุลิ นทรีย สวนใหญ ซัลไฟดในนํ้าเสียจะมาจากปฏิกิริยารีดักชั่นของซัลเฟตโดยจุลิ นทรีย

ในนํ้าเสีย นํ้าเสีย ที่มีสภาพ เปนกรด กาซไฮโดรเจนซัลไฟดจะออกมาจากนํ้าเสียทําใหเกิด

กลิ่นเหม็นรบกวนเหมือนกาซไขเนาจึงเรียกกาซไฮโดรเจนซัลไฟดวากาซไขเนา

5) ปริมาณไนโตรเจนท้ังหมด (Total Nitrogen)

สารประกอบไนโตรเจนในแหลงนํ้า แบงเปน 2 ประเภท คือ

ประเภทแรก ไดแก สารประกอบอินทรียไนโตรเจน เชน โปรตีน กรดนิวคลีอิก

และกรดอะมิโน เปนตน จะพบในสวนประกอบของพืชและสัตว และในปุยคอก ซึ่งสารประกอบ

อินทรียไนโตรเจนสามารถเปลี่ยนแปลงเปนอนินทรียไนโตรเจนไดโดยกระบวนการที่เรียกวา

Mineralization

ประเภทที่สอง ไดแก สารประกอบอนินทรียไนโตรเจน เชน แอมโมเนีย

ไนไตรท และไนเตรท อาจอยูในรูปปุยหรือเกลือในปสสาวะ แอมโมเนียจะใชออกซิเจนในแหลง

นํ้าเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันในสภาวะที่ Nitrifying bacteria กลายเปนสารประกอบไนเตรท เรียก

ปฏิกิริยาน้ีวา Nitrification

Page 56: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

26

ปริมาณไนโตรเจนทั้งหมดเปนการวัดปริมาณไนโตรเจนในทุกประเภททั้งที่เปน

สารประกอบอินทรียไนโตรเจนและอนินทรียไนโตรเจน ปริมาณ ไนโตรเจนมีความสําคัญ

ดังตอไปน้ี 1. ใชบอกคุณภาพนํ้า เน่ืองจากไนโตรเจนสวนใหญจะอยูในรูปของอินทรีย

ไนโตรเจนหรือแอมโมเนียไนโตรเจน และจะถูกเปลี่ยนรูปเปนไนไตร ทและไนเตร ท ในสภาวะ

ที่มีออกซิเจน ดังน้ัน หากพบวามีไนโตรเจนอยูในรูปอินทรียไนโตรเจนและแอมโมเนียไนโตรเจน

จะแสดงวานํ้าน้ันเพิ่งถูกทําใหสกปรกใหม ๆ แตถามีไนเตรทเปนสวนใหญ แสดงวานํ้าน้ันถูกทําให

สกปรกเปนเวลานานแลว

2. เปนสารอาหารที่จําเปนสําหรับสิ่งมีชีวิต ในระบบบําบัดนํ้าเสียทางชีววิทยา

วิศวกรสิ่งแวดลอมจําเปนตองทราบปริมาณของไนโตรเจนวา มีเพียงพอตอการเจริญเติบโต

ของจุลินทรียหรือไม ถามีปริมาณไมเพียงพอจะตองหาแหลงไนโตรเจนจากที่อ่ืน นอกจากน้ี

ไนโตรเจนจะเปนสารที่จําเปนในการเจริญเติบโตของพืชนํ้าโดยเฉพาะสาหราย ทําใหเกิดปญหา

ตอแหลงนํ้าได

3. การออกซิเดชั่นของไนโตรเจนในแหลงนํ้า เกิดโดย autotrophic nitrifying

bacteria ภายใตสภาวะที่มีออกซิเจน ดังน้ันการทิ้งนํ้าเสียในรูปของแอมโมเนียจะมีผลทําให

ปริมาณออกซิเจนละลายในนํ้าลดลง การฆาเชื้อโรคดวยคลอรีนจะชวยลดปญหาน้ีได

4. ใชในการควบคุมระบบบําบัดนํ้าเสียทางชีววิทยา ขอมูลเกี่ยวกับไนโตรเจน

ใชในการควบคุมองศาของการกําจัดนํ้าโสโครก (degree of purification) ในระบบบําบัดนํ้าเสีย

ทางชีววิทยา จากขอมูลของปริมาณบีโอดีทําใหทราบวาการยอยสลายสารอินทรียไมจําเปนตองทํา

ใหถึงขั้น nitrification (เกิดเปนไนเตร ทหมด) ทําใหประหยัดเวลา และการเติมอากาศที่ตองใช

ในการบําบัด

6) ปริมาณอินทรียสารไนโตรเจน (Organic Nitrogen)

เปน สารประกอบอินทรีย ไนโตรเจนที่อยูในรูปของโปรตีน กรดนิวคลีอิก

กรดอะมิโน และยูเรีย ซึ่งพืชและสัตวสามารถนําไปใชในการดํารงชีวิตและการเจริญเติบโต

สวนใหญไนโตรเจนที่อยูในนํ้าไหลบาหนาดินจะเปน ไนโตรเจนประเภทอินทรียสารไนโตรเจน

มากที่สุดเพราะการเพิ่มของสารอินทรียที่ผิวดินและการพังทลายของดิน (Brian, Sujay & William,

2006) นํ้าเสียชุมชนที่เกิดขึ้นใหมจะมี ปริมาณอินทรียสารไนโตรเจน ประมาณ 20 – 25 มิลลิกรัม

ตอลิตร

7) ปริมาณแอมโมเนีย – ไนโตรเจน (NH 3 – N)

ปริมาณแอมโมเนียที่ไดจากการวิเคราะห คือ ปริมาณแอมโมเนียรวม (Total

Ammonia : TAN) หรือเรียกงาย ๆ วา แอมโมเนีย ประกอบดวยแอมโมเนีย 2 ชนิด คือ แอมโมเนีย

Page 57: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

27

ที่มีประจุ (NH 4+) ซึ่งไมเปนพิษตอสัตวนํ้า และแอมโมเนียที่ไมมีประจุ (NH 3) ซึ่งเปนพิษตอสัตวนํ้า

แหลงนํ้าทั่ว ๆ ไปพบแอมโมเนียที่มีประจุเปนสวนใหญ สัดสวนของแอมโมเนียที่ไมมีประจุและ

ที่มีประจุขึ้นกับปจจัยหลัก คือ ความเปนกรด – ดาง ถาความเปนกรด – ดางสูง แอมโมเนียรวมจะอยู

ในรูปแอมโมเนียที่ไมมีประจุมาก ปจจัยรองลงมา ไดแก อุณหภูมิ และเกลือแร

แพลงกตอนพืชและพืชนํ้า จะใชแอมโมเนียเพื่อสรางโปรตีนมากกวาไนเตรท

และไนไตรทเน่ืองจากพืชสามารถนําเอาแอมโมเนียไปสรางเปนกรดอะมิโนไดโดยตรง แตถาแพลงกตอนพืชและพืชนํ้าจะใชไนเตรทหรือไนไตรทตองรีดิวซไนเตรทและไนไตรทเสียกอน

เซลลจึงจะนําไปใชได ในสภาวะที่มีออกซิเจนแอมโมเนียจะถูกออกซิไดซโดย nitrosomonas

bacteria และ nitrobactor bacteria ไปเปนไนไตรท และไนเตรท ตามลําดับ เรียกกระบวนการน้ีวา

ไนตริฟเคชัน (nitrification)

8) ปริมาณไนโตรเจนในรูปทีเคเอ็น (Total Kjeldalh Nitrogen : TKN)

ปริมาณไนโตรเจนในรูปทีเคเอ็น คือ ผลบวกระหวางอินทรียสารไนโตรเจน

และแอมโมเนียไนโตรเจนที่อยูในรูปโปรตีนของพืชหรือสัตวที่เกิดจากกระบวนการของสิ่งมีชีวิต

มีหลักการ คือ amino nitrogen จะถูกเปลี่ยนไปเปน แอมโมเนียมในสารละลายที่มีกรดซัลฟูริก และ

CuSO4 เปนตัวเรง ซึ่งอยูในสภาวะเชนน้ี แอมโมเนีย จะถูกเปลี่ยนไปเปน แอมโมเนียม ดวย

เมื่อเติมดางลงไป แอมโมเนียจะถูกกลั่นออกมาและถูกจับไวในสารละลาย กรดบอริกแลวจึงทําการ

หาปริมาณของแอมโมเนียและคํานวณหาคาไนโตรเจนออกมา

9) ปริมาณไนไตรท – ไนโตรเจน (NO 2 – N)

ไนไตรทเปนสารประกอบระหวางกลาง (intermediate) ในกระบวนการ

ไนตริฟเคชัน โดยทั่วไปไนไตรทจะไมสะสมอยูในแหลงนํ้าเพราะไนไตรทที่เกิดขึ้นถูกเปลี่ยน

ไปเปนไนเตรทอยางรวดเร็ว แตในบางสภาวะหากอัตราการออกซิไดสแอมโมเนียเร็วกวาอัตรา

การออกซิไดสไนไตรทอาจเกิดการสะสมของไนไตรทขึ้นได แหลงนํ้าทั่วไปพบ ปริมาณ

ไนไตรท – ไนโตรเจนนอยมาก เฉลี่ยแลวนอยกวา 0.007 มิลลิกรัมตอลิตร แตแหลงนํ้าที่รับนํ้าเสีย

หรือบอเลี้ยงสัตวนํ้าที่เลี้ยงสัตวนํ้าดวยความหนาแนนสูงมักพบ ปริมาณไนไตรท – ไนโตรเจน

สูงกวาแหลงนํ้าธรรมชาติ ปริมาณไนไตรท – ไนโตรเจน ในบอเลี้ยงสัตวนํ้ามักนอยกวา

0.1 มิลลิกรัมตอลิตร เน่ืองจากแอมโมเนียซึ่งเปนสารต้ังตนถูกแพลงกตอนพืชนําไปใช

10) ปริมาณไนเตรท – ไนโตรเจน (NO 3 – N)

ไนเตรทเกิดจากสิ่งมีชีวิตปลอยของเสียซึ่งมีสารประกอบไนโตรเจนออกมา

และเมื่อสิ่งมีชีวิตตายลงโปรตีนภายในสิ่งมีชีวิตจะถูกยอยสลายเปลี่ยนเปนแอมโมเนีย

ซึ่งพืชนําไปใชในการสรางโปรตีนได ถามีปริมาณมากเกินความตองการ แอมโมเนีย

จะถูกออกซิไดซโดยแบคทีเรียไปเปนไนไตรทและไนเตรทเรียกกระบวนน้ีวาไนตริฟเคชั่น

Page 58: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

28

นอกจากไนเตรทเขาสูแหลงนํ้าจากการเนาเปอยของสิ่งมีชีวิตแลวยังมาจากปุยที่ใชในการ

เกษตรกรรมและนํ้าเสีย ไนเตรทที่เกิดขึ้นบางสวนถูกใชเปนแหลงไนโตรเจนของพืช ไนเตรท

ที่เหลือจะถูกละลายนํ้าและซึมผานชั้นดินไปสะสมในนํ้าใตดิน เน่ืองจากดินไมสามารถจับไนเตรท

ไดนํ้าบาดาลจึงอาจมีไนเตรทละลายอยูในปริมาณสูง ถามีการใชปุยไนเตรทอยางตอเน่ืองภายใต

สภาวะไรออกซิเจน ไนเตรทและไนไตรทจะถูกรีดิวซใหเปนกาซไนโตรเจนไดดวยกระบวนการ

ดีไนตริฟเคชั่น กระบวนการเชนน้ีทําใหปุยไนเตรทเสื่อมสภาพภายใตสภาวะไรออกซิเจน

แหลงนํ้าที่มีความสกปรกสูงและมีการปนเปอนอยางสม่ําเสมอมักตรวจพบ

ปริมาณไนเตรท – ไนโตรเจนในปริมาณสูง ยอมแสดงวามีการปนเปอนจากของเสียหรือสิ่งสกปรก

จากชุมชนหรือมีการชะลางหนาดินในพื้นที่เกษตรกรรมในปริมาณสูง ซึ่งจะเปนอันตราย

ตอการนํานํ้ามาใชในการบริโภคหรือการผลิตนํ้าประปา ถาพบวามีปริมาณไนเตรท – ไนโตรเจน

ในนํ้าแสดงวาสารอินทรียที่อยูในนํ้าไดถูกยอยสลายจนเสร็จสมบูรณ

11) ปริมาณฟอสเฟต (PO 4)

สารประกอบฟอสเฟตแบงเปน 2 ประเภท ไดแก สารประกอบอนินทรีย

ฟอสเฟต และสารประกอบอินทรียฟอสเฟต สารประกอบ อนินทรียฟอสเฟต แบงเปน 2 ประเภท

ไดแก สารประกอบออรโธฟอสเฟต และ โพลีฟอสเฟต โดย สารประกอบออรโธฟอสเฟต

เปนสารประกอบฟอสเฟตที่พบทั่วไปในแหลงนํ้า และ ละลายนํ้าไดดี ทําให แพลงกตอนพืช

สามารถนําไปใชประโยชนได สารประกอบออรโธฟอสเฟต ไดแก PO43-, H2PO4- และ HPO4

2-

สวนสารประกอบโพลีฟอสเฟตพบมากในนํ้าทิ้งจากบานเรือนเน่ืองจากเปนสวนผสม

ของผงซักฟอก โพลีฟอสเฟตสามารถเปลี่ยนเปนออรโธฟอสเฟตไดโดยกระบวนการไฮโดรไลซีส

รูปแบบของฟอสเฟตในแหลงนํ้าขึ้นอยูกับความเปนกรด - ดาง โดยความเปนกรด – ดางตํ่ากวา 6

ฟอสเฟตจะอยูในรูปของ H2PO4- เปนสวนใหญ ขณะที่ความเปนกรด – ดางระหวาง 7 - 11

อิออนหลักเปน HPO42-

ฟอสฟอรัสมักพบในนํ้าธรรมชาติในรูปของฟอสเฟต ซึ่งฟอสเฟตมีอยูในปุย

และนํ้ายาซักรีด โดยเขาสูแหลงนํ้าจากนํ้าไหลบาจากพื้นที่เกษตร นํ้าเสียอุตสาหกรรมและนํ้าทิ้ง

จากบานเรือน ฟอสเฟตเปนสารอาหารของพืชแตถามีมากไปจะทําใหเกิดสาหรายบลูม

พืชนํ้าจํานวนมากน้ีจะผลิตออกซิเจนที่ผิวนํ้าแตเมื่อตายลงจะตกลงสูทองนํ้าซึ่งจะถูกยอยสลาย

โดยจุลินทรียและตองใชปริมาณออกซิเจนจํานวนมากซึ่งออกซิเจนน้ีเปนออกซิเจนที่อยูใตนํ้า

ดังน้ันแหลงนํ้าที่มีฟอสเฟตสูงมักจะมีปริมาณบีโอดีสูงดวยเน่ืองจากจุลินทรียใชยอยสลาย

สารอินทรียที่มีมากเกินไปน้ี และตอมาปริมาณออกซิเจนละลายในนํ้าจะตํ่าลง

Page 59: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

29

12) ปริมาณแคลเซียม (Ca)

แคลเซียม เปนธาตุที่พบมากตามธรรมชาติเปนอันดับ 5 และเปน สาเหตุ หลัก

ที่ทําใหเกิดความกระดางของนํ้าโดยจะสามารถทําปฏิกิริยากับอิออนลบบางตัวในนํ้าเกิดเปนตะกรัน

ขึ้นไดเมื่อนํ้ามีอุณหภูมิสูงขึ้น ตะกรันในหมอนํ้าเกิดขึ้นจาก CaCO3 และ CaSO4 นอกจากน้ี

แคลเซียมสามารถใชเปนตัวชี้วัดความอุดมสมบูรณของแหลงนํ้าได ถาแหลงนํ้ามีปริมาณแคลเซียม

นอยกวา 10 มิลลิกรัมตอลิตร จัดวามีความอุดมสมบูรณตํ่า สวนปริมาณแคลเซียม 10 – 25 มิลลิกรัม

ตอลิตร จัดวามีความอุดมสมบูรณ ปานกลาง และปริมาณ แคลเซียม มากกวา 25 มิลลิกรัม

ตอลิตร จัดวามีความอุดมสมบูรณสูง (กรมโรงงานอุตสาหกรรม, Online)

13) ปริมาณแมกนีเซียม (Mg)

แมกนีเซียมเปนธาตุที่พบมากตามธรรมชาติเปนอันดับ 8 และจะมีปริมาณ

นอยกวาแคลเซียมในแหลงนํ้า แมกนีเซียมเปนสาเหตุหน่ึงที่ทําใหนํ้ากระดางโดย นํ้ากระดาง

จะมีแมกนีเซียมอยูประมาณ 35 เปอรเซ็นต ของธาตุประจุบวกซึ่งนํ้ากระดางน้ีจะมีอัตราสวน

ของแมกนีเซียมตอแคลเซียม สูงขึ้น ซึ่งสวน มากแมกนีเซียมจะละลายอยูในรูปของ แมกนีเซียม

คารบอเนต ปริมาณแมกนีเซียมอาจมีคาต้ังแตศูนยจนถึงหลายพันมิลลิกรัมตอลิตรขึ้นอยูกับ

แหลงนํ้าและการบําบัดนํ้าน้ัน

14) ปริมาณโซเดียม (Na)

โซเดียมเปนธาตุที่พบมากตามธรรมชาติเปนอันดับ 6 ปริมาณโซเดียมอาจมีคา

ต้ังแตนอยกวา 1 มิลลิกรัมตอลิตร จนถึงมากกวา 500 มิลลิกรัมตอลิตร โดยปริมาณโซเดียม

จะมีคามากในนํ้าเค็มและนํ้ากระดางซึ่งทําใหนํ้ากระดางลดลงโดยกระบวนการแลกเปลี่ยนโซเดียม

อัตราสวนของโซเดียมตอปริมาณประจุบวกทั้งหมดมีความสําคัญตอการเกษตร การที่มีปริมาณ

โซเดียมในนํ้าชลประทานสูงจะมีผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติของดิน และลดการซึมนํ้า

ของดิน ดังน้ันควรจะมีการประเมินปริมาณโซเดียมเพื่อความเหมาะสมในการนํานํ้าชลประทาน

ไปใชประโยชน

15) ปริมาณโพแทสเซียม (K)

ในนํ้าธรรมชาติจะมีปริมาณโพแทสเซียมตํ่า มักพบในรูปอิออนและเกลือ

ที่ละลายไดดี โพแทสเซียมจะกระจายในนํ้าอยางรวดเร็วทําใหโพแทสเซียมที่อยูในนํ้าชลประทาน

ถูกพืชนําไปใชไดงาย ปริมาณโพแทสเซียมในนํ้าธรรมชาติมักนอยกวา 10 มิลลิกรัมตอลิตร

โดยทั่วไปแมนํ้ามีปริมาณโพแทสเซียมประมาณ 2 - 3 มิลลิกรัมตอลิตร ปริมาณแคลเซียม

จะมีมากกวาปริมาณโพแทสเซียมประมาณ 2.5 เปอรเซ็นต ในนํ้าทะเลมีปริมาณโพแทสเซียม

ประมาณ 400 มิลลิกรัมตอลิตร (APHA, AWWA, and WPCF, 1992) สารประกอบของ

โพแทสเซียมโดยเฉพาะโพแทสเซียมไนเตรท (KNO3) ประมาณ 95 เปอรเซ็นต มักนํามาผลิตเปนปุย

Page 60: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

30

ปุยโพแทสเซียมสามารถละลายนํ้าไดดีและแตกตัวใหอิออนโพแทสเซียม พืชจะดูดซึมอิออน

โพแทสเซียมที่จําเปนสําหรับการเจริญเติบโต โพแทสเซียมสวนที่เกินจะคงอยูในนํ้า เมื่อเกลือของ

โพแทสเซียมรวมตัวกับสารประกอบแมกนีเซียมและแคลเซียมในนํ้าเสียจะเกิดเปนสารพิษและ

กําจัดออกไดยากเมื่อไหลลงสูแหลงนํ้าจะเกิดปญหาทางสิ่งแวดลอม

16) ปริมาณคารบอเนต (CO 3) และปริมาณไบคารบอเนต (HCO 3)

ในนํ้าที่มีปริมาณ คารบอเนตและไบคารบอเนต สูงจะไปทําใหแคลเซียม

และแมกนีเซียมตกตะกอน เปนแคลเซียมคารบอเนตและแมกนีเซียมคารบอเนต ทําใหปริมาณ

แคลเซียมและแมกนีเซียมลดลงจนเกิดความเปนดาง และเพิ่มความเปนกรด - ดาง เมื่อวิเคราะหนํ้า

แลวมีความเปนกรด - ดางสูงแสดงวามีปริมาณของอิออนคารบอเนตและไบคารบอเนตสูงดวย นอกจากน้ีการที่ปริมาณแคลเซียมและแมกนีเซียมลดลงทําใหปริมาณโซเดียม และ สัดสวนของการ

ดูดซับโซเดียม (SAR) เพิ่มขึ้นดวย ดังน้ันเมื่อนํ้ามีคารบอเนตและไบคารบอเนตสูงจะไปเพิ่ม

ความเปนพิษของโซเดียมซึ่งแสดงดวยคาสัดสวนของการดูดซับโซเดียม (SAR)

ผลรวมของคารบอเนตและไบคารบอเนต มากกวา 1.5 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร

จะเกิดปญหาจากการตกตะกอนของแคลเซียมคารบอเนต เมื่อ ผลรวมของคารบอเนต

และไบคารบอเนต มากกวา 8.5 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร ปญหาน้ีจะรุนแรงขึ้น (James Camberato,

Online) การวัดระดับคารบอเนตและไบคารบอเนตในนํ้าชลประทานมี 2 วิธี คือ การวัดปริมาณ

คารบอเนตและไบคารบอเนต โดยตรง และการวัดจากปริมาณโซเดียมคารบอเนตตกคาง (RSC)

ซึ่งคารบอเนตและไบคารบอเนต เปนดัชนีที่ดีในการบงชี้ความเปนพิษเมื่อนํ้าชลประทานมีปริมาณ

แคลเซียมและแมกนีเซียมตํ่า สวนปริมาณโซเดียมคารบอเนตตกคาง (RSC) เปนดัชนีที่ดีในการบงชี้

ความเปนพิษเมื่อนํ้าชลประทานมีปริมาณแคลเซียมและแมกนีเซียมสูง

17) ปริมาณคลอไรด (Cl)

คลอไรดเปนเกลือที่เกิดจากการรวมตัวของกาซคลอรีนและโลหะ คลอไรด

ในรูปของคลอไรดอิออนถามีปริมาณมากพอจะทําใหนํ้ามีรสเค็มหรือเปนนํ้ากรอย ทั้งน้ีขึ้นอยูกับ

องคประกอบของอิออนบวกในนํ้าดวย เชน นํ้าบางแหลงมีปริมาณคลอไรด 250 มิลลิกรัมตอลิตร

จะมีรสเค็มถาอิออนบวกที่มีอยูในนํ้า คือ โซเดียมทําใหเกิดเปนสารประกอบอิออนิกที่มีรสเค็ม

แตในนํ้าบางแหลงมีปริมาณคลอไรดสูงถึง 1,000 มิลลิกรัมตอลิตร แตไมมีรสเค็มเน่ืองจาก

ไมมีโซเดียมแตมีปริมาณอิออนบวกชนิดอ่ืน เชน แคลเซียม และแมกนีเซียม เปนตน แมวา

คลอไรดมีความสําคัญตอพืช นอยแตก็เปนพิษตอพืชไดถามีปริมาณคลอไรดสูง นํ้าชลประทาน

ที่มีปริมาณคลอไรดมากกวา 355 มิลลิกรัมตอลิตร จะเปนพิษเมื่อถูกดูดซับโดยรากพืช ขณะที่

ปริมาณคลอไรดมากกวา 100 มิลลิกรัมตอลิตร จะทําความเสียหายกับไมประดับถาไดรับทางใบไม

Page 61: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

31

(Harivandi, Online) การจําแนกปริมาณคลอไรดของนํ้าชลประทานโดยพิจารณาจากผลกระทบ

ตอพืชแสดงดังตารางที่ 4

ตารางท่ี 4 การจําแนกปริมาณคลอไรดของนํ้าชลประทานโดยพิจารณาจากผลกระทบตอพืช

ปริมาณคลอไรด (มิลลิกรัมตอลิตร) ผลกระทบตอพืช

นอยกวา 70 เหมาะสมกับพืชทุกชนิด

70 - 140 พืชที่ตอบสนองเร็วจะแสดงอาการ

141 - 350 พืชที่มีความตานทานสูงจะแสดงอาการ

มากกวา 350 เปนสาเหตุใหเกิดปญหากับพืชอยางรุนแรง

ที่มา : Bauder, Waskom & Davis. (2007). Irrigation Water Quality Criteria.

18) ปริมาณซัลเฟต (SO 4)

ซัลเฟตในธรรมชาติมาจากนํ้าชะจากชุมชนและอุตสาหกรรม นํ้าที่ไหลผานหิน

หรือดินที่มียิปซัม ซัลเฟตทําใหโครงสรางคอนกรีตและทอซีเมนตใยหินเกิดการกัดกรอน

โดยปริมาณซัลเฟต 350 มิลลิกรัมตอลิตร ทําใหเกิดการกัดกรอนแลวแตไมมาก และถามี ปริมาณ

ซัลเฟตมากกวา 1,000 มิลลิกรัมตอลิตร จะมีผลตอการกัดกรอนอยางมาก องคการอนามัยโลก

ไดกําหนดไววา ในนํ้าประปา ควรมีปริมาณซัลเฟตไมเกิน 200 มิลลิกรัมตอลิตร และยอมใหมี

ปริมาณซัลเฟตไดสูงสุดเทากับ 400 มิลลิกรัมตอลิตร

19) เปอรเซ็นตโซเดียมท่ีละลายนํ้า (Soluble Sodium Percentage : SSP)

เปนวิธีวัดความเปนพิษของโซเดียมในนํ้าชลประทาน เปอรเซ็นตโซเดียม

ที่ละลายนํ้า (SSP) เปนสัดสวนของอิออนโซเดียมในนํ้ากับผลรวมอิออนบวกทั้งหมด

คูณดวย 100 นํ้าชลประทานที่มีเปอรเซ็นตโซเดียมที่ละลายนํ้า (SSP) มากกวา 60 เปอรเซ็นต

เน่ืองมาจากการสะสมของปริมาณโซเดียมทําใหไปทําลายโครงสรางของดิน การแทรกซึมนํ้า และ

ความสามารถในการถายเทอากาศของดิน สําหรับเกณฑการพิจารณาเปอรเซ็นตโซเดียม

ที่ละลายนํ้า (SSP) ในดานความเหมาะสมในการนํานํ้าไปใชเพื่อการชลประทาน แสดงดังตารางที่ 5

Page 62: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

32

ตาราง ท่ี 5 ความเหมาะสมในการนํานํ้าไปใชเพื่อการชลประทานโดย พิจารณา จากเปอรเซ็นต

โซเดียมท่ีละลายนํ้า (SSP)

เปอรเซ็นตโซเดียมท่ีละลายนํ้า (SSP) เกณฑการนําไปใช

20 – 40 % ดี

40 – 60 % พอใชได

60 – 80 % ควรระวังในการนําไปใช

ที่มา : Wilcox. (1955). Classification and use of irrigation water.

20) ปริมาณโซเดียมคารบอเนตตกคาง (Residual Sodium Carbonate : RSC)

เปนคาแสดงความสัมพันธของปริมาณคารบอเนตและไบคารบอเนต

กับแคลเซียมและแมกนีเซียม โดยคํานวณจากผลรวมของ ปริมาณคารบอเนตและไบคารบอเนต

ลบดวยผลรวมของ แคลเซียมและแมกนีเซียม วิธีวัด ปริมาณ คารบอเนตรวมและไบคารบอเนต

ในนํ้าชลประทานมี 2 วิธี คือ วิธีแรกวัดจากระดับ total carbonate ซึ่งจะใชเมื่อนํ้ามีอิออนของ

แคลเซียมและแมกนีเซียมตํ่า วิธีที่สองเปนการวัดปริมาณโซเดียมคารบอเนตตกคาง (RSC) ซึ่งจะใช

เมื่อนํ้ามีอิออนของแคลเซียมและแมกนีเซียมสูง การใชนํ้าชลประทานที่มีปริมาณโซเดียม

คารบอเนตตกคาง (RSC) สูง จะทําใหเกิดความเปนดางในดิน (soil alkalinity) หรือเกิดดินโซดิก

(sodic soil) ถานํ้ามีปริมาณอิออนโซเดียมที่เหมาะสม สําหรับเกณฑการพิจารณาปริมาณโซเดียม

คารบอเนตตกคาง (RSC) ในดานความเหมาะสมในการนํานํ้าไปใชเพื่อการชลประทาน แสดงดัง

ตารางที่ 6

ตารางท่ี 6 ความเหมาะสมในการนํานํ้าไปใชเพื่อการชลประทานโดย พิจารณาจากปริมาณโซเดียม

คารบอเนตตกคาง (RSC)

ปริมาณโซเดียมคารบอเนตตกคาง (RSC)

(มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร) เกณฑการนําไปใช

นอยกวา 1.25 เหมาะสมสําหรับการชลประทาน

1.25 – 2.5 เหมาะสมปานกลาง

มากกวา 2.5 ไมเหมาะสมสําหรับการชลประทาน

ที่มา : Eaton. (1950). Significance of carbonate in irrigation waters.

Page 63: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

33

21) สัดสวนของการดูดซับโซเดียม (Sodium Adsorption Ratio : SAR)

เปนคาที่แสดงถึงสัดสวนของโซเดียมตอแคลเซียมและแมกนีเซียมรวมกัน

สัดสวนของการดูดซับโซเดียม (SAR) เปนคาที่มีความสําคัญในการหาความเหมาะสมของ

นํ้าชลประทานและเปนคาที่แสดงถึงความเปนพิษของโซเดียม โดยสัดสวนของการดูดซับโซเดียม

(SAR) เปนคาที่แสดงวานํ้ามีปริมาณโซเดียมที่จะเปนอันตรายเพียงใด ความเปนพิษของโซเดียม

จะลดลงถานํ้ามีแคลเซียมอยูดวยและถาจํานวนแคลเซียมมากพออันตรายจากโซเดียมก็ไมเกิดขึ้น

การไดรับนํ้าที่มีสัดสวนของการดูดซับโซเดียม (SAR) สูงอยางตอเน่ืองจะไปทําลายโครงสราง

ของดิน การจําแนกความเปนพิษของโซเดียมในนํ้าโดยพิจารณาจากสัดสวนของการดูดซับโซเดียม

(SAR) แสดงดังตารางที่ 7

ตาราง ท่ี 7 การจําแนกความเปนพิษของโซเดียมในนํ้าโดยพิจารณาจาก สัดสวนของการดูดซับ

โซเดียม (SAR)

SAR ความเปนพิษของโซเดียม ขอควรระวัง

1 – 9 ตํ่า ตองระวังเมื่อใชกับพืชที่ตอบสนองเร็วตอโซเดียม

10 – 17 ปานกลาง ตองมีการแกไข เชน เติมยิปซั่มและการชะละลาย

18 – 25 สูง ไมเหมาะสมกับการใชตอเน่ือง

≥ 26 สูงมาก ไมควรนําไปใช

ที่มา : Bauder, Waskom & Davis. (2007). Irrigation Water Quality Criteria.

22) ปริมาณความกระดางท้ังหมดในรูป CaCO 3 (Total Hardness as CaCO 3)

ความกระดางทั้งหมดเปนความกระดาง ที่มาจากแคลเซียมและแมกนีเซียม

เมื่ออิออนของแคลเซียมและแมกนีเซียมทําปฏิกิริยากับโมเลกุลของสบูจะทําใหเกิดฟองลดลง

และประสิทธิภาพในการทําความสะอาดลดลง ดวย ทําใหสิ้นเปลืองสบู ความกระดางทั้งหมด ใน

รูป CaCO3 ของนํ้าในธรรมชาติอยูในชวง 15 - 375 มิลลิกรัมตอลิตร ความกระดางที่เกิดจาก

แคลเซียม จะมีปริมาณ ความกระดาง ในรูป CaCO3 อยูในชวง 10 – 250 มิลลิกรัมตอลิตร

และความกระดางที่เกิดจากแมกนีเซียม จะมีปริมาณ ความกระดาง ในรูป CaCO3 อยูในชวง

5 - 125 มิลลิกรัมตอลิตร สวนนํ้าทะเลมีความกระดางในรูป CaCO3 ทั้งหมด 6,630 มิลลิกรัมตอลิตร

ความกระดางที่เกิดจากแคลเซียม จะมีปริมาณ ความกระดาง 1,000 มิลลิกรัมตอลิตร

และความกระดางที่เกิดจากแมกนีเซียม จะมีปริมาณ ความกระดาง 5,630 มิลลิกรัมตอลิตร

Page 64: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

34

(Central Lakes College Brainerd Staples Minnesota, Online) การกําหนดเกณฑความกระดาง

ของนํ้าโดยพิจารณาจากปริมาณความกระดางทั้งหมดในรูป CaCO3 แสดงดังตารางที่ 8

ตารางท่ี 8 การกําหนดเกณฑความกระดางของนํ้าโดยพิจารณาจากปริมาณความกระดางท้ังหมด

ในรูป CaCO3 s

เกณฑความกระดางของนํ้า ปริมาณความกระดางท้ังหมดในรูป CaCO3 (มิลลิกรัมตอลิตร)

นํ้าออน 0 – 60

นํ้ากระดางปานกลาง 61 – 120

นํ้ากระดาง 121 – 180

นํ้ากระดางมาก มากกวา 180

ที่มา :USGS, Online. Water Hardness and Alkalinity.

2.6 เกณฑมาตรฐานการพิจารณาคุณภาพนํ้า

เกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้าของประเทศไทยตามที่กรมควบคุมมลพิษรวบรวมไวมีอยู

หลายเกณฑ งานวิจัยน้ีไดเลือกใชเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้าทั้งหมด 3 เกณฑ ไดแก มาตรฐาน

คุณภาพนํ้าในแหลงนํ้าผิวดิน มาตรฐานการระบายนํ้าที่มีคุณภาพตํ่าลงทางนํ้าชลประทาน

และทางนํ้าที่เชื่อมตอกับทางนํ้าชลประทานในเขตพื้นที่โครงการชลประทาน และเกณฑคุณภาพนํ้า

ที่เหมาะสมตอการดํารงชีวิตของสัตวนํ้า เมื่อเปรียบเทียบผลวิเคราะหคุณภาพนํ้าของงานวิจัยน้ี

กับมาตรฐานคุณภาพนํ้าทั้ง 3 เกณฑ ดัชนีคุณภาพนํ้าที่เปรียบเทียบไดมีทั้งหมด 10 ดัชนี ไดแก

อุณหภูมินํ้า ความนําไฟฟา ปริมาณสารแขวนลอย ปริมาณของแข็งทั้งหมดที่ละลายในนํ้า ความเปน

กรด - ดาง ปริมาณ ออกซิเจนละลาย ในนํ้า ปริมาณ บีโอดี ปริมาณ ไนเตรท - ไนโตรเจน ปริมาณ

แอมโมเนีย - ไนโตรเจน และปริมาณซัลไฟดคิดเทียบเปนไฮโดรเจนซัลไฟด เน่ืองจากประเทศไทย

ไมมีมาตรฐานนํ้าชลประทานและการใชนํ้าชลประทานมักจะเปนการใชนํ้าเพื่อการเกษตร ดังน้ัน

จึงใช เกณฑมาตรฐานนํ้าชลประทานของ FAO (1985) เพื่อเพิ่มเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า

ในการเปรียบเทียบ ดัชนีคุณภาพนํ้าที่เกี่ยวของกับการนํานํ้าไปใชเพื่อการเกษตร สําหรับดัชนี

คุณภาพนํ้าที่เพิ่มขึ้นมีทั้งหมด 13 ดัชนี ไดแก ความนําไฟฟา ปริมาณของแข็งทั้งหมด

ที่ละลายในนํ้า ความเปนกรด - ดาง ปริมาณฟอสเฟตฟอสฟอรัส ปริมาณแคลเซียม ปริมาณ

แมกนีเซียม ปริมาณโซเดียม ปริมาณโพแทสเซียม ปริมาณคารบอเนต ปริมาณไบคารบอเนต

ปริมาณคลอไรด ปริมาณซัลเฟต และ สัดสวนของการดูดซับโซเดียม (SAR) สําหรับ มาตรฐาน

คุณภาพนํ้าในแหลงนํ้าผิวดิน มาตรฐานการระบายนํ้าที่มีคุณภาพตํ่าลงทางนํ้าชลประทาน

Page 65: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

35

และทางนํ้าที่เชื่อมตอกับทางนํ้าชลประทานในเขตพื้นที่โครงการชลประทาน เกณฑคุณภาพนํ้า

ที่เหมาะสมตอการดํารงชีวิตของสัตวนํ้า และ เกณฑมาตรฐานนํ้าชลประทานของ FAO (1985)

แสดงดังในตารางที่ ก.1 – ก.4

นอกจากน้ันไดใชเกณฑคุณภาพนํ้าอ่ืน ๆ ที่ ไดรับการยอมรับและมีผูนําไปใชอางอิง

อยางแพรหลาย ไดแก เกณฑของ Wilcox (1955) ใชเปรียบเทียบเปอรเซ็นตโซเดียมที่ละลายนํ้า

(SSP) เกณฑของ Eaton (1950) ใช เปรียบเทียบปริมาณโซเดียมคารบอเนตตกคาง (RSC)

เกณฑของ USGS (Online) ใชเปรียบเทียบปริมาณความกระดางทั้งหมดในรูป CaCO3 และเกณฑ

ของ USDA Handbook No. 60 ใชในการจําแนกชนิดของนํ้าชลประทานตามความเปนพิษ

ของความเค็มและปริมาณโซเดียมโดยใชไดอะแกรมที่ใชความนําไฟฟาในการพิจารณา

ความเปนพิษของความเค็มและใช สัดสวนของการดูดซับโซเดียม (SAR) ในการพิจารณาความเปน

พิษของปริมาณโซเดียม แสดงดังรูปที่ 2 การจําแนกชนิดของนํ้าชลประทานตามความเปนพิษจากความเค็มและปริมาณโซเดียม

โดยใชเกณฑของ USDA Handbook No. 60 สามารถแบงการจําแนกความเปนพิษจากความเค็ม

และปริมาณโซเดียมออกเปน 4 ระดับ มีรายละเอียด ดังน้ี

1) การจําแนกความเปนพิษจากความเค็ม แบงเปน 4 ระดับ ไดแก

ระดับที่ 1 (C1) เปนนํ้าที่มีความเค็มตํ่า มีความนําไฟฟาไมเกิน 250 ไมโครโมส

ตอเซนติเมตร สามารถใชกับดินและพืชเกือบทุกชนิด

ระดับที่ 2 (C2) เปนนํ้าที่มีความเค็มปานกลาง มีความนําไฟฟาอยูในชวง

250 - 750 ไมโครโมสตอเซนติเมตร สามารถใชไดถามีการชะลางความเค็มออกบาง สวนใหญ

พืชที่ทนตอความเค็มปานกลางสามารถเจริญเติบโตไดโดยไมตองควบคุมความเค็ม

ระดับที่ 3 (C3) เปนนํ้าที่มีความเค็มสูง มีความนําไฟฟาอยูในชวง 750 – 2,250

ไมโครโมสตอเซนติเมตร ตองมีการจัดการพิเศษโดยชะลางดินอยูเสมอเพื่อควบคุมความเค็ม

ควรเลือกปลูกพืชที่ทนตอความเค็ม

ระดับที่ 4 (C4) เปนนํ้าที่มีความเค็มสูงมาก มีความนําไฟฟามากกวา 2,250

ไมโครโมสตอเซนติเมตร ไมเหมาะสมกับการใชปลูกพืชทั่วไป ถาจะปลูกตองเลือกพืชที่ทน

ตอความเค็มมาก ๆ

2) การจําแนกความเปนพิษจากปริมาณโซเดียม แบงเปน 4 ระดับ ไดแก

ระดับที่ 1 (S1) เปนนํ้าที่มีปริมาณโซเดียมตํ่า มี สัดสวนของการดูดซับโซเดียม

(SAR) นอยกวา 10 สามารถใชกับดินและพืชเกือบทุกชนิด โดยพืชที่ตอบสนองไวตอความเปนพิษ

ของปริมาณโซเดียมจะสะสมความเสียหาย

Page 66: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

36

ระดับที่ 2 (S2) เปนนํ้าที่มีปริมาณโซเดียมปานกลาง มี สัดสวนของการดูดซับ

โซเดียม (SAR) 10 – 18 เหมาะสมที่จะปลูกพืชในดินทรายหรือดินที่มีปริมาณอินทรียวัตถุสูง

ระดับที่ 3 (S3) เปนนํ้าที่มีปริมาณโซเดียมสูง มี สัดสวนของการดูดซับโซเดียม

(SAR) 18 – 26 กอนปลูกพืชควรมีการปรับปรุงดินโดยมีการชะลางและเพิ่มอินทรียวัตถุ

ระดับที่ 4 (S4) เปนนํ้าที่มีปริมาณโซเดียมสูงมาก มี สัดสวนของการดูดซับ

โซเดียม (SAR) มากกวา 26 ไมเหมาะสมกับการใชปลูกพืชทั่วไป ยกเวน จะมีการปรับปรุงดิน

ซึ่งอาจจะใชนํ้าน้ีไดเมื่อมีความเค็มตํ่า

รูปท่ี 2 การจําแนกชนิดของนํ้าชลประทานตามความเค็มและปริมาณโซเดียม

Page 67: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

บทท่ี 3

วิธีการดําเนินการวิจัย

3.1 การสํารวจพื้นท่ีเพื่อกําหนดจุดเก็บตัวอยางนํ้าและเก็บขอมูลภาคสนาม

การกําหนดจุดเก็บตัวอยางนํ้าจะพิจารณาจากขอมูลคุณภาพนํ้าซึ่ง ฝายจัดสรรนํ้า

และปรับปรุงระบบชลประทานของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียวไดตรวจสอบคุณภาพนํ้า

เปนประจําทุกเดือน รวมระยะเวลา 3 ป ผูวิจัยไดออกสํารวจพื้นที่คร้ังแรกเมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน

พ.ศ. 2552 และกําหนดจุดเก็บตัวอยางนํ้าทั้งหมด 11 จุด โดยใชจุดเก็บตัวอยางนํ้าที่ฝายจัดสรรนํ้า ฯ

กําหนดจุดในการตรวจสอบคุณภาพนํ้าจํานวน 8 จุด ซึ่งครอบคลุมพื้นที่รับผิดชอบของโครงการ

สงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว ผูวิจัยไดกําหนดจุดเพิ่มอีก 3 จุด ไดแก บริเวณตนอางเก็บนํ้า

กระเสียว บริเวณกระชังเลี้ยงปลาในอางเก็บนํ้ากระเสียว และบริเวณทายอางเก็บนํ้ากระเสียว

สามารถแบงจุดเก็บตัวอยางนํ้าทั้ง 11 จุด ออกเปน 3 กลุม ไดแก

กลุมที่ 1 เปนตัวแทนคุณภาพนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว คือ จุดเก็บตัวอยางนํ้าจากบริเวณ

ตนอางเก็บนํ้ากระเสียว บริเวณกลางอางเก็บนํ้ากระเสียว บริเวณกระชังเลี้ยงปลา

ในอางเก็บนํ้ากระเสียว และบริเวณทายอางเก็บนํ้ากระเสียว

กลุมที่ 2 เปนตัวแทนคุณภาพนํ้าของทางนํ้าชลประทาน คือ จุดเก็บตัวอยางนํ้าจาก

ฝายวิทยาลัยเกษตร โรงงานนํ้าตาล สะพานวังนํ้าโจน ระบบสงนํ้า ปลายลําหวยขจี และสะพาน

วัดไทร

กลุมที่ 3 เปนจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว คือ จุดเก็บตัวอยางนํ้า

จากตนนํ้ากระเสียว ฝายวังคัน

3.2 การเก็บตัวอยางนํ้า

เก็บตัวอยางนํ้าแบบแยก (Grab Samples) ที่ระดับกึ่งกลางความกวางของแหลงนํ้า

โดยจุดที่เก็บตัวอยางนํ้าจากบริเวณตนอางเก็บนํ้ากระเสียว บริเวณกลางอางเก็บนํ้ากระเสียว

และบริเวณกระชังเลี้ยงปลา ใชเรือเก็บตัวอยางนํ้าและเก็บตัวอยางนํ้าที่ระดับความลึก 1 เมตร

สวนจุดอ่ืนเก็บตัวอยางนํ้ากลางสะพานและเก็บตัวอยางนํ้าที่ผิวนํ้า ณ ระดับความลึกประมาณ

30 - 50 เซนติเมตร เก็บตัวอยางนํ้าเดือนละ 1 คร้ัง เปนระยะเวลา 12 เดือน แผนการเก็บตัวอยางนํ้า

ดังตารางที่ 9 สําหรับจุดเก็บตัวอยางนํ้าทั้ง 11 จุด มีที่ต้ัง พิกัดและรายละเอียดจุดเก็บตัวอยางนํ้า

แสดงดังตารางที่ 10 และแผนที่จุดเก็บตัวอยางนํ้า แสดงดังรูปที่ 3

Page 68: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

38

ตารางท่ี 9 แผนการเก็บตัวอยางนํ้าตั้งแตเดือนกุมภาพันธ พ.ศ. 2553 - มกราคม พ.ศ. 2554

ครั้งที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12

วันที่

เดือน

3

ก.พ.53

3

มี.ค.53

1

เม.ย.53

11

พ.ค.53

9

มิ.ย.53

9

ก.ค.53

4

ส.ค.53

7

ก.ย.53

6

ต.ค.53

3

พ.ย.53

3

ธ.ค.53

12

ม.ค.54

ตารางท่ี 10 ชื่อจุดเก็บตัวอยางนํ้า ท่ีตั้ง พิกัดและรายละเอียดจุดเก็บตัวอยางนํ้า

จุด

ท่ี ช่ือจุดเก็บตัวอยางน้ํา

พิกัด รายละเอียดจุดเก็บตัวอยางน้ํา

E N

1 ตนน้ํากระเสียว ฝายวังคัน

ต. วังคัน อ. ดานชาง

จ. สุพรรณบุรี

0568019 1652872 เปนจุดตนน้ําที่เขาอางเก็บน้ํากระเสียว และเปนจุดที่

รวบรวมน้ํากอนเขาอางเก็บน้ํากระเสียว โดย เก็บ

ตัวอยางน้ําที่ฝายวังคันซ่ึงเปนฝายสุดทายกอนถึง

อางเก็บน้ํา กระเสียว บริเวณริมฝงทั้งสองขางของ

ฝายวังคันมีชาวบานนําวัวมาเล้ียง

2 บริเวณตนอางเก็บน้ํา

กระเสียว

ต. ดานชาง อ. ดานชาง

จ. สุพรรณบุรี

0569235 1646476 เปนตัวแทนคุณภาพน้ําของบริเวณตนอางเก็บน้ํา

กระเสียวและเก็บตัวอยางน้ําตรงรองน้ําเดิม

3 บริเวณกลางอางเก็บน้ํา

กระเสียว

ต. ดานชาง อ. ดานชาง

จ. สุพรรณบุรี

0570591 1642147 เปนตัวแทนคุณภาพน้ําของบริเวณกลางอางเก็บน้ํา

กระเสียวและเก็บตัวอยางน้ําตรงรองน้ําเดิม

4 บริเวณกระชังเล้ียงปลา

ในอางเก็บน้ํากระเสียว

ต. ดานชาง อ. ดานชาง

จ. สุพรรณบุรี

0571557 1641995 เปนจุดที่อยูก่ึงกลางของพ้ืนที่ที่มีกระชังเล้ียงปลา

ในอางเก็บน้ํากระเสียว

5 บริเวณทายอางเก็บน้ํา

กระเสียว

ต. ดานชาง อ. ดานชาง

จ. สุพรรณบุรี

0571602 1640227 เปนตัวแทนคุณภาพน้ําของบริเวณทายอางเก็บน้ํา

กระเสียว

6 ฝายวิทยาลัยเกษตร

ต. ดานชาง อ. ดานชาง

จ. สุพรรณบุรี

0575712 1635553 เปนฝายของวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี

สุพรรณบุรี กอนถึงฝาย ฯ มีลําหวยธรรมชาติ

ซ่ึงไมใชน้ําที่มาจากอางเก็บน้ํากระเสียวและไหลผาน

Page 69: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

39

แหลงชุมชนหมูบานดานชาง

ตารางท่ี 10 (ตอ)

จุด

ท่ี ช่ือจุดเก็บตัวอยางน้ํา

พิกัด รายละเอียดจุดเก็บตัวอยางน้ํา

E N

7 โรงงานน้ําตาล

ต. หนองมะคาโมง

อ. ดานชาง จ. สุพรรณบุรี

0582298 1640043 เปนโรงงานน้ําตาลโรงเดียวในอําเภอดานชางและได

สูบน้ําจากลําหวยกระเสียวไปใชโดยพ้ืนที่โรงงานอยู

ติดกับลําหวยกระเสียว

8 สะพานวังน้ําโจน

ต. หนองมะคาโมง

อ. ดานชาง จ. สุพรรณบุรี

0584331 1640063 เปนจุดที่ อยูหลังจากลําหวยกระเสียวไหลผาน

โรงงานน้ําตาล โรงงานผลิตเอธานอล และฟารมหมู

ขนาดใหญซ่ึงฟารมหมูนี้อยูติดกับลําหวยกระเสียว

9 ระบบสงน้ํา

ต. หนองกระทุม

อ. เดิมบางนางบวช

จ. สุพรรณบุรี

0590832 1642442 เปนตัวแทนคุณภาพน้ําของระบบสงน้ําของฝายสงน้ํา

และบํารุงรักษาซ่ึงสงน้ําใหกับพ้ืนที่ชลประทาน

10 ปลายลําหวยขจ ี

ต. วังศรีราช

อ. เดิมบางนางบวช

จ. สุพรรณบุรี

0607691 1641868 เปนทางบรรจบของลําหวยขจีกับลําหวยกระเสียว

ซ่ึงลําหวยขจีแยกจากลําหวยกระเสียวตรง ปตร .

ระบบสงน้ํา

11 สะพานวัดไทร

ต. กระเสียว อ. สามชุก

จ. สุพรรณบุรี

0609126 1641372 เปนจุดที่เปนปลายทางของลําหวยกระเสียว และเปน

จุดส้ินสุดความรับผิดชอบของโครงการสงน้ําและ

บํารุงรักษากระเสียว

3.3 การวิเคราะหคุณภาพนํ้า

ดัชนีคุณภาพนํ้าทางกายภาพและเคมีที่วิเคราะหมีทั้งหมด 29 ดัชนี โดยอุณหภูมินํ้า

ความนําไฟฟา ความเค็ม ความเปนกรด - ดาง และปริมาณออกซิเจนละลายในนํ้า เปนดัชนี

ที่วิเคราะหในภาคสนาม สวนดัชนีคุณภาพนํ้าอ่ืน ๆ เปนการวิเคราะหในหองปฏิบัติการเคมี

ดัชนีคุณภาพนํ้าที่วิเคราะหและวิธีการตรวจสอบ แสดงดังตารางที่ 11

Page 70: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

40

รูปท่ี 3 จุดเก็บตัวอยางนํ้าในพื้นท่ีโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว

#S

#S

#S

#S

#S#S

#S#S

#S#S

#S#S

อ �างเก ็�บน �ำกระเส ี�ยว

ร.4ขวา

ร.1ซ �าย

ร.3ขวา

ร.1ขวา

ร.2ขวา

ร.1ขวา -1ซ �าย

ร.1ซ �าย -1ซ �าย

ห �วย

ก ระ เ

ส ี�ย ว

�วยกระเส ี�ยว

�ยว

ห �วยกร

ะเส

ี�ยว

ห �วยกร

ะเส ี�ยว

ส �ยว

ห �วยกร

ะเส

ี�ยว

1 ขวา

1 ซ �าย1ขวา - 1ซ �าย

1ขวา - 1ขวา

2ซ �าย - 1ขวา1ซ �าย

- 1ขวา

1ซ �าย-1ขวา-1ซ �าย

ลำห �วยกระเส ี�ยว

จุดท่ี 3

จุดท่ี 2

จุดท่ี 1

จุดท่ี 11

จุดท่ี 10 จุดท่ี 9

จุดท่ี 8

จุดท่ี 7

จุดท่ี 6 จุดท่ี 5

จุดท่ี 4

อางเก็บน้ํากระเสียว

Page 71: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

41

ตารางท่ี 11 ดัชนีคุณภาพนํ้าและวิธีการตรวจสอบ

ดัชนีคุณภาพน้ํา วิธีการตรวจสอบ

1. อุณหภูมิ (Water Temperature)

2. ความเปนกรด - ดาง (pH)

3. ความนําไฟฟา

4. ความเค็ม (Salinity)

5. ความขุน (Turbidity)

6. ปริมาณของแข็งทั้งหมดที่ละลายในน้ํา (TDS)

7. ปริมาณสารแขวนลอย (SS)

8. ปริมาณออกซิเจนละลายในน้ํา (DO)

9. ปริมาณบีโอดี (BOD)

10. ปริมาณฟอสเฟตฟอสฟอรัส (PO4 - P)

11. ปริมาณไนโตรเจนในรูปทีเคเอ็น (TKN)

12. ปริมาณอินทรียสารไนโตรเจน

13. ปริมาณไนเตรต - ไนโตรเจน (NO3 - N)

14. ปริมาณแอมโมเนีย - ไนโตรเจน (NH3 - N)

15. ปริมาณไนไตรท - ไนโตรเจน (NO2 - N)

16. ปริมาณไนโตรเจนทั้งหมด

17. ปริมาณซัลไฟดคิดเทียบเปนไฮโดรเจนซัลไฟด

18. ปริมาณแคลเซียม (Ca)

19. ปริมาณแมกนีเซียม (Mg)

20. ปริมาณโซเดียม (Na)

21. ปริมาณโพแทสเซียม (K)

22. ปริมาณคารบอเนต (CO3)

23. ปริมาณไบคารบอเนต (HCO3)

24. ปริมาณคลอไรด (Cl)

25. ปริมาณซัลเฟต (SO4)

26. ปริมาณโซเดียมคารบอเนตตกคาง (RSC)

27. เปอรเซ็นตโซเดียมที่ละลายน้ํา (SSP)

28. สัดสวนของการดูดซับโซเดียม (SAR)

29. ปริมาณความกระดางทั้งหมดในรูป CaCO3

เครื่องวัดอุณหภูมิ (Thermometer) วัดขณะทําการเก็บตัวอยาง

เครื่องวัดความเปนกรดและดางของน้ํา (pH meter)

ตามวิธีหาคาแบบ Electrometric

เครื่องวัดความนําไฟฟา (Conductivity Meter)

เครื่องวัดความนําไฟฟา (Conductivity Meter)

เครื่องวัดความขุน (Turbidity Meter)

ระเหยแหงที่อุณหภูมิ 103 - 105 องศาเซลเซียส ในเวลา

1 ช่ัวโมง

กรองผานกระดาษกรองใยแกว (Glass Fiber Filter Disc)

Azide Modification

Azide Modification ที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส เปนเวลา

5 วัน ติดตอกัน

Ascorbic Acid Method

Kjeldahl Method

Macro-Kjeldahl Method

Cadmium Reduction Method

Distillation – Titration Method

Colorimetric Method

Calculation

Colorimetric Methylene Blue Method

EDTA Titrimetric Method

EDTA Titrimetric Method

Flame Photometer

Flame Photometer

Titration with acid (H2 SO4)

Titration with acid (H2 SO4)

Argentometric Method

Turbidimetric Method, Gravimetric Method

Calculation

Calculation

Calculation

Calculation

Page 72: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

42

3.4 การวิเคราะหขอมูล

นําผลวิเคราะห คุณภาพนํ้า ทางกายภาพและเคมี มาวิเคราะหขอมูล เพื่อเปนการวิเคราะห

คุณภาพนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว

และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว แบงเปนการเปรียบเทียบขอมูล 3 แบบ

ไดแก

3.4.1 นําคาเฉลี่ยของดัชนีคุณภาพนํ้าทางกายภาพและเคมี ไปเทียบกับ เกณฑมาตรฐาน

นํ้าชลประทานของ FAO (1985) มาตรฐานคุณภาพนํ้าในแหลงนํ้าผิวดิน มาตรฐานการระบายนํ้า

ที่มีคุณภาพตํ่าลงทางนํ้าชลประทานและทางนํ้าที่เชื่อมตอกับทางนํ้าชลประทานในเขตพื้นที่

โครงการชลประทาน และเกณฑคุณภาพนํ้าที่เหมาะสมตอการดํารงชีวิตของสัตวนํ้า สวนเปอรเซ็นต

โซเดียมที่ละลายนํ้า (SSP) เทียบกับเกณฑของ Wilcox (1955) และปริมาณโซเดียมคารบอเนต

ตกคาง (RSC) เทียบกับเกณฑของ Eaton (1950) ซึ่งทั้งเกณฑของ Wilcox (1955) และ Eaton (1950)

ไดรับการยอมรับและมีผูนําไปใชอางอิงอยางแพรหลาย และปริมาณความกระดางทั้งหมด

ในรูป CaCO3 ใชเกณฑที่นิยมใชทั่วไปดังที่ไดเผยแพรโดย USGS (Online) รวมทั้งแบงชนิดของ

นํ้าชลประทานตามความเค็มและปริมาณโซเดียมของ USDA Handbook No. 60 (1954)

3.4.2 เปรียบเทียบความแตกตางทางสถิติของคาเฉลี่ยของดัชนีคุณภาพนํ้าทางกายภาพ

และเคมีของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว ระหวาง 3 ฤดูกาล ไดแก ฤดูรอน

(เดือนกุมภาพันธ - เมษายน) ฤดูฝน (เดือนพฤษภาคม - ตุลาคม) และฤดูหนาว (เดือนพฤศจิกายน -

มกราคม) โดยการวิเคราะหความแปรปรวนแบบทางเดียว (One - Way ANOVA) ดวยวิธี F - test

ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติ 0.05 และวิธี DMRT (Duncan’s New Multiple Range Test) ที่ระดับ

ความเชื่อมั่น 95 เปอรเซ็นต

3.4.3 เปรียบเทียบความแตกตางทางสถิติของคาเฉลี่ยของดัชนีคุณภาพนํ้าทางกายภาพ

และเคมีของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว ระหวาง 12 เดือน ต้ังแตเดือนกุมภาพันธ 2553

– มกราคม 2554 โดยการวิเคราะหความแปรปรวนแบบทางเดียว (One - Way ANOVA) ดวยวิธี

F - test ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติ 0.05 และวิธี DMRT (Duncan’s New Multiple Range Test)

ที่ระดับความเชื่อมั่น 95 เปอรเซ็นต

3.5 สถานท่ีทําการทดลอง / วิเคราะหคุณภาพนํ้า

สถานที่ทําการทดลองภาคสนาม คือ อางเก็บนํ้ากระเสียวและทางนํ้าชลประทานในเขต

พื้นที่โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว สํานักชลประทานที่ 12 กรมชลประทาน

สถานที่วิเคราะหคุณภาพนํ้า คือ หองปฏิบัติการเคมี กลุมวิจัยและพัฒนาดานวิทยาศาสตร

สํานักวิจัยและพัฒนา กรมชลประทาน

Page 73: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

บทที่ 4

ผลการทดลอง

จากการประเมินคุณภาพนํ้าทางกายภาพและเคมีในอางเก็บนํ้ากระเสียวและทางนํ้า

ชลประทานในเขตพื้นที่โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว โดย กําหนด จุดเก็บตัวอยางนํ้า

ทั้งหมด 11 จุด สามารถแบงจุดเก็บตัวอยางนํ้าออกเปน 3 กลุม ไดแก

กลุมที่ 1 เปนตัวแทนคุณภาพนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว คือ จุดเก็บตัวอยางนํ้าจาก บริเวณ

ตนอางเก็บนํ้ากระเสียว บริเวณกลางอางเก็บนํ้ากระเสียว บริเวณกระชังเลี้ยงปลา

ในอางเก็บนํ้ากระเสียว และบริเวณทายอางเก็บนํ้ากระเสียว

กลุมที่ 2 เปนตัวแทนคุณภาพนํ้าของทางนํ้าชลประทาน คือ จุดเก็บตัวอยางนํ้าจาก

ฝายวิทยาลัยเกษตร โรงงานนํ้าตาล สะพานวังนํ้าโจน ระบบสงนํ้า ปลายลําหวยขจี และสะพาน

วัดไทร

กลุมที่ 3 เปนจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว คือ จุดเก็บตัวอยางนํ้า

จากตนนํ้ากระเสียว ฝายวังคัน

โดยเก็บตัวอยางนํ้าเดือนละ 1 คร้ัง เปนระยะเวลา 12 เดือน แบงการวิเคราะหขอมูล

คุณภาพนํ้าออกเปน 2 สวน คือ สวนที่ 1 วิเคราะหคุณภาพนํ้าโดยการนําคาเฉลี่ยของคุณภาพนํ้า

ทางกายภาพและเคมีไปเทียบกับเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า สวนที่ 2 วิเคราะหทางสถิติโดยการ

วิเคราะหความแปรปรวนแบบทางเดียว (One - Way ANOVA) ดวยวิธี F - test ที่ระดับนัยสําคัญ

ทางสถิติ 0.05 และวิธี DMRT (Duncan’s new Multiple Range Test) ที่ระดับความเชื่อมั่น

95 เปอรเซ็นต เพื่อเปรียบเทียบคุณภาพนํ้าระหวาง 3 ฤดูกาล และระหวาง 12 เดือน สามารถอธิบาย

ผลการวิเคราะหดังน้ี

4.1 คุณภาพนํ้าทางกายภาพ

ไดแก อุณหภูมินํ้า ความนําไฟฟา ความเค็ม ความขุน ปริมาณสารแขวนลอย (SS)

และปริมาณของแข็งทั้งหมดที่ละลายในนํ้า (TDS) สําหรับรายละเอียดผลวิเคราะหคุณภาพนํ้า

ทางกายภาพ ระหวาง 3 ฤดูกาล และระหวาง 12 เดือน แสดงดังตารางที่ ค .1 – ค.6 และตารางที่

ง.1 – ง.6 สวนผลวิเคราะหทางสถิติโดยการวิเคราะหความแปรปรวนแบบทางเดียว แสดงดัง

ตารางที่ จ.1 – จ.6 สามารถอธิบายไดดังน้ี

Page 74: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

44

4.1.1 อุณหภูมินํ้า

1) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว มีอุณหภูมินํ้าอยูในชวง 24.5 – 33.6

องศาเซลเซียส และคาเฉลี่ยเทากับ 29.1 องศาเซลเซียส

1.1) เมื่อพิจารณา อุณหภูมินํ้าแยกตามฤดูกาล พบวา ฤดูรอนมีคาอยูในชวง

27.3 – 31.0 องศาเซลเซียส คาเฉลี่ยเทากับ 29.0 องศาเซลเซียส ฤดูฝนมีคาอยูในชวง 28.2 – 33.6

องศาเซลเซียส คาเฉลี่ยเทากับ 30.9 องศาเซลเซียส และฤดูหนาวมีคาอยูในชวง 24.5 – 26.7

องศาเซลเซียส คาเฉลี่ยเทากับ 25.7 องศาเซลเซียส จากผลการวิเคราะหทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ย

ของอุณหภูมินํ้า ระหวาง 3 ฤดูกาล มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ

0.05 โดยคาเฉลี่ยของอุณหภูมินํ้าในฤดูฝนมีคามากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ

0.05 รองลงมา คือ ฤดูรอน และฤดูหนาว ตามลําดับ

1.2) เมื่อพิจารณาอุณหภูมินํ้าแยกตามรายเดือน พบวา คาเฉลี่ยของอุณหภูมินํ้า

ระหวาง 12 เดือน มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 โดยคาเฉลี่ย

ของอุณหภูมินํ้าในเดือนพฤษภาคม มิถุนายน และกรกฎาคม มีคามากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

1.3) เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้าในแหลงนํ้าผิวดิน และ

เกณฑคุณภาพนํ้าที่เหมาะสมตอการดํารงชีวิตของสัตวนํ้า พบวา คาเฉลี่ย ของ อุณหภูมินํ้า

ทั้ง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน มีคาอยูในเกณฑมาตรฐาน ยกเวน เดือนพฤษภาคม และมิถุนายน

มีคามากกวาเกณฑมาตรฐานเล็กนอย

2) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษา

กระเสียวมีอุณหภูมินํ้าอยูในชวง 24.9 – 34.6 องศาเซลเซียส และคาเฉลี่ยเทากับ 29.8 องศาเซลเซียส

2.1) เมื่อพิจารณา อุณหภูมินํ้าแยกตามฤดูกาล พบวา ฤดูรอนมีคาอยูในชวง

28.3 – 33.4 องศาเซลเซียส คาเฉลี่ยเทากับ 30.3 องศาเซลเซียส ฤดูฝนมีคาอยูในชวง 28.1 – 34.6

องศาเซลเซียส คาเฉลี่ยเทากับ 31.2 องศาเซลเซียส และฤดูหนาวมีคาอยูในชวง 24.9 – 28.5

องศาเซลเซียส คาเฉลี่ยเทากับ 26.6 องศาเซลเซียส จากผลการวิเคราะหทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ย

ของอุณหภูมินํ้า ระหวาง 3 ฤดูกาล มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ

0.05 โดยคาเฉลี่ยของอุณหภูมินํ้าในฤดูรอน และฤดูฝน มีคามากกวา ฤดูหนาวอยางมีนัยสําคัญ

ทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

2.2) เมื่อพิจารณาอุณหภูมินํ้าแยกตามรายเดือน พบวา คาเฉลี่ยของอุณหภูมินํ้า

ระหวาง 12 เดือน มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

โดยอุณหภูมินํ้าในเดือนพฤษภาคมมีคามากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

Page 75: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

45

2.3) เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้าในแหลงนํ้าผิวดิน และ

เกณฑคุณภาพนํ้าที่เหมาะสมตอการดํารงชีวิตของสัตวนํ้า พบวา คาเฉลี่ย ของ อุณหภูมินํ้า

ทั้ง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน มีคาอยูในเกณฑมาตรฐาน ยกเวน เดือนพฤษภาคม และกรกฎาคม

มีคามากกวาเกณฑมาตรฐานเล็กนอย

3) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

มีอุณหภูมินํ้าอยูในชวง 24.6 – 33.0 องศาเซลเซียส และคาเฉลี่ยเทากับ 28.5 องศาเซลเซียส

3.1) เมื่อพิจารณา อุณหภูมินํ้าแยกตามฤดูกาล พบวา ฤดูรอนมีคาอยูในชวง

27.8 – 29.9 องศาเซลเซียส คาเฉลี่ยเทากับ 29.0 องศาเซลเซียส ฤดูฝนมีคาอยูในชวง 26.3 – 33.0

องศาเซลเซียส คาเฉลี่ยเทากับ 30.0 องศาเซลเซียส และฤดูหนาวมีคาอยูในชวง 24.6 – 25.2

องศาเซลเซียส คาเฉลี่ยเทากับ 24.9 องศาเซลเซียส จากผลการวิเคราะหทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ย

ของอุณหภูมินํ้า ระหวาง 3 ฤดูกาล มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ

0.05 โดยคาเฉลี่ยของอุณหภูมินํ้าในฤดู รอนและ ฤดูฝนมีคามาก กวาฤดูหนาวอยางมีนัยสําคัญ

ทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

3.2) เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้าในแหลงนํ้าผิวดิน และ

เกณฑคุณภาพนํ้าที่เหมาะสมตอการดํารงชีวิตของสัตวนํ้า พบวา คาเฉลี่ย ของ อุณหภูมินํ้า

ทั้ง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน มีคาอยูในเกณฑมาตรฐาน ยกเวน เดือนพฤษภาคมมีคามากกวา

เกณฑมาตรฐานเล็กนอย

4) เมื่อเปรียบเทียบ อุณหภูมินํ้าระหวางตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว

ทางนํ้าชลประทานของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหล

ลงอางเก็บนํ้ากระเสียว โดยการ วิเคราะหทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของอุณหภูมินํ้า ทั้ง 3 กลุม

ไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

สําหรับ รูปที่ 4 และรูปที่ 5 แสดงการเปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า

กับคาเฉลี่ยของอุณหภูมินํ้าของตัวอยางนํ้าที่เก็บจาก อางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน

ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลง

อางเก็บนํ้ากระเสียว ระหวาง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน ตามลําดับ

Page 76: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

46

20.0

25.0

30.0

35.0

Wat

er T

empe

ratu

re (

๐ C

)

เกณฑกําหนดสูงสุด

เกณฑกําหนดต่ําสุด

ฤดูรอน

ฤดูฝน

ฤดูหนาว

คาเฉลี่ย

อางเก็บน้ํากระเสียว จุดเฝาระวังกอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

ทางน้ํา

ชลประทาน

รูปท่ี 4 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับคาเฉลี่ยของอุณหภูมินํ้า ระหวาง

3 ฤดูกาล ของ ตัวอยางนํ้าท่ีเก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของโครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

20.0

25.0

30.0

35.0

เดือนที่เก็บตัวอยางน้ํา

Wat

er T

empe

ratu

re (

๐ C )

ก.พ

. 53

ม.ีค.

53

เม.ย

. 53

พ.ค

. 53

ม.ิย.

53

ก.ค.

53

ส.ค

. 53

ก.ย.

53

ต.ค.

53

พ.ย

. 53

ธ.ค.

53

ม.ค.

54 เกณฑกําหนดสูงสุด

เกณฑกําหนดต่ําสุด

รูปท่ี 5 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับคาเฉลี่ยของอุณหภูมินํ้า ระหวาง

12 เดือน ของตัวอยางนํ้าท่ีเก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของโครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

4.1.2 ความนําไฟฟา

1) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว มีความนําไฟฟาอยูในชวง 209 – 295

ไมโครโมสตอเซนติเมตร และคาเฉลี่ยเทากับ 246 ไมโครโมสตอเซนติเมตร

1.1) เมื่อพิจารณาความนําไฟฟา แยกตามฤดูกาล พบวา ฤดูรอนมีคาอยูในชวง

245 – 258 ไมโครโมสตอเซนติเมตร คาเฉลี่ยเทากับ 252 ไมโครโมสตอเซนติเมตร ฤดูฝนมีคาอยู

ในชวง 211 – 295 ไมโครโมสตอเซนติเมตร คาเฉลี่ยเทากับ 254 ไมโครโมสตอเซนติเมตร และ

ฤดูหนาวมีคาอยูในชวง 209 – 236 ไมโครโมสตอเซนติเมตร คาเฉลี่ยเทากับ 225 ไมโครโมส

ตอเซนติเมตร จากผลการวิเคราะหทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของ ความนําไฟฟาระหวาง 3 ฤดูกาล

อางเก็บน้ํากระเสียว

จุดเฝาระวังกอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

ทางน้ําชลประทาน

Page 77: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

47

มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 โดยคาเฉลี่ยของ ความนําไฟฟา

ในฤดูรอนและฤดูฝนมีคามากกวาฤดูหนาวอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

1.2) เมื่อพิจารณาความนําไฟฟาแยกตามรายเดือน พบวา คาเฉลี่ยของความนํา

ไฟฟาระหวาง 12 เดือน มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

โดยคาเฉลี่ยของ ความนําไฟฟา ในเดือน สิงหาคม มีคามากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ

นัยสําคัญ 0.05

1.3) เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐานนํ้า ชลประทานของ FAO (1985) และ

มาตรฐานการระบายนํ้าที่มีคุณภาพตํ่าลงทางนํ้าชลประทานและทางนํ้าที่ตอเชื่อมกับทางนํ้า

ชลประทานในเขตพื้นที่โครงการชลประทาน พบวา คาเฉลี่ย ของความนําไฟฟาทั้ง 3 ฤดูกาล และ

12 เดือน มีคาอยูในเกณฑมาตรฐาน

2) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษา

กระเสียวมีความนําไฟฟา อยูในชวง 208 – 404 ไมโครโมสตอเซนติเมตร และคาเฉลี่ยเทากับ 284

ไมโครโมสตอเซนติเมตร

2.1) เมื่อพิจารณาความนําไฟฟา แยกตามฤดูกาล พบวา ฤดูรอนมีคาอยูในชวง

252 – 373 ไมโครโมสตอเซนติเมตร คาเฉลี่ยเทากับ 291 ไมโครโมสตอเซนติเมตร ฤดูฝนมีคาอยู

ในชวง 208 – 404 ไมโครโมสตอเซนติเมตร คาเฉลี่ยเทากับ 290 ไมโครโมสตอเซนติเมตร และ

ฤดูหนาวมีคาอยูในชวง 214 – 358 ไมโครโมสตอเซนติเมตร คาเฉลี่ยเทากับ 265 ไมโครโมส

ตอเซนติเมตร จากผลการวิเคราะหทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของ ความนําไฟฟาระหวาง 3 ฤดูกาล

ไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

2.2) เมื่อพิจารณาความนําไฟฟาแยกตามรายเดือน พบวา คาเฉลี่ยของความนํา

ไฟฟาระหวาง 12 เดือน มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

โดยคาเฉลี่ยของ ความนําไฟฟา ในเดือน กุมภาพันธ พฤษภาคม มิถุนายน กรกฎาคม สิงหาคม

และกันยายน มีคามากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

2.3) เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐานนํ้า ชลประทานของ FAO (1985) และ

มาตรฐานการระบายนํ้าที่มีคุณภาพตํ่าลงทางนํ้าชลประทานและทางนํ้าที่ตอเชื่อมกับทางนํ้า

ชลประทานในเขตพื้นที่โครงการชลประทาน พบวา คาเฉลี่ย ของความนําไฟฟาทั้ง 3 ฤดูกาล และ

12 เดือน มีคาอยูในเกณฑมาตรฐาน

3) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

มีความนําไฟฟาอยูในชวง 220 – 735 ไมโครโมสตอเซนติเมตร และคาเฉลี่ยเทากับ 406 ไมโครโมส

ตอเซนติเมตร

Page 78: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

48

3.1) เมื่อพิจารณาความนําไฟฟา แยกตามฤดูกาล พบวา ฤดูรอนมีคาอยูในชวง

463 – 735 ไมโครโมสตอเซนติเมตร คาเฉลี่ยเทากับ 578 ไมโครโมสตอเซนติเมตร ฤดูฝนมีคาอยู

ในชวง 220 – 695 ไมโครโมสตอเซนติเมตร คาเฉลี่ยเทากับ 358 ไมโครโมสตอเซนติเมตร และ

ฤดูหนาวมีคาอยูในชวง 277 – 397 ไมโครโมสตอเซนติเมตร คาเฉลี่ยเทากับ 331 ไมโครโมส

ตอเซนติเมตร จากผลการวิเคราะหทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของ ความนําไฟฟาระหวาง 3 ฤดูกาล

ไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

3.2) เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐานนํ้า ชลประทานของ FAO (1985) และ

มาตรฐานการระบายนํ้าที่มีคุณภาพตํ่าลงทางนํ้าชลประทานและทางนํ้าที่ตอเชื่อมกับทางนํ้า

ชลประทานในเขตพื้นที่โครงการชลประทาน พบวา คาเฉลี่ย ของความนําไฟฟาทั้ง 3 ฤดูกาล และ

12 เดือน มีคาอยูในเกณฑมาตรฐาน

4) เมื่อเปรียบเทียบความนําไฟฟาระหวางตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว

ทางนํ้าชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้า

กอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว โดยการ วิเคราะหทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของ ความนําไฟฟา

ทั้ง 3 กลุม มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 โดยคาเฉลี่ยของ

ความนําไฟฟาของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียวมีคา

มากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 รองลงมา คือ ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากทางนํ้า

ชลประทานของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และอางเก็บนํ้ากระเสียว ตามลําดับ

สําหรับรูปที่ 6 และรูปที่ 7 แสดงการเปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า

กับคาเฉลี่ยของความนําไฟฟาของตัวอยางนํ้าที่เก็บจาก อางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของ

โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

ระหวาง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน ตามลําดับ

0

1000

2000

3000

4000

EC

( m

icro

mho

s / c

m ) ฤดูรอน

ฤดูฝน

ฤดูหนาว

คาเฉลี่ย

เกณฑกําหนดสูงสุดอางเก็บน้ํากระเสียว จุดเฝาระวังกอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

ทางน้ํา

ชลประทาน

รูปท่ี 6 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับคาเฉลี่ยของความนําไฟฟา ระหวาง

3 ฤดูกาล ของตัวอยางนํ้าท่ีเก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของโครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

Page 79: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

49

0

1000

2000

3000

4000

เดือนที่เก็บตัวอยางน้ํา

EC

( m

icro

mho

s / c

m )

ก.พ

. 53

ม.ีค.

