90
ารประเมินแรงมาเครื่องจักร กรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม

ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

  • Upload
    others

  • View
    2

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

กรมโรงงานอตุสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม

Page 2: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

บทนํา

กรมโรงงานอุตสาหกรรมไดดําเนินการจัดทําคูมือการกํากับดูแลโรงงานอุตสาหกรรมประเภทตางๆ ตั้งแตปงบประมาณ พ.ศ. 2549 ซ่ึงดําเนินการดังกลาวนี้เปนไปตามขอเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change) ของกรมโรงงานอุตสาหกรรม และมีการเปลี่ยนแปลง การตรวจสอบ กํากับดูแลโรงงานอุตสาหกรรมใหมีความเหมาะสมมาโดยตลอด เพื่อใหเจาหนาที่มีแหลงความรูเกี่ยวกับโรงงานอุตสาหกรรมประเภทนั้นๆ และมีสมรรถนะที่เหมาะสมในการพิจารณาอนุญาตและการตรวจโรงงานใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลยิ่งขึ้น และเปนมาตรฐานเดียวกัน รวมทั้งจะเปนประโยชนในการถายโอนภารกิจ และการกระจายอํานาจสูภูมิภาคและทองถิ่น

เพื่อเปนการตอบรับตอนโยบายดังกลาว กรมโรงงานอุตสาหกรรมไดจัดทําคูมือฉบับนี้ขึ้น โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหเจาหนาที่ใชในการประเมินแรงมาเครื่องจักรในโรงงานอุตสาหกรรมเพื่อประกอบการพิจารณาอนุญาตประกอบ และขยายโรงงาน ตลอดจนสามารถนํามาเทียบอัตราเพื่อเรียกเก็บคาธรรมเนียมใบอนุญาต และคาธรรมเนียม การประกอบกิจการรายป ตาม พรบ. โรงงาน 2535 ไดอยางถูกตอง โดยในคูมือเลมนี้ไดรวบรวมวิธีการคํานวณแรงมาจากเครื่องจักรประเภทตางๆ ซ่ึงแสดงวิธีและขั้นตอนการคํานวณโดยละเอียด รวมถึงมีการสรุปสูตรตางๆ ในรูปตารางเพื่อใหเจาหนาที่และผูสนใจสามารถนําไปใชไดโดยสะดวก

กรมโรงงานอุตสาหกรรม

Page 3: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

Ê-1

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

สารบัญ

หนา

บทที ่1 วิธีการประเมินแรงมาเครื่องจักร 1

การประเมนิแรงมาประเภทที่เปนไฟฟา 5

การประเมนิแรงมาจากเตาประเภทตางๆ 15

ประเภทเชือ้เพลิงตางๆ 26

ประเภทเครื่องยนตสนัดาปภายใน 28

ประเภทหมอน้ํา 29

หมอตมน้าํมัน 33

ประเภทเครื่องจักรไอน้ํา 35

ตนกําลังของโรงงานบางประเภท 37

การประเมนิกําลงัผลติของโรงงานและ อุตสาหกรรมบางประเภท

39

9

8

7

6

5

4

3

2

1

Page 4: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

หนา

บทที ่2 สรุปการคํานวณแรงมาเครื่องจักร 43

ตารางอางอิงสําหรับบทที่ 2 (สําหรับการคาํนวณแรงมา) 54

ภาคผนวก ก การแปลงหนวย 62 ภาคผนวก ข ตัวอยางการคํานวณแรงมาเปรียบเทียบ 72

Page 5: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

1

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

บทท่ี 1 วิธีการประเมินแรงมาเคร่ืองจักร

ในการประเมินแรงมาเครื่องจักรมีวิธีการประเมินไดทั้งวิธีโดยตรงและวิธีการคํานวณเชิงเปรียบเทียบ โดยเครื่องจักรและอุปกรณที่เกี่ยวของกับการประเมินแรงมานี้ มีทั้งเครื่องจักรที่ เกี่ยวกับไฟฟา เกี่ยวกับน้ํามันและหมอตมความรอน รวมถึงเตาอบที่ เกี่ยวของกับอุตสาหกรรมการเกษตร โดยการประเมินแรงม า เครื่ องจักรนี้ มีความสําคัญในการใชประกอบการพิจารณาอนุญาตและขยายกิจการโรงงาน ตลอดจนใช ในการคิดค าธรรม เนี ยมใบอนุญาตและ คาธรรมเนียมการประกอบกิจการรายป ตาม พรบ . โรงงาน 2535 การประเมินแรงมาเครื่องจักรนี้จึงมีความสําคัญ ซ่ึงเจาหนาที่จะตองมีขั้นตอนและวิธีการคํานวณที่ถูกตอง ดังแสดงในแผนผังขั้นตอนการประเมินแรงมาตอไปนี้

Page 6: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

2

หมายเหตุ 1) ตัวเลขในวงเล็บหมายถึงหัวขอรายละเอียดการประเมินแรงมาเครื่องจักรในบทที่ 1

รูปที่ 1 วิธีการประเมินแรงมาเครื่องจักร

เครื่องยนตสันดาปภายใน (ดูขอ4 หนา 28)

หมอตมน้ํามัน (ดูขอ 6 หนา 33)

ตนกําลังของโรงงาน บางประเภท เชน

เครื่องกําเนิดกระแสไฟฟาและโรงสีขาว

(ดูขอ 8 หนา 37)

มอเตอร/เครื่องจักรที่ใชไฟฟา

(ดูขอ 1 หนา 5)

เตาประเภทตาง ๆ (ดูขอ 2 หนา 15)

ประเภทเชื้อเพลิงตาง ๆ (ดูขอ 3 หนา 26)

หมอน้ํา (ดูขอ 5 หนา 29)

เครื่องจักรไอน้ํา (ดูขอ 7 หนา 35)

วิธีการประเมินแรงมาเครื่องจักร

Page 7: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

3

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

เมื่อปฏิบัติตามขั้นตอนการประเมินแรงมาไดอยางถูกตองแลว จะทําใหสามารถเลือกใชสูตรการคํานวณแรงมาเครื่องจักรไดอยางเหมาะสมตามประเภทของเครื่องจักร โดยมีรายละเอียดวิธีการคํานวณและการประเมินแรงมาเครื่องจักรดังตอไปนี้

สําหรับการประเมินแรงมานี้มาจากพื้นฐานการประเมินจากการทํางาน โดยกําลัง 1 แรงมา คือ การทํางาน 33,000 ฟุต-ปอนด ใน 1 นาที หรือ 550 ฟุต-ปอนด ใน 1 วินาที ถาเครื่องจักรสามารถยกน้ําหนัก 550 ปอนดขึ้นสูง 1 ฟุต ในเวลา 1 วินาที เครื่องจักรเครื่องนี้มีกําลัง 1 แรงมา หรือถายกน้ําหนัก 275 ปอนดใหสูง 2 ฟุต ในเวลา 1 วินาที กําลังที่ใชเทากับ 1 แรงมา เชนกัน นอกจากนี้การประเมินแรงมายังสามารถแปลงหนวยจากกําลังไฟฟา งาน และพลังงานความรอนในหนวยตาง ๆ ไดดังแสดงในตารางที่ 1-1

Page 8: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

4

ตารางที่ 1-1 แสดงการแปลงหนวยแรงมา ไฟฟา และกําลังความรอน

พลังงานความรอน หนวย

ดานไฟฟาวัตต (W))

แคลอรี่ตอวินาที (cal-s-1)

บีทียูตอชั่วโมง (Btu-h-1)

แรงมา (hp)

งาน ฟุต-ปอนดตอวินาที

(ft-lb-s-1)

1 วัตต 1 0.2390 3.414 1.341 × 10-3 0.7376

1 แคลอรีตอวินาที 4.184 1 14.29 5.611 × 10 -3 3.086

1 แรงมา 745.7 178.2 2546 1 550 1 ฟุต-ปอนด/วินาที 1.356 0.3240 4.629 1.818 × 10-3 1

1 บีทียูตอชั่วโมง 0.2929 7.000 × 10-2 1 3.928 × 10-4 0.2160

Page 9: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

5

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

การประเมินแรงมาประเภทที่เปนไฟฟา

การประเมินแรงมาประเภทที่เปนไฟฟา มีหลักการและขั้นตอนการพิจารณาดังนี้

1

Page 10: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

6

หมายเหตุ 1) ตัวเลขในวงเล็บหมายถึงหัวขอรายละเอียดการประเมินแรงมาเครื่องจักรในบทที่ 1

รูปที่ 2 แสดงขั้นตอนการตรวจประเมินแรงมาประเภทมอเตอรและเครื่องจักรที่ใชไฟฟา

ประเภทมอเตอร/เครื่องจักรที่ใชไฟฟา

ทราบ KW (ดูขอ 1.1)

ไมมี Nameplate (ดูขอ 1.2.3)

Heater (ดูขอ1.3)

เครื่องเชื่อมไฟฟา (ดูขอ1.4)

Spot Welding (ดูขอ1.5)

เครื่องชุบโลหะ (ดูขอ1.6)

12 VDC (ดูขอ1.6.1)

15 VDC (ดูขอ1.6.2)

ไมทราบ KW (ดูขอ 1.2)

ไฟฟากระแสตรง (ดูขอ 1.2.1)

ไฟฟากระแสสลับ (ดูขอ 1.2.2)

วัด Frame size

วัดกระแส วัดหนาตัดขั้วแมเหล็ก

ไมใชมอเตอร มอเตอร

Page 11: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

7

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

1.1 ทราบคาตนกําลังเปนกิโลวัตต (มอเตอร)

แรงมาเปรียบเทียบ = กิโลวัตต 0.746

รูปที่ 3

มอเตอรไฟฟา

1.2 ทราบคาตนกําลังเปน KVA หรือไมทราบก็ใหวัด

แรงดันไฟฟา และคากระแสไฟฟาสูงสุดที่สามารถใชงาน แลวนําคามาคํานวณหาแรงมาเปรียบเทียบ ดังนี้ (ประสิทธิภาพ 100%)

1.2.1 ไฟฟากระแสตรง (ประสิทธิภาพ 100%) แรงมาเปรียบเทียบ = KVA หรือ V × A

0.746 746

1.2.2 ไฟฟากระแสสลับ (ประสิทธิภาพ 100%) กําหนด COS ∅ = 0.80

Page 12: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

8

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

แรงมาเปรยีบเทียบ = KVA × COS ∅ หรือ V × A × COS ∅ (V = 220 Volt) 0.746 746 แรงมาเปรียบเทียบ = V × A × 1.732 × COS ∅ (V = 380 Volt) 746

(√3 = 1.732)

1.2.3 ไมมี Nameplate และ Catalogue หรือผลิตไมไดตาม

มาตรฐานที่กระทรวงอุตสาหกรรมกําหนดใหดําเนินการตรวจสอบดังนี้ (1) วัด Frame Size ของมอเตอร แลวเอาคา Frame

Size ที่วัดไดไปเทียบหาแรงมาตามตารางที่ 1-2 (2) ใชอุปกรณวัดคากระแสไฟฟา เชน Clip Amp วัด

No Load Current, Voltage ที่ใชกับมอเตอร RPM Pole จากนั้นนํา คาตาง ๆ ที่ไดไปเทียบหาแรงมาตามตารางที่ 1-3

(3) วัดพื้นที่หน าตัดของขั้ วแม เหล็ก วัดเสนผ านศูนยกลางของ Rotor, RPM Pole

Page 13: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

9

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

รูปที่ 4 การวัดกระแสโดยใช Clip Amp

รูปที่ 5 การวัด Frame Size มอเตอร (H = ความสูง Shaft ของมอเตอร, D = ระยะระหวาง Bolt ของมอเตอร