53

เม.ย

. 53

พ.ค

. 53

ม.ิย.

53

ก.ค.

53

ส.ค

. 53

ก.ย.

53

ต.ค.

53

พ.ย

. 53

ธ.ค.

53

ม.ค.

54

เกณฑกําหนดสูงสุด

รูปท่ี 7 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับคาเฉลี่ยของความนําไฟฟา ระหวาง

12 เดือน ของตัวอยางนํ้าท่ีเก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของโครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

4.1.3 ความเค็ม

1) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว มีความเค็มอยูในชวง 0.1 – 0.1 กรัม

ตอลิตร และคาเฉลี่ยเทากับ 0.1 กรัมตอลิตร

1.1) เมื่อพิจารณา ความเค็มแยกตามฤดูกาล พบวา ฤดูรอนมีคาอยูในชวง

0.1 – 0.1 กรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.1 กรัมตอลิตร ฤดูฝนมีคาอยูในชวง 0.1 – 0.1 กรัมตอลิตร

คาเฉลี่ยเทากับ 0.1 กรัมตอลิตร และฤดูหนาวมีคาอยูในชวง 0.1 – 0.1 กรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ

0.1 กรัมตอลิตร จากผลการวิเคราะหทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของความเค็ม ระหวาง 3 ฤดูกาล

ไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

1.2) เมื่อพิจารณา ความเค็มแยกตามรายเดือน พบวา คาเฉลี่ยของความเค็ม

ระหวาง 12 เดือน ไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

2) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษา

กระเสียวมีความเค็มอยูในชวง 0.1 – 0.2 กรัมตอลิตร และคาเฉลี่ยเทากับ 0.1 กรัมตอลิตร

2.1) เมื่อพิจารณา ความเค็มแยกตามฤดูกาล พบวา ฤดูรอนมีคาอยูในชวง

0.1 – 0.2 กรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.1 กรัมตอลิตร ฤดูฝนมีคาอยูในชวง 0.1 – 0.2 กรัมตอลิตร

คาเฉลี่ยเทากับ 0.1 กรัมตอลิตร และฤดูหนาวมีคาอยูในชวง 0.1 – 0.2 กรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ

0.1 กรัมตอลิตร จากผลการวิเคราะหทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของความเค็ม ระหวาง 3 ฤดูกาล

ไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

2.2) เมื่อพิจารณา ความเค็มแยกตามรายเดือน พบวา คาเฉลี่ยของความเค็ม

ระหวาง 12 เดือน ไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

อางเก็บน้ํากระเสียว

จุดเฝาระวังกอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

ทางน้ําชลประทาน

Page 80: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

50

3) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

มีความเค็มอยูในชวง 0.1 – 0.4 กรัมตอลิตร และคาเฉลี่ยเทากับ 0.2 กรัมตอลิตร

3.1) เมื่อพิจารณา ความเค็มแยกตามฤดูกาล พบวา ฤดูรอนมีคาอยูในชวง

0.2 – 0.4 กรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.3 กรัมตอลิตร ฤดูฝนมีคาอยูในชวง 0.1 – 0.3 กรัมตอลิตร

คาเฉลี่ยเทากับ 0.2 กรัมตอลิตร และฤดูหนาวมีคาอยูในชวง 0.1 – 0.2 กรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ

0.2 กรัมตอลิตร จากผลการวิเคราะหทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของความเค็ม ระหวาง 3 ฤดูกาล

ไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

4) เมื่อเปรียบเทียบ ความเค็ม ระหวางตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว

ทางนํ้าชลประทานของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหล

ลงอางเก็บนํ้ากระเสียว โดยการ วิเคราะหทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของความเค็มมีความแตกตางกัน

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 โดยคาเฉลี่ยของความเค็มของตัวอยางนํ้าที่เก็บจาก

จุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียวมีคามากที่สุด อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 รองลงมา คือ ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียวและทางนํ้า

ชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว ซึ่งทั้งสองกลุมน้ีไมมี ความแตกตางกัน

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

สําหรับรูปที่ 8 และรูปที่ 9 แสดงการเปรียบเทียบคาเฉลี่ยของ ความเค็ม ของ

ตัวอยางนํ้าที่เก็บจาก อางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษา

กระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว ระหวาง 3 ฤดูกาล และ

12 เดือน ตามลําดับ

0

0.1

0.2

0.3

0.4

Salin

ity (

g / L

) ฤดูรอน

ฤดูฝน

ฤดูหนาว

คาเฉลี่ยอางเก็บน้ํากระเสียว จุดเฝาระวังกอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

ทางน้ํา

ชลประทาน

รูปท่ี 8 เปรียบเทียบคาเฉลี่ยของ ความเค็ม ระหวาง 3 ฤดูกาล ของตัวอยางนํ้าท่ีเก็บจาก

อางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวัง

คุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

Page 81: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

51

0.0

0.2

0.4

0.6

เดือนที่เก็บตัวอยางน้ํา

Salin

ity (

g / L

)

ก.พ

. 53

ม.ีค.

53

เม.ย

. 53

พ.ค

. 53

ม.ิย.

53

ก.ค.

53

ส.ค

. 53

ก.ย.

53

ต.ค.

53

พ.ย

. 53

ธ.ค.

53

ม.ค.

54 เกณฑกําหนดสูงสุด

รูปท่ี 9 เปรียบเทียบคาเฉลี่ยของ ความเค็ม ระหวาง 12 เดือน ของตัวอยางนํ้าท่ีเก็บจาก

อางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวัง

คุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

4.1.4 ความขุน

1) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว มีความขุนอยูในชวง 2.8 – 132.0

เอ็นทียู และคาเฉลี่ยเทากับ 14.8 เอ็นทีย ู

1.1) เมื่อพิจารณา ความขุนแยกตามฤดูกาล พบวา ฤดูรอนมีคาอยูในชวง

2.8 – 24.4 เอ็นทียู คาเฉลี่ยเทากับ 7.2 เอ็นทียู ฤดูฝนมีคาอยูในชวง 6.1 – 132.0 เอ็นทียู คาเฉลี่ย

เทากับ 21.6 เอ็นทียู และฤดูหนาวมีคาอยูในชวง 3.2 – 15.4 เอ็นทียู คาเฉลี่ยเทากับ 8.7 เอ็นทียู

จากผลการวิเคราะหทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของความขุน ระหวาง 3 ฤดูกาล มีความแตกตางกัน

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 โดยคาเฉลี่ยของความขุนในฤดูฝนมีคามากที่สุด

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 รองลงมา คือ ฤดูรอนและฤดูหนาว ซึ่งทั้งสองฤดูน้ี

ไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

1.2) เมื่อพิจารณา ความขุนแยกตามรายเดือน พบวา คาเฉลี่ยของความขุน

ระหวาง 12 เดือน ไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

2) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษา

กระเสียวมีความขุนอยูในชวง 3.4 – 484.0 เอ็นทียู และคาเฉลี่ยเทากับ 46.1 เอ็นทียู

2.1) เมื่อพิจารณา ความขุนแยกตามฤดูกาล พบวา ฤดูรอนมีคาอยูในชวง

3.4 – 85.3 เอ็นทียู คาเฉลี่ยเทากับ 16.9 เอ็นทียู ฤดูฝนมีคาอยูในชวง 6.0 – 484.0 เอ็นทียู คาเฉลี่ย

เทากับ 85.8 เอ็นทียู และฤดูหนาวมีคาอยูในชวง 4.3 – 92.0 เอ็นทียู คาเฉลี่ยเทากับ 30.8 เอ็นทียู

จากผลการวิเคราะหทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของความขุน ระหวาง 3 ฤดูกาล มีความแตกตางกัน

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 โดยคาเฉลี่ยของความขุนในฤดูฝนมีคามากที่สุด

อางเก็บน้ํากระเสียว

จุดเฝาระวังกอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

ทางน้ําชลประทาน

Page 82: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

52

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 รองลงมา คือ ฤดูรอนและฤดูหนาว ซึ่งทั้งสองฤดูน้ี

ไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

2.2) เมื่อพิจารณา ความขุนแยกตามรายเดือน พบวา คาเฉลี่ยของความขุน

ระหวาง 12 เดือน มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 โดยคาเฉลี่ย

ของความขุนในเดือนสิงหาคมมีคามากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

3) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

มีความขุนอยูในชวง 17.5 – 1,067 เอ็นทียู และคาเฉลี่ยเทากับ 243.0 เอ็นทียู

3.1) เมื่อพิจารณา ความขุนแยกตามฤดูกาล พบวา ฤดูรอนมีคาอยูในชวง

20.8 – 109.0 เอ็นทียู คาเฉลี่ยเทากับ 67.5 เอ็นทียู ฤดูฝนมีคาอยูในชวง 57.0 – 1,067 เอ็นทียู

คาเฉลี่ยเทากับ 417.7 เอ็นทียู และฤดูหนาวมีคาอยูในชวง 17.5 – 112.0 เอ็นทียู คาเฉลี่ยเทากับ

69.1 เอ็นทียู จากผลการวิเคราะหทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของความขุน ระหวาง 3 ฤดูกาล ไมมีความ

แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

4) เมื่อเปรียบเทียบ ความขุน ระหวางตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว

ทางนํ้าชลประทานของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหล

ลงอางเก็บนํ้ากระเสียว โดยการ วิเคราะหทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของความขุนมีความแตกตางกัน

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 โดยคาเฉลี่ยของความขุน ของตัวอยางนํ้าที่เก็บจาก

จุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียวมีคามากที่สุด อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 รองลงมา คือ ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียวและทางนํ้า

ชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว ซึ่งทั้งสองกลุมน้ีไมมี ความแตกตางกัน

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

สําหรับรูปที่ 10 และรูปที่ 11 แสดงการเปรียบเทียบคาเฉลี่ยของความขุน

ของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษา

กระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว ระหวาง 3 ฤดูกาล และ

12 เดือน ตามลําดับ

Page 83: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

53

0

200

400

600

Tur

bidi

ty (

NT

U ) ฤดูรอน

ฤดูฝน

ฤดูหนาว

คาเฉลี่ยอางเก็บน้ํากระเสียว จุดเฝาระวังกอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

ทางน้ํา

ชลประทาน

รูปท่ี 10 เปรียบเทียบคาเฉลี่ยของความขุน ระหวาง 3 ฤดูกาล ของตัวอยางนํ้าท่ีเก็บจาก

อางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวัง

คุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

0

500

1000

1500

เดือนที่เก็บตัวอยางน้ํา

Tur

bidi

ty (

NT

U )

ก.พ

. 53

ม.ีค.

53

เม.ย

. 53

พ.ค

. 53

ม.ิย.

53

ก.ค.

53

ส.ค

. 53

ก.ย.

53

ต.ค.

53

พ.ย

. 53

ธ.ค.

53

ม.ค.

54

รูปท่ี 11 เปรียบเทียบคาเฉลี่ยของความขุน ระหวาง 12 เดือน ของตัวอยางนํ้าท่ีเก็บจาก

อางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวัง

คุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

4.1.5 ปริมาณสารแขวนลอย (SS)

1) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว มีปริมาณสารแขวนลอยอยูในชวง

0.57 – 89.00 มิลลิกรัมตอลิตร และคาเฉลี่ยเทากับ 12.66 มิลลิกรัมตอลิตร

1.1) เมื่อพิจารณาปริมาณสารแขวนลอยแยกตามฤดูกาล พบวา ฤดูรอนมีคาอยู

ในชวง 0.57 – 18.50 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 5.85 มิลลิกรัมตอลิตร ฤดูฝนมีคาอยูในชวง

2.86 – 89.00 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 18.37 มิลลิกรัมตอลิตร และฤดูหนาวมีคาอยูในชวง

3.71 – 14.86 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 8.04 มิลลิกรัมตอลิตร จากผลการวิเคราะหทางสถิติ

พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณสารแขวนลอย ระหวาง 3 ฤดูกาล มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ

ทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 โดยคาเฉลี่ยของปริมาณสารแขวนลอยในฤดูฝนมีคามากที่สุด

อางเก็บน้ํากระเสียว

จุดเฝาระวังกอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

ทางน้ําชลประทาน

Page 84: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

54

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 รองลงมา คือ ฤดูรอนและฤดูหนาว ซึ่งทั้งสองฤดูน้ี

ไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

1.2) เมื่อพิจารณาปริมาณสารแขวนลอยแยกตามรายเดือน พบวา คาเฉลี่ยของ

ปริมาณสารแขวนลอยระหวาง 12 เดือน ไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

1.3) เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐานการระบายนํ้าที่มีคุณภาพตํ่าลงทางนํ้า

ชลประทานและทางนํ้าที่เชื่อมตอกับทางนํ้าชลประทานในเขตพื้นที่โครงการชลประทาน และ

เกณฑคุณภาพนํ้าที่เหมาะสมตอการดํารงชีวิตของสัตวนํ้า พบวา คาเฉลี่ย ของปริมาณสารแขวนลอย

ทั้ง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน มีคาอยูในเกณฑมาตรฐาน ยกเวน เดือน กันยายนและตุลาคม

มีคามากกวาเกณฑคุณภาพนํ้าที่เหมาะสมตอการดํารงชีวิตของสัตวนํ้าเล็กนอย

2) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษา

กระเสียวมีปริมาณสารแขวนลอยอยูในชวง 0.86 – 308.00 มิลลิกรัมตอลิตร และคาเฉลี่ยเทากับ

46.09 มิลลิกรัมตอลิตร

2.1) เมื่อพิจารณาปริมาณสารแขวนลอยแยกตามฤดูกาล พบวา ฤดูรอนมีคาอยู

ในชวง 1.14 – 127.33 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 21.04 มิลลิกรัมตอลิตร ฤดูฝนมีคาอยูในชวง

0.86 – 308.00 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 61.74 มิลลิกรัมตอลิตร และฤดูหนาวมีคาอยูในชวง

3.71 – 118.67 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 39.85 มิลลิกรัมตอลิตร จากผลการวิเคราะห

ทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณสารแขวนลอย ระหวาง 3 ฤดูกาล มีความแตกตางกันอยางมี

นัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 โดยคาเฉลี่ยของปริมาณสารแขวนลอยในฤดูฝน มีคา

มากที่สุด อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 สวน ฤดูรอนและฤดู หนาว ไมมี

ความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

2.2) เมื่อพิจารณาปริมาณสารแขวนลอยแยกตามรายเดือน พบวา คาเฉลี่ยของ

ปริมาณสารแขวนลอย ระหวาง 12 เดือน มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ

นัยสําคัญ 0.05 โดยคาเฉลี่ยของปริมาณสารแขวนลอยในเดือน สิงห าคมมีคามากที่สุดอยางมี

นัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

2.3) เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐานการระบายนํ้าที่มีคุณภาพตํ่าลงทางนํ้า

ชลประทานและทางนํ้าที่เชื่อมตอกับทางนํ้าชลประทานในเขตพื้นที่โครงการชลประทาน และ

เกณฑคุณภาพนํ้าที่เหมาะสมตอการดํารงชีวิตของสัตวนํ้า พบวา คาเฉลี่ย ของปริมาณสารแขวนลอย

ของฤดูรอน มีคาอยูในเกณฑมาตรฐาน สวนฤดูฝนและฤดูหนาว มีคามากกวาเกณฑมาตรฐาน

นอกจากน้ีคาเฉลี่ยของปริมาณสารแขวนลอยในเดือนกุมภาพันธ มีนาคม พฤษภาคม มิถุนายน และ

กรกฎาคม มีคาอยูในเกณฑมาตรฐาน สวนเดือนเมษายน สิงหาคม กันยายน ตุลาคม พฤศจิกายน

ธันวาคม และมกราคม มีคามากกวาเกณฑมาตรฐาน

Page 85: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

55

3) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

มีปริมาณสารแขวนลอยอยูในชวง 26.80 – 808.00 มิลลิกรัมตอลิตร และคาเฉลี่ยเทากับ 220.58

มิลลิกรัมตอลิตร

3.1) เมื่อพิจารณาปริมาณสารแขวนลอยแยกตามฤดูกาล พบวา ฤดูรอนมีคาอยู

ในชวง 26.80 – 98.67 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 66.05 มิลลิกรัมตอลิตร ฤดูฝนมีคาอยูในชวง

49.00 – 808.00 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 371.56 มิลลิกรัมตอลิตร และฤดูหนาวมีคาอยู

ในชวง 27.43 – 116.00 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 73.14 มิลลิกรัมตอลิตร จากผลการวิเคราะห

ทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณสารแขวนลอย ระหวาง 3 ฤดูกาล ไมมีความแตกตางกันอยางมี

นัยสําคัญทางสถิติ

3.2) เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐานการระบายนํ้าที่มีคุณภาพตํ่าลงทางนํ้า

ชลประทานและทางนํ้าที่เชื่อมตอกับทางนํ้าชลประทานในเขตพื้นที่โครงการชลประทาน และ

เกณฑคุณภาพนํ้าที่เหมาะสมตอการดํารงชีวิตของสัตวนํ้า พบวา คาเฉลี่ย ของปริมาณสารแขวนลอย

ทั้ง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน มีคามากกวาเกณฑมาตรฐาน

4) เมื่อเปรียบเทียบ ปริมาณสารแขวนลอย ระหวางตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้า

กระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวัง

คุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว โดยการ วิเคราะหทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณ

สารแขวนลอยมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 โดยคาเฉลี่ยของ

ปริมาณสารแขวนลอย ของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้า

กระเสียวมีคามากที่สุด อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 รองลงมา คือ ตัวอยางนํ้า

ที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียวและทางนํ้าชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว

ซึ่งทั้งสองกลุมน้ีไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

สําหรับรูปที่ 12 และรูปที่ 13 แสดงการเปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า

กับ คาเฉลี่ยของปริมาณสารแขวนลอยของตัวอยางนํ้าที่เก็บจาก อางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้า

ชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลง

อางเก็บนํ้ากระเสียว ระหวาง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน ตามลําดับ

Page 86: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

56

0

100

200

300

400

SS (

mg

/ L )

ฤดูรอน

ฤดูฝน

ฤดูหนาว

คาเฉลี่ย

เกณฑกําหนดสูงสุดอางเก็บน้ํากระเสียว จุดเฝาระวังกอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

ทางน้ํา

ชลประทาน

รูปท่ี 12 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับคาเฉลี่ยของปริมาณสารแขวนลอย

ระหวาง 3 ฤดูกาล ของตัวอยางนํ้าท่ีเก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของโครงการ

สงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

0200400600800

1000

เดือนที่เก็บตัวอยางน้ํา

SS (

mg

/ L )

ก.พ

. 53

ม.ีค.

53

เม.ย

. 53

พ.ค

. 53

ม.ิย.

53

ก.ค.

53

ส.ค

. 53

ก.ย.

53

ต.ค.

53

พ.ย

. 53

ธ.ค.

53

ม.ค.

54 เกณฑกําหนดสูงสุด

รูปท่ี 13 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับคาเฉลี่ยของปริมาณสารแขวนลอย

ระหวาง 12 เดือน ของตัวอยางนํ้าท่ีเก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของโครงการ

สงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

4.1.6 ปริมาณของแข็งท้ังหมดท่ีละลายในนํ้า (TDS)

1) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว มีปริมาณของแข็งทั้งหมดที่ละลาย

ในนํ้าอยูในชวง 102 – 224 มิลลิกรัมตอลิตร และคาเฉลี่ยเทากับ 149 มิลลิกรัมตอลิตร

1.1) เมื่อพิจารณาปริมาณของแข็งทั้งหมดที่ละลายในนํ้าแยกตามฤดูกาล พบวา

ฤดูรอนมีคาอยูในชวง 138 – 188 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 163 มิลลิกรัมตอลิตร ฤดูฝนมีคา

อยูในชวง 108 – 224 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 152 มิลลิกรัมตอลิตร และฤดูหนาวมีคาอยู

ในชวง 102 – 158 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 129 มิลลิกรัมตอลิตร จากผลการวิเคราะห

ทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณของแข็งทั้งหมดที่ละลายในนํ้า ระหวาง 3 ฤดูกาล มีความ

แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 โดยคาเฉลี่ยของปริมาณของแข็ง

อางเก็บน้ํากระเสียว

จุดเฝาระวังกอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

ทางน้ําชลประทาน

Page 87: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

57

ทั้งหมดที่ละลายในนํ้าในฤดูรอนและฤดูฝนมีคามากกวาฤดูหนาวอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ

นัยสําคัญ 0.05

1.2) เมื่อพิจารณา ปริมาณของแข็งทั้งหมดที่ละลายในนํ้าแยกตามรายเดือน

พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณของแข็งทั้งหมดที่ละลายในนํ้า ระหวาง 12 เดือน มีความแตกตางกัน

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 โดยคาเฉลี่ยของปริมาณของแข็งทั้งหมดที่ละลาย

ในนํ้าในเดือนกรกฎาคมมีคามากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

1.3) เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐานนํ้าชลประทานของ FAO (1985) และ

มาตรฐานการระบายนํ้าที่มีคุณภาพตํ่าลงทางนํ้าชลประทานและทางนํ้าที่เชื่อมตอกับทางนํ้า

ชลประทานในเขตพื้นที่โครงการชลประทาน พบวา คาเฉลี่ย ของปริมาณของแข็งทั้งหมดที่ละลาย

ในนํ้าทั้ง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน มีคาอยูในเกณฑมาตรฐาน

2) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษา

กระเสียวมีปริมาณของแข็งทั้งหมดที่ละลายในนํ้าอยูในชวง 90 – 280 มิลลิกรัมตอลิตร และคาเฉลี่ย

เทากับ 177 มิลลิกรัมตอลิตร

2.1) เมื่อพิจารณาปริมาณของแข็งทั้งหมดที่ละลายในนํ้าแยกตามฤดูกาล พบวา

ฤดูรอนมีคาอยูในชวง 152 – 232 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 183 มิลลิกรัมตอลิตร ฤดูฝนมีคา

อยูในชวง 90 – 280 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 181 มิลลิกรัมตอลิตร และฤดูหนาวมีคาอยู

ในชวง 130 – 254 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 165 มิลลิกรัมตอลิตร จากผลการวิเคราะห

ทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณของแข็งทั้งหมดที่ละลายในนํ้า ระหวาง 3 ฤดูกาล ไม มีความ

แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

2.2) เมื่อพิจารณา ปริมาณของแข็งทั้งหมดที่ละลายในนํ้าแยกตามรายเดือน

พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณของแข็งทั้งหมดที่ละลายในนํ้า ระหวาง 12 เดือน มีความแตกตางกัน

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 โดยคาเฉลี่ยของปริมาณของแข็งทั้งหมดที่ละลาย

ในนํ้าในเดือนกรกฎาคมมีคามากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

2.3) เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐานนํ้าชลประทานของ FAO (1985) และ

มาตรฐานการระบายนํ้าที่มีคุณภาพตํ่าลงทางนํ้าชลประทานและทางนํ้าที่เชื่อมตอกับทางนํ้า

ชลประทานในเขตพื้นที่โครงการชลประทาน พบวา คาเฉลี่ย ของปริมาณของแข็งทั้งหมดที่ละลาย

ในนํ้าทั้ง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน มีคาอยูในเกณฑมาตรฐาน

3) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

มีปริมาณของแข็งทั้งหมดที่ละลายในนํ้าอยูในชวง 104 – 410 มิลลิกรัมตอลิตร และคาเฉลี่ยเทากับ

246 มิลลิกรัมตอลิตร

Page 88: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

58

3.1) เมื่อพิจารณาปริมาณของแข็งทั้งหมดที่ละลายในนํ้าแยกตามฤดูกาล พบวา

ฤดูรอนมีคาอยูในชวง 300 – 410 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 350 มิลลิกรัมตอลิตร ฤดูฝนมีคา

อยูในชวง 104 – 380 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 214 มิลลิกรัมตอลิตร และฤดูหนาวมีคาอยู

ในชวง 172 – 258 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 207 มิลลิกรัมตอลิตร จากผลการวิเคราะห

ทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณของแข็งทั้งหมดที่ละลายในนํ้า ระหวาง 3 ฤดูกาล ไม มีความ

แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

3.2) เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐานนํ้าชลประทานของ FAO (1985) และ

มาตรฐานการระบายนํ้าที่มีคุณภาพตํ่าลงทางนํ้าชลประทานและทางนํ้าที่เชื่อมตอกับทางนํ้า

ชลประทานในเขตพื้นที่โครงการชลประทาน พบวา คาเฉลี่ย ของปริมาณของแข็งทั้งหมดที่ละลาย

ในนํ้าทั้ง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน มีคาอยูในเกณฑมาตรฐาน

4) เมื่อเปรียบเทียบ ปริมาณของแข็งทั้งหมดที่ละลายในนํ้า ระหวางตัวอยางนํ้า

ที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และ

จุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว โดยการ วิเคราะหทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ย

ของปริมาณของแข็งทั้งหมดที่ละลายในนํ้า มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ

นัยสําคัญ 0.05 โดยคาเฉลี่ยของ ปริมาณของแข็งทั้งหมดที่ละลายในนํ้า ของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุด

เฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียวมีคามากที่สุด อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ

นัยสําคัญ 0.05 รองลงมา คือ ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากทางนํ้าชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและ

บํารุงรักษากระเสียว และอางเก็บนํ้ากระเสียว ตามลําดับ

สําหรับรูปที่ 14 และรูปที่ 15 แสดงการเปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า

กับคาเฉลี่ยของปริมาณของแข็งทั้งหมดที่ละลายในนํ้า ของตัวอยางนํ้าที่เก็บจาก อางเก็บนํ้ากระเสียว

ทางนํ้าชลประทานของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหล

ลงอางเก็บนํ้ากระเสียว ระหวาง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน ตามลําดับ

Page 89: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

59

0

1000

2000

3000

TD

S ( m

g / L

)

ฤดูรอน

ฤดูฝน

ฤดูหนาว

คาเฉลี่ย

เกณฑกําหนดสูงสุดอางเก็บน้ํากระเสียว จุดเฝาระวังกอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

ทางน้ํา

ชลประทาน

รูปท่ี 14 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับคาเฉลี่ยของ ปริมาณของแข็งท้ังหมด

ท่ีละลายในนํ้า ระหวาง 3 ฤดูกาล ของตัวอยางนํ้าท่ีเก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน

ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้า

กระเสียว

0

1000

2000

3000

เดือนที่เก็บตัวอยางน้ํา

TD

S (m

g / L

)

ก.พ

. 53

ม.ีค.

53

เม.ย

. 53

พ.ค

. 53

ม.ิย.

53

ก.ค.

53

ส.ค

. 53

ก.ย.

53

ต.ค.

53

พ.ย

. 53

ธ.ค.

53

ม.ค.

54 เกณฑกําหนดสูงสุด

รูปท่ี 15 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับคาเฉลี่ยของ ปริมาณของแข็งท้ังหมด

ท่ีละลายในนํ้า ระหวาง 12 เดือน ของตัวอยางนํ้าท่ีเก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน

ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้า

กระเสียว

4.2 คุณภาพนํ้าทางเคมี

ไดแก ความเปนกรด – ดาง (pH) ปริมาณออกซิเจนละลายในนํ้า (DO) ปริมาณบีโอดี

(BOD) ปริมาณซัลไฟดคิดเทียบเปนไฮโดรเจนซัลไฟด (H2 S) ปริมาณฟอสเฟต ฟอสฟอรัส

(PO4 - P) ปริมาณไนไตรท – ไนโตรเจน (NO2 – N) ปริมาณไนเตรท – ไนโตรเจน (NO3 – N)

ปริมาณไนโตรเจนในรูปทีเคเอ็น (TKN) ปริมาณแอมโมเนีย – ไนโตรเจน (NH3 – N) ปริมาณ

อินทรียสารไนโตรเจน (Organic Nitrogen) ปริมาณไนโตรเจนทั้งหมด (Total Nitrogen) ปริมาณ

แคลเซียม (Ca) ปริมาณแมกนีเซียม (Mg) ปริมาณโซเดียม (Na) ปริมาณโพแทสเซียม (K) ปริมาณ

อางเก็บน้ํากระเสียว

จุดเฝาระวังกอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

ทางน้ําชลประทาน

Page 90: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

60

คารบอเนต (CO3) ปริมาณไบคารบอเนต (HCO3) ปริมาณคลอไรด (Cl) ปริมาณซัลเฟต (SO4)

เปอรเซ็นตโซเดียมที่ละลายนํ้า (SSP) สัดสวนของการดูดซับโซเดียม (SAR) ปริมาณโซเดียม

คารบอเนตตกคาง (RSC) และปริมาณความกระดางทั้งหมดในรูป CaCO3 สําหรับรายละเอียด

ผลวิเคราะหคุณภาพนํ้าทางเคมีใน 3 ฤดู และใน 12 เดือน แสดงดังตารางที่ ค .7 – ค.28 และ ตารางที่

ง.7 – ง.28 สวนผลวิเคราะหทางสถิติโดยการวิเคราะหความแปรปรวนแบบทางเดียว แสดงดัง

ตารางที่ จ.1 – จ.6 สามารถอธิบายไดดังน้ี

4.2.1 ความเปนกรด – ดาง (pH)

1) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว มีความเปนกรด – ดางอยูในชวง

6.4 – 8.7 และคาเฉลี่ยเทากับ 7.6

1.1) เมื่อพิจารณาความเปนกรด – ดางแยกตามฤดูกาล พบวา ฤดูรอนมีคาอยู

ในชวง 6.4 – 8.6 คาเฉลี่ยเทากับ 7.9 ฤดูฝนมีคาอยูในชวง 6.5 – 8.7 คาเฉลี่ยเทากับ 7.4 และ

ฤดูหนาวมีคาอยูในชวง 6.7 – 8.4 คาเฉลี่ยเทากับ 7.8 จากผลการวิเคราะหทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ย

ของความเปนกรด – ดางระหวาง 3 ฤดูกาล ไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

1.2) เมื่อพิจารณาความเปนกรด – ดางแยกตามรายเดือน พบวา คาเฉลี่ยของ

ความเปนกรด – ดาง ระหวาง 12 เดือน มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ

นัยสําคัญ 0.05 โดยคาเฉลี่ยของความเปนกรด – ดางในเดือนพฤษภาคมมีคามากที่สุดอยางมี

นัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

1.3) เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐานนํ้าชลประทานของ FAO (1985)

มาตรฐานคุณภาพนํ้าในแหลงนํ้าผิวดิน มาตรฐานการระบายนํ้าที่มีคุณภาพตํ่าลงทางนํ้าชลประทาน

และทางนํ้าที่เชื่อมตอกับทางนํ้าชลประทานในเขตพื้นที่โครงการชลประทาน และเกณฑคุณภาพนํ้า

ที่เหมาะสมตอการดํารงชีวิตของสัตวนํ้า พบวา คาเฉลี่ย ของความเปนกรด – ดางทั้ง 3 ฤดูกาล และ

12 เดือน มีคาอยูในเกณฑมาตรฐาน

2) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษา

กระเสียวมีความเปนกรด – ดางอยูในชวง 6.4 – 8.1 และคาเฉลี่ยเทากับ 7.6

2.1) เมื่อพิจารณาความเปนกรด – ดางแยกตามฤดูกาล พบวา ฤดูรอนมีคาอยู

ในชวง 7.6 – 8.1 คาเฉลี่ยเทากับ 7.9 ฤดูฝนมีคาอยูในชวง 6.4 – 8.1 คาเฉลี่ยเทากับ 7.4 และ

ฤดูหนาวมีคาอยูในชวง 6.6 – 8.0 คาเฉลี่ยเทากับ 7.4 จากผลการวิเคราะหทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ย

ของความเปนกรด – ดางระหวาง 3 ฤดูกาล มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ

นัยสําคัญ 0.05 โดยคาเฉลี่ยของความเปนกรด – ดางในฤดูรอน มีคามากที่สุด อยางมีนัยสําคัญ

ทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 รองลงมา คือ ฤดูฝนและ ฤดูหนาว ซึ่งทั้งสองฤดูน้ีไมมี

ความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

Page 91: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

61

2.2) เมื่อพิจารณาความเปนกรด – ดางแยกตามรายเดือน พบวา คาเฉลี่ยของ

ความเปนกรด – ดาง ระหวาง 12 เดือน มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ

นัยสําคัญ 0.05 โดยคาเฉลี่ยของความเปนกรด – ดางในเดือน กุมภาพันธ มีนาคม เมษายน และ

พฤษภาคม มีคามากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

2.3) เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐานนํ้าชลประทานของ FAO (1985)

มาตรฐานคุณภาพนํ้าในแหลงนํ้าผิวดิน มาตรฐานการระบายนํ้าที่มีคุณภาพตํ่าลงทางนํ้าชลประทาน

และทางนํ้าที่เชื่อมตอกับทางนํ้าชลประทานในเขตพื้นที่โครงการชลประทาน และเกณฑคุณภาพนํ้า

ที่เหมาะสมตอการดํารงชีวิตของสัตวนํ้า พบวา คาเฉลี่ย ของความเปนกรด – ดางทั้ง 3 ฤดูกาล และ

12 เดือน มีคาอยูในเกณฑมาตรฐาน

3) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

มีความเปนกรด – ดางอยูในชวง 6.4 – 8.0 และคาเฉลี่ยเทากับ 7.3

3.1) เมื่อพิจารณาความเปนกรด – ดางแยกตามฤดูกาล พบวา ฤดูรอนมีคาอยู

ในชวง 7.3 – 7.9 คาเฉลี่ยเทากับ 7.6 ฤดูฝนมีคาอยูในชวง 6.4 – 8.0 คาเฉลี่ยเทากับ 7.2 และ

ฤดูหนาวมีคาอยูในชวง 6.7 – 7.8 คาเฉลี่ยเทากับ 7.4 จากผลการวิเคราะหทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ย

ของความเปนกรด – ดางระหวาง 3 ฤดูกาล ไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

3.2) เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐานนํ้าชลประทานของ FAO (1985)

มาตรฐานคุณภาพนํ้าในแหลงนํ้าผิวดิน มาตรฐานการระบายนํ้าที่มีคุณภาพตํ่าลงทางนํ้าชลประทาน

และทางนํ้าที่เชื่อมตอกับทางนํ้าชลประทานในเขตพื้นที่โครงการชลประทาน และเกณฑคุณภาพนํ้า

ที่เหมาะสมตอการดํารงชีวิตของสัตวนํ้า พบวา คาเฉลี่ย ของความเปนกรด – ดางทั้ง 3 ฤดูกาล และ

12 เดือน มีคาอยูในเกณฑมาตรฐาน

4) เมื่อเปรียบเทียบ ความเปนกรด – ดางระหวางตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้า

กระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวัง

คุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว โดยการ วิเคราะหทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของความเปน

กรด – ดางไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

สําหรับรูปที่ 16 และรูปที่ 17 แสดงการเปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า

กับ คาเฉลี่ยของความเปนกรด – ดางของตัวอยางนํ้าที่เก็บจาก อางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้า

ชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลง

อางเก็บนํ้ากระเสียว ระหวาง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน ตามลําดับ

Page 92: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

62

4.0

6.0

8.0

10.0

pH

ฤดูรอน

ฤดูฝน

ฤดูหนาว

คาเฉลี่ย

เกณฑกําหนดสูงสุด

เกณฑกําหนดต่ําสุด

อางเก็บน้ํากระเสียว จุดเฝาระวังกอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

ทางน้ํา

ชลประทาน

รูปท่ี 16 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับคาเฉลี่ยของความเปนกรด – ดาง

ระหวาง 3 ฤดูกาล ของตัวอยางนํ้าท่ีเก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของโครงการ

สงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

4.0

6.0

8.0

10.0

เดือนที่เก็บตัวอยางน้ํา

pH

ก.พ

. 53

ม.ีค.

53

เม.ย

. 53

พ.ค

. 53

ม.ิย.

53

ก.ค.

53

ส.ค

. 53

ก.ย.

53

ต.ค.

53

พ.ย

. 53

ธ.ค.

53

ม.ค.

54 เกณฑกําหนดสูงสุด

เกณฑกําหนดต่ําสุด

รูปท่ี 17 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับคาเฉลี่ยของความเปนกรด – ดาง

ระหวาง 12 เดือน ของตัวอยางนํ้าท่ีเก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของโครงการ

สงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

4.2.2 ปริมาณออกซิเจนละลายในนํ้า (DO)

1) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว มีปริมาณออกซิเจนละลายในนํ้า

อยูในชวง 3.66 – 6.56 มิลลิกรัมตอลิตร และคาเฉลี่ยเทากับ 5.07 มิลลิกรัมตอลิตร

1.1) เมื่อพิจารณา ปริมาณออกซิเจนละลายในนํ้าแยกตามฤดูกาล พบวา

ฤดูรอนมีคาอยูในชวง 4.71 – 6.34 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 5.55 มิลลิกรัมตอลิตร ฤดูฝนมีคา

อยูในชวง 3.66 – 6.22 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 4.84 มิลลิกรัมตอลิตร และฤดูหนาวมีคาอยู

ในชวง 4.16 – 6.56 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 5.05 มิลลิกรัมตอลิตร จากผลการวิเคราะห

ทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณออกซิเจนละลายในนํ้า ระหวาง 3 ฤดูกาล มีความแตกตางกัน

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 โดยคาเฉลี่ยของปริมาณออกซิเจนละลายในนํ้า

อางเก็บน้ํากระเสียว

จุดเฝาระวังกอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

ทางน้ําชลประทาน

Page 93: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

63

ในฤดูรอนมีคามากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 สวนฤดูฝนและฤดูหนาว

ไมมคีวามแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

1.2) เมื่อพิจารณา ปริมาณออกซิเจนละลายในนํ้าแยกตามรายเดือน พบวา

คาเฉลี่ยของปริมาณออกซิเจนละลายในนํ้า ระหวาง 12 เดือน มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ

ทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 โดยคาเฉลี่ยของปริมาณออกซิเจนละลายในนํ้าในเดือน มิถุนายน

มีคามากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

1.3) เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้าในแหลงนํ้าผิวดิน และ

เกณฑคุณภาพนํ้าที่เหมาะสมตอการดํารงชีวิตของสัตวนํ้า พบวา คาเฉลี่ย ของปริมาณออกซิเจน

ละลายในนํ้าทั้ง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน มีคาอยูในเกณฑมาตรฐาน จัดอยูในแหลงนํ้าผิวดิน ประเภท

ที่ 3 เปนแหลงนํ้าที่ไดรับนํ้าทิ้งจากกิจกรรมบางประเภท และสามารถเปนประโยชนเพื่อการอุปโภค

และบริโภคโดยตองผานการฆาเชื้อโรคตามปกติ และผานกระบวนการปรับปรุงคุณภาพนํ้า

เปนพิเศษกอน และสามารถเปนประโยชนเพื่อการเกษตร

2) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษา

กระเสียวมีปริมาณออกซิเจนละลายในนํ้าอยูในชวง 1.96 – 5.91 มิลลิกรัมตอลิตร และคาเฉลี่ย

เทากับ 4.64 มิลลิกรัมตอลิตร

2.1) เมื่อพิจารณา ปริมาณออกซิเจนละลายในนํ้าแยกตามฤดูกาล พบวา

ฤดูรอนมีคาอยูในชวง 1.96 – 5.91 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 4.74 มิลลิกรัมตอลิตร ฤดูฝนมีคา

อยูในชวง 2.79 – 5.75 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 4.38 มิลลิกรัมตอลิตร และฤดูหนาวมีคาอยู

ในชวง 3.47 – 5.91 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 5.08 มิลลิกรัมตอลิตร จากผลการวิเคราะห

ทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณออกซิเจนละลายในนํ้า ระหวาง 3 ฤดูกาล มีความแตกตางกัน

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 โดยคาเฉลี่ยของปริมาณออกซิเจนละลายในนํ้า

ในฤดูหนาวมีคามากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 สวนฤดูรอนและฤดูฝน

ไมมคีวามแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

2.2) เมื่อพิจารณา ปริมาณออกซิเจนละลายในนํ้าแยกตามรายเดือน พบวา

คาเฉลี่ยของปริมาณออกซิเจนละลายในนํ้า ระหวาง 12 เดือน ไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ

ทางสถิติ

2.3) เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้าในแหลงนํ้าผิวดิน และ

เกณฑคุณภาพนํ้าที่เหมาะสมตอการดํารงชีวิตของสัตวนํ้า พบวา คาเฉลี่ย ของปริมาณออกซิเจน

ละลายในนํ้าทั้ง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน มีคาอยูในเกณฑมาตรฐาน จัดอยูในแหลงนํ้าผิวดิน ประเภท

ที่ 3 เปนแหลงนํ้าที่ไดรับนํ้าทิ้งจากกิจกรรมบางประเภท และสามารถเปนประโยชนเพื่อการอุปโภค

Page 94: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

64

และบริโภคโดยตองผานการฆาเชื้อโรคตามปกติ และผานกระบวนการปรับปรุงคุณภาพนํ้า

เปนพิเศษกอน และสามารถเปนประโยชนเพื่อการเกษตร

3) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

มีปริมาณออกซิเจนละลายในนํ้าอยูในชวง 3.84 – 6.02 มิลลิกรัมตอลิตร และคาเฉลี่ยเทากับ 4.98

มิลลิกรัมตอลิตร

3.1) เมื่อพิจารณา ปริมาณออกซิเจนละลายในนํ้าแยกตามฤดูกาล พบวา

ฤดูรอนมีคาอยูในชวง 3.84 – 5.33 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 4.73 มิลลิกรัมตอลิตร ฤดูฝนมีคา

อยูในชวง 4.01 – 6.02 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 5.05 มิลลิกรัมตอลิตร และฤดูหนาวมีคาอยู

ในชวง 4.54 – 5.40 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 5.06 มิลลิกรัมตอลิตร จากผลการวิเคราะห

ทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณออกซิเจนละลายในนํ้าระหวาง 3 ฤดูกาล ไมมีความแตกตางกัน

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

3.2) เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้าในแหลงนํ้าผิวดิน และ

เกณฑคุณภาพนํ้าที่เหมาะสมตอการดํารงชีวิตของสัตวนํ้า พบวา คาเฉลี่ย ของปริมาณออกซิเจน

ละลายในนํ้าทั้ง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน มีคาอยูในเกณฑมาตรฐาน จัดอยูในแหลงนํ้าผิวดิน ประเภท

ที่ 3 เปนแหลงนํ้าที่ไดรับนํ้าทิ้งจากกิจกรรมบางประเภท และสามารถเปนประโยชนเพื่อการอุปโภค

และบริโภคโดยตองผานการฆาเชื้อโรคตามปกติ และผานกระบวนการปรับปรุงคุณภาพนํ้า

เปนพิเศษกอน และสามารถเปนประโยชนเพื่อการเกษตร

4) เมื่อเปรียบเทียบ ปริมาณออกซิเจนละลายในนํ้า ระหวางตัวอยางนํ้าที่เก็บจาก

อางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวัง

คุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว โดยการ วิเคราะหทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณ

ออกซิเจนละลายในนํ้าไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

สําหรับรูปที่ 18 และรูปที่ 19 แสดงการเปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า

กับคาเฉลี่ยของปริมาณออกซิเจนละลายในนํ้าของตัวอยางนํ้าที่เก็บจาก อางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้า

ชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลง

อางเก็บนํ้ากระเสียว ระหวาง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน ตามลําดับ

Page 95: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

65

0.00

2.00

4.00

6.00

DO

( m

g / L

)

ฤดูรอน

ฤดูฝน

ฤดูหนาว

คาเฉลี่ย

เกณฑกําหนดต่ําสุดอางเก็บน้ํากระเสียว จุดเฝาระวังกอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

ทางน้ํา

ชลประทาน

รูปท่ี 18 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับคาเฉลี่ยของปริมาณออกซิเจนละลาย

ในนํ้า ระหวาง 3 ฤดูกาล ของตัวอยางนํ้าท่ีเก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของ

โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

0.00

2.00

4.00

6.00

8.00

เดือนที่เก็บตัวอยางน้ํา

DO

( m

g / L

)

ก.พ

. 53

ม.ีค.

53

เม.ย

. 53

พ.ค

. 53

ม.ิย.

53

ก.ค.

53

ส.ค

. 53

ก.ย.

53

ต.ค.

53

พ.ย

. 53

ธ.ค.

53

ม.ค.

54

เกณฑกําหนดต่ําสุด

รูปท่ี 19 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับคาเฉลี่ยของปริมาณออกซิเจนละลาย

ในนํ้า ระหวาง 12 เดือน ของตัวอยางนํ้าท่ีเก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของ

โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

4.2.3 ปริมาณบีโอดี (BOD)

1) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว มีปริมาณบีโอดีอยูในชวง 1.00 – 4.82

มิลลิกรัมตอลิตร และคาเฉลี่ยเทากับ 2.35 มิลลิกรัมตอลิตร

1.1) เมื่อพิจารณาปริมาณบีโอดีแยกตามฤดูกาล พบวา ฤดูรอนมีคาอยูในชวง

1.80 – 3.00 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 2.40 มิลลิกรัมตอลิตร ฤดูฝนมีคาอยูในชวง 1.00 – 4.82

มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 2.64 มิลลิกรัมตอลิตร และฤดูหนาวมีคาอยูในชวง 1.01 – 2.82

มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 1.71 มิลลิกรัมตอลิตร จากผลการวิเคราะหทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ย

ของปริมาณบีโอดีระหวาง 3 ฤดูกาล มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ

0.05 โดยคาเฉลี่ยของปริมาณบีโอดีในฤดูรอนและฤดูฝนมีคามาก กวาฤดูหนาวอยางมีนัยสําคัญ

ทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

อางเก็บน้ํากระเสียว

จุดเฝาระวังกอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

ทางน้ําชลประทาน

Page 96: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

66

1.2) เมื่อพิจารณาปริมาณบีโอดีแยกตามรายเดือน พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณ

บีโอดี ระหวาง 12 เดือน มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

โดยคาเฉลี่ยของปริมาณบีโอดีในเดือน มิถุนายน มีคามากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ

นัยสําคัญ 0.05

1.3) เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้าในแหลงนํ้าผิวดิน และ

มาตรฐานการระบายนํ้าที่มีคุณภาพตํ่าลงทางนํ้าชลประทานและทางนํ้าที่เชื่อมตอกับทางนํ้า

ชลประทานในเขตพื้นที่โครงการชลประทาน พบวา คาเฉลี่ย ของปริมาณบีโอดี ทั้ง 3 ฤดูกาล และ

12 เดือน มีคาอยูในเกณฑมาตรฐาน จัดอยูในแหลงนํ้าผิวดิน ประเภทที่ 4 เปนแหลงนํ้าที่ไดรับนํ้าทิ้ง

จากกิจกรรมบางประเภท และสามารถเปนประโยชน เพื่อการอุปโภคและบริโภคโดยตองผาน

การฆาเชื้อโรคตามปกติ และผานกระบวนการปรับปรุงคุณภาพนํ้าเปนพิเศษกอน และสามารถ

เปนประโยชนเพื่อการอุตสาหกรรม

2) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษา

กระเสียวมีปริมาณบีโอดีอยูในชวง 1.00 – 7.83 มิลลิกรัมตอลิตร และคาเฉลี่ยเทากับ 2.62 มิลลิกรัม

ตอลิตร

2.1) เมื่อพิจารณาปริมาณบีโอดีแยกตามฤดูกาล พบวา ฤดูรอนมีคาอยูในชวง

1.20 – 7.50 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 2.18 มิลลิกรัมตอลิตร ฤดูฝนมีคาอยูในชวง 1.00 – 7.83

มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 3.07 มิลลิกรัมตอลิตร และฤดูหนาวมีคาอยูในชวง 1.01 – 6.45

มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 2.16 มิลลิกรัมตอลิตร จากผลการวิเคราะหทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ย

ของปริมาณบีโอดีระหวาง 3 ฤดูกาล ไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

2.2) เมื่อพิจารณาปริมาณบีโอดีแยกตามรายเดือน พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณ

ออกซิเจนละลายในนํ้า ระหวาง 12 เดือน มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ

นัยสําคัญ 0.05 โดยคาเฉลี่ยของปริมาณบีโอดีในเดือน สิงหาคมมีคามากที่สุดอยางมีนัยสําคัญ

ทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

2.3) เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้าในแหลงนํ้าผิวดิน และ

มาตรฐานการระบายนํ้าที่มีคุณภาพตํ่าลงทางนํ้าชลประทานและทางนํ้าที่เชื่อมตอกับทางนํ้า

ชลประทานในเขตพื้นที่โครงการชลประทาน พบวา คาเฉลี่ย ของปริมาณบีโอดี ทั้ง 3 ฤดูกาล และ

12 เดือน มีคาอยูในเกณฑมาตรฐาน จัดอยูในแหลงนํ้าผิวดิน ประเภทที่ 4 เปนแหลงนํ้าที่ไดรับนํ้าทิ้ง

จากกิจกรรมบางประเภท และสามารถเปนประโยชน เพื่อการอุปโภคและบริโภคโดยตองผาน

การฆาเชื้อโรคตามปกติ และผานกระบวนการปรับปรุงคุณภาพนํ้าเปนพิเศษกอน และสามารถเปน

ประโยชนเพื่อการอุตสาหกรรม

Page 97: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

67

3) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

มีปริมาณบีโอดีอยูในชวง 1.40 – 11.49 มิลลิกรัมตอลิตร และคาเฉลี่ยเทากับ 4.39 มิลลิกรัมตอลิตร

3.1) เมื่อพิจารณาปริมาณบีโอดีแยกตามฤดูกาล พบวา ฤดูรอนมีคาอยูในชวง

4.00 – 5.40 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 4.73 มิลลิกรัมตอลิตร ฤดูฝนมีคาอยูในชวง 1.40 – 5.90

มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 3.86 มิลลิกรัมตอลิตร และฤดูหนาวมีคาอยูในชวง 1.61 – 11.49

มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 5.11 มิลลิกรัมตอลิตร จากผลการวิเคราะหทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ย

ของปริมาณบีโอดีระหวาง 3 ฤดูกาล ไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

3.2) เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้าในแหลงนํ้าผิวดิน และ

มาตรฐานการระบายนํ้าที่มีคุณภาพตํ่าลงทางนํ้าชลประทานและทางนํ้าที่เชื่อมตอกับทางนํ้า

ชลประทานในเขตพื้นที่โครงการชลประทาน พบวา คาเฉลี่ย ของปริมาณบีโอดี ทั้ง 3 ฤดูกาล และ

12 เดือน มีคาอยูในเกณฑมาตรฐาน จัดอยูในแหลงนํ้าผิวดิน ประเภทที่ 5 เปนแหลงนํ้าที่ไดรับนํ้าทิ้ง

จากกิจกรรมบางประเภท และสามารถเปนประโยชน เพื่อการอุปโภคและบริโภคโดยตองผาน

การฆาเชื้อโรคตามปกติ และผานกระบวนการปรับปรุงคุณภาพนํ้าเปนพิเศษกอน และสามารถ

เปนประโยชนเพื่อการคมนาคม

4) เมื่อเปรียบเทียบปริมาณบีโอดีระหวางตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว

ทางนํ้าชลประทานของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหล

ลงอางเก็บนํ้ากระเสียว โดยการ วิเคราะหทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณบีโอดีมีความแตกตาง

กันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 โดยคาเฉลี่ยของปริมาณบีโอดี ของตัวอยางนํ้า

ที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียวมีคามากที่สุด อยางมีนัยสําคัญ

ทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 รองลงมา คือ ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียวและทางนํ้า

ชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว ซึ่งทั้งสองกลุมน้ีไม มีความแตกตางกัน

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

สําหรับรูปที่ 20 และรูปที่ 21 แสดงการเปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า

กับคาเฉลี่ยของปริมาณบีโอดีของตัวอยางนํ้าที่เก็บจาก อางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของ

โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

ระหวาง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน ตามลําดับ

Page 98: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

68

0.00

10.00

20.00

30.00

BO

D (

mg

/ L )

ฤดูรอน

ฤดูฝน

ฤดูหนาว

คาเฉลี่ย

เกณฑกําหนดสูงสุดอางเก็บน้ํากระเสียว จุดเฝาระวังกอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

ทางน้ํา

ชลประทาน

รูปท่ี 20 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับคาเฉลี่ยของปริมาณบีโอดี ระหวาง

3 ฤดูกาล ของตัวอยางนํ้าท่ีเก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของโครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

0.00

10.00

20.00

30.00

เดือนที่เก็บตัวอยางน้ํา

BO

D (

mg

/ L )

ก.พ

. 53

ม.ีค.

53

เม.ย

. 53

พ.ค

. 53

ม.ิย.

53

ก.ค.

53

ส.ค

. 53

ก.ย.

53

ต.ค.

53

พ.ย

. 53

ธ.ค.

53

ม.ค.

54

เกณฑกําหนดสูงสุด

รูปท่ี 21 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับ คาเฉลี่ยของปริมาณบีโอดี

ระหวาง 12 เดือน ของตัวอยางนํ้าท่ีเก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของโครงการ

สงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

4.2.4 ปริมาณซัลไฟดคิดเทียบเปนไฮโดรเจนซัลไฟด (H 2 S)

1) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว มีปริมาณซัลไฟดคิดเทียบเปน

ไฮโดรเจนซัลไฟดอยูในชวง 0.000 – 0.018 มิลลิกรัมตอลิตร และคาเฉลี่ยเทากับ 0.006 มิลลิกรัม

ตอลิตร

1.1) เมื่อพิจารณา ปริมาณซัลไฟดคิดเทียบเปนไฮโดรเจนซัลไฟดแยกตาม

ฤดูกาล พบวา ฤดูรอนมีคาอยูในชวง 0.003 – 0.005 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.004 มิลลิกรัม

ตอลิตร ฤดูฝนมีคาอยูในชวง 0.000 – 0.018 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.009 มิลลิกรัมตอลิตร

และฤดูหนาวมีคาอยูในชวง 0.000 – 0.007 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.002 มิลลิกรัมตอลิตร

จากผลการวิเคราะหทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณซัลไฟดคิดเทียบเปนไฮโดรเจนซัลไฟด

ระหวาง 3 ฤดูกาล มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 โดยคาเฉลี่ย

อางเก็บน้ํากระเสียว

จุดเฝาระวังกอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

ทางน้ําชลประทาน

Page 99: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

69

ของปริมาณซัลไฟดคิดเทียบเปนไฮโดรเจนซัลไฟดในฤดูฝนมีคามากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 รองลงมา คือ ฤดูรอนและฤดูหนาว ซึ่งทั้งสองฤดูน้ีไมมี ความแตกตางกัน

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

1.2) เมื่อพิจารณา ปริมาณซัลไฟดคิดเทียบเปนไฮโดรเจนซัลไฟดแยกตาม

รายเดือน พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณซัลไฟดคิดเทียบเปนไฮโดรเจนซัลไฟด ระหวาง 12 เดือน

มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 โดยคาเฉลี่ยของปริมาณซัลไฟด

คิดเทียบเปนไฮโดรเจนซัลไฟดในเดือน กรกฎาคม สิงหาคม และตุลาคม มีคามากที่สุดอยางมี

นัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

1.3) เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐานการระบายนํ้าที่มีคุณภาพตํ่าลงทางนํ้า

ชลประทานและทางนํ้าที่เชื่อมตอกับทางนํ้าชลประทานในเขตพื้นที่โครงการชลประทาน พบวา

คาเฉลี่ยของปริมาณซัลไฟดคิดเทียบเปนไฮโดรเจนซัลไฟด ทั้ง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน มีคาอยูใน

เกณฑมาตรฐาน

2) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษา

กระเสียวมีปริมาณซัลไฟดคิดเทียบเปนไฮโดรเจนซัลไฟดอยูในชวง 0.000 – 0.058 มิลลิกรัมตอลิตร

และคาเฉลี่ยเทากับ 0.012 มิลลิกรัมตอลิตร

2.1) เมื่อพิจารณา ปริมาณซัลไฟดคิดเทียบเปนไฮโดรเจนซัลไฟดแยกตาม

ฤดูกาล พบวา ฤดูรอนมีคาอยูในชวง 0.002 – 0.022 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.008 มิลลิกรัม

ตอลิตร ฤดูฝนมีคาอยูในชวง 0.002 – 0.058 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.017 มิลลิกรัมตอลิตร

และฤดูหนาวมีคาอยูในชวง 0.000 – 0.016 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.008 มิลลิกรัมตอลิตร

จากผลการวิเคราะหทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณซัลไฟดคิดเทียบเปนไฮโดรเจนซัลไฟด

ระหวาง 3 ฤดูกาล มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 โดยคาเฉลี่ย

ของปริมาณซัลไฟดคิดเทียบเปนไฮโดรเจนซัลไฟดในฤดูฝน มีคามากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 สวนฤดูรอนและฤดูหนาวไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

2.2) เมื่อพิจารณา ปริมาณซัลไฟดคิดเทียบเปนไฮโดรเจนซัลไฟดแยกตาม

รายเดือน พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณซัลไฟดคิดเทียบเปนไฮโดรเจนซัลไฟด ระหวาง 12 เดือน

มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 โดยคาเฉลี่ยของปริมาณซัลไฟด

คิดเทียบเปนไฮโดรเจนซัลไฟดในเดือนสิงหาคมและตุลาคมมีคามากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

Page 100: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

70

2.3) เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐานการระบายนํ้าที่มีคุณภาพตํ่าลงทางนํ้า

ชลประทานและทางนํ้าที่เชื่อมตอกับทางนํ้าชลประทานในเขตพื้นที่โครงการชลประทาน พบวา

คาเฉลี่ยของปริมาณซัลไฟดคิดเทียบเปนไฮโดรเจนซัลไฟด ทั้ง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน มีคาอยูใน

เกณฑมาตรฐาน

3) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

มีปริมาณซัลไฟดคิดเทียบเปนไฮโดรเจนซัลไฟดอยูในชวง 0.000 – 0.092 มิลลิกรัมตอลิตร และ

คาเฉลี่ยเทากับ 0.027 มิลลิกรัมตอลิตร

3.1) เมื่อพิจารณา ปริมาณซัลไฟดคิดเทียบเปนไฮโดรเจนซัลไฟดแยกตาม

ฤดูกาล พบวา ฤดูรอนมีคาอยูในชวง 0.010 – 0.027 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.021 มิลลิกรัม

ตอลิตร ฤดูฝนมีคาอยูในชวง 0.008 – 0.092 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.037 มิลลิกรัมตอลิตร

และฤดูหนาวมีคาอยูในชวง 0.000 – 0.043 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.014 มิลลิกรัมตอลิตร

จากผลการวิเคราะหทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณซัลไฟดคิดเทียบเปนไฮโดรเจนซัลไฟด

ระหวาง 3 ฤดูกาล ไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

3.2) เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐานการระบายนํ้าที่มีคุณภาพตํ่าลงทางนํ้า

ชลประทานและทางนํ้าที่เชื่อมตอกับทางนํ้าชลประทานในเขตพื้นที่โครงการชลประทาน พบวา

คาเฉลี่ยของปริมาณซัลไฟดคิดเทียบเปนไฮโดรเจนซัลไฟด ทั้ง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน มีคาอยูใน

เกณฑมาตรฐาน

4) เมื่อเปรียบเทียบ ปริมาณซัลไฟดคิดเทียบเปนไฮโดรเจนซัลไฟด ระหวาง

ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษา

กระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว โดยการ วิเคราะหทางสถิติ

พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณซัลไฟดคิดเทียบเปนไฮโดรเจนซัลไฟดมีความแตกตางกันอยางมี

นัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 โดยคาเฉลี่ยของปริมาณซัลไฟดคิดเทียบเปน

ไฮโดรเจนซัลไฟด ของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

มีคามากที่สุด อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 รองลงมา คือ ตัวอยางนํ้าที่เก็บจาก

อางเก็บนํ้ากระเสียวและทางนํ้าชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว ซึ่งทั้งสอง

กลุมน้ีไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

สําหรับรูปที่ 22 และรูปที่ 23 แสดงการเปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า

กับคาเฉลี่ยของปริมาณซัลไฟดคิดเทียบเปนไฮโดรเจนซัลไฟดของตัวอยางนํ้าที่เก็บจาก อางเก็บนํ้า

กระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวัง

คุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว ระหวาง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน ตามลําดับ

Page 101: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

71

0.000

0.400

0.800

1.200

H 2 S

( m

g / L

) ฤดูรอน

ฤดูฝน

ฤดูหนาว

คาเฉลี่ย

เกณฑกําหนดสูงสุดอางเก็บน้ํากระเสียว จุดเฝาระวังกอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

ทางน้ํา

ชลประทาน

รูปท่ี 22 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับคาเฉลี่ยของปริมาณซัลไฟดคิดเทียบ

เปนไฮโดรเจนซัลไฟด ระหวาง 3 ฤดูกาล ของตัวอยางนํ้าท่ีเก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้า

ชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลง

อางเก็บนํ้ากระเสียว

0.000

0.400

0.800

1.200

เดือนที่เก็บตัวอยางน้ํา

H 2 S

( m

g / L

)

ก.พ

. 53

ม.ีค.

53

เม.ย

. 53

พ.ค

. 53

ม.ิย.

53

ก.ค.

53

ส.ค

. 53

ก.ย.

53

ต.ค.

53

พ.ย

. 53

ธ.ค.

53

ม.ค.

54

เกณฑกําหนดสูงสุด

รูปท่ี 23 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับคาเฉลี่ยของปริมาณซัลไฟดคิดเทียบ

เปนไฮโดรเจนซัลไฟด ระหวาง 12 เดือน ของตัวอยางนํ้าท่ีเก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้า

ชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลง

อางเก็บนํ้ากระเสียว

4.2.5 ปริมาณฟอสเฟตฟอสฟอรัส (PO 4 - P)

1) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว มีปริมาณฟอสเฟตฟอสฟอรัส

อยูในชวง 0.001 – 0.014 มิลลิกรัมตอลิตร และคาเฉลี่ยเทากับ 0.002 มิลลิกรัมตอลิตร

1.1) เมื่อพิจารณาปริมาณฟอสเฟตฟอสฟอรัสแยกตามฤดูกาล พบวา ฤดูรอน

มีคาอยูในชวง 0.001 – 0.011 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.002 มิลลิกรัมตอลิตร ฤดูฝนมีคาอยู

ในชวง 0.001 – 0.014 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.002 มิลลิกรัมตอลิตร และฤดูหนาวมีคาอยู

ในชวง 0.001 – 0.008 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.002 มิลลิกรัมตอลิตร จากผลการวิเคราะห

อางเก็บน้ํากระเสียว

จุดเฝาระวังกอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

ทางน้ําชลประทาน

Page 102: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

72

ทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณฟอสเฟตฟอสฟอรัส ระหวาง 3 ฤดูกาล ไมมีความแตกตางกัน

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

1.2) เมื่อพิจารณาปริมาณฟอสเฟตฟอสฟอรัสแยกตามรายเดือน พบวา คาเฉลี่ย

ของปริมาณฟอสเฟตฟอสฟอรัสระหวาง 12 เดือน ไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

1.3) เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐานนํ้าชลประทานของ FAO (1985)

พบวา คาเฉลี่ย ของปริมาณฟอสเฟตฟอสฟอรัส ทั้ง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน มีคาอยูในเกณฑ

มาตรฐาน

2) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษา

กระเสียวมีปริมาณฟอสเฟตฟอสฟอรัสอยูในชวง 0.001 – 1.356 มิลลิกรัมตอลิตร และคาเฉลี่ย

เทากับ 0.050 มิลลิกรัมตอลิตร

2.1) เมื่อพิจารณาปริมาณฟอสเฟตฟอสฟอรัสแยกตามฤดูกาล พบวา ฤดูรอน

มีคาอยูในชวง 0.001 – 1.356 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.099 มิลลิกรัมตอลิตร ฤดูฝนมีคาอยู

ในชวง 0.001 – 0.439 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.042 มิลลิกรัมตอลิตร และฤดูหนาวมีคาอยู

ในชวง 0.001 – 0.094 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.016 มิลลิกรัมตอลิตร จากผลการวิเคราะห

ทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณฟอสเฟตฟอสฟอรัส ระหวาง 3 ฤดูกาล ไมมีความแตกตางกัน

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

2.2) เมื่อพิจารณาปริมาณฟอสเฟตฟอสฟอรัสแยกตามรายเดือน พบวา คาเฉลี่ย

ของปริมาณฟอสเฟตฟอสฟอรัสระหวาง 12 เดือน ไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

2.3) เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐานนํ้าชลประทานของ FAO (1985)

พบวา คาเฉลี่ย ของปริมาณฟอสเฟตฟอสฟอรัส ทั้ง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน มีคาอยูในเกณฑ

มาตรฐาน

3) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

มีปริมาณฟอสเฟตฟอสฟอรัสอยูในชวง 0.001 – 0.164 มิลลิกรัมตอลิตร และคาเฉลี่ยเทากับ 0.050

มิลลิกรัมตอลิตร

3.1) เมื่อพิจารณาปริมาณฟอสเฟตฟอสฟอรัสแยกตามฤดูกาล พบวา ฤดูรอน

มีคาอยูในชวง 0.003 – 0.022 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.013 มิลลิกรัมตอลิตร ฤดูฝนมีคาอยู

ในชวง 0.001 – 0.164 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.059 มิลลิกรัมตอลิตร และฤดูหนาวมีคาอยู

ในชวง 0.061 – 0.074 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.070 มิลลิกรัมตอลิตร จากผลการวิเคราะห

ทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณฟอสเฟตฟอสฟอรัส ระหวาง 3 ฤดูกาล ไมมีความแตกตางกัน

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

Page 103: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

73

3.2) เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐานนํ้าชลประทานของ FAO (1985)

พบวา คาเฉลี่ย ของปริมาณฟอสเฟตฟอสฟอรัส ทั้ง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน มีคาอยูในเกณฑ

มาตรฐาน

4) เมื่อเปรียบเทียบ ปริมาณฟอสเฟตฟอสฟอรัส ระหวางตัวอยางนํ้าที่เก็บจาก

อางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวัง

คุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว โดยการ วิเคราะหทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณ

ฟอสเฟตฟอสฟอรัสไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

สําหรับรูปที่ 24 และรูปที่ 25 แสดงการเปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า

กับคาเฉลี่ยของปริมาณฟอสเฟตฟอสฟอรัสของตัวอยางนํ้าที่เก็บจาก อางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้า

ชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลง

อางเก็บนํ้ากระเสียว ระหวาง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน ตามลําดับ

0.000

1.000

2.000

3.000

PO 4

- P (

mg

/ L ) ฤดูรอน

ฤดูฝน

ฤดูหนาว

คาเฉลี่ย

เกณฑกําหนดสูงสุดอางเก็บน้ํากระเสียว จุดเฝาระวังกอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

ทางน้ํา

ชลประทาน

รูปท่ี 24 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับ คาเฉลี่ยของปริมาณฟอสเฟต

ฟอสฟอรัสระหวาง 3 ฤดูกาล ของตัวอยางนํ้าท่ีเก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของ

โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

0.000

1.000

2.000

3.000

เดือนที่เก็บตัวอยางน้ํา

PO

4 - P

( m

g / L

)

ก.พ

. 53

ม.ีค.

53

เม.ย

. 53

พ.ค

. 53

ม.ิย.

53

ก.ค.

53

ส.ค

. 53

ก.ย.

53

ต.ค.

53

พ.ย

. 53

ธ.ค.

53

ม.ค.

54

เกณฑกําหนดสูงสุด

รูปท่ี 25 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับ คาเฉลี่ยของปริมาณฟอสเฟต

ฟอสฟอรัสระหวาง 12 เดือน ของตัวอยางนํ้าท่ีเก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของ

โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้า

กระเสียว

อางเก็บน้ํากระเสียว

จุดเฝาระวังกอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

ทางน้ําชลประทาน

Page 104: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

74

4.2.6 ปริมาณไนไตรท – ไนโตรเจน (NO 2 – N)

1) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว มีปริมาณไนไตรท – ไนโตรเจน

อยูในชวง 0.001 – 0.115 มิลลิกรัมตอลิตร และคาเฉลี่ยเทากับ 0.005 มิลลิกรัมตอลิตร

1.1) เมื่อพิจารณา ปริมาณไนไตรท – ไนโตรเจนแยกตามฤดูกาล พบวา

ฤดูรอนมีคาอยูในชวง 0.001 – 0.005 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.001 มิลลิกรัมตอลิตร ฤดูฝน

มีคาอยูในชวง 0.001 – 0.115 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.009 มิลลิกรัมตอลิตร และฤดูหนาว

มีคาอยูในชวง 0.001 – 0.006 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.002 มิลลิกรัมตอลิตร จากผลการ

วิเคราะหทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณไนไตรท – ไนโตรเจน ระหวาง 3 ฤดูกาล ไมมีความ

แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

1.2) เมื่อพิจารณา ปริมาณไนไตรท – ไนโตรเจนแยกตามรายเดือน พบวา

คาเฉลี่ยของปริมาณไนไตรท – ไนโตรเจนระหวาง 12 เดือน ไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ

ทางสถิติ

2) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษา

กระเสียวมีปริมาณไนไตรท – ไนโตรเจนอยูในชวง 0.001 – 0.171 มิลลิกรัมตอลิตร และคาเฉลี่ย

เทากับ 0.024 มิลลิกรัมตอลิตร

2.1) เมื่อพิจารณา ปริมาณไนไตรท – ไนโตรเจนแยกตามฤดูกาล พบวา

ฤดูรอนมีคาอยูในชวง 0.001 – 0.042 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.010 มิลลิกรัมตอลิตร ฤดูฝน

มีคาอยูในชวง 0.004 – 0.160 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.035 มิลลิกรัมตอลิตร และฤดูหนาว

มีคาอยูในชวง 0.001 – 0.171 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.016 มิลลิกรัมตอลิตร จากผลการ

วิเคราะหทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณไนไตรท – ไนโตรเจน ระหวาง 3 ฤดูกาล มีความ

แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 โดยคาเฉลี่ยของปริมาณไนไตรท –

ไนโตรเจนในฤดูฝนมีคามากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 สวนฤดูรอนและ

ฤดูหนาวไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

2.2) เมื่อพิจารณา ปริมาณไนไตรท – ไนโตรเจนแยกตามรายเดือน พบวา

คาเฉลี่ยของปริมาณไนไตรท – ไนโตรเจนระหวาง 12 เดือน ไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ

ทางสถิติ

3) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

มีปริมาณไนไตรท – ไนโตรเจนอยูในชวง 0.001 – 0.722 มิลลิกรัมตอลิตร และคาเฉลี่ยเทากับ 0.175

มิลลิกรัมตอลิตร

Page 105: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

75

3.1) เมื่อพิจารณา ปริมาณไนไตรท – ไนโตรเจนแยกตามฤดูกาล พบวา

ฤดูรอนมีคาอยูในชวง 0.001 – 0.300 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.170 มิลลิกรัมตอลิตร ฤดูฝน

มีคาอยูในชวง 0.014 – 0.722 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.219 มิลลิกรัมตอลิตร และฤดูหนาว

มีคาอยูในชวง 0.046 – 0.160 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.093 มิลลิกรัมตอลิตร จากผลการ

วิเคราะหทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณไนไตรท – ไนโตรเจน ระหวาง 3 ฤดูกาล ไม มี

ความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

4) เมื่อเปรียบเทียบ ปริมาณไนไตรท – ไนโตรเจน ระหวางตัวอยางนํ้าที่เก็บจาก

อางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวัง

คุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว โดย วิเคราะหทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณ

ไนไตรท – ไนโตรเจนมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

โดยคาเฉลี่ยของปริมาณไนไตรท – ไนโตรเจน ของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้า

กอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียวมีคามากที่สุด อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

รองลงมา คือ ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียวและทางนํ้าชลประทาน ของโครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว ซึ่งทั้งสองกลุมน้ีไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

สําหรับรูปที่ 26 และรูปที่ 27 แสดงการเปรียบเทียบคาเฉลี่ยของปริมาณไนไตรท –

ไนโตรเจนของตัวอยางนํ้าที่เก็บจาก อางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของโครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว ระหวาง

3 ฤดูกาล และ 12 เดือน ตามลําดับ

0.00

0.10

0.20

0.30

NO

2 - N

( m

g / L

) ฤดูรอน

ฤดูฝน

ฤดูหนาว

คาเฉลี่ย

อางเก็บน้ํากระเสียว จุดเฝาระวังกอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

ทางน้ํา

ชลประทาน

รูปท่ี 26 เปรียบเทียบคาเฉลี่ยของปริมาณไนไตรท – ไนโตรเจน ระหวาง 3 ฤดูกาล ของ

ตัวอยางนํ้าท่ีเก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษา

กระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

Page 106: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

76

0.00

0.20

0.40

0.60

0.80

เดือนที่เก็บตัวอยางน้ํา

NO

2 - N

( m

g / L

)

ก.พ

. 53

ม.ีค.