Page 14: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

10

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

ตารางที ่1-2 การประเมินแรงมาจากมอเตอรไฟฟาโดยการวัด Frame Size HP Freq 50 Cycle

Height of Shaft (mm)

Dist Between Side View of Bolts

(mm) 3000 RPM (2 Poles)

1500 RPM (4 Poles)

1000 RPM (6 Poles)

90 125 2 2 1 100 140 3 3 2 112 140 5 5 3 132 140 7.5 7.5 5 132 178 10 10 7.5 160 210 15 15 10 160 254 20 20 15 180 241 25 25 17.5 180 279 30 30 20 200 305 40 40 30 225 286 50 50 35 225 311 60 60 40 250 349 75 75 50 280 368 100 100 60 280 419 120 120 75 315 406 150 150 100 315 457 180 180 120 315 508 220 220 150 355 552 270 270 220 355 560 340 340 270

Page 15: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

11

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

ตารางที ่1-3 การประเมินแรงมาจากมอเตอรไฟฟาโดยการวัดกระแสและ ความตางศักยไฟฟา

TWO PHASE VALUES THREE PHASE VALUES POWER

220 V 380 V

KW HP No Load (Amps)

Nominal Current

No Load (Amps)

Nominal Current

0.37 0.50 0.79 1.98 0.46 1.15 0.55 0.75 1.09 2.72 0.63 1.58 0.75 1.00 1.40 3.50 0.81 2.02 1.10 1.50 2.06 5.16 1.19 2.99 1.50 2.00 2.72 6.80 1.54 3.84 1.80 2.50 3.36 8.41 1.95 4.87 2.20 3.00 3.99 9.98 2.31 5.78 3.00 4.00 5.16 12.90 3.00 7.50 4.00 5.00 6.28 15.70 3.66 9.16 4.40 6.00 7.44 18.60 4.28 10.70 5.20 7.00 8.48 21.20 4.92 12.30 5.50 7.50 9.04 22.60 5.24 13.10 6.00 8.00 9.52 23.80 5.52 13.80 7.00 9.00 10.56 26.40 6.12 15.30 7.50 10.00 11.60 29.00 6.72 16.80 9.30 12.50 14.28 35.70 8.24 22.60

11.00 15.00 16.80 42.00 9.72 24.30 15.00 20.00 21.88 54.70 12.68 31.70

Page 16: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

12

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

ตารางที ่1-3 (ตอ) TWO PHASE VALUES THREE PHASE VALUES

POWER 220 V 380 V

KW HP No Load (Amps)

Nominal Current

No Load (Amps)

Nominal Current

18.90 25.00 27.00 67.50 15.64 39.10 22.00 30.00 32.00 80.00 18.52 46.30 26.00 35.00 37.00 92.50 21.40 53.50 30.00 40.00 42.00 105.00 24.32 62.80 33.50 45.00 46.80 117.00 27.16 67.90 37.00 50.00 52.00 130.00 30.08 75.20 45.00 60.00 62.40 156.00 35.84 89.60 52.00 70.00 72.00 180.00 41.60 104.00 55.00 75.00 76.80 192.00 44.40 111.00 60.00 80.00 81.60 202.00 47.20 118.00 67.00 90.00 91.60 229.00 52.80 132.00 75.00 100.00 101.20 253.00 58.40 146.00 90.00 125.00 124.40 311.00 72.00 180.00

110.00 150.00 147.60 369.00 85.60 214.00 132.00 175.00 169.20 423.00 98.00 245.00 150.00 200.00 192.80 482.00 111.60 279.00

Page 17: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

13

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

1.3 เครื่องใชไฟฟาที่เก่ียวกับความรอน เชน Heater หรือเครื่องชุบโลหะหรือส่ิงที่คลายกัน ประเมินคาแรงมาเปรียบเทียบเหมือนขอ 1.2.1 และ 1.2.2 แตใหคิดประสิทธิภาพเพียง 60% ของกําลังไฟฟา (Input)

รูปที่ 6

Heater ไฟฟา

1.4 เครื่องเชื่อมไฟฟา ประเมินจากขนาดที่ใชแอมแปรสูงสุดของเครื่อง และคาความตางศักยที่ใช (40-50 VDC) โดยคํานวณจากสูตรในขอ 1.2.1 ซ่ึงสามารถสรุปแรงมาจากกระแสไฟฟาที่ใชไดดังนี้

80 แอมแปร = 4.5 แรงมา 100 แอมแปร = 5.5 แรงมา 150 แอมแปร = 8 แรงมา 180 แอมแปร = 9 แรงมา 200 แอมแปร = 11 แรงมา 250 แอมแปร = 14 แรงมา 300 แอมแปร = 17 แรงมา 400 แอมแปร = 26 แรงมา 500 แอมแปร = 32 แรงมา

Page 18: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

14

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

1.5 เครื่อง Spot Welding ประเมินจากขนาด KVA ของขอ 1.2 แตคิดคาประสิทธิภาพเพียง 20%

1.6 เครื่องชุบโลหะ (Plating) 1.6.1 Output Voltage ของหมอแปลง (Rectifier) = 12

V.D.C. (ไฟกระแสตรง) คํานวณจากสูตรคํานวณในขอ 1.2.1 และคูณดวยแฟคเตอรประสิทธิภาพ 0.60 (60%) หรือแสดงประเมินแรงมาเปรียบเทียบไวดังตาราง ตารางที ่1-4 แสดงคา Output Voltage = 12 V.D.C

แอมแปร แรงมา แอมแปร แรงมา 30 0.28 400 3.86 50 0.48 500 4.82 60 0.57 600 5.79

100 0.96 750 7.23 200 1.93 1,000 9.65 250 2.41 1,500 14.47 300 2.89 3,000 28.95

Page 19: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

15

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

1.6.2 Output Voltage ของหมอแปลง (Rectifier) = 15 V.D.C. (ไฟกระแสตรง) คํานวณจากสูตรคํานวณในขอ 1.2.1 และคูณดวยแฟคเตอรประสิทธิภาพ 0.60 (60%) หรือแสดงประเมินแรงมาเปรียบเทียบไวดังตาราง

ตารางที ่1-5 แสดงคา Output Voltage = 15 V.D.C

แอมแปร แรงมา แอมแปร แรงมา 30 0.36 400 4.82 50 0.60 500 6.03 60 0.72 600 7.23

100 1.20 750 9.04 200 2.41 1,000 12.06 250 3.01 1,500 18.09

การประเมินแรงมาจากเตาประเภทตาง ๆ สําหรับเตาที่นํามาคิดและประเมินแรงมามีหลายประเภท โดยมีพ้ืนฐานการคํานวณและประเมินแรงมาจากการคิดคาพลังงานความรอนตอปริมาตรหอง หรือเตาอบหรือตอขนาดพื้นที่เตา แลวจึงแปลงหนวยเปนแรงมา โดยมีสูตรพื้นฐาน คือ

Q = ms ∆T

2

Page 20: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

16

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

เมื่อ Q = คาพลังงานความรอน (Kcal) m = มวลของสารหรอืผลติผลที่ตองการใหความรอน (Kg) S = คาความรอนจําเพาะ (Kcal / ๐C) ∆T = คาอุณหภมูิกอนและหลังการอบ (๐C)

เมื่อไดคาพลังงานความรอนที่ตองการแลวจึงแปลงหนวยเปนแรงมา โดยมีรายละเอียดในแตละประเภทดังนี้

Page 21: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

17

หมายเหต ุ 1) ตัวเลขในวงเลบ็หมายถึงหวัขอรายละเอียดการประเมินแรงมาเครื่องจักรในบทที่ 1

รูปที่ 7 แสดงขั้นตอนการตรวจประเมินแรงมาประเภทเตาตาง ๆ

เตาอบ (ดูขอ 2.1) เตาอั้งโล/เตาดินเผา (ดูขอ 2.2) เตาเผาอิฐ (ดูขอ 2.3) เตาบมใบยาสูบ (ดูขอ 2.4) เตารมควันยาง (ดูขอ 2.5)

เตาอบลําไย (ดูขอ 2.6) เตาหลอมโลหะ (ดูขอ 2.7) เตาตมเกลือสินเธาร (ดูขอ 2.8)

เชื้อเพลิงตาง ๆ (ดูขอ 3)

Heater (ดูขอ 1.3)

อื่น ๆ เชน ไฟฟาจากหลอดไฟในเตาอบสี (ดูขอ 1.2)

น้ํามันเบนซิน (ดูขอ 3.4) Gas (ดูขอ 3.1) น้ํามันโซลา (ดูขอ 3.2) น้ํามันเตา (ดูขอ 3.3)

ประเภทเตา

เตาประเภทอื่นๆ พิจารณาแหลงกําเนิดพลังงาน

Page 22: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

18

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

2.1 เตาอบ 2.1.1 เตาอบทั่วไป ประเมินจากปริมาตรรอบนอกของเตาอบ

โดยถือวา

1 ลูกบาศกเมตร = 2 แรงมา

ทั้งนี้ ไมวาเตาอบจะใชเชื้อเพลิงอะไร ไดแก จําพวกเตาอบขนม เตาอบที่ใชงานในทํานองเดียวกัน ยกเวนเตาอบที่ใชไฟฟาซ่ึงทราบคา KW แลว

2.1.2 เตาอบไม 2.1.2.1 กรณีใชความรอนจากหมอน้ําสําหรับใชกับ

เตาอบไมอยางเดียว ใหประเมินแรงมาเฉพาะเตาอบไมเทานั้น โดยประเมินจากปริมาตรรอบนอกของเตา ใหถือวา

1 ลูกบาศกเมตร = 0.12 แรงมา

รูปที่ 8

เตาอบไม

Page 23: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

19

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

2.1.2.2 กรณีที่นําไอน้ําไปใชกับเครื่องจักรอยางอื่นหรือใชงานอยางอื่นดวยนอกเหนือจากเตาอบไม ใหประเมินแรงมาจากหมอน้ําแตเพียงอยางเดียว

2.1.2.3 กรณีที่ ใชความรอนจากแหล งอื่ น เชน ลมรอนจากเครื่องผลิตลมรอน หรือความรอนจากการเผาถาน ฟน หรือ ขี้เลื่อย เปนตน ใหประเมินแรงมาเปรียบเทียบโดยประเมินจากปริมาตรรอบนอกของเตา โดยใหถือวา

1 ลูกบาศกเมตร = 0.12 แรงมา

2.2 เตาอ้ังโลหรือเตาดินเผาทั่วไป ไดแก ตนกําลังจําพวกเตาคั่วกาแฟ เครื่องยางตางๆ เตาเผา

เหล็ก (ใชถาน) เตานึ่งกวยเตี๋ยว (ใชกระทะ) เตาเคี่ยวน้ําตาลทรายแดง เตาเผาที่ใชถานในทํานองเดียวกัน ประเมินจากเสนผานศูนยกลาง โดยเฉลี่ยของเตา ดังนี้

รูปที่ 9

เตาอั้งโลและ เตาดินเผา

Page 24: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

20

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

2.2.1 เสนผานศูนยกลางโดยเฉลี่ยของเตาไม เกิน 40 เซนติเมตร ประเมินแรงมาเปรียบเทียบเตาละ 0.25 แรงมา

2.2.2 เสนผ านศูนย กลางโดย เฉลี่ ยของ เตา เกิน 4 0 เซนติเมตร แตไมเกิน 100 เซนติเมตร ประเมินแรงมาเปรียบเทียบเตาละ 0.5 แรงมา

2.2.3 เสนผานศูนยกลางโดยเฉลี่ยของเตามากกวา 100 เซนติเมตรขึ้นไป ประเมินเปรียบเทียบแรงมาเตาละ 2 แรงมา

2.3 เตาเผาอิฐ จําแนกออกเปน 2 ชนิด คือ

รูปที่ 10

เตาเผาอิฐ

2.3.1 เตาเผาถาวร มีลักษณะปดทึบ ไดแก เตาเผาโอง

เตาเผาเครื่องปนดินเผา เตาเผาปูนขาว หรือเตาเผาในลักษณะเดียวกัน ประเมินแรงมาเปรียบเทียบจากปริมาตรรอบนอกของเตาโดยใหถือวา

1 ลูกบาศกเมตร = 0.25 แรงมา

2.3.2 เตาเผาชนิดไมถาวร มีการกออิฐเปนรูปเตา ประเมินแรงมาเปรียบเทียบจากปริมาตรรอบนอกของเตา โดยใหถือวา

1 ลูกบาศกเมตร = 0.1 แรงมา

Page 25: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

21

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

2.4 เตาบมใบยาสูบ ประเมินแรงมาเปรียบเทียบจากขนาดปริมาตรของหองบมใบยาสูบ โดยใหถือวา

รูปที่ 11

เตาบมใบยาสูบ

1 ลูกบาศกเมตร = 0.05 แรงมา

2.5 เตารมควันยาง ประเมินแรงมาเปรียบเทียบจากขนาดปริมาตรของหองรมควันยาง โดยใหถือวา

1 ลูกบาศกเมตร = 0.1 แรงมา

รูปที่ 12

เตารมควันยาง

2.6 เตาอบลําไย ประเมินจากขนาดเตาอบโดยมีการคํานวณดังตอไปนี้

รูปที่ 13

เตาอบลําไย

Page 26: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

22

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

คิดจากขนาดหองอบลําไย

แรงมาของเตาอบลาํไย (HP) = ปริมาตรหองอบลาํไย (ลบ.ม.) × 0.60

2.7 เตาหลอมโลหะ การประเมินเตาหลอมโลหะ มีหลักการประเมินแรงมาโดยการ

ประเมินความรอนที่ใชในการหลอมโลหะหรือเปลี่ยนสถานะของโลหะ โดยใชสูตรพื้นฐาน คือ

Q = m L โดย Q = พลังงานความรอนที่ใชในการหลอมโลหะ (kcal) m = มวลหรือน้ําหนักของโลหะที่หลอม (kg) L = คาความรอนจําเพาะในการเปลี่ยนสถานะสารจาก

ของแข็งเปนของเหลว (kcal/kg) จากนั้นจึงนําคาพลังงานความรอนที่ใชมาคิดเปนแรงมา

ซ่ึงสามารถสรุปสูตรการคํานวณไดดังนี้

สําหรับการประเมินแรงมาจากเตาหลอม (นอกจากเตาไฟฟาที่ทราบคากิโลวัตตอยูแลว) จะประเมินโดยตองทราบรายละเอียดดังตอไปนี้

รูปที่ 14

เตาหลอมโลหะ

Page 27: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

23

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

(ก) ชนิดของโลหะที่ใชหลอม (ข) W = น้ําหนักโลหะที่ใชหลอมเต็มที่ในแตละครั้ง

(กิโลกรัม) (ค) T = เวลาที่ใชหลอมแตละครั้ง (ชั่วโมง)

แรงมาเปรียบเทียบ = น้ําหนักโลหะที่ใชหลอมแตละครั้ง(W) × คาคงที่ (K) เวลาที่ใชหลอม (T)

คาคงที่ คือ คาความรอนที่ใชในการหลอมตัวของโลหะชนิดนั้นๆ ตอน้ําหนัก 1 กิโลกรัม ในเวลา 1 ชั่วโมง ทั้งนี้คาคงที่ของโลหะชนิดตางๆ ดังแสดงไวในตาราง

ตารางที ่1-6 แสดงคาคงที่ (K) และคาความหนาแนนโลหะ

ชนิดของโลหะ คาคงที่ คาคงที่ใหม ความหนาแนนโลหะ

(กก./ลบ.ม) อลูมิเนียม 0.4 0.36 2,700 เหล็กหลอ 0.3 0.36 7,870 ทองแดง 0.3 0.23 8,960 ทองเหลือง 0.2 0.19 8,600 สังกะสี 0.1 0.09 7,140 ตะกั่ว 0.03 0.03 11,340 ดีบุก 0.05 0.04 7,310 ทองคํา - 0.07 19,300 เงิน - 0.12 10,490

Page 28: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

24

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

หมายเหต ุ : 1. กรณีโรงงานที่ไดรับอนุญาตอยูเดิมใหใชคาคงที่เดิม 2. กรณีโรงงานที่ขออนุญาตใหมใหใชคาคงที่ใหม 3. ความหนาแนนของโลหะใชสําหรับแปลงหนวยปริมาตรของเตาหลอมเปนกิโลกรัมของโลหะที่หลอมแตละครั้ง จากสูตร D = MV (เมื่อ D = ความหนาแนนโลหะ (kg/m3), M = น้ําหนักโลหะ (kg) และ V = ปริมาตรโลหะหรือเตาหลอมแตละครั้ง (m3))

2.8 เตาตมเกลือสินเธาว

ในการคํานวณแรงมาจากเตาตมเกลือสินเธาว มีหลักการ คือ การคิดแรงมาจากปริมาตรน้ําเกลือที่ระเหยออกไป โดยตองหาปริมาตรน้ําที่ระเหยซึ่งขึ้นกับรูปทรงของกระทะตมเกลือ ซ่ึงในทีนี้กระทะตมเกลือ มีสวนโคงหรือหนาตัดกระทะคลายรูปทรงกลมจึงคิดปริมาตรน้ําที่หายไปจากการคํานวณและรูปดังตอไปนี้

รูปที่ 15 รูปแสดงหนาตัดกระทะ กับการหาปริมาตร ดวยวิธีอินทิเกรต

Page 29: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

25

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

สําหรับการคิดปริมาตรของน้ําเกลือที่ระเหยไปสําหรับกระทะตมเกลือ ซ่ึงมีรูปทรงใกลเคียงกับสวนโคงของรูปวงกลมดังรูป การคํานวณปริมาตรที่หายไปใชการคํานวณแบบอินทิเกรตซึ่งจะไดคาปริมาตรของรัศมีกับคาความลึกของสมการ

Ho = ระดับน้ําเริ่มตน dV = πH 2(R - (H /3))

H1 = ระดับน้ําที่เหลือหลังตม สมการ (1)

และหาคารัศมีความโคงไดจากการวัดเสนผานศูนยกลางกระทะ (T) และความลึกกระทะ (D) ไดดังรูปและสมการ

รูปที่ 16 รูปแสดงหนาตัดกระทะและ

ความสัมพันธระหวางคา T, D, R

T = 2 D(2R-D) สมการ (2)

เมื่อหาปริมาตรน้ํา เกลือที่ระเหยออกไปไดแลว จะใชหลักการคํานวณพลังงานความรอนที่ใชในการระเหยน้ําเกลือจากสูตรพ้ืนฐาน (Q = ms ∆T) แลวจึงแปลงหนวยพลังงานความรอนเปนแรงมา ดังนี้

Page 30: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

26

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

ปริมาตรของน้ําที่ระเหยออกไป 1 ลบ.เมตร = 35.7 HP

รูปที่ 17

เตาตมเกลือสินเธาว

ประเภทเชื้อเพลิงตาง ๆ

การคํานวณแรงมาเปรียบเทียบจะคิดจากอัตราการใชเชื้อเพลิงของเครื่องจักร และคิดคาการใหความรอนของแตละเชื้อเพลิงแตละประเภท จากนั้นจึงแปลงคาความรอนที่ไดเปนแรงมาตอไป ตามสูตรคํานวณ

แรงมาเปรียบเทียบ = อัตราการใชเชื้อเพลิง (L/hr หรือ kg/hr) × อัตราการใหความรอน

ของเชื้อเพลิง (Btu/hr) × ประสิทธิภาพการสงผานพลังงาน

2,545 Btu/hr ( การแปลงหนวยพลังงานเปนแรงมา)

จากหลักการคํานวณดังกลาว นํามาปรับใชกับชนิดของเชื้อเพลิงตาง ๆ ไดดังนี้ (คิดประสิทธิภาพการสงถายพลังงาน 20 เปอรเซ็นต) 3.1 GAS แรงมาเปรียบเทียบ = Kg/hr × 2.2 l b/kg × 22,000 Btu/lb × 0.2

2,545 Btu/hr HP. = 3.8 × ปริมาณกาซที่ใช (kg/hr)

3

Page 31: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

27

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

3.2 น้ํามันโซลา แรงมาเปรียบเทียบ = l/hr × 0.8 kg/l × 9,000 Kcal/kg × 0.2

641.2 Kcal/hr HP. = 2.25 × ปริมาณน้ํามันโซลาที่ใช (l/hr) 3.3 น้ํามันเตา แรงมาเปรียบเทียบ = l/hr × 2.2 lb/l × 0.84 (ถ.พ.) × 19,900 Btu/lb × 0.2

2,545 Btu/hr

HP. = 2.89 × ปริมาณน้ํามันเตาที่ใชใน (l/hr) 3.4 น้ํามันเบนซิน แรงมาเปรียบเทียบ = l/hr × 2.2 lb/l × 0.9 (ถ.พ.) × 19,200 Btu/lb × 0.2 2,545 Btu/hr HP. = 2.99 × ปริมาณน้ํามันเบนซินที่ใช (l/hr) 3.5 เครื่องเชื่อมหรือตัดโลหะดวยกาซ

มีการประเมินแรงมาจากพลังงานความรอนที่ไดจากกาซในการเชื่อม โดยมีวิธีการคิดแรงมาจากจํานวนหัวเชื่อม ดังตอไปนี้

1 หัว = 2 แรงมา

Page 32: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

28

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

ประเภทเครื่องยนตสันดาปภายใน

แรงมาจากเครื่องยนตสันดาปภายในจะคิดจากการเคลื่อนที่หรืองานที่ไดจากการขับลูกสูบ โดยคิดจากความดัน พ้ืนที่หนาตัดลูกสูบ ชวงชักลูกสูบและจํานวนรอบของเครื่องยนต แลวจึงแปลงหนวยเปนแรงมา ไดดังตอไปนี้

กรณีที่เปนเครื่องยนตเกาหรือไมสามารถที่จะหาหลักฐานระบุกําลังแรงมาได ใหตรวจสอบลักษณะการทํางานเปนเครื่องยนต 2 จังหวะ หรือ 4 จังหวะ โดยใชสูตร เครื่องยนต 4 จังหวะ กําลังแรงมา (BHp) = Pbmep LAN × จํานวนสูบ 2 × 33,000

เครื่องยนต 2 จังหวะ

กําลังแรงมา (BHp) = Pbmep LAN × จํานวนสูบ 33,000 Pbmep คือ คาความดันเฉลี่ยที่หัวสูบ ซ่ึงไดหักคาประสิทธิภาพทางเชิงกลแลว (Brake mean effective pressure) มีหนวยเปนปอนดตอตารางนิ้ว

4

Page 33: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

29

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

L คือ ระยะชวงชัก (Stroke) มีหนวยเปนฟุต A คือ พ้ืนที่หนาตัดของกระบอกสูบ มีหนวยเปนตารางนิ้ว N คือ ความเร็วรอบของเครื่องยนต มีหนวยเปนรอบตอนาที

ตารางที ่1-7 แสดงคา Pbmep (Psi) สําหรับการคํานวณแรงมาเคร่ืองยนต สันดาปภายใน

ชนิดเครื่อง ความเร็ว

(รอบ/นาที) Pbmep (Psi)

1. เครื่องยนตดีเซลรอบเร็ว 1,800 85 2. เครื่องยนตดีเซลปานกลาง (1-2 สูบ) 700 100 3. เครื่องยนตดีเซลรอบชา 200 75 4. เครื่องยนตเบนซินใชกับเครื่องยนต 4,000 110 5. เครื่องยนตเบนซินในการอุตสาหกรรม และงานหนักแทรกเตอร