53

เม.ย

. 53

พ.ค

. 53

ม.ิย.

53

ก.ค.

53

ส.ค

. 53

ก.ย.

53

ต.ค.

53

พ.ย

. 53

ธ.ค.

53

ม.ค.

54

รูปท่ี 27 เปรียบเทียบคาเฉลี่ยของปริมาณไนไตรท – ไนโตรเจน ระหวาง 12 เดือน ของ

ตัวอยางนํ้าท่ีเก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษา

กระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

4.2.7 ปริมาณไนเตรท – ไนโตรเจน (NO 3 – N)

1) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว มีปริมาณไนเตรท – ไนโตรเจน

อยูในชวง 0.001 – 0.398 มิลลิกรัมตอลิตร และคาเฉลี่ยเทากับ 0.104 มิลลิกรัมตอลิตร

1.1) เมื่อพิจารณาปริมาณไนเตรท – ไนโตรเจนแยกตามฤดูกาล พบวา ฤดูรอน

มีคาอยูในชวง 0.001 – 0.028 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.011 มิลลิกรัมตอลิตร ฤดูฝนมีคาอยู

ในชวง 0.011 – 0.398 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.175 มิลลิกรัมตอลิตร และฤดูหนาวมีคาอยู

ในชวง 0.018 – 0.135 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.056 มิลลิกรัมตอลิตร จากผลการวิเคราะห

ทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณไนเตรท – ไนโตรเจน ระหวาง 3 ฤดูกาล มีความแตกตางกัน

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 โดยคาเฉลี่ยของปริมาณไนเตรท – ไนโตรเจน

ในฤดูฝนมีคามากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 รองลงมา คือ ฤดูรอนและ

ฤดูหนาว ซึ่งทั้งสองฤดูน้ีไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

1.2) เมื่อพิจารณา ปริมาณไนเตรท – ไนโตรเจนแยกตามรายเดือน พบวา

คาเฉลี่ยของปริมาณไนเตรท – ไนโตรเจน ระหวาง 12 เดือน มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ

ทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 โดยคาเฉลี่ยของปริมาณไนเตรท – ไนโตรเจนในเดือนพฤษภาคม

มิถุนายน สิงหาคม กันยายน และตุลาคม มีคามากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ

0.05

1.3) เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐานนํ้าชลประทานของ FAO (1985) และ

มาตรฐานคุณภาพนํ้าในแหลงนํ้าผิวดิน พบวา คาเฉลี่ย ของ ปริมาณไนเตรท – ไนโตรเจน

ทั้ง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน มีคาอยูในเกณฑมาตรฐาน

อางเก็บน้ํากระเสียว

จุดเฝาระวังกอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

ทางน้ําชลประทาน

Page 107: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

77

2) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษา

กระเสียวมีปริมาณไนเตรท – ไนโตรเจนอยูในชวง 0.006 – 4.830 มิลลิกรัมตอลิตร และคาเฉลี่ย

เทากับ 0.356 มิลลิกรัมตอลิตร

2.1) เมื่อพิจารณาปริมาณไนเตรท – ไนโตรเจนแยกตามฤดูกาล พบวา ฤดูรอน

มีคาอยูในชวง 0.006 – 0.541 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.134 มิลลิกรัมตอลิตร ฤดูฝนมีคาอยู

ในชวง 0.055 – 4.830 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.572 มิลลิกรัมตอลิตร และฤดูหนาวมีคาอยู

ในชวง 0.011 – 0.548 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.146 มิลลิกรัมตอลิตร จากผลการวิเคราะห

ทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณไนเตรท – ไนโตรเจนระหวาง 3 ฤดูกาล ไมมีความแตกตางกัน

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

2.2) เมื่อพิจารณา ปริมาณไนเตรท – ไนโตรเจนแยกตามรายเดือน พบวา

คาเฉลี่ยของปริมาณไนเตรท – ไนโตรเจน ระหวาง 12 เดือน มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ

ทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 โดยคาเฉลี่ยของปริมาณไนเตรท – ไนโตรเจนในเดือนพฤษภาคม

มีคามากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

2.3) เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐานนํ้าชลประทานของ FAO (1985) และ

มาตรฐานคุณภาพนํ้าในแหลงนํ้าผิวดิน พบวา คาเฉลี่ย ของ ปริมาณไนเตรท – ไนโตรเจน

ทั้ง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน มีคาอยูในเกณฑมาตรฐาน

3) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

มีปริมาณไนเตรท – ไนโตรเจนอยูในชวง 0.019 – 5.606 มิลลิกรัมตอลิตร และคาเฉลี่ยเทากับ 0.968

มิลลิกรัมตอลิตร

3.1) เมื่อพิจารณาปริมาณไนเตรท – ไนโตรเจนแยกตามฤดูกาล พบวา ฤดูรอน

มีคาอยูในชวง 0.026 – 0.623 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.359 มิลลิกรัมตอลิตร ฤดูฝนมีคาอยู

ในชวง 0.294 – 5.606 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 1.496 มิลลิกรัมตอลิตร และฤดูหนาวมีคาอยู

ในชวง 0.019 – 0.866 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.522 มิลลิกรัมตอลิตร จากผลการวิเคราะห

ทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณไนเตรท – ไนโตรเจนระหวาง 3 ฤดูกาล ไมมีความแตกตางกัน

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

3.2) เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐานนํ้าชลประทานของ FAO (1985) และ

มาตรฐานคุณภาพนํ้าในแหลงนํ้าผิวดิน พบวา คาเฉลี่ย ของ ปริมาณไนเตรท – ไนโตรเจน

ทั้ง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน มีคาอยูในเกณฑมาตรฐาน

4) เมื่อเปรียบเทียบ ปริมาณไนเตรท – ไนโตรเจน ระหวางตัวอยางนํ้าที่เก็บจาก

อางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวัง

คุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว โดยการ วิเคราะหทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณ

Page 108: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

78

ไนเตรท – ไนโตรเจนมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

โดย คาเฉลี่ยของปริมาณไนเตรท – ไนโตรเจน ของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้า

กอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียวมีคามากที่สุด อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

รองลงมา คือ ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียวและทางนํ้าชลประทาน ของโครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว ซึ่งทั้งสองกลุมน้ีไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

สําหรับรูปที่ 28 และรูปที่ 29 แสดงการเปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า

กับคาเฉลี่ยของปริมาณไนเตรท – ไนโตรเจนของตัวอยางนํ้าที่เก็บจาก อางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้า

ชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลง

อางเก็บนํ้ากระเสียว ระหวาง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน ตามลําดับ

0.00

5.00

10.00

15.00

NO

3 - N

( m

g / L

) ฤดูรอน

ฤดูฝน

ฤดูหนาว

คาเฉลี่ย

เกณฑกําหนดสูงสุดอางเก็บน้ํากระเสียว จุดเฝาระวังกอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

ทางน้ํา

ชลประทาน

รูปท่ี 28 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับ คาเฉลี่ยของปริมาณไนเตรท –

ไนโตรเจนระหวาง 3 ฤดูกาล ของตัวอยางนํ้าท่ีเก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของ

โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

0.00

5.00

10.00

15.00

เดือนที่เก็บตัวอยางน้ํา

NO

3 - N

( m

g / L

)

ก.พ

. 53

ม.ีค.

53

เม.ย

. 53

พ.ค

. 53

ม.ิย.

53

ก.ค.

53

ส.ค

. 53

ก.ย.

53

ต.ค.

53

พ.ย

. 53

ธ.ค.

53

ม.ค.

54

เกณฑกําหนดสูงสุด

รูปท่ี 29 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับ คาเฉลี่ยของปริมาณไนเตรท –

ไนโตรเจนระหวาง 12 เดือน ของตัวอยางนํ้าท่ีเก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของ

โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

อางเก็บน้ํากระเสียว

จุดเฝาระวังกอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

ทางน้ําชลประทาน

Page 109: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

79

4.2.8 ปริมาณไนโตรเจนในรูปทีเคเอ็น (TKN)

1) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว มีปริมาณไนโตรเจนในรูปทีเคเอ็น

อยูในชวง 0.49 – 1.31 มิลลิกรัมตอลิตร และคาเฉลี่ยเทากับ 0.82 มิลลิกรัมตอลิตร

1.1) เมื่อพิจารณา ปริมาณไนโตรเจนในรูปทีเคเอ็นแยกตามฤดูกาล พบวา

ฤดูรอนมีคาอยูในชวง 0.49 – 1.01 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.73 มิลลิกรัมตอลิตร ฤดูฝนมีคา

อยูในชวง 0.58 – 1.31 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.90 มิลลิกรัมตอลิตร และฤดูหนาวมีคาอยู

ในชวง 0.58 – 1.04 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.73 มิลลิกรัมตอลิตร จากผลการวิเคราะห

ทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณไนโตรเจนในรูปทีเคเอ็น ระหวาง 3 ฤดูกาล มีความแตกตางกัน

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 โดยคาเฉลี่ยของปริมาณไนโตรเจนในรูปทีเคเอ็น

ในฤดูฝนมีคามากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 รองลงมา คือ ฤดูรอนและ

ฤดูหนาว ซึ่งทั้งสองฤดูน้ีไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

1.2) เมื่อพิจารณา ปริมาณไนโตรเจนในรูปทีเคเอ็นแยกตามรายเดือน พบวา

คาเฉลี่ยของปริมาณไนโตรเจนในรูปทีเคเอ็น ระหวาง 12 เดือน มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ

ทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 โดยคาเฉลี่ยของปริมาณไนโตรเจนในรูปทีเคเอ็นในเดือน มิถุนายน

มีคามากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

2) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษา

กระเสียวมีปริมาณไนโตรเจนในรูปทีเคเอ็นอยูในชวง 0.49 – 8.84 มิลลิกรัมตอลิตร และคาเฉลี่ย

เทากับ 1.16 มิลลิกรัมตอลิตร

2.1) เมื่อพิจารณา ปริมาณไนโตรเจนในรูปทีเคเอ็นแยกตามฤดูกาล พบวา

ฤดูรอนมีคาอยูในชวง 0.60 – 8.84 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 1.76 มิลลิกรัมตอลิตร ฤดูฝนมีคา

อยูในชวง 0.68 – 2.33 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 1.08 มิลลิกรัมตอลิตร และฤดูหนาวมีคาอยู

ในชวง 0.49 – 1.18 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.73 มิลลิกรัมตอลิตร จากผลการวิเคราะห

ทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณไนโตรเจนในรูปทีเคเอ็น ระหวาง 3 ฤดูกาล มีความแตกตางกัน

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 โดยคาเฉลี่ยของปริมาณไนโตรเจนในรูปทีเคเอ็น

ในฤดูรอนมีคามากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 สวนฤดูฝนและฤดูหนาว

ไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

2.2) เมื่อพิจารณา ปริมาณไนโตรเจนในรูปทีเคเอ็นแยกตามรายเดือน พบวา

คาเฉลี่ยของปริมาณไนโตรเจนในรูปทีเคเอ็น ระหวาง 12 เดือน มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ

ทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 โดยคาเฉลี่ยของปริมาณไนโตรเจนในรูปทีเคเอ็นในเดือน

กุมภาพันธมีคามากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

Page 110: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

80

3) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

มีปริมาณไนโตรเจนในรูปทีเคเอ็นอยูในชวง 0.60 – 3.53 มิลลิกรัมตอลิตร และคาเฉลี่ยเทากับ

1.58 มิลลิกรัมตอลิตร

3.1) เมื่อพิจารณา ปริมาณไนโตรเจนในรูปทีเคเอ็นแยกตามฤดูกาล พบวา

ฤดูรอนมีคาอยูในชวง 1.42 – 1.75 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 1.64 มิลลิกรัมตอลิตร ฤดูฝนมีคา

อยูในชวง 1.13 – 3.53 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 1.88 มิลลิกรัมตอลิตร และฤดูหนาวมีคาอยู

ในชวง 0.60 – 1.53 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.95 มิลลิกรัมตอลิตร จากผลการวิเคราะห

ทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณไนโตรเจนในรูปทีเคเอ็น ระหวาง 3 ฤดูกาล ไมมีความแตกตาง

กันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

4) เมื่อเปรียบเทียบ ปริมาณไนโตรเจนในรูปทีเคเอ็น ระหวางตัวอยางนํ้าที่เก็บจาก

อางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวัง

คุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว โดยการ วิเคราะหทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณ

ไนโตรเจนในรูปทีเคเอ็นมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

โดยคาเฉลี่ยของปริมาณไนโตรเจนในรูปทีเคเอ็น ของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้า

กอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียวมีคามากที่สุด อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

สวนตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียวและทางนํ้าชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและ

บํารุงรักษากระเสียว ไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

สําหรับรูปที่ 30 และรูปที่ 31 แสดงการเปรียบเทียบคาเฉลี่ยของปริมาณไนโตรเจน

ในรูปทีเคเอ็นของตัวอยางนํ้าที่เก็บจาก อางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของโครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว ระหวาง

3 ฤดูกาล และ 12 เดือน ตามลําดับ

0.00

2.00

4.00

6.00

TK

N (

mg

/ L ) ฤดูรอน

ฤดูฝน

ฤดูหนาว

คาเฉลี่ย

อางเก็บน้ํากระเสียว จุดเฝาระวังกอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

ทางน้ํา

ชลประทาน

รูปท่ี 30 เปรียบเทียบคาเฉลี่ยของปริมาณไนโตรเจนในรูปทีเคเอ็น ระหวาง 3 ฤดูกาล

ของตัวอยางนํ้าท่ีเก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษา

กระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

Page 111: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

81

0.00

1.00

2.00

3.00

4.00

เดือนที่เก็บตัวอยางน้ํา

TK

N (

mg

/ L )

ก.พ

. 53

ม.ีค.

53

เม.ย

. 53

พ.ค

. 53

ม.ิย.

53

ก.ค.

53

ส.ค

. 53

ก.ย.

53

ต.ค.

53

พ.ย

. 53

ธ.ค.

53

ม.ค.

54

รูปท่ี 31 เปรียบเทียบคาเฉลี่ยของปริมาณไนโตรเจนในรูปทีเคเอ็น ระหวาง 12 เดือน

ของตัวอยางนํ้าท่ีเก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษา

กระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

4.2.9 ปริมาณแอมโมเนีย – ไนโตรเจน (NH 3 – N)

1) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว มีปริมาณแอมโมเนีย – ไนโตรเจน

อยูในชวง 0.00 – 0.91 มิลลิกรัมตอลิตร และคาเฉลี่ยเทากับ 0.02 มิลลิกรัมตอลิตร

1.1) เมื่อพิจารณา ปริมาณแอมโมเนีย – ไนโตรเจนแยกตามฤดูกาล พบวา

ฤดูรอนมีคาอยูในชวง 0.00 – 0.00 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.00 มิลลิกรัมตอลิตร ฤดูฝนมีคา

อยูในชวง 0.00 – 0.91 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.05 มิลลิกรัมตอลิตร และฤดูหนาวมีคาอยู

ในชวง 0.00 –0.00 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.00 มิลลิกรัมตอลิตร จากผลการวิเคราะห

ทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณแอมโมเนีย – ไนโตรเจนระหวาง 3 ฤดูกาล ไมมีความแตกตาง

กันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

1.2) เมื่อพิจารณา ปริมาณแอมโมเนีย – ไนโตรเจนแยกตามรายเดือน พบวา

คาเฉลี่ยของปริมาณแอมโมเนีย – ไนโตรเจน ระหวาง 12 เดือน ไมมีความแตกตางกันอยางมี

นัยสําคัญทางสถิติ

1.3) เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐานนํ้าชลประทานของ FAO (1985) และ

มาตรฐานคุณภาพนํ้าในแหลงนํ้าผิวดิน พบวา คาเฉลี่ย ของ ปริมาณแอมโมเนีย – ไนโตรเจน

ทั้ง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน มีคาอยูในเกณฑมาตรฐาน

2) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษา

กระเสียวมีปริมาณแอมโมเนีย – ไนโตรเจนอยูในชวง 0.00 – 5.04 มิลลิกรัมตอลิตร และคาเฉลี่ย

เทากับ 0.08 มิลลิกรัมตอลิตร

อางเก็บน้ํากระเสียว

จุดเฝาระวังกอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

ทางน้ําชลประทาน

Page 112: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

82

2.1) เมื่อพิจารณา ปริมาณแอมโมเนีย – ไนโตรเจนแยกตามฤดูกาล พบวา

ฤดูรอนมีคาอยูในชวง 0.00 – 5.04 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.28 มิลลิกรัมตอลิตร ฤดูฝนมีคา

อยูในชวง 0.00 – 0.55 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.02 มิลลิกรัมตอลิตร และฤดูหนาวมีคาอยู

ในชวง 0.00 – 0.00 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.00 มิลลิกรัมตอลิตร จากผลการวิเคราะห

ทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณแอมโมเนีย – ไนโตรเจนระหวาง 3 ฤดูกาล ไมมีความแตกตาง

กันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

2.2) เมื่อพิจารณา ปริมาณแอมโมเนีย – ไนโตรเจนแยกตามรายเดือน พบวา

คาเฉลี่ยของปริมาณแอมโมเนีย – ไนโตรเจน ระหวาง 12 เดือน ไมมีความแตกตางกันอยางมี

นัยสําคัญทางสถิติ

2.3) เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐานนํ้าชลประทานของ FAO (1985) และ

มาตรฐานคุณภาพนํ้าในแหลงนํ้าผิวดิน พบวา คาเฉลี่ย ของ ปริมาณแอมโมเนีย – ไนโตรเจน

ทั้ง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน มีคาอยูในเกณฑมาตรฐาน ยกเวน เดือนกุมภาพันธมีคามากกวาเกณฑ

มาตรฐานคุณภาพนํ้าในแหลงนํ้าผิวดิน

3) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

มีปริมาณแอมโมเนีย – ไนโตรเจนอยูในชวง 0.00 – 1.92 มิลลิกรัมตอลิตร และคาเฉลี่ยเทากับ 0.30

มิลลิกรัมตอลิตร

3.1) เมื่อพิจารณา ปริมาณแอมโมเนีย – ไนโตรเจนแยกตามฤดูกาล พบวา

ฤดูรอนมีคาอยูในชวง 0.00 – 0.27 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.09 มิลลิกรัมตอลิตร ฤดูฝนมีคา

อยูในชวง 0.00 – 1.92 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.56 มิลลิกรัมตอลิตร และฤดูหนาวมีคาอยู

ในชวง 0.00 – 0.00 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.00 มิลลิกรัมตอลิตร จากผลการวิเคราะห

ทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณแอมโมเนีย – ไนโตรเจนระหวาง 3 ฤดูกาล ไมมีความแตกตาง

กันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

3.2) เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐานนํ้าชลประทานของ FAO (1985) และ

มาตรฐานคุณภาพนํ้าในแหลงนํ้าผิวดิน พบวา คาเฉลี่ย ของ ปริมาณแอมโมเนีย – ไนโตรเจน

ในฤดูรอนและฤดูหนาว มีคาอยูในเกณฑมาตรฐาน ฤดูฝนมีคามากกวา เกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า

ในแหลงนํ้าผิวดิน เล็กนอย นอกจากน้ีทั้ง 12 เดือน มีคาอยูในเกณฑมาตรฐาน ยกเวน เดือน

พฤษภาคมมีคามากกวา เกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้าในแหลงนํ้าผิวดิน สวนเดือนกรกฎาคมและ

ตุลาคมมีคามากกวาเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้าในแหลงนํ้าผิวดินเล็กนอย

Page 113: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

83

4) เมื่อเปรียบเทียบ ปริมาณแอมโมเนีย – ไนโตรเจนระหวางตัวอยางนํ้าที่เก็บจาก

อางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวัง

คุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว โดยการ วิเคราะหทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณ

แอมโมเนีย – ไนโตรเจนไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

สําหรับรูปที่ 32 และรูปที่ 33 แสดงการเปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า

กับคาเฉลี่ยของปริมาณแอมโมเนีย – ไนโตรเจนของตัวอยางนํ้าที่เก็บจาก อางเก็บนํ้ากระเสียว

ทางนํ้าชลประทานของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหล

ลงอางเก็บนํ้ากระเสียว ระหวาง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน ตามลําดับ

0.00

2.00

4.00

6.00

NH

3 - N

( m

g / L

) ฤดูรอน

ฤดูฝน

ฤดูหนาว

คาเฉลี่ย

เกณฑกําหนดสูงสุดอางเก็บน้ํากระเสียว จุดเฝาระวังกอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

ทางน้ํา

ชลประทาน

รูปท่ี 32 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับคาเฉลี่ยของปริมาณแอมโมเนีย –

ไนโตรเจนระหวาง 3 ฤดูกาล ของตัวอยางนํ้าท่ีเก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของ

โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

0.00

2.00

4.00

6.00

เดือนที่เก็บตัวอยางน้ํา

NH

3 - N

( m

g / L

)

ก.พ

. 53

ม.ีค.

53

เม.ย

. 53

พ.ค

. 53

ม.ิย.

53

ก.ค.

53

ส.ค

. 53

ก.ย.

53

ต.ค.

53

พ.ย

. 53

ธ.ค.

53

ม.ค.

54

เกณฑกําหนดสูงสุด

รูปท่ี 33 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับคาเฉลี่ยของปริมาณแอมโมเนีย –

ไนโตรเจนระหวาง 12 เดือน ของตัวอยางนํ้าท่ีเก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของ

โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

อางเก็บน้ํากระเสียว

จุดเฝาระวังกอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

ทางน้ําชลประทาน

Page 114: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

84

4.2.10 ปริมาณอินทรียสารไนโตรเจน

1) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว มีปริมาณอินทรียสารไนโตรเจน

อยูในชวง 0.19 – 1.31 มิลลิกรัมตอลิตร และคาเฉลี่ยเทากับ 0.79 มิลลิกรัมตอลิตร

1.1) เมื่อพิจารณา ปริมาณอินทรียสารไนโตรเจนแยกตามฤดูกาล พบวา

ฤดูรอนมีคาอยูในชวง 0.49 – 1.01 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.74 มิลลิกรัมตอลิตร ฤดูฝนมีคา

อยูในชวง 0.19 – 1.31 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.85 มิลลิกรัมตอลิตร และฤดูหนาวมีคาอยู

ในชวง 0.58 – 1.04 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.73 มิลลิกรัมตอลิตร จากผลการวิเคราะห

ทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณอินทรียสารไนโตรเจนระหวาง 3 ฤดูกาล ไมมีความแตกตางกัน

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

1.2) เมื่อพิจารณา ปริมาณอินทรียสารไนโตรเจนแยกตามรายเดือน พบวา

คาเฉลี่ยของปริมาณอินทรียสารไนโตรเจน ระหวาง 12 เดือน มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ

ทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 โดยคาเฉลี่ยของปริมาณอินทรียสารไนโตรเจนในเดือน มิถุนายน

มีคามากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

2) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษา

กระเสียวมีปริมาณอินทรียสารไนโตรเจนอยูในชวง 0.47 – 2.57 มิลลิกรัมตอลิตร และคาเฉลี่ย

เทากับ 0.97 มิลลิกรัมตอลิตร

2.1) เมื่อพิจารณา ปริมาณอินทรียสารไนโตรเจนแยกตามฤดูกาล พบวา

ฤดูรอนมีคาอยูในชวง 0.60 – 2.57 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 1.04 มิลลิกรัมตอลิตร ฤดูฝนมีคา

อยูในชวง 0.47 – 1.78 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 1.06 มิลลิกรัมตอลิตร และฤดูหนาวมีคาอยู

ในชวง 0.49 – 1.18 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.73 มิลลิกรัมตอลิตร จากผลการวิเคราะห

ทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณอินทรียสารไนโตรเจน ระหวาง 3 ฤดูกาล มีความแตกตางกัน

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 โดยคาเฉลี่ยของปริมาณอินทรียสารไนโตรเจน

ในฤดูรอนและฤดูฝนมีคามากกวาฤดูหนาวอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

2.2) เมื่อพิจารณา ปริมาณอินทรียสารไนโตรเจนแยกตามรายเดือน พบวา

คาเฉลี่ยของปริมาณอินทรียสารไนโตรเจน ระหวาง 12 เดือน ไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ

ทางสถิติ

3) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

มีปริมาณอินทรียสารไนโตรเจนอยูในชวง 0.60 – 2.24 มิลลิกรัมตอลิตร และคาเฉลี่ยเทากับ

1.31 มิลลิกรัมตอลิตร

Page 115: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

85

3.1) เมื่อพิจารณา ปริมาณอินทรียสารไนโตรเจนแยกตามฤดูกาล พบวา

ฤดูรอนมีคาอยูในชวง 1.42 – 1.75 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 1.55 มิลลิกรัมตอลิตร ฤดูฝนมีคา

อยูในชวง 1.00 – 2.24 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 1.38 มิลลิกรัมตอลิตร และฤดูหนาวมีคาอยู

ในชวง 0.60 – 1.53 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.95 มิลลิกรัมตอลิตร จากผลการวิเคราะห

ทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณอินทรียสารไนโตรเจนระหวาง 3 ฤดูกาล ไมมีความแตกตางกัน

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

4) เมื่อเปรียบเทียบ ปริมาณอินทรียสารไนโตรเจน ระหวางตัวอยางนํ้าที่เก็บจาก

อางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวัง

คุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว โดยการ วิเคราะหทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณ

อินทรียสารไนโตรเจนมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

โดยคาเฉลี่ยของปริมาณอินทรียสารไนโตรเจน ของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้า

กอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียวมีคามากที่สุด อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

รองลงมา คือ ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียวและทางนํ้าชลประทาน ของโครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว ซึ่งทั้งสองกลุมน้ีไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

สําหรับรูปที่ 34 และรูปที่ 35 แสดงการเปรียบเทียบคาเฉลี่ยของปริมาณอินทรียสาร

ไนโตรเจนของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและ

บํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว ระหวาง 3 ฤดูกาล

และ 12 เดือน ตามลําดับ

0.00

1.00

2.00

3.00

Org

anic

- N

( m

g / L

)

ฤดูรอน

ฤดูฝน

ฤดูหนาว

คาเฉลี่ยอางเก็บน้ํากระเสียว จุดเฝาระวังกอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

ทางน้ํา

ชลประทาน

รูปท่ี 34 เปรียบเทียบคาเฉลี่ยของปริมาณอินทรียสารไนโตรเจน ระหวาง 3 ฤดูกาล

ของตัวอยางนํ้าท่ีเก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษา

กระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

Page 116: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

86

0.00

1.00

2.00

3.00

เดือนที่เก็บตัวอยางน้ํา

Org

anic

- N

( m

g / L

)

ก.พ

. 53

ม.ีค.

53

เม.ย

. 53

พ.ค

. 53

ม.ิย.

53

ก.ค.

53

ส.ค

. 53

ก.ย.

53

ต.ค.

53

พ.ย

. 53

ธ.ค.

53

ม.ค.

54

รูปท่ี 35 เปรียบเทียบคาเฉลี่ยของปริมาณอินทรียสารไนโตรเจน ระหวาง 12 เดือน

ของตัวอยางนํ้าท่ีเก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษา

กระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

4.2.11 ปริมาณไนโตรเจนท้ังหมด

1) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียวมีปริมาณไนโตรเจนทั้งหมดอยูในชวง

0.49 – 1.72 มิลลิกรัมตอลิตร และคาเฉลี่ยเทากับ 0.93 มิลลิกรัมตอลิตร

1.1) เมื่อพิจารณา ปริมาณไนโตรเจนทั้งหมดแยกตามฤดูกาล พบวา ฤดูรอน

มีคาอยูในชวง 0.49 – 1.02 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.75 มิลลิกรัมตอลิตร ฤดูฝนมีคาอยู

ในชวง 0.74 – 1.72 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 1.09 มิลลิกรัมตอลิตร และฤดูหนาวมีคาอยู

ในชวง 0.61 – 1.10 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.78 มิลลิกรัมตอลิตร จากผลการวิเคราะห

ทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณไนโตรเจนทั้งหมดระหวาง 3 ฤดูกาล มีความแตกตางกันอยางมี

นัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 โดยคาเฉลี่ยของปริมาณไนโตรเจนทั้งหมดในฤดูฝนมีคา

มากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 รองลงมา คือ ฤดูรอนและฤดูหนาว ซึ่งทั้ง

สองฤดูน้ีไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

1.2) เมื่อพิจารณาปริมาณไนโตรเจนทั้งหมดแยกตามรายเดือน พบวา คาเฉลี่ย

ของปริมาณไนโตรเจนทั้งหมด ระหวาง 12 เดือน มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 โดยคาเฉลี่ยของปริมาณไนโตรเจนทั้งหมดในเดือน มิถุนายนมีคามากที่สุด

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

2) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษา

กระเสียวมีปริมาณไนโตรเจนทั้งหมดอยูในชวง 0.22 – 12.70 มิลลิกรัมตอลิตร และคาเฉลี่ยเทากับ

1.49 มิลลิกรัมตอลิตร

อางเก็บน้ํากระเสียว

จุดเฝาระวังกอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

ทางน้ําชลประทาน

Page 117: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

87

2.1) เมื่อพิจารณา ปริมาณไนโตรเจนทั้งหมดแยกตามฤดูกาล พบวา ฤดูรอน

มีคาอยูในชวง 0.64 – 12.70 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 1.73 มิลลิกรัมตอลิตร ฤดูฝนมีคาอยู

ในชวง 0.22 – 6.33 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 1.66 มิลลิกรัมตอลิตร และฤดูหนาวมีคาอยู

ในชวง 0.51 – 1.90 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.89 มิลลิกรัมตอลิตร จากผลการวิเคราะห

ทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณไนโตรเจนทั้งหมด ระหวาง 3 ฤดูกาล ไม มีความแตกตางกัน

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

2.2) เมื่อพิจารณาปริมาณไนโตรเจนทั้งหมดแยกตามรายเดือน พบวา คาเฉลี่ย

ของปริมาณไนโตรเจนทั้งหมดระหวาง 12 เดือน ไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

3) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

มีปริมาณไนโตรเจนทั้งหมดอยูในชวง 0.78 – 9.86 มิลลิกรัมตอลิตร และ คาเฉลี่ยเทากับ

2.73 มิลลิกรัมตอลิตร

3.1) เมื่อพิจารณา ปริมาณไนโตรเจนทั้งหมดแยกตามฤดูกาล พบวา ฤดูรอน

มีคาอยูในชวง 1.45 – 2.67 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 2.17 มิลลิกรัมตอลิตร ฤดูฝนมีคาอยู

ในชวง 1.52 – 9.86 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 3.59 มิลลิกรัมตอลิตร และฤดูหนาวมีคาอยู

ในชวง 0.78 – 2.37 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 1.56 มิลลิกรัมตอลิตร จากผลการวิเคราะห

ทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณไนโตรเจนทั้งหมด ระหวาง 3 ฤดูกาล ไม มีความแตกตางกัน

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

4) เมื่อเปรียบเทียบ ปริมาณไนโตรเจนทั้งหมด ระหวางตัวอยางนํ้าที่เก็บจาก

อางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวัง

คุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว โดยการ วิเคราะหทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณ

ไนโตรเจนทั้งหมดมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 โดยคาเฉลี่ย

ของปริมาณไนโตรเจนทั้งหมด ของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บ

นํ้ากระเสียวมีคามากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 รองลงมา คือ ตัวอยางนํ้า

ที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียวและทางนํ้าชลประทาน ซึ่งทั้งสองกลุมน้ีไม มีความแตกตางกันอยางมี

นัยสําคัญทางสถิติ

สําหรับรูปที่ 36 และรูปที่ 37 แสดงการเปรียบเทียบคาเฉลี่ยของปริมาณไนโตรเจน

ทั้งหมดของตัวอยางนํ้าที่เก็บจาก อางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและ

บํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว ระหวาง 3 ฤดูกาล

และ 12 เดือน ตามลําดับ

Page 118: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

88

0.00

5.00

10.00

15.00

TN

( m

g / L

)

ฤดูรอน

ฤดูฝน

ฤดูหนาว

คาเฉลี่ยอางเก็บน้ํากระเสียว จุดเฝาระวังกอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

ทางน้ํา

ชลประทาน

รูปท่ี 36 เปรียบเทียบคาเฉลี่ยของปริมาณไนโตรเจนท้ังหมด ระหวาง 3 ฤดูกาล ของ

ตัวอยางนํ้าท่ีเก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษา

กระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

0.00

5.00

10.00

15.00

เดือนที่เก็บตัวอยางน้ํา

TN

( m

g / L

)

ก.พ

. 53

ม.ีค.

53

เม.ย

. 53

พ.ค

. 53

ม.ิย.

53

ก.ค.

53

ส.ค

. 53

ก.ย.

53

ต.ค.

53

พ.ย

. 53

ธ.ค.

53

ม.ค.

54

รูปท่ี 37 เปรียบเทียบคาเฉลี่ยของปริมาณไนโตรเจนท้ังหมด ระหวาง 12 เดือน ของ

ตัวอยางนํ้าท่ีเก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษา

กระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

4.2.12 ปริมาณแคลเซียม (Ca)

1) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว มีปริมาณแคลเซียมอยูในชวง

1.46 – 2.16 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร และคาเฉลี่ยเทากับ 1.73 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร

1.1) เมื่อพิจารณา ปริมาณแคลเซียมแยกตามฤดูกาล พบวา ฤดูรอนมีคาอยู

ในชวง 1.76 – 2.16 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 1.94 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร ฤดูฝน

มีคาอยูในชวง 1.46 – 2.06 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 1.67 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร

และฤดูหนาวมีคาอยูในชวง 1.51 – 1.91 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 1.65 มิลลิ

อิควิวาเลนซตอลิตร จากผลการวิเคราะหทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณแคลเซียม ระหวาง

3 ฤดูกาล มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 โดยคาเฉลี่ยของ

อางเก็บน้ํากระเสียว

จุดเฝาระวังกอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

ทางน้ําชลประทาน

Page 119: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

89

ปริมาณแคลเซียมในฤดู รอนมีคามากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

รองลงมา คือ ฤดูรอนและฤดูหนาว ซึ่งทั้งสองฤดูน้ีไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

1.2) เมื่อพิจารณา ปริมาณแคลเซียมแยกตามรายเดือน พบวา คาเฉลี่ยของ

ปริมาณแคลเซียม ระหวาง 12 เดือน มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ

0.05 โดยคาเฉลี่ยของปริมาณแคลเซียมในเดือน มีนาคม มีคามากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

1.3) เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐานนํ้าชลประทานของ FAO (1985)

พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณแคลเซียมทั้ง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน มีคาอยูในเกณฑมาตรฐาน

2) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษา

กระเสียวมีปริมาณแคลเซียมอยูในชวง 1.36 – 2.46 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร และคาเฉลี่ยเทากับ

1.77 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร

2.1) เมื่อพิจารณา ปริมาณแคลเซียมแยกตามฤดูกาล พบวา ฤดูรอนมีคาอยู

ในชวง 1.61 – 2.26 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 1.90 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร ฤดูฝน

มีคาอยูในชวง 1.36 – 2.46 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 1.73 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร

และฤดูหนาวมีคาอยูในชวง 1.36 – 2.46 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 1.70 มิลลิ

อิควิวาเลนซตอลิตร จากผลการวิเคราะหทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณแคลเซียม ระหวาง

3 ฤดูกาล ไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

2.2) เมื่อพิจารณา ปริมาณแคลเซียมแยกตามรายเดือน พบวา คาเฉลี่ยของ

ปริมาณแคลเซียม ระหวาง 12 เดือน มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ

0.05 โดยคาเฉลี่ยของปริมาณแคลเซียมในเดือน เมษายนและมกราคม มีคามากที่สุดอยางมีนัยสําคัญ

ทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

2.3) เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐานนํ้าชลประทานของ FAO (1985)

พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณแคลเซียมทั้ง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน มีคาอยูในเกณฑมาตรฐาน

3) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

มีปริมาณแคลเซียมอยูในชวง 1.71 – 3.02 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร และคาเฉลี่ยเทากับ 2.37 มิลลิ

อิควิวาเลนซตอลิตร

3.1) เมื่อพิจารณา ปริมาณแคลเซียมแยกตามฤดูกาล พบวา ฤดูรอนมีคาอยู

ในชวง 2.66 – 3.02 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 2.86 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร ฤดูฝน

มีคาอยูในชวง 1.71 – 2.56 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 2.10 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร

และฤดูหนาวมีคาอยูในชวง 2.11 – 2.76 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 2.41 มิลลิ

อิควิวาเลนซตอลิตร จากผลการวิเคราะหทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณแคลเซียม ระหวาง

Page 120: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

90

3 ฤดูกาล มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 โดยคาเฉลี่ยของ

ปริมาณแคลเซียมในฤดู รอนมีคามากที่สุด อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

สวนฤดูฝนและฤดูหนาวไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

3.2) เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐานนํ้าชลประทานของ FAO (1985)

พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณแคลเซียมทั้ง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน มีคาอยูในเกณฑมาตรฐาน

4) เมื่อเปรียบเทียบ ปริมาณแคลเซียม ระหวางตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้า

กระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวัง

คุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว โดยการ วิเคราะหทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณ

แคลเซียมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 โดยคาเฉลี่ยของ

ปริมาณแคลเซียม ของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

มีคามากที่สุด อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 รองลงมา คือ ตัวอยางนํ้า

ที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียวและทางนํ้าชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว

ซึ่งทั้งสองกลุมน้ีไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

สําหรับรูปที่ 38 และรูปที่ 39 แสดงการเปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า

กับคาเฉลี่ยของปริมาณแคลเซียมของตัวอยางนํ้าที่เก็บจาก อางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน

ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้า

กระเสียว ระหวาง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน ตามลําดับ

0

10

20

30

Ca

( meq

/ L

)

ฤดูรอน

ฤดูฝน

ฤดูหนาว

คาเฉลี่ย

เกณฑกําหนดสูงสุดอางเก็บน้ํากระเสียว จุดเฝาระวังกอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

ทางน้ํา

ชลประทาน

รูปท่ี 38 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้ากับคาเฉลี่ยของปริมาณแคลเซียม ระหวาง

3 ฤดูกาล ของตัวอยางนํ้าท่ีเก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและ

บํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

Page 121: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

91

0

10

20

30

เดือนที่เก็บตัวอยางน้ํา

Ca

(meq

/ L

)

ก.พ

. 53

ม.ีค.

53

เม.ย

. 53

พ.ค

. 53

ม.ิย.

53

ก.ค.

53

ส.ค

. 53

ก.ย.

53

ต.ค.

53

พ.ย

. 53

ธ.ค.

53

ม.ค.

54

เกณฑกําหนดสูงสุด

รูปท่ี 39 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้ากับคาเฉลี่ยของปริมาณแคลเซียม ระหวาง

12 เดือน ของตัวอยางนํ้าท่ีเก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและ

บํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

4.2.13 ปริมาณแมกนีเซียม (Mg)

1) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว มีปริมาณแมกนีเซียมอยูในชวง

0.15 – 0.80 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร และคาเฉลี่ยเทากับ 0.49 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร

1.1) เมื่อพิจารณา ปริมาณแมกนีเซียมแยกตามฤดูกาล พบวา ฤดูรอนมีคาอยู

ในชวง 0.20 – 0.60 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.36 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร ฤดูฝน

มีคาอยูในชวง 0.15 – 0.80 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.53 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร

และฤดูหนาวมีคาอยูในชวง 0.30 – 0.75 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.55 มิลลิ

อิควิวาเลนซตอลิตร จากผลการวิเคราะหทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณแมกนีเซียม ระหวาง

3 ฤดูกาล มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 โดยคาเฉลี่ยของ

ปริมาณแมกนีเซียมในฤดูฝนและฤดูหนาวมีคามาก กวาฤดูรอนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ

นัยสําคัญ 0.05

1.2) เมื่อพิจารณา ปริมาณแมกนีเซียมแยกตามรายเดือน พบวา คาเฉลี่ยของ

ปริมาณแมกนีเซียมระหวาง 12 เดือน มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ

0.05 โดยคาเฉลี่ยของปริมาณแมกนีเซียมในเดือน สิงหาคมและธันวาคม มีคามากที่สุดอยางมี

นัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

1.3) เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐานนํ้าชลประทานของ FAO (1985)

พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณแมกนีเซียมทั้ง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน มีคาอยูในเกณฑมาตรฐาน

2) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษา

กระเสียวมีปริมาณแมกนีเซียมอยูในชวง 0.15 – 1.21 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร และคาเฉลี่ยเทากับ

0.63 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร

อางเก็บน้ํากระเสียว

จุดเฝาระวังกอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

ทางน้ําชลประทาน

Page 122: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

92

2.1) เมื่อพิจารณา ปริมาณแมกนีเซียมแยกตามฤดูกาล พบวา ฤดูรอนมีคาอยู

ในชวง 0.35 – 1.20 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.61 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร ฤดูฝน

มีคาอยูในชวง 0.15 – 1.15 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.59 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร

และฤดูหนาวมีคาอยูในชวง 0.25 – 1.21 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.73 มิลลิ

อิควิวาเลนซตอลิตร จากผลการวิเคราะหทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณแมกนีเซียม ระหวาง

3 ฤดูกาล ไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

2.2) เมื่อพิจารณา ปริมาณแมกนีเซียมแยกตามรายเดือน พบวา คาเฉลี่ยของ

ปริมาณแมกนีเซียมในแตละเดือนมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ

0.05 โดยคาเฉลี่ยของปริมาณแมกนีเซียมในเดือน มิถุนายนและธันว าคมมีคามากที่สุดอยางมี

นัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

2.3) เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐานนํ้าชลประทานของ FAO (1985)

พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณแมกนีเซียมทั้ง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน มีคาอยูในเกณฑมาตรฐาน

3) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

มีปริมาณแมกนีเซียมอยูในชวง 0.10 – 0.91 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร และคาเฉลี่ยเทากับ 0.47

มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร

3.1) เมื่อพิจารณา ปริมาณแมกนีเซียมแยกตามฤดูกาล พบวา ฤดูรอนมีคาอยู

ในชวง 0.25 – 0.56 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.46 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร ฤดูฝน

มีคาอยูในชวง 0.10 – 0.91 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.43 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร

และฤดูหนาวมีคาอยูในชวง 0.55 – 0.60 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.57 มิลลิ

อิควิวาเลนซตอลิตร จากผลการวิเคราะหทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณแมกนีเซียม ระหวาง

3 ฤดูกาล ไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

3.2) เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐานนํ้าชลประทานของ FAO (1985)

พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณแมกนีเซียมทั้ง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน มีคาอยูในเกณฑมาตรฐาน

4) เมื่อเปรียบเทียบ ปริมาณแมกนีเซียม ระหวางตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้า

กระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวัง

คุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว โดยการ วิเคราะหทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณ

แมกนีเซียมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 โดยคาเฉลี่ยของ

ปริมาณแมกนีเซียม ของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากทางนํ้าชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษา

กระเสียวมีคามากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 รองลงมา คือ ตัวอยางนํ้า

ที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียวและจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว ซึ่งทั้งสอง

กลุมน้ีไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

Page 123: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

93

สําหรับรูปที่ 40 และรูปที่ 41 แสดงการเปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า

กับคาเฉลี่ยของปริมาณแมกนีเซียมของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน

ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้า

กระเสียว ระหวาง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน ตามลําดับ

0

2

4

6

Mg

( meq

/ L

) ฤดูรอน

ฤดูฝน

ฤดูหนาว

คาเฉลี่ย

เกณฑกําหนดสูงสุด

อางเก็บน้ํากระเสียว จุดเฝาระวังกอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

ทางน้ํา

ชลประทาน

รูปท่ี 40 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับคาเฉลี่ยของปริมาณแมกนีเซียม

ระหวาง 3 ฤดูกาล ของตัวอยางนํ้าท่ีเก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของโครงการ

สงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

0

2

4

6

เดือนที่เก็บตัวอยางน้ํา

Mg

(meq

/ L

)

ก.พ

. 53

ม.ีค.

53

เม.ย

. 53

พ.ค

. 53

ม.ิย.

53

ก.ค.

53

ส.ค

. 53

ก.ย.

53

ต.ค.

53

พ.ย

. 53

ธ.ค.

53

ม.ค.

54 เกณฑกําหนดสูงสุด

รูปท่ี 41 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับคาเฉลี่ยของปริมาณแมกนีเซียม

ระหวาง 12 เดือน ของตัวอยางนํ้าท่ีเก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของโครงการ

สงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

4.2.14 ปริมาณโซเดียม (Na)

1) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว มีปริมาณโซเดียมอยูในชวง

0.12 – 0.41 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร และคาเฉลี่ยเทากับ 0.27 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร

1.1) เมื่อพิจารณาปริมาณโซเดียมแยกตามฤดูกาล พบวา ฤดูรอนมีคาอยูในชวง

0.28 – 0.35 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.30 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร ฤดูฝนมีคาอยู

อางเก็บน้ํากระเสียว

จุดเฝาระวังกอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

ทางน้ําชลประทาน

Page 124: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

94

ในชวง 0.19 – 0.41 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.31 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร และ

ฤดูหนาวมีคาอยูในชวง 0.12 – 0.20 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.16 มิลลิอิควิวาเลนซ

ตอลิตร จากผลการวิเคราะหทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณโซเดียม ระหวาง 3 ฤดูกาล มีความ

แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 โดยคาเฉลี่ยของปริมาณโซเดียม

ในฤดูรอนและฤดูฝนมีคามากกวาฤดูหนาวอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

1.2) เมื่อพิจารณาปริมาณโซเดียมแยกตามรายเดือน พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณ

โซเดียม ระหวาง 12 เดือน มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

โดยคาเฉลี่ยของปริมาณโซเดียมในเดือนพฤษภาคม มิถุนายน กรกฎาคม และสิงหาคม

มีคามากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

1.3) เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐานนํ้าชลประทานของ FAO (1985)

พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณโซเดียมทั้ง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน มีคาอยูในเกณฑมาตรฐาน

2) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษา

กระเสียวมีปริมาณโซเดียมอยูในชวง 0.14 – 1.00 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร และคาเฉลี่ยเทากับ 0.44

มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร

2.1) เมื่อพิจารณาปริมาณโซเดียมแยกตามฤดูกาล พบวา ฤดูรอนมีคาอยูในชวง

0.26 – 0.90 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.46 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร ฤดูฝนมีคาอยู

ในชวง 0.22 – 1.00 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.51 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร และ

ฤดูหนาวมีคาอยูในชวง 0.14 – 0.57 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.31 มิลลิอิควิวาเลนซ

ตอลิตร จากผลการวิเคราะหทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณโซเดียม ระหวาง 3 ฤดูกาล มีความ

แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 โดยคาเฉลี่ยของปริมาณโซเดียม

ในฤดูรอนและฤดูฝนมีคามากกวาฤดูหนาวอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

2.2) เมื่อพิจารณาปริมาณโซเดียมแยกตามรายเดือน พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณ

โซเดียม ระหวาง 12 เดือน มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

โดยคาเฉลี่ยของปริมาณโซเดียมในเดือน กันยายนมีคามากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ

นัยสําคัญ 0.05

2.3) เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐานนํ้าชลประทานของ FAO (1985)

พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณโซเดียมทั้ง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน มีคาอยูในเกณฑมาตรฐาน

3) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

มีปริมาณโซเดียมอยูในชวง 0.19 – 2.76 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร และคาเฉลี่ยเทากับ 0.84 มิลลิ

อิควิวาเลนซตอลิตร

Page 125: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

95

3.1) เมื่อพิจารณาปริมาณโซเดียมแยกตามฤดูกาล พบวา ฤดูรอนมีคาอยูในชวง

0.61 – 2.76 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 1.61 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร ฤดูฝน

มีคาอยูในชวง 0.19 – 1.80 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.66 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร

และฤดูหนาวมีคาอยูในชวง 0.20 – 0.74 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.41 มิลลิ

อิควิวาเลนซตอลิตร จากผลการวิเคราะหทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณโซเดียม ระหวาง

3 ฤดูกาล ไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

3.2) เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐานนํ้าชลประทานของ FAO (1985)

พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณโซเดียมทั้ง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน มีคาอยูในเกณฑมาตรฐาน

4) เมื่อเปรียบเทียบ ปริมาณโซเดียม ระหวางตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้า

กระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวัง

คุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว โดยการ วิเคราะหทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณ

โซเดียมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 โดยคาเฉลี่ยของ

ปริมาณโซเดียมของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียวมีคา

มากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 รองลงมา คือ ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากทางนํ้า

ชลประทานของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และอางเก็บนํ้ากระเสียว ตามลําดับ

สําหรับรูปที่ 42 และรูปที่ 43 แสดงการเปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า

กับคาเฉลี่ยของปริมาณโซเดียมของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ

โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

ระหวาง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน ตามลําดับ

0

20

40

60

Na

( meq

/ L

)

ฤดูรอน

ฤดูฝน

ฤดูหนาว

คาเฉลี่ย

เกณฑกําหนดสูงสุดอางเก็บน้ํากระเสียว จุดเฝาระวังกอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

ทางน้ํา

ชลประทาน

รูปท่ี 42 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับคาเฉลี่ยของปริมาณโซเดียม ระหวาง

3 ฤดูกาล ของ ตัวอยางนํ้าท่ีเก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและ

บํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

Page 126: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

96

0

20

40

60

เดือนที่เก็บตัวอยางน้ํา

Na

(meq

/ L

)

ก.พ

. 53

ม.ีค.

53

เม.ย

. 53

พ.ค

. 53

ม.ิย.

53

ก.ค.

53

ส.ค

. 53

ก.ย.

53

ต.ค.

53

พ.ย

. 53

ธ.ค.

53

ม.ค.

54

เกณฑกําหนดสูงสุด

รูปท่ี 43 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับ คาเฉลี่ยของปริมาณโซเดียม

ระหวาง 12 เดือน ของตัวอยางนํ้าท่ีเก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของโครงการ

สงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

4.2.15 ปริมาณโพแทสเซียม (K)

1) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว มีปริมาณโพแทสเซียมทั้งหมดอยู

ในชวง 1.6 – 7.4 มิลลิกรัมตอลิตร และคาเฉลี่ยเทากับ 4.4 มิลลิกรัมตอลิตร

1.1) เมื่อพิจารณาปริมาณโพแทสเซียมแยกตามฤดูกาล พบวา ฤดูรอนมีคาอยู

ในชวง 3.1 – 4.7 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 4.1 มิลลิกรัมตอลิตร ฤดูฝนมีคาอยูในชวง

1.6 – 7.4 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 5.0 มิลลิกรัมตอลิตร และฤดูหนาวมีคาอยูในชวง

2.7 – 3.9 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 3.6 มิลลิกรัมตอลิตร จากผลการวิเคราะหทางสถิติ พบวา

คาเฉลี่ยของปริมาณโพแทสเซียม ระหวาง 3 ฤดูกาล มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 โดยคาเฉลี่ยของปริมาณโพแทสเซียมในฤดูฝนมีคามากที่สุดอยางมีนัยสําคัญ

ทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 รองลงมา คือ ฤดูรอนและฤดูหนาว ซึ่งทั้งสองฤดูน้ีไมมีความ

แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

1.2) เมื่อพิจารณาปริมาณโพแทสเซียมแยกตามรายเดือน พบวา คาเฉลี่ยของ

ปริมาณโพแทสเซียม ระหวาง 12 เดือน มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ

นัยสําคัญ 0.05 โดยคาเฉลี่ยของปริมาณโพแทสเซียมในเดือน มิถุนายนและกรกฎาคม มีคามากที่สุด

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

1.3) เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐานนํ้าชลประทานของ FAO (1985)

พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณโพแทสเซียมทั้ง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน มีคามากกวาเกณฑมาตรฐาน

อางเก็บน้ํากระเสียว

จุดเฝาระวังกอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

ทางน้ําชลประทาน

Page 127: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

97

2) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษา

กระเสียวมีปริมาณโพแทสเซียมอยูในชวง 2.7 – 10.6 มิลลิกรัมตอลิตร และคาเฉลี่ยเทากับ

5.6 มิลลิกรัมตอลิตร

2.1) เมื่อพิจารณาปริมาณโพแทสเซียมแยกตามฤดูกาล พบวา ฤดูรอนมีคาอยู

ในชวง 3.1 – 8.2 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 5.3 มิลลิกรัมตอลิตร ฤดูฝนมีคาอยูในชวง

2.7 – 10.6 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 6.4 มิลลิกรัมตอลิตร และฤดูหนาวมีคาอยูในชวง

3.1 – 6.6 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 4.4 มิลลิกรัมตอลิตร จากผลการวิเคราะหทางสถิติ พบวา

คาเฉลี่ยของปริมาณโพแทสเซียม ระหวาง 3 ฤดูกาล มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 โดยคาเฉลี่ยของปริมาณโพแทสเซียมในฤดูฝนมีคามากที่สุดอยางมีนัยสําคัญ

ทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 รองลงมา คือ ฤดูรอนและฤดูหนาว ซึ่งทั้งสองฤดูน้ีไมมี

ความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

2.2) เมื่อพิจารณาปริมาณโพแทสเซียมแยกตามรายเดือน พบวา คาเฉลี่ยของ

ปริมาณโพแทสเซียม ระหวาง 12 เดือน มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ

นัยสําคัญ 0.05 โดยคาเฉลี่ยของปริมาณโพแทสเซียมในเดือนพฤษภาคม กรกฎาคม และสิงหาคม

มีคามากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

2.3) เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐานนํ้าชลประทานของ FAO (1985)

พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณโพแทสเซียมทั้ง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน มีคามากกวาเกณฑมาตรฐาน

3) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

มีปริมาณโพแทสเซียมอยูในชวง 1.2 – 30.9 มิลลิกรัมตอลิตร และคาเฉลี่ยเทากับ 13.6 มิลลิกรัม

ตอลิตร

3.1) เมื่อพิจารณาปริมาณโพแทสเซียมแยกตามฤดูกาล พบวา ฤดูรอนมีคาอยู

ในชวง 19.9 – 23.1 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 21.4 มิลลิกรัมตอลิตร ฤดูฝนมีคาอยูในชวง

1.2 – 30.9 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 12.0 มิลลิกรัมตอลิตร และฤดูหนาวมีคาอยูในชวง

4.7 – 16.0 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 9.1 มิลลิกรัมตอลิตร จากผลการวิเคราะหทางสถิติ พบวา

คาเฉลี่ยของปริมาณโพแทสเซียมระหวาง 3 ฤดูกาล ไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

3.2) เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐานนํ้าชลประทานของ FAO (1985)

พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณโพแทสเซียมทั้ง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน มีคามากวาเกณฑมาตรฐาน

4) เมื่อเปรียบเทียบ ปริมาณโพแทสเซียม ระหวางตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้า

กระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวัง

คุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว โดยการ วิเคราะหทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณ

โพแทสเซียมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 โดยคาเฉลี่ยของ

Page 128: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

98

ปริมาณโพแทสเซียม ของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้า

กระเสียวมีคามากที่สุด อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 รองลงมา คือ ตัวอยางนํ้า

ที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียวและทางนํ้าชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว

ซึ่งทั้งสองกลุมน้ีไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

สําหรับรูปที่ 44 และรูปที่ 45 แสดงการเปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า

กับ คาเฉลี่ยของปริมาณโพแทสเซียมของตัวอยางนํ้าที่เก็บจาก อางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้า

ชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลง

อางเก็บนํ้ากระเสียว ระหวาง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน ตามลําดับ

0

10

20

30

K (

mg

/ L )

ฤดูรอน

ฤดูฝน

ฤดูหนาว

คาเฉลี่ย

เกณฑกําหนดสูงสุดอางเก็บน้ํากระเสียว จุดเฝาระวังกอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

ทางน้ํา

ชลประทาน

รูปท่ี 44 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับคาเฉลี่ยของปริมาณโพแทสเซียม

ระหวาง 3 ฤดูกาล ของตัวอยางนํ้าท่ีเก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของโครงการ

สงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

0

10

20

30

40

เดือนที่เก็บตัวอยางน้ํา

K (

mg

/ L )

ก.พ

. 53

ม.ีค.

53

เม.ย

. 53

พ.ค

. 53

ม.ิย.

53

ก.ค.

53

ส.ค

. 53

ก.ย.

53

ต.ค.

53

พ.ย

. 53

ธ.ค.

53

ม.ค.

54

เกณฑกําหนดสูงสุด

รูปท่ี 45 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับคาเฉลี่ยของปริมาณโพแทสเซียม

ระหวาง 12 เดือน ของตัวอยางนํ้าท่ีเก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของโครงการ

สงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

อางเก็บน้ํากระเสียว

จุดเฝาระวังกอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

ทางน้ําชลประทาน

Page 129: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

99

4.2.16 ปริมาณคารบอเนต (CO 3)

1) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว มีปริมาณคารบอเนตอยูในชวง

0.00 – 0.62 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร และคาเฉลี่ยเทากับ 0.09 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร

1.1) เมื่อพิจารณา ปริมาณคารบอเนตแยกตามฤดูกาล พบวา ฤดูรอนมีคาอยู

ในชวง 0.00 – 0.62 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.21 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร ฤดูฝน

มีคาอยูในชวง 0.00 – 0.36 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.04 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร

และฤดูหนาวมีคาอยูในชวง 0.00 – 0.39 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.06 มิลลิอิควิ

วาเลนซตอลิตร จากผลการวิเคราะหทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณคารบอเนต ระหวาง

3 ฤดูกาล มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 โดยคาเฉลี่ยของ

ปริมาณคารบอเนตในฤดู รอนมีคามากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

รองลงมา คือ ฤดูฝนและฤดูหนาว ซึ่งทั้งสองฤดูน้ีไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

1.2) เมื่อพิจารณา ปริมาณคารบอเนตแยกตามรายเดือน พบวา คาเฉลี่ยของ

ปริมาณคารบอเนตระหวาง 12 เดือน มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ

0.05 โดยคาเฉลี่ยของปริมาณคารบอเนตในเดือน กุมภาพันธมีคามากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

1.3) เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐานนํ้าชลประทานของ FAO (1985)

พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณคารบอเนตทั้ง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน มีคาอยูในเกณฑมาตรฐาน

2) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษา

กระเสียวมีปริมาณคารบอเนตอยูในชวง 0.00 – 0.00 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร และคาเฉลี่ยเทากับ

0.00 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร

2.1) เมื่อพิจารณา ปริมาณแคลเซียมแยกตามฤดูกาล พบวา ฤดูรอน ฤดูฝน และ

ฤดูหนาว มีคาอยูในชวง 0.00 – 0.00 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร และคาเฉลี่ยเทากับ 0.00 มิลลิ

อิควิวาเลนซตอลิตร ซึ่งมีคาเทากันทั้ง 3 ฤดูกาล จากผลการวิเคราะหทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของ

ปริมาณคารบอเนตระหวาง 3 ฤดูกาล ไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

2.2) เมื่อพิจารณา ปริมาณคารบอเนตแยกตามรายเดือน พบวา คาเฉลี่ยของ

ปริมาณคารบอเนตระหวาง 12 เดือน ไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

2.3) เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐานนํ้าชลประทานของ FAO (1985)

พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณคารบอเนตในฤดูฝนและฤดูหนาว มีคาอยูในเกณฑมาตรฐาน ฤดูรอนมีคา

มากกวา เกณฑมาตรฐาน นอกจากน้ีทั้ง 12 เดือน มีคาเฉลี่ย ของปริมาณคารบอเนตอยูในเกณฑ

มาตรฐาน ยกเวน เดือนกุมภาพันธ มีนาคม มิถุนายน และธันวาคม มีคามากกวาเกณฑมาตรฐาน

Page 130: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

100

3) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

มีปริมาณคารบอเนตอยูในชวง 0.00 – 0.00 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร และคาเฉลี่ยเทากับ 0.00 มิลลิ

อิควิวาเลนซตอลิตร

3.1) เมื่อพิจารณา ปริมาณคารบอเนตแยกตามฤดูกาล พบวา ฤดูรอน ฤดูฝน

และฤดูหนาว มีคาอยูในชวง 0.00 – 0.00 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร และคาเฉลี่ยเทากับ 0.00 มิลลิ

อิควิวาเลนซตอลิตร ซึ่งมีคาเทากันทั้ง 3 ฤดูกาล จากผลการวิเคราะหทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของ

ปริมาณคารบอเนตระหวาง 3 ฤดูกาล ไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

3.2) เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐานนํ้าชลประทานของ FAO (1985)

พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณคารบอเนตทั้ง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน มีคาอยูในเกณฑมาตรฐาน

4) เมื่อเปรียบเทียบ ปริมาณคารบอเนต ระหวางตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้า

กระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวัง

คุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว โดยการ วิเคราะหทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณ

คารบอเนตมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 โดยคาเฉลี่ยของ

ปริมาณคารบอเนต ของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียวมีคามากที่สุด อยางมีนัยสําคัญทาง

สถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 รองลงมา คือ ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากทางนํ้าชลประทานและจุดเฝาระวัง

คุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว ซึ่งทั้งสองกลุมน้ีไม มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ

ทางสถิติ

สําหรับรูปที่ 46 และรูปที่ 47 แสดงการเปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า

กับคาเฉลี่ยของปริมาณคารบอเนตของตัวอยางนํ้าที่เก็บจาก อางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน

ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้า

กระเสียว ระหวาง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน ตามลําดับ

0.00

0.20

0.40

CO

3 ( m

eq /

L ) ฤดูรอน

ฤดูฝน

ฤดูหนาว

คาเฉลี่ย

เกณฑกําหนดสูงสุดอางเก็บน้ํากระเสียว จุดเฝาระวังกอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

ทางน้ํา

ชลประทาน

รูปท่ี 46 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับคาเฉลี่ยของปริมาณคารบอเนต

ระหวาง 3 ฤดูกาล ของตัวอยางนํ้าท่ีเก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของโครงการ

สงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

Page 131: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

101

0.00

0.20

0.40

เดือนที่เก็บตัวอยางน้ํา

CO

3 (m

eq /

L)

ก.พ

. 53

ม.ีค.

53

เม.ย

. 53

พ.ค

. 53

ม.ิย.

53

ก.ค.

53

ส.ค

. 53

ก.ย.

53

ต.ค.

53

พ.ย

. 53

ธ.ค.

53

ม.ค.

54

เกณฑกําหนดสูงสุด

รูปท่ี 47 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับคาเฉลี่ยของปริมาณคารบอเนต

ระหวาง 12 เดือน ของตัวอยางนํ้าท่ีเก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของโครงการ

สงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

4.2.17 ปริมาณไบคารบอเนต (HCO 3)

1) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว มีปริมาณ ไบคารบอเนตอยูในชวง

1.29 – 2.33 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร และคาเฉลี่ยเทากับ 2.00 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร

1.1) เมื่อพิจารณาปริมาณไบคารบอเนตแยกตามฤดูกาล พบวา ฤดูรอนมีคาอยู

ในชวง 1.29 – 2.25 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 1.90 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร ฤดูฝน

มีคาอยูในชวง 1.58 – 2.22 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 2.02 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร

และฤดูหนาวมีคาอยูในชวง 1.60 – 2.33 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 2.06 มิลลิ

อิควิวาเลนซตอลิตร จากผลการวิเคราะหทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณไบคารบอเนตระหวาง

3 ฤดูกาล ไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

1.2) เมื่อพิจารณาปริมาณไบคารบอเนตแยกตามรายเดือน พบวา คาเฉลี่ยของ

ปริมาณ ไบคารบอเนต ระหวาง 12 เดือน มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ

นัยสําคัญ 0.05 โดยคาเฉลี่ยของปริมาณ ไบคารบอเนตในเดือน มกราคม มีคามากที่สุดอยางมี

นัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

1.3) เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐานนํ้าชลประทานของ FAO (1985)

พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณไบคารบอเนตทั้ง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน มีคาอยูในเกณฑมาตรฐาน

2) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษา

กระเสียวมีปริมาณไบคารบอเนตอยูในชวง 1.62 – 3.25 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร และคาเฉลี่ยเทากับ

2.34 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร

อางเก็บน้ํากระเสียว

จุดเฝาระวังกอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

ทางน้ําชลประทาน

Page 132: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

102

2.1) เมื่อพิจารณาปริมาณไบคารบอเนตแยกตามฤดูกาล พบวา ฤดูรอนมีคาอยู

ในชวง 2.13 – 2.89 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 2.42 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร ฤดูฝน

มีคาอยูในชวง 1.62 – 3.22 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 2.27 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร

และฤดูหนาวมีคาอยูในชวง 1.94 – 3.25 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 2.41 มิลลิ

อิควิวาเลนซตอลิตร จากผลการวิเคราะหทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณไบคารบอเนตระหวาง

3 ฤดูกาล ไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

2.2) เมื่อพิจารณาปริมาณไบคารบอเนตแยกตามรายเดือน พบวา คาเฉลี่ยของ

ปริมาณ ไบคารบอเนต ระหวาง 12 เดือน มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ

นัยสําคัญ 0.05 โดยคาเฉลี่ยของปริมาณ ไบคารบอเนตในเดือน มกราคม มีคามากที่สุดอยางมี

นัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

2.3) เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐานนํ้าชลประทานของ FAO (1985)

พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณไบคารบอเนตทั้ง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน มีคาอยูในเกณฑมาตรฐาน

3) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

มีปริมาณ ไบคารบอเนตอยูในชวง 1.62 – 4.07 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร และคาเฉลี่ยเทากับ

2.88 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร

3.1) เมื่อพิจารณาปริมาณไบคารบอเนตแยกตามฤดูกาล พบวา ฤดูรอนมีคาอยู

ในชวง 3.38 – 3.68 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 3.53 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร ฤดูฝน

มีคาอยูในชวง 1.62 – 4.07 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 2.51 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร

และฤดูหนาวมีคาอยูในชวง 2.66 – 3.42 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 2.96 มิลลิ

อิควิวาเลนซตอลิตร จากผลการวิเคราะหทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณไบคารบอเนตระหวาง

3 ฤดูกาล ไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

3.2) เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐานนํ้าชลประทานของ FAO (1985)

พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณไบคารบอเนตทั้ง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน มีคาอยูในเกณฑมาตรฐาน

4) เมื่อเปรียบเทียบ ปริมาณไบคารบอเนต ระหวางตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้า

กระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวัง

คุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว โดยการ วิเคราะหทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณ

ไบคารบอเนตมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 โดยคาเฉลี่ยของ

ปริมาณไบคารบอเนต ของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้า

กระเสียวมีคามากที่สุด อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 รองลงมา คือ ตัวอยางนํ้า

ที่เก็บจากทางนํ้าชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และอางเก็บนํ้ากระเสียว

ตามลําดับ

Page 133: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

103

สําหรับรูปที่ 48 และรูปที่ 49 แสดงการเปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า

กับ คาเฉลี่ยของปริมาณไบคารบอเนตของตัวอยางนํ้าที่เก็บจาก อางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้า

ชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลง

อางเก็บนํ้ากระเสียว ระหวาง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน ตามลําดับ

0

5

10

15

HC

O 3 (

meq

/ L

) ฤดูรอน

ฤดูฝน

ฤดูหนาว

คาเฉลี่ย

เกณฑกําหนดสูงสุดอางเก็บน้ํากระเสียว จุดเฝาระวังกอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

ทางน้ํา

ชลประทาน

รูปท่ี 48 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับคาเฉลี่ยของปริมาณไบคารบอเนต

ระหวาง 3 ฤดูกาล ของตัวอยางนํ้าท่ีเก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของโครงการ

สงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

0

5

10

15

เดือนที่เก็บตัวอยางน้ํา

HC

O 3 (

meq

/ L

)

ก.พ

. 53

ม.ีค.

53

เม.ย

. 53

พ.ค

. 53

ม.ิย.

53

ก.ค.

53

ส.ค

. 53

ก.ย.

53

ต.ค.

53

พ.ย

. 53

ธ.ค.

53

ม.ค.

54

เกณฑกําหนดสูงสุด

รูปท่ี 49 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับคาเฉลี่ยของปริมาณไบคารบอเนต

ระหวาง 12 เดือน ของตัวอยางนํ้าท่ีเก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของโครงการ

สงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

4.2.18 ปริมาณคลอไรด (Cl)

1) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว มีปริมาณคลอไรดอยูในชวง

0.12 – 0.65 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร และคาเฉลี่ยเทากับ 0.30 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร

1.1) เมื่อพิจารณา ปริมาณคลอไรดแยกตามฤดูกาล พบวา ฤดูรอนมีคาอยู

ในชวง 0.26 – 0.35 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.31 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร ฤดูฝน

มีคาอยูในชวง 0.21 – 0.65 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.36 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร

อางเก็บน้ํากระเสียว

จุดเฝาระวังกอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

ทางน้ําชลประทาน

Page 134: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

104

และฤดูหนาวมีคาอยูในชวง 0.12 – 0.21 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.16 มิลลิ

อิควิวาเลนซตอลิตร จากผลการวิเคราะหทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณคลอไรด ระหวาง

3 ฤดูกาล มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 โดยคาเฉลี่ยของ

ปริมาณคลอไรดในฤดูรอนและฤดูฝนมีคามาก กวาฤดูหนาวอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ

นัยสําคัญ 0.05

1.2) เมื่อพิจารณา ปริมาณคลอไรดแยกตามรายเดือน พบวา คาเฉลี่ยของ

ปริมาณคลอไรด ระหวาง 12 เดือน มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ

0.05 โดยคาเฉลี่ยของปริมาณคลอไรดในเดือน มิถุนายน มีคามากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

1.3) เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐานนํ้าชลประทานของ FAO (1985)

พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณคลอไรดทั้ง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน มีคาอยูในเกณฑมาตรฐาน

2) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษา

กระเสียวมีปริมาณคลอไรดอยูในชวง 0.16 – 1.41 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร และคาเฉลี่ยเทากับ

0.41 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร

2.1) เมื่อพิจารณา ปริมาณคลอไรดแยกตามฤดูกาล พบวา ฤดูรอนมีคาอยู

ในชวง 0.23 – 0.68 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.38 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร ฤดูฝน

มีคาอยูในชวง 0.19 – 1.41 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.50 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร

และฤดูหนาวมีคาอยูในชวง 0.16 – 0.42 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.28 มิลลิ

อิควิวาเลนซตอลิตร จากผลการวิเคราะหทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณคลอไรด ระหวาง

3 ฤดูกาล มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 โดยคาเฉลี่ยของ

ปริมาณคลอไรดในฤดูฝน มีคามากที่สุด อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

สวนฤดูรอนและฤดูหนาวไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

2.2) เมื่อพิจารณา ปริมาณคลอไรดแยกตามรายเดือน พบวา คาเฉลี่ยของ

ปริมาณคลอไรด ระหวาง 12 เดือน มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ

0.05 โดยคาเฉลี่ยของปริมาณคลอไรดในเดือน มิถุนายน มีคามากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

2.3) เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐานนํ้าชลประทานของ FAO (1985)

พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณคลอไรดทั้ง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน มีคาอยูในเกณฑมาตรฐาน

3) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

มีปริมาณคลอไรดอยูในชวง 0.21 – 3.24 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร และคาเฉลี่ยเทากับ 0.95 มิลลิ

อิควิวาเลนซตอลิตร

Page 135: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

105

3.1) เมื่อพิจารณา ปริมาณคลอไรดแยกตามฤดูกาล พบวา ฤดูรอนมีคาอยู

ในชวง 1.12 – 3.24 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 1.95 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร ฤดูฝน

มีคาอยูในชวง 0.21 – 2.11 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.74 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร

และฤดูหนาวมีคาอยูในชวง 0.21 – 0.61 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.36 มิลลิ

อิควิวาเลนซตอลิตร จากผลการวิเคราะหทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณคลอไรด ระหวาง

3 ฤดูกาล ไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

3.2) เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐานนํ้าชลประทานของ FAO (1985)

พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณคลอไรดทั้ง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน มีคาอยูในเกณฑมาตรฐาน

4) เมื่อเปรียบเทียบ ปริมาณคลอไรด ระหวางตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้า

กระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวัง

คุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว โดยการ วิเคราะหทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณ

คลอไรดมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 โดยคาเฉลี่ยของ

ปริมาณคลอไรด ของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

มีคามากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 รองลงมา คือ ตัวอยางนํ้าที่เก็บจาก

อางเก็บนํ้ากระเสียวและทางนํ้าชลประทาน ซึ่งทั้งสองกลุมน้ีไม มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ

ทางสถิติ

สําหรับรูปที่ 50 และรูปที่ 51 แสดงการเปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า

กับคาเฉลี่ยของปริมาณคลอไรดของตัวอยางนํ้าที่เก็บจาก อางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน

ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้า

กระเสียว ระหวาง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน ตามลําดับ

0

15

30

45

Cl (

meq

/ L

)

ฤดูรอน

ฤดูฝน

ฤดูหนาว

คาเฉลี่ย

เกณฑกําหนดสูงสุดอางเก็บน้ํากระเสียว จุดเฝาระวังกอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

ทางน้ํา

ชลประทาน

รูปท่ี 50 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับคาเฉลี่ยของปริมาณคลอไรด ระหวาง

3 ฤดูกาล ของตัวอยางนํ้าท่ีเก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและ

บํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

Page 136: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

106

0

15

30

45

เดือนที่เก็บตัวอยางน้ํา

Cl (

meq

/ L

)

ก.พ

. 53

ม.ีค.

53

เม.ย

. 53

พ.ค

. 53

ม.ิย.

53

ก.ค.

53

ส.ค

. 53

ก.ย.

53

ต.ค.

53

พ.ย

. 53

ธ.ค.

53

ม.ค.