1,800 100

6. เครื่องยนตเบนซินขนาดเล็ก 3,000 70

ประเภทหมอน้ํา

รูปที่ 18

หมอนํ้า

5

Page 34: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

30

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

5.1 แรงมาหมอนํ้า (Boiler Horse Power) คิดท่ี 50% ของ Boiler Rating (ประสิทธิภาพหมอนํ้า)

BHp = 13.2 × 0.50 = 6.6 แรงมาเปรยีบเทียบ

แรงมาเปรียบเทียบ = 6.6 × BHp

5.2 กรณีระบุเปนนํ้าหนักตอชั่วโมง เชน Q ปอนดตอชั่วโมง (STEAM RATE) แรงมาเปรียบเทียบ = Q(lb/hr) × 6.6

34.5 = Q(ton/hr) × 13,200

34.5

หมายเหต ุ: ถาไมไดระบุน้ําหนักไอน้ําเปนหนวยตันชนิดอื่น จะหมายถึง Short ton ถาระบุเปนหนวยตันชนิดอื่นใหใชคาดังนี้

Short ton จะมีคาเทากับ 2,000 ปอนด/ชั่วโมง

Long ton จะมีคาเทากับ 2,240 ปอนด/ชั่วโมง Metric ton จะมีคาเทากับ 2,205 ปอนด/ชั่วโมง

5.3 ถาระบุเปนคาความสามารถในการสงถายความรอน เมกกะบีทียูตอชั่วโมง (MBH)

ใชสูตร แรงมาเปรียบเทียบ = MBH × 106 × 6.6

33,475.35

Page 35: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

31

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

5.4 ถาระบุเปนคาความสามารถในการสงถายความรอนเปนกิโลแคลอร่ีตอชั่วโมง

แรงมาเปรยีบเทียบ (Hp) = Kcal × 6.6

8,435.7 5.5 ถาระบุเปนพ้ืนท่ีผิวรับความรอน (Heating Surface) เปนตารางฟุต ใชสูตร แรงมาเปรียบเทียบ = พ้ืนที่ผิวความรอน (ตารางฟุต) × 6.6 คาคงที ่

พ้ืนที่ผิวรับความรอนใหคิดทั้งหมดของหมอน้ํา เชน ผนังเตา ทอไฟใหญ ทอไฟเล็ก ทอน้ํา มีหนวยเปนตารางฟุต

ตารางที ่1-8 แสดงคาคงที่สําหรับพื้นท่ีผิวรับความรอนของหมอนํ้า

ชนิดของหมอน้ํา คาคงที ่Steam Generator (หมอน้ําผลิตไอน้ําไดเร็ว/เชื้อเพลิงเหลว/มีพัดลม) 5 Fire Tube (ทอไฟ/มีพดัลม) 6 Fire Tube (ทอไฟ/มีพดัลม) 8 Water Tube (ทอน้ํา/มีพัดลม) 6 Water Tube (ทอน้ํา/ไมมีพัดลม) เชน ทอน้ําขวางของโรงงาน ทําเสนกวยเตี๋ยว

7

หมอน้ํารถไฟ (ทอไฟ/ไมมีพัดลม) 8

Page 36: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

32

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

พ้ืนที่ผวิสัมผัสความรอน (ทอทรงกระบอก) = ¶ × D × L × N (ตร.ฟุต) เมื่อ D = เสนผานศนูยกลางของทอไฟหรือทอน้าํ (ฟุต) L = ความยาวของทอไฟหรือทอน้าํ (ฟุต) N = จํานวนทอไฟหรือทอน้ํา

พ้ืนที่ผิวสัมผัสความรอน (พ้ืนที่วงกลม) = ¶ D2 = 0.785 D2 4

เมื่อ D = เสนผานศนูยกลางวงกลม (ฟุต) พ้ืนที่ผิวสัมผัสความรอนทั้งหมดของหมอน้ําแบบลูกหมู

= (พ้ืนที่ผิวภายในลูกหมู (ทอไฟใหญ + (พ้ืนที่ผิวเปลือกหมอไอน้ําดานนอกที่สัมผัสไฟกลับที่ 2 และกลับที่ 3 (ตร.ฟุต)

= (¶ × d × I × n) + (2 × ¶ × D × L) (ตร.ฟุต) 3 เมื่อ d = เสนผานศูนยกลางทอไฟใหญ (ลูกหมู) (ฟุต) I = ความยาวทอไฟหรือทอน้ํา (ลูกหมู) (ฟุต) n = จํานวนลูกหมู (ทอไฟใหญ) D = เสนผานศูนยกลางหมอน้ํา (ฟุต) L = ความยาวของหมอน้ํา (ฟุต)

Page 37: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

33

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

หมอตมน้ํามัน (HOT OIL BOILER OR THERMAL OIL HEATER)

รูปที่ 19

หมอตมน้ํามัน

6.1 กรณีทราบความสามารถ (Output) ของหมอตมน้ํามันมีหนวยเปนกิโลแคลอรี่/ชั่วโมง เชน A Kcal/hr

แรงมาเปรยีบเทียบ (HP) = 0.00156 × A

6.2 กรณีทราบความสามารถ (OUTPUT) ของหมอตมน้ํามันมีหนวยเปนกิโลวัตต เชน B kw

แรงมาเปรยีบเทียบ (HP) = 1.34 × B

6.3 กรณีทราบอัตราการไหลของปมหมุนเวียนน้ํามันรอนของหมอตมน้ํามันมีหนวยเปนลิตรตอวินาที เชน Q ลิตร/วินาที ใหคาอุณหภูมิแตกตางของหมอตม (ดานสงไปใชงานและดานกลับจากใชงาน

( T) = 20 C° ใหคาความรอนจําเพาะของน้ํามันรอน (S) = 0.6

kcal/kg C° ใหคาน้ําหนักจําเพาะของน้ํามันรอน (W) = 0.7 kg/l ใหคา Eff = 80%

6

Page 38: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

34

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

แรงมาเปรยีบเทียบ (HP) = Q × S × W × Eff. × T × 5.613

เมื่อ Q มีหนวยเปน l/sec

S มีหนวยเปน kcal/kg C° W มีหนวยเปน kg/l Eff มีหนวยเปน คาประสิทธิภาพของหมอตมน้ํามัน หมายเหต ุ: รายละเอียดสามารถดูจากตารางแรงมาเปรียบเทียบของหมอตมน้ํามัน

เมื่อแทนคาคงที่ตาง ๆ (S × W × Eff. × T × 5.613) และคํานวณจะไดสูตรคํานวณแรงมาเปรียบเทียบ ดังนี้

แรงมาเปรยีบเทียบ (HP) = 37.72 × Q

6.4 กรณีคาตางๆ : T, S, W และ EFF ไมเปนไปตามขอ 6.3 ดังกลาวขางตน และอัตราการไหลของปมน้ํามันเทากับ Q ลิตร/วินาที ใหแทนคาตาง ๆ ในสูตรคํานวณในขอ 6.3 เพื่อหาคาแรงมาเปรียบเทียบ

Page 39: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

35

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

ประเภทเครื่องจักรไอน้ํา

ประเมินจากแรงดันหรือการขับเคลื่อนลูกสูบเพื่อใหไดงานและแปลงหนวยเปนแรงมาไดดังตอไปนี้ 7.1 Single Engine (สูบเดียว) ใชสูตร HP = 0.442 D2 ซ่ึงไดคาแรงมาเปรียบเทียบตามตารางที่ 1-9

7.2 Compound Engine (2 สูบหรือชนิดไอดี-ไอเสีย) ใหถือเอาขนาดเสนผานศูนยกลางของไอดีเปนเกณฑ ใชสูตร HP = 0.762 D2 ซ่ึงไดคาแรงมาเปรียบเทียบตามตารางที่ 1-10

ในกรณีที่ขนาดเสนผานศูนยกลางของไอดีเปนจุดทศนิยมใหเทียบสัดสวน (Interpolate) เพื่อหาคาแรงมาเปรียบเทียบใหม

7

Page 40: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

36

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

ตารางที ่1-9 การประเมินแรงมาเคร่ืองจักรจากเครื่องจักรไอนํ้าชนิดลูกสูบเดยีว

ขนาดเสนผานศูนยกลางของลูกสูบ (น้ิว) แรงมาท่ีประเมินได (HP) 6 16 7 22 8 28 9 36

10 44 11 53 12 64 13 75 14 87 15 100 16 113 17 128 18 143 19 160 20 177

Page 41: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

37

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

ตารางที ่1-10 การประเมินแรงมาเคร่ืองจักรจากเครื่องจักรไอนํ้าชนิด 2 สูบหรือชนิดไอดีไอเสยี

เสนผานศูนยกลางลูกสูบไอดี (น้ิว)

เสนผานศูนยกลางลูกสูบไอเสีย (น้ิว)

แรงมาท่ีประเมินได (HP)

6 10 25 7 10 35 8 12 49 9 14 62 10 16 77 12 18 110 14 20 150

ตนกําลังของโรงงานบางประเภท

8.1 กรณีที่ตนกําลังฉุดเครื่องกําเนิดไฟฟา 8.1.1 ถาเครื่องตนกําลังฉุดเฉพาะเครื่องกําเนิดไฟฟา ใหคิดแรงมาที่ Output ของเครื่องกําเนิดไฟฟาเปนแรงมาตนกําลัง 8.1.2 ถาเครื่องตนกําลังฉุดอยางอื่นดวย เชน ฉุดเครื่องอัดน้ํายาดวย ใหคิดแรงมาที่เครื่องตนกําลัง 8.1.3 มอเตอรทุกตัวภายในโรงงานไมวาจะใชไฟของทางราชการหรือใชไฟจากเครื่องกําเนิดไฟฟา ใหนํามาคิดรวมทั้งหมด

8

Page 42: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

38

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

8.2 โรงสีขาว และโรงเรื่อยไมขนาดใหญที่ใชกับเครื่องจักรไอน้ํา ใหคิดแรงมาที่เครื่องจักรไอน้ําเพียงอยางเดียว

8.3 กรณีขอ 8.2 ถาใชไอน้ําจากหมอน้ําสําหรับในการอื่นดวย เชน อบไม หรือนึ่งขาวใหคิดแรงมาเปรียบเทียบที่หมอน้ําแตเพียงอยางเดียว

รูปที่ 20 เคร่ืองกําเนิดไฟฟา

(Generator)

สรุปแรงมาเปรียบเทียบ

ไฟฟา 1 KW (กโิลวัตต) = 1.34 แรงมา ไฟฟา 1 KVA = 1.07 แรงมา (V=220 Volt) ไฟฟา 1 KVA = 1.86 แรงมา (V=380 Volt) น้ํามันโซลา 1 ลิตร/ชั่วโมง = 2.25 แรงมา น้ํามันเตา 1 ลิตร/ชั่วโมง = 2.89 แรงมา น้ํามันเบนซิน 1 ลิตร/ชั่วโมง = 2.99 แรงมา GAS 1 กิโลกรมั/ชั่วโมง = 3.80 แรงมา หมอน้ํา 1 BHp = 6.6 แรงมา หมอน้ํา 1 Metricton = 421.8 แรงมา

Page 43: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

39

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

การประเมินกําลังผลิตของโรงงานและอุตสาหกรรมบางประเภท

9.1 ประเภทหองเย็น

รูปที่ 21 หองเย็น

หาความจใุชสูตร ความจุ (ตนั) = 1 ลบ.ม. × 400 กก. × 60%

1,000

9.2 ประเภทน้ําแข็ง

รูปที่ 22 เคร่ืองผลิตนํ้าแข็ง

หาจํานวนซองที่ผลิตไดตอวัน ใชสูตร = ¶d2L × N × n ลูกบาศกฟุต 4

¶d2L = ขนาดกระบอกสูบน้ํายา

9

Page 44: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

40

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

N = จํานวนสบู n = ความเร็วรอบ

สําหรับผลติน้ําแข็งซอง ft3/10 = ตันน้ําแขง็ตอวัน สําหรับผลติน้ําแข็งถวย ft3/12.5 = ตันน้ําแขง็ตอวัน น้ําแข็ง 1 ซอง = น้ําแข็ง 150 กก.