54

เกณฑกําหนดสูงสุด

รูปท่ี 51 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับ คาเฉลี่ยของปริมาณคลอไรด

ระหวาง 12 เดือน ของตัวอยางนํ้าท่ีเก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของโครงการ

สงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

4.2.19 ปริมาณซัลเฟต (SO 4)

1) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียวมีปริมาณซัลเฟตอยูในชวง 0.02 – 0.34

มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร และคาเฉลี่ยเทากับ 0.09 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร

1.1) เมื่อพิจารณาปริมาณซัลเฟตแยกตามฤดูกาล พบวา ฤดูรอนมีคาอยูในชวง

0.04 – 0.08 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.06 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร ฤดูฝนมีคาอยู

ในชวง 0.02 – 0.34 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.10 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร และ

ฤดูหนาวมีคาอยูในชวง 0.02 – 0.29 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.10 มิลลิอิควิวาเลนซ

ตอลิตร จากผลการวิเคราะหทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณซัลเฟต ระหวาง 3 ฤดูกาล

ไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

1.2) เมื่อพิจารณาปริมาณซัลเฟตแยกตามรายเดือน พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณ

ซัลเฟต ระหวาง 12 เดือน มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

โดยคาเฉลี่ยของปริมาณซัลเฟตในเดือน ธันวาคม มีคามากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ

นัยสําคัญ 0.05

1.3) เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐานนํ้าชลประทานของ FAO (1985)

พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณซัลเฟตทั้ง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน มีคาอยูในเกณฑมาตรฐาน

2) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษา

กระเสียวมีปริมาณซัลเฟตอยูในชวง 0.02 – 0.70 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร และคาเฉลี่ยเทากับ

0.13 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร

อางเก็บน้ํากระเสียว

จุดเฝาระวังกอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

ทางน้ําชลประทาน

Page 137: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

107

2.1) เมื่อพิจารณาปริมาณซัลเฟตแยกตามฤดูกาล พบวา ฤดูรอนมีคาอยูในชวง

0.04 – 0.19 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.09 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร ฤดูฝนมีคาอยู

ในชวง 0.02 – 0.70 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.15 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร และ

ฤดูหนาวมีคาอยูในชวง 0.04 – 0.26 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.12 มิลลิอิควิวาเลนซ

ตอลิตร จากผลการวิเคราะหทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณซัลเฟต ระหวาง 3 ฤดูกาล

ไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

2.2) เมื่อพิจารณาปริมาณซัลเฟตแยกตามรายเดือน พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณ

ซัลเฟต ระหวาง 12 เดือน มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

โดยคาเฉลี่ยของปริมาณซัลเฟตในเดือนพฤษภาคมมีคามากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ

นัยสําคัญ 0.05

2.3) เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐานนํ้าชลประทานของ FAO (1985)

พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณซัลเฟตทั้ง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน มีคาอยูในเกณฑมาตรฐาน

3) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

มีปริมาณซัลเฟตอยูในชวง 0.06 – 0.65 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร และคาเฉลี่ยเทากับ 0.24 มิลลิ

อิควิวาเลนซตอลิตร

3.1) เมื่อพิจารณาปริมาณซัลเฟตแยกตามฤดูกาล พบวา ฤดูรอนมีคาอยูในชวง

0.09 – 0.16 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.12 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร ฤดูฝนมีคาอยู

ในชวง 0.18 – 0.65 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.34 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร และ

ฤดูหนาวมีคาอยูในชวง 0.06 – 0.24 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.14 มิลลิอิควิวาเลนซ

ตอลิตร จากผลการวิเคราะหทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณซัลเฟต ระหวาง 3 ฤดูกาล

ไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

3.2) เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐานนํ้าชลประทานของ FAO (1985)

พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณซัลเฟตทั้ง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน มีคาอยูในเกณฑมาตรฐาน

4) เมื่อเปรียบเทียบ ปริมาณซัลเฟต ระหวางตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้า

กระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวัง

คุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว โดยการ วิเคราะหทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณ

ซัลเฟตมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 โดยคาเฉลี่ยของปริมาณ

ซัลเฟตของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียวมีคามากที่สุด

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 รองลงมา คือ ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้า

กระเสียวและทางนํ้าชลประทานของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว ซึ่งทั้งสองกลุมน้ีไม มี

ความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

Page 138: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

108

สําหรับรูปที่ 52 และรูปที่ 53 แสดงการเปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า

กับคาเฉลี่ยของปริมาณซัลเฟตของตัวอยางนํ้าที่เก็บจาก อางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของ

โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

ระหวาง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน ตามลําดับ

0

10

20

30

SO4 (

meq

/ L

)

ฤดูรอน

ฤดูฝน

ฤดูหนาว

คาเฉลี่ย

เกณฑกําหนดสูงสุดอางเก็บน้ํากระเสียว จุดเฝาระวังกอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

ทางน้ํา

ชลประทาน

รูปท่ี 52 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับคาเฉลี่ยของปริมาณซัลเฟ ตระหวาง

3 ฤดูกาล ของตัวอยางนํ้าท่ีเก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและ

บํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

0

10

20

30

เดือนที่เก็บตัวอยางน้ํา

SO 4 (

meq

/ L

)

ก.พ

. 53

ม.ีค.

53

เม.ย

. 53

พ.ค

. 53

ม.ิย.

53

ก.ค.

53

ส.ค

. 53

ก.ย.

53

ต.ค.

53

พ.ย

. 53

ธ.ค.

53

ม.ค.

54

เกณฑกําหนดสูงสุด

รูปท่ี 53 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับคาเฉลี่ยของปริมาณซัลเฟต ระหวาง

12 เดือน ของตัวอยางนํ้าท่ีเก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและ

บํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

4.2.20 เปอรเซ็นตโซเดียมท่ีละลายนํ้า (SSP)

1) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียวมีเปอรเซ็นตโซเดียมที่ละลายนํ้า (SSP)

อยูในชวง 3.37 – 15.12 เปอรเซ็นต และคาเฉลี่ยเทากับ 10.14 เปอรเซ็นต

1.1) เมื่อพิจารณาเปอรเซ็นตโซเดียมที่ละลายนํ้า (SSP) แยกตามฤดูกาล พบวา

ฤดูรอนมีคาอยูในชวง 9.97 – 12.84 เปอรเซ็นต คาเฉลี่ยเทากับ 11.31 เปอรเซ็นต ฤดูฝนมีคาอยู

อางเก็บน้ํากระเสียว

จุดเฝาระวังกอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

ทางน้ําชลประทาน

Page 139: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

109

ในชวง 3.37 – 15.12 เปอรเซ็นต คาเฉลี่ยเทากับ 11.41 เปอรเซ็นต และฤดูหนาวมีคาอยูในชวง

5.39 – 7.38 เปอรเซ็นต คาเฉลี่ยเทากับ 6.44 เปอรเซ็นต จากผลการวิเคราะหทางสถิติ พบวา

คาเฉลี่ยของเปอรเซ็นตโซเดียมที่ละลายนํ้า (SSP) ระหวาง 3 ฤดูกาล มีความแตกตางกันอยางมี

นัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 โดยคาเฉลี่ยของเปอรเซ็นตโซเดียมที่ละลายนํ้า (SSP)

ในฤดูรอนและฤดูฝนมีคามากกวาฤดูหนาวอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

1.2) เมื่อพิจารณา เปอรเซ็นตโซเดียมที่ละลายนํ้า (SSP) แยกตามรายเดือน

พบวา คาเฉลี่ยของเปอรเซ็นตโซเดียมที่ละลายนํ้า (SSP) ระหวาง 12 เดือน มีความแตกตางกัน

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 โดยเคาเฉลี่ยของปอรเซ็นตโซเดียมที่ละลายนํ้า

(SSP) ในเดือนเมษายน พฤษภาคม มิถุนายน กรกฎาคม และสิงหาคม มีคามากที่สุดอยางมีนัยสําคัญ

ทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

1.3) เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑของ Wilcox (1955) พบวา คาเฉลี่ย ของ

เปอรเซ็นตโซเดียมที่ละลายนํ้า (SSP) ทั้ง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน มีคาอยูในเกณฑมาตรฐาน

2) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษา

กระเสียวมีเปอรเซ็นตโซเดียมที่ละลายนํ้า (SSP) อยูในชวง 5.43 – 27.24 เปอรเซ็นต และคาเฉลี่ย

เทากับ 14.37 เปอรเซ็นต

2.1) เมื่อพิจารณาเปอรเซ็นตโซเดียมที่ละลายนํ้า (SSP) แยกตามฤดูกาล พบวา

ฤดูรอนมีคาอยูในชวง 9.31 – 23.01 เปอรเซ็นต คาเฉลี่ยเทากับ 14.24 เปอรเซ็นต ฤดูฝนมีคาอยู

ในชวง 8.83 – 27.24 เปอรเซ็นต คาเฉลี่ยเทากับ 16.36 เปอรเซ็นต และฤดูหนาวมีคาอยูในชวง

5.43 – 19.70 เปอรเซ็นต คาเฉลี่ยเทากับ 10.51 เปอรเซ็นต จากผลการวิเคราะหทางสถิติ พบวา

คาเฉลี่ยของเปอรเซ็นตโซเดียมที่ละลายนํ้า (SSP) ระหวาง 3 ฤดูกาล มีความแตกตางกันอยางมี

นัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 โดยคาเฉลี่ยของเปอรเซ็นตโซเดียมที่ละลายนํ้า (SSP)

ในฤดูรอนและฤดูฝนมีคามากกวาฤดูหนาวอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

2.2) เมื่อพิจารณา เปอรเซ็นตโซเดียมที่ละลายนํ้า (SSP) แยกตามรายเดือน

พบวา คาเฉลี่ยของเปอรเซ็นตโซเดียมที่ละลายนํ้า (SSP) ระหวาง 12 เดือน มีความแตกตางกัน

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 โดยคาเฉลี่ยของเปอรเซ็นตโซเดียมที่ละลายนํ้า

(SSP) ในเดือนสิงหาคมและกันยายนมีคามากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

2.3) เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑของ Wilcox (1955) พบวา คาเฉลี่ย ของ

เปอรเซ็นตโซเดียมที่ละลายนํ้า (SSP) ทั้ง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน มีคาอยูในเกณฑมาตรฐาน

3) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

มีเปอรเซ็นตโซเดียมที่ละลายนํ้า (SSP) อยูในชวง 6.22 – 41.50 เปอรเซ็นต และคาเฉลี่ยเทากับ

17.49 เปอรเซ็นต

Page 140: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

110

3.1) เมื่อพิจารณาเปอรเซ็นตโซเดียมที่ละลายนํ้า (SSP) แยกตามฤดูกาล พบวา

ฤดูรอนมีคาอยูในชวง 13.96 – 41.50 เปอรเซ็นต คาเฉลี่ยเทากับ 27.43 เปอรเซ็นต ฤดูฝนมีคาอยู

ในชวง 7.86 – 29.70 เปอรเซ็นต คาเฉลี่ยเทากับ 15.98 เปอรเซ็นต และฤดูหนาวมีคาอยูในชวง

6.22 – 16.78 เปอรเซ็นต คาเฉลี่ยเทากับ 10.58 เปอรเซ็นต จากผลการวิเคราะหทางสถิติ พบวา

คาเฉลี่ยของเปอรเซ็นตโซเดียมที่ละลายนํ้า (SSP) ระหวาง 3 ฤดูกาล ไมมีความแตกตางกันอยางมี

นัยสําคัญทางสถิติ

3.2) เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑของ Wilcox (1955) พบวา คาเฉลี่ย ของ

เปอรเซ็นตโซเดียมที่ละลายนํ้า (SSP) ทั้ง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน มีคาอยูในเกณฑมาตรฐาน

4) เมื่อเปรียบเทียบเปอรเซ็นตโซเดียมที่ละลายนํ้า (SSP) ระหวางตัวอยางนํ้าที่เก็บ

จากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และ

จุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว โดยการ วิเคราะหทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ย

ของเปอรเซ็นตโซเดียมที่ละลายนํ้า (SSP) มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ

นัยสําคัญ 0.05 โดยคาเฉลี่ยของเปอรเซ็นตโซเดียมที่ละลายนํ้า (SSP) ของตัวอยางนํ้าที่เก็บจาก

จุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียวมีคามากที่สุด รองลงมา คือ ตัวอยางนํ้าที่เก็บ

จากทางนํ้าชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และอางเก็บนํ้ากระเสียว

ตามลําดับ

สําหรับรูปที่ 54 และรูปที่ 55 แสดงการเปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า

กับคาเฉลี่ยของเปอรเซ็นตโซเดียมที่ละลายนํ้า (SSP) ของตัวอยางนํ้าที่เก็บจาก อางเก็บนํ้ากระเสียว

ทางนํ้าชลประทานของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหล

ลงอางเก็บนํ้ากระเสียว ระหวาง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน ตามลําดับ

0

30

60

90

SSP

( % )

ฤดูรอน

ฤดูฝน

ฤดูหนาว

คาเฉลี่ย

เกณฑกําหนดสูงสุดอางเก็บน้ํากระเสียว จุดเฝาระวังกอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

ทางน้ํา

ชลประทาน

รูปท่ี 54 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับคาเฉลี่ยของเปอรเซ็นตโซเดียม

ท่ีละลายนํ้า (SSP) ระหวาง 3 ฤดูกาล ของตัวอยางนํ้าท่ีเก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้า

ชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลง

อางเก็บนํ้ากระเสียว

Page 141: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

111

0

30

60

90

เดือนที่เก็บตัวอยางน้ํา

SSP

( % )

ก.พ

. 53

ม.ีค.

53

เม.ย

. 53

พ.ค

. 53

ม.ิย.

53

ก.ค.

53

ส.ค

. 53

ก.ย.

53

ต.ค.

53

พ.ย

. 53

ธ.ค.

53

ม.ค.

54

เกณฑกําหนดสูงสุด

รูปท่ี 55 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับคาเฉลี่ยของเปอรเซ็นตโซเดียม

ท่ีละลายนํ้า (SSP) ระหวาง 12 เดือน ของ ตัวอยางนํ้าท่ีเก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้า

ชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลง

อางเก็บนํ้ากระเสียว

4.2.21 สัดสวนของการดูดซับโซเดียม (SAR)

1) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว มีสัดสวนของการดูดซับโซเดียม

(SAR) อยูในชวง 0.1 – 0.4 และคาเฉลี่ยเทากับ 0.2

1.1) เมื่อพิจารณา สัดสวนของการดูดซับโซเดียม (SAR) แยกตามฤดูกาล

พบวา ฤดูรอนมีคาอยูในชวง 0.2 – 0.3 คาเฉลี่ยเทากับ 0.3 ฤดูฝนมีคาอยูในชวง 0.2 – 0.4 คาเฉลี่ย

เทากับ 0.3 และฤดูหนาวมีคาอยูในชวง 0.1 – 0.2 คาเฉลี่ยเทากับ 0.1 จากผลการวิเคราะหทางสถิติ

พบวา คาเฉลี่ยของสัดสวนของการดูดซับโซเดียม (SAR) ระหวาง 3 ฤดูกาล มีความแตกตางกัน

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 โดยคาเฉลี่ยของสัดสวนของการดูดซับโซเดียม

(SAR) ในฤดูรอนและฤดูฝนมีคามากกวาฤดูหนาวอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

1.2) เมื่อพิจารณา สัดสวนของการดูดซับโซเดียม (SAR) แยกตามรายเดือน

พบวา คาเฉลี่ยของสัดสวนของการดูดซับโซเดียม (SAR) ระหวาง 12 เดือน มีความแตกตางกัน

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 โดยคาเฉลี่ยของสัดสวนของการดูดซับโซเดียม

(SAR) ในเดือน กุมภาพันธ เมษายน พฤษภาคม มิถุนายน กรกฎาคม และสิงหาคม มีคามากที่สุด

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

1.3) เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐานนํ้าชลประทานของ FAO (1985)

พบวา คาเฉลี่ย ของสัดสวนของการดูดซับโซเดียม (SAR) ทั้ง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน มีคาอยูใน

เกณฑมาตรฐาน

อางเก็บน้ํากระเสียว

จุดเฝาระวังกอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

ทางน้ําชลประทาน

Page 142: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

112

2) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษา

กระเสียวมีสัดสวนของการดูดซับโซเดียม (SAR) อยูในชวง 0.1 – 0.8 และคาเฉลี่ยเทากับ 0.4

2.1) เมื่อพิจารณา สัดสวนของการดูดซับโซเดียม (SAR) แยกตามฤดูกาล

พบวา ฤดูรอนมีคาอยูในชวง 0.2 – 0.8 คาเฉลี่ยเทากับ 0.4 ฤดูฝนมีคาอยูในชวง 0.2 – 0.8 คาเฉลี่ย

เทากับ 0.5 และฤดูหนาวมีคาอยูในชวง 0.1 – 0.5 คาเฉลี่ยเทากับ 0.3 จากผลการวิเคราะหทางสถิติ

พบวา คาเฉลี่ยของสัดสวนของการดูดซับโซเดียม (SAR) ระหวาง 3 ฤดูกาล มีความแตกตางกัน

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 โดยคาเฉลี่ยของสัดสวนของการดูดซับโซเดียม

(SAR) ในฤดูรอนและฤดูฝนมีคามากกวาฤดูหนาวอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

2.2) เมื่อพิจารณา สัดสวนของการดูดซับโซเดียม (SAR) แยกตามรายเดือน

พบวา คาเฉลี่ยของสัดสวนของการดูดซับโซเดียม (SAR) ระหวาง 12 เดือน มีความแตกตางกัน

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 โดยคาเฉลี่ยของสัดสวนของการดูดซับโซเดียม

(SAR) ในเดือนกันยายนมีคามากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

2.3) เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐานนํ้าชลประทานของ FAO (1985)

พบวา คาเฉลี่ย ของสัดสวนของการดูดซับโซเดียม (SAR) ทั้ง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน มีคาอยูใน

เกณฑมาตรฐาน

3) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

มีสัดสวนของการดูดซับโซเดียม (SAR) อยูในชวง 0.2 – 2.2 และคาเฉลี่ยเทากับ 0.7

3.1) เมื่อพิจารณา สัดสวนของการดูดซับโซเดียม (SAR) แยกตามฤดูกาล

พบวา ฤดูรอนมีคาอยูในชวง 0.5 – 2.2 คาเฉลี่ยเทากับ 1.3 ฤดูฝนมีคาอยูในชวง 0.2 – 1.4 คาเฉลี่ย

เทากับ 0.6 และฤดูหนาวมีคาอยูในชวง 0.2 – 0.6 คาเฉลี่ยเทากับ 0.3 จากผลการวิเคราะหทางสถิติ

พบวา คาเฉลี่ยของสัดสวนของการดูดซับโซเดียม (SAR) ระหวาง 3 ฤดูกาล ไมมีความแตกตางกัน

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

3.2) เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐานนํ้าชลประทานของ FAO (1985) พบวา

คาเฉลี่ยของสัดสวนของการดูดซับโซเดียม (SAR) ทั้ง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน มีคาอยูในเกณฑ

มาตรฐาน

4) เมื่อเปรียบเทียบ สัดสวนของการดูดซับโซเดียม (SAR) ระหวางตัวอยางนํ้า

ที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว

และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว โดยการ วิเคราะหทางสถิติ พบวา

คาเฉลี่ยของสัดสวนของการดูดซับโซเดียม (SAR) มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 โดยคาเฉลี่ยของสัดสวนของการดูดซับโซเดียม (SAR) ของตัวอยางนํ้าที่เก็บ

จากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียวมีคามากที่สุด อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

Page 143: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

113

ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 รองลงมา คือ ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากทางนํ้าชลประทาน และอางเก็บนํ้า

กระเสียว ตามลําดับ

สําหรับรูปที่ 56 และรูปที่ 57 แสดงการเปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า

กับคาเฉลี่ยของสัดสวนของการดูดซับโซเดียม (SAR) ของตัวอยางนํ้าที่เก็บจาก อางเก็บนํ้ากระเสียว

ทางนํ้าชลประทานของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหล

ลงอางเก็บนํ้ากระเสียว ระหวาง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน ตามลําดับ

0

5

10

15

20

SAR

ฤดูรอน

ฤดูฝน

ฤดูหนาว

คาเฉลี่ย

เกณฑกําหนดสูงสุดอางเก็บน้ํากระเสียว จุดเฝาระวังกอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

ทางน้ํา

ชลประทาน

รูปท่ี 56 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับคาเฉลี่ยของสัดสวนของการดูดซับ

โซเดียม (SAR) ระหวาง 3 ฤดูกาล ของตัวอยางนํ้าท่ีเก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน

ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้า

กระเสียว

0

5

10

15

20

เดือนที่เก็บตัวอยางน้ํา

SAR

ก.พ

. 53

ม.ีค.

53

เม.ย

. 53

พ.ค

. 53

ม.ิย.

53

ก.ค.

53

ส.ค

. 53

ก.ย.

53

ต.ค.

53

พ.ย

. 53

ธ.ค.

53

ม.ค.

54

เกณฑกําหนดสูงสุด

รูปท่ี 57 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับคาเฉลี่ยของสัดสวนของการดูดซับ

โซเดียม (SAR) ระหวาง 12 เดือน ของตัวอยางนํ้าท่ีเก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน

ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้า

กระเสียว

อางเก็บน้ํากระเสียว

จุดเฝาระวังกอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

ทางน้ําชลประทาน

Page 144: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

114

4.2.21 ปริมาณโซเดียมคารบอเนตตกคาง (RSC)

1) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว มีปริมาณโซเดียมคารบอเนตตกคาง

(RSC) อยูในชวง 0.00 – 0.10 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร และคาเฉลี่ยเทากับ 0.01 มิลลิอิควิวาเลนซ

ตอลิตร

1.1) เมื่อพิจารณา ปริมาณโซเดียมคารบอเนตตกคาง (RSC) แยกตามฤดูกาล

พบวา ฤดูรอนมีคาอยูในชวง 0.00 – 0.10 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.01 มิลลิ

อิควิวาเลนซตอลิตร ฤดูฝนมีคาอยูในชวง 0.00 – 0.00 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ

0.00 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร และฤดูหนาวมีคาอยูในชวง 0.00 – 0.04 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร

คาเฉลี่ยเทากับ 0.01 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร จากผลการวิเคราะหทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของ

ปริมาณโซเดียมคารบอเนตตกคาง (RSC) ระหวาง 3 ฤดูกาล ไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ

ทางสถิติ

1.2) เมื่อพิจารณาปริมาณโซเดียมคารบอเนตตกคาง (RSC) แยกตามรายเดือน

พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณโซเดียมคารบอเนตตกคาง (RSC) ระหวาง 12 เดือน มีความแตกตางกัน

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 โดยคาเฉลี่ยของปริมาณโซเดียมคารบอเนตตกคาง

(RSC) ในเดือนเมษายนมีคามากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

1.3) เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑของ Eaton (1950) พบวา คาเฉลี่ย ของปริมาณ

โซเดียมคารบอเนตตกคาง (RSC) ทั้ง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน มีคาอยูในเกณฑมาตรฐาน

2) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษา

กระเสียวมีปริมาณโซเดียมคารบอเนตตกคาง (RSC) อยูในชวง 0.00 – 0.43 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร

และคาเฉลี่ยเทากับ 0.02 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร

2.1) เมื่อพิจารณา ปริมาณโซเดียมคารบอเนตตกคาง (RSC) แยกตามฤดูกาล

พบวา ฤดูรอนมีคาอยูในชวง 0.00 – 0.43 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.03 มิลลิ

อิควิวาเลนซตอลิตร ฤดูฝนมีคาอยูในชวง 0.00 – 0.18 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ

0.02 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร และฤดูหนาวมีคาอยูในชวง 0.00 – 0.19 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร

คาเฉลี่ยเทากับ 0.03 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร จากผลการวิเคราะหทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของ

ปริมาณโซเดียมคารบอเนตตกคาง (RSC) ระหวาง 3 ฤดูกาล ไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ

ทางสถิติ

2.2) เมื่อพิจารณาปริมาณโซเดียมคารบอเนตตกคาง (RSC) แยกตามรายเดือน

พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณโซเดียมคารบอเนตตกคาง (RSC) ระหวาง 12 เดือน ไมมีความแตกตาง

กันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

Page 145: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

115

2.3) เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑของ Eaton (1950) พบวา คาเฉลี่ย ของปริมาณ

โซเดียมคารบอเนตตกคาง (RSC) ทั้ง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน มีคาอยูในเกณฑมาตรฐาน

3) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

มีปริมาณโซเดียมคารบอเนตตกคาง (RSC) อยูในชวง 0.00 – 0.60 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร

และคาเฉลี่ยเทากับ 0.12 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร

3.1) เมื่อพิจารณา ปริมาณโซเดียมคารบอเนตตกคาง (RSC) แยกตามฤดูกาล

พบวา ฤดูรอนมีคาอยูในชวง 0.16 – 0.25 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 0.21 มิลลิ

อิควิวาเลนซตอลิตร ฤดูฝนมีคาอยูในชวง 0.00 – 0.60 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ

0.12 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร และฤดูหนาวมีคาอยูในชวง 0.00 – 0.10 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร

คาเฉลี่ยเทากับ 0.03 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร จากผลการวิเคราะหทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของ

ปริมาณโซเดียมคารบอเนตตกคาง (RSC) ระหวาง 3 ฤดูกาล ไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ

ทางสถิติ

3.2) เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑของ Eaton (1950) พบวา คาเฉลี่ย ของปริมาณ

โซเดียมคารบอเนตตกคาง (RSC) ทั้ง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน มีคาอยูในเกณฑ

4) เมื่อเปรียบเทียบ ปริมาณโซเดียมคารบอเนตตกคาง (RSC) ระหวางตัวอยางนํ้า

ที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว

และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว โดยการ วิเคราะหทางสถิติ พบวา

คาเฉลี่ยของปริมาณโซเดียมคารบอเนตตกคาง (RSC) มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 โดยคาเฉลี่ยของปริมาณโซเดียมคารบอเนตตกคาง (RSC) ของตัวอยางนํ้า

ที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียวมีคามากที่สุด อยางมีนัยสําคัญ

ทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 รองลงมา คือ ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียวและทางนํ้า

ชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว ซึ่งทั้งสองกลุมน้ีไม มีความแตกตางกัน

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

สําหรับรูปที่ 58 และรูปที่ 59 แสดงการเปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า

กับคาเฉลี่ยของปริมาณโซเดียมคารบอเนตตกคาง (RSC) ของตัวอยางนํ้าที่เก็บจาก อางเก็บนํ้า

กระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวัง

คุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว ระหวาง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน ตามลําดับ

Page 146: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

116

0.00

1.00

2.00

3.00

RSC

( m

eq /

L )

ฤดูรอน

ฤดูฝน

ฤดูหนาว

คาเฉลี่ย

เกณฑกําหนดสูงสุดอางเก็บน้ํากระเสียว จุดเฝาระวังกอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

ทางน้ํา

ชลประทาน

รูปท่ี 58 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับ คาเฉลี่ยของปริมาณโซเดียม

คารบอเนตตกคาง (RSC) ระหวาง 3 ฤดูกาล ของตัวอยางนํ้าท่ีเก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้า

ชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลง

อางเก็บนํ้ากระเสียว

0.00

1.00

2.00

3.00

เดือนที่เก็บตัวอยางน้ํา

RSC

( m

eq /

L )

ก.พ

. 53

ม.ีค.

53

เม.ย

. 53

พ.ค

. 53

ม.ิย.

53

ก.ค.

53

ส.ค

. 53

ก.ย.

53

ต.ค.

53

พ.ย

. 53

ธ.ค.

53

ม.ค.

54

เกณฑกําหนดสูงสุด

รูปท่ี 59 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับ คาเฉลี่ยของปริมาณโซเดียม

คารบอเนตตกคาง (RSC) ระหวาง 12 เดือนของตัวอยางนํ้าท่ีเก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้า

ชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลง

อางเก็บนํ้ากระเสียว

4.2.22 ปริมาณความกระดางท้ังหมดในรูป CaCO 3

1) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว มีปริมาณความกระดางทั้งหมดในรูป

CaCO3 อยูในชวง 98.1 – 120.6 มิลลิกรัมตอลิตร และคาเฉลี่ยเทากับ 111.1 มิลลิกรัมตอลิตร

1.1) เมื่อพิจารณาปริมาณความกระดางทั้งหมดในรูป CaCO3 แยกตามฤดูกาล

พบวา ฤดูรอนมีคาอยูในชวง 108.1 – 120.6 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 115.0 มิลลิกรัมตอลิตร

ฤดูฝนมีคาอยูในชวง 98.1 – 120.6 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 109.8 มิลลิกรัมตอลิตร และ

อางเก็บน้ํากระเสียว

จุดเฝาระวังกอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

ทางน้ําชลประทาน

Page 147: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

117

ฤดูหนาวมีคาอยูในชวง 98.1 – 120.6 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 110.0 มิลลิกรัมตอลิตร

จากผลการวิเคราะหทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณความกระดางทั้งหมดในรูป CaCO3

ระหวาง 3 ฤดูกาล มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 โดยคาเฉลี่ย

ของปริมาณความกระดางทั้งหมดในรูป CaCO3 ในฤดูรอนมีคามากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 รองลงมา คือ ฤดู ฝนและฤดูหนาว ซึ่งทั้งสองฤดูน้ีไมมีความแตกตางกัน

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

1.2) เมื่อพิจารณา ปริมาณความกระดางทั้งหมดในรูป CaCO3 แยกตาม

รายเดือน พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณความกระดางทั้งหมดในรูป CaCO3 ระหวาง 12 เดือน มีความ

แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 โดยคาเฉลี่ยของปริมาณความกระดาง

ทั้งหมดในรูป CaCO3 ในเดือนมีนาคม และมกราคม มีคามากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ

นัยสําคัญ 0.05

1.3) เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑของ USGS (Online) พบวา คุณภาพนํ้าของ

ทั้ง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน จัดเปนนํ้ากระดางปานกลาง

2) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษา

กระเสียวมีปริมาณความกระดางทั้งหมดในรูป CaCO3 อยูในชวง 80.6 – 166.1 มิลลิกรัมตอลิตร

และคาเฉลี่ยเทากับ 119.9 มิลลิกรัมตอลิตร

2.1) เมื่อพิจารณาปริมาณความกระดางทั้งหมดในรูป CaCO3 แยกตามฤดูกาล

พบวา ฤดูรอนมีคาอยูในชวง 105.6 – 145.6 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 125.7 มิลลิกรัมตอลิตร

ฤดูฝนมีคาอยูในชวง 80.6 – 156.1 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 116.2 มิลลิกรัมตอลิตร และ

ฤดูหนาวมีคาอยูในชวง 100.6 – 166.1 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 121.2 มิลลิกรัมตอลิตร

จากผลการวิเคราะหทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณความกระดางทั้งหมดในรูป CaCO3

ระหวาง 3 ฤดูกาล ไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

2.2) เมื่อพิจารณา ปริมาณความกระดางทั้งหมดในรูป CaCO3 แยกตาม

รายเดือน พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณความกระดางทั้งหมดในรูป CaCO3 ระหวาง 12 เดือน มีความ

แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 โดยคาเฉลี่ยของปริมาณความกระดาง

ทั้งหมดในรูป CaCO3 ในเดือนมกราคมมีคามากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ

0.05

2.3) เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑของ USGS (Online) พบวา คุณภาพนํ้าของ

ฤดูรอนและหนาว จัดเปนนํ้ากระดาง สวนฤดูฝนจัดเปนนํ้ากระดางปานกลาง นอกจากน้ีคุณภาพนํ้า

ของทั้ง 12 เดือน จัดเปนนํ้ากระดาง ยกเวนคุณภาพนํ้าในเดือนสิงหาคม กันยายน ตุลาคม

พฤศจิกายน และธันวาคม จัดเปนนํ้ากระดางปานกลาง

Page 148: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

118

3) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

มีปริมาณความกระดางทั้งหมดในรูป CaCO3 อยูในชวง 98.1 – 173.6 มิลลิกรัมตอลิตร และคาเฉลี่ย

เทากับ 142.0 มิลลิกรัมตอลิตร

3.1) เมื่อพิจารณาปริมาณความกระดางทั้งหมดในรูป CaCO3 แยกตามฤดูกาล

พบวา ฤดูรอนมีคาอยูในชวง 161.1 – 173.6 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 166.1 มิลลิกรัมตอลิตร

ฤดูฝนมีคาอยูในชวง 98.1 – 173.6 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 126.5 มิลลิกรัมตอลิตร และ

ฤดูหนาวมีคาอยูในชวง 133.1 – 116.1 มิลลิกรัมตอลิตร คาเฉลี่ยเทากับ 149.1 มิลลิกรัมตอลิตร

จากผลการวิเคราะหทางสถิติ พบวา คาเฉลี่ยของปริมาณความกระดางทั้งหมดในรูป CaCO3

ระหวาง 3 ฤดูกาล ไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

3.2) เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑของ USGS (Online) พบวา คุณภาพนํ้าของ

ทั้ง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน จัดเปนนํ้ากระดาง สวนคุณภาพนํ้าในเดือนสิงหาคม กันยายน และ

ตุลาคม จัดเปนนํ้ากระดางปานกลาง

4) เมื่อเปรียบเทียบปริมาณความกระดางทั้งหมดในรูป CaCO3 ระหวางตัวอยางนํ้า

ที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว

และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว โดยการ วิเคราะหทางสถิติ พบวา

คาเฉลี่ยของปริมาณความกระดางทั้งหมดในรูป CaCO3 มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 โดยคาเฉลี่ยของปริมาณความกระดางทั้งหมดในรูป CaCO3 ของตัวอยางนํ้า

ที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียวมีคามากที่สุด อยางมีนัยสําคัญ

ทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 รองลงมา คือ ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียวและทางนํ้า

ชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว ซึ่งทั้งสองกลุมน้ีไม มีความแตกตางกัน

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

สําหรับรูปที่ 60 และรูปที่ 61 แสดงการเปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า

กับคาเฉลี่ยของปริมาณความกระดางทั้งหมดในรูป CaCO3 ของตัวอยางนํ้าที่เก็บจาก อางเก็บนํ้า

กระเสียว ทางนํ้าชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวัง

คุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว ระหวาง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน ตามลําดับ

Page 149: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

119

0.0

100.0

200.0

300.0

TH

( m

g / L

)

ฤดูรอน

ฤดูฝน

ฤดูหนาว

คาเฉลี่ย

น้ําออน

น้ํากระดางปานกลาง

น้ํากระดาง

อางเก็บน้ํากระเสียว จุดเฝาระวังกอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

ทางน้ํา

ชลประทาน

รูปท่ี 60 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับคาเฉลี่ยของปริมาณความกระดาง

ท้ังหมดในรูป CaCO3 ระหวาง 3 ฤดูกาล ของตัวอยางนํ้าท่ีเก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้า

ชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลง

อางเก็บนํ้ากระเสียว

0.0

100.0

200.0

300.0

เดือนที่เก็บตัวอยางน้ํา

TH

( m

g / L

)

ก.พ

. 53

ม.ีค.

53

เม.ย

. 53

พ.ค

. 53

ม.ิย.

53

ก.ค.

53

ส.ค

. 53

ก.ย.

53

ต.ค.

53

พ.ย

. 53

ธ.ค.

53

ม.ค.

54

รูปท่ี 61 เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า กับคาเฉลี่ยของปริมาณความกระดาง

ท้ังหมดในรูป CaCO3 ระหวาง 12 เดือน ของตัวอยางนํ้าท่ีเก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้า

ชลประทาน ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลง

อางเก็บนํ้ากระเสียว

4.3 การเปรียบเทียบคุณภาพนํ้ากับเกณฑมาตรฐานนํ้าชลประทานของ FAO (1985)

ดัชนีคุณภาพนํ้าที่ไดวิเคราะหตามมาตรฐานนํ้าชลประทานของ FAO (1985) มี 15 ดัชนี

ไดแก ความนําไฟฟา ปริมาณของแข็งทั้งหมดที่ละลายในนํ้า ความเปนกรด - ดาง ปริมาณไนเตรท

- ไนโตรเจน ปริมาณแอมโมเนีย - ไนโตรเจน ปริมาณฟอสเฟต ฟอสฟอรัส ปริมาณแคลเซียม

ปริมาณแมกนีเซียม ปริมาณโซเดียม ปริมาณโพแทสเซียม ปริมาณคารบอเนต ปริมาณ

ไบคารบอเนต ปริมาณคลอไรด ปริมาณซัลเฟต และสัดสวนของการดูดซับโซเดียม (SAR)

จากผลการวิเคราะหคุณภาพนํ้า พบวา คุณภาพนํ้าของ อางเก็บนํ้ากระเสียวและทางนํ้าชลประทาน

น้ําออน

น้ํากระดางปานกลาง

น้ํากระดาง

อางเก็บน้ํากระเสียว

จุดเฝาระวังกอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

ทางน้ําชลประทาน

Page 150: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

120

ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียวมีคาอยูในเกณฑมาตรฐานนํ้าชลประทานของ FAO

(1985) ยกเวน ปริมาณโพแทสเซียมมีคามากกวาเกณฑมาตรฐานเล็กนอย คือ อางเก็บนํ้ากระเสียว

และทางนํ้าชลประทาน มีคาเฉลี่ย ของปริมาณโพแทสเซียมเทากับ 4.4 และ 5.6 มิลลิกรัมตอลิตร

ตามลําดับ ซึ่งเกณฑมาตรฐานสูงสุดไมเกิน 2.0 มิลลิกรัมตอลิตร สวนคุณภาพนํ้าของ ตัวอยางนํ้า

ที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว มีคาอยูในเกณฑมาตรฐานนํ้า

ชลประทานของ FAO (1985) ยกเวน ปริมาณโพแทสเซียมมีคาสูงกวาเกณฑมาตรฐาน คือ มีคาเฉลี่ย

ของปริมาณโพแทสเซียมเทากับ 13.6 มิลลิกรัมตอลิตร

4.4 การเปรียบเทียบคุณภาพนํ้ากับเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้าในแหลงนํ้าผิวดิน

ดัชนีคุณภาพนํ้าที่ไดวิเคราะหตามมาตรฐานคุณภาพนํ้าในแหลงนํ้าผิวดินมี 6 ดัชนี ไดแก

อุณหภูมินํ้า ความเปนกรด - ดาง ปริมาณออกซิเจนละลายในนํ้า ปริมาณบีโอดี ปริมาณไนเตรท -

ไนโตรเจน และปริมาณแอมโมเนีย - ไนโตรเจน จากผลการวิเคราะหคุณภาพนํ้า พบวา คุณภาพนํ้า

ของอางเก็บนํ้ากระเสียวและทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียวมีคา

อยูในแหลงนํ้าผิวดิน ประเภทที่ 3 - 4 เปนแหลงนํ้าที่ไดรับนํ้าทิ้งจากกิจกรรมบางประเภท และ

สามารถเปนประโยชน เพื่อการอุปโภคและบริโภคโดยตองผานการฆาเชื้อโรคตามปกติ และผาน

กระบวนการปรับปรุงคุณภาพนํ้าเปนพิเศษกอน และสามารถเปนประโยชนเพื่อ การเกษตรและ การ

อุตสาหกรรม สวนคุณภาพนํ้าของ ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลง

อางเก็บนํ้ากระเสียว จัดอยูในประเภทที่ 3 - 5 เปนแหลงนํ้าที่ไดรับนํ้าทิ้งจากกิจกรรมบางประเภท

และสามารถเปนประโยชนเพื่อการเกษตรและการคมนาคม

4.5 การเปรียบเทียบคุณภาพนํ้ากับเกณฑมาตรฐานการระบายนํ้าท่ีมีคุณภาพต่ําลงทางนํ้า

ชลประทานและทางนํ้าท่ีเชื่อมตอกับทางนํ้าชลประทานในเขตพื้นท่ีโครงการชลประทาน

ดัชนีคุณภาพนํ้าที่ไดวิเคราะหตามมาตรฐานการระบายนํ้าที่มีคุณภาพตํ่าลงทางนํ้า

ชลประทานและทางนํ้าที่เชื่อมตอกับทางนํ้าชลประทานในเขตพื้นที่โครงการชลประทานมี 6 ดัชนี

ไดแก ความนําไฟฟา ปริมาณสารแขวนลอย ปริมาณของแข็งทั้งหมดที่ละลายในนํ้า ความเปนกรด -

ดาง ปริมาณบีโอดี และปริมาณซัลไฟดคิดเทียบเปนไฮโดรเจนซัลไฟด จากผลการวิเคราะห

คุณภาพนํ้า พบวา คุณภาพนํ้าของ อางเก็บนํ้ากระเสียวและทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียวมีคาอยูในเกณฑมาตรฐานการระบายนํ้าที่มีคุณภาพตํ่าลงทางนํ้า

ชลประทานและทางนํ้าที่เชื่อมตอกับทางนํ้าชลประทานในเขตพื้นที่โครงการชลประทาน ยกเวน

ปริมาณสารแขวนลอยของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากทางนํ้าชลประทาน มีคามากกวาเกณฑมาตรฐาน คือ

มีคาเฉลี่ยเทากับ 46.09 มิลลิกรัมตอลิตร ซึ่งเกณฑมาตรฐานสูงสุดกําหนดไว 30 มิลลิกรัมตอลิตร

Page 151: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

121

สวนคุณภาพนํ้าของ ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

มีคาอยูในเกณฑมาตรฐาน ยกเวน ปริมาณสารแขวนลอย มีคา มากกวาเกณฑมาตรฐาน คือ

มีคาเฉลี่ยเทากับ 220.58 มิลลิกรัมตอลิตร

4.6 การเปรียบเทียบคุณภาพนํ้ากับเกณฑคุณภาพนํ้าท่ีเหมาะสมตอการดํารงชีวิตของสัตวนํ้า

ดัชนีคุณภาพนํ้าที่ไดวิเคราะหตามเกณฑคุณภาพนํ้าที่เหมาะสมตอการดํารงชีวิตของสัตวนํ้า

มี 4 ดัชนี ไดแก อุณหภูมินํ้า ปริมาณสารแขวนลอย ความเปนกรด - ดาง และปริมาณออกซิเจน

ละลายในนํ้า จากผลการวิเคราะหคุณภาพนํ้า พบวา คุณภาพนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียวและทางนํ้า

ชลประทานของ โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียวมีคาอยูในเกณฑคุณภาพนํ้าที่เหมาะสม

ตอการดํารงชีวิตของสัตวนํ้า ยกเวน ปริมาณสารแขวนลอย ของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากทางนํ้า

ชลประทาน มีคามากกวาเกณฑมาตรฐาน คือ มีคาเฉลี่ยเทากับ 46.09 มิลลิกรัมตอลิต ร ซึ่งเกณฑ

มาตรฐานสูงสุดกําหนดไว 25 มิลลิกรัมตอลิตร สวนคุณภาพนํ้าของ ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝา

ระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว มีคาอยูในเกณฑมาตรฐาน ยกเวน ปริมาณ

สารแขวนลอยมีคามากกวาเกณฑมาตรฐาน คือ มีคาเฉลี่ยเทากับ 220.58 มิลลิกรัมตอลิตร

4.7 การเปรียบเทียบเปอรเซ็นตโซเดียมท่ีละลายนํ้า (SSP) กับเกณฑของ Wilcox (1955)

คุณภาพนํ้าของ อางเก็บนํ้ากระเสียวและทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียวจัดเปนนํ้าที่อยูในเกณฑดีเหมาะสมกับการนําไปใชในการชลประทาน

โดยอางเก็บนํ้ากระเสียวและทางนํ้าชลประทาน มีเปอรเซ็นตโซเดียมที่ละลายนํ้า (SSP) นอยกวา

40 เปอรเซ็นต คือ มีคาเฉลี่ยเทากับ 10.14 และ 14.37 เปอรเซ็นต ตามลําดับ สวนคุณภาพนํ้า

ของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว จัดเปนนํ้าที่อยูใน

เกณฑดีเหมาะสมกับการนําไปใชในการชลประทาน คือ มีคาเฉลี่ย ของ เปอรเซ็นตโซเดียม

ที่ละลายนํ้า (SSP) เทากับ 17.49 เปอรเซ็นต

4.8 การเปรียบเทียบปริมาณโซเดียมคารบอเนตตกคาง (RSC) กับเกณฑของ Eaton (1950)

คุณภาพนํ้าของ อางเก็บนํ้ากระเสียวและทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียวจัดเปนนํ้าที่เหมาะสมกับการนําไปใชในการชลประทาน โดยมีปริมาณ

โซเดียมคารบอเนตตกคาง (RSC) นอยกวา 1.25 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร คือ มีคาเทากับ 0.01 และ

0.02 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร ตามลําดับ สวนคุณภาพนํ้าของ ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวัง

คุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียวจัดเปนนํ้าที่เหมาะสมกับการนําไปใชในการชลประทาน

คือ มีคาเฉลี่ยของปริมาณโซเดียมคารบอเนตตกคาง (RSC) เทากับ 0.12 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร

Page 152: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

122

4.9 การเปรียบเทียบปริมาณความกระดางท้ังหมดในรูป CaCO3 กับเกณฑของ USGS (Online)

คุณภาพนํ้าของ อางเก็บนํ้ากระเสียวและทางนํ้าชลประทาน ของโครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียวจัดเปนนํ้ากระดางปานกลาง เน่ืองจากมีปริมาณความกระดางทั้งหมดในรูป

CaCO3 อยูในชวง 61 - 120 มิลลิกรัมตอลิตร คือ มีคาเทากับ 111.1 และ 119.9 มิลลิกรัมตอลิตร

ตามลําดับ สวนคุณภาพนํ้าของ ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้า

กระเสียว จัดเปนนํ้ากระดาง เน่ืองจาก มีปริมาณความกระดางทั้งหมดในรูป CaCO3 อยูในชวง

121 - 180 มิลลิกรัมตอลิตร คือ มีคาเทากับ 142.0 มิลลิกรัมตอลิตร

4.10 การแบงชนิดของนํ้าชลประทานตามความเค็มและปริมาณโซเดียมของ USDA Handbook

No. 60 (1954)

คุณภาพนํ้าของ อางเก็บนํ้ากระเสียวและทางนํ้าชลประทาน ของโครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียวจัดอยูในประเภทนํ้าชลประทานชนิด C2S1 คือ เปนนํ้าที่มีความนําไฟฟาอยู

ในชวง 250 - 750 ไมโครโมสตอเซนติเมตร และมีคา SAR ไมเกิน 10 จัดเปนนํ้าที่มีความเค็ม

ปานกลางและปริมาณโซเดียมตํ่าสามารถใชกับดินและพืชเกือบทุกชนิด โดยพืชที่ตอบสนองไว

ตอความเปนพิษจากปริมาณโซเดียมจะเกิดความเสียหายจากการสะสมของปริมาณโซเดียมและพืช

ที่ทนความเค็มไดปานกลางสามารถเจริญเติบโตไดโดยไมตองควบคุมความเค็ม สวนคุณภาพนํ้า

ของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว จัดอยูในประเภทนํ้า

ชลประทานชนิด C2S1

Page 153: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

บทที่ 5

บทสรุป

5.1 สรุปและอภิปรายผล

จากการประเมินคุณภาพนํ้าทางกายภาพและเคมีในอางเก็บนํ้ากระเสียวและทางนํ้า

ชลประทานในเขตพื้นที่โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว โดย กําหนด จุดเก็บตัวอยางนํ้า

ทั้งหมด 11 จุด สามารถแบงจุดเก็บตัวอยางนํ้าออกเปน 3 กลุม ไดแก

กลุมที่ 1 เปนตัวแทนคุณภาพนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว คือ จุดเก็บตัวอยางนํ้าจาก บริเวณ

ตนอางเก็บนํ้ากระเสียว บริเวณกลางอางเก็บนํ้ากระเสียว บริเวณกระชังเลี้ยงปลา

ในอางเก็บนํ้ากระเสียว และบริเวณทายอางเก็บนํ้ากระเสียว

กลุมที่ 2 เปนตัวแทนคุณภาพนํ้าของทางนํ้าชลประทาน คือ จุดเก็บตัวอยางนํ้าจาก ฝาย

วิทยาลัยเกษตร โรงงานนํ้าตาล สะพานวังนํ้าโจน ระบบสงนํ้า ปลายลําหวยขจี และสะพานวัดไทร

กลุมที่ 3 เปนจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว คือ จุดเก็บตัวอยางนํ้า

จากตนนํ้ากระเสียว ฝายวังคัน

โดยเก็บตัวอยางนํ้าเดือนละ 1 คร้ัง เปนระยะเวลา 12 เดือน แบงการวิเคราะหขอมูล

คุณภาพนํ้าออกเปน 2 สวน คือ สวนที่ 1 วิเคราะหคุณภาพนํ้าโดยการนําคาเฉลี่ยของคุณภาพนํ้า

ทางกายภาพและเคมีไปเทียบกับเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้า สวนที่ 2 วิเคราะหทางสถิติโดยการ

วิเคราะหความแปรปรวนแบบทางเดียว (One - Way ANOVA) ดวยวิธี F - test ที่ระดับนัยสําคัญ

ทางสถิติ 0.05 และวิธี DMRT (Duncan’s new Multiple Range Test) ที่ระดับความเชื่อมั่น

95 เปอรเซ็นต เพื่อเปรียบเทียบคุณภาพนํ้าระหวาง 3 ฤดูกาล และระหวาง 12 เดือน สามารถ

อภิปรายผลการวิเคราะหดังน้ี

5.1.1 คุณภาพนํ้าทางกายภาพ

1) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว มีคาเฉลี่ยของ

อุณหภูมินํ้าเทากับ 29.1, 29.8 และ 28.5 องศาเซลเซียส ตามลําดับ

1.1) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียวมีคาเฉลี่ยของอุณหภูมินํ้าในฤดูฝน

มากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 รองลงมา คือ ฤดูรอน และฤดูหนาว

ตามลําดับ สอดคลองกับคาเฉลี่ยของความขุนของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ในฤดูฝน

ที่มีคามากที่สุด เน่ืองจากนํ้าฝนไปชะลางหนาดินทําใหมีปริมาณอินทรียสารและอนินทรียสาร

ไหลลงสูแหลงนํ้าซึ่งจะไปดูดซับความรอน ทําใหอุณหภูมินํ้าในฤดูฝนสูงกวาฤดูรอนและฤดูหนาว

สอดคลองกับเดือนพฤษภาคม มิถุนายน และกรกฎาคม ที่ มีคาเฉลี่ยของอุณหภูมินํ้ามากที่สุดอยางมี

Page 154: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

124

นัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 เน่ืองจากทั้งสามเดือนน้ีเปนชวงตนฤดูฝน ซึ่งฝนตก

ในชวงแรกจะมีการชะลางสิ่งสกปรกมากที่สุด ซึ่งจะไปดูดซับความรอนทําใหอุณหภูมินํ้าสูงกวา

เดือนอ่ืน ๆ

1.2) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษา

กระเสียวมีคาเฉลี่ย ของอุณหภูมินํ้า ในฤดูรอนและฤดูฝนมากกวาฤดูหนาวอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 จากขอมูลปริมาณนํ้าฝนจากสถานีตรวจวัดของโครงการ สงนํ้าและ

บํารุงรักษากระเสียว พบวา ในชวง ฤดูรอน ยังมีฝนตกบางแตในชวงฤดูหนาวไมมีฝนตกเลย

เมื่อฝนตกจะไปชะลางสิ่งสกปรกซึ่งจะไปดูดซับความรอนทําใหอุณหภูมินํ้าสูงกวาชวงที่ไมมีฝนตก

สวนเดือนพฤษภาคมมีคาเฉลี่ย ของอุณหภูมินํ้ามากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ

0.05 เน่ืองจากเปนเดือนแรกที่เร่ิมมีฝนตกมากขึ้นซึ่งฝนตกในชวงแรกจะมีการชะลางสิ่งสกปรก

มากที่สุดซึ่งจะไปดูดซับความรอนทําใหอุณหภูมินํ้าสูงกวาเดือนอ่ืน ๆ

1.3) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

มีคาเฉลี่ยของอุณหภูมินํ้า ในฤดูรอนและฤดูฝนมากกวาฤดูหนาวอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ

นัยสําคัญ 0.05 เน่ืองจากในชวง ฤดูรอน ยังมีฝนตกบางแตในชวงฤดูหนาวไมมีฝนตกเลย การที่มี

ฝนตกจะมีการชะลางสิ่งสกปรกซึ่งจะไปดูดซับความรอนทําใหอุณหภูมินํ้าสูงกวาชวงที่ไมมีฝนตก

1.4) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการ

สงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว มีคาเฉลี่ย

ของอุณหภูมินํ้าไม มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ แสดงวาความแตกตางของการใช

ประโยชนที่ดินไมมีผลตออุณหภูมินํ้า

2) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว มีคาเฉลี่ยของ

ความนําไฟฟาเทากับ 246, 284 และ 406 ไมโครโมสตอเซนติเมตร ตามลําดับ ตัวอยางนํ้า

ทั้ง 3 กลุม มีคาเฉลี่ยของความนําไฟฟานอยกวา 750 ไมโครโมสตอเซนติเมตร แสดงวาคุณภาพนํ้า

อยูในเกณฑดีเหมาะสมกับการนําไปใชในการชลประทานโดยไมมีปญหาเร่ืองความเปนพิษ

จากความเค็ม

2.1) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว มีคาเฉลี่ย ของความนําไฟฟา

ในฤดูรอนและฤดูฝนมากกวาฤดูหนาวอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 เน่ืองจาก

ในชวงฤดูรอนยังมีฝนตกบางแตในชวงฤดูหนาวไมมีฝนตกเลย เมื่อฝนตกจะไปชะลางสิ่งสกปรก

ซึ่งจะไปดูดซับความรอนทําใหอุณหภูมินํ้าสูงกวาชวงที่ไมมีฝนตกเลย และการที่อุณหภูมินํ้าเพิ่มขึ้น

ทําใหการแตกตัวของอิออนที่อยูในนํ้าเพิ่มขึ้นดวยจึงทําใหชวง ฤดูรอนและฤดู ฝนมีความนําไฟฟา

มาก กวา ฤดูหนาว สวนเดือนสิงหาคม มีคาเฉลี่ย ของความนําไฟฟา มากที่สุดอยางมีนัยสําคัญ

Page 155: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

125

ทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 เน่ืองจากเดือนสิงหาคมเปนเดือนที่มีปริมาณนํ้าฝนมากที่สุด

เมื่อมีฝนตกจะชะลางหนาดินพาสารอนินทรียที่แตกตัวเปนอิออนตาง ๆ ลงสูแหลงนํ้า ทําใหมี

ความนําไฟฟาสูง แสดงวาความนําไฟฟามีความสัมพันธกับอุณหภูมิและปริมาณนํ้าฝน

2.2) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษา

กระเสียวมีคาเฉลี่ย ของความนําไฟฟาระหวาง 3 ฤดูกาล ไม มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ

ทางสถิติ สอดคลองกับตัวอยางนํ้าที่เก็บจากโครงการชลประทานศรีสะเกษ โครงการสงนํ้าและ

บํารุงรักษาลํานางรอง และโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษาลําตะคอง ซึ่งมี คาเฉลี่ยของความนําไฟฟา

ระหวาง 3 ฤดูกาล ไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (สุขลัคนและจงกลณี , 2553)

แสดงวาฤดูกาลและชวงเวลาที่เก็บตัวอยางนํ้าไมมีผลตอปริมาณและการแตกตัวของอิออนบวกและ

อิออนลบที่ละลายอยูในนํ้าของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว

2.3) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

มีคาเฉลี่ย ของความนําไฟฟา ในฤดู รอนและ ฤดูฝนมาก กวา ฤดูหนาวอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 สอดคลองกับตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียวที่มี คาเฉลี่ย ของ

ความนําไฟฟา ในฤดูรอนและฤดูฝนมากกวาฤดูหนาว สวนเดือนกุมภาพันธ พฤษภาคม มิถุนายน

กรกฎาคม สิงหาคม และกันยายน มีคาเฉลี่ย ของความนําไฟฟา มากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 เน่ืองจากเดือนกุมภาพันธมีฝนตกที่หัวงานโครงการและหัวเขื่อนซึ่งมีสถานี

ตรวจวัดปริมาณนํ้าฝนที่หัวงานโครงการและหัวเขื่อน เดือนพฤษภาคม มิถุนายน กรกฎาคม

สิงหาคม และกันยายน เปนชวงฤดูฝนจึงมีฝนตกมาก เมื่อฝนตกจะไปชะลางสิ่งสกปรกซึ่งจะไป

ดูดซับความรอนทําใหอุณหภูมินํ้าสูงกวาชวงที่ไมมีฝนตกเลย และการที่อุณหภูมินํ้าเพิ่มขึ้นทําให

การแตกตัวของอิออนที่อยูในนํ้าเพิ่มขึ้นดวยจึงทําใหชวงเดือนกุมภาพันธ พฤษภาคม มิถุนายน

กรกฎาคม สิงหาคม และกันยายน มีความนําไฟฟามากกวาเดือนอ่ืน ๆ

2.4) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

มีคาเฉลี่ยของความนําไฟฟามากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 รองลงมา คือ

ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากทางนํ้าชลประทานของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และอางเก็บนํ้า

กระเสียว ตามลําดับ แสดงวาตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้า

กระเสียวมีปริมาณของอิออนบวกและอิออนลบที่ละลายอยูในนํ้ามากกวาตัวอยางนํ้าที่ เก็บจาก

อีกสองกลุม

3) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว มีคาเฉลี่ยของ

ความเค็มเทากับ 0.1, 0.1 และ 0.2 กรัมตอลิตร ตามลําดับ

Page 156: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

126

3.1) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียวและทางนํ้าชลประทานของ

โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว มีคาเฉลี่ยของความเค็ม ระหวาง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน

ไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ นอกจากน้ีตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวัง

คุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียวมี คาเฉลี่ยของความเค็ม ระหวาง 3 ฤดูกาล ไม มีความ

แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ แสดงวาฤดูกาลและชวงเวลาที่เก็บตัวอยางนํ้าไมมีผลตอ

ปริมาณเกลือแรตาง ๆ ที่ละลายอยูในนํ้า

3.2) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

มีคาเฉลี่ยของความเค็ม มากที่สุด อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 รองลงมา คือ

ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียวและทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษา

กระเสียว ซึ่งทั้งสองกลุมน้ีไมมี ความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ สอดคลองกับความนํา

ไฟฟาที่มีคามากที่สุดในตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

แสดงวาตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียวมีปริมาณของ

อิออนบวกและอิออนลบรวมทั้งเกลือแรตาง ๆ ที่ละลายอยูในนํ้ามากกวาตัวอยางนํ้าที่ เก็บจาก

อีกสองกลุม

4) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว มีคาเฉลี่ยของ

ความขุนเทากับ 14.8, 46.1 และ 243.0 เอ็นทียู ตามลําดับ

4.1) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียวมี คาเฉลี่ยของความขุนในฤดูฝน

มากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 รองลงมา คือ ฤดูรอนและฤดูหนาว ซึ่งทั้ง

สองฤดูน้ีไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ สอดคลองกับความขุนของตัวอยางนํ้า

ที่เก็บจากแมนํ้านานที่อยูในเขตเทศบาลเมืองพิษณุโลก (อุษา, 2536) แมนํ้าบางปะกง (รตีวรรณและ

คณะ, 2543) แมนํ้ายม (สุจยาและเดชา , 2544) แมนํ้านานที่ไหลผานพื้นที่เกษตรกรรมและชุมชน

เมืองจังหวัดพิษณุโลก (วรางคลักษณและชัยวัฒน , 2548) อางเก็บนํ้าดอยเตา จังหวัดเชียงใหม

(วนัสสุดา, 2549) และลุมนํ้าขนาดเล็ก ทั้ง 6 ลุมนํ้า ในลุมนํ้าสาขาแมถาง จังหวัดแพร (นภาพรและ

สมนิมิตร, 2552) ซึ่งมีคามากที่สุดในฤดูฝน เน่ืองจากนํ้าฝนไดชะลาง หนาดินพาตะกอนดินทราย

อินทรียวัตถุ และอนินทรียวัตถุลงสูแหลงนํ้าเปนจํานวนมาก ทําใหเกิดความขุนมากขึ้น ดังน้ัน

ความขุนในฤดูฝนจึงมากกวาฤดูรอนและฤดูหนาว แสดงวา ความขุนแปรผันตามปริมาณนํ้าฝนและ

ฤดูกาล สวนคาเฉลี่ยของความขุนระหวาง 12 เดือน ไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

4.2) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษา

กระเสียวมีคาเฉลี่ยของความขุนในฤดูฝนมากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

รองลงมา คือ ฤดูรอนและฤดูหนาว ซึ่งทั้งสองฤดูน้ีไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

Page 157: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

127

สอดคลองกับ คาเฉลี่ยของ ความขุนของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ในฤดูฝน มีคา

มากที่สุด นอกจากน้ีตัวอยางนํ้าที่เก็บจากทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษา

กระเสียว ในเดือน สิงหาค มมีคาเฉลี่ยของความขุนมากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ

นัยสําคัญ 0.05 เน่ืองจากเปนเดือนที่มีปริมาณนํ้าฝนมากที่สุด จึงทําใหมี ความขุนมากกวาเดือนอ่ืน ๆ

สอดคลองกับความขุนของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากแมนํ้าบางปะกง (รตีวรรณและคณะ , 2543) และ

ลุมนํ้าขนาดเล็ก ทั้ง 6 ลุมนํ้า ในลุมนํ้าสาขาแมถาง จังหวัดแพร (นภาพรและสมนิมิตร , 2552)

ที่มีคาสูงสุดในชวงเดือนสิงหาคม ซึ่งเปนเดือนที่มีปริมาณ นํ้าฝนมาก ที่สุด รวมทั้งจะมีการไถ

พรวนดินเพื่อกําจัดวัชพืชและใสปุยแกพืช เมื่อฝนตกจึงเกิดการชะลาง พาดินหลังจากการไถพรวน

และซากพืชลงสูแหลงนํ้า ทําใหเดือนสิงหาคมมีความขุนมากกวาเดือนอ่ืน

4.3) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

มีคาเฉลี่ยของความขุนระหวาง 3 ฤดูกาล ไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

4.4) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

มีคาเฉลี่ยของความขุน มากที่สุด อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 รองลงมา คือ

ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียวและทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษา

กระเสียว ซึ่งทั้งสองกลุมน้ีไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ แสดงวาตัวอยางนํ้าที่เก็บ

จากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว มีปริมาณตะกอนดินทราย อินทรียวัตถุ

และอนินทรียวัตถุมากกวาตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอีกสองกลุม

5) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว มีคาเฉลี่ยของ

ปริมาณสารแขวนลอย เทากับ 12.66, 46.09 และ 220.58 มิลลิกรัมตอลิตร ตามลําดับ

5.1) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียวมี คาเฉลี่ยของปริมาณ

สารแขวนลอยในฤดูฝนมากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 รองลงมา คือ

ฤดูรอนและฤดูหนาว ซึ่งทั้งสองฤดูน้ีไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ สอดคลองกับ

ปริมาณสารแขวนลอยของ ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากแมนํ้ายม (สุจยาและเดชา , 2544) และลุมนํ้า

ขนาดเล็ก ทั้ง 6 ลุมนํ้า ในลุมนํ้าสาขาแมถาง จังหวัดแพร (นภาพรและสมนิมิตร , 2552) ที่มีคา

มากที่สุดในฤดูฝน เน่ืองจากนํ้าฝนไดชะลางหนาดินพาตะกอนดินทราย อินทรียวัตถุ และอนินทรีย

วัตถุลงสูแหลงนํ้าเปนจํานวนมาก นอกจากน้ี คาเฉลี่ยของ ความขุนของตัวอยางนํ้าที่เก็บจาก

อางเก็บนํ้ากระเสียว ในฤดูฝน มีคามากที่สุด แสดงวา ปริมาณสารแขวนลอย มีความสัมพันธ

กับความขุน สวนคาเฉลี่ยของปริมาณสารแขวนลอยระหวาง 12 เดือน ไมมีความแตกตางกันอยางมี

นัยสําคัญทางสถิติ

Page 158: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

128

5.2) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษา

กระเสียวมีคาเฉลี่ยของปริมาณสารแขวนลอยในฤดูฝน มากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ

นัยสําคัญ 0.05 สวนฤดูรอนและฤดูหนาวไมมีความแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ สอดคลอง

กับคาเฉลี่ยของ ความขุนของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้าและ

บํารุงรักษากระเสียวในฤดูฝน ที่มีคามากที่สุด แสดงวา ปริมาณสารแขวนลอย มีความสัมพันธกับ

ความขุน สวนเดือนสิงหาคมมีคาเฉลี่ยของปริมาณสารแขวนลอยมากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 สอดคลองกับ ปริมาณสารแขวนลอย ของตัวอยางนํ้าที่เก็บจาก ลุมนํ้า

ขนาดเล็กทั้ง 6 ลุมนํ้า ในลุมนํ้าสาขาแมถาง จังหวัดแพร ที่มีคามากที่สุดในเดือนสิงหาคม เน่ืองจาก

เปนเดือนที่มีปริมาณนํ้าฝนมากที่สุด รวมทั้งจะมีการไถพรวนดินเพื่อกําจัดวัชพืชและใสปุยแกพืช

เมื่อฝนตกจึงเกิดการชะลาง หนาดินพา ดินหลังจากการไถพรวน และซากพืช ลงสูแหลงนํ้า

จึงสงผลใหในเดือนสิงหาคมนํ้าในลุมนํ้ามีปริมาณของแข็งแขวนลอยมากกวาเดือนอ่ืนๆ (นภาพร

และสมนิมิตร , 2552) นอกจากน้ีคาเฉลี่ยของความขุนของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากทางนํ้าชลประทาน

ของ โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียวในเดือน สิงห าคม มีคามากที่สุด แสดงวาปริมาณ

สารแขวนลอยแปรผันตามปริมาณความขุน

5.3) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

มีคาเฉลี่ยของปริมาณสารแขวนลอย ระหวาง 3 ฤดูกาล ไม มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ

ทางสถิติ

5.4) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

มีคาเฉลี่ยของปริมาณสารแขวนลอย มากที่สุด อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

รองลงมา คือ ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียวและทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว ซึ่งทั้งสองกลุมน้ีไมมี ความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ แสดงวา

ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียวมี ตะกอนดินทราย

อินทรียวัตถุ และอนินทรียวัตถุมากกวาตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอีกสองกลุม สอดคลองกับความขุนของ

ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียวที่มีคามากกวา

ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอีกสองกลุม แสดงวาปริมาณสารแขวนลอยแปรผันตามปริมาณความขุน

6) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว มีคาเฉลี่ยของ

ปริมาณของแข็งทั้งหมดที่ละลายในนํ้าเทากับ 149, 177 และ 264 มิลลิกรัมตอลิตร ตามลําดับ

6.1) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียวมี คาเฉลี่ยของปริมาณของแข็ง

ทั้งหมดที่ละลายในนํ้าในฤดู รอนและฤดู ฝนมาก กวาฤดูหนาวอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ

นัยสําคัญ 0.05 เน่ืองจากอุณหภูมิที่เพิ่มขึ้นทําใหมีปริมาณเกลืออนินทรียที่ละลายในนํ้าเพิ่มขึ้นดวย

Page 159: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

129

จึงมีปริมาณของแข็งทั้งหมดที่ละลายในนํ้า เพิ่มขึ้นดวย ดังน้ันใน ฤดูรอนและฤดู ฝนจึงมีการสะสม

ของสารที่ละลายอยูในนํ้า มากกวาฤดูหนาว สวน เดือนกรกฎาคม มีคาเฉลี่ยของปริมาณของแข็ง

ทั้งหมดที่ละลายในนํ้ามากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 เน่ืองจากเปน

ชวงกลางของฤดูฝนซึ่งมีการสะสมของสารที่ละลายอยูในนํ้าคงที่แลว

6.2) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษา

กระเสียวมีคาเฉลี่ยของปริมาณของแข็งทั้งหมดที่ละลายในนํ้า ระหวาง 3 ฤดูกาล ไมมีความแตกตาง

กันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ สอดคลองกับตัวอยางนํ้าที่เก็บจากโครงการชลประทานศรีสะเกษ

โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษาลํานางรอง และโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษาลําตะคอง (สุขลัคน

และจงกลณี , 2553) นอกจากน้ี คาเฉลี่ยของ ความนําไฟฟาของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากทางนํ้า

ชลประทานของ โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว ระหวาง 3 ฤดูกาล ไมมีความแตกตางกัน

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ แสดงวาปริมาณของสารที่ละลายอยูในนํ้าและการแตกตัวของอิออนบวก

และอิออนลบที่ละลายอยูในนํ้าระหวาง 3 ฤดูกาล ไมแตกตางกัน สวนเดือนกรกฎาคมมีคาเฉลี่ย

ของปริมาณของแข็งทั้งหมดที่ละลายในนํ้ามากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

เน่ืองจากเปนชวงกลางของฤดูฝนซึ่งมีการสะสมของสารที่ละลายอยูในนํ้าคงที่แลว

6.3) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

มีคาเฉลี่ยของปริมาณของแข็งทั้งหมดที่ละลายในนํ้าระหวาง 3 ฤดูกาล ไมมีความแตกตางกันอยางมี

นัยสําคัญทางสถิติ

6.4) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

มีคาเฉลี่ยของปริมาณของแข็งทั้งหมดที่ละลายในนํ้า มากที่สุด อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ

นัยสําคัญ 0.05 รองลงมา คือ ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากทางนํ้าชลประทาน และอางเก็บนํ้ากระเสียว

ตามลําดับ แสดงวาตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

มีปริมาณของสารที่ละลายอยูในนํ้ามากกวาอีกสองกลุม

5.1.2 คุณภาพนํ้าทางเคมี

1) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว มีคาเฉลี่ยของ

ความเปนกรด – ดางเทากับ 7.6, 7.6 และ 7.3 ตามลําดับ

1.1) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียวมีคาเฉลี่ยของความเปนกรด – ดาง

ระหวาง 3 ฤดูกาล ไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ สอดคลองกับตัวอยางนํ้าที่เก็บ

จากโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษามูลบน – ลําแชะ โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษาลํานางรอง และ

โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษาลําตะคอง ที่มีคาเฉลี่ยของความเปนกรด – ดางระหวาง 3 ฤดูกาล ไมมี

ความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (สุขลัคนและจงกลณี , 2553) แสดงวาฤดูกาลที่แตกตาง

Page 160: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

130

กันไมมีผลตอความเปนกรด – ดาง เน่ืองจากคุณสมบัติของดินตะกอนทองนํ้าที่มีสมบัติเปนบัฟเฟอร

ที่ชวยทําใหคาความเปนกรด – ดางของนํ้าไมแปรปรวนมาก สวนเดือนพฤษภาคมมีคาเฉลี่ยของ

ความเปนกรด – ดางมากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 เน่ืองจากเปน

เดือนแรกที่เร่ิมมีฝนตกมากขึ้นซึ่งฝนตกในชวงแรกจะมีการชะลางตะกอน สารอินทรีย และสาร

อนินทรียมากที่สุดทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงของสารตาง ๆ ที่อยูในนํ้า จึงมี ความเปนกรด – ดาง

มากกวาเดือนอ่ืน

1.2) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษา

กระเสียวมีคาเฉลี่ยของความเปนกรด – ดางในฤดูรอน มากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ

นัยสําคัญ 0.05 รองลงมา คือ ฤดูฝนและ ฤดูหนาว ซึ่งทั้งสองฤดูน้ีไมมีความแตกตางกัน อยางมี

นัยสําคัญทางสถิติ สอดคลองกับตัวอยางนํ้าที่เก็บจากโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษาลําพระเพลิง

ที่มีความเปนกรด – ดาง มากที่สุดใน ฤดูรอน (สุขลัคนและจงกลณี , 2553) เน่ืองจากชวงฤดูรอน

มีแสงแดดมากพอที่พืชนํ้าสามารถสังเคราะหแสงไดเพิ่มขึ้นและการสังเคราะหแสงตองใช

คารบอนไดออกไซดในการสังเคราะหแสง เมื่อคารบอนไดออกไซดอิสระในนํ้าหมดไปจะมีการ

ดึงเอาคารบอนไดออกไซดจากขบวนการ buffer system มาใช ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลง

องคประกอบจากไบคารบอเนตไปเปนคารบอเนต และไฮดรอกไซด ตามลําดับ จึงทําใหมี ความเปน

กรด – ดางสูงขึ้นดวย (ไมตรีและจารุวรรณ, 2529)

สวน เดือน กุมภาพันธ มีนาคม เมษายน และ พฤษภาคมมีคาเฉลี่ยของ

ความเปนกรด – ดางมากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 เน่ืองจาก เดือน

กุมภาพันธ มีนาคม และเมษายน เปนชวงฤดูรอน เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้นทําใหมีการแตกตัวของ

อิออนมากขึ้นจึงทําใหมี ความเปนกรด – ดางมากกวาเดือนอ่ืน เดือน พฤษภาคมเปนเดือนแรกที่เร่ิม

มีฝนตกมากขึ้นซึ่งฝนตกในชวงแรกจะมีการชะลางตะกอน สารอินทรีย และสารอนินทรียมากที่สุด

ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงของสารตาง ๆ ที่อยูในนํ้า จึงมีความเปนกรด – ดางมากกวาเดือนอ่ืน

1.3) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

มีคาเฉลี่ยของความเปนกรด – ดางระหวาง 3 ฤดูกาล ไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

แสดงวาฤดูกาลที่แตกตางกันไมมีผลตอ ความเปนกรด – ดาง เน่ืองจากคุณสมบัติของดินตะกอน

ทองนํ้าที่มีสมบัติเปนบัฟเฟอรชวยทําใหความเปนกรด – ดางของนํ้าไมแปรปรวนมาก

1.4) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการ

สงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียวมี คาเฉลี่ย

ของความเปนกรด – ดางไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ แสดงวาความแตกตางของ

การใชประโยชนที่ดินไมมีผลตอ ความเปนกรด – ดาง เน่ืองจากคุณสมบัติของดินตะกอนทองนํ้า

ที่มีสมบัติเปนบัฟเฟอรชวยทําใหความเปนกรด – ดางของนํ้าไมแปรปรวนมาก

Page 161: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

131

2) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว มีคาเฉลี่ยของ

ปริมาณออกซิเจนละลายในนํ้าเทากับ 5.07, 4.64 และ 4.98 มิลลิกรัมตอลิตร ตามลําดับ

2.1) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียวมี คาเฉลี่ยของปริมาณออกซิเจน

ละลายในนํ้าในฤดู รอนมากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 สวนฤดูฝนและ

ฤดูหนาว ไมมี ความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ สอดคลองกับตัวอยางนํ้าที่เก็บจาก

แมนํ้านานที่ไหลผานพื้นที่เกษตรกรรมและชุมชนเมืองจังหวัดพิษณุโลกที่มีปริมาณออกซิเจน

ละลายในนํ้าสูงสุดในฤดูรอน เน่ืองจากมีปริมาณนํ้าในแมนํ้านอยที่สุดของปทําใหเกิดการแทรกตัว

ของกาซออกซิเจนลงในแมนํ้าไดอยางทั่วถึง (วรางคลักษณและชัยวัฒน , 2548) สวนเดือนมิถุนายน

มีคาเฉลี่ยของปริมาณออกซิเจนละลายในนํ้ามากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ

0.05

2.2) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษา

กระเสียวมีคาเฉลี่ยของปริมาณออกซิเจนละลายในนํ้าในฤดูหนาวมากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 สวน ฤดูรอนและฤดู ฝนไมมี ความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

เน่ืองจากปริมาณออกซิเจนละลายในนํ้า มีคาเพิ่มขึ้นเมื่ออุณหภูมิลดลง สอดคลองกับตัวอยางนํ้าที่

เก็บจากอางเก็บนํ้าดอยเตา จังหวัดเชียงใหม ที่มีปริมาณออกซิเจนละลายในนํ้าสูงสุดในฤดูหนาว ซึ่ง

เปนผลจากการสังเคราะหแสงของแพลงกตอนพืช แสดงวาปริมาณออกซิเจนละลายในนํ้า ขึ้นอยูกับ

ปริมาณนํ้าและการสังเคราะหแสงของแพลงกตอนพืช (วนัสสุดา, 2549)

2.3) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

มีคาเฉลี่ยของปริมาณออกซิเจนละลายในนํ้า ระหวาง 3 ฤดูกาล ไม มีความแตกตางกันอยางมี

นัยสําคัญทางสถิติ

2.4) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการ

สงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียวมี คาเฉลี่ย

ของปริมาณออกซิเจนละลายในนํ้า ไม มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ แสดงวา

ความแตกตางของการใชประโยชนที่ดินไมมีผลตอปริมาณออกซิเจนละลายในนํ้า

3) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว มีคาเฉลี่ยของ

ปริมาณบีโอดีเทากับ 2.35, 2.62 และ 4.39 มิลลิกรัมตอลิตร ตามลําดับ

3.1) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียวมี คาเฉลี่ยของปริมาณบีโอดี

ในฤดูรอนและฤดูฝนมาก กวาฤดูหนาวอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 เน่ืองจาก

นํ้าฝนจะไปชะลางสิ่งสกปรกลงสูแหลงนํ้าทําใหจุลินทรียตองใชออกซิเจนที่ละลายในนํ้า

Page 162: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

132

ในการยอยสลายสารอินทรียจึงมีปริมาณบีโอดีสูงกวาชวงที่ไมมีฝนตกซึ่งในฤดูรอนยังมีฝนตกบาง

แตในฤดูหนาวไมมีฝนตกทําใหปริมาณบีโอดี ในฤดูรอนและฤดูฝนมีคามาก กวา ฤดูหนาว

สวนเดือนมิถุนายนมคีาเฉลี่ยของปริมาณบีโอดีมากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ

0.05

3.2) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษา

กระเสียว มีคาเฉลี่ยของปริมาณบีโอดี ระหวาง 3 ฤดูกาล ไม มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ

ทางสถิติ สวน เดือนสิงหาคมมีคาเฉลี่ยของปริมาณบีโอดีมากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 เน่ืองจากเปนเดือนที่มีปริมาณนํ้าฝนมากที่สุด เมื่อมีฝนตกมากจะไปชะลาง

สารอินทรียจากพื้นที่ที่อยูสองขางของริมฝงลงสูแหลงนํ้า ทําใหเดือนสิงห าคมเปนเดือนที่มีปริมาณ

บีโอดีมากที่สุด

3.3) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

มีคาเฉลี่ยของปริมาณบีโอดี ระหวาง 3 ฤดูกาล ไม มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

แสดงวามีปริมาณสารอินทรียที่ปนเปอนในแตละฤดูกาลไมแตกตางกัน

3.4) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

มีคาเฉลี่ยของปริมาณบีโอดีมากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 รองลงมา คือ

ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียวและทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษา

กระเสียว ซึ่งทั้งสองกลุมน้ีไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ แสดงวาตัวอยางนํ้าที่เก็บ

จากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียวมีปริมาณสารอินทรียที่ปนเปอนอยูใน

แหลงนํ้ามากกวาอีกสองกลุม เน่ืองจากบริเวณริมฝงของฝายวังคันซึ่งเปนจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้า

กอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียวมีการเลี้ยงวัวโดยในชวงนํ้าแลงจะนําวัวมาเลี้ยงที่บริเวณเนินดิน

ในฝายวังคันทําใหมีการสะสมของสารอินทรียจากมูลสัตว จึงมีปริมาณบีโอดีสูงดวย

4) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว มีคาเฉลี่ยของ

ปริมาณซัลไฟดคิดเทียบเปนไฮโดรเจนซัลไฟดเทากับ 0.006, 0.012 และ 0.027 มิลลิกรัมตอลิตร

ตามลําดับ

4.1) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียวมี คาเฉลี่ยของปริมาณซัลไฟด

คิดเทียบเปนไฮโดรเจนซัลไฟดในฤดูฝนมากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

รองลงมา คือ ฤดูรอนและฤดูหนาว ซึ่งทั้งสองฤดูน้ีไมมี ความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

เน่ืองจาก ปริมาณซัลไฟด ในแหลงนํ้ามาจาก การยอยสลายสารอินทรีย เมื่อฝนตกจะไปชะลาง

หนาดินพาสารอินทรียลงสูแหลงนํ้าเพิ่มขึ้น ทําใหมี ปริมาณซัลไฟด ในฤดูฝนมากที่สุด สวนเดือน

กรกฎาคม สิงหาคม และตุลาคม มีคาเฉลี่ยของปริมาณซัลไฟดคิดเทียบเปนไฮโดรเจนซัลไฟด

Page 163: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

133

มากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 เน่ืองจากเปนชวงเดือนที่มีปริมาณนํ้าฝน

มากที่สุด ทําใหมีการชะลางหนาดินพาสารอินทรียลงสูแหลงนํ้ามากที่สุด ทําใหเกิด ปริมาณซัลไฟด

ในแหลงนํ้ามาจากการยอยสลายสารอินทรียเพิ่มขึ้น

4.2) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษา

กระเสียว มีคาเฉลี่ยของปริมาณซัลไฟดคิดเทียบเปนไฮโดรเจนซัลไฟดในฤดูฝน มากที่สุด อยางมี

นัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 สวนฤดูรอนและ ฤดูหนาวไมมีความแตกตางกัน อยางมี

นัยสําคัญทางสถิติ เน่ืองจาก ปริมาณซัลไฟด ในแหลงนํ้ามาจาก การยอยสลายสารอินทรีย การที่มี

ฝนตกจะไปชะลางหนาดินพาสารอินทรียลงสูแหลงนํ้าเพิ่มขึ้น ทําใหมี ปริมาณซัลไฟด ในฤดูฝน

มากที่สุด สวน เดือน สิงห าคม และตุลาคม มีคาเฉลี่ยของปริมาณซัลไฟดคิดเทียบเปน

ไฮโดรเจนซัลไฟดมากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 เน่ืองจาก เดือน

สิงหาคมเปนเดือนที่มีปริมาณนํ้าฝนมากที่สุด ทําใหมีการชะลางหนาดินพาสารอินทรียลงสูแหลงนํ้า

มากที่สุด และเดือนตุลาคมเปนเดือนที่มีนํ้าทวมในพื้นที่ที่เปนจุดเก็บตัวอยางนํ้าของทางนํ้า

ชลประทานของ โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว ทําใหเกิดการสะสมของสารอินทรีย

จึงทําใหเกิดปริมาณซัลไฟดในแหลงนํ้ามาจากการยอยสลายสารอินทรียเพิ่มขึ้น

4.3) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

มีคาเฉลี่ยของปริมาณซัลไฟดคิดเทียบเปนไฮโดรเจนซัลไฟด ระหวาง 3 ฤดูกาล ไมมีความแตกตาง

กันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

4.4) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

มีคาเฉลี่ยของปริมาณซัลไฟดคิดเทียบเปนไฮโดรเจนซัลไฟดมากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 รองลงมา คือ ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียวและทางนํ้า

ชลประทานของ โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว ซึ่งทั้งสองกลุมน้ีไม มีความแตกตางกัน

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ แสดงวาตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้า

กระเสียวมีปริมาณสารอินทรียมากกวาอีกสองกลุม จึงมีปริมาณซัลไฟดมากกวาดวย

5) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว มีคาเฉลี่ยของ

ปริมาณฟอสเฟตฟอสฟอรัสเทากับ 0.002, 0.050 และ 0.050 มิลลิกรัมตอลิตร ตามลําดับ

5.1) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียวและทางนํ้าชลประทานของ

โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียวมีคาเฉลี่ยของปริมาณฟอสเฟตฟอสฟอรัสระหวาง 3 ฤดูกาล

และ 12 เดือน ไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ สอดคลองกับตัวอยางนํ้าที่เก็บจาก

จุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียวที่มี คาเฉลี่ยของปริมาณฟอสเฟต ฟอสฟอรัส

Page 164: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

134

ระหวาง 3 ฤดูกาล ไมมี ความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ แสดงวาฤดูกาลและชวงเวลา

ที่เก็บตัวอยางนํ้าไมมีผลตอปริมาณฟอสเฟตฟอสฟอรัส

5.2) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการ

สงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียวมี คาเฉลี่ย

ของปริมาณฟอสเฟตฟอสฟอรัสไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

6) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว มีคาเฉลี่ยของ

ปริมาณไนไตรท – ไนโตรเจนเทากับ 0.005, 0.024 และ 0.175 มิลลิกรัมตอลิตร ตามลําดับ

6.1) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียวมี คาเฉลี่ยของปริมาณไนไตรท –

ไนโตรเจนระหวาง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน ไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ แสดงวา

ฤดูกาลและชวงเวลาที่เก็บตัวอยางนํ้าไมมีผลตอการเกิดปฏิกิริยาไนตริฟเคชั่นที่ไนไตรท

ถูกเปลี่ยนไปเปนไนเตรทเน่ืองจาก ไนไตรทเปนสารประกอบระหวางกลาง (intermediate)

ในปฏิกิริยาไนตริฟเคชั่น

6.2) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษา

กระเสียวมีคาเฉลี่ยของปริมาณไนไตรท – ไนโตรเจนระหวาง 12 เดือน ไมมีความแตกตางกันอยาง

มีนัยสําคัญทางสถิติ ปริมาณไนไตรท – ไนโตรเจนในฤดูฝน มีคามากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 สวนฤดูรอนและ ฤดูหนาวไมมีความแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

แสดงวาในฤดูฝนมีการเกิดปฏิกิริยาไนตริฟเคชั่นมากกวาฤดูรอนและฤดูหนาว

6.3) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

มีคาเฉลี่ยของปริมาณไนไตรท – ไนโตรเจน ระหวาง 3 ฤดูกาล ไม มีความแตกตางกันอยางมี

นัยสําคัญทางสถิติ แสดงวาฤดูกาลและชวงเวลาที่เก็บตัวอยางนํ้าไมมีผลตอการเกิดปฏิกิริยา

ไนตริฟเคชั่น

6.4) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

มีคาเฉลี่ยของปริมาณไนไตรท – ไนโตรเจน มากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ

0.05 รองลงมา คือ ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียวและทางนํ้าชลประทานของ โครงการ

สงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว ซึ่งทั้งสองกลุมน้ีไม มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

การที่ ตัวอยางนํ้าที่เก็บจาก จุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว มีคาเฉลี่ย ของ

ปริมาณไนไตรท – ไนโตรเจนมากที่สุด เน่ืองจาก 1) อัตราการออกซิไดสแอมโมเนียเร็วกวาอัตรา

การออกซิไดสไนไตรทจึงอาจเกิดการสะสมของไนไตรทขึ้นได และ 2) มีปริมาณแอมโมเนียซึ่งเปน

สารต้ังตนของปฏิกิริยาไนตริฟเคชั่นมากกวาอีกสองกลุม

Page 165: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

135

7) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว มีคาเฉลี่ยของ

ปริมาณไนเตรท – ไนโตรเจนเทากับ 0.104, 0.356 และ 0.968 มิลลิกรัมตอลิตร ตามลําดับ

7.1) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียวมี คาเฉลี่ยของปริมาณไนเตรท –

ไนโตรเจนในฤดูฝนมากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 รองลงมา คือ

ฤดูรอนและฤดูหนาว ซึ่งทั้งสองฤดูน้ีไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ สอดคลองกับ

ปริมาณไนเตรท – ไนโตรเจนของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากแมนํ้าบางปะกง (รตีวรรณและคณะ, 2543)

แมนํ้ายม (สุจยาและเดชา , 2544) และอางเก็บนํ้าในเขตโครงการชลประทานชลบุรี ระหวาง พ .ศ.

2536 – 2542 (วิมลมาศ , 2545) ที่มีคาสูงสุดในฤดูฝน เน่ืองจากนํ้าฝนไดชะลางหนาดิน

พาสารอินทรียและปุยที่มีไนโตรเจนเปนองคประกอบจากการเกษตร รวมทั้งของเสียหรือสิ่งสกปรก

จากชุมชนลงสูแหลงนํ้า ซึ่งเปนสารต้ังตนที่แบคทีเรียจะยอยสลายไปเปนไนเตรทเรียกปฏิกิริยาน้ีวา

ไนตริฟเคชั่น การที่มีสารอินทรีย ปุย และของเสียหรือสิ่งสกปรกเหลาน้ีมากจะทําใหมีปริมาณ

ไนเตรทมากดวย สวน เดือนพฤษภาคม มิถุนายน สิงหาคม กันยายน และตุลาคม มีคาเฉลี่ยของ

ปริมาณไนเตรท – ไนโตรเจนมากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 เน่ืองจาก

เปนชวงเดือนที่มีฝนตกมากจึงมีสารต้ังตนที่แบคทีเรียจะยอยสลายไปเปนไนเตรทมากกวาเดือนอ่ืน

7.2) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษา

กระเสียวมีคาเฉลี่ยของปริมาณไนเตรท – ไนโตรเจนระหวาง 3 ฤดูกาล ไมมีความแตกตางกันอยางมี

นัยสําคัญทางสถิติ สวน เดือนพฤษภาคมมีคาเฉลี่ยของปริมาณไนเตรท – ไนโตรเจนมากที่สุด

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 เน่ืองจากเปนชวงตนฤดูฝนซึ่งฝนแรกของป

จะมีการชะลางสิ่งสกปรกมากที่สุดทําใหมีปริมาณสารอินทรียและปุย ที่มีไนโตรเจน

เปนองคประกอบ จากการเกษตร รวมทั้งของเสียหรือสิ่งสกปรกจากชุมชนลงสูแหลงนํ้ามากกวา

เดือนอ่ืน ทําใหแบคทีเรียยอยสลายไปเปนไนเตรทมากกวาเดือนอ่ืนดวย

7.3) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

มีคาเฉลี่ยของปริมาณไนเตรท – ไนโตรเจน ระหวาง 3 ฤดูกาล ไม มีความแตกตางกันอยางมี

นัยสําคัญทางสถิติ

7.4) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

มีคาเฉลี่ยของปริมาณไนเตรท – ไนโตรเจน มากที่สุด อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ

0.05 รองลงมา คือ ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียวและทางนํ้าชลประทาน ซึ่งทั้งสอง

กลุมน้ีไม มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ แสดงวาตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวัง

คุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียวมีปริมาณสารอินทรียและปุย ที่มีไนโตรเจน

Page 166: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

136

เปนองคประกอบ จากการเกษตร รวมทั้งของเสียหรือสิ่งสกปรกจากชุมชนลงสูแหลงนํ้ามากกวา

อีกสองกลุม ทําใหแบคทีเรียยอยสลายไปเปนไนเตรทมากกวาดวย

8) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว มีคาเฉลี่ยของ

ปริมาณไนโตรเจนในรูปทีเคเอ็นเทากับ 0.82, 1.16 และ 1.58 มิลลิกรัมตอลิตร ตามลําดับ

8.1) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียวมี คาเฉลี่ยของปริมาณไนโตรเจน

ในรูปทีเคเอ็นในฤดูฝนมากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 รองลงมา คือ

ฤดูรอนและฤดูหนาว ซึ่งทั้งสองฤดูน้ีไมมีความแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ เน่ืองจาก

ปริมาณไนโตรเจนในรูปทีเคเอ็น เปนผลบวกของปริมาณสารอินทรียไนโตรเจนและแอมโมเนีย –

ไนโตรเจน แสดงวาใน ฤดูฝน มีผลบวกของปริมาณสารอินทรียไนโตรเจนและแอมโมเนีย –

ไนโตรเจนมากที่สุด สวนเดือนมิถุนายนมีคาเฉลี่ยของปริมาณไนโตรเจนในรูปทีเคเอ็นมากที่สุด

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 แสดงวาเดือนมิถุนายนมีผลบวกของปริมาณ

สารอินทรียไนโตรเจนและแอมโมเนีย – ไนโตรเจนมากกวาเดือนอ่ืน

8.2) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษา

กระเสียว มีคาเฉลี่ยของปริมาณไนโตรเจนในรูปทีเคเอ็นในฤดูรอน มีคามากที่สุด อยางมีนัยสําคัญ

ทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 สวนฤดูฝนและฤดูหนาวไมมีความแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญ

ทางสถิติ แสดงวาใน ฤดูรอนมีผลบวกของปริมาณสารอินทรียไนโตรเจนและแอมโมเนีย –

ไนโตรเจนมากที่สุด สวนเดือนกุมภาพันธมีคาเฉลี่ยของปริมาณไนโตรเจนในรูปทีเคเอ็นมากที่สุด

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 แสดงวาเดือนกุมภาพันธมีผลบวกของปริมาณ

สารอินทรียไนโตรเจนและแอมโมเนีย – ไนโตรเจนมากกวาเดือนอ่ืน

8.3) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

มีคาเฉลี่ยของปริมาณไนโตรเจนในรูปทีเคเอ็น ระหวาง 3 ฤดูกาล ไม มีความแตกตางกันอยางมี

นัยสําคัญทางสถิติ แสดงวาผลบวกของปริมาณสารอินทรียไนโตรเจนและแอมโมเนีย – ไนโตรเจน

ระหวาง 3 ฤดูกาล ไมมีความแตกตางกัน

8.4) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

มีคาเฉลี่ยของปริมาณไนโตรเจนในรูปทีเคเอ็น มากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ

0.05 สวนตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียวและทางนํ้าชลประทานไม มีความแตกตางกัน

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ แสดงวาตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลง

อางเก็บนํ้ากระเสียวมีผลบวกของปริมาณสารอินทรียไนโตรเจนและแอมโมเนีย – ไนโตรเจน

มากที่สุด

Page 167: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

137

9) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว มีคาเฉลี่ยของ

ปริมาณแอมโมเนีย – ไนโตรเจนเทากับ 0.02, 0.08 และ 0.30 มิลลิกรัมตอลิตร ตามลําดับ

9.1) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียวและทางนํ้าชลประทานของ

โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว มีคาเฉลี่ยของปริมาณแอมโมเนีย – ไนโตรเจน ระหวาง

3 ฤดูกาล และ 12 เดือน ไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ สอดคลองกับตัวอยางนํ้า

ที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียวมี คาเฉลี่ยของปริมาณแอมโมเนีย –

ไนโตรเจนระหวาง 3 ฤดูกาล ไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ แสดงวาฤดูกาลและ

ชวงเวลาที่เก็บตัวอยางนํ้าไมมีผลตอปริมาณ แอมโมเนีย – ไนโตรเจน หรืออีกนัยหน่ึงฤดูกาลและ

ชวงเวลาที่เก็บตัวอยางนํ้าไมมีผลตอการนํา แอมโมเนีย – ไนโตรเจน ไปใชสราง โปรตีน ของ

แพลงกตอนพืชและพืชนํ้า เน่ืองจากเปนไนโตรเจนรูปแบบแรก ที่แพลงกตอนพืชจะเลือกใช

เพื่อการเจริญเติบโต

9.2) คาเฉลี่ยของปริมาณแอมโมเนีย – ไนโตรเจน ของตัวอยางนํ้าที่เก็บจาก

อางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวัง

คุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียวไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ แสดงวา

การใชประโยชนที่ดินที่แตกตางกันมี ปริมาณแอมโมเนีย – ไนโตรเจนไมแตกตางกัน อาจเน่ืองจาก

การใชแอมโมเนีย – ไนโตรเจน ในการสราง โปรตีนของแพลงกตอนพืชและพืชนํ้า ในแตละจุดเก็บ

ตัวอยางนํ้าไมแตกตางกัน

10) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว มีคาเฉลี่ยของ

ปริมาณอินทรียสารไนโตรเจนเทากับ 0.79, 0.97 และ 1.31 มิลลิกรัมตอลิตร ตามลําดับ

10.1) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียวมีคาเฉลี่ยของปริมาณอินทรียสาร

ไนโตรเจนระหวาง 3 ฤดูกาล ไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ สวนเดือนมิถุนายน

มีคาเฉลี่ยของปริมาณอินทรียสารไนโตรเจนมากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ

0.05 เน่ืองจากเปนชวงตนของฤดูฝนและสวนใหญไนโตรเจนที่อยูในนํ้าไหลบาหนาดินจะเปน

ไนโตรเจนประเภทอินทรียสารไนโตรเจนมากที่สุดเพราะการเพิ่มของสารอินทรียที่ผิวดินและ

การพังทลายของดิน (Brian, Sujay & William, 2006)

10.2) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้าและ

บํารุงรักษากระเสียว มีคาเฉลี่ยของปริมาณอินทรียสารไนโตรเจน ระหวาง 12 เดือน ไม มีความ

แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ สวนฤดูรอนและฤดูฝนมีคาเฉลี่ยของปริมาณอินทรียสาร

ไนโตรเจน มากกวาฤดูหนาวอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 จากขอมูลปริมาณ

Page 168: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

138

นํ้าฝนจากสถานีตรวจวัดของโครงการ สงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว พบวา ในชวง ฤดูรอน ยังมี

ฝนตกบางแตในชวงฤดูหนาวไมมีฝนตกเลย อีกทั้งสวนใหญไนโตรเจนที่อยูในนํ้าไหลบาหนาดิน

จะเปนไนโตรเจนประเภทอินทรียสารไนโตรเจนมากที่สุดเพราะการเพิ่มของสารอินทรียที่ผิวดิน

และการพังทลายของดิน (Brian, Sujay & William, 2006) ดังน้ันฤดูรอนและฤดูฝนจึงมีคาเฉลี่ยของ

ปริมาณอินทรียสารไนโตรเจนมากกวาฤดูหนาว

10.3) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้า

กระเสียวมีคาเฉลี่ยของปริมาณอินทรียสารไนโตรเจนระหวาง 3 ฤดูกาล ไมมีความแตกตางกันอยาง

มีนัยสําคัญทางสถิติ

10.4) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้า

กระเสียวมี คาเฉลี่ยของปริมาณอินทรียสารไนโตรเจน มากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ

นัยสําคัญ 0.05 รองลงมา คือ ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียวและทางนํ้าชลประทาน ซึ่งทั้ง

สองกลุมน้ีไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ แสดงวาตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวัง

คุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียวมีสารอินทรียในแหลงนํ้ามากกวาอีกสองกลุม เน่ืองจาก

บริเวณริมฝงของฝายวังคันซึ่งเปนจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียวมีการ

เลี้ยงวัวทําใหมีสารอินทรียเพิ่มขึ้นจากมูลสัตว

11) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว มีคาเฉลี่ยของ

ปริมาณไนโตรเจนทั้งหมดเทากับ 0.93, 1.49 และ 2.73 มิลลิกรัมตอลิตร ตามลําดับ

11.1) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียวมี คาเฉลี่ยของปริมาณไนโตรเจน

ทั้งหมดในฤดูฝนมากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 รองลงมา คือ

ฤดูรอนและฤดูหนาว ซึ่งทั้งสองฤดูน้ีไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ แสดงวา

ในฤดูฝน มีผลรวมของไนโตรเจนในรูปอินทรียสาร แอมโมเนีย ไนเตรท และไนไตรท มากที่สุด

สวนเดือน มิถุนายน มีคาเฉลี่ยของปริมาณไนโตรเจนทั้งหมดมากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 แสดงวาเดือนมิถุนายนมีผลรวมของไนโตรเจนในรูปอินทรียสาร แอมโมเนีย

ไนเตรท และไนไตรท มากที่สุด

11.2) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้าและ

บํารุงรักษากระเสียว มีคาเฉลี่ยของปริมาณไนโตรเจนทั้งหมด ระหวาง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน

ไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ แสดงวาผลรวมของไนโตรเจนในรูปอินทรียสาร

แอมโมเนีย ไนเตรท และไนไตรท ระหวาง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน ไมมีความแตกตางกัน

11.3) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้า

กระเสียวมีคาเฉลี่ยของปริมาณไนโตรเจนทั้งหมด ระหวาง 3 ฤดูกาล ไมมีความแตกตางกันอยางมี

Page 169: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

139

นัยสําคัญทางสถิติ แสดงวาผลรวมของไนโตรเจนในรูปอินทรียสาร แอมโมเนีย ไนเตรท และ

ไนไตรท ระหวาง 3 ฤดูกาล ไมมีความแตกตางกัน

11.4) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้า

กระเสียวมี คาเฉลี่ยของปริมาณไนโตรเจนทั้งหมด มากที่สุด อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 รองลงมา คือ ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียวและทางนํ้า

ชลประทานของ โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว ซึ่งทั้งสองกลุมน้ีไม มีความแตกตางกัน

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ แสดงวาตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลง

อางเก็บนํ้ากระเสียวมีผลรวมของไนโตรเจนในรูปอินทรียสาร แอมโมเนีย ไนเตรท และไนไตรท

มากที่สุด เน่ืองจากบริเวณริมฝงของฝายวังคันซึ่งเปนจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้า

กระเสียวมีการเลี้ยงวัวทําใหมีสารอินทรียเพิ่มขึ้นจากมูลสัตวซึ่งเปนสารต้ังตนของปฏิกิริยา

ไนตริฟเคชั่น

12) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว มีคาเฉลี่ยของ

ปริมาณแคลเซียมเทากับ 1.73, 1.77 และ 2.37 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร ตามลําดับ หรือ 34.7, 35.5

และ 47.5 มิลลิกรัมตอลิตร ตามลําดับ แสดงวามีความอุดมสมบูรณสูง เน่ืองจากมีปริมาณแคลเซียม

มากกวา 25 มิลลิกรัมตอลิตร (กรมโรงงานอุตสาหกรรม, Online)

12.1) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียวมี คาเฉลี่ยของปริมาณแคลเซียม

ในฤดูรอนมากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 รองลงมา คือ ฤดู ฝนและ

ฤดูหนาว ซึ่งทั้งสองฤดูน้ีไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ สอดคลองกับตัวอยางนํ้า

ที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียวซึ่งมี คาเฉลี่ยของปริมาณแคลเซียม

ในฤดูรอนมากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 นอกจากน้ีตัวอยางนํ้าที่เก็บ

จากโครงการชลประทานสุรินทรมี ปริมาณแคลเซียม มากที่สุดใน ฤดูรอน (สุขลัคนและจงกลณี ,

2553) แสดงวาในฤดูรอนมีความอุดมสมบูรณมากกวา ฤดูฝนและฤดูหนาว เน่ืองจากปริมาณ

แคลเซียมสามารถใชเปนตัวชี้วัดความอุดมสมบูรณของแหลงนํ้าได สวนเดือนมีนาคมมีคาเฉลี่ย

ของปริมาณแคลเซียมมากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 แสดงวา เดือน

มีนาคมมีความอุดมสมบูรณมากกวาเดือนอ่ืน

12.2) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้าและ

บํารุงรักษากระเสียวมีคาเฉลี่ยของปริมาณแคลเซียม ระหวาง 3 ฤดูกาล ไมมีความแตกตางกันอยางมี

นัยสําคัญทางสถิติ สอดคลองกับตัวอยางนํ้าที่เก็บจากโครงการชลประทานศรีสะเกษ โครงการ

สงนํ้าและบํารุงรักษาลํานางรอง และโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษาลําตะคอง ที่มี คาเฉลี่ยของ

ปริมาณแคลเซียม ระหวาง 3 ฤดูกาล ไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (สุขลัคนและ

Page 170: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

140

จงกลณี , 2553) สวนเดือนเมษายนและมกราคม มีปริมาณแคลเซียมมากที่สุดอยางมีนัยสําคัญ

ทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 แสดงวา เดือนเมษายนและมกราคมมีความอุดมสมบูรณมากกวา

เดือนอ่ืน

12.3) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้า

กระเสียวมีคาเฉลี่ยของปริมาณแคลเซียม มากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

รองลงมา คือ ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียวและทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว ซึ่งทั้งสองกลุมน้ีไม มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ แสดงวา

ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียวมีความอุดมสมบูรณ

มากที่สุด เน่ืองจากปริมาณ แคลเซียมสามารถใชเปนตัวชี้วัดความอุดมสมบูรณของแหลงนํ้าได

หรืออาจเน่ืองมาจากชนิดของดินในตําบลวังคันซึ่งเปนที่ต้ังของฝายวังคันซึ่งเปนจุดเฝาระวัง

คุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียวเปนดินที่มีชั้นปูนมารลหรือกอนปูนมาก ซึ่งมีแคลเซียม

สูง (กรมพัฒนาที่ดิน , Online) ดังน้ันควรระวังในเร่ืองความกระดางของนํ้าเน่ืองจากแคลเซียมเปน

สาเหตุหลักที่ทําใหเกิดความกระดางของนํ้า

13) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว มีคาเฉลี่ยของ

ปริมาณแมกนีเซียมเทากับ 0.49, 0.63 และ 0.47 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร ตามลําดับ

13.1) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียวมีคาเฉลี่ยของปริมาณแมกนีเซียม

ในฤดูฝนและฤดูหนาวมาก กวาฤดูรอนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 สวนเดือน

สิงหาคมและธันวาคม มีคาเฉลี่ยของปริมาณแมกนีเซียมมากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ

นัยสําคัญ 0.05

13.2) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากทางนํ้าชลประทานของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษา

กระเสียวมีคาเฉลี่ยของปริมาณแมกนีเซียมระหวาง 3 ฤดูกาล ไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ

ทางสถิติ สอดคลองกับตัวอยางนํ้าที่เก็บจากโครงการชลประทานสุรินทร โครงการชลประทาน

ศรีสะเกษ โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษาลําพระเพลิง โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษาลํานางรอง

และโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษาลําตะคอง ที่มี คาเฉลี่ยของปริมาณแมกนีเซียม ระหวาง 3 ฤดูกาล

ไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (สุขลัคนและจงกลณี , 2553) สวนเดือนมิถุนายน

และธันวาคมมีคาเฉลี่ยของปริมาณแมกนีเซียมมากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ

0.05

13.3) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้า

กระเสียวมีคาเฉลี่ยของปริมาณแมกนีเซียมระหวาง 3 ฤดูกาล ไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ

ทางสถิติ

Page 171: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

141

13.4) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากทางนํ้าชลประทานของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษา

กระเสียวมีคาเฉลี่ยของปริมาณแมกนีเซียมมากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

รองลงมา คือ ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียวและจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลง

อางเก็บนํ้ากระเสียว ซึ่งทั้งสองกลุมน้ีไม มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ดังน้ันจึงควร

ระวังในเร่ืองความกระดางของนํ้าในทางนํ้าชลประทานของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว

เน่ืองจากแมกนีเซียมเปนสาเหตุหน่ึงที่ทําใหเกิดความกระดางของนํ้า

14) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว มีคาเฉลี่ยของ

ปริมาณโซเดียมเทากับ 0.27, 0.44 และ 0.84 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร ตามลําดับ

14.1) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียวมี คาเฉลี่ยของปริมาณโซเดียม

ในฤดูรอนและฤดูฝนมาก กวาฤดูหนาวอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 สวนเดือน

พฤษภาคม มิถุนายน กรกฎาคม และสิงหาคม มีคาเฉลี่ยของปริมาณโซเดียมมากที่สุดอยางมี

นัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

14.2) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากทางนํ้าชลประทานของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษา

กระเสียวมีคาเฉลี่ยของปริมาณโซเดียมในฤดูรอน และฤดูฝนมีคามากกวาฤดูหนาวอยางมีนัยสําคัญ

ทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 สวนเดือนกันยายนมีคาเฉลี่ยของปริมาณโซเดียมมากที่สุดอยางมี

นัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

14.3) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้า

กระเสียวมี คาเฉลี่ยของปริมาณโซเดียม ระหวาง 3 ฤดูกาล ไม มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ

ทางสถิติ

14.4) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้า

กระเสียว มีคาเฉลี่ยของปริมาณโซเดียมมากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

รองลงมา คือ ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว

และอางเก็บนํ้ากระเสียว ตามลําดับ จึงควรระวังเร่ืองปริมาณโซเดียมของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝา

ระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียวซึ่งจะมีผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติ

ของดินและลดการซึมนํ้าของดิน ดังน้ันควรจะมีการประเมินปริมาณโซเดียมเพื่อความเหมาะสม

ในการนํานํ้าชลประทานไปใชประโยชน

15) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว มีคาเฉลี่ยของ

ปริมาณโพแทสเซียมเทากับ 4.4, 5.6 และ 13.6 มิลลิกรัมตอลิตร ตามลําดับ

Page 172: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

142

15.1) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียวมี คาเฉลี่ยของปริมาณ

โพแทสเซียมในฤดูฝนมากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 รองลงมา คือ

ฤดูรอนและฤดูหนาว ซึ่งทั้งสองฤดูน้ีไมมีความแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ สอดคลองกับ

ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากโครงการชลประทานสุรินทร และโครงการชลประทานศรีสะเกษ ที่มี คาเฉลี่ย

ของปริมาณโพแทสเซียม มากที่สุดใน ฤดูฝน (สุขลัคนและจงกลณี , 2553) เน่ืองจาก โพแทสเซียม

มีคุณสมบัติละลายนํ้าไดดีเมื่อมีฝนตกจะไปชะลางปุยที่มีโพแทสเซียมเปนองคประกอบละลาย

ปนมาในนํ้าฝนจึงทําใหในฤดูฝนมีปริมาณโพแทสเซียมมากกวาฤดูอ่ืน สวนเดือนมิถุนายนและ

กรกฎาคมมีคาเฉลี่ยของปริมาณโพแทสเซียมมากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ

0.05 เน่ืองจากเปนชวงฤดูฝนจึงมีปริมาณโพแทสเซียมที่ละลายปนมากับนํ้าฝนมากกวาเดือนอ่ืน

15.2) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้าและ

บํารุงรักษากระเสียวมีคาเฉลี่ยของปริมาณโพแทสเซียมในฤดูฝน มากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 รองลงมา คือ ฤดูรอนและฤดูหนาว ซึ่งทั้งสองฤดูน้ีไมมีความแตกตางกัน

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ สอดคลองตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียวที่มี คาเฉลี่ยของ

ปริมาณโพแทสเซียมในฤดูฝนมากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 สวนเดือน

พฤษภาคม กรกฎาคม และสิงหาคม มีคาเฉลี่ยของปริมาณโพแทสเซียมมากที่สุดอยางมีนัยสําคัญ

ทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 เน่ืองจากเปนชวงฤดูฝนจึงมีปริมาณโพแทสเซียม ที่ละลายปนมากับ

นํ้าฝนมากกวาเดือนอ่ืน

15.3) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้า

กระเสียวมี คาเฉลี่ยของปริมาณโพแทสเซียม ระหวาง 3 ฤดูกาล ไม มีความแตกตางกันอยางมี

นัยสําคัญทางสถิติ สอดคลองกับตัวอยางนํ้าที่เก็บจากโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษาลําพระเพลิง

โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษาลํานางรอง และโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษาลําตะคอง ที่มี ปริมาณ

โพแทสเซียม ระหวาง 3 ฤดูกาล ไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (สุขลัคนและ

จงกลณี, 2553) แสดงวาฤดูกาลและชวงเวลาที่เก็บตัวอยางนํ้าไมมีผลตอปริมาณโพแทสเซียม

15.4) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้า

กระเสียวมี คาเฉลี่ยของปริมาณโพแทสเซียมมากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ

0.05 รองลงมา คือ ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียวและทางนํ้าชลประทานของ โครงการ

สงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว ซึ่งทั้งสองกลุมน้ีไม มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

อาจเน่ืองจากมีการใชปุยที่มีสวนผสมของสารประกอบโพแทสเซียม ในพื้นที่ที่ใกลกับ

จุดเก็บตัวอยางนํ้าของ จุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว เมื่อโพแทสเซียม

ละลายในนํ้าจะเกิดการแพรกระจายอยางรวดเร็วเพราะมีคุณสมบัติละลายนํ้าไดดี

Page 173: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

143

16) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว มีคาเฉลี่ยของ

ปริมาณคารบอเนตเทากับ 0.09, 0.00 และ 0.00 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร ตามลําดับ

16.1) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียวมี คาเฉลี่ยของปริมาณคารบอเนต

ในฤดู รอนมากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 รองลงมา คือ ฤดู ฝนและ

ฤดูหนาว ซึ่งทั้งสองฤดูน้ีไมมีความแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ แสดงวา ฤดูรอน

มีสภาพดาง (Alkalinity) ในรูป คารบอเนต มากกวา ฤดูฝนและฤดูหนาว เน่ืองจาก คารบอเนต

เปนสาเหตุหน่ึงที่ทําใหเกิดสภาพดาง สวนเดือนกุมภาพันธ มีคาเฉลี่ยของปริมาณคารบอเนต

มากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 แสดงวา เดือนกุมภาพันธมีสภาพดาง

(Alkalinity) ในรูปคารบอเนตมากกวาเดือนอ่ืน

16.2) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากทางนํ้าชลประทานของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษา

กระเสียวมีคาเฉลี่ยของปริมาณคารบอเนต ระหวาง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน ไมมีความแตกตางกัน

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

16.3) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้า

กระเสียวมีคาเฉลี่ยของปริมาณคารบอเนต ระหวาง 3 ฤดูกาล ไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ

ทางสถิติ

16.4) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียวมี คาเฉลี่ยของปริมาณคารบอเนต

มากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 รองลงมา คือ ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากทางนํ้า

ชลประทานของ โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลง

อางเก็บนํ้ากระเสียว ซึ่งทั้งสองกลุมน้ีไม มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ แสดงวา

ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียวมีสภาพดาง (Alkalinity) ในรูปคารบอเนตมากที่สุด

17) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว มีคาเฉลี่ยของ

ปริมาณไบคารบอเนตเทากับ 2.00, 2.34 และ 2.88 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร ตามลําดับ

17.1) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียวและทางนํ้าชลประทานของ

โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว มีคาเฉลี่ยของปริมาณ ไบคารบอเนต ระหวาง 3 ฤดูกาล

ไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ สอดคลองกับตัวอยางนํ้าที่เก็บจากโครงการ

ชลประทานสุรินทร โครงการชลประทานศรีสะเกษ โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษาลํานางรอง และ

โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษาลําตะคองที่มีปริมาณไบคารบอเนตระหวาง 3 ฤดูกาล ไมแตกตางกัน

(สุขลัคนและจงกลณี , 2553) แสดงวาทั้ง 3 ฤดูกาล มีสภาพดาง (Alkalinity) ในรูปไบคารบอเนต

ไมแตกตางกันเน่ืองจากไบ คารบอเนต เปนสาเหตุหน่ึงที่ทําใหเกิดสภาพดาง สวนเดือนมกราคม

Page 174: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

144

มีคาเฉลี่ยของปริมาณคารบอเนตมากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 แสดงวา

เดือนมกราคมมีสภาพดาง (Alkalinity) ในรูปไบคารบอเนตมากกวาเดือนอ่ืน

17.2) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้า

กระเสียวมี คาเฉลี่ยของปริมาณ ไบคารบอเนต ระหวาง 3 ฤดูกาล ไม มีความแตกตางกันอยางมี

นัยสําคัญทางสถิติ แสดงวาใน 3 ฤดูกาล มีสภาพดาง (Alkalinity) ในรูปไบคารบอเนตไมแตกตาง

กันเน่ืองจากไบคารบอเนตเปนสาเหตุหน่ึงที่ทําใหเกิดสภาพดาง

17.3) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้า

กระเสียวมีคาเฉลี่ยของปริมาณคารบอเนตมากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

รองลงมา คือ ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากทางนํ้าชลประทาน และอางเก็บนํ้ากระเสียว ตามลําดับ แสดงวา

ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียวมีสภาพดาง (Alkalinity)

ในรูปไบคารบอเนตมากกวาอีกสองกลุม

18) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว มีคาเฉลี่ยของ

ปริมาณคลอไรดเทากับ 0.30, 0.41 และ 0.95 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร ตามลําดับ หรือ 61.3, 62.8

และ 84.0 มิลลิกรัมตอลิตร ตามลําดับ คุณภาพนํ้าของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียวและ

ทางนํ้าชลประทานเหมาะสมกับการใชนํ้าชลประทานกับพืชทุกชนิดโดยไมมีผลกระทบตอพืช

เน่ืองจากมีปริมาณคลอไรดนอยกวา 70 มิลลิกรัมตอลิตร (Bauder, Waskom & Davis, 2007)

18.1) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียวมีคาเฉลี่ยของคลอไรดในฤดูรอน

และฤดูฝนมาก กวาฤดูหนาวอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 สวนเดือนมิถุนายน

มีคาเฉลี่ยของคลอไรดมากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

18.2) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้าและ

บํารุงรักษากระเสียว มีคาเฉลี่ยของปริมาณคลอไรดในฤดูฝน มากที่สุด อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 สวนฤดูรอนและ ฤดูหนาวไมมีความแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

เดือนมิถุนายนมีคาเฉลี่ยของคลอไรดมากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

18.3) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้า

กระเสียวมี คาเฉลี่ยของปริมาณคลอไรด ระหวาง 3 ฤดูกาล ไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ

ทางสถิติ

18.4) คาเฉลี่ยของปริมาณคลอไรด ของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวัง

คุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียวมีคามากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ

0.05 รองลงมา คือ ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียวและทางนํ้าชลประทาน ซึ่งทั้งสอง

กลุมน้ีไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

Page 175: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

145

19) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว มีคาเฉลี่ยของ

ปริมาณซัลเฟตเทากับ 0.09, 0.13 และ 0.24 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร ตามลําดับ

19.1) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียวมี คาเฉลี่ยของปริมาณซัลเฟต

ระหวาง 3 ฤดูกาล ไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ สอดคลองกับตัวอยางนํ้าที่เก็บ

จากโครงการชลประทานสุรินทร โครงการชลประทานศรีสะเกษ โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษา

ลํานางรอง และโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษาลําตะคอง ที่มี ปริมาณซัลเฟต ระหวาง 3 ฤดูกาล

ไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (สุขลัคนและจงกลณี , 2553) สวนเดือนธันวาคมมีคาเฉลี่ย

ของปริมาณซัลเฟตมากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

19.2) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้าและ

บํารุงรักษากระเสียว มีคาเฉลี่ยของปริมาณซัลเฟต ระหวาง 3 ฤดูกาล ไมมีความแตกตางกันอยางมี

นัยสําคัญทางสถิติ สอดคลองกับตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียวที่มี ปริมาณซัลเฟต

ระหวาง 3 ฤดูกาล ไมแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ สวนเดือนพฤษภาคมมีคาเฉลี่ยของ

ปริมาณซัลเฟตมากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 เน่ืองจากเปนชวงตนฤดูฝน

ซึ่งฝนแรกของปจะไปชะสารอนินทรียลงสูแหลงนํ้ามาก ทําใหมีปริมาณซัลเฟตเพิ่มขึ้น

19.3) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้า

กระเสียวมี คาเฉลี่ยของปริมาณซัลเฟต ระหวาง 3 ฤดูกาล ไม มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ

ทางสถิติ สอดคลองกับตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียวและทางนํ้าชลประทานของ

โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว ที่มีปริมาณซัลเฟตระหวาง 3 ฤดูกาล ไมแตกตางกัน อยางมี

นัยสําคัญทางสถิติ

19.4) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้า

กระเสียวมี คาเฉลี่ย ของปริมาณซัลเฟต มากที่สุด อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

รองลงมา คือ ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียวและทางนํ้าชลประทาน ซึ่งทั้งสองกลุมน้ีไม มี

ความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ แสดงวาตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้า

กอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียวมีปริมาณสารอินทรียมากที่สุดจึงทําใหมี ปริมาณซัลเฟตมากที่สุด

ดวย

20) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว มีคาเฉลี่ยของ

เปอรเซ็นตโซเดียมที่ละลายนํ้า (SSP) เทากับ 10.14, 14.37 และ 17.49 เปอรเซ็นต ตามลําดับ

คุณภาพนํ้าของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากทั้งสามกลุมจัดเปนนํ้าที่อยูในเกณฑดีเหมาะสมกับการนําไปใช

Page 176: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

146

ในการชลประทานโดยไมมีปญหาเร่ืองความเปนพิษจากปริมาณโซเดียม เน่ืองจากมี เปอรเซ็นต

โซเดียมที่ละลายนํ้า (SSP) ไมเกิน 40 เปอรเซ็นต

20.1) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียวมี คาเฉลี่ยของเปอรเซ็นตโซเดียม

ที่ละลายนํ้า (SSP) ในฤดูรอนและฤดูฝนมาก กวา ฤดูหนาวอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ

นัยสําคัญ 0.05 เน่ืองจากปริมาณโซเดียมใน ฤดูรอนและฤดูฝนมีคามากกวาฤดูหนาว จึงทําให

มีเปอรเซ็นตโซเดียมที่ละลายนํ้า (SSP) ในฤดูรอนและฤดูฝนมากกวาฤดูหนาว ดวยเพราะใชปริมาณ

โซเดียมในการคํานวณ เปอรเซ็นตโซเดียมที่ละลายนํ้า (SSP) สวนเดือน เมษายน พฤษภาคม

มิถุนายน กรกฎาคม และสิงหาคม มีคาเฉลี่ยของเปอรเซ็นตโซเดียมที่ละลายนํ้า (SSP) มากที่สุด

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 เน่ืองจากปริมาณโซเดียมมีคามากที่สุดในเดือน

เหลาน้ีเชนกันเพราะใชปริมาณโซเดียมในการคํานวณเปอรเซ็นตโซเดียมที่ละลายนํ้า (SSP)

20.2) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากทางนํ้าชลประทานของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษา

กระเสียว มีคาเฉลี่ยของเปอรเซ็นตโซเดียมที่ละลายนํ้า (SSP) ในฤดูรอน และฤดูฝน มีคามากกวา

ฤดูหนาวอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 เน่ืองจากปริมาณโซเดียมใน ฤดูรอนและ

ฤดูฝนมีคามากกวาฤดูหนาว จึงทําใหมี เปอรเซ็นตโซเดียมที่ละลายนํ้า (SSP) ในฤดูรอนและฤดูฝน

มากกวาฤดูหนาว ดวยเพราะใชปริมาณโซเดียมในการคํานวณ เปอรเซ็นตโซเดียมที่ละลายนํ้า (SSP)

สวนเดือนสิงหาคมและกันยายนมีคาเฉลี่ยของเปอรเซ็นตโซเดียมที่ละลายนํ้า (SSP) มากที่สุดอยางมี

นัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 เน่ืองจากปริมาณโซเดียมมีคามากที่สุดในเดือนเหลาน้ี

เชนกันเพราะใชปริมาณโซเดียมในการคํานวณเปอรเซ็นตโซเดียมที่ละลายนํ้า (SSP)

20.3) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้า

กระเสียวมีคาเฉลี่ยของเปอรเซ็นตโซเดียมที่ละลายนํ้า (SSP) ระหวาง 3 ฤดูกาล ไมมีความแตกตาง

กันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ เน่ืองจากปริมาณโซเดียมระหวาง 3 ฤดูกาล ไมมีความแตกตางกัน

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ จึงทําใหมี เปอรเซ็นตโซเดียมที่ละลายนํ้า (SSP) ระหวาง 3 ฤดูกาล

ไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ดวยเพราะใชปริมาณโซเดียมในการคํานวณ

เปอรเซ็นตโซเดียมที่ละลายนํ้า (SSP)

20.4) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้า

กระเสียวมี คาเฉลี่ยของเปอรเซ็นตโซเดียมที่ละลายนํ้า (SSP) มากที่สุด อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 รองลงมา คือ ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากทางนํ้าชลประทานของโครงการสงนํ้าและ

บํารุงรักษากระเสียว และอางเก็บนํ้ากระเสียว ตามลําดับ เน่ืองจากตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวัง

คุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียวมี คาเฉลี่ยของ ปริมาณโซเดียมมากที่สุดจึงทําให

มีเปอรเซ็นตโซเดียมที่ละลายนํ้า (SSP) มากที่สุดดวย

Page 177: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

147

21) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว มีคาเฉลี่ยของ

สัดสวนของการดูดซับโซเดียม (SAR) เทากับ 0.2, 0.4 และ 0.7 ตามลําดับ คุณภาพนํ้าของ

ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากทั้งสามกลุมจัดเปนนํ้าที่อยูในเกณฑดีเหมาะสมกับการนําไปใช

ในการชลประทานโดยไมมีปญหาเร่ืองความเปนพิษจากปริมาณโซเดียม เน่ืองจากมี สัดสวนของ

การดูดซับโซเดียม (SAR) นอยกวา 10

21.1) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียวมี คาเฉลี่ยของสัดสวนของ

การดูดซับโซเดียม (SAR) ในฤดูรอนและฤดูฝนมาก กวา ฤดูหนาวอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 สอดคลองกับตัวอยางนํ้าที่เก็บจากโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษา

ลําพระเพลิง ที่มีสัดสวนของการดูดซับโซเดียม (SAR) มากที่สุดในฤดูรอนและฤดูฝน (สุขลัคนและ

จงกลณี , 2553) เน่ืองจากปริมาณโซเดียมใน ฤดูรอนและฤดูฝน มีคา มากกวาฤดูหนาว จึงทําให

มีสัดสวนของการดูดซับโซเดียม (SAR) ในฤดูรอนและฤดูฝนมากกวาฤดูหนาว เพราะใชปริมาณ

โซเดียมในการคํานวณ สัดสวนของการดูดซับโซเดียม (SAR) สวนเดือน กุมภาพันธ เมษายน

พฤษภาคม มิถุนายน กรกฎาคม และสิงหาคม มีคาเฉลี่ยของสัดสวนของการดูดซับโซเดียม (SAR)

มากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 แสดงวามีปริมาณโซเดียมมากที่สุด

ในเดือนเหลาน้ีเพราะใชปริมาณโซเดียมในการคํานวณสัดสวนของการดูดซับโซเดียม (SAR)

21.2) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากทางนํ้าชลประทานของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษา

กระเสียว มีคาเฉลี่ยของสัดสวนของการดูดซับโซเดียม (SAR) ในฤดูรอน และฤดูฝนมีคามากกวา

ฤดูหนาวอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 สอดคลองกับตัวอยางนํ้าที่เก็บจาก

โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษาลําพระเพลิง ที่มี สัดสวนของการดูดซับโซเดียม (SAR) มากที่สุด

ในฤดูรอนและฤดูฝน (สุขลัคนและจงกลณี , 2553) เน่ืองจากปริมาณโซเดียมใน ฤดูรอนและฤดูฝน

มีคามากกวาฤดูหนาวจึงทําใหมีสัดสวนของการดูดซับโซเดียม (SAR) ในฤดูรอนและฤดูฝนมากกวา

ฤดูหนาว สวนเดือนกันยายนมีคาเฉลี่ยของสัดสวนของการดูดซับโซเดียม (SAR) มากที่สุดอยางมี

นัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 แสดงวามีปริมาณโซเดียมในเดือนกันยายนมากที่สุด

เพราะใชปริมาณโซเดียมในการคํานวณสัดสวนของการดูดซับโซเดียม (SAR)

21.3) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้า

กระเสียวมีคาเฉลี่ยของสัดสวนของการดูดซับโซเดียม (SAR) ระหวาง 3 ฤดูกาล ไมมีความแตกตาง

กันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

21.4) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้า

กระเสียวมี คาเฉลี่ยของสัดสวนของการดูดซับโซเดียม (SAR) มากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 รองลงมา คือ ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้า

Page 178: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

148

และบํารุงรักษากระเสียว และอางเก็บนํ้ากระเสียว ตามลําดับ เน่ืองจากตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝา

ระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียวมีปริมาณโซเดียมมากที่สุด

21) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว มีคาเฉลี่ยของ

ปริมาณโซเดียมคารบอเนตตกคาง (RSC) เทากับ 0.01, 0.02 และ 0.12 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร

ตามลําดับ คุณภาพนํ้าของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากทั้งสามกลุมจัดเปนนํ้าที่เหมาะสมกับการนําไปใช

ในการชลประทานโดยไมมีปญหาเร่ืองความเปนพิษจากปริมาณไบคารบอเนต เน่ืองจากมีปริมาณ

โซเดียมคารบอเนตตกคาง (RSC) นอยกวา 1.25 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร

21.1) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียวมี คาเฉลี่ยของปริมาณโซเดียม

คารบอเนตตกคาง (RSC) ระหวาง 3 ฤดูกาล ไม มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

สอดคลองกับตัวอยางนํ้าที่เก็บจากโครงการชลประทานสุรินทร โครงการชลประทานศรีสะเกษ

และโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษาลําพระเพลิง ที่มี ปริมาณโซเดียมคารบอเนตตกคาง (RSC)

ระหวาง 3 ฤดูกาล ไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (สุขลัคนและจงกลณี , 2553)

สวนเดือนเมษายนมีคาเฉลี่ยของปริมาณโซเดียมคารบอเนตตกคาง (RSC) มากที่สุดอยางมีนัยสําคัญ

ทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

21.2) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากทางนํ้าชลประทานของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษา

กระเสียวมีคาเฉลี่ยของปริมาณโซเดียมคารบอเนตตกคาง (RSC) ระหวาง 3 ฤดูกาล และ 12 เดือน

ไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ สอดคลองกับตัวอยางนํ้าที่เก็บจากโครงการ

ชลประทานสุรินทร โครงการชลประทานศรีสะเกษ และโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษา

ลําพระเพลิง ที่มีปริมาณโซเดียมคารบอเนตตกคาง (RSC) ระหวาง 3 ฤดูกาล ไมมีความแตกตางกัน

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (สุขลัคนและจงกลณี, 2553)

21.3) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้า

กระเสียวมี คาเฉลี่ยของปริมาณโซเดียมคารบอเนตตกคาง (RSC) ระหวาง 3 ฤดูกาล ไม มีความ

แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ เน่ืองจากปริมาณไบคารบอเนตที่ใชในการคํานวณ ปริมาณ

โซเดียมคารบอเนตตกคาง (RSC) มีคาไมแตกตางกัน สอดคลองกับตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้า

กระเสียวและทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว รวมทั้งตัวอยางนํ้า

ที่เก็บจากโครงการชลประทานสุรินทร โครงการชลประทานศรีสะเกษ และโครงการสงนํ้าและ

บํารุงรักษาลําพระเพลิง ที่มี ปริมาณโซเดียมคารบอเนตตกคาง (RSC) ระหวาง 3 ฤดูกาล ไมมีความ

แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (สุขลัคนและจงกลณี, 2553)

Page 179: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

149

21.4) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้า

กระเสียวมีคาเฉลี่ยของปริมาณโซเดียมคารบอเนตตกคาง (RSC) มากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 รองลงมา คือ ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียวและทางนํ้า

ชลประทานของ โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว ซึ่งทั้งสองกลุมน้ีไม มีความแตกตางกัน

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ เน่ืองจากปริมาณไบคารบอเนตที่ใชในการคํานวณ ปริมาณโซเดียม

คารบอเนตตกคาง (RSC) มีคามากที่สุดในตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลง

อางเก็บนํ้ากระเสียว

22) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว มีคาเฉลี่ยของ

ปริมาณความกระดางทั้งหมดในรูป CaCO3 เทากับ 111.1, 119.9 และ 142.0 มิลลิกรัมตอลิตร

ตามลําดับ

22.1) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียวมี คาเฉลี่ยของปริมาณความ

กระดางทั้งหมดในรูป CaCO3 ในฤดูรอนมากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

รองลงมา คือ ฤดู ฝนและฤดูหนาว ซึ่งทั้งสองฤดูน้ีไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

เน่ืองจากปริมาณแคลเซียมใน ฤดูรอนมีคามากที่สุด ซึ่งแคลเซียมเปนสาเหตุหลักในการเกิด

นํ้ากระดาง อีกทั้งปริมาณความกระดางแปรผกผันกับปริมาณนํ้า ทําให ปริมาณความกระดาง

ในฤดูรอนมีคามากที่สุด สวน เดือน มีนาคม และมกราคม มีคาเฉลี่ยของปริมาณความกระดาง

ทั้งหมดในรูป CaCO3 มากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

22.2) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากทางนํ้าชลประทานของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษา

กระเสียว มีคาเฉลี่ยของปริมาณความกระดางทั้งหมดในรูป CaCO3 ระหวาง 3 ฤดูกาล ไม มีความ

แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ สวนเดือนมกราคม มีคาเฉลี่ยของปริมาณความกระดาง

ทั้งหมดในรูป CaCO3 มากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 เน่ืองจากปริมาณ

ความกระดางแปรผกผันกับปริมาณนํ้า ดังน้ันในเดือน มกราคมซึ่งเปนชวงที่ไมมีฝนตกจึงมีปริมาณ

ความกระดางมากที่สุด

22.3) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้า

กระเสียวมี คาเฉลี่ยของปริมาณความกระดางทั้งหมดในรูป CaCO3 ระหวาง 3 ฤดูกาล ไม มีความ

แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

22.4) ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้า

กระเสียวมี คาเฉลี่ยของปริมาณความกระดางทั้งหมดในรูป CaCO3 มากที่สุด รองลงมา คือ

ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียวและทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษา

กระเสียว ซึ่งทั้งสองกลุมน้ีไม มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ เน่ืองจากตัวอยางนํ้า

Page 180: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

150

ที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียวมีปริมาณแคลเซียม มากที่สุด

ซึ่งแคลเซียมเปนสาเหตุหลักในการเกิดนํ้ากระดาง อีกทั้งชนิดของดินในตําบลวังคันซึ่งเปนที่ต้ังของ

ฝายวังคันซึ่งเปนจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียวเปนดินที่มีชั้นปูนมารล

หรือกอนปูนมาก ซึ่งมีแคลเซียมสูง (กรมพัฒนาที่ดิน , Online) เมื่อนํ้าไหลผานจะละลาย CaCO3

ออกมาจึงทําใหนํ้ามีความกระดางสูง

5.1.3 การเปรียบเทียบคุณภาพนํ้ากับเกณฑมาตรฐานนํ้าชลประทานของ FAO (1985)

คุณภาพนํ้าของ อางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้าและ

บํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว มีคาอยูในเกณฑ

มาตรฐานนํ้าชลประทานของ FAO (1985) ยกเวน ปริมาณโพแทสเซียมมีคามากกวาเกณฑมาตรฐาน

เล็กนอย คือ มีคาเฉลี่ย ของปริมาณโพแทสเซียมเทากับ 4.4, 5.6 และ 13.6 มิลลิกรัมตอลิตร

ตามลําดับ ซึ่งเกณฑมาตรฐานสูงสุดไมเกิน 2.0 มิลลิกรัมตอลิตร ซึ่งโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษา

ลําพระเพลิง โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษามูลบน – ลําแชะ โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษา

ลํานางรอง และโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษาลําตะคอง มีปริมาณโพแทสเซียมมาก กวาเกณฑ

มาตรฐานเชนกัน คือ มีคาเฉลี่ยเทากับ 4.5, 3.8, 2.9 และ 3.5 มิลลิกรัมตอลิตร ตามลําดับ (สุขลัคน

และจงกลณี , 2553) อาจเน่ืองจากมีการใชปุยที่มีสวนผสมของสารประกอบโพแทสเซียม ในพื้นที่

เหลาน้ีมากกวา เมื่อโพแทสเซียมละลายในนํ้าจะเกิดการแพรกระจายอยางรวดเร็วเพราะมีคุณสมบัติ

ละลายนํ้าไดดี

5.1.4 การเปรียบเทียบคุณภาพนํ้ากับเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้าในแหลงนํ้าผิวดิน

คุณภาพนํ้าของ อางเก็บนํ้ากระเสียวและทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้าและ

บํารุงรักษากระเสียวมีคาอยูในเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้าในแหลงนํ้าผิวดิน ประเภทที่ 3 - 4

เปนแหลงนํ้าที่ไดรับนํ้าทิ้งจากกิจกรรมบางประเภท และสามารถเปนประโยชน เพื่อการอุปโภค

และบริโภคโดยตองผานการฆาเชื้อโรคตามปกติ และผานกระบวนการปรับปรุงคุณภาพนํ้า

เปนพิเศษกอน และสามารถเปนประโยชน เพื่อ การเกษตรกรรมและ การอุตสาหกรรม

สวนคุณภาพนํ้าของ ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

จัดอยูในประเภทที่ 3 - 5 เปนแหลงนํ้าที่ไดรับนํ้าทิ้งจากกิจกรรมบางประเภท และสามารถเปน

ประโยชน เพื่อการเกษตรกรรมและการคมนาคม

5.1.5 การเปรียบเทียบคุณภาพนํ้ากับเกณฑมาตรฐานการระบายนํ้าท่ีมีคุณภาพต่ําลงทางนํ้า

ชลประทานและทางนํ้าท่ีเชื่อมตอกับทางนํ้าชลประทานในเขตพื้นท่ีโครงการชลประทาน

คุณภาพนํ้าของ อางเก็บนํ้ากระเสียวและทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้าและ

บํารุงรักษากระเสียวมีคาอยูในเกณฑมาตรฐานการระบายนํ้าที่มีคุณภาพตํ่าลงทางนํ้าชลประทาน

และทางนํ้าที่เชื่อมตอกับทางนํ้าชลประทานในเขตพื้นที่โครงการชลประทาน ยกเวน ปริมาณ

Page 181: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

151

สารแขวนลอย ของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากทางนํ้าชลประทาน มีคามากกวาเกณฑมาตรฐาน

คือ มีคาเฉลี่ยเทากับ 46.09 มิลลิกรัมตอลิตร ซึ่งเกณฑมาตรฐานสูงสุดกําหนดไว 30 มิลลิกรัม

ตอลิตร เน่ืองจากปริมาณสารแขวนลอย ของตัวอยางนํ้าที่เก็บจาก โรงงานนํ้าตาล สะพานวังนํ้าโจน

ระบบสงนํ้า ปลายลําหวยขจี และสะพานวัดไทร ซึ่งเปนจุดเก็บตัวอยางนํ้าของทางนํ้าชลประทาน

ของ โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียวมีปริมาณสารแขวนลอยมากกวาเกณฑมาตรฐาน

คือ มีคาเฉลี่ยเทากับ 30.72, 37.61, 39.60, 72.07 และ 81.97 มิลลิกรัมตอลิตร ตามลําดับ อีกทั้ง

ปลายลําหวยขจี และ สะพานวัดไทร เปนจุดเก็บตัวอยางนํ้าที่อยูหลังจากนํ้าไดไหลผานพื้นที่

ชลประทานมาแลวจึงเกิดการสะสมของสารแขวนลอยที่เกิดขึ้นจากการเกษตรกรรมทําใหมี ปริมาณ

สารแขวนลอย มาก สวนคุณภาพนํ้าของ ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลง

อางเก็บนํ้ากระเสียว มีคาอยูในเกณฑมาตรฐาน ยกเวน ปริมาณสารแขวนลอย มีคามากกวาเกณฑ

มาตรฐาน คือ มีคาเฉลี่ยเทากับ 220.58 มิลลิกรัมตอลิตร เน่ืองจากนํ้าที่ไหลมาที่ฝายวังคันซึ่งเปน

จุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียวไดไหลผานแหลงชุมชนและพื้นที่

เกษตรกรรมมากอนทําใหเกิดการสะสมของสารแขวนลอยมาตามกระแสนํ้า

5.1.6 การเปรียบเทียบคุณภาพนํ้ากับเกณฑคุณภาพนํ้าท่ีเหมาะสมตอการดํารงชีวิตของ

สัตวนํ้า

คุณภาพนํ้าของ อางเก็บนํ้ากระเสียวและทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้าและ

บํารุงรักษากระเสียวมีคาอยูในเกณฑคุณภาพนํ้าที่เหมาะสมตอการดํารงชีวิตของสัตวนํ้า ยกเวน

ปริมาณสารแขวนลอย ของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากทางนํ้าชลประทาน มีคามากกวาเกณฑมาตรฐาน

คือ มีคาเฉลี่ยเทากับ 46.09 มิลลิกรัมตอลิต ร ซึ่งเกณฑมาตรฐานสูงสุดกําหนดไว 25 มิลลิกรัม

ตอลิตร สวนคุณภาพนํ้าของ ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้า

กระเสียว มีคาอยูในเกณฑมาตรฐาน ยกเวน ปริมาณสารแขวนลอย มีคามากกวาเกณฑมาตรฐาน

คือ มีคาเฉลี่ยเทากับ 220.58 มิลลิกรัมตอลิตร

5.1.7 การเปรียบเทียบเปอรเซ็นตโซเดียมท่ีละลายนํ้า (SSP) กับเกณฑของ Wilcox (1955)

คุณภาพนํ้าของ อางเก็บนํ้ากระเสียวและทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียวจัดเปนนํ้าที่อยูในเกณฑดีเหมาะสมกับการนําไปใชในการชลประทาน

โดยอางเก็บนํ้ากระเสียวและทางนํ้าชลประทาน มีเปอรเซ็นตโซเดียมที่ละลายนํ้า (SSP) นอยกวา

40 เปอรเซ็นต คือ มีคาเฉลี่ยเทากับ 10.14 และ 14.37 เปอรเซ็นต ตามลําดับ สวนคุณภาพนํ้าของ

ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว จัดเปนนํ้าที่อยู

ในเกณฑดีเหมาะสมกับการนําไปใชในการชลประทาน คือ มีคาเฉลี่ย ของ เปอรเซ็นตโซเดียม

ที่ละลายนํ้า (SSP) เทากับ 17.49 เปอรเซ็นต

Page 182: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

152

5.1.8 การเปรียบเทียบปริมาณโซเดียมคารบอเนตตกคาง (RSC) กับเกณฑของ Eaton

(1950)

คุณภาพนํ้าของ อางเก็บนํ้ากระเสียวและทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียวจัดเปนนํ้าที่เหมาะสมกับการนําไปใชในการชลประทาน โดยมีปริมาณ

โซเดียมคารบอเนตตกคาง (RSC) นอยกวา 1.25 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร คือ มีคาเทากับ 0.01 และ

0.02 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร ตามลําดับ สวนคุณภาพนํ้าของ ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวัง

คุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียวจัดเปนนํ้าที่เหมาะสมกับการนําไปใชในการชลประทาน

คือ มีคาเฉลี่ยของปริมาณโซเดียมคารบอเนตตกคาง (RSC) เทากับ 0.12 มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร

5.1.9 การเปรียบเทียบปริมาณความกระดางท้ังหมดในรูป CaCO3 กับเกณฑของ USGS

(Online)

คุณภาพนํ้าของ อางเก็บนํ้ากระเสียวและทางนํ้าชลประทาน ของโครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียวจัดเปนนํ้ากระดางปานกลาง เน่ืองจากมีปริมาณความกระดางทั้งหมดในรูป

CaCO3 อยูในชวง 61 - 120 มิลลิกรัมตอลิตร คือ มีคาเทากับ 111.1 และ 119.9 มิลลิกรัมตอลิตร

ตามลําดับ สวนคุณภาพนํ้าของ ตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้า

กระเสียว จัดเปนนํ้ากระดาง เน่ืองจาก 1) มีปริมาณความกระดางทั้งหมดในรูป CaCO3 อยูในชวง

121 - 180 มิลลิกรัมตอลิตร คือ มีคาเทากับ 142.0 มิลลิกรัมตอลิตร และ 2) ชนิดของดินในตําบล

วังคันซึ่งเปนที่ต้ังของฝายวังคันที่เปนจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

เปนดินที่มีชั้นปูนมารลหรือกอนปูนมากซึ่งมีแคลเซียมสูง (กรมพัฒนาที่ดิน , Online) เมื่อนํ้า

ไหลผานจะละลาย CaCO3 ออกมา ทําใหนํ้ามีความกระดางสูง

5.1.10 การแบงชนิดของนํ้าชลประทานตามความเค็มและปริมาณโซเดียมของ USDA

Handbook No. 60 (1954)

คุณภาพนํ้าของ อางเก็บนํ้ากระเสียวและทางนํ้าชลประทาน ของโครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียวจัดอยูในประเภทนํ้าชลประทานชนิด C2S1 คือ เปนนํ้าที่มีความนําไฟฟาอยู

ในชวง 250 - 750 ไมโครโมสตอเซนติเมตร และมีคา SAR ไมเกิน 10 จัดเปนนํ้าที่มีความเค็ม

ปานกลางและปริมาณโซเดียมตํ่าสามารถใชกับดินและพืชเกือบทุกชนิด โดยพืชที่ตอบสนองไว

ตอความเปนพิษจากปริมาณโซเดียมจะเกิดความเสียหายจากการสะสมของปริมาณโซเดียมและพืช

ที่ทนความเค็มไดปานกลางสามารถเจริญเติบโตไดโดยไมตองควบคุมความเค็ม สวนคุณภาพนํ้า

ของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว จัดอยูในประเภท

นํ้าชลประทานชนิด C2S1

Page 183: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

153

5.2 ขอเสนอแนะ

5.2.1 การเก็บตัวอยางนํ้าไมสามารถกําหนดวันที่เก็บและลําดับการเก็บตัวอยางนํ้าเรียงตาม

จุดและเวลาที่แนนอนได ตองปรับเปลี่ยนตามความเหมาะสมตามสถานการณ เน่ืองจากจุดเก็บ

ตัวอยางนํ้าครอบคลุมพื้นที่ 3 อําเภอ ทําใหระยะทางในการเดินทางไปเก็บตัวอยางนํ้าคอนขางไกล

แตเน่ืองจากปกติจะเก็บตัวอยางนํ้าแลวเสร็จภายใน 5 ชั่วโมง จึงแกไขดวยการกําหนดชวงเวลา

การเก็บตัวอยางนํ้าของแตละจุดไมใหคลาดเคลื่อนเกิน 1 ชั่วโมง และเก็บรักษาตัวอยางนํ้า

ดวยการแชเย็นที่อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส เพื่อลดการทํางานของพวกจุลินทรียและลดอัตราเร็ว

ของการเกิดขบวนการทางกายภาพและเคมีซึ่งเปนการปองกันความคลาดเคลื่อนของผลวิเคราะห

คุณภาพนํ้า อีกทั้งการวิเคราะหคุณภาพนํ้าเปนการวิเคราะหโดยนักวิทยาศาสตรคนเดิม

จึงลดความคลาดเคลื่อนเน่ืองจากมนุษย (human error)

5.2.2 สรุปไดวาคุณภาพนํ้าของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากอางเก็บนํ้ากระเสียวและทางนํ้า

ชลประทานของ โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว จัดเปนนํ้าที่เหมาะสมกับการใช

ในการชลประทานโดยไมมีปญหาจากความเปนพิษของความเค็มและปริมาณโซเดียม จัดอยูใน

แหลงนํ้าผิวดิน ประเภทที่ 3 - 4 เปนแหลงนํ้าที่ไดรับนํ้าทิ้งจากกิจกรรมบางประเภท และสามารถ

เปนประโยชน เพื่อการอุปโภคและบริโภคโดยตองผานการฆาเชื้อโรคตามปกติ และผาน

กระบวนการปรับปรุงคุณภาพนํ้าเปนพิเศษกอน และสามารถเปนประโยชน เพื่อ การเกษตรและ

การอุตสาหกรรม แตก็ควรมีการตรวจสอบคุณภาพนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียวและทางนํ้า

ชลประทานอยางสม่ําเสมอเพื่อควบคุมคุณภาพนํ้าใหมีคาอยูในเกณฑมาตรฐานและเปนการเฝาระวัง

เพื่อปองกันการแพรกระจายของมลพิษทางนํ้าไปสูแมนํ้าทาจีน

5.2.3 คุณภาพนํ้าของตัวอยางนํ้าที่เก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้า

กระเสียว คือ จุดเก็บตัวอยางนํ้าจากตนนํ้ากระเสียว ฝายวังคัน มีคามากกวาจุดเก็บตัวอยางนํ้าจุดอ่ืน

ในหลายดัชนี และมีคามากกวาเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้าดวย เน่ืองจากตนนํ้าของฝายวังคันมาจาก

อําเภอบานไร จังหวัดอุทัยธานี และไหลผานแหลงชุมชนและพื้นที่เกษตรกรรมจึงมีการสะสม

ตะกอน สารอินทรียและสารอนินทรียมาตลอดทางนํ้า นอกจากน้ีฝายวังคันเปนฝายสุดทายกอนถึง

อางเก็บนํ้ากระเสียวและเปนจุดรวบรวมนํ้าเพื่อไหลลงสูอางเก็บนํ้ากระเสียว ดังน้ันการที่ฝายวังคัน

มีคุณภาพนํ้าตํ่าจึงอาจทําใหนํ้าที่ไหลลงสูอางเก็บนํ้ากระเสียวมีคุณภาพนํ้าตํ่าไปดวย แตอางเก็บนํ้า

กระเสียวยังคงมีคุณภาพนํ้าที่อยูในเกณฑมาตรฐาน เน่ืองจาก 1) ทางนํ้าที่ไหลลงสูอางเก็บนํ้า

กระเสียวมีหลายสาย 2) สวนใหญการเติมนํ้าในอางเก็บนํ้าไดจากนํ้าฝน และ 3) การสะสมของ

ตะกอน สารอินทรีย และสารอนินทรีย มักจะเกิดการสะสมที่ทองนํ้า ดังน้ันถาปริมาณนํ้า

ในอางเก็บนํ้ากระเสียวยังคงมีปริมาณมากหรือปริมาณนํ้าไมไดนอยจนทําใหสิ่งตาง ๆ ที่สะสมอยู

ที่กนอางเก็บนํ้ากระจายตัวขึ้นมาที่ผิวนํ้า ก็จะไมเกิดปญหาคุณภาพนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว

Page 184: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

154

5.2.4 ปจจัยที่มีผลตอคุณภาพนํ้า ไดแก ปริมาณนํ้า ปริมาณนํ้าฝน ฤดูกาล และการใช

ประโยชนที่ดิน ทําใหในบางชวงของปอาจจะมีคุณภาพนํ้าตํ่า โดยเฉพาะเดือนที่มีปริมาณนํ้าฝน

มากที่สุดของป ดังน้ันในชวงน้ันควรจะมีการเฝาระวังและประเมินคุณภาพนํ้าอยางสม่ําเสมอ

เพื่อจะไดไมสงผลกระทบตอการนํานํ้าไปใชประโยชนโดยเฉพาะเพื่อการเกษตรกรรม

5.2.5 ปจจุบันประเทศไทยไมมีมาตรฐานนํ้าชลประทานตองอางอิงโดยใชมาตรฐานของ

ประเทศอ่ืนถากรมชลประทานมีการตรวจสอบคุณภาพนํ้าในพื้นที่ตาง ๆ อยางสม่ําเสมอและ

เปนระยะเวลาติดตอกันพอสมควรโดยกําหนดจุดตรวจวัดที่เปนตัวแทนของแตละภูมิภาคจะทําให

มีขอมูลคุณภาพนํ้าเพียงพอที่จะนําไปสูการกําหนดมาตรฐานคุณภาพนํ้าชลประทานของ

ประเทศไทย เน่ืองจากกรมชลประทานเปนหนวยงานเดียวที่รับผิดชอบดานนํ้าเพื่อการชลประทาน

ดังน้ันหนาที่ในการกําหนดเกณฑมาตรฐานนํ้าชลประทานของประเทศไทยจึงควรจะเปนหนาที่ของ

กรมชลประทานดวย นอกจากน้ีจากผลงานวิจัยน้ีและ การประเมินคุณภาพนํ้า เพื่อการบริหาร

จัดการนํ้าในเขตสํานักชลประทานที่ 8 ต้ังแต พ.ศ. 2547 – 2553 (สุขลัคนและจงกลณี , 2553) พบวา

มีปริมาณโพแทสเซียมมากกวาเกณฑมาตรฐาน นํ้าชลประทานของ FAO (1985) ซึ่งกําหนดเกณฑ

มาตรฐานสูงสุดไมเกิน 2.0 มิลลิกรัมตอลิตร อาจเน่ืองจากมีการใชปุยที่มีสวนผสมของสารประกอบ

โพแทสเซียม ในพื้นที่เหลาน้ีมากกวา เมื่อโพแทสเซียมละลายในนํ้าจะเกิดการแพรกระจายอยาง

รวดเร็วเพราะมีคุณสมบัติละลายนํ้าไดดี ดังน้ันควรจะกําหนดเกณฑมาตรฐานสูงสุดของ

โพแทสเซียมในประเทศไทยใหมากกวา 2.0 มิลลิกรัมตอลิตร เพื่อใหเหมาะสมกับปริมาณการใชปุย

ของเกษตรกร

Page 185: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

เอกสารอางอิง

กรมชลประทาน. (ไมปรากฎวันเดือนปที่เผยแพร). โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว.