9.3 การประเมินกําลังการผลิตโรงงานน้ําตาลทรายแดง

เครื่องจักรและอุปกรณสําคัญในการสกัดหรือหีบน้ําออย เพื่อนําไปตม-เคี่ยวน้ําตาลเปนเครื่องจักรในสวนที่เกี่ยวของกับการคํานวณกําลังการผลิต ไดแก

1) มีดหมุนสับออย (Cutter) หรือ (Knives) 2) เครื่องฉีกยอยออยหรือเชรดเดอร (Shredder) 3) ชุดลูกหีบ (Mills) 4) เพรสเชอรฟดเดอร (Pressure Feeder)

รูปที่ 23 เคร่ืองจกัรเกี่ยวกับการผลิตนํ้าตาลทราย

Page 45: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

41

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

กระทรวงอุตสาหกรรม จึงไดกําหนดแนวทางในการคํานวณกําลังการผลิตของโรงงานน้ําตาล ใหเปนไปตามมาตรฐานและแนวทางเดียวกันดังนี้

สูตรในการคํานวณกําลังการผลิตโรงงานน้ําตาล

C = 23.75 × cn D2L√N 112,320 × f

C = ปริมาณออยที่หีบได (ตันออย/วัน) c = คาสัมประสิทธิ์ใหมีคา = 1 กรณีไมมี Cutter, Shredder n = จํานวนรอบตอนาทขีองลูกหีบซึ่งกําหนดใหใชที่ 7 รอบ/นาที

(ถาน้าํตาลทรายขาว n = 5 รอบ/นาที) L = ความยาวของลูกหีบ (นิ้ว) D = ขนาดเสนผานศูนยกลางลูกหีบ (นิ้ว) N = จํานวนลูกกลิ้งที่ใชในแถวลูกหีบ f = เปอรเซ็นตเสนใย (Fiber) ในเนื้อออย กําหนดให = 12.5% ถาขนาดลกูหีบในแตละชนิดไมเทากันใหหาคา D2L กอน ตามสูตร D2L = D2

1L1n1 + D22L2n2 + D2

3L3n3 n1 + n2 + n3

ถาผลิตน้ําตาลทรายขาว ดูคา c จากตารางตามจํานวน Cutter และ Shredder

Page 46: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

42

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

ตารางที ่1-11 แสดงคา c ท่ีใชคํานวณ

Cutter Shredder c 1 - 1.15 1 1 1.20 2 - 1.20 2 1 1.25

หลักเกณฑในการคํานวณกําลังการผลิตโรงงานน้ําตาลทรายแดงเปนดังนี้

1. การใชสูตรคํานวณกําลังการผลิตโรงงานน้ําตาลขางตน จะใชในการคํานวณเฉพาะลูกหีบที่ไมมีการติดตั้งเพรสเชอรฟดเดอรในแถวลูกหีบนั้น

2. กรณีในแถวลูกหีบมีเพรสเชอรฟดเดอรจํานวน 1 ชุด จะทําใหมีกําลังการผลิตเพิ่มจากขอ 1 อีก 5% หรือกําลังการผลิตจะเทากับ ขอ 1+5% ของขอ 1

3. กรณีในแถวลูกหีบมีเพรสเชอรฟดเดอรจํานวนตั้งแต 2 ชุด ขึ้นไป จะทําใหมีกําลังการผลิตเพิ่มจากขอ 1 อีก 7.5% หรือกําลังการผลิตจะเทากับขอ 1+7.5% ของขอ 1

4. กรณีในแตละชุดลูกหีบมีเพรสเชอรฟดเดอรเพียง 1 ลูกกลิ้ง หรือเกินกวา 1 ลูกกลิ้งใหมีกําลังการผลิตโดยใชหลักเกณฑตามขอ 2 และขอ 3

5. ฟดเดอรที่กลวง และขับดวยโซไมมีผลตอกําลังการผลิต

Page 47: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

43

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

บทท่ี 2 สรุปวิธีการประเมินแรงมาเครื่องจักร

จากรายละเอียดการคํานวณในบทที่ 1 ซ่ึงแสดงวิธีการคํานวณและที่มาของการคํานวณโดยละเอียด เพื่อเปนการใหผู เริ่มใชงานคูมือ มีความคุนเคยและทําความเขาใจในการใชสูตรการคํานวณแรงมาไดอยางถูกตอง ในบทที่ 2 นี้จะเปนการสรุปสูตรคํานวณตางๆ ในบทที่ 1 เพื่อใหผูใชงานสามารถนําไปใชไดโดยงาย โดยผูใชงานมีพ้ืนฐานและความเขาใจในการใชสูตรคํานวณแรงมาที่ดีแลวในระดับหนึ่ง เนื้อหาในบทที่ 2 นี้ แบงหัวขอในการคํานวณออกเปน 9 สวนหลักดังตอไปนี้

1) การประเมนิประเภทไฟฟา 2) การประเมนิประเภทเตา 3) การประเมนิประเภทเชื้อเพลิงตาง ๆ 4) การประเมนิประเภทเครือ่งยนตสันดาปภายใน 5) การประเมนิประเภทหมอน้ํา 6) การประเมนิประเภทหมอตมน้าํมัน 7) การประเมนิประเภทเครือ่งจักรไอน้ํา 8) การประเมนิตนกําลงัของโรงงานบางประเภท 9) การประเมนิกําลังผลติของโรงงานบางประเภท

Page 48: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

44

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

โดยสวนประกอบของตารางสรุปสูตรการคํานวณนี้ออกแบบเพื่อใหใชขอมูลไดโดยงาย กระชับ และเหมาะสําหรับการทํางานภาคสนาม โดยสวนประกอบของตาราง ประกอบดวย

• รายการ : แสดงการแยกประเภทของการประเมินแรงมาเครื่องจักรเปน 9 ประเภทหลักและรายการยอยตางๆ

• สูตรคํานวณ หรือวิธีการคํานวณแรงมา : แสดงสูตรตาง ๆ ที่ใช • คาตัวแปร : แสดงใหเห็นถึงคาและความหมายของตัวแปรในสูตร • ตารางอางอิง : เปนตารางบอกคาตางๆ ในสูตรที่ผูคํานวณตอง

นําไปใช คํานวณหาคาแรงมาโดยตรง หรือ นําคาตาง ๆ มาแทนในสูตรกอนจึงจะคํานวณหาคาแรงมาได โดยอางอิงและแสดงอยูในสวนทายของบทที่ 2

สําหรับเจาหนาที่ที่ตองการเขาสํารวจและประเมินแรงมาเครื่องจักรในภาคสนามและมีพ้ืนฐานความเขาใจในการใชสูตรที่ดีในระดับหนึ่งสามารถนําตารางสรุปสูตรในบทที่ 2 นี้ นําไปใชในการคํานวณ เพื่อความสะดวกรวดเร็วในการทํางาน โดยมีรายละเอียดของตารางสรุปสูตรการคํานวณพรอมทั้งตารางอางอิงทายบท ดังตอไปนี้

Page 49: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

45

ตารางที่ 2-1 สรุปการคาํนวณและการประเมินแรงมาเครื่องจักร

ลําดับที่ รายการ สูตรคํานวณ หรือวิธีการคํานวณแรงมา คาตัวแปร ตารางอางองิ

1. การประเมินประเภทไฟฟา 1.1 ตนกําลังเปนกิโลวัตต HP = กิโลวัตต - - 0.746 1.2 ตนกําลังเปน KVA

1.2.1 ไฟฟากระแสตรง HP = KVA หรือ VxA - - 0.74 6746

HP = KVA × 0.80 หรือ V × A × 0.80 - - 1.2.2 ไฟฟากระแสสลับ 220 V

0.746 746 HP = KVA × 0.80 × 1.732 - -

0.746 หรือ VxA × 1.732 × 0.80

ไฟฟากระแสสลับ 380 V

746

1.2.3 ไมมี Nameplate 1) วัด Frame Size มอเตอร - ตารางที่ 1

2) วัด No Load Current, Volt - ตารางที่ 2 3) วัด Rotor RPM Pole - -

Page 50: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

46

ตารางที่ 2-1 (ตอ)

ลําดับที่ รายการ สูตรคํานวณ หรือวิธีการคํานวณแรงมา คาตัวแปร ตารางอางองิ 1.3 - -

เครื่องใชไฟฟาที่มีความรอน เชน Heater

คํานวนเชนเดียวกับขอ 1.2.1 และ 1.2.2 แตคิดประสิทธิภาพ 60%

1.4 เครื่องเชื่อมไฟฟา ประเมินจากขนาดที่ใชแอมแปรสูงสุด ของเครื่อง

- ตารางที่ 3

1.5 เครื่อง Spot Welding - -

คํานวนเชนเดียวกับขอ 1.2.1 และ 1.2.2 แตคิดประสิทธิภาพ 20 %

1.6 เครื่องชุบโลหะ (Plating) Output Voltage 12 VDC (Eff 60%) ตารางที่ 4 Output Voltage 15 VDC (Eff 60%) ตารางที่ 5

2. การประเมินประเภทเตา 2.1 เตาอบ

2.1.1 เตาอบทั่วไป ปริมาตรรอบนอกเตา 1 ลบ.ม. = 2 แรงมา - - 2.1.2 เตาอบไม 2.1.2.1 ใชหมอน้ําสําหรับอบไมอยางเดียว ปริมาตรรอบนอกเตา 1 ลบ.ม. = 0.12 แรงมา - - 2.1.2.2 กรณีนําไอน้ําไปใชกับเครื่องจักร

อื่นๆ ดวย ใหประเมินแรงมาจากหมอไอน้ําเพียง อยางเดียว

- -

2.1.2.3 เตาอบไมที่ใชเชื้อเพลิงอื่นๆ ปริมาตรรอบนอกเตา 1 ลบ.ม. = 0.12 แรงมา - -

Page 51: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

47

ตารางที่ 2-1 (ตอ)

ลําดับที่ รายการ สูตรคํานวณ หรือวิธีการคํานวณแรงมา คาตัวแปร ตารางอางองิ 2.2 เตาอั้งโล หรือเตาดินเผาทั่วไป เชน เตาคั่วกาแฟ เครื่องยางตางๆ เตาเผาเหล็ก

เตานึ่งกวยเตี๋ยว เตาเคี่ยวน้ําตาลทรายแดง 2.2.1 D < 40 ซม. แรงมาเปรียบเทียบเตาละ 0.25 แรงมา D = เสนผานศูนยกลางเตา - 2.2.2 40 < D < 100 ซม. แรงมาเปรียบเทียบเตาละ 0.50 แรงมา D = เสนผานศูนยกลางเตา - 2.2.3 D > 100 ซม. แรงมาเปรียบเทียบเตาละ 2.0 แรงมา D = เสนผานศูนยกลางเตา -

2.3 เตาเผาอิฐ 2.3.1 เตาเผาถาวร ปริมาตรรอบนอกเตา 1 ลบ. ม. = 0.25 แรงมา - - 2.3.2 เตาเผาชนิดไมถาวร ปริมาตรรอบนอกเตา 1 ลบ. ม. = 0.10 แรงมา - -

2.4 เตาบมใบยาสูบ ปริมาตรหองบม 1 ลบ. ม. = 0.05 แรงมา 2.5 เตารมควันยาง ปริมาตรหองรมควันยาง 1 ลบ. ม. = 0.10