กรุงเทพฯ : กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ.

กรมพัฒนาที่ดิน. (Online). การจัดการดินกับพืชเศรษฐกิจ สําหรับเกษตรกร เร่ืองสภาพดินและ

การใชประโยชนท่ีดินของจังหวัดสุพรรณบุรี. สืบคนเมื่อ 3 เมษายน 2553. จาก

http://www.ldd.go.th/new_hp/ old/html.

กรมอนามัย. (2537). คูมือตรวจวิเคราะหคุณภาพนํ้าทางเคมี. กรุงเทพ ฯ : กรมอนามัย กระทรวง

สาธารณสุข.

กรรณิกา สิริสิงห. (2549). เคมีของนํ้า นํ้าโสโครกและการวิเคราะห. กรุงเทพฯ: คณะสาธารณสุข

ศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล.

เกรียงศักด์ิ อุดมสินโรจน. (2539). การบําบัดนํ้าเสีย. กรุงเทพ ฯ : มิตรนราการพิมพ.

กองจัดการคุณภาพนํ้า กรมควบคุมมลพิษ. (2540). เกณฑระดับคุณภาพนํ้าและมาตรฐาน

คุณภาพนํ้าประเทศไทย. กรุงเทพ ฯ : กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงวิทยาศาสตร

เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม.

จันทรา ทองคําเภา และพันธวัศ สัมพันธพานิช. (2541). การใชนํ้าในเขตคลองชลประทานรังสิตใต:

รายงานการวิจัย. สืบคนเมื่อ 1 กันยายน 2551. จาก http://cuir.car.chula.ac.th/handle/

123456789/1727.

ชลาทร ศรีตุลานนท และสุเทพ พลเสน. (2547). คุณภาพนํ้าทางจุลชีววิทยาของลุมนํ้าลําตะคอง

จังหวัดนครราชสีมา. สืบคนเมื่อ 10 ตุลาคม 2552. จาก www.forest.go.th/Research/

watershade/abstracts/wst9.htm.

เปยมศักด์ิ เมนะเสวต. (2533). แหลงนํ้ากับปญหามลพิษ. กรุงเทพ ฯ: สํานักพิมพจุฬาลงกรณ

มหาวิทยาลัย.

นิรชน เทพหนู. (2545). ความสัมพันธระหวางคุณภาพนํ้าและสัตวไมมีกระดูกสันหลังขนาดใหญ

ท่ีเก็บโดยมัลทิเพิ้ลเพลทในแมนํ้าบางปะกง. วิทยานิพนธ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต

(สาขาสุขาภิบาลสิ่งแวดลอม) มหาวิทยาลัยมหิดล.

นภาพร ทิพมาสน และสมนิมิต พุกงาม. (2552). การตรวจวัดคุณภาพนํ้าในพื้นท่ีปาไมเกษตรกรรม ปาไมผสมเกษตรกรรม โดยใชลุมนํ้าขนาดเล็ก ในลุมนํ้าสาขาแมถาง จังหวัดแพร. วารสารวนศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 28 (1) : 51 – 56.

Page 186: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

156

พจนา ผลประพฤติ. (2536). การศึกษาความสัมพันธของการใชท่ีดินกับคุณภาพนํ้า ในลุมนํ้าคลอง

ทาลาด จังหวัดฉะเชิงเทรา. วิทยานิพนธ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิทยาศาสตร

สิ่งแวดลอม) โครงการสหวิทยาการระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

พรชัย ปรีชาปญญา. (2543). ผลกระทบการใชประโยชนท่ีดินตอคุณภาพของนํ้าบริเวณลุมนํ้า

แมทะลาย อําเภอแมแตง จังหวัดเชียงใหม. กรุงเทพ ฯ : กรมปาไม กระทรวง

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ภาสกร สัทธานนท. (2542). การวิเคราะหผลกระทบของการชลประทานตอคุณภาพนํ้าในพื้นท่ี

โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษาทามะกา. วิทยานิพนธ วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชา

วิศวกรรมชลประทาน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

มั่นสิน ตัณฑุลเวศม. (2545). เคมีวิทยาของนํ้าและนํ้าเสีย. กรุงเทพ ฯ : คณะวิศวกรรมศาสตร

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

มั่นสิน ตัณฑุลเวศม และไพพรรณ พรประภา. (2544). การจัดการคุณภาพนํ้าและการบําบัดนํ้าเสีย

ในบอเลี้ยงปลาและสัตวนํ้าอื่น ๆ เลม 1 การจัดการคุณภาพนํ้า. กรุงเทพ ฯ :

คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

มั่นสิน ตัณฑุลเวศม. (2543). คูมือวิเคราะหคุณภาพนํ้า. กรุงเทพฯ : คณะวิศวกรรมศาสตร

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

ไมตรี ดวงสวัสด์ิ และจารุวรรณ สมศิริ. (2529). คุณสมบัติของนํ้าและวิธีวิเคราะหสําหรับการวิจัย

ทางการประมง. กรุงเทพ ฯ : กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ.

วนัสสุดา ชมภูศรี. (2549). ผลของฤดูกาลตอคุณภาพนํ้าและกลุมของแพลงกตอนพืชในอางเก็บนํ้า

ดอยเตา จังหวัดเชียงใหม ป 2547 – 2548. วิทยานิพนธ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต

(สาขาวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม) มหาวิทยาลัยเชียงใหม.

วรางคลักษณ ซอนกลิ่น และชัยวัฒน โพธิ์ทอง. (2548). คุณภาพนํ้าของแมนํ้านานท่ีไหลผานพื้นท่ี

เกษตรกรรมและชุมชนเมืองจังหวัดพิษณุโลก. วารสารมหาวิทยาลัยนเรศวร 13 (1) :

37 - 44.

วัชรีพร ศิวเสน. (2540). ผลกระทบของการใชประโยชนท่ีดินตอคุณภาพนํ้าทางกายภาพ บริเวณ

ลุมนํ้าลิ่นถิ่น จังหวัดกาญจนบุรี. วิทยานิพนธ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิทยาศาสตร

สิ่งแวดลอม) โครงการสหวิทยาการระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร.

วิทยา วุนชุม. (2543). การเปลี่ยนแปลงคุณภาพนํ้าและดินในบอเลี้ยงกุงกุลาดําแบบพัฒนาในเขต

พื้นท่ีนํ้าจืด จังหวัดนครปฐม. วิทยานิพนธ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิทยาศาสตร

สิ่งแวดลอม) โครงการสหวิทยาการระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

Page 187: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

157

วิมลมาศ สตารัตน. (2545). การศึกษาคุณภาพนํ้าของอางเก็บนํ้า ในเขตโครงการชลประทาน

ชลบุรี ระหวาง พ.ศ. 2536 – 2542. กรุงเทพ ฯ : กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและ

สหกรณ.

รตีวรรณ ออนรัศมี และคณะ. (2543). ผลกระทบจากการเพาะเลี้ยงปลาในกระชังตอคุณภาพนํ้า :

กรณีศึกษา แมนํ้าบางประกง. คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา.

สมาคมวิศวกรสิ่งแวดลอมแหงประเทศไทย. (2540). คูมือวิเคราะหนํ้าเสีย. กรุงเทพ ฯ

สิทธิชัย ตันธนะสฤษด์ิ. (2549). เทคนิคการเก็บตัวอยางนํ้า. กรุงเทพฯ: คณะวนศาสตร

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

สํานักจัดการคุณภาพนํ้า กรมควบคุมมลพิษ. (ไมปรากฎวันเดือนปที่เผยแพร). ปญหานํ้าเสียจาก

การเกษตรกรรม. สืบคนเมื่อ 24 กันยายน 2550. จาก : http://www.pcd.go.th/info_serv/

water_Agricultural.htm.

สํานักจัดการคุณภาพนํ้า กรมควบคุมมลพิษ. (2549). แนวทางการบริหารจัดการนํ้าเสีย

(พ.ศ. 2549-2552). กรุงเทพ ฯ : กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ

และสิ่งแวดลอม.

สํานักจัดการคุณภาพนํ้า กรมควบคุมมลพิษ. (2548). คูมือแนวทางการลดและปองกันมลพิษจาก

การทํานาขาว. กรุงเทพฯ : กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ

และสิ่งแวดลอม.

สํานักจัดการคุณภาพนํ้า กรมควบคุมมลพิษ. (2546). คูมือการติดตามตรวจสอบและประเมิน

คุณภาพนํ้าในแหลงนํ้าจืดผิวดิน. กรุงเทพฯ : กรมควบคุมมลพิษ กระทรวง

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม.

สํานักวิจัยและพัฒนาสิ่งแวดลอมโรงงาน กรมโรงงานอุตสาหกรรม. (ไมปรากฏวันเดือนป

ที่เผยแพร). การวิเคราะหนํ้าและนํ้าเสียเบื้องตน. สืบคนเมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ

พ.ศ. 2550. จาก : http://www2.diw.go.th/research/file.asp.

เสาวนีย วิจิตรโกสุม. (2545). การตั้งถิ่นฐานและการใชประโยชนท่ีดินท่ีมีผลตอคุณภาพนํ้าของ

อางเก็บนํ้าลําตะคอง อําเภอปากชอง จังหวัดนครราชสีมา. วิทยานิพนธ สถาปตยกรรม

มหาบัณฑิต (สาขาการวางแผนภาค) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

สุขลัคน นาเนกรังสรรค และจงกลณี วรรณเพ็ญสกุล. (2553). การประเมินคุณภาพนํ้าเพื่อการ

บริหารจัดการนํ้าในเขตสํานักชลประทานท่ี 8 ตั้งแต พ.ศ. 2547 – 2553. กรุงเทพ ฯ :

กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ.

Page 188: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

158

สุจยา ยอดเพชร และเดชา นาวานุเคราะห. (2544). การศึกษาคุณภาพแมนํ้ายม. สืบคนเมื่อ

20 กันยายน 2553. จาก http://www.dedp.go.th/water/water quality.html.

อัปสรศรี วังรองธานินทร. (2538). การตรวจสอบคุณภาพนํ้า. เอกสารประกอบคําบรรยาย

การฝกอบรมหลักสูตรการเกษตรชลประทาน.

อุษา หนิมพานิช. (2536). การศึกษาคุณภาพของนํ้าในแมนํ้านานท่ีอยูในเขตเทศบาล

เมืองพิษณุโลก. วิทยานิพนธ วิทยาศาสตรศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยนเรศวร.

APHA, AWWA, and WPCF. (1992). Standard methods for the examination of water and

wastewater. (18th ed.). Washington D.C.: American Public Health Association.

Ayers, R.S. and Westcot, D.W. (1985). Water quality for agriculture. FAO Irrigation and

Drainage Paper No. 29. Food and Agriculture Organization of the United Nations,

Rome. pp. 1-117.

Bauder, T.A., Waskom, R.M. & Davis, J.G.. (2007). Irrigation Water Quality Criteria.

Retrieved on Jul 10, 2010. From : http://www.ext.colostate.edu/pubs/crops/00506.pdf.

Brian A. Pellerin, Sujay S. Kaushal and William H. McDowell. (2006). Does Anthropogenic

Nitrogen Enrichment Increase Organic Nitrogen Concentrations in Runoff from

Forested and Human - dominated Watersheds ? . Ecosystems (2006) 9: 852–864.

Eaton, F.M., 1950. Significance of carbonate in irrigation waters. Soil Sci., 67: 12 – 133.

Harivandi, M. All. (1999). Interpreting Turfgrass Irrigation Water Test Results. Retrieved

on Sep 6, 2010. From : http://ucanr.org/freepubs/docs/8009.pdf. 30 july 2010.

James Camberato. (2001). Irrigation Water Quality. Retrieved on Nov 11, 2010. From :

http://www.clemson.edu/turfornamental.

U.S. Geological Survey. (2009). Water Hardness and Alkalinity. Retrieved on Nov 11, 2010.

from : http://water.usgs.gov/ owq/hardness- alkalinity.html.

U.S. Salinity Laboratory Staff. (1954). Diagnosis and Improvement of Saline and Alkali

Soils. USDA Handbook No. 60. Washington D.C.

Wilcox, L.V., 1955. Classification and use of irrigation water. United State Department of

Agriculture Circular No. 969. Washington D.C., pp : 19.

Page 189: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

ภาคผนวก

Page 190: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

ภาคผนวก ก

มาตรฐานคุณภาพน้ํา

Page 191: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

ตารางท่ี ก.1 มาตรฐานคุณภาพนํ้าในแหลงนํ้าผิวดิน

ลําดับ คุณภาพน้ํา 2/

คาทาง

สถิติ

หนวย

เกณฑกําหนดสูงสุด 3/ ตามการแบง

ประเภทคุณภาพน้ําตามการใชประโยชน 1/

ประเภท

1

ประเภท

2

ประเภท

3

ประเภท

4

ประเภท

5

1. สี กลิ่นและรส

(Colour, Odour and Taste)

- ธ ธ1 ธ1 ธ1 -

2. อุณหภูมิ (Temperature) ° ซ ธ ธ1 ธ1 ธ1 -

3. ความเปนกรดและดาง (pH) - ธ 5.0-9.0 5.0-9.0 5.0-9.0 -

4. ออกซิเจนละลาย (DO) P20 มก/ล. ธ 6.0 4.0 2.0 -

5. บีโอดี (BOD) P80 มก/ล. ธ 1.5 2.0 4.0 -

6. แบคทีเรียกลุมโคลิฟอรม

ทั้งหมด

(Total Coliform Bacteria)

P80 เอ็ม.พี.เอ็น/

100 มิลลิลิตร

(MPN/100 ml)

ธ 5,000 20,000 - -

7. แบคทีเรียกลุมฟคอลโคลิฟอรม

(Fecal Coliform Bacteria)

P80 เอ็ม.พี.เอ็น/

100 มิลลิลิตร

(MPN/100 ml)

ธ 1,000 4,000 - -

8. ไนเตรต (NO 3) ในหนวย

ไนโตรเจน

มก/ล. ธ 5.0 5.0 5.0 -

9. แอมโมเนีย (NH 3) ในหนวย

ไนโตรเจน

มก/ล. ธ 0.5 0.5 0.5 -

10. ฟนอล (Phenols) มก/ล. ธ 0.005 0.005 0.005 -

11. ทองแดง (Cu) มก/ล. ธ 0.1 0.1 0.1 -

12. นิคเกิล (Ni) มก/ล. ธ 0.1 0.1 0.1 -

13. แมงกานีส (Mn) มก/ล. ธ 1.0 1.0 1.0 -

14. สังกะสี (Zn) มก/ล. ธ 1.0 1.0 1.0 -

15. แคดเมียม (Cd) มก/ล. ธ 0.005*

0.05**

0.005*

0.05**

0.005*

0.05**

-

-

16. โครเมียมชนิดเฮ็กซาวาเลนท

(Cr Hexavalent)

มก/ล. ธ 0.05 0.05 0.05 -

17. ตะกั่ว (Pb) มก/ล. ธ 0.05 0.05 0.05 -

18. ปรอททั้งหมด (Total Hg) มก/ล. ธ 0.002 0.002 0.002 -

19. สารหนู (As) มก/ล. ธ 0.01 0.01 0.01 -

20. ไซยาไนด (Cyanide) มก/ล. ธ 0.005 0.005 0.005 -

Page 192: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

ตารางท่ี ก.1 (ตอ)

ลําดับ คุณภาพน้ํา 2/ คาทาง

สถิติ หนวย

เกณฑกําหนดสูงสุด 3/ ตามการแบง

ประเภทคุณภาพน้ําตามการใชประโยชน 1/

ประเภท

1

ประเภท

2

ประเภท

3

ประเภท

4

ประเภท

5

21. กัมมันตภาพรังสี

(Radioactivity)

- คารังสีแอลฟา (Alpha)

- คารังสีเบตา (Beta)

เบคเคอเรล/ล.

เบคเคอเรล/ล.

0.1

1.0

0.1

1.0

0.1

1.0

-

-

22. สารฆาศัตรูพืชและสัตวชนิดที่มี

คลอรีนทั้งหมด (Total

Organochlorine Pesticides)

มก/ล. ธ 0.05 0.05 0.05 -

23. ดีดีที (DDT) ไมโครกรัม/ล. ธ 1.0 1.0 1.0 -

24. บีเอชซีชนิดแอลฟา

(Alpha-BHC)

ไมโครกรัม/ล. ธ 0.02 0.02 0.02 -

25. ดิลดริน (Diedrin) ไมโครกรัม/ล. ธ 0.2 0.2 0.2 -

26. อัลดริน (Aldrin) ไมโครกรัม/ล. ธ 0.1 0.1 0.1 -

27. เฮปตาคลอรและเฮปตาคลอร

อีปอกไซด (Heptachor &

Heptachlor epoxide)

ไมโครกรัม/ล. ธ 0.2 0.2 0.2 -

28. เอนดริน (Endrin) ไมโครกรัม/ล. ธ ไมสามารถตรวจพบไดตามวิธีการ

ตรวจสอบที่กําหนด

-

แหลงที่มาของขอมูล : ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2537) ออกตาม

ความในพระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ

พ.ศ. 2535 เร่ือง กําหนดมาตรฐานคุณภาพนํ้าในแหลงนํ้าผิวดิน ตีพิมพใน

ราชกิจจานุเบกษา เลม 111 ตอนที่ 16 ง ลงวันที่ 24 กุมภาพันธ 2537

(ภาคผนวก ฐ)

Page 193: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

หมายเหต ุ

1/ การแบงประเภทแหลงน้ําผิวดิน

ประเภทที่ 1 ไดแก แหลงน้ําที่คุณภาพน้ํามีสภาพตามธรรมชาติโดยปราศจากน้ําทิ้งจากกิจกรรมทุกประเภท

และสามารถเปนประโยชนเพ่ือ

(1) การอุปโภคและบริโภคโดยตองผานการฆาเช้ือโรคตามปกติกอน

(2) การขยายพันธุตามธรรมชาติของส่ิงมีชีวิตระดับพ้ืนฐาน

(3) การอนุรักษระบบนิเวศนของแหลงน้ํา

ประเภทที่ 2 ไดแก แหลงน้ําที่ไดรับน้ําทิ้งจากกิจกรรมบางประเภท และสามารถเปนประโยชนเพ่ือ

(1) การอุปโภคและบริโภคโดยตองผานการฆาเช้ือโรคตามปกติ และผานกระบวนการปรับปรุง

คุณภาพน้ําทั่วไปกอน

(2) การอนุรักษสัตวน้ํา

(3) การประมง

(4) การวายน้ําและกีฬาทางน้ํา

ประเภทที่ 3 ไดแก แหลงน้ําที่ไดรับน้ําทิ้งจากกิจกรรมบางประเภท และสามารถเปนประโยชนเพ่ือ

(1) การอุปโภคและบริโภคโดยตองผานการฆาเช้ือโรคตามปกติ และผานกระบวนการปรับปรุง

คุณภาพน้ําทั่วไปกอน

(2) การเกษตร

ประเภทที่ 4 ไดแก แหลงน้ําที่ไดรับน้ําทิ้งจากกิจกรรมบางประเภท และสามารถเปนประโยชนเพ่ือ

(1) การอุปโภคและบริโภคโดยตองผานการฆาเช้ือโรคตามปกติ และผานกระบวนการปรับปรุง

คุณภาพน้ําทั่วไปกอน

(2) การอุตสาหกรรม

ประเภทที่ 5 ไดแก แหลงน้ําที่ไดรับน้ําทิ้งจากกิจกรรมบางประเภท และสามารถเปนประโยชนเพ่ือการคมนาคม

2/ กําหนดคามาตรฐานเฉพาะในแหลงน้ําประเภทที่ 2 - 4 สําหรับแหลงน้ําประเภทที่ 1 ใหเปนไปตามธรรมชาติ

และแหลงน้ําประเภทที่ 5 ไมกําหนดคา

3/ คา DO เปนเกณฑมาตรฐานต่ําสุด

ธ เปนไปตามธรรมชาต ิ

ธ1 อุณหภูมิของน้ําจะตองไมสูงกวาอุณหภูมิตามธรรมชาติ เกิน 3 องศาเซลเซียส

* น้ําที่มีความกระดางในรูปของ CaCO 3 ไมเกินกวา 100 มิลลิกรัมตอลิตร

** น้ําที่มีความกระดางในรูปของ CaCO 3 เกินกวา 100 มิลลิกรัมตอลิตร

° ซ องศาเซลเซียส

P20 คาเปอรเซ็นไทลที่ 20 จากจํานวนตัวอยางทั้งหมดที่เก็บมาตรวจสอบอยางตอเนื่อง

P80 คาเปอรเซ็นไทลที่ 20 จากจํานวนตัวอยางทั้งหมดที่เก็บมาตรวจสอบอยางตอเนื่อง

มก/ล มิลลิกรัมตอลิตร

มล. มิลลิลิตร

MPN เอ็ม.พี.เอ็น หรือ Most Probable Number

Page 194: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

ตารางท่ี ก.2 เกณฑมาตรฐานนํ้าชลประทานของ FAO ซึ่งนํามาใชเปรียบเทียบผลวิเคราะหคุณภาพนํ้า

ชลประทาน

ดัชนีคุณภาพนํ้า สัญลักษณ หนวย ชวงท่ีมักพบในนํ้าชลประทาน

ความเค็ม

ปริมาณเกลือ

Electrical Conductivity ECw dS / m 0 – 3

หรือ

Total Dissolved Solids TDS mg / L 0 – 2,000

อิออนบวกและอิออนลบ

Calcium Ca++ meq / L 0 – 20

Magnesium Mg++ meq / L 0 – 5

Sodium Na+ meq / L 0 – 40

Carbonate CO--3 meq / L 0 – 0.1

Bicarbonate HCO3- meq / L 0 – 10

Chloride Cl- meq / L 0 – 30

Sulphate SO4-- meq / L 0 – 20

ธาตุอาหาร

Nitrate-Nitrogen NO3 - N mg / L 0 – 10

Ammonium-Nitrogen NH4 - N mg / L 0 – 5

Phosphate-Phosphorus PO4 - P mg / L 0 – 2

Potassium K+ mg / L 0 – 2

อื่น ๆ

Boron B mg / L 0 – 2

Acid / Basicity pH 1 – 14 6.0 – 8.5

Sodium Adsorption Ratio SAR (meq / L) 0 – 15

ที่มา : ปรับปรุงจาก FAO. (1985). Water Quality For Agriculture.

Page 195: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

ตารางท่ี ก.3 มาตรฐานการระบายนํ้าท่ีมีคุณภาพต่ําลงทางนํ้าชลประทาน และทางนํ้าท่ีตอเชื่อมกับ

ทางนํ้าชลประทานในเขตพื้นท่ีโครงการชลประทาน

ลําดับ ดัชนีคุณภาพน้ํา หนวย คามาตรฐาน

(เกณฑการกําหนดสูงสุด)

1. ความเปนกรด - ดาง (pH) - 6.5 - 8.5

2. ความนําไฟฟา ไมโครโมส/ซม. 2,000

3. ของแข็งที่ละลายไดทั้งหมด (TDS) มิลลิกรัม/ลิตร 1,300

4. บีโอดี (BOD 5) มิลลิกรัม/ลิตร 20

5. สารแขวนลอย (SS) มิลลิกรัม/ลิตร 30

6. เปอรมังกาเนต (PV) มิลลิกรัม/ลิตร 60

7. ซัลไฟดคิดเทียบเปนไฮโดรเจนซัลไฟด

(Sulfide as H 2 S)

มิลลิกรัม/ลิตร 1.0

8. ไซยาไนดคิดเทียบเปนไฮโดรเจนไซยาไนด

(Cyanide as HCN)

มิลลิกรัม/ลิตร 0.2

9. น้ํามันและไขมัน (Oil and Grease) มิลลิกรัม/ลิตร 5.0

10. ฟอรมัลดีไฮด (Formaldehyde) มิลลิกรัม/ลิตร 1.0

11. ฟนอลและครีโซลส (Phenol & Cresols) มิลลิกรัม/ลิตร 1.0

12. คลอรีนอิสระ (Free chlorine) มิลลิกรัม/ลิตร 1.0

13. ยาฆาแมลง มิลลิกรัม/ลิตร ไมมีเลย

14. สารกัมมันตรังสี มิลลิกรัม/ลิตร ไมมีเลย

15. สีและกลิ่น (Colour and Odour) - ไมเปนที่นารังเกียจ

16. น้ํามันทาร (Tar) - ไมมีเลย

17. โลหะหนัก

- สังกะส ี(Zn)

- โครเมียม (Cr)

- อารเซนิค (As)

- ทองแดง (Cu)

- ปรอท (Hg)

- แคดเมียม (Cd)

- บาเรียม (Ba)

- เซเลเนียม (Se)

- ตะกั่ว (Pb)

- นิเกิล (Ni)

- แมงกานีส (Mn)

มิลลิกรัม/ลิตร

มิลลิกรัม/ลิตร

มิลลิกรัม/ลิตร

มิลลิกรัม/ลิตร

มิลลิกรัม/ลิตร

มิลลิกรัม/ลิตร

มิลลิกรัม/ลิตร

มิลลิกรัม/ลิตร

มิลลิกรัม/ลิตร

มิลลิกรัม/ลิตร

มิลลิกรัม/ลิตร

5.0

0.3

0.25

1.0

0.005

0.03

1.0

0.02

0.1

0.2

5.0

แหลงที่มาของขอมูล : คําส่ังกรมชลประทานที่ 883/2532 เรื่อง การปองกันและการแกไขการระบายน้ําทิ้ง

ที่มีคุณภาพต่ําลงทางน้ําชลประทานและทางน้ําที่ตอเช่ือมกับทางน้ําชลประทานในเขต

พ้ืนที่โครงการชลประทาน ลงวันที่ 19 ธันวาคม 2532 (ภาคผนวก ฎ)

Page 196: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

ตารางท่ี ก.4 เกณฑคุณภาพนํ้าท่ีเหมาะสมตอการดํารงชีวิตของสัตวนํ้า

ลําดับ ดัชนีคุณภาพน้ํา หนวย ระดับความเขมขน

ท่ีเหมาะสม หมายเหตุ

1. อุณหภูมิ (Temperature) ° ซ 23 - 32 โดยมีการเปล่ียนแปลงตาม

ธรรมชาติและไมมีการ

เปล่ียนแปลงอยางรวดเร็ว

2. ความเปนกรด - ดาง (pH) - 5-9 โดยมีการเปล่ียนในรอบวัน

ไมควรเกินกวา 2.0 หนวย

3. ออกซิเจนละลาย (DO) มก/ล ต่ําสุด 3 ไมเกินกวา 110 % ของระดับ

อ่ิมตัวในน้ําตามสภาพตาง ๆ

4. คารบอนไดออกไซด (CO 2) มก/ล สูงสุด 30 และมีออกซิเจนละลาย

อยางเพียงพอ

5. ความขุน (Turbidity)

- ความโปรงใส (Transparency)

- สารแขวนลอย

(Suspended solids)

ซม.

มก/ล

30 - 60

สูงสุด 25

วัดดวย Secchi disc

แหลงที่มาของขอมูล : เอกสารวิชาการ สถาบันประมงนํ้าจืดแหงชาติ ฉบับที่ 75 / 2530 เร่ืองเกณฑ

คุณภาพนํ้าเพื่อการคุมครองทรัพยากรสัตวนํ้าจืด (ภาคผนวก ถ)

Page 197: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

ภาคผนวก ข

รูปจุดเก็บตัวอยางน้ํา

Page 198: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

รูปท่ี ข.1 จุดเก็บตัวอยางนํ้าจุดท่ี 1 : ตนนํ้ากระเสียว ฝายวังคัน

รูปท่ี ข.2 จุดเก็บตัวอยางนํ้าจุดท่ี 2 : บริเวณตนอางเก็บนํ้ากระเสียว

Page 199: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

รูปท่ี ข.3 จุดเก็บตัวอยางนํ้าจุดท่ี 3 : บริเวณกลางอางเก็บนํ้ากระเสียว

รูปท่ี ข.4 จุดเก็บตัวอยางนํ้าจุดท่ี 4 : บริเวณกระชังเลี้ยงปลาในอางเก็บนํ้ากระเสียว

Page 200: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

รูปท่ี ข.5 จุดเก็บตัวอยางนํ้าจุดท่ี 5 : บริเวณทายอางเก็บนํ้ากระเสียว

รูปท่ี ข.6 จุดเก็บตัวอยางนํ้าจุดท่ี 6 : ฝายวิทยาลัยเกษตร

Page 201: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

รูปท่ี ข.7 จุดเก็บตัวอยางนํ้าจุดท่ี 7 : โรงงานนํ้าตาล

รูปท่ี ข.8 จุดเก็บตัวอยางนํ้าจุดท่ี 8 : สะพานวังนํ้าโจน

Page 202: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

รูปท่ี ข.9 จุดเก็บตัวอยางนํ้าจุดท่ี 9 : ระบบสงนํ้า

รูปท่ี ข.10 จุดเก็บตัวอยางนํ้าจุดท่ี 10 : ปลายลําหวยขจี

Page 203: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

รูปท่ี ข.11 จุดเก็บตัวอยางนํ้าจุดท่ี 11 : สะพานวัดไทร

รูปท่ี ข.12 การเก็บตัวอยางนํ้า

Page 204: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

รูปท่ี ข.13 การวิเคราะหคุณภาพนํ้าในภาคสนาม

รูปท่ี ข.14 ทีมงานวิจัย

Page 205: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

ภาคผนวก ค

ผลวิเคราะหคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีระหวาง 3 ฤดูกาล

Page 206: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

ตารางท่ี ค.1 เปรียบเทียบ อุณหภูมินํ้าระหวาง 3 ฤดู กาล แยกตามแตละจุดเก็บตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของโครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

จุดเก็บตัวอยางน้ํา

อุณหภูมนิ้ํา (องศาเซลเซียส)

ฤดูรอน ฤดูฝน ฤดูหนาว คาเฉลี่ยท้ัง 3 ฤดูกาล

ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย

บริเวณตนอางเก็บน้ํากระเสียว 29.0 – 30.2 29.6 29.5 – 33.6 31.0 24.5 – 26.7 25.7 24.5 – 33.6 29.3

บริเวณกลางอางเก็บน้ํากระเสียว 28.6 – 29.6 29.2 29.2 – 33.5 31.1 24.8 – 26.5 25.6 24.8 – 33.5 29.2

บริเวณกระชังเล้ียงปลา

ในอางเก็บน้ํากระเสียว

28.2 – 31.0 29.8 28.6 – 33.5 31.0 24.7 – 26.5 25.7 24.7 – 33.5 29.4

บริเวณทายอางเก็บน้ํากระเสียว 27.3 – 28.1 27.6 28.2 – 32.4 30.4 25.2 – 26.4 25.7 25.2 – 32.4 28.5

อางเก็บน้ํากระเสียว 27.3 – 31.0 29.0 28.2 – 33.6 30.9 24.5 – 26.7 25.7 24.5 – 33.6 29.1

ฝายวิทยาลัยเกษตร 28.3 – 29.3 28.8 29.0 – 32.4 30.7 25.1 – 27.2 26.3 25.1 – 32.4 29.1

โรงงานน้ําตาล 28.9 – 29.9 29.3 29.5 – 32.5 31.0 25.1 – 27.1 26.3 25.1 – 32.5 29.4

สะพานวังน้ําโจน 29.1 – 29.9 29.6 29.3 – 32.8 31.0 24.9 – 26.9 26.1 24.9 – 32.8 29.4

ระบบสงน้ํา 28.8 – 31.4 30.1 29.1 – 33.8 31.6 26.5 – 28.4 27.2 26.5 – 33.8 30.1

ปลายลําหวยขจ ี 32.3 – 32.6 32.4 28.1 – 34.6 31.4 25.5 – 27.9 26.7 25.5 – 34.6 30.5

สะพานวัดไทร 31.0 – 33.4 31.9 28.4 – 33.5 31.4 26.2 – 28.5 27.2 26.2 – 33.5 30.5

ทางน้ําชลประทาน 28.3 – 33.4 30.3 28.1 – 34.6 31.2 24.9 – 28.5 26.6 24.9 – 34.6 29.8

จุดเฝาระวังคุณภาพน้ํากอนไหล

ลงอางเก็บน้ํากระเสียว

27.8 – 29.9 29.0 26.3 – 33.0 30.0 24.6 – 25.2 24.9 24.6 – 33.0 28.5

Page 207: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ
Page 208: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

ตารางท่ี ค.2 เปรียบเทียบ ความนําไฟฟาระหวาง 3 ฤดู กาล แยกตามแตละจุดเก็บตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของโครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

จุดเก็บตัวอยางน้ํา

ความนําไฟฟา (ไมโครโมสตอเซนติเมตร)

ฤดูรอน ฤดูฝน ฤดูหนาว คาเฉลี่ยท้ัง 3 ฤดูกาล

ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย

บริเวณตนอางเก็บน้ํากระเสียว 249 – 258 254 211 – 295 251 211 – 236 227 211 – 295 246

บริเวณกลางอางเก็บน้ํากระเสียว 245 – 254 250 215 – 294 252 209 – 232 223 209 – 294 244

บริเวณกระชังเล้ียงปลา

ในอางเก็บน้ํากระเสียว

246 – 257 251 217 – 295 254 210 – 235 225 210 – 295 246

บริเวณทายอางเก็บน้ํากระเสียว 247 – 255 252 217 – 295 258 211 – 232 224 211 – 295 248

อางเก็บน้ํากระเสียว 245 - 258 252 211 - 295 254 209 - 236 225 209 - 295 246

ฝายวิทยาลัยเกษตร 252 – 283 263 216 – 304 266 214 – 271 240 214 – 304 259

โรงงานน้ําตาล 254 – 297 269 217 – 309 270 219 – 295 253 217 – 309 266

สะพานวังน้ําโจน 254 – 297 269 224 – 396 305 226 – 302 266 224 – 396 286

ระบบสงน้ํา 258 – 363 293 228 – 404 301 227 – 320 276 227 – 404 293

ปลายลําหวยขจ ี 331 – 373 351 208 – 395 293 241 – 358 306 208 – 395 310

สะพานวัดไทร 286 – 321 303 216 – 402 306 241 – 258 249 216 – 402 291

ทางน้ําชลประทาน 252 - 373 291 208 - 404 290 214 - 358 265 208 - 404 284

จุดเฝาระวังคุณภาพน้ํากอนไหล

ลงอางเก็บน้ํากระเสียว

463 – 735 578 220 – 695 358 277 – 397 331 220 – 735 406

Page 209: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ
Page 210: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

ตารางท่ี ค.3 เปรียบเทียบ ความเค็มระหวาง 3 ฤดู กาล แยกตามแตละจุดเก็บตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของโครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

จุดเก็บตัวอยางน้ํา

ความเค็ม (กรัมตอลิตร)

ฤดูรอน ฤดูฝน ฤดูหนาว คาเฉลี่ยท้ัง 3 ฤดูกาล

ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย

บริเวณตนอางเก็บน้ํากระเสียว 0.1 – 0.1 0.1 0.1 – 0.1 0.1 0.1 – 0.1 0.1 0.1 – 0.1 0.1

บริเวณกลางอางเก็บน้ํากระเสียว 0.1 – 0.1 0.1 0.1 – 0.1 0.1 0.1 – 0.1 0.1 0.1 – 0.1 0.1

บริเวณกระชังเล้ียงปลา

ในอางเก็บน้ํากระเสียว

0.1 – 0.1 0.1 0.1 – 0.1 0.1 0.1 – 0.1 0.1 0.1 – 0.1 0.1

บริเวณทายอางเก็บน้ํากระเสียว 0.1 – 0.1 0.1 0.1 – 0.1 0.1 0.1 – 0.1 0.1 0.1 – 0.1 0.1

อางเก็บน้ํากระเสียว 0.1 – 0.1 0.1 0.1 – 0.1 0.1 0.1 – 0.1 0.1 0.1 – 0.1 0.1

ฝายวิทยาลัยเกษตร 0.1 – 0.1 0.1 0.1 – 0.1 0.1 0.1 – 0.1 0.1 0.1 – 0.1 0.1

โรงงานน้ําตาล 0.1 – 0.1 0.1 0.1 – 0.1 0.1 0.1 – 0.1 0.1 0.1 – 0.1 0.1

สะพานวังน้ําโจน 0.1 – 0.1 0.1 0.1 – 0.2 0.2 0.1 – 0.1 0.1 0.1 – 0.2 0.1

ระบบสงน้ํา 0.1 – 0.2 0.1 0.1 – 0.2 0.2 0.1 – 0.1 0.1 0.1 – 0.2 0.1

ปลายลําหวยขจ ี 0.2 – 0.2 0.2 0.1 – 0.2 0.2 0.1 – 0.2 0.1 0.1 – 0.2 0.2

สะพานวัดไทร 0.1 – 0.1 0.1 0.1 – 0.2 0.2 0.1 – 0.1 0.1 0.1 – 0.2 0.1

ทางน้ําชลประทาน 0.1 – 0.2 0.1 0.1 – 0.2 0.1 0.1 – 0.2 0.1 0.1 – 0.2 0.1

จุดเฝาระวังคุณภาพน้ํากอนไหล

ลงอางเก็บน้ํากระเสียว

0.2 – 0.4 0.3 0.1 – 0.3 0.2 0.1 – 0.2 0.2 0.1 – 0.4 0.2

Page 211: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ
Page 212: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

ตารางท่ี ค.4 เปรียบเทียบ ความขุนระหวาง 3 ฤดู กาล แยกตามแตละจุดเก็บตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของโครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

จุดเก็บตัวอยางน้ํา

ความขุน (เอ็นทียู)

ฤดูรอน ฤดูฝน ฤดูหนาว คาเฉลี่ยท้ัง 3 ฤดูกาล

ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย

บริเวณตนอางเก็บน้ํากระเสียว 7.0 – 24.4 14.9 6.4 – 132.0 39.5 11.1 – 15.4 13.9 6.4 – 132.0 27.0

บริเวณกลางอางเก็บน้ํากระเสียว 4.8 – 5.4 5.2 7.8 – 29.8 17.6 5.3 – 11.2 7.4 4.8 – 29.8 11.9

บริเวณกระชังเล้ียงปลา

ในอางเก็บน้ํากระเสียว

3.7 – 5.8 4.7 8.1 – 24.2 13.1 4.8 – 10.3 7.9 3.7 – 24.2 9.7

บริเวณทายอางเก็บน้ํากระเสียว 2.8 – 4.6 4.0 6.1 – 45.5 16.4 3.2 – 8.0 5.8 2.8 – 45.5 10.6

อางเก็บน้ํากระเสียว 2.8 – 24.4 7.2 6.1 – 132.0 21.6 3.2 – 15.4 8.7 2.8 – 132.0 14.8

ฝายวิทยาลัยเกษตร 3.4 – 6.6 5.0 6.0 – 147.0 43.6 4.3 – 12.3 7.0 3.4 – 147.0 24.8

โรงงานน้ําตาล 12.0 – 12.3 12.2 9.4 – 197.0 71.5 12.5 – 32.5 19.7 9.4 – 197.0 43.7

สะพานวังน้ําโจน 9.4 – 14.2 12.0 10.5 – 203.0 74.0 10.4 – 41.4 22.2 9.4 – 203.0 45.6

ระบบสงน้ํา 7.2 – 14.6 12.0 9.0 – 244.0 75.3 15.8 – 49.0 27.1 7.2 – 244.0 47.4

ปลายลําหวยขจ ี 19.0 – 29.8 23.7 8.2 – 469.0 121.5 18.3 – 75.7 51.6 8.2 – 469.0 79.6

สะพานวัดไทร 6.1 – 85.3 36.2 17.5 – 484.0 129.1 34.9 – 92.0 57.2 6.1 – 484.0 87.9

ทางน้ําชลประทาน 3.4 – 85.3 16.9 6.0 – 484.0 85.8 4.3 – 92.0 30.8 3.4 – 484.0 46.1

จุดเฝาระวังคุณภาพน้ํากอนไหล

ลงอางเก็บน้ํากระเสียว

20.8 – 109.0 67.5 57.0 – 1,067 417.7 17.5 – 112.0 69.1 17.5 – 1,067 243.0

Page 213: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ
Page 214: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

ตารางท่ี ค.5 เปรียบเทียบปริมาณสารแขวนลอยระหวาง 3 ฤดูกาล แยกตามแตละจุดเก็บตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของโครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

จุดเก็บตัวอยางน้ํา

ปริมาณสารแขวนลอย (มิลลิกรัมตอลิตร)

ฤดูรอน ฤดูฝน ฤดูหนาว คาเฉลี่ยท้ัง 3 ฤดูกาล

ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย

บริเวณตนอางเก็บน้ํากระเสียว 3.43 – 18.50 11.75 9.00 – 89.00 30.22 8.57 – 14.86 12.29 3.43 – 89.00 21.12

บริเวณกลางอางเก็บน้ํากระเสียว 1.00 – 3.60 2.53 10.33 – 22.43 14.46 3.71 – 10.28 6.76 1.00 – 22.43 9.55

บริเวณกระชังเล้ียงปลา

ในอางเก็บน้ํากระเสียว

4.50 – 7.71 5.77 6.67 – 23.60 14.07 6.00 – 10.00 7.33 4.50 – 23.60 10.31

บริเวณทายอางเก็บน้ํากระเสียว 0.57 – 5.25 3.36 2.86 – 46.75 14.72 4.57 – 7.14 5.81 0.57 – 46.75 9.65

อางเก็บน้ํากระเสียว 0.57 – 18.50 5.85 2.86 – 89.00 18.37 3.71 – 14.86 8.04 0.57 – 89.00 12.66

ฝายวิทยาลัยเกษตร 1.14 – 8.50 5.38 0.86 – 58.67 22.81 3.71 – 10.57 7.33 0.86 – 58.67 14.58

โรงงานน้ําตาล 7.43 – 20.86 15.76 10.00 – 111.00 42.24 12.00 – 36.80 22.65 7.43 – 111.00 30.72

สะพานวังน้ําโจน 4.25 – 20.86 12.95 10.75 – 111.00 55.11 9.43 – 57.20 27.26 4.25 – 111.00 37.61

ระบบสงน้ํา 7.67 – 22.67 14.70 5.75 – 146.00 54.28 14.80 – 72.00 35.12 5.75 – 146.00 39.60

ปลายลําหวยขจ ี 11.33 – 49.67 25.47 9.50 – 302.00 94.33 22.28 – 100.67 74.15 9.50 – 302.00 72.07

สะพานวัดไทร 8.60 – 127.33 51.98 23.43 – 308.00 101.66 36.40 – 118.67 72.58 8.60 – 308.00 81.97

ทางน้ําชลประทาน 1.14 – 127.33 21.04 0.86 – 308.00 61.74 3.71 – 118.67 39.85 0.86 – 308.00 46.09

จุดเฝาระวังคุณภาพน้ํากอนไหล

ลงอางเก็บน้ํากระเสียว

26.80 – 98.67 66.05 49.00 – 808.00 371.56 27.43 – 116.00 73.14 26.80 – 808.00 220.58

Page 215: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ
Page 216: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

ตารางท่ี ค.6 เปรียบเทียบ ปริมาณของแข็งท้ังหมดท่ีละลายในนํ้าระหวาง 3 ฤดูกาล แยกตามแตละจุดเก็บตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน

ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

จุดเก็บตัวอยางน้ํา

ปริมาณของแข็งท้ังหมดท่ีละลายในน้ํา (มิลลิกรัมตอลิตร)

ฤดูรอน ฤดูฝน ฤดูหนาว คาเฉลี่ยท้ัง 3 ฤดูกาล

ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย

บริเวณตนอางเก็บน้ํากระเสียว 152 – 188 170 120 – 224 149 102 – 142 126 102 – 224 148

บริเวณกลางอางเก็บน้ํากระเสียว 138 – 162 153 108 – 182 144 130 – 158 141 108 – 182 146

บริเวณกระชังเล้ียงปลา

ในอางเก็บน้ํากระเสียว

160 – 174 165 120 – 220 153 108 – 130 118 108 – 220 147

บริเวณทายอางเก็บน้ํากระเสียว 162 – 166 164 135 – 198 164 110 – 148 132 110 – 198 156

อางเก็บน้ํากระเสียว 138 - 188 163 108 - 224 152 102 - 158 129 102 - 224 149

ฝายวิทยาลัยเกษตร 160 – 176 167 130 – 202 163 142 – 152 147 130 – 202 160

โรงงานน้ําตาล 154 – 180 164 130 – 180 158 132 – 186 153 130 – 186 158

สะพานวังน้ําโจน 152 – 200 170 144 – 280 186 130 – 162 151 130 – 280 173

ระบบสงน้ํา 160 – 210 183 140 – 238 189 142 – 196 171 140 – 238 183

ปลายลําหวยขจ ี 214 – 232 222 110 – 230 188 166 – 254 209 110 – 254 202

สะพานวัดไทร 182 – 198 191 90 – 268 201 156 – 168 161 90 – 268 188

ทางน้ําชลประทาน 152 - 232 183 90 - 280 181 130 - 254 165 90 - 280 177

จุดเฝาระวังคุณภาพน้ํากอนไหล

ลงอางเก็บน้ํากระเสียว

300 – 410 350 104 – 380 214 172 – 258 207 104 – 410 246

Page 217: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ
Page 218: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

ตารางท่ี ค.7 เปรียบเทียบความเปนกรด - ดางระหวาง 3 ฤดูกาล แยกตามแตละจุดเก็บตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของโครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

จุดเก็บตัวอยางน้ํา

ความเปนกรด – ดาง

ฤดูรอน ฤดูฝน ฤดูหนาว คาเฉลี่ยท้ัง 3 ฤดูกาล

ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย

บริเวณตนอางเก็บน้ํากระเสียว 8.0 – 8.4 8.2 6.5 – 8.5 7.3 6.7 – 7.8 7.4 6.5 – 8.5 7.6

บริเวณกลางอางเก็บน้ํากระเสียว 8.1 – 8.6 8.4 6.8 – 8.7 7.5 7.6 – 8.2 7.9 6.8 – 8.7 7.8

บริเวณกระชังเล้ียงปลา

ในอางเก็บน้ํากระเสียว

8.2 – 8.6 8.4 7.0 – 8.7 7.6 7.4 – 8.4 7.9 7.0 – 8.7 7.9

บริเวณทายอางเก็บน้ํากระเสียว 6.4 – 6.8 6.5 6.5 – 8.1 7.3 7.5 – 8.1 7.8 6.4 – 8.1 7.2

อางเก็บน้ํากระเสียว 6.4 – 8.6 7.9 6.5 – 8.7 7.4 6.7 – 8.4 7.8 6.4 – 8.7 7.6

ฝายวิทยาลัยเกษตร 8.0 – 8.1 8.0 6.4 – 8.1 7.3 6.6 – 7.6 7.3 6.4 – 8.1 7.5

โรงงานน้ําตาล 7.9 – 8.0 7.9 7.0 – 8.0 7.5 7.5 – 8.0 7.7 7.0 – 8.0 7.6

สะพานวังน้ําโจน 7.8 – 8.0 7.9 6.6 – 8.0 7.4 7.0 – 7.6 7.4 6.6 – 8.0 7.6

ระบบสงน้ํา 7.9 – 8.0 8.0 6.7 – 8.0 7.5 7.5 – 8.0 7.7 6.7 – 8.0 7.6

ปลายลําหวยขจ ี 7.8 – 7.9 7.9 6.7 – 7.8 7.5 6.7 – 7.8 7.2 6.7 – 7.9 7.5

สะพานวัดไทร 7.6 – 7.7 7.6 6.7 – 7.7 7.4 6.6 – 7.8 7.3 6.6 – 7.8 7.4

ทางน้ําชลประทาน 7.6 – 8.1 7.9 6.4 – 8.1 7.4 6.6 – 8.0 7.4 6.4 – 8.1 7.6

จุดเฝาระวังคุณภาพน้ํากอนไหล

ลงอางเก็บน้ํากระเสียว

7.3 – 7.9 7.6 6.4 – 8.0 7.2 6.7 – 7.8 7.4 6.4 – 8.0 7.3

Page 219: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ
Page 220: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

ตารางท่ี ค.8 เปรียบเทียบ ปริมาณออกซิเจนละลายในนํ้าระหวาง 3 ฤดู กาล แยกตามแตละจุดเก็บตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ

โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

จุดเก็บตัวอยางน้ํา

ปริมาณออกซิเจนละลายในน้ํา (มิลลิกรัมตอลิตร)

ฤดูรอน ฤดูฝน ฤดูหนาว คาเฉลี่ยท้ัง 3 ฤดูกาล

ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย

บริเวณตนอางเก็บน้ํากระเสียว 5.13 – 5.99 5.63 3.66 – 6.22 4.97 4.16 – 5.26 4.77 3.66 – 6.22 5.09

บริเวณกลางอางเก็บน้ํากระเสียว 5.11 – 6.34 5.64 4.11 – 6.07 4.78 4.47 – 5.39 4.94 4.11 – 6.34 5.03

บริเวณกระชังเล้ียงปลา

ในอางเก็บน้ํากระเสียว

4.71 – 5.99 5.40 3.69 – 5.94 4.52 4.47 – 6.12 5.11 3.69 – 6.12 4.89

บริเวณทายอางเก็บน้ํากระเสียว 4.94 – 6.26 5.53 4.56 – 6.00 5.08 4.28 – 6.56 5.38 4.28 – 6.56 5.27

อางเก็บน้ํากระเสียว 4.71 – 6.34 5.55 3.66 – 6.22 4.84 4.16 – 6.56 5.05 3.66 – 6.56 5.07

ฝายวิทยาลัยเกษตร 4.76 – 5.15 4.93 3.43 – 5.75 4.60 4.96 – 5.73 5.47 3.43 – 5.75 4.90

โรงงานน้ําตาล 4.28 – 5.81 5.22 4.23 – 5.03 4.72 4.75 – 5.73 5.16 4.23 – 5.81 4.95

สะพานวังน้ําโจน 4.64 – 5.91 5.44 3.95 – 5.31 4.52 4.62 – 5.81 5.18 3.95 – 5.91 4.92

ระบบสงน้ํา 4.75 – 5.52 5.10 3.45 – 4.67 3.98 4.72 – 5.39 5.04 3.45 – 5.52 4.52

ปลายลําหวยขจ ี 4.65 – 5.53 5.21 3.95 – 5.38 4.65 5.03 – 5.91 5.46 3.95 – 5.91 4.99

สะพานวัดไทร 1.96 – 3.39 2.52 2.79 – 5.07 3.83 3.47 – 4.86 4.17 1.96 – 5.07 3.59

ทางน้ําชลประทาน 1.96 – 5.91 4.74 2.79 – 5.75 4.38 3.47 – 5.91 5.08 1.96 – 5.91 4.64

จุดเฝาระวังคุณภาพน้ํากอนไหล

ลงอางเก็บน้ํากระเสียว

3.84 – 5.33 4.73 4.01 – 6.02 5.05 4.54 – 5.40 5.06 3.84 – 6.02 4.98

Page 221: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ
Page 222: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

ตารางท่ี ค.9 เปรียบเทียบ ปริมาณบีโอดีระหวาง 3 ฤดู กาล แยกตามแตละจุดเก็บตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของโครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

จุดเก็บตัวอยางน้ํา

ปริมาณบีโอดี (มิลลิกรัมตอลิตร)

ฤดูรอน ฤดูฝน ฤดูหนาว คาเฉลี่ยท้ัง 3 ฤดูกาล

ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย

บริเวณตนอางเก็บน้ํากระเสียว 2.40 – 2.80 2.53 1.40 – 4.82 2.93 1.01 – 2.02 1.61 1.01 – 4.82 2.50

บริเวณกลางอางเก็บน้ํากระเสียว 2.40 – 2.80 2.67 1.40 – 3.61 2.59 1.41 – 2.02 1.82 1.40 – 3.61 2.42

บริเวณกระชังเล้ียงปลา

ในอางเก็บน้ํากระเสียว

1.80 – 3.00 2.47 2.01 – 4.42 2.81 1.21 – 2.82 1.95 1.21 – 4.42 2.51

บริเวณทายอางเก็บน้ํากระเสียว 1.80 – 2.00 1.93 1.00 – 3.21 2.22 1.21 – 1.81 1.48 1.00 – 3.21 1.96

อางเก็บน้ํากระเสียว 1.80 – 3.00 2.40 1.00 – 4.82 2.64 1.01 – 2.82 1.71 1.00 – 4.82 2.35

ฝายวิทยาลัยเกษตร 1.20 – 2.00 1.47 1.00 – 7.83 2.80 1.01 – 2.42 1.82 1.00 – 7.83 2.22

โรงงานน้ําตาล 1.20 – 1.60 1.47 1.40 – 2.81 2.22 1.41 – 2.62 1.95 1.20 – 2.81 1.96

สะพานวังน้ําโจน 1.20 – 2.00 1.53 1.61 – 7.83 3.36 1.61 – 2.22 2.02 1.20 – 7.83 2.57

ระบบสงน้ํา 1.60 – 3.20 2.33 1.71 – 3.82 2.81 1.41 – 6.45 3.22 1.41 – 6.45 2.80

ปลายลําหวยขจ ี 1.20 – 1.80 1.47 1.91 – 6.42 3.65 1.41 – 2.42 1.81 1.20 – 6.42 2.64

สะพานวัดไทร 3.40 – 7.50 4.83 2.01 – 7.63 3.58 1.01 – 4.44 2.15 1.01 – 7.63 3.54

ทางน้ําชลประทาน 1.20 – 7.50 2.18 1.00 – 7.83 3.07 1.01 – 6.45 2.16 1.00 – 7.83 2.62

จุดเฝาระวังคุณภาพน้ํากอนไหล

ลงอางเก็บน้ํากระเสียว

4.00 – 5.40 4.73 1.40 – 5.90 3.86 1.61 – 11.49 5.11 1.40 – 11.49 4.39

Page 223: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ
Page 224: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

ตารางท่ี ค.10 เปรียบเทียบปริมาณซัลไฟดในรูปไฮโดรเจนซัลไฟดระหวาง 3 ฤดูกาล แยกตามแตละจุดเก็บตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน

ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

จุดเก็บตัวอยางน้ํา

ปริมาณซัลไฟดในรูปไฮโดรเจนซัลไฟด (มิลลิกรัมตอลิตร)

ฤดูรอน ฤดูฝน ฤดูหนาว คาเฉลี่ยท้ัง 3 ฤดูกาล

ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย

บริเวณตนอางเก็บน้ํากระเสียว 0.004 – 0.005 0.005 0.001 – 0.015 0.011 0.002 – 0.007 0.004 0.001 – 0.015 0.008

บริเวณกลางอางเก็บน้ํากระเสียว 0.004 – 0.005 0.004 0.000 – 0.018 0.010 0.000 – 0.005 0.002 0.000 – 0.018 0.007

บริเวณกระชังเล้ียงปลา

ในอางเก็บน้ํากระเสียว

0.003 – 0.005 0.004 0.002 – 0.016 0.007 0.000 – 0.005 0.002 0.000 – 0.016 0.005

บริเวณทายอางเก็บน้ํากระเสียว 0.003 – 0.005 0.004 0.002 – 0.017 0.009 0.000 – 0.004 0.002 0.000 – 0.017 0.006

อางเก็บน้ํากระเสียว 0.003 – 0.005 0.004 0.000 – 0.018 0.009 0.000 – 0.007 0.002 0.000 – 0.018 0.006

ฝายวิทยาลัยเกษตร 0.003 – 0.005 0.004 0.002 – 0.038 0.011 0.000 – 0.005 0.002 0.000 – 0.038 0.007

โรงงานน้ําตาล 0.002 – 0.010 0.006 0.004 – 0.035 0.012 0.004 – 0.011 0.007 0.002 – 0.035 0.009

สะพานวังน้ําโจน 0.006 – 0.009 0.007 0.005 – 0.046 0.020 0.002 – 0.006 0.005 0.002 – 0.046 0.013

ระบบสงน้ํา 0.006 – 0.008 0.007 0.005 – 0.042 0.020 0.000 – 0.009 0.004 0.000 – 0.042 0.013

ปลายลําหวยขจ ี 0.009 – 0.021 0.016 0.002 – 0.058 0.022 0.011 – 0.014 0.013 0.002 – 0.058 0.018

สะพานวัดไทร 0.004 – 0.022 0.011 0.008 – 0.045 0.018 0.014 – 0.016 0.015 0.004 – 0.045 0.015

ทางน้ําชลประทาน 0.002 – 0.022 0.008 0.002 – 0.058 0.017 0.000 – 0.016 0.008 0.000 – 0.058 0.012

จุดเฝาระวังคุณภาพน้ํากอนไหล

ลงอางเก็บน้ํากระเสียว

0.010 – 0.027 0.021 0.008 – 0.092 0.037 0.000 – 0.043 0.014 0.000 – 0.092 0.027

Page 225: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ
Page 226: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

ตารางท่ี ค.11 เปรียบเทียบปริมาณฟอสเฟตฟอสฟอรัสระหวาง 3 ฤดูกาล แยกตามแตละจุดเก็บตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของโครงการ

สงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

จุดเก็บตัวอยางน้ํา

ปริมาณฟอสเฟตฟอสฟอรัส (มิลลิกรัมตอลิตร)

ฤดูรอน ฤดูฝน ฤดูหนาว คาเฉลี่ยท้ัง 3 ฤดูกาล

ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย

บริเวณตนอางเก็บน้ํากระเสียว 0.001 – 0.011 0.004 0.001 – 0.014 0.003 0.001 – 0.008 0.003 0.001 – 0.014 0.004

บริเวณกลางอางเก็บน้ํากระเสียว 0.001 – 0.001 0.001 0.001 – 0.002 0.001 0.001 – 0.005 0.002 0.001 – 0.005 0.001

บริเวณกระชังเล้ียงปลา

ในอางเก็บน้ํากระเสียว

0.001 – 0.001 0.001 0.001 – 0.002 0.001 0.001 – 0.006 0.003 0.001 – 0.006 0.002

บริเวณทายอางเก็บน้ํากระเสียว 0.001 – 0.001 0.001 0.001 – 0.012 0.003 0.001 – 0.001 0.001 0.001 – 0.012 0.002

อางเก็บน้ํากระเสียว 0.001 – 0.011 0.002 0.001 – 0.014 0.002 0.001 – 0.008 0.002 0.001 – 0.014 0.002

ฝายวิทยาลัยเกษตร 0.001 – 0.001 0.001 0.001 – 0.014 0.005 0.001 – 0.008 0.003 0.001 – 0.014 0.004

โรงงานน้ําตาล 0.001 – 0.001 0.001 0.001 – 0.027 0.011 0.001 – 0.001 0.001 0.001 – 0.027 0.006

สะพานวังน้ําโจน 0.001 – 0.001 0.001 0.001 – 0.028 0.012 0.001 – 0.002 0.001 0.001 – 0.028 0.007

ระบบสงน้ํา 0.001 – 0.090 0.031 0.001 – 0.217 0.082 0.001 – 0.076 0.028 0.001 – 0.217 0.056

ปลายลําหวยขจ ี 0.001 – 0.036 0.021 0.001 – 0.112 0.037 0.006 – 0.046 0.020 0.001 – 0.112 0.029

สะพานวัดไทร 0.047 – 1.356 0.541 0.003 – 0.439 0.106 0.008 – 0.094 0.040 0.003 – 1.356 0.198

ทางน้ําชลประทาน 0.001 – 1.356 0.099 0.001 – 0.439 0.042 0.001 – 0.094 0.016 0.001 – 1.356 0.050

จุดเฝาระวังคุณภาพน้ํากอนไหล

ลงอางเก็บน้ํากระเสียว

0.003 – 0.022 0.013 0.001 – 0.164 0.059 0.061 – 0.074 0.070 0.001 – 0.164 0.050

Page 227: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ
Page 228: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

ตารางท่ี ค.12 เปรียบเทียบ ปริมาณไนไตรท - ไนโตรเจนระหวาง 3 ฤดู กาล แยกตามแตละจุดเก็บตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ

โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

จุดเก็บตัวอยางน้ํา

ปริมาณไนไตรท – ไนโตรเจน (มิลลิกรัมตอลิตร)

ฤดูรอน ฤดูฝน ฤดูหนาว คาเฉลี่ยท้ัง 3 ฤดูกาล

ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย

บริเวณตนอางเก็บน้ํากระเสียว 0.001 – 0.001 0.001 0.001 – 0.020 0.005 0.001 – 0.006 0.003 0.001 – 0.020 0.004

บริเวณกลางอางเก็บน้ํากระเสียว 0.001 – 0.001 0.001 0.001 – 0.008 0.003 0.001 – 0.001 0.001 0.001 – 0.008 0.002

บริเวณกระชังเล้ียงปลา

ในอางเก็บน้ํากระเสียว

0.001 – 0.001 0.001 0.001 – 0.007 0.003 0.001 – 0.003 0.002 0.001 – 0.007 0.002

บริเวณทายอางเก็บน้ํากระเสียว 0.001 – 0.005 0.002 0.004 – 0.115 0.023 0.001 – 0.003 0.002 0.001 – 0.115 0.013

อางเก็บน้ํากระเสียว 0.001 – 0.005 0.001 0.001 – 0.115 0.009 0.001 – 0.006 0.002 0.001 – 0.115 0.005

ฝายวิทยาลัยเกษตร 0.001 – 0.008 0.005 0.004 – 0.093 0.024 0.001 – 0.008 0.004 0.001 – 0.093 0.014

โรงงานน้ําตาล 0.001 – 0.004 0.003 0.006 – 0.079 0.025 0.001 – 0.009 0.005 0.001 – 0.079 0.014

สะพานวังน้ําโจน 0.001 – 0.010 0.005 0.008 – 0.078 0.026 0.002 – 0.008 0.005 0.001 – 0.078 0.015

ระบบสงน้ํา 0.005 – 0.042 0.019 0.004 – 0.128 0.052 0.007 – 0.171 0.064 0.004 – 0.171 0.047

ปลายลําหวยขจ ี 0.001 – 0.018 0.012 0.009 – 0.160 0.043 0.008 – 0.015 0.012 0.001 – 0.160 0.027

สะพานวัดไทร 0.011 – 0.032 0.018 0.009 – 0.144 0.040 0.005 – 0.011 0.008 0.005 – 0.144 0.027

ทางน้ําชลประทาน 0.001 – 0.042 0.010 0.004 – 0.160 0.035 0.001 – 0.171 0.016 0.001 – 0.171 0.024

จุดเฝาระวังคุณภาพน้ํากอนไหล

ลงอางเก็บน้ํากระเสียว

0.001 – 0.300 0.170 0.014 – 0.722 0.219 0.046 – 0.160 0.093 0.001 – 0.722 0.175

Page 229: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ
Page 230: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

ตารางท่ี ค.13 เปรียบเทียบ ปริมาณไนเตรท - ไนโตรเจนระหวาง 3 ฤดู กาล แยกตามแตละจุดเก็บตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ

โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

จุดเก็บตัวอยางน้ํา

ปริมาณไนเตรท – ไนโตรเจน (มิลลิกรัมตอลิตร)

ฤดูรอน ฤดูฝน ฤดูหนาว คาเฉลี่ยท้ัง 3 ฤดูกาล

ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย

บริเวณตนอางเก็บน้ํากระเสียว 0.001 – 0.028 0.014 0.064 – 0.398 0.256 0.023 – 0.135 0.079 0.001 – 0.398 0.152

บริเวณกลางอางเก็บน้ํากระเสียว 0.007 – 0.014 0.010 0.028 – 0.190 0.121 0.032 – 0.063 0.049 0.007 – 0.190 0.076

บริเวณกระชังเล้ียงปลา

ในอางเก็บน้ํากระเสียว

0.001 – 0.010 0.006 0.046 – 0.349 0.161 0.048 – 0.071 0.060 0.001 – 0.349 0.097

บริเวณทายอางเก็บน้ํากระเสียว 0.006 – 0.022 0.014 0.011 – 0.309 0.162 0.018 – 0.059 0.035 0.006 – 0.309 0.093

อางเก็บน้ํากระเสียว 0.001 – 0.028 0.011 0.011 – 0.398 0.175 0.018 – 0.135 0.056 0.001 – 0.398 0.104

ฝายวิทยาลัยเกษตร 0.033 – 0.085 0.052 0.055 – 0.402 0.223 0.011 – 0.142 0.064 0.011 – 0.402 0.140

โรงงานน้ําตาล 0.032 – 0.064 0.053 0.131 – 0.780 0.334 0.012 – 0.080 0.054 0.012 – 0.780 0.194

สะพานวังน้ําโจน 0.066 – 0.104 0.081 0.154 – 0.866 0.377 0.029 – 0.138 0.083 0.029 – 0.866 0.230

ระบบสงน้ํา 0.123 – 0.541 0.271 0.098 – 1.222 0.539 0.012 – 0.548 0.239 0.012 – 1.222 0.397

ปลายลําหวยขจ ี 0.006 – 0.336 0.159 0.082 – 4.830 0.980 0.073 – 0.528 0.256 0.006 – 4.830 0.594

สะพานวัดไทร 0.037 – 0.415 0.191 0.075 – 4.500 0.976 0.165 – 0.199 0.179 0.037 – 4.500 0.581

ทางน้ําชลประทาน 0.006 – 0.541 0.134 0.055 – 4.830 0.572 0.011 – 0.548 0.146 0.006 – 4.830 0.356

จุดเฝาระวังคุณภาพน้ํากอนไหล

ลงอางเก็บน้ํากระเสียว

0.026 – 0.623 0.359 0.294 – 5.606 1.496 0.019 – 0.866 0.522 0.019 – 5.606 0.968

Page 231: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ
Page 232: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

ตารางท่ี ค.14 เปรียบเทียบ ปริมาณไนโตรเจนในรูปทีเคเอ็นระหวาง 3 ฤดูกาล แยกตามแตละจุดเก็บตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ

โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

จุดเก็บตัวอยางน้ํา

ปริมาณไนโตรเจนในรูปทีเคเอ็น (มิลลิกรัมตอลิตร)

ฤดูรอน ฤดูฝน ฤดูหนาว คาเฉลี่ยท้ัง 3 ฤดูกาล

ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย

บริเวณตนอางเก็บน้ํากระเสียว 0.57 – 0.96 0.75 0.77 – 1.29 1.01 0.60 – 0.71 0.65 0.57 – 1.29 0.85

บริเวณกลางอางเก็บน้ํากระเสียว 0.49 – 0.74 0.63 0.75 – 1.31 0.94 0.58 – 1.04 0.77 0.49 – 1.31 0.82

บริเวณกระชังเล้ียงปลา

ในอางเก็บน้ํากระเสียว

0.79 – 1.01 0.86 0.68 – 1.18 0.87 0.66 – 1.01 0.80 0.66 – 1.18 0.85

บริเวณทายอางเก็บน้ํากระเสียว 0.63 – 0.74 0.68 0.58 – 1.04 0.80 0.68 – 0.74 0.71 0.58 – 1.04 0.74

อางเก็บน้ํากระเสียว 0.49 – 1.01 0.73 0.58 – 1.31 0.90 0.58 – 1.04 0.73 0.49 – 1.31 0.82

ฝายวิทยาลัยเกษตร 0.60 – 0.85 0.72 0.77 – 0.98 0.87 0.58 – 0.85 0.69 0.58 – 0.98 0.79

โรงงานน้ําตาล 0.77 – 0.85 0.81 0.83 – 1.24 0.94 0.49 – 0.74 0.60 0.49 – 1.24 0.82

สะพานวังน้ําโจน 0.82 – 1.04 0.91 0.68 – 1.21 0.98 0.63 – 0.66 0.65 0.63 – 1.21 0.88

ระบบสงน้ํา 0.66 – 0.98 0.82 0.82 – 1.22 1.03 0.68 – 1.18 0.88 0.66 – 1.22 0.94

ปลายลําหวยขจ ี 0.90 – 7.61 3.29 0.85 – 1.72 1.21 0.68 – 0.85 0.77 0.68 – 7.61 1.62

สะพานวัดไทร 1.56 – 8.84 4.00 0.94 – 2.33 1.44 0.63 – 0.90 0.77 0.63 – 8.84 1.92

ทางน้ําชลประทาน 0.60 – 8.84 1.76 0.68 – 2.33 1.08 0.49 – 1.18 0.73 0.49 – 8.84 1.16

จุดเฝาระวังคุณภาพน้ํากอนไหล

ลงอางเก็บน้ํากระเสียว

1.42 – 1.75 1.64 1.13 – 3.53 1.88 0.60 – 1.53 0.95 0.60 – 3.53 1.58

Page 233: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ
Page 234: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

ตารางท่ี ค.15 เปรียบเทียบ ปริมาณแอมโมเนีย - ไนโตรเจนระหวาง 3 ฤดู กาล แยกตามแตละจุดเก็บตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ

โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

จุดเก็บตัวอยางน้ํา

ปริมาณแอมโมเนีย – ไนโตรเจน (มิลลิกรัมตอลิตร)

ฤดูรอน ฤดูฝน ฤดูหนาว คาเฉลี่ยท้ัง 3 ฤดูกาล

ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย

บริเวณตนอางเก็บน้ํากระเสียว 0.00 – 0.00 0.00 0.00 – 0.91 0.15 0.00 – 0.00 0.00 0.00 – 0.91 0.08

บริเวณกลางอางเก็บน้ํากระเสียว 0.00 – 0.00 0.00 0.00 – 0.00 0.00 0.00 – 0.00 0.00 0.00 – 0.00 0.00

บริเวณกระชังเล้ียงปลา

ในอางเก็บน้ํากระเสียว

0.00 – 0.00 0.00 0.00 – 0.27 0.04 0.00 – 0.00 0.00 0.00 – 0.27 0.02

บริเวณทายอางเก็บน้ํากระเสียว 0.00 – 0.00 0.00 0.00 – 0.00 0.00 0.00 – 0.00 0.00 0.00 - 0.00 0.00

อางเก็บน้ํากระเสียว 0.00 – 0.00 0.00 0.00 – 0.91 0.05 0.00 – 0.00 0.00 0.00 – 0.91 0.02

ฝายวิทยาลัยเกษตร 0.00 – 0.00 0.00 0.00 – 0.33 0.06 0.00 – 0.00 0.00 0.00 – 0.33 0.03

โรงงานน้ําตาล 0.00 – 0.00 0.00 0.00 – 0.00 0.00 0.00 – 0.00 0.00 0.00 – 0.00 0.00

สะพานวังน้ําโจน 0.00 – 0.00 0.00 0.00 – 0.00 0.00 0.00 – 0.00 0.00 0.00 – 0.00 0.00

ระบบสงน้ํา 0.00 – 0.00 0.00 0.00 – 0.00 0.00 0.00 – 0.00 0.00 0.00 – 0.00 0.00

ปลายลําหวยขจ ี 0.00 – 0.00 0.00 0.00 – 0.00 0.00 0.00 – 0.00 0.00 0.00 – 0.00 0.00

สะพานวัดไทร 0.00 – 5.04 1.68 0.00 – 0.55 0.09 0.00 – 0.00 0.00 0.00 – 5.04 0.46

ทางน้ําชลประทาน 0.00 – 5.04 0.28 0.00 – 0.55 0.02 0.00 – 0.00 0.00 0.00 – 5.04 0.08

จุดเฝาระวังคุณภาพน้ํากอนไหล

ลงอางเก็บน้ํากระเสียว

0.00 – 0.27 0.09 0.00 – 1.92 0.56 0.00 – 0.00 0.00 0.00 – 1.92 0.30

Page 235: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ
Page 236: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

ตารางท่ี ค.16 เปรียบเทียบ ปริมาณอินทรียสารไนโตรเจนระหวาง 3 ฤดู กาล แยกตามแตละจุดเก็บตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ

โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

จุดเก็บตัวอยางน้ํา

ปริมาณอินทรียสารไนโตรเจน (มิลลิกรัมตอลิตร)

ฤดูรอน ฤดูฝน ฤดูหนาว คาเฉลี่ยท้ัง 3 ฤดูกาล

ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย

บริเวณตนอางเก็บน้ํากระเสียว 0.71 – 0.96 0.82 0.19 – 1.29 0.86 0.60 – 0.71 0.65 0.19 – 1.29 0.79