แรงมา

2.6 เตาหลอมโลหะ HP = W(kg) × K W = น้ําหนักโลหะที่ใชหลอม ตารางที่ 6

T (hr) K = คาคงที่ (คา K) T = เวลาที่ใชหลอม

2.7 เตาตมเกลือสนิเธาว ประเมินแรงมาจากน้ําที่ระเหยไป จากการตม 1 ลบ.ม. = 35.7 แรงมา

- -

Page 52: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

48

ตารางที่ 2-1 (ตอ)

ลําดับที่ รายการ สูตรคํานวณ หรือวิธีการคํานวณแรงมา คาตัวแปร ตารางอางองิ

3. ประเภทเชื้อเพลิงตาง ๆ

3.1 Gas HP = 3.8 × ปริมาณกาซที่ใช (kg/hr) -

-

3.2 น้ํามันโซลา HP = 2.25 × ปริมาณน้ํามันโซลาที่ใช (l/hr) -

-

3.3 น้ํามันเตา HP = 2.89 × ปริมาณน้ํามันเตาที่ใช (l/hr) -

-

3.4 น้ํามันเบนซิน HP = 2.99 × ปริมาณน้ํามันเบนซินที่ใช (l/hr) -

-

3.5 เครื่องเชื่อมโลหะดวยกาซ 1 หัว = 2 แรงมา - -

4. ประเภทเครื่องยนตสันดาปภายใน

4.1 เครื่องยนต 4 จังหวะ BMP = Pbmep LAN × จํานวนสูบ 2 x 33,000

Pbmep = ความดันเฉลี่ยที่หัวสูบหนวย PSI

ตารางที่ 7

L = ระยะชวงชัก (ฟุต) (Pbmep,N) A = พื้นที่หนาตัดกระบอกสูบ

(ตร.นิ้ว)

N = ความเร็ว (rpm)

4.2 เครื่องยนต 2 จังหวะ BMP = Pbmep LAN × จํานวนสูบ เหมือนเครื่องยนต 4 จังหวะ ตารางที่ 7

33,000 (Pbmep,N)

Page 53: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

49

ตารางที่ 2-1 (ตอ)

ลําดับที่ รายการ สูตรคํานวณ หรือวิธีการคํานวณแรงมา คาตัวแปร ตารางอางองิ

5. ประเภทหมอน้ํา

5.1 แรงมาหมอน้ํา HP = 6.6 × BHP (Boiler Horse Power) - -

5.2 ถาระบุเปนน้ําหนักตอชั่วโมง HP = Q × 6.6 Q = Stream rate - 34.5 (ปอนดตอชั่วโมง )

5.3 ถาระบุเปนความสามารถในการ HP = MBH × 106 × 6.6 MBH = เมกกะบีทียูตอชั่วโมง - ถายเทความรอน (MBH) 33,475.35

5.4 ถาระบุเปนคาความสามารถใน HP = Kcal × 6.6 Kcal = กิโลแคลอรี่ตอชั่วโมง - ถายเทความรอน (Kcal) 8,435.7

5.5 ถาระบุเปนพื้นที่ผิวรับความรอน HP = A × 6.6 A = พื้นที่ผิว (ตร.ฟุต) ตารางที่ 8

K K = คาคงที่ (คา K)

6. หมอตมน้ํามัน

6.1 ถาทราบความสามารถของหมอตมน้ํามัน (cal/hr)

HP = 0.00156 x Output ของหมอตมน้ํามัน (Kcal/hr)

- -

6.2 ถาทราบความสามารถของหมอตมน้ํามัน (kw)

HP = 1.34 x Output ของหมอตมน้ํามัน (kw)

- -

Page 54: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

50

ตารางที่ 2-1 (ตอ)

ลําดับที่ รายการ สูตรคํานวณ หรือวิธีการคํานวณแรงมา คาตัวแปร ตารางอางองิ 6.3 ถาทราบอัตราไหลของปมหมุน HP = 37.72 x Q เวียนน้ํารอนของหมอตมน้ํามัน (กรณี T = 20 C๐, S = 0.6 kcal/kg C๐, -

(Q = l/s ) W = 0.7 kg/l, Eff = 80%)

Q = อัตราการหมุนเวียน น้ํารอนของหมอตมน้ํามัน หนวยลิตรตอวินาที

6.4 ถาทราบอัตราไหลของปมหมุน HP = Q x S x W x Eff x T x 5.613 เวียนน้ํารอนของหมอตมน้ํามัน S หนวยเปน kcal/kg C๐

S = คาความรอนจําเพาะ ของน้ํามันรอน -

แตคาอื่น ๆ ไมตรงตามขอ 6.3 T หนวยเปน องศาเซลเซียส C๐ W หนวยเปน kg/l

T = ความแตกตางของอุณหภูมิหมอตม

Eff หนวยเปนเปอรเซ็นต

W = คาน้ําหนักจําเพาะ ของน้ํามันรอน

Eff = ประสิทธิภาพ (%)

7. เครื่องจักรไอน้ํา

7.1 Simple Engine (ลูกสูบเดียว) HP = 0.442 D 2 D = เสนผานศูนยกลางลูกสูบ ตารางที่ 9 7.2 Compound Engine HP = 0.762 D 2 D = เสนผานศูนยกลางลูกสูบ ตารางที่ 10

(2 ลูกสูบ ชนิด ไอดี-ไอเสีย )

Page 55: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

51

ตารางที่ 2-1 (ตอ)

ลําดับที่ รายการ สูตรคํานวณ หรือวิธีการคํานวณแรงมา คาตัวแปร ตารางอางองิ

8. ตนกําลังของโรงงานบางประเภท

8.1 กรณีเปนตนกําลังฉุดของเครื่องกําเนิดไฟฟา

8.1.1 ถาฉุดเฉพาะเครื่องกําเนิดไฟฟา ใหคิดแรงมาที่ Output ของเครื่องกําเนดิไฟฟาเปนกําลังมาตนกําลัง

- -

8.1.2 ถาฉุดอยางอื่นดวย เชน ฉุดเครื่องอัดน้ํายาดวย

ใหคิดแรงมาที่เครื่องตนกําลัง - -

8.1.3 การคิดแรงมาจากมอเตอรอืน่ ๆ มอเตอรทุกตัวภายในโรงงานไมวาจะใชไฟของทางราชการ หรือใชไฟฟาจากเครื่องกําเนิดไฟฟา ใหนํามาคิดรวมทั้งหมด

- -

8.2 ใหคิดแรงมาที่เครื่องจักรไอน้ําเพียงอยางเดียว - -

โรงสีขาวและโรงเลื่อยไมขนาดใหญ ที่ใชหมอน้ําที่ใชกับเครื่องจักรไอน้ํา

8.3 - - ในกรณีขอ 8.2 ถาใชไอน้ําจาก หมอน้ําสําหรับในการอื่นดวย

ใหคิดแรงมาเปรียบเทียบที่หมอน้ําแตเพียง อยางเดียว

Page 56: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

52

ตารางที่ 2-1 (ตอ)

ลําดับที่ รายการ สูตรคํานวณ หรือวิธีการคํานวณแรงมา คาตัวแปร ตารางอางองิ

9. การประเมินกําลังผลิตของโรงงาน

บางประเภท

9.1 ประเภทหองเย็น ความจุ (ตัน) = V × 400 กก × 60% V = ปริมาตรหองเย็น (ลบ.ม) - 1,000

9.2 ประเภทน้ําแข็ง จํานวนซอง = ¶ d2 L × N × n (ลูกบาศกฟุต) ¶ d2 L = ขนาดกระบอกสูบน้ํายา - (จํานวนซองที่ผลิตไดตอวัน) 4 N = จํานวนสูบ

สําหรับผลิตน้ําแข็งซอง ft3/ 10 = ตันน้ําแข็ง ตอวัน

n = ความเร็วรอบ

สําหรับผลิตน้ําแข็งถวย ft 3/ 12.5 = ตันน้ําแข็งตอวัน

น้ําแข็ง 1 ซอง = 150 kg

9.3 การประเมินกําลังผลิตของโรงงาน C = 23.75 × cn D2 L √N C = ปริมาณออยที่หีบได ตารางที่ 11

น้ําตาลทรายแดง (112,320 × f ) c = คาสปส. =1

หนวย C = ตันตอวัน, c =1, n = รอบตอนาที (กรณีไมมี Cutter, Shredder)

L = นิ้ว, D = นิ้ว, N = ลูก , f = % n = จํานวนรอบตอนาที

ในกรณีที่ขนาดลูกหีบ แตละชนิดไมเทากัน ของลูกหีบ = 7

Page 57: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

53

ตารางที่ 2-1 (ตอ)

ลําดับที่ รายการ สูตรคํานวณ หรือวิธีการคํานวณแรงมา คาตัวแปร ตารางอางองิ

ใหหาคา D2 L กอนตามสูตรตอไปนี้ (5 กรณีน้ําตาลทรายขาว)

D2 L = D2 1 L1n1 + D2

2 L2n2+ D2 3L3n3 L = ความยาวของลูกหีบ (นิ้ว)

n1 + n2 + n3 D = ขนาดเสนผานศูนยกลาง

ถาผลิตน้ําตาลทรายขาว ของลูกหีบ (นิ้ว)

ใหดูคา c จากจํานวน Shredder และ Cutter N= จํานวนลูกกลิ้งที่ใชใน

ดังตารางที่ 11 แถวลูกหีบ

f = เปอรเซ็นตเสนใยใน

เนื้อออย = 12.5 %

Page 58: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

54

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

ตารางอางอิงสําหรับบทที่ 2 (สําหรับการคํานวณแรงมา)

ตารางที่ 1 การประเมินแรงมาจากมอเตอรไฟฟาโดยการวัด Frame Size

HP Freq 50 Cycle Height of Shaft

(mm)

Dist Between Side View of Bolts

(mm) 3000 RPM (2 Poles)

1500 RPM (4 Poles)

1000 RPM (6 Poles)

90 125 2 2 1 100 140 3 3 2 112 140 5 5 3 132 140 7.5 7.5 5 132 178 10 10 7.5 160 210 15 15 10 160 254 20 20 15 180 241 25 25 17.5 180 279 30 30 20 200 305 40 40 30 225 286 50 50 35 225 311 60 60 40 250 349 75 75 50 280 368 100 100 60 280 419 120 120 75 315 406 150 150 100 315 457 180 180 120 315 508 220 220 150 355 552 270 270 220 355 560 340 340 270

Page 59: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

55

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

ตารางที่ 2 การประเมินแรงมาจากมอเตอรไฟฟาโดยการวัดกระแสและความตางศักยไฟฟา

TWO PHASE VALUES THREE PHASE VALUES POWER

220 V 380 V

KW HP No Load (Amps)

Nominal Current

No Load (Amps)

Nominal Current

0.37 0.50 0.79 1.98 0.46 1.15 0.55 0.75 1.09 2.72 0.63 1.58

0.75 1.00 1.40 3.50 0.81 2.02 1.10 1.50 2.06 5.16 1.19 2.99 1.50 2.00 2.72 6.80 1.54 3.84 1.80 2.50 3.36 8.41 1.95 4.87 2.20 3.00 3.99 9.98 2.31 5.78 3.00 4.00 5.16 12.90 3.00 7.50 4.00 5.00 6.28 15.70 3.66 9.16 4.40 6.00 7.44 18.60 4.28 10.70 5.20 7.00 8.48 21.20 4.92 12.30 5.50 7.50 9.04 22.60 5.24 13.10 6.00 8.00 9.52 23.80 5.52 13.80 7.00 9.00 10.56 26.40 6.12 15.30 7.50 10.00 11.60 29.00 6.72 16.80 9.30 12.50 14.28 35.70 8.24 22.60

11.00 15.00 16.80 42.00 9.72 24.30 15.00 20.00 21.88 54.70 12.68 31.70

Page 60: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

56

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

ตารางที่ 2 (ตอ)

TWO PHASE VALUES THREE PHASE VALUES POWER

220 V 380 V

KW HP No Load (Amps)

Nominal Current

No Load (Amps)

Nominal Current

18.90 25.00 27.00 67.50 15.64 39.10 22.00 30.00 32.00 80.00 18.52 46.30 26.00 35.00 37.00 92.50 21.40 53.50 30.00 40.00 42.00 105.00 24.32 62.80 33.50 45.00 46.80 117.00 27.16 67.90 37.00 50.00 52.00 130.00 30.08 75.20 45.00 60.00 62.40 156.00 35.84 89.60 52.00 70.00 72.00 180.00 41.60 104.00 55.00 75.00 76.80 192.00 44.40 111.00 60.00 80.00 81.60 202.00 47.20 118.00 67.00 90.00 91.60 229.00 52.80 132.00 75.00 100.00 101.20 253.00 58.40 146.00 90.00 125.00 124.40 311.00 72.00 180.00 110.00 150.00 147.60 369.00 85.60 214.00 132.00 175.00 169.20 423.00 98.00 245.00 150.00 200.00 192.80 482.00 111.60 279.00

Page 61: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

57

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

ตารางที ่3 การประเมินแรงมาเคร่ืองเชื่อมไฟฟา

80 แอมแปร = 4.5 แรงมา 100 แอมแปร = 5.5 แรงมา 150 แอมแปร = 8 แรงมา 180 แอมแปร = 9 แรงมา 200 แอมแปร = 11 แรงมา 250 แอมแปร = 14 แรงมา 300 แอมแปร = 17 แรงมา 400 แอมแปร = 26 แรงมา 500 แอมแปร = 32 แรงมา

ตารางที ่4 การประเมินแรงมาเปรียบเทียบจากเครื่องชบุโลหะชนิด Output Voltage = 12 V.D.C

Output Voltage = 12 V.D.C แอมแปร แรงมา แอมแปร แรงมา

30 0.28 400 3.86 50 0.48 500 4.82 60 0.57 600 5.79

100 0.96 750 7.23 200 1.93 1,000 9.65 250 2.41 1,500 14.47 300 2.89 3,000 28.95

Page 62: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

58

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

ตารางที ่5 การประเมินแรงมาเปรียบเทียบจากเครื่องชบุโลหะชนิด Output Voltage = 15 V.D.C

Output Voltage = 15 V.D.C แอมแปร แรงมา แอมแปร แรงมา

30 0.36 400 4.82 50 0.60 500 6.03 60 0.72 600 7.23

100 1.20 750 9.04 200 2.41 1,000 12.06 250 3.01 1,500 18.09

ตารางที ่6 แสดงคาคงที่ K สําหรับเตาหลอมโลหะ

ชนิดของโลหะ คาคงที่ คาคงที่ใหม ความหนาแนนโลหะ

(กก./ลบ.ม) อลูมิเนียม 0.4 0.36 2,700 เหล็กหลอ 0.3 0.36 7,870 ทองแดง 0.3 0.23 8,960 ทองเหลือง 0.2 0.19 8,600 สังกะสี 0.1 0.09 7,140 ตะกั่ว 0.03 0.03 11,340 ดีบุก 0.05 0.04 7,310 ทองคํา - 0.07 19,300 เงิน - 0.12 10,490

หมายเหต ุ: 1. กรณีโรงงานที่ไดรับอนุญาตอยูเดิมใหใชคาคงที่เดิม 2. กรณีโรงงานที่ขออนุญาตใหมใหใชคาคงที่ใหม

Page 63: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

59

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

3. ความหนาแนนของโลหะใชสําหรับแปลงหนวยปริมาตรของเตาหลอม เปนกิโลกรัมของโลหะที่หลอมแตละครั้ง จากสูตร

D = MV (เมื่อ D = ความหนาแนนโลหะ, M = น้ําหนักโลหะ และ V = ปริมาตรโลหะหรือเตาหลอมแตละครั้ง)

ตารางที ่7 แสดงคา Pbmep (Psi) สําหรับการคํานวณแรงมาเคร่ืองยนตสันดาปภายใน

ชนิดเครื่อง ความเร็ว

(รอบ/นาที) Pbmep (Psi)

1. เครื่องยนตดีเซลรอบเร็ว 1,800 85 2. เครื่องยนตดีเซลปานกลาง (1-2 สูบ) 700 100 3. เครื่องยนตดีเซลรอบชา 200 75 4. เครื่องยนตเบนซินใชกับเครื่องยนต 4,000 110 5. เครื่องยนตเบนซินในการอุตสาหกรรมและ

งานหนักแทรกเตอร 1,800 100

6. เครื่องยนตเบนซินขนาดเล็ก 3,000 70

Page 64: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

60

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

ตารางที ่8 แสดงคาคงที่สําหรับพื้นท่ีผิวรับความรอนของหมอนํ้า ชนิดของหมอน้ํา คาคงที่

Steam Generator (หมอน้ําผลิตไอน้ําไดเร็ว/เชื้อเพลิงเหลว/มีพัดลม) 5 Fire Tube (ทอไฟ/มีพัดลม) 6 Fire Tube (ทอไฟ/มีพัดลม) 8 Water Tube (ทอน้ํา/มีพัดลม) 6 Water Tube (ทอน้ํา/ไมมีพัดลม) เชน ทอน้ําขวางของโรงงานทําเสนกวยเต๋ียว 7 หมอน้ํารถไฟ (ทอไฟ/ไมมีพัดลม) 8

ตารางที ่9 แสดงแรงมาเปรียบเทียบของเครือ่งจักรไอนํ้า (ลูกสูบเดยีว) ขนาดเสนผานศูนยกลางของลูกสูบ (นิ้ว) แรงมาที่ประเมินได (HP)

6 16 7 22 8 28 9 36

10 44 11 53 12 64 13 75 14 87 15 100 16 113 17 128 18 143 19 160 20 177

Page 65: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

61

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

ตารางที ่10 แสดงแรงมาเปรียบเทียบสําหรับเคร่ืองจักรไอนํ้าชนิด 2 ลูกสูบ

เสนผานศูนยกลางลูกสูบไอดี (น้ิว)

เสนผานศูนยกลางลูกสูบไอเสีย (น้ิว)

แรงมาท่ีประเมินได (HP)

6 10 25 7 10 35 8 12 49 9 14 62 10 16 77 12 18 110 14 20 150

ตารางที่ 11 แสดงคา c ของการคํานวณกําลังการผลิตของโรงงานน้ําตาลทราย

Cutter Shredder c 1 - 1.15 1 1 1.20 2 - 1.20 2 1 1.25

Page 66: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

62

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

ภาคผนวก ก การแปลงหนวย

1. การแปลงคาในหนวยความยาว

1 ไมล = 1.609 กิโลเมตร = 1,609 เมตร = 5,280 ฟุต = 6.336 ×104 นิ้ว

= 1.609 × 105 เซนติเมตร = 1.609 × 106 มิลลิเมตร

= 1.609 × 109 ไมโครเมตร = 1.609 × 1012 นาโนเมตร

= 1.609 × 1013 อังสตรอม 1 เมตร = 3.28 ฟุต = 39.37 นิ้ว

2. การเปรียบเทียบหนวย 2.1 พ้ืนที่ 1 ตารางเมตร = 10.764 ตารางฟุต 2.2 มวล 1 กิโลกรัม = 2.2046 ปอนด 2.3 ปริมาตร 1 ลูกบาศกเมตร = 35.315 ตารางฟุต 1 ลิตร = 1,000 ลูกบาศกเซนติเมตร 2.4 ความหนาแนน 1 ปอนด/ลกูบาศกฟุต = 16.019 กิโลกรัม/ลูกบาศกเมตร

Page 67: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

63

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

2.5 แรง 1 นิวตัน = 1 กก.ม./วน.2

= 2.224 ปอนด 2.6 ความดนั 1 บรรยากาศ = 14.64 ปอนด/ตารางนิ้ว

= 1.033 กก./ซม2 = 1.013 บาร = 101.3 กิโลนิวตนั/ตารางเมตร = 2,116.2 ปอนด/ตารางฟุต = 101.3 กิโลพาสคาล = 29.92 นิ้วปรอท = 760 มม.ปรอท = 33.9 ฟุตน้ํา = 10.33 เมตรน้าํ 1 บาร = 14.5 ปอนด/ตารางนิ้ว = 105 นิวตัน/ตารางเมตร = 0.1 เมกะพาสคาล 1 กิโลกรัม/ตารางเซนติเมตร = 14.225 ปอนด/ตารางนิ้ว 2.7 พลังงาน 1 จูล = 1 นิวตัน-เมตร = 1 กก.-ม2/วน.2

Page 68: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

64

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

1 กิโลจูล = 1 กิโลวัตต-วินาท ี = 0.947 บี.ที.ย.ู

= 0.239 กิโลแคลอรี ่ = 737.56 ฟุต-ปอนด 1 บี.ที.ยู. = 1.055 กิโลจูล = 0.252 กิโลแคลอรี่ = 778.16 ฟุต-ปอนด

1 กิโลวัตต-ชั่วโมง = 3.60 × 103 กิโลจูล

= 2,655.2 × 103 ฟุต-ปอนด = 3,412.2 บี.ที.ย.ู = 859.86 กิโลแคลอรี่/ชั่วโมง 1 กิโลแคลอรี ่ = 4.187 กิโลจูล

2.8 พลังงาน (ตอหนวยเวลา) 1 วัตต = 1 จูน/วินาท ี

= 3.412 บี.ที.ย.ู/ชม. = 0.859 กิโลแคลอรี่/ชม.

= 1.341 × 10-3 แรงมา = 0.737 ฟุต-ปอนด/วินาท ี

1 บี.ที.ยู./ชม. = 0.293 วัตต = 0.252 กิโลแคลอรี่/ชม.

= 3.93 × 10-4 แรงมา

Page 69: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

65

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

= 0.216 ฟุต-ปอนด/วินาท ี 1 แรงมา = 550 ฟุต-ปอนด/วินาที = 2,545 บี.ที.ย.ู/ชม. = 746 วัตต 1 ตันความเย็น = 12,000 บี.ที.ย.ู/ชม. = 3.516 กิโลวัตต 1 แรงมาหมอน้ํา = 9.806 กิโลวัตต 2.9 พลังงานตอหนวยพ้ืนที่ 1 วัตต/ตารางเมตร = 0.317 บี.ที.ย.ู/ชม.-ตารางเมตร = 0.859 กิโลแคลอรี่/ชม.-ตารางเมตร 2.10 อุณหภูม ิ องศาเซลเซียส (C) = องศาฟารเรนไฮต (F) - 32 องศา R = องศา F + 460 องศา K = องศา C + 273 องศา K = 5 องศา R 9 2.11 คาอัตราเรงเนือ่งจากแรงดงึดดูของโลก (g) = 32.24 ฟุต/วน.2 = 9.81 เมตร/วน.2 = 981 ซม./วน.2

Page 70: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

66

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

3. คาความรอนของเชื้อเพลิงชนิดตาง ๆ 3.1 เชื้อเพลิงแข็ง

- ถานหิน 4,500-7,500 กิโลแคลอรี่/กิโลกรมั - ลิกไนท 3,000-5,000 กิโลแคลอรี่/กิโลกรมั - ถานไม 6,700-7,500 กิโลแคลอรี่/กิโลกรมั - ฟน 3,000-4,000 กิโลแคลอรี่/กิโลกรมั - ชานออย 2,600 กิโลแคลอรี่/กิโลกรมั - แกลบ 3,400 กิโลแคลอรี่/กิโลกรมั - ขี้เลื่อย 2,600 กิโลแคลอรี่/กโิลกรัม

3.2 เชื้อเพลิงเหลว - น้ํามันเบนซิน 8,200 กิโลแคลอรี่/กิโลกรมั - น้ํามันดีเซล 8,600 กิโลแคลอรี่/กโิลกรัม