บริเวณกลางอางเก็บน้ํากระเสียว 0.57 – 0.74 0.66 0.75 – 1.31 0.94 0.58 – 1.04 0.77 0.57 – 1.31 0.82

บริเวณกระชังเล้ียงปลา

ในอางเก็บน้ํากระเสียว

0.49 – 0.79 0.69 0.58 – 1.18 0.82 0.66 – 1.01 0.80 0.49 – 1.18 0.78

บริเวณทายอางเก็บน้ํากระเสียว 0.66 – 1.01 0.80 0.58 – 1.04 0.80 0.68 – 0.74 0.71 0.58 – 1.04 0.78

อางเก็บน้ํากระเสียว 0.49 – 1.01 0.74 0.19 – 1.31 0.85 0.58 – 1.04 0.73 0.19 – 1.31 0.79

ฝายวิทยาลัยเกษตร 0.60 – 0.75 0.67 0.47 – 0.98 0.82 0.58 – 0.85 0.69 0.47 – 0.98 0.75

โรงงานน้ําตาล 0.82 – 0.92 0.86 0.83 – 1.24 0.94 0.49 – 0.74 0.60 0.49 – 1.24 0.84

สะพานวังน้ําโจน 0.77 – 0.96 0.85 0.68 – 1.21 0.98 0.63 – 0.66 0.65 0.63 – 1.21 0.86

ระบบสงน้ํา 0.66 – 1.04 0.84 0.82 – 1.22 1.03 0.68 – 1.18 0.88 0.66 – 1.22 0.95

ปลายลําหวยขจ ี 0.90 – 1.37 1.08 0.85 – 1.72 1.21 0.68 – 0.85 0.77 0.68 – 1.72 1.07

สะพานวัดไทร 1.56 – 2.57 1.91 0.94 – 1.78 1.35 0.63 – 0.90 0.77 0.63 – 2.57 1.35

ทางน้ําชลประทาน 0.60 – 2.57 1.04 0.47 – 1.78 1.06 0.49 – 1.18 0.73 0.47 – 2.57 0.97

จุดเฝาระวังคุณภาพน้ํากอนไหล

ลงอางเก็บน้ํากระเสียว

1.42 – 1.75 1.55 1.00 – 2.24 1.38 0.60 – 1.53 0.95 0.60 – 2.24 1.31

Page 237: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ
Page 238: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

ตารางท่ี ค.17 เปรียบเทียบปริมาณไนโตรเจนท้ังหมดระหวาง 3 ฤดูกาล แยกตามแตละจุดเก็บตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของโครงการ

สงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

จุดเก็บตัวอยางน้ํา

ปริมาณไนโตรเจนท้ังหมด (มิลลิกรัมตอลิตร)

ฤดูรอน ฤดูฝน ฤดูหนาว คาเฉลี่ยท้ัง 3 ฤดูกาล

ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย

บริเวณตนอางเก็บน้ํากระเสียว 0.72 – 0.99 0.83 0.84 – 1.69 1.27 0.62 – 0.84 0.73 0.62 – 1.69 1.02

บริเวณกลางอางเก็บน้ํากระเสียว 0.58 – 0.75 0.67 0.84 – 1.72 1.09 0.61 – 1.10 0.81 0.58 – 1.72 0.91

บริเวณกระชังเล้ียงปลา

ในอางเก็บน้ํากระเสียว

0.49 – 0.80 0.70 0.89 – 1.28 1.03 0.72 – 1.06 0.86 0.49 – 1.28 0.90

บริเวณทายอางเก็บน้ํากระเสียว 0.65 – 1.02 0.81 0.74 – 1.46 0.98 0.73 – 0.74 0.74 0.65 – 1.46 0.88

อางเก็บน้ํากระเสียว 0.49 – 1.02 0.75 0.74 – 1.72 1.09 0.61 – 1.10 0.78 0.49 – 1.72 0.93

ฝายวิทยาลัยเกษตร 0.64 – 0.75 0.71 0.22 – 1.46 0.98 0.59 – 1.00 0.75 0.22 – 1.46 0.86

โรงงานน้ําตาล 0.88 – 0.91 0.89 1.02 – 1.76 1.30 0.51 – 0.81 0.66 0.51 – 1.76 1.04

สะพานวังน้ําโจน 0.88 – 0.95 0.91 0.85 – 1.87 1.38 0.66 – 0.81 0.74 0.66 – 1.87 1.10

ระบบสงน้ํา 0.79 – 1.62 1.13 1.06 – 2.16 1.62 0.70 – 1.90 1.19 0.70 – 2.16 1.39

ปลายลําหวยขจ ี 0.99 – 1.52 1.26 0.96 – 6.33 2.23 0.88 – 1.22 1.04 0.88 – 6.33 1.69

สะพานวัดไทร 1.76 – 12.70 5.48 1.04 – 5.93 2.46 0.82 – 1.11 0.96 0.82 – 12.70 2.84

ทางน้ําชลประทาน 0.64 – 12.70 1.73 0.22 – 6.33 1.66 0.51 – 1.90 0.89 0.22 – 12.70 1.49

จุดเฝาระวังคุณภาพน้ํากอนไหล

ลงอางเก็บน้ํากระเสียว

1.45 - -2.67 2.17 1.52 – 9.86 3.59 0.78 – 2.37 1.56 0.78 – 9.86 2.73

Page 239: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ
Page 240: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

ตารางท่ี ค.18 เปรียบเทียบ ปริมาณแคลเซียมระหวาง 3 ฤดูกาล แยกตามแตละจุดเก็บตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของโครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

จุดเก็บตัวอยางน้ํา

ปริมาณแคลเซียม (มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร)

ฤดูรอน ฤดูฝน ฤดูหนาว คาเฉลี่ยท้ัง 3 ฤดูกาล

ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย

บริเวณตนอางเก็บน้ํากระเสียว 1.81 – 2.11 1.98 1.46 – 2.06 1.71 1.66 – 1.81 1.73 1.46 – 2.11 1.78

บริเวณกลางอางเก็บน้ํากระเสียว 1.76 – 2.16 1.91 1.51 – 1.71 1.61 1.56 – 1.91 1.68 1.51 – 2.16 1.70

บริเวณกระชังเล้ียงปลา

ในอางเก็บน้ํากระเสียว

1.81 – 2.06 1.93 1.46 – 2.01 1.74 1.51 – 1.86 1.63 1.46 – 2.06 1.76

บริเวณทายอางเก็บน้ํากระเสียว 1.81 – 2.06 1.93 1.51 – 1.81 1.62 1.51 – 1.66 1.58 1.51 – 2.06 1.69

อางเก็บน้ํากระเสียว 1.76 – 2.16 1.94 1.46 – 2.06 1.67 1.51 – 1.91 1.65 1.46 – 2.16 1.73

ฝายวิทยาลัยเกษตร 1.81 – 2.01 1.89 1.51 – 1.71 1.64 1.56 – 2.01 1.74 1.51 – 2.01 1.73

โรงงานน้ําตาล 1.61 – 1.96 1.79 1.36 – 1.96 1.62 1.56 – 2.06 1.79 1.36 – 2.06 1.71

สะพานวังน้ําโจน 1.76 – 1.91 1.86 1.41 – 2.06 1.72 1.36 – 2.06 1.66 1.36 – 2.06 1.74

ระบบสงน้ํา 1.81 – 2.11 1.96 1.46 – 2.36 1.84 1.36 – 2.46 1.76 1.36 – 2.46 1.85

ปลายลําหวยขจ ี 1.61 – 2.06 1.89 1.41 – 2.46 1.73 1.51 – 2.11 1.73 1.41 – 2.46 1.77

สะพานวัดไทร 1.61 – 2.26 1.99 1.46 – 2.36 1.84 1.36 – 1.71 1.49 1.36 – 2.36 1.79

ทางน้ําชลประทาน 1.61 – 2.26 1.90 1.36 – 2.46 1.73 1.36 – 2.46 1.70 1.36 – 2.46 1.77

จุดเฝาระวังคุณภาพน้ํากอนไหล

ลงอางเก็บน้ํากระเสียว

2.66 – 3.02 2.86 1.71 – 2.56 2.10 2.11 – 2.76 2.41 1.71 – 3.02 2.37

Page 241: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ
Page 242: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

ตารางท่ี ค.19 เปรียบเทียบปริมาณแมกนีเซียมระหวาง 3 ฤดูกาล แยกตามแตละจุดเก็บตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของโครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

จุดเก็บตัวอยางน้ํา

ปริมาณแมกนีเซียม (มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร)

ฤดูรอน ฤดูฝน ฤดูหนาว คาเฉลี่ยท้ัง 3 ฤดูกาล

ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย

บริเวณตนอางเก็บน้ํากระเสียว 0.25 – 0.40 0.33 0.15 – 0.65 0.47 0.30 – 0.60 0.48 0.15 – 0.65 0.44

บริเวณกลางอางเก็บน้ํากระเสียว 0.20 – 0.50 0.37 0.30 – 0.70 0.58 0.40 – 0.75 0.53 0.20 – 0.75 0.51

บริเวณกระชังเล้ียงปลา

ในอางเก็บน้ํากระเสียว

0.25 – 0.35 0.30 0.20 – 0.80 0.48 0.50 – 0.65 0.57 0.20 – 0.80 0.46

บริเวณทายอางเก็บน้ํากระเสียว 0.35 – 0.60 0.45 0.45 – 0.70 0.58 0.45 – 0.70 0.60 0.35 – 0.70 0.55

อางเก็บน้ํากระเสียว 0.20 – 0.60 0.36 0.15 – 0.80 0.53 0.30 – 0.75 0.55 0.15 – 0.80 0.49

ฝายวิทยาลัยเกษตร 0.45 – 0.50 0.48 0.40 – 0.95 0.61 0.45 – 0.70 0.60 0.40 – 0.95 0.58

โรงงานน้ําตาล 0.35 – 0.85 0.66 0.45 – 0.95 0.72 0.25 – 0.85 0.61 0.25 – 0.95 0.68

สะพานวังน้ําโจน 0.40 – 0.70 0.60 0.45 – 0.90 0.65 0.65 – 0.96 0.82 0.40 – 0.96 0.68

ระบบสงน้ํา 0.50 – 0.80 0.65 0.30 – 0.75 0.53 0.50 – 1.00 0.72 0.30 – 1.00 0.61

ปลายลําหวยขจ ี 0.55 – 1.20 0.83 0.20 – 1.15 0.51 0.55 – 1.21 0.99 0.20 – 1.21 0.71

สะพานวัดไทร 0.40 – 0.50 0.45 0.15 – 0.91 0.51 0.55 – 0.65 0.62 0.15 – 0.91 0.52

ทางน้ําชลประทาน 0.35 – 1.20 0.61 0.15 – 1.15 0.59 0.25 – 1.21 0.73 0.15 – 1.21 0.63

จุดเฝาระวังคุณภาพน้ํากอนไหล

ลงอางเก็บน้ํากระเสียว

0.25 – 0.56 0.46 0.10 – 0.91 0.43 0.55 – 0.60 0.57 0.10 – 0.91 0.47

Page 243: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ
Page 244: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

ตารางท่ี ค.20 เปรียบเทียบ ปริมาณโซเดียมระหวาง 3 ฤดู กาล แยกตามแตละจุดเก็บตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของโครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

จุดเก็บตัวอยางน้ํา

ปริมาณโซเดียม (มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร)

ฤดูรอน ฤดูฝน ฤดูหนาว คาเฉลี่ยท้ัง 3 ฤดูกาล

ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย

บริเวณตนอางเก็บน้ํากระเสียว 0.28 – 0.35 0.31 0.19 – 0.41 0.32 0.13 – 0.19 0.17 0.13 – 0.41 0.28

บริเวณกลางอางเก็บน้ํากระเสียว 0.28 – 0.33 0.31 0.19 – 0.38 0.31 0.12 – 0.19 0.15 0.12 – 0.38 0.27

บริเวณกระชังเล้ียงปลา

ในอางเก็บน้ํากระเสียว

0.28 – 0.33 0.30 0.21 – 0.36 0.32 0.14 – 0.20 0.16 0.14 – 0.36 0.27

บริเวณทายอางเก็บน้ํากระเสียว 0.28 – 0.31 0.30 0.19 – 0.38 0.29 0.13 – 0.19 0.15 0.13 – 0.38 0.26

อางเก็บน้ํากระเสียว 0.28 – 0.35 0.30 0.19 – 0.41 0.31 0.12 – 0.20 0.16 0.12 – 0.41 0.27

ฝายวิทยาลัยเกษตร 0.26 – 0.43 0.33 0.22 – 0.43 0.33 0.14 – 0.29 0.20 0.14 – 0.43 0.30

โรงงานน้ําตาล 0.26 – 0.45 0.34 0.22 – 0.48 0.36 0.14 – 0.35 0.22 0.14 – 0.48 0.32

สะพานวังน้ําโจน 0.27 – 0.54 0.37 0.24 – 1.00 0.56 0.19 – 0.36 0.28 0.19 – 1.00 0.44

ระบบสงน้ํา 0.29 – 0.80 0.46 0.24 – 0.94 0.51 0.20 – 0.43 0.35 0.20 – 0.94 0.46

ปลายลําหวยขจ ี 0.68 – 0.90 0.77 0.31 – 0.96 0.61 0.24 – 0.57 0.45 0.24 – 0.96 0.61

สะพานวัดไทร 0.30 – 0.64 0.48 0.28 – 0.98 0.66 0.21 – 0.52 0.36 0.21 – 0.98 0.54

ทางน้ําชลประทาน 0.26 – 0.90 0.46 0.22 – 1.00 0.51 0.14 – 0.57 0.31 0.14 – 1.00 0.44

จุดเฝาระวังคุณภาพน้ํากอนไหล

ลงอางเก็บน้ํากระเสียว

0.61 – 2.76 1.61 0.19 – 1.80 0.66 0.20 – 0.74 0.41 0.19 – 2.76 0.84

Page 245: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ
Page 246: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

ตารางท่ี ค.21 เปรียบเทียบปริมาณโพแทสเซียมระหวาง 3 ฤดูกาล แยกตามแตละจุดเก็บตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของโครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

จุดเก็บตัวอยางน้ํา

ปริมาณโพแทสเซียม (มิลลิกรัมตอลิตร)

ฤดูรอน ฤดูฝน ฤดูหนาว คาเฉลี่ยท้ัง 3 ฤดูกาล

ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย

บริเวณตนอางเก็บน้ํากระเสียว 3.9 – 4.7 4.3 1.6 – 7.4 4.8 3.1 – 3.9 3.6 1.6 – 7.4 4.4

บริเวณกลางอางเก็บน้ํากระเสียว 3.9 – 4.7 4.3 3.9 – 7.0 5.1 3.1 – 3.9 3.6 3.1 – 7.0 4.5

บริเวณกระชังเล้ียงปลา

ในอางเก็บน้ํากระเสียว

3.1 – 4.7 3.8 3.9 – 6.2 5.1 3.1 – 3.9 3.6 3.1 – 6.2 4.4

บริเวณทายอางเก็บน้ํากระเสียว 3.1 – 4.7 3.9 3.9 – 5.9 5.0 2.7 – 3.9 3.4 2.7 – 5.9 4.3

อางเก็บน้ํากระเสียว 3.1 – 4.7 4.1 1.6 – 7.4 5.0 2.7 – 3.9 3.6 1.6 – 7.4 4.4

ฝายวิทยาลัยเกษตร 3.1 – 4.7 3.9 4.3 – 6.6 5.4 3.1 – 3.9 3.5 3.1 – 6.6 4.5

โรงงานน้ําตาล 3.1 – 4.7 4.0 4.3 – 7.0 5.6 3.5 – 4.3 3.9 3.1 – 7.0 4.8

สะพานวังน้ําโจน 4.3 – 5.5 4.8 5.9 – 9.0 7.2 3.9 – 4.7 4.3 3.9 – 9.0 5.9

ระบบสงน้ํา 4.7 – 8.2 6.0 5.5 – 10.6 7.4 3.9 – 6.6 5.2 3.9 – 10.6 6.5

ปลายลําหวยขจ ี 6.2 – 7.8 7.1 2.7 – 10.6 6.0 3.5 – 6.6 5.2 2.7 – 10.6 6.1

สะพานวัดไทร 5.5 – 6.2 5.9 4.3 – 10.2 6.6 3.9 – 4.3 4.0 3.9 – 10.2 5.8

ทางน้ําชลประทาน 3.1 – 8.2 5.3 2.7 – 10.6 6.4 3.1 – 6.6 4.4 2.7 – 10.6 5.6

จุดเฝาระวังคุณภาพน้ํากอนไหล

ลงอางเก็บน้ํากระเสียว

19.9 – 23.1 21.4 1.2 – 30.9 12.0 4.7 – 16.0 9.1 1.2 – 30.9 13.6

Page 247: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ
Page 248: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

ตารางท่ี ค.22 เปรียบเทียบ ปริมาณคารบอเนตระหวาง 3 ฤดูกาล แยกตามแตละจุดเก็บตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของโครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

จุดเก็บตัวอยางน้ํา

ปริมาณคารบอเนต (มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร)

ฤดูรอน ฤดูฝน ฤดูหนาว คาเฉลี่ยท้ัง 3 ฤดูกาล

ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย

บริเวณตนอางเก็บน้ํากระเสียว 0.00 – 0.47 0.25 0.00 – 0.36 0.06 0.00 – 0.00 0.00 0.00 – 0.47 0.09

บริเวณกลางอางเก็บน้ํากระเสียว 0.00 – 0.43 0.25 0.00 – 0.32 0.05 0.00 – 0.39 0.13 0.00 – 0.43 0.12

บริเวณกระชังเล้ียงปลา

ในอางเก็บน้ํากระเสียว

0.00 – 0.62 0.34 0.00 – 0.32 0.05 0.00 – 0.35 0.12 0.00 – 0.62 0.14

บริเวณทายอางเก็บน้ํากระเสียว 0.00 – 0.00 0.00 0.00 – 0.00 0.00 0.00 – 0.00 0.00 0.00 – 0.00 0.00

อางเก็บน้ํากระเสียว 0.00 – 0.62 0.21 0.00 – 0.36 0.04 0.00 – 0.39 0.06 0.00 – 0.62 0.09

ฝายวิทยาลัยเกษตร 0.00 – 0.00 0.00 0.00 – 0.00 0.00 0.00 – 0.00 0.00 0.00 – 0.00 0.00

โรงงานน้ําตาล 0.00 – 0.00 0.00 0.00 – 0.00 0.00 0.00 – 0.00 0.00 0.00 – 0.00 0.00

สะพานวังน้ําโจน 0.00 – 0.00 0.00 0.00 – 0.00 0.00 0.00 – 0.00 0.00 0.00 – 0.00 0.00

ระบบสงน้ํา 0.00 – 0.00 0.00 0.00 – 0.00 0.00 0.00 – 0.00 0.00 0.00 – 0.00 0.00

ปลายลําหวยขจ ี 0.00 – 0.00 0.00 0.00 – 0.00 0.00 0.00 – 0.00 0.00 0.00 – 0.00 0.00

สะพานวัดไทร 0.00 – 0.00 0.00 0.00 – 0.00 0.00 0.00 – 0.00 0.00 0.00 – 0.00 0.00

ทางน้ําชลประทาน 0.00 – 0.00 0.00 0.00 – 0.00 0.00 0.00 – 0.00 0.00 0.00 – 0.00 0.00

จุดเฝาระวังคุณภาพน้ํากอนไหล

ลงอางเก็บน้ํากระเสียว

0.00 – 0.00 0.00 0.00 – 0.00 0.00 0.00 – 0.00 0.00 0.00 – 0.00 0.00

Page 249: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ
Page 250: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

ตารางท่ี ค.23 เปรียบเทียบปริมาณไบคารบอเนตระหวาง 3 ฤดูกาล แยกตามแตละจุดเก็บตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของโครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

จุดเก็บตัวอยางน้ํา

ปริมาณไบคารบอเนต (มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร)

ฤดูรอน ฤดูฝน ฤดูหนาว คาเฉลี่ยท้ัง 3 ฤดูกาล

ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย

บริเวณตนอางเก็บน้ํากระเสียว 1.52 - 2.25 1.86 1.58 – 2.22 2.02 2.00 – 2.33 2.17 1.52 – 2.33 2.02

บริเวณกลางอางเก็บน้ํากระเสียว 1.50 – 2.25 1.82 1.58 - 2.20 2.00 1.60 – 2.31 1.96 1.50 – 2.31 1.95

บริเวณกระชังเล้ียงปลา

ในอางเก็บน้ํากระเสียว

1.29 – 2.23 1.71 1.68 – 2.11 1.99 1.64 – 2.33 1.98 1.29 – 2.33 1.92

บริเวณทายอางเก็บน้ํากระเสียว 2.19 – 2.23 2.21 1.78 – 2.22 2.08 2.00 – 2.27 2.10 1.78 – 2.27 2.12

อางเก็บน้ํากระเสียว 1.29 – 2.25 1.90 1.58 – 2.22 2.02 1.60 – 2.33 2.06 1.29 – 2.33 2.00

ฝายวิทยาลัยเกษตร 2.19 – 2.40 2.27 1.90 – 2.55 2.16 2.03 – 2.68 2.27 1.90 – 2.68 2.22

โรงงานน้ําตาล 2.19 – 2.54 2.33 1.93 – 2.49 2.21 2.03 – 2.88 2.39 1.93 – 2.88 2.28

สะพานวังน้ําโจน 2.13 – 2.38 2.25 1.95 – 2.88 2.33 2.11 – 2.88 2.45 1.95 – 2.88 2.34

ระบบสงน้ํา 2.19 – 2.89 2.47 1.99 – 2.94 2.32 2.13 – 2.89 2.48 1.99 – 2.94 2.40

ปลายลําหวยขจ ี 2.58 – 2.72 2.65 1.62 – 3.01 2.25 2.25 – 3.25 2.75 1.62 – 3.25 2.48

สะพานวัดไทร 2.46 – 2.58 2.53 1.62 – 3.22 2.35 1.94 – 2.21 2.11 1.62 – 3.22 2.33

ทางน้ําชลประทาน 2.13 – 2.89 2.42 1.62 – 3.22 2.27 1.94 – 3.25 2.41 1.62 – 3.25 2.34

จุดเฝาระวังคุณภาพน้ํากอนไหล

ลงอางเก็บน้ํากระเสียว

3.38 – 3.68 3.53 1.62 – 4.07 2.51 2.66 – 3.42 2.96 1.62 – 4.07 2.88

Page 251: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ
Page 252: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

ตารางท่ี ค.24 เปรียบเทียบ ปริมาณคลอไรดระหวาง 3 ฤดู กาล แยกตามแตละจุดเก็บตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของโครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

จุดเก็บตัวอยางน้ํา

ปริมาณคลอไรด (มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร)

ฤดูรอน ฤดูฝน ฤดูหนาว คาเฉลี่ยท้ัง 3 ฤดูกาล

ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย

บริเวณตนอางเก็บน้ํากระเสียว 0.30 – 0.33 0.32 0.21 – 0.65 0.36 0.16 – 0.19 0.18 0.16 – 0.65 0.30

บริเวณกลางอางเก็บน้ํากระเสียว 0.26 – 0.35 0.31 0.21 – 0.65 0.36 0.14 – 0.19 0.16 0.14 – 0.65 0.30

บริเวณกระชังเล้ียงปลา

ในอางเก็บน้ํากระเสียว

0.28 – 0.33 0.31 0.21 – 0.65 0.36 0.12 – 0.21 0.16 0.12 – 0.65 0.30

บริเวณทายอางเก็บน้ํากระเสียว 0.28 – 0.28 0.28 0.26 – 0.65 0.36 0.14 – 0.19 0.16 0.14 – 0.65 0.29

อางเก็บน้ํากระเสียว 0.26 – 0.35 0.31 0.21 – 0.65 0.36 0.12 – 0.21 0.16 0.12 – 0.65 0.30

ฝายวิทยาลัยเกษตร 0.26 – 0.38 0.31 0.21 – 0.65 0.39 0.16 – 0.28 0.21 0.16 – 0.65 0.33

โรงงานน้ําตาล 0.30 – 0.38 0.33 0.19 – 0.57 0.36 0.19 – 0.28 0.22 0.19 – 0.57 0.32

สะพานวังน้ําโจน 0.23 – 0.47 0.33 0.26 – 1.41 0.70 0.21 – 0.37 0.30 0.21 – 1.41 0.51

ระบบสงน้ํา 0.28 – 0.66 0.41 0.21 – 0.89 0.47 0.21 – 0.37 0.31 0.21 – 0.89 0.41

ปลายลําหวยขจ ี 0.44 – 0.68 0.55 0.28 – 0.76 0.53 0.23 – 0.42 0.36 0.23 – 0.76 0.49

สะพานวัดไทร 0.28 – 0.42 0.36 0.26 – 0.72 0.53 0.26 – 0.33 0.30 0.26 – 0.72 0.43

ทางน้ําชลประทาน 0.23 – 0.68 0.38 0.19 – 1.41 0.50 0.16 – 0.42 0.28 0.16 – 1.41 0.41

จุดเฝาระวังคุณภาพน้ํากอนไหล

ลงอางเก็บน้ํากระเสียว

1.12 – 3.24 1.95 0.21 – 2.11 0.74 0.21 – 0.61 0.36 0.21 – 3.24 0.95

Page 253: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ
Page 254: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

ตารางท่ี ค.25 เปรียบเทียบ ปริมาณซัลเฟตระหวาง 3 ฤดู กาล แยกตามแตละจุดเก็บตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของโครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

จุดเก็บตัวอยางน้ํา

ปริมาณซัลเฟต (มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร)

ฤดูรอน ฤดูฝน ฤดูหนาว คาเฉลี่ยท้ัง 3 ฤดูกาล

ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย

บริเวณตนอางเก็บน้ํากระเสียว 0.06 – 0.08 0.07 0.07 – 0.16 0.11 0.04 – 0.24 0.11 0.04 – 0.24 0.10

บริเวณกลางอางเก็บน้ํากระเสียว 0.04 – 0.07 0.05 0.03 – 0.34 0.13 0.02 – 0.15 0.07 0.02 – 0.34 0.10

บริเวณกระชังเล้ียงปลา

ในอางเก็บน้ํากระเสียว

0.04 – 0.08 0.06 0.02 – 0.14 0.07 0.02 – 0.20 0.10 0.02 – 0.20 0.08

บริเวณทายอางเก็บน้ํากระเสียว 0.04 – 0.07 0.06 0.02 – 0.14 0.07 0.05 – 0.29 0.14 0.02 – 0.29 0.09

อางเก็บน้ํากระเสียว 0.04 – 0.08 0.06 0.02 – 0.34 0.10 0.02 – 0.29 0.10 0.02 – 0.34 0.09

ฝายวิทยาลัยเกษตร 0.04 – 0.07 0.05 0.02 – 0.15 0.09 0.04 – 0.15 0.08 0.02 – 0.15 0.08

โรงงานน้ําตาล 0.07 – 0.10 0.08 0.02 – 0.14 0.08 0.07 – 0.14 0.10 0.02 – 0.14 0.08

สะพานวังน้ําโจน 0.05 – 0.14 0.09 0.05 – 0.18 0.13 0.06 – 0.14 0.11 0.05 – 0.18 0.11

ระบบสงน้ํา 0.07 – 0.10 0.08 0.11 – 0.23 0.17 0.08 – 0.26 0.15 0.07 – 0.26 0.14

ปลายลําหวยขจ ี 0.12 – 0.19 0.15 0.06 – 0.62 0.19 0.11 – 0.24 0.16 0.06 – 0.62 0.18

สะพานวัดไทร 0.09 – 0.11 0.10 0.06 – 0.70 0.22 0.10 – 0.19 0.13 0.06 – 0.70 0.17

ทางน้ําชลประทาน 0.04 – 0.19 0.09 0.02 – 0.70 0.15 0.04 – 0.26 0.12 0.02 – 0.70 0.13

จุดเฝาระวังคุณภาพน้ํากอนไหล

ลงอางเก็บน้ํากระเสียว

0.09 – 0.16 0.12 0.18 – 0.65 0.34 0.06 – 0.24 0.14 0.06 – 0.65 0.24

Page 255: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ
Page 256: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

ตารางท่ี ค.26 เปรียบเทียบ เปอรเซ็นตโซเดียมท่ีละลายนํ้า (SSP) ระหวาง 3 ฤดูกาล แยกตามแตละจุดเก็บตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน

ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

จุดเก็บตัวอยางน้ํา

เปอรเซ็นตโซเดียมท่ีละลายน้ํา (เปอรเซ็นต)

ฤดูรอน ฤดูฝน ฤดูหนาว คาเฉลี่ยท้ัง 3 ฤดูกาล

ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย

บริเวณตนอางเก็บน้ํากระเสียว 10.80 – 12.41 11.34 3.37 – 15.12 11.15 5.94 – 7.14 6.71 3.37 – 15.12 10.09

บริเวณกลางอางเก็บน้ํากระเสียว 10.14 – 12.22 11.51 8.44 – 13.58 11.58 5.50 – 7.17 6.07 5.50 – 13.58 10.19

บริเวณกระชังเล้ียงปลา

ในอางเก็บน้ํากระเสียว

10.14 – 12.84 11.69 8.87 – 13.33 11.79 5.88 – 7.38 6.49 5.88 – 13.33 10.44

บริเวณทายอางเก็บน้ํากระเสียว 9.97 – 11.40 10.71 8.27 – 14.23 11.12 5.39 – 7.34 6.48 5.39 – 14.23 9.86

อางเก็บน้ํากระเสียว 9.97 – 12.84 11.31 3.37 – 15.12 11.41 5.39 – 7.38 6.44 3.37 – 15.12 10.14

ฝายวิทยาลัยเกษตร 9.67 – 14.48 11.67 9.40 – 13.80 12.08 5.43 – 9.54 7.34 5.43 – 14.48 10.80

โรงงานน้ําตาล 9.31 – 14.10 11.59 8.83 – 15.20 12.64 5.51 – 10.38 7.78 5.51 – 15.20 11.16

สะพานวังน้ําโจน 9.48 – 16.57 12.43 9.23 – 24.76 17.05 8.26 – 10.28 9.51 8.26 – 24.76 14.01

ระบบสงน้ํา 10.07 – 20.40 13.52 9.83 – 23.68 16.04 8.66 – 13.67 11.47 8.66 – 23.68 14.26

ปลายลําหวยขจ ี 19.79 – 23.01 20.93 14.07 – 24.52 19.71 10.04 – 15.45 13.18 10.04 – 24.52 18.38

สะพานวัดไทร 11.77 – 18.50 15.30 12.18 – 27.24 20.62 9.02 – 19.70 13.77 9.02 – 27.24 17.58

ทางน้ําชลประทาน 9.31 – 23.01 14.24 8.83 – 27.24 16.36 5.43 – 19.70 10.51 5.43 – 27.24 14.37

จุดเฝาระวังคุณภาพน้ํากอนไหล

ลงอางเก็บน้ํากระเสียว

13.96 – 41.50 27.43 7.86 – 29.70 15.98 6.22 – 16.78 10.58 6.22 – 41.50 17.49

Page 257: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ
Page 258: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

ตารางท่ี ค.27 เปรียบเทียบสัดสวนของการดูดซับโซเดียม (SAR) ระหวาง 3 ฤดูกาล แยกตามแตละจุดเก็บตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน

ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

จุดเก็บตัวอยางน้ํา

สัดสวนของการดูดซับโซเดียม

ฤดูรอน ฤดูฝน ฤดูหนาว คาเฉลี่ยท้ัง 3 ฤดูกาล

ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย

บริเวณตนอางเก็บน้ํากระเสียว 0.3 – 0.3 0.3 0.2 – 0.4 0.3 0.1 – 0.2 0.2 0.1 – 0.4 0.3

บริเวณกลางอางเก็บน้ํากระเสียว 0.2 – 0.3 0.3 0.2 – 0.4 0.3 0.1 – 0.2 0.1 0.1 – 0.4 0.2

บริเวณกระชังเล้ียงปลา

ในอางเก็บน้ํากระเสียว

0.2 – 0.3 0.3 0.2 – 0.3 0.3 0.1 – 0.2 0.1 0.1 – 0.3 0.2

บริเวณทายอางเก็บน้ํากระเสียว 0.2 – 0.3 0.3 0.2 – 0.4 0.3 0.1 – 0.2 0.1 0.1 – 0.4 0.2

อางเก็บน้ํากระเสียว 0.2 – 0.3 0.3 0.2 – 0.4 0.3 0.1 – 0.2 0.1 0.1 – 0.4 0.2

ฝายวิทยาลัยเกษตร 0.2 – 0.4 0.3 0.2 – 0.4 0.3 0.1 – 0.2 0.2 0.1 – 0.4 0.3

โรงงานน้ําตาล 0.2 – 0.4 0.3 0.2 – 0.4 0.3 0.1 – 0.3 0.2 0.1 – 0.4 0.3

สะพานวังน้ําโจน 0.2 – 0.5 0.3 0.2 – 0.8 0.5 0.2 – 0.3 0.2 0.2 – 0.8 0.4

ระบบสงน้ํา 0.3 – 0.7 0.4 0.2 – 0.8 0.5 0.2 – 0.4 0.3 0.2 – 0.8 0.4

ปลายลําหวยขจ ี 0.6 – 0.8 0.7 0.3 – 0.8 0.6 0.2 – 0.4 0.3 0.2 – 0.8 0.5

สะพานวัดไทร 0.3 – 0.6 0.4 0.3 – 0.8 0.6 0.2 – 0.5 0.3 0.2 – 0.8 0.5

ทางน้ําชลประทาน 0.2 – 0.8 0.4 0.2 – 0.8 0.5 0.1 – 0.5 0.3 0.1 – 0.8 0.4

จุดเฝาระวังคุณภาพน้ํากอนไหล

ลงอางเก็บน้ํากระเสียว

0.5 – 2.2 1.3 0.2 – 1.4 0.6 0.2 – 0.6 0.3 0.2 – 2.2 0.7

Page 259: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ
Page 260: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

ตารางท่ี ค.28 เปรียบเทียบ ปริมาณโซเดียมคารบอเนตตกคาง (RSC) ระหวาง 3 ฤดู กาล แยกตามแตละจุดเก็บตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้า

ชลประทานของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

จุดเก็บตัวอยางน้ํา

ปริมาณโซเดียมคารบอเนตตกคาง (มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร)

ฤดูรอน ฤดูฝน ฤดูหนาว คาเฉลี่ยท้ัง 3 ฤดูกาล

ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย

บริเวณตนอางเก็บน้ํากระเสียว 0.00 – 0.00 0.00 0.00 – 0.00 0.00 0.00 – 0.04 0.01 0.00 – 0.04 0.00

บริเวณกลางอางเก็บน้ํากระเสียว 0.00 – 0.00 0.00 0.00 – 0.00 0.00 0.00 – 0.02 0.01 0.00 – 0.02 0.00

บริเวณกระชังเล้ียงปลา

ในอางเก็บน้ํากระเสียว

0.00 – 0.07 0.02 0.00 – 0.00 0.00 0.00 – 0.00 0.00 0.00 – 0.07 0.00

บริเวณทายอางเก็บน้ํากระเสียว 0.00 – 0.10 0.03 0.00 – 0.00 0.00 0.00 – 0.00 0.00 0.00 – 0.10 0.01

อางเก็บน้ํากระเสียว 0.00 – 0.10 0.01 0.00 – 0.00 0.00 0.00 – 0.04 0.01 0.00 – 0.10 0.01

ฝายวิทยาลัยเกษตร 0.00 – 0.13 0.04 0.00 – 0.00 0.00 0.00 – 0.02 0.01 0.00 – 0.13 0.01

โรงงานน้ําตาล 0.00 – 0.00 0.00 0.00 – 0.04 0.01 0.00 – 0.02 0.01 0.00 – 0.04 0.00

สะพานวังน้ําโจน 0.00 – 0.00 0.00 0.00 – 0.08 0.03 0.00 – 0.10 0.03 0.00 – 0.10 0.02

ระบบสงน้ํา 0.00 – 0.00 0.00 0.00 – 0.18 0.03 0.00 – 0.12 0.04 0.00 – 0.18 0.02

ปลายลําหวยขจ ี 0.00 – 0.02 0.01 0.00 – 0.11 0.02 0.00 – 0.19 0.06 0.00 – 0.19 0.03

สะพานวัดไทร 0.00 – 0.43 0.14 0.00 – 0.10 0.03 0.00 – 0.11 0.04 0.00 – 0.43 0.06

ทางน้ําชลประทาน 0.00 – 0.43 0.03 0.00 – 0.18 0.02 0.00 – 0.19 0.03 0.00 – 0.43 0.02

จุดเฝาระวังคุณภาพน้ํากอนไหล

ลงอางเก็บน้ํากระเสียว

0.16 – 0.25 0.21 0.00 – 0.60 0.12 0.00 – 0.10 0.03 0.00 – 0.60 0.12

Page 261: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ
Page 262: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

ตารางท่ี ค.29 เปรียบเทียบ ปริมาณความกระดางท้ังหมดในรูป CaCO3 ระหวาง 3 ฤดู กาล แยกตามแตละจุดเก็บตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้า

ชลประทานของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

จุดเก็บตัวอยางน้ํา

ปริมาณความกระดางท้ังหมดในรูป CaCO3 (มิลลิกรัมตอลิตร)

ฤดูรอน ฤดูฝน ฤดูหนาว คาเฉลี่ยท้ัง 3 ฤดูกาล

ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย ชวง คาเฉลี่ย

บริเวณตนอางเก็บน้ํากระเสียว 110.6 – 118.1 115.6 103.1 – 113.1 109.4 98.1 – 120.6 110.6 98.1 – 120.6 111.2

บริเวณกลางอางเก็บน้ํากระเสียว 110.6 – 118.1 113.9 98.1 – 115.6 109.4 98.1 – 118.1 110.6 98.1 – 118.1 110.8

บริเวณกระชังเล้ียงปลา

ในอางเก็บน้ํากระเสียว

108.1 – 118.1 111.4 103.1 – 120.6 111.0 100.6 – 120.6 109.8 100.6 – 120.6 110.8

บริเวณทายอางเก็บน้ํากระเสียว 115.6 – 120.6 118.9 100.6 – 113.1 109.4 100.6 – 115.6 108.9 100.6 – 120.6 111.6

อางเก็บน้ํากระเสียว 108.1 – 120.6 115.0 98.1 – 120.6 109.8 98.1 – 120.6 110.0 98.1 – 120.6 111.1

ฝายวิทยาลัยเกษตร 115.6 – 123.1 118.9 100.6 – 133.1 112.7 100.6 – 133.1 117.3 100.6 – 133.1 115.4

โรงงานน้ําตาล 115.6 – 133.1 123.1 105.6 – 135.6 116.4 100.6 – 145.6 120.6 100.6 – 145.6 119.1

สะพานวังน้ําโจน 115.6 – 130.6 123.1 103.1 – 140.6 118.5 100.6 – 151.1 124.1 100.6 – 151.1 121.0

ระบบสงน้ํา 123.1 – 145.6 130.6 103.1 – 138.1 118.9 100.6 – 148.1 123.9 100.6 – 148.1 123.1

ปลายลําหวยขจ ี 128.1 – 140.6 136.4 83.1 – 151.1 113.2 103.1 – 166.1 135.8 83.1 – 166.1 124.6

สะพานวัดไทร 105.6 – 133.1 122.3 80.6 – 156.1 117.8 100.6 – 113.1 105.6 80.6 – 156.1 115.8

ทางน้ําชลประทาน 105.6 – 145.6 125.7 80.6 – 156.1 116.2 100.6 – 166.1 121.2 80.6 – 166.1 119.9

จุดเฝาระวังคุณภาพน้ํากอนไหล

ลงอางเก็บน้ํากระเสียว

161.1 – 173.6 166.1 98.1 – 173.6 126.5 133.1 – 166.1 149.1 98.1 – 173.6 142.0

Page 263: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ
Page 264: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

ภาคผนวก ง

ผลวิเคราะหคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีระหวาง 12 เดือน

ตั้งแตเดือนกุมภาพันธ พ.ศ. 2553 – มกราคม พ.ศ. 2554

Page 265: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

ตารางท่ี ง.1 เปรียบเทียบอุณหภูมินํ้าระหวาง 12 เดือน แยกตามแตละจุดเก็บตัวอยางนํ้า ของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

จุดเก็บตัวอยางน้ํา อุณหภูมิน้ํา (องศาเซลเซียส)

ก.พ. 53 มี.ค. 53 เม.ย. 53 พ.ค. 53 มิ.ย. 53 ก.ค. 53 ส.ค. 53 ก.ย. 53 ต.ค. 53 พ.ย. 53 ธ.ค. 53 ม.ค. 54

บริเวณตนอางเก็บน้ํากระเสียว 29.0 29.5 30.2 32.2 33.6 31.2 29.7 29.7 29.5 26.0 26.7 24.5

บริเวณกลางอางเก็บน้ํากระเสียว 28.6 29.3 29.6 32.4 33.5 31.4 29.8 30.1 29.2 25.5 26.5 24.8

บริเวณกระชังเล้ียงปลา

ในอางเก็บน้ํากระเสียว

28.2 30.3 31.0 32.7 33.5 31.3 29.7 30.4 28.6 26.0 26.5 24.7

บริเวณทายอางเก็บน้ํากระเสียว 27.3 27.4 28.1 32.4 30.1 32.4 28.4 30.8 28.2 25.6 26.4 25.2

อางเก็บน้ํากระเสียว 28.3 29.1 29.7 32.4 32.7 31.6 29.4 30.2 28.9 25.8 26.5 24.8

ฝายวิทยาลัยเกษตร 28.3 28.8 29.3 32.4 30.6 31.9 29.6 30.8 29.0 26.6 27.2 25.1

โรงงานน้ําตาล 29.1 28.9 29.9 32.5 31.0 32.0 29.9 31.0 29.5 26.6 27.1 25.1

สะพานวังน้ําโจน 29.7 29.1 29.9 32.8 31.0 32.3 29.7 31.1 29.3 26.6 26.9 24.9

ระบบสงน้ํา 31.4 28.8 30.0 33.8 31.2 32.1 29.8 33.3 29.1 26.5 28.4 26.6

ปลายลําหวยขจี 32.6 32.3 32.4 34.6 32.3 32.2 29.5 31.5 28.1 26.7 27.9 25.5

สะพานวัดไทร 31.3 33.4 31.0 33.5 32.0 33.4 29.5 31.9 28.4 27.0 28.5 26.2

ทางน้ําชลประทาน 30.4 30.2 30.4 33.3 31.4 32.3 29.7 31.6 28.9 26.7 27.7 25.6

จุดเฝาระวังคุณภาพน้ํากอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

27.8 29.2 29.9 32.7 33.0 31.3 28.0 28.7 26.3 25.2 24.6 24.9

Page 266: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ
Page 267: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

ตารางท่ี ง.2 เปรียบเทียบความนําไฟฟาระหวาง 12 เดือน แยกตามแตละจุดเก็บตัวอยางนํ้า ของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

จุดเก็บตัวอยางน้ํา ความนําไฟฟา (ไมโครโมสตอเซนติเมตร)

ก.พ. 53 มี.ค. 53 เม.ย. 53 พ.ค. 53 มิ.ย. 53 ก.ค. 53 ส.ค. 53 ก.ย. 53 ต.ค. 53 พ.ย. 53 ธ.ค. 53 ม.ค. 54

บริเวณตนอางเก็บน้ํากระเสียว 249 258 255 251 245 257 295 247 211 211 235 236

บริเวณกลางอางเก็บน้ํากระเสียว 245 251 254 255 246 260 294 245 215 209 229 232

บริเวณกระชังเล้ียงปลา

ในอางเก็บน้ํากระเสียว

246 251 257 258 248 261 295 244 217 210 230 235

บริเวณทายอางเก็บน้ํากระเสียว 247 254 255 256 265 258 295 254 217 211 228 232

อางเก็บน้ํากระเสียว 247 254 255 255 251 259 295 248 215 210 230 234

ฝายวิทยาลัยเกษตร 283 252 255 256 260 265 293 304 216 214 235 271

โรงงานน้ําตาล 297 254 255 256 259 290 292 309 217 219 244 295

สะพานวังน้ําโจน 297 254 257 260 261 364 324 396 224 226 270 302

ระบบสงน้ํา 363 258 258 259 261 326 329 404 228 227 282 320

ปลายลําหวยขจี 373 349 331 395 343 275 324 212 208 241 318 358

สะพานวัดไทร 286 303 321 402 372 295 331 217 216 258 241 248

ทางน้ําชลประทาน 316 278 280 305 293 302 316 307 218 231 265 299

จุดเฝาระวังคุณภาพน้ํากอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

463 535 735 695 484 269 247 235 220 277 319 397

Page 268: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ
Page 269: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

ตารางท่ี ง.3 เปรียบเทียบความเค็มระหวาง 12 เดือน แยกตามแตละจุดเก็บตัวอยางนํ้า ของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

จุดเก็บตัวอยางน้ํา ความเค็ม (กรัมตอลิตร)

ก.พ. 53 มี.ค. 53 เม.ย. 53 พ.ค. 53 มิ.ย. 53 ก.ค. 53 ส.ค. 53 ก.ย. 53 ต.ค. 53 พ.ย. 53 ธ.ค. 53 ม.ค. 54

บริเวณตนอางเก็บน้ํากระเสียว 0.1 0.1 0.1 0.1 0.1 0.1 0.1 0.1 0.1 0.1 0.1 0.1

บริเวณกลางอางเก็บน้ํากระเสียว 0.1 0.1 0.1 0.1 0.1 0.1 0.1 0.1 0.1 0.1 0.1 0.1

บริเวณกระชังเล้ียงปลา

ในอางเก็บน้ํากระเสียว

0.1 0.1 0.1 0.1 0.1 0.1 0.1 0.1 0.1 0.1 0.1 0.1

บริเวณทายอางเก็บน้ํากระเสียว 0.1 0.1 0.1 0.1 0.1 0.1 0.1 0.1 0.1 0.1 0.1 0.1

อางเก็บน้ํากระเสียว 0.1 0.1 0.1 0.1 0.1 0.1 0.1 0.1 0.1 0.1 0.1 0.1

ฝายวิทยาลัยเกษตร 0.1 0.1 0.1 0.1 0.1 0.1 0.1 0.1 0.1 0.1 0.1 0.1

โรงงานน้ําตาล 0.1 0.1 0.1 0.1 0.1 0.1 0.1 0.1 0.1 0.1 0.1 0.1

สะพานวังน้ําโจน 0.1 0.1 0.1 0.1 0.1 0.2 0.2 0.2 0.1 0.1 0.1 0.1

ระบบสงน้ํา 0.2 0.1 0.1 0.1 0.1 0.2 0.2 0.2 0.1 0.1 0.1 0.1

ปลายลําหวยขจี 0.2 0.2 0.2 0.2 0.2 0.1 0.2 0.1 0.1 0.1 0.1 0.2

สะพานวัดไทร 0.1 0.1 0.1 0.2 0.2 0.1 0.2 0.1 0.1 0.1 0.1 0.1

ทางน้ําชลประทาน 0.1 0.1 0.1 0.1 0.1 0.1 0.2 0.1 0.1 0.1 0.1 0.1

จุดเฝาระวังคุณภาพน้ํากอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

0.2 0.3 0.4 0.3 0.2 0.1 0.1 0.1 0.1 0.1 0.2 0.2

Page 270: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ
Page 271: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

ตารางท่ี ง.4 เปรียบเทียบความขุนระหวาง 12 เดือน แยกตามแตละจุดเก็บตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษา

กระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

จุดเก็บตัวอยางน้ํา ความขุน (เอ็นทียู)

ก.พ. 53 มี.ค. 53 เม.ย. 53 พ.ค. 53 มิ.ย. 53 ก.ค. 53 ส.ค. 53 ก.ย. 53 ต.ค. 53 พ.ย. 53 ธ.ค. 53 ม.ค. 54

บริเวณตนอางเก็บน้ํากระเสียว 7.0 24.4 13.4 6.4 16.1 31.3 32.0 132.0 19.2 15.2 15.4 11.1

บริเวณกลางอางเก็บน้ํากระเสียว 4.8 5.3 5.4 7.8 13.7 17.1 29.8 17.8 19.3 11.2 5.3 5.6

บริเวณกระชังเล้ียงปลา

ในอางเก็บน้ํากระเสียว

3.7 4.5 5.8 8.1 10.0 24.2 9.4 9.5 17.4 10.3 4.8 8.6

บริเวณทายอางเก็บน้ํากระเสียว 2.8 4.5 4.6 6.1 6.6 12.1 18.9 9.3 45.5 8.0 6.1 3.2

อางเก็บน้ํากระเสียว 4.6 9.7 7.3 7.1 11.6 21.2 22.5 42.2 25.4 11.2 7.9 7.1

ฝายวิทยาลัยเกษตร 3.4 5.1 6.6 6.0 8.0 6.1 147.0 56.3 38.0 12.3 4.3 4.4

โรงงานน้ําตาล 12.3 12.2 12.0 9.4 10.7 13.4 197.0 138.0 60.4 32.5 12.5 14

สะพานวังน้ําโจน 9.4 14.2 12.5 10.5 12.7 10.8 203.0 125.0 82.1 41.4 14.7 10.4

ระบบสงน้ํา 7.2 14.6 14.3 15.6 16.5 9.0 244.0 101.0 65.8 49.0 15.8 16.4

ปลายลําหวยขจี 19.0 22.4 29.8 16.7 8.2 62.1 469.0 92.6 80.6 75.7 60.9 18.3

สะพานวัดไทร 17.2 6.1 85.3 25.2 17.5 48.7 484.0 101.0 98.3 92.0 44.7 34.9

ทางน้ําชลประทาน 11.4 12.4 26.8 13.9 12.3 25.0 290.7 102.3 70.9 50.5 25.5 16.4

จุดเฝาระวังคุณภาพน้ํากอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

72.8 109.0 20.8 57.0 224.0 303.0 1,067 306.0 549.0 112.0 17.5 77.9

Page 272: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ
Page 273: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

ตารางท่ี ง.5 เปรียบเทียบปริมาณสารแขวนลอยระหวาง 12 เดือน แยกตามแตละจุดเก็บตัวอยางนํ้า ของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

จุดเก็บตัวอยางน้ํา ปริมาณสารแขวนลอย (มิลลิกรัมตอลิตร)

ก.พ. 53 มี.ค. 53 เม.ย. 53 พ.ค. 53 มิ.ย. 53 ก.ค. 53 ส.ค. 53 ก.ย. 53 ต.ค. 53 พ.ย. 53 ธ.ค. 53 ม.ค. 54

บริเวณตนอางเก็บน้ํากระเสียว 3.43 18.50 13.33 9.00 15.00 22.00 23.60 89.00 22.72 14.86 13.43 8.57

บริเวณกลางอางเก็บน้ํากระเสียว 1.00 3.60 3.00 10.33 12.40 11.20 19.60 10.80 22.43 10.28 3.71 6.28

บริเวณกระชังเล้ียงปลา

ในอางเก็บน้ํากระเสียว

5.11 7.71 4.50 9.14 12.40 23.60 10.33 6.67 22.28 10.00 6.00 6.00

บริเวณทายอางเก็บน้ํากระเสียว 0.57 4.25 5.25 10.28 2.86 11.25 9.50 7.67 46.75 7.14 5.71 4.57

อางเก็บน้ํากระเสียว 2.53 8.52 6.52 9.69 10.66 17.01 15.76 28.54 28.54 10.57 7.21 6.36

ฝายวิทยาลัยเกษตร 1.14 6.50 8.50 12.57 5.75 0.86 58.67 25.00 34.00 10.57 7.71 3.71

โรงงานน้ําตาล 7.43 19.00 20.86 15.43 12.00 10.00 111.00 27.33 77.66 36.80 19.14 12.00

สะพานวังน้ําโจน 4.25 13.75 20.86 23.33 15.25 10.75 111.00 79.33 91.00 57.20 15.14 9.43

ระบบสงน้ํา 7.67 13.75 22.67 24.00 18.28 5.75 146.00 56.67 75.00 72.00 18.57 14.80

ปลายลําหวยขจี 11.33 15.40 49.67 24.00 9.50 45.50 302.00 100.00 85.00 99.50 100.67 22.28

สะพานวัดไทร 20.00 8.60 127.33 32.00 23.43 29.50 308.00 116.00 101.00 118.67 62.67 36.40

ทางน้ําชลประทาน 8.64 12.83 41.65 21.89 14.04 17.06 172.78 67.39 77.28 65.79 37.32 16.44

จุดเฝาระวังคุณภาพน้ํากอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

72.67 98.67 26.80 49.00 141.33 808.00 476.00 312.00 443.0 116.00 27.43 76.00

Page 274: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ
Page 275: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

ตารางท่ี ง.6 เปรียบเทียบปริมาณของแข็งท้ังหมดท่ีละลายในนํ้าระหวาง 12 เดือน แยกตามแตละจุดเก็บตัวอยางนํ้า ของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน

ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

จุดเก็บตัวอยางน้ํา ปริมาณของแข็งท้ังหมดท่ีละลายในน้ํา (มิลลิกรัมตอลิตร)

ก.พ. 53 มี.ค. 53 เม.ย. 53 พ.ค. 53 มิ.ย. 53 ก.ค. 53 ส.ค. 53 ก.ย. 53 ต.ค. 53 พ.ย. 53 ธ.ค. 53 ม.ค. 54

บริเวณตนอางเก็บน้ํากระเสียว 188 170 152 120 154 224 144 120 130 102 142 134

บริเวณกลางอางเก็บน้ํากระเสียว 160 162 138 146 142 182 148 108 140 158 130 136

บริเวณกระชังเล้ียงปลา

ในอางเก็บน้ํากระเสียว

160 162 174 164 136 220 138 120 138 108 130 116

บริเวณทายอางเก็บน้ํากระเสียว 166 164 162 178 156 198 168 146 135 138 148 110

อางเก็บน้ํากระเสียว 168 164 156 152 147 206 150 124 136 126 138 124

ฝายวิทยาลัยเกษตร 166 160 176 156 156 202 202 132 130 142 146 152

โรงงานน้ําตาล 180 158 154 156 176 180 174 130 135 132 140 186

สะพานวังน้ําโจน 200 158 152 144 160 280 202 184 145 130 162 160

ระบบสงน้ํา 210 160 178 162 194 238 212 186 140 142 174 196

ปลายลําหวยขจี 220 232 214 218 230 216 226 110 130 166 208 254

สะพานวัดไทร 192 182 198 268 240 222 250 90 135 156 158 168

ทางน้ําชลประทาน 195 175 179 184 193 223 211 139 136 145 165 186

จุดเฝาระวังคุณภาพน้ํากอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

300 340 410 380 296 224 148 104 135 172 192 258

Page 276: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ
Page 277: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

ตารางท่ี ง.7 เปรียบเทียบความเปนกรด - ดางระหวาง 12 เดือน แยกตามแตละจุดเก็บตัวอยางนํ้า ของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

จุดเก็บตัวอยางน้ํา ความเปนกรด – ดาง

ก.พ. 53 มี.ค. 53 เม.ย. 53 พ.ค. 53 มิ.ย. 53 ก.ค. 53 ส.ค. 53 ก.ย. 53 ต.ค. 53 พ.ย. 53 ธ.ค. 53 ม.ค. 54

บริเวณตนอางเก็บน้ํากระเสียว 8.4 8.2 8.0 8.2 8.5 6.5 6.7 6.7 7.4 6.7 7.7 7.8

บริเวณกลางอางเก็บน้ํากระเสียว 8.6 8.4 8.1 8.1 8.7 6.8 7.1 6.8 7.4 7.6 8.2 7.9

บริเวณกระชังเล้ียงปลา

ในอางเก็บน้ํากระเสียว

8.6 8.3 8.2 8.2 8.7 7.2 7.3 7.0 7.4 7.4 8.4 7.9

บริเวณทายอางเก็บน้ํากระเสียว 6.4 6.4 6.8 8.1 6.5 7.6 7.4 7.1 7.2 7.5 8.1 7.9

อางเก็บน้ํากระเสียว 8.0 7.8 7.8 8.2 8.1 7.0 7.1 6.9 7.4 7.3 8.1 7.9

ฝายวิทยาลัยเกษตร 8.0 8.1 8.0 8.1 7.3 7.5 7.3 7.2 6.4 6.6 7.6 7.6

โรงงานน้ําตาล 7.9 8.0 7.9 8.0 7.4 7.6 7.5 7.3 7.0 7.7 8.0 7.5

สะพานวังน้ําโจน 7.8 8.0 8.0 8.0 7.4 7.6 7.6 7.5 6.6 7.0 7.6 7.5

ระบบสงน้ํา 7.9 8.0 8.0 8.0 7.6 7.6 7.6 7.4 6.7 7.6 8.0 7.5

ปลายลําหวยขจี 7.9 7.9 7.8 7.8 7.6 7.7 7.6 7.5 6.7 6.7 7.2 7.8

สะพานวัดไทร 7.6 7.6 7.7 7.7 7.5 7.5 7.6 7.5 6.7 6.6 7.8 7.6

ทางน้ําชลประทาน 7.8 7.9 7.9 7.9 7.5 7.6 7.5 7.4 6.7 7.0 7.7 7.6

จุดเฝาระวังคุณภาพน้ํากอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

7.3 7.9 7.7 8.0 7.3 7.0 7.4 7.0 6.4 6.7 7.6 7.8

Page 278: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ
Page 279: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

ตารางท่ี ง.8 เปรียบเทียบปริมาณออกซิเจนละลายในนํ้าระหวาง 12 เดือน แยกตามแตละจุดเก็บตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของโครงการ

สงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

จุดเก็บตัวอยางน้ํา ปริมาณออกซิเจนละลายในน้ํา (มิลลิกรัมตอลิตร)

ก.พ. 53 มี.ค. 53 เม.ย. 53 พ.ค. 53 มิ.ย. 53 ก.ค. 53 ส.ค. 53 ก.ย. 53 ต.ค. 53 พ.ย. 53 ธ.ค. 53 ม.ค. 54

บริเวณตนอางเก็บน้ํากระเสียว 5.99 5.13 5.77 5.83 6.22 4.03 5.44 4.66 3.66 4.89 4.16 5.26

บริเวณกลางอางเก็บน้ํากระเสียว 6.34 5.11 5.46 4.61 6.07 4.11 4.68 4.65 4.54 4.47 5.39 4.97

บริเวณกระชังเล้ียงปลา

ในอางเก็บน้ํากระเสียว

5.99 4.71 5.51 4.50 5.94 3.69 3.99 5.27 3.76 4.47 6.12 4.73

บริเวณทายอางเก็บน้ํากระเสียว 4.94 6.26 5.38 4.56 6.00 4.71 5.24 5.38 4.59 4.28 6.56 5.31

อางเก็บน้ํากระเสียว 5.82 5.30 5.53 4.88 6.06 4.14 4.84 4.99 4.14 4.53 5.56 5.07

ฝายวิทยาลัยเกษตร 4.76 4.89 5.15 4.60 5.06 3.43 4.71 4.06 5.75 5.71 5.73 4.96

โรงงานน้ําตาล 4.28 5.81 5.56 4.92 5.02 4.23 4.51 4.59 5.03 5.01 5.73 4.75

สะพานวังน้ําโจน 4.64 5.78 5.91 4.43 4.31 4.08 5.31 3.95 5.03 5.12 5.81 4.62

ระบบสงน้ํา 5.02 4.75 5.52 4.23 4.04 3.61 4.67 3.87 3.45 5 4.72 5.39

ปลายลําหวยขจี 5.44 5.53 4.65 5.38 4.99 4.55 4.31 4.73 3.95 5.03 5.44 5.91

สะพานวัดไทร 1.96 2.22 3.39 2.79 3.18 3.56 4.65 5.07 3.72 3.47 4.17 4.86

ทางน้ําชลประทาน 4.35 4.83 5.03 4.39 4.43 3.91 4.69 4.38 4.49 4.89 5.27 5.08

จุดเฝาระวังคุณภาพน้ํากอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

5.03 3.84 5.33 4.87 4.01 4.39 5.52 5.51 6.02 5.25 5.4 4.54

Page 280: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ
Page 281: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

ตารางท่ี ง.9 เปรียบเทียบปริมาณบีโอดีระหวาง 12 เดือน แยกตามแตละจุดเก็บตัวอยางนํ้า ของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

จุดเก็บตัวอยางน้ํา ปริมาณบีโอดี (มิลลิกรัมตอลิตร)

ก.พ. 53 มี.ค. 53 เม.ย. 53 พ.ค. 53 มิ.ย. 53 ก.ค. 53 ส.ค. 53 ก.ย. 53 ต.ค. 53 พ.ย. 53 ธ.ค. 53 ม.ค. 54

บริเวณตนอางเก็บน้ํากระเสียว 2.80 2.40 2.40 2.51 4.82 2.61 4.22 1.40 2.01 2.02 1.01 1.81

บริเวณกลางอางเก็บน้ํากระเสียว 2.80 2.40 2.80 2.51 3.61 2.81 3.41 1.40 1.81 1.41 2.02 2.02

บริเวณกระชังเล้ียงปลา

ในอางเก็บน้ํากระเสียว

1.80 2.60 3.00 2.61 4.42 2.81 2.81 2.21 2.01 1.81 1.21 2.82

บริเวณทายอางเก็บน้ํากระเสียว 1.80 2.00 2.00 2.41 2.51 3.21 1.81 1.00 2.41 1.21 1.41 1.81

อางเก็บน้ํากระเสียว 2.30 2.35 2.55 2.51 3.84 2.86 3.06 1.50 2.06 1.61 1.41 2.12

ฝายวิทยาลัยเกษตร 1.20 1.20 2.00 2.41 2.11 1.61 7.83 1.00 1.81 1.01 2.02 2.42

โรงงานน้ําตาล 1.20 1.60 1.60 2.31 2.01 2.41 2.81 1.40 2.41 2.62 1.41 1.81

สะพานวังน้ําโจน 1.20 1.40 2.00 2.11 1.61 2.41 3.01 3.21 7.83 2.22 1.61 2.22

ระบบสงน้ํา 2.20 3.20 1.60 2.51 1.71 2.41 3.82 3.41 3.01 1.81 1.41 6.45

ปลายลําหวยขจี 1.80 1.20 1.40 1.91 2.51 6.42 5.22 2.81 3.01 2.42 1.41 1.61

สะพานวัดไทร 7.50 3.60 3.40 2.21 2.61 5.02 7.63 2.01 2.01 1.01 1.01 4.44

ทางน้ําชลประทาน 2.52 2.03 2.00 2.24 2.09 3.38 5.05 2.31 3.35 1.84 1.48 3.16

จุดเฝาระวังคุณภาพน้ํากอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

5.40 4.80 4.00 5.90 4.82 1.61 4.42 1.40 5.02 1.61 2.22 11.49

Page 282: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ
Page 283: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

ตารางท่ี ง.10 เปรียบเทียบปริมาณซัลไฟดในรูปไฮโดรเจนซัลไฟดระหวาง 12 เดือน แยกตามแตละจุดเก็บตัวอยางนํ้า ของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน

ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

จุดเก็บตัวอยางน้ํา ปริมาณซัลไฟดในรูปไฮโดรเจนซัลไฟด (มิลลิกรัมตอลิตร)

ก.พ. 53 มี.ค. 53 เม.ย. 53 พ.ค. 53 มิ.ย. 53 ก.ค. 53 ส.ค. 53 ก.ย. 53 ต.ค. 53 พ.ย. 53 ธ.ค. 53 ม.ค. 54

บริเวณตนอางเก็บน้ํากระเสียว 0.004 0.005 0.005 0.001 0.012 0.013 0.010 0.015 0.014 0.002 0.003 0.007

บริเวณกลางอางเก็บน้ํากระเสียว 0.005 0.004 0.004 0.000 0.005 0.012 0.018 0.014 0.013 0.001 0.000 0.005

บริเวณกระชังเล้ียงปลา

ในอางเก็บน้ํากระเสียว

0.005 0.003 0.003 0.002 0.004 0.016 0.009 0.002 0.008 0.001 0.000 0.005

บริเวณทายอางเก็บน้ํากระเสียว 0.005 0.003 0.003 0.002 0.002 0.009 0.017 0.007 0.017 0.004 0.000 0.003

อางเก็บน้ํากระเสียว 0.005 0.004 0.004 0.001 0.006 0.012 0.014 0.010 0.013 0.002 0.001 0.005

ฝายวิทยาลัยเกษตร 0.005 0.003 0.005 0.002 0.002 0.006 0.038 0.012 0.008 0.000 0.000 0.005

โรงงานน้ําตาล 0.01 0.002 0.005 0.005 0.004 0.008 0.035 0.009 0.013 0.005 0.004 0.011

สะพานวังน้ําโจน 0.009 0.006 0.006 0.005 0.005 0.011 0.028 0.023 0.046 0.006 0.002 0.006

ระบบสงน้ํา 0.006 0.008 0.008 0.009 0.010 0.005 0.030 0.023 0.042 0.009 0.000 0.004

ปลายลําหวยขจี 0.009 0.021 0.017 0.010 0.002 0.011 0.058 0.012 0.039 0.014 0.014 0.011

สะพานวัดไทร 0.007 0.004 0.022 0.010 0.008 0.010 0.020 0.013 0.045 0.014 0.015 0.016

ทางน้ําชลประทาน 0.008 0.007 0.010 0.007 0.005 0.008 0.035 0.015 0.032 0.008 0.006 0.009

จุดเฝาระวังคุณภาพน้ํากอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

0.027 0.027 0.010 0.020 0.092 0.017 0.054 0.029 0.008 0.000 0.000 0.043

Page 284: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ
Page 285: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

ตารางท่ี ง.11 เปรียบเทียบปริมาณฟอสเฟตฟอสฟอรัสระหวาง 12 เดือน แยกตามแตละจุดเก็บตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ โครงการ

สงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

จุดเก็บตัวอยางน้ํา ปริมาณฟอสเฟตฟอสฟอรัส (มิลลิกรัมตอลิตร)

ก.พ. 53 มี.ค. 53 เม.ย. 53 พ.ค. 53 มิ.ย. 53 ก.ค. 53 ส.ค. 53 ก.ย. 53 ต.ค. 53 พ.ย. 53 ธ.ค. 53 ม.ค. 54

บริเวณตนอางเก็บน้ํากระเสียว 0.011 0.001 0.001 0.001 0.001 0.001 0.001 0.014 0.001 0.008 0.001 0.001

บริเวณกลางอางเก็บน้ํากระเสียว 0.001 0.001 0.001 0.001 0.001 0.001 0.001 0.001 0.002 0.005 0.001 0.001

บริเวณกระชังเล้ียงปลา

ในอางเก็บน้ํากระเสียว

0.001 0.001 0.001 0.001 0.001 0.001 0.001 0.002 0.002 0.006 0.001 0.001

บริเวณทายอางเก็บน้ํากระเสียว 0.001 0.001 0.001 0.001 0.001 0.001 0.001 0.002 0.012 0.001 0.001 0.001

อางเก็บน้ํากระเสียว 0.004 0.001 0.001 0.001 0.001 0.001 0.001 0.005 0.004 0.005 0.001 0.001

ฝายวิทยาลัยเกษตร 0.001 0.001 0.001 0.001 0.001 0.001 0.001 0.014 0.014 0.008 0.001 0.001

โรงงานน้ําตาล 0.001 0.001 0.001 0.001 0.001 0.016 0.001 0.027 0.022 0.001 0.001 0.001

สะพานวังน้ําโจน 0.001 0.001 0.001 0.001 0.001 0.028 0.001 0.019 0.025 0.002 0.001 0.001

ระบบสงน้ํา 0.090 0.001 0.002 0.002 0.001 0.181 0.072 0.217 0.019 0.008 0.001 0.076

ปลายลําหวยขจี 0.001 0.036 0.025 0.112 0.001 0.028 0.014 0.028 0.041 0.008 0.006 0.046

สะพานวัดไทร 1.356 0.220 0.047 0.083 0.439 0.046 0.003 0.031 0.034 0.017 0.008 0.094

ทางน้ําชลประทาน 0.242 0.043 0.013 0.033 0.074 0.050 0.015 0.056 0.026 0.007 0.003 0.036

จุดเฝาระวังคุณภาพน้ํากอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

0.003 0.022 0.014 0.055 0.164 0.128 0.001 0.005 0.003 0.061 0.074 0.074

Page 286: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ
Page 287: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

ตารางท่ี ง.12 เปรียบเทียบปริมาณ ไนไตรท - ไนโตรเจน ระหวาง 12 เดือน แยกตามแตละจุดเก็บตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ

โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

จุดเก็บตัวอยางน้ํา ปริมาณไนไตรท – ไนโตรเจน (มิลลิกรัมตอลิตร)

ก.พ. 53 มี.ค. 53 เม.ย. 53 พ.ค. 53 มิ.ย. 53 ก.ค. 53 ส.ค. 53 ก.ย. 53 ต.ค. 53 พ.ย. 53 ธ.ค. 53 ม.ค. 54

บริเวณตนอางเก็บน้ํากระเสียว 0.001 0.001 0.001 0.001 0.001 0.007 0.002 0.020 0.001 0.001 0.001 0.006

บริเวณกลางอางเก็บน้ํากระเสียว 0.001 0.001 0.001 0.001 0.001 0.006 0.002 0.008 0.001 0.001 0.001 0.001

บริเวณกระชังเล้ียงปลา

ในอางเก็บน้ํากระเสียว

0.001 0.001 0.001 0.001 0.001 0.007 0.005 0.004 0.001 0.003 0.001 0.003

บริเวณทายอางเก็บน้ํากระเสียว 0.001 0.001 0.005 0.004 0.115 0.005 0.005 0.004 0.006 0.003 0.001 0.002

อางเก็บน้ํากระเสียว 0.001 0.001 0.002 0.002 0.030 0.006 0.004 0.009 0.002 0.002 0.001 0.003

ฝายวิทยาลัยเกษตร 0.008 0.001 0.005 0.012 0.093 0.011 0.005 0.020 0.004 0.003 0.001 0.008

โรงงานน้ําตาล 0.003 0.001 0.004 0.014 0.079 0.013 0.009 0.031 0.006 0.004 0.001 0.009

สะพานวังน้ําโจน 0.010 0.001 0.004 0.013 0.078 0.015 0.011 0.030 0.008 0.005 0.002 0.008

ระบบสงน้ํา 0.042 0.005 0.01 0.009 0.042 0.093 0.035 0.128 0.004 0.007 0.014 0.171

ปลายลําหวยขจี 0.001 0.016 0.018 0.160 0.012 0.017 0.030 0.031 0.009 0.012 0.008 0.015

สะพานวัดไทร 0.011 0.032 0.011 0.144 0.010 0.015 0.034 0.031 0.009 0.011 0.005 0.008

ทางน้ําชลประทาน 0.012 0.009 0.009 0.059 0.052 0.027 0.021 0.045 0.007 0.007 0.005 0.036

จุดเฝาระวังคุณภาพน้ํากอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

0.210 0.300 0.001 0.722 0.503 0.040 0.018 0.016 0.014 0.046 0.074 0.160

Page 288: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ
Page 289: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

ตารางท่ี ง.13 เปรียบเทียบปริมาณไนเตรท - ไนโตรเจนระหวาง 12 เดือน แยกตามแตละจุดเก็บตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของโครงการ

สงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

จุดเก็บตัวอยางน้ํา ปริมาณไนเตรท – ไนโตรเจน (มิลลิกรัมตอลิตร)

ก.พ. 53 มี.ค. 53 เม.ย. 53 พ.ค. 53 มิ.ย. 53 ก.ค. 53 ส.ค. 53 ก.ย. 53 ต.ค. 53 พ.ย. 53 ธ.ค. 53 ม.ค. 54

บริเวณตนอางเก็บน้ํากระเสียว 0.001 0.028 0.014 0.302 0.398 0.064 0.301 0.303 0.171 0.023 0.135 0.079

บริเวณกลางอางเก็บน้ํากระเสียว 0.014 0.010 0.007 0.190 0.105 0.028 0.076 0.160 0.169 0.032 0.052 0.063

บริเวณกระชังเล้ียงปลา

ในอางเก็บน้ํากระเสียว

0.001 0.010 0.007 0.190 0.103 0.046 0.349 0.124 0.154 0.061 0.071 0.048

บริเวณทายอางเก็บน้ํากระเสียว 0.006 0.014 0.022 0.202 0.309 0.011 0.107 0.150 0.195 0.018 0.027 0.059

อางเก็บน้ํากระเสียว 0.006 0.016 0.012 0.221 0.229 0.037 0.208 0.184 0.172 0.034 0.071 0.062

ฝายวิทยาลัยเกษตร 0.085 0.037 0.033 0.305 0.402 0.055 0.171 0.256 0.148 0.011 0.038 0.142

โรงงานน้ําตาล 0.032 0.064 0.063 0.469 0.780 0.131 0.157 0.319 0.151 0.012 0.070 0.080

สะพานวังน้ําโจน 0.104 0.066 0.072 0.614 0.866 0.157 0.160 0.312 0.154 0.029 0.082 0.138

ระบบสงน้ํา 0.541 0.150 0.123 0.786 1.222 0.404 0.242 0.481 0.098 0.012 0.156 0.548

ปลายลําหวยขจี 0.006 0.136 0.336 4.830 0.544 0.082 0.180 0.140 0.105 0.073 0.168 0.528

สะพานวัดไทร 0.037 0.120 0.415 4.500 0.860 0.075 0.194 0.134 0.096 0.174 0.165 0.199

ทางน้ําชลประทาน 0.134 0.096 0.174 1.917 0.779 0.151 0.184 0.274 0.125 0.052 0.113 0.272

จุดเฝาระวังคุณภาพน้ํากอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

0.428 0.623 0.026 5.606 1.769 0.327 0.294 0.448 0.532 0.019 0.866 0.680

Page 290: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ
Page 291: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

ตารางท่ี ง.14 เปรียบเทียบปริมาณ ไนโตรเจนในรูปทีเคเอ็น ระหวาง 12 เดือน แยกตามแตละจุดเก็บตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ

โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

จุดเก็บตัวอยางน้ํา ปริมาณไนโตรเจนในรูปทีเคเอ็น (มิลลิกรัมตอลิตร)

ก.พ. 53 มี.ค. 53 เม.ย. 53 พ.ค. 53 มิ.ย. 53 ก.ค. 53 ส.ค. 53 ก.ย. 53 ต.ค. 53 พ.ย. 53 ธ.ค. 53 ม.ค. 54

บริเวณตนอางเก็บน้ํากระเสียว 0.57 0.96 0.71 0.93 1.29 0.77 1.09 0.86 1.10 0.60 0.71 0.63

บริเวณกลางอางเก็บน้ํากระเสียว 0.49 0.74 0.66 0.88 1.31 1.09 0.77 0.75 0.82 0.58 0.68 1.04

บริเวณกระชังเล้ียงปลา

ในอางเก็บน้ํากระเสียว

1.01 0.79 0.79 0.93 1.18 0.85 0.68 0.83 0.74 0.66 0.74 1.01

บริเวณทายอางเก็บน้ํากระเสียว 0.66 0.74 0.63 0.90 1.04 0.90 0.63 0.72 0.58 0.71 0.74 0.68

อางเก็บน้ํากระเสียว 0.68 0.81 0.70 0.91 1.20 0.90 0.79 0.79 0.81 0.64 0.72 0.84

ฝายวิทยาลัยเกษตร 0.85 0.60 0.71 0.79 0.96 0.93 0.98 0.77 0.80 0.58 0.63 0.85

โรงงานน้ําตาล 0.77 0.82 0.85 0.85 0.9 0.88 0.96 0.83 1.24 0.49 0.74 0.58

สะพานวังน้ําโจน 1.04 0.82 0.88 0.88 0.93 0.68 1.15 1.02 1.21 0.63 0.66 0.66

ระบบสงน้ํา 0.98 0.82 0.66 0.82 0.90 1.12 1.18 1.22 0.96 0.68 0.79 1.18

ปลายลําหวยขจี 7.61 1.37 0.90 1.34 0.98 1.37 1.72 0.99 0.85 0.79 0.85 0.68

สะพานวัดไทร 8.84 1.61 1.56 1.29 2.33 1.29 1.67 1.13 0.94 0.63 0.79 0.90

ทางน้ําชลประทาน 3.35 1.01 0.93 1.00 1.17 1.04 1.28 0.99 1.00 0.63 0.74 0.81

จุดเฝาระวังคุณภาพน้ํากอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

1.75 1.75 1.42 3.53 1.50 1.15 2.24 1.13 1.70 0.71 0.60 1.53

Page 292: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ
Page 293: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

ตารางท่ี ง.15 เปรียบเทียบปริมาณ แอมโมเนีย - ไนโตรเจน ระหวาง 12 เดือน แยกตามแตละจุดเก็บตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ

โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

จุดเก็บตัวอยางน้ํา ปริมาณแอมโมเนีย – ไนโตรเจน (มิลลิกรัมตอลิตร)

ก.พ. 53 มี.ค. 53 เม.ย. 53 พ.ค. 53 มิ.ย. 53 ก.ค. 53 ส.ค. 53 ก.ย. 53 ต.ค. 53 พ.ย. 53 ธ.ค. 53 ม.ค. 54

บริเวณตนอางเก็บน้ํากระเสียว 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.91 0.00 0.00 0.00

บริเวณกลางอางเก็บน้ํากระเสียว 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

บริเวณกระชังเล้ียงปลา

ในอางเก็บน้ํากระเสียว

0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.27 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

บริเวณทายอางเก็บน้ํากระเสียว 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

อางเก็บน้ํากระเสียว 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.07 0.00 0.00 0.23 0.00 0.00 0.00

ฝายวิทยาลัยเกษตร 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.33 0.00 0.00 0.00

โรงงานน้ําตาล 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

สะพานวังน้ําโจน 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

ระบบสงน้ํา 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

ปลายลําหวยขจี 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

สะพานวัดไทร 5.04 0.00 0.00 0.00 0.55 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

ทางน้ําชลประทาน 0.84 0.00 0.00 0.00 0.09 0.00 0.00 0.00 0.06 0.00 0.00 0.00

จุดเฝาระวังคุณภาพน้ํากอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

0.00 0.27 0.00 1.92 0.36 0.55 0.00 0.00 0.55 0.00 0.00 0.00

Page 294: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ
Page 295: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

ตารางท่ี ง.16 เปรียบเทียบปริมาณ อินทรียสารไนโตรเจน ระหวาง 12 เดือน แยกตามแตละจุดเก็บตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ

โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

จุดเก็บตัวอยางน้ํา ปริมาณอินทรียสารไนโตรเจน (มิลลิกรัมตอลิตร)

ก.พ. 53 มี.ค. 53 เม.ย. 53 พ.ค. 53 มิ.ย. 53 ก.ค. 53 ส.ค. 53 ก.ย. 53 ต.ค. 53 พ.ย. 53 ธ.ค. 53 ม.ค. 54

บริเวณตนอางเก็บน้ํากระเสียว 0.79 0.96 0.71 0.93 1.29 0.77 1.09 0.86 0.19 0.60 0.71 0.63

บริเวณกลางอางเก็บน้ํากระเสียว 0.57 0.74 0.66 0.88 1.31 1.09 0.77 0.75 0.82 0.58 0.68 1.04

บริเวณกระชังเล้ียงปลา

ในอางเก็บน้ํากระเสียว

0.49 0.79 0.79 0.93 1.18 0.58 0.68 0.83 0.74 0.66 0.74 1.01

บริเวณทายอางเก็บน้ํากระเสียว 1.01 0.74 0.66 0.90 1.04 0.90 0.63 0.72 0.58 0.71 0.74 0.68

อางเก็บน้ํากระเสียว 0.72 0.81 0.70 0.91 1.20 0.84 0.79 0.79 0.58 0.64 0.72 0.84

ฝายวิทยาลัยเกษตร 0.66 0.60 0.75 0.79 0.96 0.93 0.98 0.77 0.47 0.58 0.63 0.85

โรงงานน้ําตาล 0.85 0.82 0.92 0.85 0.90 0.88 0.96 0.83 1.24 0.49 0.74 0.58

สะพานวังน้ําโจน 0.77 0.82 0.96 0.88 0.93 0.68 1.15 1.02 1.21 0.63 0.66 0.66

ระบบสงน้ํา 1.04 0.82 0.66 0.82 0.90 1.12 1.18 1.22 0.96 0.68 0.79 1.18

ปลายลําหวยขจี 0.98 1.37 0.90 1.34 0.98 1.37 1.72 0.99 0.85 0.79 0.85 0.68

สะพานวัดไทร 2.57 1.61 1.56 1.29 1.78 1.29 1.67 1.13 0.94 0.63 0.79 0.90

ทางน้ําชลประทาน 1.14 1.01 0.96 1.00 1.08 1.04 1.28 0.99 0.94 0.63 0.74 0.81

จุดเฝาระวังคุณภาพน้ํากอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

1.75 1.48 1.42 1.61 1.14 1.00 2.24 1.13 1.15 0.71 0.60 1.53

Page 296: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ
Page 297: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

ตารางท่ี ง.17 เปรียบเทียบปริมาณไนโตรเจนท้ังหมด ระหวาง 12 เดือน แยกตามแตละจุดเก็บตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของโครงการ

สงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

จุดเก็บตัวอยางน้ํา ปริมาณไนโตรเจนท้ังหมด (มิลลิกรัมตอลิตร)

ก.พ. 53 มี.ค. 53 เม.ย. 53 พ.ค. 53 มิ.ย. 53 ก.ค. 53 ส.ค. 53 ก.ย. 53 ต.ค. 53 พ.ย. 53 ธ.ค. 53 ม.ค. 54

บริเวณตนอางเก็บน้ํากระเสียว 0.79 0.99 0.72 1.23 1.69 0.84 1.39 1.18 1.27 0.62 0.84 0.72

บริเวณกลางอางเก็บน้ํากระเสียว 0.58 0.75 0.67 1.07 1.72 1.12 0.85 0.92 0.84 0.61 0.73 1.10

บริเวณกระชังเล้ียงปลา

ในอางเก็บน้ํากระเสียว

0.49 0.80 0.8 1.12 1.28 0.9 1.03 0.96 0.89 0.72 0.81 1.06

บริเวณทายอางเก็บน้ํากระเสียว 1.02 0.75 0.65 1.10 1.46 0.92 0.74 0.87 0.78 0.73 0.74 0.74

อางเก็บน้ํากระเสียว 0.72 0.82 0.71 1.13 1.54 0.94 1.00 0.98 0.94 0.67 0.78 0.90

ฝายวิทยาลัยเกษตร 0.75 0.64 0.74 1.11 1.46 1.00 1.16 0.22 0.95 0.59 0.67 1.00

โรงงานน้ําตาล 0.88 0.88 0.91 1.33 1.76 1.02 1.13 1.18 1.40 0.51 0.81 0.67

สะพานวังน้ําโจน 0.88 0.89 0.95 1.51 1.87 0.85 1.32 1.36 1.37 0.66 0.74 0.81

ระบบสงน้ํา 1.62 0.98 0.79 1.62 2.16 1.62 1.46 1.83 1.06 0.70 0.96 1.90

ปลายลําหวยขจี 0.99 1.52 1.26 6.33 1.54 1.47 1.93 1.16 0.96 0.88 1.03 1.22

สะพานวัดไทร 12.70 1.76 1.99 5.93 3.20 1.38 1.90 1.30 1.04 0.82 0.96 1.11

ทางน้ําชลประทาน 2.97 1.11 1.11 2.97 2.00 1.22 1.48 1.18 1.13 0.69 0.86 1.12

จุดเฝาระวังคุณภาพน้ํากอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

2.39 2.67 1.45 9.86 3.77 1.52 2.55 1.59 2.25 0.78 1.54 2.37

Page 298: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ
Page 299: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

ตารางท่ี ง.18 เปรียบเทียบปริมาณ แคลเซียม ระหวาง 12 เดือน แยกตามแตละจุดเก็บตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของโครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

จุดเก็บตัวอยางน้ํา ปริมาณแคลเซียม (มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร)

ก.พ. 53 มี.ค. 53 เม.ย. 53 พ.ค. 53 มิ.ย. 53 ก.ค. 53 ส.ค. 53 ก.ย. 53 ต.ค. 53 พ.ย. 53 ธ.ค. 53 ม.ค. 54

บริเวณตนอางเก็บน้ํากระเสียว 1.81 2.11 2.01 1.61 1.46 1.61 1.61 2.06 1.91 1.66 1.71 1.81

บริเวณกลางอางเก็บน้ํากระเสียว 1.81 2.16 1.76 1.61 1.51 1.71 1.61 1.54 1.66 1.56 1.56 1.91

บริเวณกระชังเล้ียงปลา

ในอางเก็บน้ํากระเสียว

1.81 2.06 1.91 1.76 1.71 2.01 1.61 1.46 1.86 1.51 1.51 1.86

บริเวณทายอางเก็บน้ํากระเสียว 1.81 2.06 1.91 1.71 1.81 1.61 1.56 1.51 1.51 1.56 1.51 1.66

อางเก็บน้ํากระเสียว 1.81 2.10 1.90 1.67 1.62 1.74 1.60 1.64 1.74 1.57 1.57 1.81

ฝายวิทยาลัยเกษตร 2.01 1.81 1.86 1.71 1.71 1.61 1.51 1.71 1.61 1.56 1.66 2.01

โรงงานน้ําตาล 1.81 1.61 1.96 1.56 1.36 1.61 1.51 1.96 1.71 1.76 1.56 2.06

สะพานวังน้ําโจน 1.91 1.76 1.91 1.66 1.41 1.86 1.61 2.06 1.71 1.36 1.56 2.06

ระบบสงน้ํา 2.11 1.81 1.96 1.51 1.46 2.36 1.66 2.31 1.76 1.36 1.46 2.46

ปลายลําหวยขจี 1.61 2.06 2.01 2.46 1.66 1.96 1.41 1.46 1.46 1.51 1.56 2.11

สะพานวัดไทร 1.61 2.11 2.26 2.36 2.21 2.01 1.46 1.46 1.56 1.41 1.36 1.71

ทางน้ําชลประทาน 1.84 1.86 1.99 1.88 1.63 1.90 1.53 1.83 1.64 1.49 1.53 2.07

จุดเฝาระวังคุณภาพน้ํากอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

2.66 2.91 3.02 2.56 2.46 2.01 1.71 1.81 2.06 2.11 2.36 2.76

Page 300: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ
Page 301: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

ตารางท่ี ง.19 เปรียบเทียบปริมาณ แมกนีเซียมระหวาง 12 เดือน แยกตามแตละจุดเก็บตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของโครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

จุดเก็บตัวอยางน้ํา ปริมาณแมกนีเซียม (มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร)

ก.พ. 53 มี.ค. 53 เม.ย. 53 พ.ค. 53 มิ.ย. 53 ก.ค. 53 ส.ค. 53 ก.ย. 53 ต.ค. 53 พ.ย. 53 ธ.ค. 53 ม.ค. 54

บริเวณตนอางเก็บน้ํากระเสียว 0.40 0.25 0.35 0.55 0.65 0.65 0.65 0.20 0.15 0.30 0.55 0.60

บริเวณกลางอางเก็บน้ํากระเสียว 0.40 0.20 0.50 0.65 0.60 0.55 0.70 0.67 0.30 0.40 0.75 0.45

บริเวณกระชังเล้ียงปลา

ในอางเก็บน้ํากระเสียว

0.35 0.30 0.25 0.45 0.45 0.25 0.80 0.75 0.20 0.50 0.65 0.55

บริเวณทายอางเก็บน้ํากระเสียว 0.60 0.35 0.40 0.45 0.45 0.70 0.70 0.70 0.50 0.45 0.70 0.65

อางเก็บน้ํากระเสียว 0.44 0.27 0.37 0.53 0.54 0.54 0.71 0.58 0.28 0.41 0.66 0.56

ฝายวิทยาลัยเกษตร 0.45 0.50 0.50 0.55 0.50 0.60 0.65 0.95 0.40 0.45 0.70 0.65

โรงงานน้ําตาล 0.85 0.80 0.35 0.75 0.95 0.85 0.60 0.75 0.45 0.25 0.75 0.85

สะพานวังน้ําโจน 0.70 0.70 0.40 0.60 0.90 0.70 0.45 0.75 0.50 0.65 0.85 0.96

ระบบสงน้ํา 0.80 0.65 0.50 0.75 0.75 0.40 0.55 0.45 0.30 0.65 1.00 0.50

ปลายลําหวยขจี 1.20 0.75 0.55 0.56 1.15 0.20 0.75 0.20 0.20 0.55 1.20 1.21

สะพานวัดไทร 0.50 0.45 0.40 0.70 0.91 0.35 0.60 0.15 0.35 0.65 0.65 0.55

ทางน้ําชลประทาน 0.75 0.64 0.45 0.65 0.86 0.52 0.60 0.54 0.37 0.53 0.86 0.79

จุดเฝาระวังคุณภาพน้ํากอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

0.56 0.56 0.25 0.91 0.45 0.40 0.25 0.45 0.10 0.55 0.60 0.56

Page 302: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ
Page 303: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

ตารางท่ี ง.20 เปรียบเทียบปริมาณ โซเดียม ระหวาง 12 เดือน แยกตามแตละจุดเก็บตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของโครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

จุดเก็บตัวอยางน้ํา ปริมาณโซเดียม (มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร)

ก.พ. 53 มี.ค. 53 เม.ย. 53 พ.ค. 53 มิ.ย. 53 ก.ค. 53 ส.ค. 53 ก.ย. 53 ต.ค. 53 พ.ย. 53 ธ.ค. 53 ม.ค. 54

บริเวณตนอางเก็บน้ํากระเสียว 0.28 0.30 0.35 0.35 0.41 0.38 0.37 0.21 0.19 0.13 0.18 0.19

บริเวณกลางอางเก็บน้ํากระเสียว 0.32 0.28 0.33 0.33 0.38 0.38 0.34 0.25 0.19 0.12 0.14 0.19

บริเวณกระชังเล้ียงปลา

ในอางเก็บน้ํากระเสียว

0.31 0.28 0.33 0.36 0.35 0.36 0.36 0.26 0.21 0.14 0.14 0.20

บริเวณทายอางเก็บน้ํากระเสียว 0.30 0.28 0.31 0.38 0.30 0.32 0.32 0.24 0.19 0.14 0.13 0.19

อางเก็บน้ํากระเสียว 0.30 0.28 0.33 0.35 0.36 0.36 0.35 0.24 0.20 0.13 0.15 0.19

ฝายวิทยาลัยเกษตร 0.43 0.26 0.30 0.38 0.25 0.33 0.37 0.43 0.22 0.16 0.14 0.29

โรงงานน้ําตาล 0.45 0.26 0.31 0.37 0.28 0.45 0.37 0.48 0.22 0.17 0.14 0.35

สะพานวังน้ําโจน 0.54 0.27 0.31 0.40 0.29 0.82 0.59 1.00 0.24 0.19 0.28 0.36

ระบบสงน้ํา 0.80 0.29 0.29 0.38 0.33 0.57 0.63 0.94 0.24 0.20 0.41 0.43

ปลายลําหวยขจี 0.90 0.74 0.68 0.96 0.74 0.38 0.77 0.51 0.31 0.24 0.53 0.57

สะพานวัดไทร 0.30 0.50 0.64 0.98 0.75 0.61 0.85 0.53 0.28 0.21 0.52 0.34

ทางน้ําชลประทาน 0.57 0.39 0.42 0.58 0.44 0.53 0.60 0.65 0.25 0.19 0.34 0.39

จุดเฝาระวังคุณภาพน้ํากอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

0.61 1.46 2.76 1.80 1.08 0.34 0.37 0.21 0.19 0.20 0.30 0.74

Page 304: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ
Page 305: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

ตารางท่ี ง.21 เปรียบเทียบปริมาณโพแทสเซียมระหวาง 12 เดือน แยกตามแตละจุดเก็บตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของโครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

จุดเก็บตัวอยางน้ํา ปริมาณโพแทสเซียม (มิลลิกรัมตอลิตร)

ก.พ. 53 มี.ค. 53 เม.ย. 53 พ.ค. 53 มิ.ย. 53 ก.ค. 53 ส.ค. 53 ก.ย. 53 ต.ค. 53 พ.ย. 53 ธ.ค. 53 ม.ค. 54

บริเวณตนอางเก็บน้ํากระเสียว 3.9 4.7 4.3 4.7 7.4 6.2 4.7 1.6 3.9 3.9 3.1 3.9

บริเวณกลางอางเก็บน้ํากระเสียว 3.9 4.7 4.3 4.7 7.0 6.2 4.7 3.9 3.9 3.9 3.1 3.9

บริเวณกระชังเล้ียงปลา

ในอางเก็บน้ํากระเสียว

3.5 4.7 3.1 5.1 6.2 6.2 5.1 3.9 3.9 3.9 3.1 3.9

บริเวณทายอางเก็บน้ํากระเสียว 3.1 4.7 3.9 5.1 5.9 5.9 5.5 3.9 3.9 3.9 2.7 3.5

อางเก็บน้ํากระเสียว 3.6 4.7 3.9 4.9 6.6 6.1 5.0 3.3 3.9 3.9 3.0 3.8

ฝายวิทยาลัยเกษตร 3.1 4.7 3.9 5.1 6.6 5.9 5.9 4.3 4.3 3.9 3.1 3.5

โรงงานน้ําตาล 3.1 4.7 4.3 5.5 7.0 5.9 5.9 5.1 4.3 3.9 3.5 4.3

สะพานวังน้ําโจน 4.3 4.7 5.5 5.9 6.6 9.0 6.6 9.0 5.9 3.9 4.3 4.7

ระบบสงน้ํา 8.2 4.7 5.1 5.9 6.6 8.2 7.4 10.6 5.5 3.9 5.1 6.6

ปลายลําหวยขจี 7.8 7.4 6.2 10.6 2.7 6.2 8.2 4.3 3.9 3.5 5.5 6.6

สะพานวัดไทร 5.9 5.5 6.2 10.2 4.7 7.8 8.2 4.7 4.3 3.9 4.3 3.9

ทางน้ําชลประทาน 5.4 5.3 5.2 7.2 5.7 7.2 7.0 6.3 4.7 3.8 4.3 4.9

จุดเฝาระวังคุณภาพน้ํากอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

21.1 19.9 23.1 30.9 28.2 5.1 3.9 1.2 2.7 4.7 6.6 16

Page 306: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ
Page 307: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

ตารางท่ี ง.22 เปรียบเทียบปริมาณ คารบอเนต ระหวาง 12 เดือน แยกตามแตละจุดเก็บตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของโครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

จุดเก็บตัวอยางน้ํา ปริมาณคารบอเนต (มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร)

ก.พ. 53 มี.ค. 53 เม.ย. 53 พ.ค. 53 มิ.ย. 53 ก.ค. 53 ส.ค. 53 ก.ย. 53 ต.ค. 53 พ.ย. 53 ธ.ค. 53 ม.ค. 54

บริเวณตนอางเก็บน้ํากระเสียว 0.47 0.27 0.00 0.00 0.36 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

บริเวณกลางอางเก็บน้ํากระเสียว 0.43 0.31 0.00 0.00 9.60 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.39 0.00

บริเวณกระชังเล้ียงปลา

ในอางเก็บน้ํากระเสียว

0.62 0.39 0.00 0.00 0.32 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.35 0.00

บริเวณทายอางเก็บน้ํากระเสียว 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

อางเก็บน้ํากระเสียว 0.38 0.24 0.00 0.00 0.25 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.18 0.00

ฝายวิทยาลัยเกษตร 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

โรงงานน้ําตาล 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

สะพานวังน้ําโจน 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

ระบบสงน้ํา 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

ปลายลําหวยขจี 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

สะพานวัดไทร 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

ทางน้ําชลประทาน 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

จุดเฝาระวังคุณภาพน้ํากอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

Page 308: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ
Page 309: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

ตารางท่ี ง.23 เปรียบเทียบปริมาณไบคารบอเนตระหวาง 12 เดือน แยกตามแตละจุดเก็บตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของโครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

จุดเก็บตัวอยางน้ํา ปริมาณไบคารบอเนต (มิลลิอิควิวาเลซตอลิตร)

ก.พ. 53 มี.ค. 53 เม.ย. 53 พ.ค. 53 มิ.ย. 53 ก.ค. 53 ส.ค. 53 ก.ย. 53 ต.ค. 53 พ.ย. 53 ธ.ค. 53 ม.ค. 54

บริเวณตนอางเก็บน้ํากระเสียว 1.52 1.82 2.25 2.15 1.58 2.22 2.14 2.17 1.86 2.00 2.19 2.33

บริเวณกลางอางเก็บน้ํากระเสียว 1.50 1.72 2.25 2.13 1.58 2.20 2.08 2.15 1.88 1.98 1.60 2.31

บริเวณกระชังเล้ียงปลา

ในอางเก็บน้ํากระเสียว

1.29 1.60 2.23 2.11 1.68 2.08 2.08 2.09 1.88 1.98 1.64 2.33

บริเวณทายอางเก็บน้ํากระเสียว 2.23 2.19 2.21 2.15 2.22 2.10 2.08 2.13 1.78 2.00 2.03 2.27

อางเก็บน้ํากระเสียว 1.63 1.83 2.24 2.14 1.76 2.15 2.10 2.14 1.85 1.99 1.86 2.31

ฝายวิทยาลัยเกษตร 2.40 2.19 2.23 2.13 2.20 2.16 2.04 2.55 1.90 2.03 2.09 2.68

โรงงานน้ําตาล 2.54 2.19 2.25 2.17 2.20 2.40 2.06 2.49 1.93 2.03 2.27 2.88

สะพานวังน้ําโจน 2.38 2.23 2.13 2.19 2.20 2.64 2.10 2.88 1.95 2.11 2.35 2.88

ระบบสงน้ํา 2.89 2.19 2.33 2.15 2.22 2.54 2.08 2.94 1.99 2.13 2.42 2.89

ปลายลําหวยขจี 2.72 2.66 2.58 3.01 3.00 2.12 2.04 1.62 1.72 2.25 2.74 3.25

สะพานวัดไทร 2.54 2.46 2.58 3.11 3.22 2.34 1.94 1.62 1.88 2.17 1.94 2.21

ทางน้ําชลประทาน 2.58 2.32 2.35 2.46 2.51 2.37 2.04 2.35 1.89 2.12 2.30 2.80

จุดเฝาระวังคุณภาพน้ํากอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

3.38 3.68 3.52 4.07 3.04 2.16 1.62 2.13 2.05 2.66 2.80 3.42

Page 310: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ
Page 311: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

ตารางท่ี ง.24 เปรียบเทียบปริมาณ คลอไรด ระหวาง 12 เดือน แยกตามแตละจุดเก็บตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของโครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

จุดเก็บตัวอยางน้ํา ปริมาณคลอไรด (มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร)

ก.พ. 53 มี.ค. 53 เม.ย. 53 พ.ค. 53 มิ.ย. 53 ก.ค. 53 ส.ค. 53 ก.ย. 53 ต.ค. 53 พ.ย. 53 ธ.ค. 53 ม.ค. 54

บริเวณตนอางเก็บน้ํากระเสียว 0.33 0.33 0.30 0.35 0.65 0.33 0.35 0.21 0.26 0.19 0.16 0.19

บริเวณกลางอางเก็บน้ํากระเสียว 0.35 0.33 0.26 0.33 0.65 0.33 0.33 0.33 0.21 0.14 0.14 0.19

บริเวณกระชังเล้ียงปลา

ในอางเก็บน้ํากระเสียว

0.28 0.33 0.33 0.30 0.65 0.33 0.38 0.30 0.21 0.16 0.12 0.21

บริเวณทายอางเก็บน้ํากระเสียว 0.28 0.28 0.28 0.30 0.65 0.33 0.30 0.35 0.26 0.14 0.16 0.19

อางเก็บน้ํากระเสียว 0.31 0.32 0.29 0.32 0.65 0.33 0.34 0.30 0.23 0.16 0.14 0.19

ฝายวิทยาลัยเกษตร 0.38 0.26 0.30 0.35 0.65 0.38 0.33 0.44 0.21 0.16 0.19 0.28

โรงงานน้ําตาล 0.38 0.30 0.30 0.30 0.57 0.38 0.33 0.42 0.19 0.19 0.19 0.28

สะพานวังน้ําโจน 0.47 0.23 0.30 0.35 1.41 0.75 0.52 0.94 0.26 0.21 0.37 0.33

ระบบสงน้ํา 0.66 0.30 0.28 0.33 0.38 0.52 0.47 0.89 0.21 0.21 0.37 0.35

ปลายลําหวยขจี 0.68 0.52 0.44 0.61 0.76 0.44 0.70 0.38 0.28 0.23 0.42 0.42

สะพานวัดไทร 0.28 0.38 0.42 0.59 0.72 0.56 0.63 0.40 0.26 0.30 0.33 0.26

ทางน้ําชลประทาน 0.48 0.33 0.34 0.42 0.75 0.50 0.50 0.58 0.23 0.22 0.31 0.32

จุดเฝาระวังคุณภาพน้ํากอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

1.12 1.50 3.24 2.11 1.31 0.33 0.30 0.21 0.21 0.21 0.28 0.61

Page 312: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ
Page 313: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

ตารางท่ี ง.25 เปรียบเทียบปริมาณ ซัลเฟต ระหวาง 12 เดือน แยกตามแตละจุดเก็บตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของโครงการสงนํ้า

และบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

จุดเก็บตัวอยางน้ํา ปริมาณซัลเฟต (มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร)

ก.พ. 53 มี.ค. 53 เม.ย. 53 พ.ค. 53 มิ.ย. 53 ก.ค. 53 ส.ค. 53 ก.ย. 53 ต.ค. 53 พ.ย. 53 ธ.ค. 53 ม.ค. 54

บริเวณตนอางเก็บน้ํากระเสียว 0.06 0.08 0.07 0.08 0.07 0.08 0.13 0.16 0.12 0.06 0.24 0.04

บริเวณกลางอางเก็บน้ํากระเสียว 0.05 0.04 0.07 0.08 0.03 0.07 0.12 0.13 0.34 0.05 0.15 0.02

บริเวณกระชังเล้ียงปลา

ในอางเก็บน้ํากระเสียว

0.05 0.04 0.08 0.09 0.03 0.06 0.10 0.14 0.02 0.07 0.20 0.02

บริเวณทายอางเก็บน้ํากระเสียว 0.07 0.04 0.07 0.08 0.02 0.03 0.11 0.06 0.14 0.08 0.29 0.05

อางเก็บน้ํากระเสียว 0.06 0.05 0.07 0.08 0.04 0.06 0.12 0.12 0.16 0.06 0.22 0.03

ฝายวิทยาลัยเกษตร 0.05 0.04 0.07 0.06 0.02 0.06 0.14 0.09 0.15 0.04 0.15 0.04

โรงงานน้ําตาล 0.10 0.07 0.07 0.10 0.02 0.09 0.14 0.11 0.05 0.07 0.14 0.10

สะพานวังน้ําโจน 0.14 0.05 0.09 0.11 0.05 0.15 0.18 0.12 0.15 0.06 0.14 0.12

ระบบสงน้ํา 0.10 0.07 0.08 0.11 0.17 0.15 0.23 0.14 0.20 0.08 0.26 0.10

ปลายลําหวยขจี 0.14 0.19 0.12 0.62 0.06 0.18 0.14 0.08 0.09 0.14 0.24 0.11

สะพานวัดไทร 0.09 0.11 0.10 0.70 0.06 0.19 0.20 0.08 0.09 0.10 0.19 0.10

ทางน้ําชลประทาน 0.10 0.09 0.09 0.28 0.06 0.14 0.17 0.10 0.12 0.08 0.19 0.10

จุดเฝาระวังคุณภาพน้ํากอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

0.12 0.16 0.09 0.65 0.31 0.29 0.44 0.18 0.19 0.06 0.24 0.12

Page 314: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ
Page 315: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

ตารางท่ี ง.26 เปรียบเทียบเปอรเซ็นตโซเดียมท่ีละลายนํ้า (SSP) ระหวาง 12 เดือน แยกตามแตละจุดเก็บตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทานของ

โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

จุดเก็บตัวอยางน้ํา เปอรเซ็นตโซเดียมท่ีละลายน้ํา (เปอรเซ็นต)

ก.พ. 53 มี.ค. 53 เม.ย. 53 พ.ค. 53 มิ.ย. 53 ก.ค. 53 ส.ค. 53 ก.ย. 53 ต.ค. 53 พ.ย. 53 ธ.ค. 53 ม.ค. 54

บริเวณตนอางเก็บน้ํากระเสียว 10.81 10.80 12.41 13.30 15.12 13.58 13.46 3.37 8.08 5.94 7.14 7.04

บริเวณกลางอางเก็บน้ํากระเสียว 12.17 10.14 12.22 12.18 13.26 13.58 12.28 9.77 8.44 5.50 5.53 7.17

บริเวณกระชังเล้ียงปลา

ในอางเก็บน้ํากระเสียว

12.10 10.14 12.84 13.33 13.10 12.94 12.41 10.11 8.87 6.22 5.88 7.38

บริเวณทายอางเก็บน้ํากระเสียว 10.76 9.97 11.40 14.23 11.07 11.94 11.77 9.41 8.27 6.71 5.39 7.34

อางเก็บน้ํากระเสียว 11.46 10.26 12.22 13.26 13.14 13.01 12.48 8.16 8.42 6.09 5.98 7.23

ฝายวิทยาลัยเกษตร 14.48 9.67 10.87 13.71 9.50 12.67 13.80 13.43 9.40 7.05 5.43 9.54

โรงงานน้ําตาล 14.10 9.31 11.36 13.20 10.10 15.20 14.06 14.46 8.83 7.46 5.51 10.38

สะพานวังน้ําโจน 16.57 9.48 11.23 14.23 10.47 22.71 20.92 24.76 9.23 8.26 10.00 10.28

ระบบสงน้ํา 20.40 10.10 10.07 13.62 12.18 16.10 20.80 23.68 9.83 8.66 13.67 12.08

ปลายลําหวยขจี 23.01 19.79 20.00 22.59 20.44 14.07 24.52 22.37 14.29 10.04 15.45 14.04

สะพานวัดไทร 11.77 15.62 18.50 22.80 18.80 19.24 27.24 23.46 12.18 9.02 19.70 12.59

ทางน้ําชลประทาน 16.72 12.33 13.67 16.69 13.58 16.66 20.22 20.36 10.63 8.42 11.63 11.48

จุดเฝาระวังคุณภาพน้ํากอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

13.96 26.82 41.50 29.70 22.92 11.80 15.22 8.40 7.86 6.22 8.75 16.78

Page 316: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ
Page 317: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

ตารางท่ี ง.27 เปรียบเทียบสัดสวนของการดูดซับโซเดียม (SAR) ระหวาง 12 เดือน แยกตามแตละจุดเก็บตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน

ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

จุดเก็บตัวอยางน้ํา สัดสวนของการดูดซับโซเดียม

ก.พ. 53 มี.ค. 53 เม.ย. 53 พ.ค. 53 มิ.ย. 53 ก.ค. 53 ส.ค. 53 ก.ย. 53 ต.ค. 53 พ.ย. 53 ธ.ค. 53 ม.ค. 54

บริเวณตนอางเก็บน้ํากระเสียว 0.3 0.3 0.3 0.3 0.4 0.4 0.3 0.2 0.2 0.1 0.2 0.2

บริเวณกลางอางเก็บน้ํากระเสียว 0.3 0.2 0.3 0.3 0.3 0.4 0.3 0.2 0.2 0.1 0.1 0.2

บริเวณกระชังเล้ียงปลา

ในอางเก็บน้ํากระเสียว

0.3 0.2 0.3 0.3 0.3 0.3 0.3 0.2 0.2 0.1 0.1 0.2

บริเวณทายอางเก็บน้ํากระเสียว 0.3 0.2 0.3 0.4 0.3 0.3 0.3 0.2 0.2 0.1 0.1 0.2

อางเก็บน้ํากระเสียว 0.3 0.2 0.3 0.3 0.3 0.4 0.3 0.2 0.2 0.1 0.1 0.2

ฝายวิทยาลัยเกษตร 0.4 0.2 0.3 0.4 0.2 0.3 0.4 0.4 0.2 0.2 0.1 0.2

โรงงานน้ําตาล 0.4 0.2 0.3 0.3 0.3 0.4 0.4 0.4 0.2 0.2 0.1 0.3

สะพานวังน้ําโจน 0.5 0.2 0.3 0.4 0.3 0.7 0.6 0.8 0.2 0.2 0.2 0.3

ระบบสงน้ํา 0.7 0.3 0.3 0.4 0.3 0.5 0.6 0.8 0.2 0.2 0.4 0.4

ปลายลําหวยขจี 0.8 0.6 0.6 0.8 0.6 0.4 0.7 0.6 0.3 0.2 0.4 0.4

สะพานวัดไทร 0.3 0.4 0.6 0.8 0.6 0.6 0.8 0.6 0.3 0.2 0.5 0.3

ทางน้ําชลประทาน 0.5 0.3 0.4 0.5 0.4 0.5 0.6 0.6 0.2 0.2 0.3 0.3

จุดเฝาระวังคุณภาพน้ํากอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

0.5 1.1 2.2 1.4 0.9 0.3 0.4 0.2 0.2 0.2 0.2 0.6

Page 318: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ
Page 319: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

ตารางท่ี ง.28 เปรียบเทียบปริมาณโซเดียมคารบอเนตตกคาง (RSC) ระหวาง 12 เดือน แยกตามแตละจุดเก็บตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน

ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

จุดเก็บตัวอยางน้ํา ปริมาณโซเดียมคารบอเนตตกคาง (มิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร)

ก.พ. 53 มี.ค. 53 เม.ย. 53 พ.ค. 53 มิ.ย. 53 ก.ค. 53 ส.ค. 53 ก.ย. 53 ต.ค. 53 พ.ย. 53 ธ.ค. 53 ม.ค. 54

บริเวณตนอางเก็บน้ํากระเสียว 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.04 0.00 0.00

บริเวณกลางอางเก็บน้ํากระเสียว 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.02 0.00 0.00

บริเวณกระชังเล้ียงปลา

ในอางเก็บน้ํากระเสียว

0.00 0.00 0.07 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

บริเวณทายอางเก็บน้ํากระเสียว 0.00 0.00 0.10 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

อางเก็บน้ํากระเสียว 0.00 0.00 0.04 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.02 0.00 0.00

ฝายวิทยาลัยเกษตร 0.00 0.00 0.13 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.02 0.00 0.02

โรงงานน้ําตาล 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.04 0.00 0.00 0.00 0.02 0.00 0.00

สะพานวังน้ําโจน 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.08 0.04 0.07 0.00 0.10 0.00 0.00

ระบบสงน้ํา 0.00 0.00 0.00 0.00 0.01 0.00 0.00 0.18 0.00 0.12 0.00 0.00

ปลายลําหวยขจี 0.00 0.00 0.02 0.00 0.11 0.00 0.00 0.00 0.00 0.19 0.00 0.00

สะพานวัดไทร 0.43 0.00 0.00 0.05 0.10 0.00 0.00 0.01 0.00 0.11 0.00 0.00

ทางน้ําชลประทาน 0.07 0.00 0.02 0.01 0.04 0.02 0.01 0.04 0.00 0.09 0.00 0.00

จุดเฝาระวังคุณภาพน้ํากอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

0.16 0.21 0.25 0.60 0.13 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.10

Page 320: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ
Page 321: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

ตารางท่ี ง.29 เปรียบเทียบปริมาณความกระดางท้ังหมดในรูป CaCO 3 ระหวาง 12 เดือน แยกตามแตละจุดเก็บตัวอยางนํ้าของอางเก็บนํ้ากระเสียว ทางนํ้าชลประทาน

ของโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวังคุณภาพนํ้ากอนไหลลงอางเก็บนํ้ากระเสียว

จุดเก็บตัวอยางน้ํา ปริมาณความกระดางท้ังหมดในรูป CaCO 3 (มิลลิกรัมตอลิตร)

ก.พ. 53 มี.ค. 53 เม.ย. 53 พ.ค. 53 มิ.ย. 53 ก.ค. 53 ส.ค. 53 ก.ย. 53 ต.ค. 53 พ.ย. 53 ธ.ค. 53 ม.ค. 54

บริเวณตนอางเก็บน้ํากระเสียว 110.6 118.1 118.1 108.1 105.6 113.1 113.1 113.1 103.1 98.1 113.1 120.6

บริเวณกลางอางเก็บน้ํากระเสียว 110.6 118.1 113.1 113.1 105.6 113.1 115.6 110.6 98.1 98.1 115.6 118.1

บริเวณกระชังเล้ียงปลา

ในอางเก็บน้ํากระเสียว

108.1 118.1 108.1 110.6 108.1 113.1 120.6 110.6 103.1 100.6 108.1 120.6

บริเวณทายอางเก็บน้ํากระเสียว 120.6 120.6 115.6 108.1 113.1 110.6 113.1 110.6 100.6 100.6 110.6 115.6

อางเก็บน้ํากระเสียว 112.5 118.7 113.7 110.0 108.1 112.5 115.6 111.2 101.2 99.4 111.8 118.7

ฝายวิทยาลัยเกษตร 123.1 115.6 118.1 113.1 110.6 110.6 108.1 133.1 100.6 100.6 118.1 133.1

โรงงานน้ําตาล 133.1 120.6 115.6 115.6 115.6 118.1 105.6 135.6 108.1 100.6 115.6 145.6

สะพานวังน้ําโจน 130.6 123.1 115.6 113.1 115.6 128.1 103.1 140.6 110.6 100.6 120.6 151.1

ระบบสงน้ํา 145.6 123.1 123.1 113.1 110.6 138.1 110.6 138.1 103.1 100.6 123.1 148.1

ปลายลําหวยขจี 140.6 140.6 128.1 151.1 140.6 108.1 108.1 83.1 88.1 103.1 138.1 166.1

สะพานวัดไทร 105.6 128.1 133.1 153.1 156.1 118.1 103.1 80.6 95.6 103.1 100.6 113.1

ทางน้ําชลประทาน 129.8 125.2 122.3 126.5 124.8 120.2 106.4 118.5 101.0 101.4 119.4 142.8

จุดเฝาระวังคุณภาพน้ํากอนไหลลง

อางเก็บน้ํากระเสียว

161.1 173.6 163.6 173.6 145.6 120.6 98.1 113.1 108.1 133.1 148.1 166.1

Page 322: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ
Page 323: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

ภาคผนวก จ

ผลวิเคราะหคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีทางสถิต ิ

โดยการวิเคราะหความแปรปรวนแบบทางเดียว

Page 324: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

ตารางท่ี จ.1 เปรียบเทียบความแตกตางทางสถิติของคาเฉลี่ยของดัชนีคุณภาพน้ําระหวาง 3 ฤดูกาล ของตัวอยางน้ํา

ท่ีเก็บจากอางเก็บน้ํากระเสียวโดยวิเคราะหความแปรปรวนแบบทางเดียว

ดัชนีคุณภาพน้ํา ฤดูรอน ฤดูฝน ฤดูหนาว Sig.

อุณหภูมิน้ํา 29.0 b 30.9 a 25.7 c *

ความนําไฟฟา 252 a 254 a 225 b *

ความเค็ม 0.1 0.1 0.1 ns

ความขุน 7.2 b 21.6 a 8.7 b *

ปริมาณสารแขวนลอย 5.85 b 18.37 a 8.04 b *

ปริมาณของแข็งทั้งหมดที่ละลายในน้ํา 163 a 152 a 129 b *

ความเปนกรด – ดาง 7.9 7.4 7.8 ns

ปริมาณออกซิเจนละลายในน้ํา 5.55 a 4.84 b 5.05 ab *

ปริมาณบีโอดี 2.40 a 2.64 a 1.71 b *

ปริมาณซัลไฟดในรูปไฮโดรเจนซัลไฟด 0.004 b 0.009 a 0.002 b *

ปริมาณฟอสเฟตฟอสฟอรัส 0.002 0.002 0.002 ns

ปริมาณไนไตรท – ไนโตรเจน 0.001 0.009 0.002 ns

ปริมาณไนเตรท – ไนโตรเจน 0.011 b 0.175 a 0.056 b *

ปริมาณไนโตรเจนในรูปทีเคเอ็น 0.73 b 0.90 a 0.73 b *

ปริมาณแอมโมเนีย – ไนโตรเจน 0.00 0.05 0.00 ns

ปริมาณอินทรียสารไนโตรเจน 0.74 0.85 0.73 ns

ปริมาณไนโตรเจนทั้งหมด 0.75 b 1.09 a 0.78 b *

ปริมาณแคลเซียม 1.94 a 1.67 b 1.65 b *

ปริมาณแมกนีเซียม 0.36 b 0.53 a 0.55 a *

ปริมาณโซเดียม 0.30 a 0.31 a 0.16 b *

ปริมาณโพแทสเซียม 4.1 b 5.0 a 3.6 b *

ปริมาณคารบอเนต 0.21 a 0.04 b 0.06 b *

ปริมาณไบคารบอเนต 1.90 2.02 2.06 ns

ปริมาณคลอไรด 0.31 a 0.36 a 0.16 b *

ปริมาณซัลเฟต 0.06 0.10 0.10 ns

เปอรเซ็นตโซเดียมที่ละลายน้ํา ( SSP ) 11.31 a 11.41 a 6.44 b *

สัดสวนของการดูดซับโซเดียม ( SAR ) 0.3 a 0.3 a 0.1 b *

ปริมาณโซเดียมคารบอเนตตกคาง ( RSC ) 0.01 0.00 0.01 ns

ปริมาณความกระดางทั้งหมดในรูป CaCO3 115.0 a 109.8 b 110.0 b *

หมายเหตุ : * = มีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ Sig. ≤ 0.05 และ ns = ไมมีความแตกตางกันทางสถิต ิ

ในแนวนอนที่ตัวอักษรเหมือนกัน ไมมีความแตกตางกันทางสถิติโดยวิธี DMRT ที่ระดับความเช่ือมั่น 95 เปอรเซ็นต

Page 325: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

ตารางท่ี จ. 2 เปรียบเทียบความแตกตางทางสถิติของคาเฉลี่ยของดัชนีคุณภาพน้ําระหวาง 3 ฤดูกาล ของ

ตัวอยางน้ําท่ีเก็บจากทางน้ําชลประทานของโครงการสงน้ําและบํารุงรักษากระเสียวโดยวิเคราะห

ความแปรปรวนแบบทางเดียว

ดัชนีคุณภาพน้ํา ฤดูรอน ฤดูฝน ฤดูหนาว Sig.

อุณหภูมิน้ํา 30.3 a 31.2 a 26.6 b *

ความนําไฟฟา 291 290 265 ns

ความเค็ม 0.1 0.1 0.1 ns

ความขุน 16.9 b 85.8 a 30.8 b *

ปริมาณสารแขวนลอย 21.04 b 61.74 a 39.85 ab *

ปริมาณของแข็งทั้งหมดที่ละลายในน้ํา 183 181 165 ns

ความเปนกรด - ดาง 7.9 a 7.4 b 7.4 b *

ปริมาณออกซิเจนละลายในน้ํา 4.74 ab 4.38 b 5.08 a *

ปริมาณบีโอดี 2.18 3.07 2.16 ns

ปริมาณซัลไฟดในรูปไฮโดรเจนซัลไฟด 0.008 b 0.017 a 0.008 b *

ปริมาณฟอสเฟตฟอสฟอรัส 0.099 0.042 0.016 ns

ปริมาณไนไตรท - ไนโตรเจน 0.010 b 0.035 a 0.016 ab *

ปริมาณไนเตรท - ไนโตรเจน 0.134 0.572 0.146 ns

ปริมาณไนโตรเจนในรูปทีเคเอ็น 1.76 a 1.08 ab 0.73 b *

ปริมาณแอมโมเนีย - ไนโตรเจน 0.28 0.02 0.00 ns

ปริมาณอินทรียสารไนโตรเจน 1.04 a 1.06 a 0.73 b *

ปริมาณไนโตรเจนทั้งหมด 1.73 1.66 0.89 ns

ปริมาณแคลเซียม 1.90 1.73 1.70 ns

ปริมาณแมกนีเซียม 0.61 0.59 0.73 ns

ปริมาณโซเดียม 0.46 a 0.51a 0.31b *

ปริมาณโพแทสเซียม 5.3 b 6.4 a 4.4 b *

ปริมาณคารบอเนต 0.00 0.00 0.00 ns

ปริมาณไบคารบอเนต 2.42 2.27 2.41 ns

ปริมาณคลอไรด 0.38 ab 0.50 a 0.28 b *

ปริมาณซัลเฟต 0.09 0.15 0.12 ns

เปอรเซ็นตโซเดียมที่ละลายน้ํา ( SSP ) 14.24 a 16.36 a 10.51 b *

สัดสวนของการดูดซับโซเดียม ( SAR ) 0.4 a 0.5 a 0.3 b *

ปริมาณโซเดียมคารบอเนตตกคาง ( RSC ) 0.03 0.02 0.03 ns

ปริมาณความกระดางทั้งหมดในรูป CaCO3 125.7 116.2 121.2 ns

หมายเหตุ : * = มีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ Sig. ≤ 0.05 และ ns = ไมมีความแตกตางกันทางสถิต ิ

ในแนวนอนที่ตัวอักษรเหมือนกัน ไมมีความแตกตางกันทางสถิติโดยวิธี DMRT ที่ระดับความเช่ือมั่น 95 เปอรเซ็นต

Page 326: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

ตารางท่ี จ.3 เปรียบเทียบความแตกตางทางสถิติของคาเฉลี่ยของดัชนีคุณภาพน้ําระหวาง 3 ฤดูกาล ของตัวอยางน้ํา

ท่ีเก็บจากจุดเฝาระวังคุณภาพน้ํากอนไหลลงอางเก็บน้ํากระเสียวโดยวิเคราะหความแปรปรวนแบบ

ทางเดียว

ดัชนีคุณภาพน้ํา ฤดูรอน ฤดูฝน ฤดูหนาว Sig.

อุณหภูมิน้ํา 29.0 a 30.0 a 24.9 b *

ความนําไฟฟา 578 358 331 ns

ความเค็ม 0.3 0.2 0.2 ns

ความขุน 67.5 417.7 69.1 ns

ปริมาณสารแขวนลอย 66.05 371.56 73.14 ns

ปริมาณของแข็งทั้งหมดที่ละลายในน้ํา 350 214 207 ns

ความเปนกรด - ดาง 7.6 7.2 7.4 ns

ปริมาณออกซิเจนละลายในน้ํา 4.73 5.05 5.06 ns

ปริมาณบีโอดี 4.73 3.86 5.11 ns

ปริมาณซัลไฟดในรูปไฮโดรเจนซัลไฟด 0.021 0.037 0.014 ns

ปริมาณฟอสเฟตฟอสฟอรัส 0.013 0.059 0.070 ns

ปริมาณไนไตรท - ไนโตรเจน 0.170 0.219 0.093 ns

ปริมาณไนเตรท – ไนโตรเจน 0.359 1.496 0.522 ns

ปริมาณไนโตรเจนในรูปทีเคเอ็น 1.64 1.88 0.95 ns

ปริมาณแอมโมเนีย - ไนโตรเจน 0.09 0.56 0.00 ns

ปริมาณอินทรียสารไนโตรเจน 1.55 1.38 0.95 ns

ปริมาณไนโตรเจนทั้งหมด 2.17 3.59 1.56 ns

ปริมาณแคลเซียม 2.86 a 2.10 b 2.41 ab *

ปริมาณแมกนีเซียม 0.46 0.43 0.57 ns

ปริมาณโซเดียม 1.61 0.66 0.41 ns

ปริมาณโพแทสเซียม 21.4 12.0 9.1 ns

ปริมาณคารบอเนต 0.00 0.00 0.00 ns

ปริมาณไบคารบอเนต 3.53 2.51 2.96 ns

ปริมาณคลอไรด 1.95 0.74 0.36 ns

ปริมาณซัลเฟต 0.12 0.34 0.14 ns

เปอรเซ็นตโซเดียมที่ละลายน้ํา ( SSP ) 27.43 15.98 10.58 ns

สัดสวนของการดูดซับโซเดียม ( SAR ) 1.3 0.6 0.3 ns

ปริมาณโซเดียมคารบอเนตตกคาง ( RSC ) 0.21 0.12 0.03 ns

ปริมาณความกระดางทั้งหมดในรูป CaCO3 166.1 126.5 149.1 ns

หมายเหตุ : * = มีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ Sig. ≤ 0.05 และ ns = ไมมีความแตกตางกันทางสถิต ิ

ในแนวนอนที่ตัวอักษรเหมือนกัน ไมมีความแตกตางกันทางสถิติโดยวิธี DMRT ที่ระดับความเช่ือมั่น 95 เปอรเซ็นต

Page 327: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

ตารางท่ี จ. 4 เปรียบเทียบความแตกตางทางสถิติของคาเฉลี่ยของดัชนีคุณภาพน้ําระหวางตัวอยางน้ําท่ีเก็บจาก

อางเก็บน้ํากระเสียว ทางน้ําชลประทานของโครงการสงน้ําและบํารุงรักษากระเสียว และจุดเฝาระวัง

คุณภาพน้ํากอนไหลลงอางเก็บน้ํากระเสียวโดยวิเคราะหความแปรปรวนแบบทางเดียว

ดัชนีคุณภาพน้ํา อางเก็บน้ํา

กระเสียว

ทางน้ํา

ชลประทาน

จุดเฝาระวังคุณภาพน้ํากอน

ไหลลงอางเก็บน้ํากระเสียว Sig.

อุณหภูมิน้ํา 29.1 29.8 28.5 ns

ความนําไฟฟา 246 c 284 b 406 a *

ความเค็ม 0.1b 0.1b 0.2 a *

ความขุน 14.8 b 46.1 b 243.0 a *

ปริมาณสารแขวนลอย 12.66 b 46.09 b 220.58 a *

ปริมาณของแข็งทั้งหมดที่ละลายในน้ํา 149 c 177 b 246 a *

ความเปนกรด – ดาง 7.6 7.6 7.3 ns

ปริมาณออกซิเจนละลายในน้ํา 5.07 4.64 4.98 ns

ปริมาณบีโอดี 2.35 b 2.62 b 4.39 a *

ปริมาณซัลไฟดในรูปไฮโดรเจนซัลไฟด 0.006 b 0.012 b 0.027 a *

ปริมาณฟอสเฟตฟอสฟอรัส 0.002 0.050 0.050 ns

ปริมาณไนไตรท – ไนโตรเจน 0.005 b 0.024 b 0.175 a *

ปริมาณไนเตรท – ไนโตรเจน 0.104 b 0.356 b 0.968 a *

ปริมาณไนโตรเจนในรูปทีเคเอ็น 0.82 b 1.16 ab 1.58 a *

ปริมาณแอมโมเนีย – ไนโตรเจน 0.02 0.08 0.30 ns

ปริมาณอินทรียสารไนโตรเจน 0.79 b 0.97 b 1.31 a *

ปริมาณไนโตรเจนทั้งหมด 0.93 b 1.49 b 2.73 a *

ปริมาณแคลเซียม 1.73 b 1.77 b 2.37 a *

ปริมาณแมกนีเซียม 0.49 b 0.63 a 0.47 b *

ปริมาณโซเดียม 0.27 c 0.44 b 0.84 a *

ปริมาณโพแทสเซียม 4.4 b 5.6 b 13.6 a *

ปริมาณคารบอเนต 0.09 a 0.00 b 0.00 b *

ปริมาณไบคารบอเนต 2.00 c 2.34 b 2.88 a *

ปริมาณคลอไรด 0.30 b 0.41 b 0.95 a *

ปริมาณซัลเฟต 0.09 b 0.13 b 0.24 a *

เปอรเซ็นตโซเดียมที่ละลายน้ํา ( SSP ) 10.14 c 14.37 b 17.49 a *

สัดสวนของการดูดซับโซเดียม ( SAR ) 0.2 c 0.4 b 0.7 a *

ปริมาณโซเดียมคารบอเนตตกคาง ( RSC ) 0.01 b 0.02 b 0.12 a *

ปริมาณความกระดางทั้งหมดในรูป CaCO3 111.1 b 119.9 b 142.0 a *

หมายเหตุ : * = มีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ Sig. ≤ 0.05 และ ns = ไมมีความแตกตางกันทางสถิต ิ

ในแนวนอนที่ตัวอักษรเหมือนกัน ไมมีความแตกตางกันทางสถิติโดยวิธี DMRT ที่ระดับความเช่ือมั่น 95 เปอรเซ็นต

Page 328: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

ตาราง ท่ี จ.5 เปรียบเทียบความแตกตางทางสถิติของคาเฉลี่ยของดัชนีคุณภาพน้ํา ระหวาง 12 เดือน ของตัวอยางน้ําท่ีเก็บจากอางเก็บน้ํากระเสียว โดยการวิเคราะหความแปรปรวน

แบบทางเดียว

อุณหภูมิน้ํา

(องศาเซลเซียส)

ความนําไฟฟา

(ไมโครโมสตอเซนติเมตร)

ความเค็ม

(กรัมตอลิตร)

ความขุน

(เอ็นทียู)

ปริมาณสารแขวนลอย

(มิลลิกรัมตอลิตร)

ปริมาณของแข็งท้ังหมด

ท่ีละลายในน้ํา

(มิลลิกรัมตอลิตร)

ก.พ. 53 28.3 d 247 d 0.1 4.6 2.53 168 b

มี.ค. 53 29.1 bcd 254 bc 0.1 9.7 8.52 164 b

เม.ย. 53 29.7 bc 255 bc 0.1 7.3 6.52 156 bc

พ.ค. 53 32.4 a 255 bc 0.1 7.1 9.69 152 bc

มิ.ย. 53 32.7 a 251 cd 0.1 11.6 10.66 147 bcde

ก.ค. 53 31.6 a 259 b 0.1 21.2 17.01 206 a

ส.ค. 53 29.4 bcd 295 a 0.1 22.5 15.76 150 bcd

ก.ย. 53 30.2 b 248 d 0.1 42.2 28.54 124 e

ต.ค. 53 28.9 cd 215 f 0.1 25.4 28.54 136 cde

พ.ย. 53 25.8 ef 210 f 0.1 11.2 10.57 126 de

ธ.ค. 53 26.5 e 230 e 0.1 7.9 7.21 138 cde

ม.ค. 54 24.8 f 234 e 0.1 7.1 6.36 124 e

Sig. * * ns ns ns *

หมายเหตุ : * = มีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ Sig. ≤ 0.05 และ ns = ไมมีความแตกตางกันทางสถิติ

ในแนวต้ังที่ตัวอักษรเหมือนกันไมมีความแตกตางกันทางสถิติโดยวิธี DMRT ที่ระดับความเชื่อมั่น 95 เปอรเซ็นต

เดือน

ดัชนีคุณภาพน้ํา

Page 329: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

ตารางท่ี จ.5 (ตอ)

ความเปน

กรด – ดาง

ปริมาณออกซิเจน

ละลายในน้ํา

(มิลลิกรัมตอลิตร)

ปริมาณบีโอดี

(มิลลิกรัมตอลิตร)

ปริมาณซัลไฟด

ในรูป

ไฮโดรเจนซัลไฟด

(มิลลิกรัมตอลิตร)

ปริมาณฟอสเฟต

ฟอสฟอรัส

(มิลลิกรัมตอลิตร)

เปอรเซ็นต

โซเดียมท่ี

ละลายน้ํา

(เปอรเซ็นต)

สัดสวนของ

การดูดซับ

โซเดียม

ปริมาณโซเดียม

คารบอเนตตกคาง

(มิลลิอิควิวาเลนซ

ตอลิตร)

ก.พ. 53 8.0 abc 5.82 ab 2.30 bcd 0.005 c 0.004 11.46 ab 0.3 a 0.00 b

มี.ค. 53 7.8 abcd 5.30 abcd 2.35 bcd 0.004 c 0.001 10.26 b 0.2 b 0.00 b

เม.ย. 53 7.8 abcd 5.53 abc 2.55 bc 0.004 c 0.001 12.22 a 0.3 a 0.04 a

พ.ค. 53 8.2 a 4.88 cde 2.51 bc 0.001 c 0.001 13.26 a 0.3 a 0.00 b

มิ.ย. 53 8.1 ab 6.06 a 3.84 a 0.006 bc 0.001 13.14 a 0.3 a 0.00 b

ก.ค. 53 7.0 cd 4.14 e 2.86 bc 0.012 a 0.001 13.01 a 0.4 a 0.00 b

ส.ค. 53 7.1 bcd 4.84 cde 3.06 ab 0.014 a 0.001 12.48 a 0.3 a 0.00 b

ก.ย. 53 6.9 d 4.99 bcde 1.50 de 0.010 ab 0.005 8.16 c 0.2 b 0.00 b

ต.ค. 53 7.4 abcd 4.14 e 2.06 cde 0.013 a 0.004 8.42 c 0.2 b 0.00 b

พ.ย. 53 7.3 abcd 4.53 de 1.61 de 0.002 c 0.005 6.09 d 0.1 c 0.02 b

ธ.ค. 53 8.1 ab 5.56 abc 1.41 e 0.001 c 0.001 5.98 d 0.1 c 0.00 b

ม.ค. 54 7.9 abcd 5.07 bcd 2.12 cde 0.005 bc 0.001 7.23 cd 0.2 b 0.00 b

Sig. * * * * ns * * *

หมายเหตุ : * = มีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ Sig. ≤ 0.05 และ ns = ไมมีความแตกตางกันทางสถิติ

ในแนวต้ังที่ตัวอักษรเหมือนกันไมมีความแตกตางกันทางสถิติโดยวิธี DMRT ที่ระดับความเชื่อมั่น 95 เปอรเซ็นต

เดือน

ดัชนีคุณภาพน้ํา

Page 330: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

ตารางท่ี จ.5 (ตอ)

ปริมาณไนไตรท –

ไนโตรเจน

(มิลลิกรัมตอลิตร)

ปริมาณไนเตรท –

ไนโตรเจน

(มิลลิกรัมตอลิตร)

ปริมาณแอมโมเนีย –

ไนโตรเจน

(มิลลิกรัมตอลิตร)

ปริมาณอินทรียสาร

ไนโตรเจน

(มิลลิกรัมตอลิตร)

ปริมาณไนโตรเจน

ท้ังหมด

(มิลลิกรัมตอลิตร)

ปริมาณไนโตรเจน

ในรูปทีเคเอ็น

(มิลลิกรัมตอลิตร)

ปริมาณความ

กระดางท้ังหมด

ในรูป CaCO3

(มิลลิกรัมตอลิตร)

ก.พ. 53 0.001 0.006 b 0.00 0.72 bc 0.72 de 0.68 bc 112.5 bcd

มี.ค. 53 0.001 0.016 b 0.00 0.81 bc 0.82 cde 0.81 bc 118.7 a

เม.ย. 53 0.002 0.012 b 0.00 0.70 bc 0.71 de 0.70 bc 113.7 bc

พ.ค. 53 0.002 0.221 a 0.00 0.91 b 1.13 b 0.91 b 110.0 cd

มิ.ย. 53 0.030 0.229 a 0.00 1.20 a 1.54 a 1.20 a 108.1 d

ก.ค. 53 0.006 0.037 b 0.07 0.84 bc 0.94 bcde 0.90 b 112.5 bcd

ส.ค. 53 0.004 0.208 a 0.00 0.79 bc 1.00 bc 0.79 bc 115.6 ab

ก.ย. 53 0.009 0.184 a 0.00 0.79 bc 0.98 bcd 0.79 bc 111.2 bcd

ต.ค. 53 0.002 0.172 a 0.23 0.58 c 0.94 bcde 0.81 bc 101.2 e

พ.ย. 53 0.002 0.034 b 0.00 0.64 c 0.67 e 0.64 c 99.4 e

ธ.ค. 53 0.001 0.071 b 0.00 0.72bc 0.78 cde 0.72 bc 111.8 bcd

ม.ค. 54 0.003 0.062 b 0.00 0.84bc 0.90 bcde 0.84 bc 118.7 a

Sig. ns * ns * * * *

หมายเหตุ : * = มีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ Sig. ≤ 0.05 และ ns = ไมมีความแตกตางกันทางสถิติ

ในแนวต้ังที่ตัวอักษรเหมือนกันไมมีความแตกตางกันทางสถิติโดยวิธี DMRT ที่ระดับความเชื่อมั่น 95 เปอรเซ็นต

เดือน

ดัชนีคุณภาพน้ํา

Page 331: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

ตารางท่ี จ.5 (ตอ)

ปริมาณ

แคลเซียม 1

ปริมาณ

แมกนีเซียม 1

ปริมาณ

โซเดียม 1

ปริมาณ

โพแทสเซียม 2

ปริมาณ

คารบอเนต 1

ปริมาณ

ไบคารบอเนต 1

ปริมาณ

คลอไรด 1

ปริมาณ

ซัลเฟต 1

ก.พ. 53 1.81 bc 0.44 bc 0.30 bc 3.6 cd 0.38 a 1.63 f 0.31 b 0.06 cd

มี.ค. 53 2.10 a 0.27 c 0.28 c 4.7 b 0.24 ab 1.83 def 0.32 b 0.05 cd

เม.ย. 53 1.90 b 0.37 bc 0.33 ab 3.9 c 0.00 c 2.24 ab 0.29 b 0.07 cd

พ.ค. 53 1.67 cd 0.53 ab 0.35 a 4.9 b 0.00 c 2.14 abcd 0.32 b 0.08 cd

มิ.ย. 53 1.62 cd 0.54 ab 0.36 a 6.6 a 0.25 ab 1.76 ef 0.65 a 0.04 d

ก.ค. 53 1.74 bcd 0.54 ab 0.36 a 6.1 a 0.00 c 2.15 abc 0.33 b 0.06 cd

ส.ค. 53 1.60 cd 0.71 a 0.35 a 5.0 b 0.00 c 2.10 abcd 0.34 b 0.12 bc

ก.ย. 53 1.64 cd 0.58 ab 0.24 d 3.3 cd 0.00 c 2.14 abcd 0.30 b 0.12 bc

ต.ค. 53 1.74 bcd 0.28 c 0.20 e 3.9 c 0.00 c 1.85 cdef 0.23 c 0.16 ab

พ.ย. 53 1.57 d 0.41 bc 0.13 f 3.9 c 0.00 c 1.99 bcde 0.16 de 0.06 cd

ธ.ค. 53 1.57 d 0.66 a 0.15 f 3.0 d 0.18 bc 1.86 cdef 0.14 e 0.22 a

ม.ค. 54 1.81 bc 0.56 ab 0.19 e 3.8 c 0.00 c 2.31 a 0.19 cd 0.03 d

Sig. * * * * * * * *

หมายเหตุ : * = มีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ Sig. ≤ 0.05 และ ns = ไมมีความแตกตางกันทางสถิติ

ในแนวตั้งที่ตัวอักษรเหมือนกันไมมีความแตกตางกันทางสถิติโดยวิธี DMRT ที่ระดับความเช่ือม่ัน 95 เปอรเซ็นต 1 = หนวยมิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร และ 2 = หนวยมิลลิกรัมตอลิตร

เดือน

ดัชนีคุณภาพน้ํา

Page 332: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

ตารางท่ี จ.6 เปรียบเทียบความแตกตางทางสถิติของคาเฉลี่ยของดัชนีคุณภาพน้ําระหวาง 12 เดือน ของตัวอยางน้ําท่ีเก็บจากทางน้ําชลประทานของโครงการสงน้ําและบํารุงรักษากระเสียว

โดยการวิเคราะหความแปรปรวนแบบทางเดียว

อุณหภูมิน้ํา

(องศาเซลเซียส)

ความนําไฟฟา

(ไมโครโมสตอเซนติเมตร)

ความเค็ม

(กรัมตอลิตร)

ความขุน

(เอ็นทียู)

ปริมาณสารแขวนลอย

(มิลลิกรัมตอลิตร)

ปริมาณของแข็งท้ังหมด

ท่ีละลายในน้ํา

(มิลลิกรัมตอลิตร)

ก.พ. 53 30.4 cde 316 a 0.1 11.4 c 8.64 e 195 abc

มี.ค. 53 30.2 de 278 ab 0.1 12.4 c 12.83 e 175 bcde

เม.ย. 53 30.4 cde 280 ab 0.1 26.8 c 41.65 bcde 179 bcd

พ.ค. 53 33.3 a 305 a 0.1 13.9 c 21.89 cde 184 abc

มิ.ย. 53 31.4 bcd 293 a 0.1 12.3 c 14.04 de 193 abc

ก.ค. 53 32.3 ab 302 a 0.1 25.0 c 17.06 cde 223 a

ส.ค. 53 29.7 ef 316 a 0.2 290.7 a 172.78 a 211 ab

ก.ย. 53 31.6 bc 307 a 0.1 102.3 b 67.39 bc 139 ef

ต.ค. 53 28.9 f 218 c 0.1 70.9 bc 77.28 b 136 f

พ.ย. 53 26.7 gh 231 bc 0.1 50.5 bc 65.79 bcd 145 def

ธ.ค. 53 27.7 g 265 abc 0.1 25.5 c 37.32 bcde 165 cdef

ม.ค. 54 25.6 h 299 a 0.1 16.4 c 16.44 cde 186 abc

Sig. * * ns * * *

หมายเหตุ : * = มีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ Sig. ≤ 0.05 และ ns = ไมมีความแตกตางกันทางสถิติ

ในแนวต้ังที่ตัวอักษรเหมือนกันไมมีความแตกตางกันทางสถิติโดยวิธี DMRT ที่ระดับความเชื่อมั่น 95 เปอรเซ็นต

เดือน

ดัชนีคุณภาพน้ํา

Page 333: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

ตารางท่ี จ.6 (ตอ)

ความเปน

กรด – ดาง

ปริมาณออกซิเจน

ละลายในน้ํา

(มิลลิกรัมตอลิตร)

ปริมาณบีโอดี

(มิลลิกรัมตอลิตร)

ปริมาณซัลไฟด

ในรูป

ไฮโดรเจนซัลไฟด

(มิลลิกรัมตอลิตร)

ปริมาณฟอสเฟต

ฟอสฟอรัส

(มิลลิกรัมตอลิตร)

เปอรเซ็นต

โซเดียมท่ี

ละลายน้ํา

(เปอรเซ็นต)

สัดสวนของ

การดูดซับ

โซเดียม

ปริมาณโซเดียม

คารบอเนตตกคาง

(มิลลิอิควิวาเลนซ

ตอลิตร)

ก.พ. 53 7.8 a 4.35 2.52 b 0.008 b 0.242 16.72 ab 0.5 abc 0.07

มี.ค. 53 7.9 a 4.83 2.03 b 0.007 b 0.043 12.33 bc 0.3 cde 0.00

เม.ย. 53 7.9 a 5.03 2.00 b 0.010 b 0.013 13.67 bc 0.4 abcde 0.02

พ.ค. 53 7.9 a 4.39 2.24 b 0.007 b 0.033 16.69 ab 0.5 abc 0.01

มิ.ย. 53 7.5 bc 4.43 2.09 b 0.005 b 0.074 13.58 bc 0.4bcde 0.04

ก.ค. 53 7.6 bc 3.91 3.38 ab 0.008 b 0.050 16.66 ab 0.5 abcd 0.02

ส.ค. 53 7.5 bc 4.69 5.05 a 0.035 a 0.015 20.22 a 0.6 ab 0.01

ก.ย. 53 7.4 c 4.38 2.31 b 0.015 b 0.056 20.36 a 0.6 a 0.04

ต.ค. 53 6.7 e 4.49 3.35 ab 0.032 a 0.026 10.63 c 0.2 e 0.00

พ.ย. 53 7.0 d 4.89 1.84 b 0.008 b 0.007 8.42 c 0.2 e 0.09

ธ.ค. 53 7.7 ab 5.27 1.48 b 0.006 b 0.003 11.63 bc 0.3 de 0.00

ม.ค. 54 7.6 bc 5.08 3.16 b 0.009 b 0.036 11.48 bc 0.3 cde 0.00

Sig. * ns * * ns * * ns

หมายเหตุ : * = มีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ Sig. ≤ 0.05 และ ns = ไมมีความแตกตางกันทางสถิติ

ในแนวต้ังที่ตัวอักษรเหมือนกันไมมีความแตกตางกันทางสถิติโดยวิธี DMRT ที่ระดับความเชื่อมั่น 95 เปอรเซ็นต

เดือน

ดัชนีคุณภาพน้ํา

Page 334: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

ตารางท่ี จ.6 (ตอ)

ปริมาณไนไตรท –

ไนโตรเจน

(มิลลิกรัมตอลิตร)

ปริมาณไนเตรท –

ไนโตรเจน

(มิลลิกรัมตอลิตร)

ปริมาณแอมโมเนีย –

ไนโตรเจน

(มิลลิกรัมตอลิตร)

ปริมาณอินทรียสาร

ไนโตรเจน

(มิลลิกรัมตอลิตร)

ปริมาณไนโตรเจน

ท้ังหมด

(มิลลิกรัมตอลิตร)

ปริมาณไนโตรเจน

ในรูปทีเคเอ็น

(มิลลิกรัมตอลิตร)

ปริมาณความ

กระดางท้ังหมด

ในรูป CaCO3

(มิลลิกรัมตอลิตร)

ก.พ. 53 0.012 0.134 b 0.84 1.14 2.97 3.35 a 129.8 ab

มี.ค. 53 0.009 0.096 b 0.00 1.01 1.11 1.01 b 125.2 abc

เม.ย. 53 0.009 0.174 b 0.00 0.96 1.11 0.93 b 122.3 cd

พ.ค. 53 0.059 1.917 a 0.00 1.00 2.97 1.00 b 126.5 ab

มิ.ย. 53 0.052 0.779 b 0.09 1.08 2.00 1.17 b 124.8 abc

ก.ค. 53 0.027 0.151 b 0.00 1.04 1.22 1.04 b 120.2 bcd

ส.ค. 53 0.021 0.184 b 0.00 1.28 1.48 1.28 b 106.4 cde

ก.ย. 53 0.045 0.274 b 0.00 0.99 1.18 0.99 b 118.5 bcde

ต.ค. 53 0.007 0.125 b 0.06 0.94 1.13 1.00 b 101.0 e

พ.ย. 53 0.007 0.052 b 0.00 0.63 0.69 0.63 b 101.4 de

ธ.ค. 53 0.005 0.113 b 0.00 0.74 0.86 0.74 b 119.4 bcde

ม.ค. 54 0.036 0.272 b 0.00 0.81 1.12 0.81 b 142.8 a

Sig. ns * ns ns ns * *

หมายเหตุ : * = มีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ Sig. ≤ 0.05 และ ns = ไมมีความแตกตางกันทางสถิติ

ในแนวต้ังที่ตัวอักษรเหมือนกันไมมีความแตกตางกันทางสถิติโดยวิธี DMRT ที่ระดับความเชื่อมั่น 95 เปอรเซ็นต

เดือน

ดัชนีคุณภาพน้ํา

Page 335: research.rid.go.thresearch.rid.go.th/project1/pdf_full/full2554/full2554_3.pdf · โครงการนําร องในการประเมินคุณภาพน้ําทางกายภาพและเคมีในอ

ตารางท่ี จ.6 (ตอ)

ปริมาณ

แคลเซียม 1

ปริมาณ

แมกนีเซียม 1

ปริมาณ

โซเดียม 1

ปริมาณ

โพแทสเซียม 2

ปริมาณ

คารบอเนต 1

ปริมาณ

ไบคารบอเนต 1

ปริมาณ

คลอไรด 1

ปริมาณ

ซัลเฟต 1

ก.พ. 53 1.84 ab 0.75 abc 0.57 ab 5.4 abc 0.00 2.58 ab 0.48 bc 0.10 b

มี.ค. 53 1.86 ab 0.64 abcd 0.39 abc 5.3 abc 0.00 2.32 bcd 0.33 cd 0.09 b

เม.ย. 53 1.99 a 0.45 de 0.42 abc 5.2 abc 0.00 2.35 bcd 0.34 cd 0.09 b

พ.ค. 53 1.88 ab 0.65 abcd 0.58 ab 7.2 a 0.00 2.46 abc 0.42 bcd 0.28 a

มิ.ย. 53 1.63 bcd 0.86 a 0.44 abc 5.7 abc 0.00 2.51 abc 0.75 a 0.06 b

ก.ค. 53 1.90 ab 0.52 cde 0.53 ab 7.2 a 0.00 2.37 bcd 0.50 bc 0.14 b

ส.ค. 53 1.53 cd 0.60 abcde 0.60 ab 7.0 a 0.00 2.04 de 0.50 bc 0.17 ab

ก.ย. 53 1.83 abc 0.54 bcde 0.65 a 6.3 ab 0.00 2.35 bcd 0.58 ab 0.10 b

ต.ค. 53 1.64 bcd 0.37 e 0.25 c 4.7 bc 0.00 1.89 e 0.23 d 0.12 b

พ.ย. 53 1.49 d 0.53 bcde 0.19 c 3.8 c 0.00 2.12 cde 0.22 d 0.08 b

ธ.ค. 53 1.53 cd 0.86 a 0.34 bc 4.3 bc 0.00 2.30 bcd 0.31 cd 0.19 ab

ม.ค. 54 2.07 a 0.79 ab 0.39 abc 4.9 bc 0.00 2.80 a 0.32 cd 0.10 b

Sig. * * * * ns * * *

หมายเหตุ : * = มีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ Sig. ≤ 0.05 และ ns = ไมมีความแตกตางกันทางสถิติ

ในแนวตั้งที่ตัวอักษรเหมือนกันไมมีความแตกตางกันทางสถิติโดยวิธี DMRT ที่ระดับความเช่ือม่ัน 95 เปอรเซ็นต 1 = หนวยมิลลิอิควิวาเลนซตอลิตร และ 2 = หนวยมิลลิกรัมตอลิตร

เดือน

ดัชนีคุณภาพน้ํา