- น้ํามันเตา 9,500 กิโลแคลอรี่/กโิลกรัม

3.3 เชื้อเพลิงกาซ - กาซธรรมชาต ิ 8,500 กิโลแคลอรี่/กิโลกรมั - กาซปโตรเลียมเหลว 12,000 กิโลแคลอรี่/กิโลกรมั

Page 71: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

67

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

ตารางแสดงขอมูลเชื้อเพลิงชีวมวล

คุณสมบัติชีวมวลตางๆ Moisture

(%) Ash (%)

Volatile Matter (%)

Fixed Carbon

(%)

Hither Heating Value (kJ/kg)

Lower Heating Value (kJ/kg)

แกลบ (Rice Husk) 12.00 12.65 56.46 18.88 14,755 13,517 ฟางขาว (Rice Straw) 10.00 10.39 60.70 18.90 13,650 12,330 ชานออย (Bagasse) 50.73 1.43 40.98 5.86 9,243 7,368 ใบออย (Cane Trash) 9.20 6.10 67.80 16.90 16,794 15,479 ไมยางพารา (Parawood) 45.00 1.59 45.70 7.71 10,365 8,600 เสนใยปาลม (Palm Fiber) 38.50 4.42 42.68 14.39 13,127 11,400 กะลาปาลม (Palm Shell) 12.00 3.50 68.20 16.30 18,267 16,900 ทะลายปาลม (Empty Fruit Bunch)

58.60 2.03 30.46 8.90 9,196 7,240

ตนปาลม (Plam Trunk) 48.40 1.20 38.70 11.70 9,370 7,556 ทางปาลม (Palm Leaf) 78.40 0.70 16.30 4.60 3,908 1,760 ซังขาวโพด (Corncob) 40.00 0.90 45.42 13.68 11,298 9,615 ลําตนขาวโพด (Corn Stalk)

41.70 3.70 46.46 8.14 11,704 9,830

เหงามันสําปะหลัง (Tapioca Rhizome)

59.40 1.50 31.00 8.10 7,451 5,494

เปลือกไมยูคาลิปตัส (Eucalyptus Bark)

60.00 2.44 28.00 9.56 6,811 4,917

Page 72: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

68

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

ตารางแสดงแรงมาเปรียบเทียบของหมอตมน้ํามันรอน ขนาดของปมน้ํามัน

หรืออัตราสูบปม 100 ม3/ชม.

(1,667 ล/นาที) *150 ม3/ชม.

(2,500 ล/นาที) 200 ม3/ชม.

(3,333 ล/นาที) 250 ม3/ชม.

(4,167 ล/นาที) ผลตางของ อุณหภูมิ (เขา-ออก) OC

แรงมาเปรียบเทียบของหมอตม

แรงมาเปรียบเทียบของ

หมอตม

แรงมาเปรียบเทียบของหมอตม

แรงมาเปรียบเทียบของหมอตม

10 OC 594 892 1,188 1,486

15 OC 892 1,337 1,783 2,229

20 OC 1,189 1,783* 2,377 2,972

25 OC 1,486 2,228 2,970 3,715

การคาํนวณแรงมาเปรียบเทยีบหมอตมน้ํามัน กรณีเปนน้ํามัน

ปริมาณความรอนที่คายออกมา (Q h) Kcal/min

อัตราสบูของปมน้ํามัน (Qp) l/min

คาคงที่ของน้ํามนั (คาความรอนจําเพาะ - K) = 0.60 Kcal/kg OC ถ.พ. น้ํามัน (S) = 0.87

ประสิทธิภาพของปมน้ํามนั (Ep) = 80%

ประสิทธิภาพการสงผานความรอน(Eh) = 90%

Page 73: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

69

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

ผลตางของอุณหภูมิของน้าํมันกอนเขาหมอตมและออก จาก หมอตมเปน OC (∆T) = 20

โดยที ่1 แรงมาเปรียบเทยีบ = 10.54 Kcal/min

สูตรการคํานวณ

Q h = Qp × K × S × Ep × Es

* แรงมาเปรียบเทยีบของหมอตม = Q h

10.54 หมายเหต ุ: 1. โดยทั่วไปหมอตมน้ํ ามันจะมีขนาดของปมน้ํ ามัน 150 ม . 3 /ชม .

หรือ 2,500 ลิตร/นาที และผลตางของอุณหภูมิน้ํามันเขา-ออก ที่ 20 OCแรงมาเปรียบเทียบเปน 1,783 แรงมา

2. หากใชน้ําหรือสารอื่นแทนน้ํามัน จะตองปรับคาความถวงจําเพาะ (ถ.พ.) และคาความรอนจําเพาะใหตรงกับชนิดของสาร

Page 74: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

70

ตารางแสดงขนาดตนกําลังและชนิดของเครื่องสีขาว รายละเอียด

หินขาวดํา ตะแกรง โยกคัดกาก

ตะแกรงเหลี่ยมขาวแกลบ

ตะแกรงเหลี่ยมขาวสาร

ตะแกรงเหลี่ยมขาวเปลือก

ตะแกรงกลม หินพอก กากเพชร

ตนกําลัง

เกวียน/วัน ขนาดนิ้ว จํานวน ชอง จํานวนขนาด

ฟุต x ฟุตจํานวน

ขนาด ฟุต x ฟุต

จํานวนขนาด

ฟุต x ฟุต จํานวน

ขนาด ฟุต x ฟุต

จํานวน ขนาดนิ้ว จํานวน แรงมา จํานวน

4 18 1 12 1 1.5 × 6 1 1.5 × 6 1 1.5 × 6 1 - - 8 1 8-10 1

5 20 1 14 1 1.5 × 6 1 1.5 × 6 1 1.5 × 6 1 - - 10 1 10-12 1

6 24 1 16 1 1.5 × 6 1 1.5 × 6 1 1.5 × 6 1 - - 18 1 12-15 1

8 26 1 18 1 1.5 × 6 1 1.5 × 6 1 1.5 × 6 1 1.5 × 6 1 10 หรือ

20 2 1

15 1

10 28 1 20 1 2 × 6 1 2 × 6.7 1 2 × 7 1 1.5 × 6 1 12 2 20

ขึ้นไป 1

12 30 20

หรือ 22

1 1 1

24 1 2 × 7 1 2 × 7 1 2 × 7 1 1.5 × 6 1 15 2 30 1

15-16 30 24

1 1

30 1 3.5 × 7 1 3.5 × 7 1 3.5 × 7 1 2 × 8 1 16 2 36-40 1

20 36 24-26

1 1

36 1 4 × 8 1 4 × 8 1 4 × 8 1 2 × 8 1 18 2 45

1

Page 75: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

การประเมินแรงมาเครื่องจักร การประเมินแรงมาเครื่องจักร

71

รายละเอียดหินขาวดํา

ตะแกรง โยกคัดกาก

ตะแกรงเหลี่ยมขาวแกลบ

ตะแกรงเหลี่ยมขาวสาร

ตะแกรงเหลี่ยมขาวเปลือก

ตะแกรงกลม หินพอก กากเพชร

ตนกําลัง

เกวียน/วัน ขนาดนิ้ว จํานวน ชอง จํานวนขนาด

ฟุต x ฟุตจํานวน

ขนาด ฟุต x ฟุต

จํานวนขนาด

ฟุต x ฟุต จํานวน

ขนาด ฟุต x ฟุต

จํานวน ขนาดนิ้ว จํานวน แรงมา จํานวน

25 42 30

1 1

48 1 4 × 8 1 4 × 8 1 4 × 8 1 2 × 8 1 24 2 45

ขึ้นไป 1

30 42 36

1 1

48 1 4 × 8 1 4 × 8 1 4 × 8 1 2 × 8

1.5 × 6 1 26 2 35 1

35 42 36

1 1

48 1 4 × 9 1 4 × 9 1 3.5 × 7 1 2 × 8 1 26 2

40 42 1 22 1 4 × 9.5 1 4 × 9.5 2 4 × 8 2 2 × 8 2 26 2

60-70 42 30

1 1

30 1 4 × 9.5 1 4 × 9.5 1 4 × 9.5 1 2 × 8 2 20 4

หมายเหตุ 1. เครื่องสีขาวสําเร็จรูปขนาดเล็ก จะสีขาวไดประมาณ 1-3 เกวียน/วัน โดยกําหนดตามขนาดแรงมา คือ กําลังตั้งแต 1-5 แรงมา สีขาวได

1 เกวียน / วัน กําลัง 10 แรงมา สีขาวได 2 เกวียน/วัน กําลังเกิน 10 แรงมาขึ้นไป สีขาวได 3 เกวยีน/วัน 2. เครื่องสีขาวมาตรฐาน อุปกรณของรานสีขาวที่สําคัญในการพิจารณากําลังสีมีหินขาวดํา ตะแกรงโยกคัดกาก หินพอกกากเพชรและ

เครื่องตนกําลัง (รวบรวมโดยนายสุชาติ จันลาวงศ กรมโรงงานอุตสาหกรรม 28 กันยายน 2529)

Page 76: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

72

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

ภาคผนวก ข ตัวอยางการคํานวณแรงมาเปรียบเทียบ

สําหรับตัวอยางการคํานวณแรงมาเครื่องจักรจะแบงตามประเภทการคํานวณและการประเมินแรงมาเครื่องจักรดังตอไปนี้ 1. การประเมนิแรงมาประเภทที่เปนไฟฟา

ตัวอยางที่ 1.1 สํารวจแรงมาในโรงงานพบปมน้ําชนิด 3 เฟส (380 V) มีคากระแส (I) = 15 A จงหาคาแรงมา กําหนดใหคา COS ∅ = 0.80

วิธีประเมนิแรงมา (หัวขอ 1.2.2)

จากสูตร HP = V × A × 1.732 × COS∅

746 = 380 × 15 × 1.732 × 0.80 746 = 10.59 HP

Page 77: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

73

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

ตัวอยางที่ 1.2 กรณีพบมอเตอรที่ไมมี Name Plate วัดคา No Load Current ได 1.19 Amp และ Nominal Current ไดที่ 2.99 Amp ถาเปนมอเตอรชนิด 3 เฟส จงหาแรงมาของมอเตอร

วิธีประเมินแรงมา (หัวขอ 1.2.3) มอเตอรเปนชนิด 3 เฟส (380 V) โดยมีคา No Load Current = 1.19 Amp Nominal Current = 2.99 Amp

จากตารางที่ 2 ในบทที่ 2 พบวา มอเตอรมีขนาด 1.50 HP

ตัวอยางที่ 1.3 โรงงานแหงหนึ่งใช Heater (380 V) ขนาด 2 Amp

จํานวน 12 ชุด ในการทําความรอนแกถังเก็บสารเคมี จงหาแรงมาเปรียบเทียบของ Heater ชุดนี้

วิธีประเมนิแรงมา (หัวขอ 1.3)

จากสูตร HP = V × A × 1.732 × COS∅ (คิดประสิทธิภาพ 60 %)

746 × 0.60 = 380×2×1.732×0.80×12 ( จํานวน 12 ชุด)

746 × 0.60 = 28.23 HP

Page 78: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

74

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

ตัวอยางที่ 1.4 เครื่องเชื่อมไฟฟาใชกระแสสูงสุด 100 แอมแปร จงหาขนาดแรงมาเปรียบเทียบ

วิธีประเมนิแรงมา ดูหัวขอ 1.4 หรือตารางที่ 3 (บทที่ 2) พบวา เครื่องเชื่อมไฟฟาใช

กระแส 100 แอมป มีกําลังเทากับ 5.5 แรงมา

ตัวอยางที่ 1.5 เครื่องชุบโลหะไฟฟา มี Output Voltage = 15 VDC และใช

กระแส 250 แอมแปร จงหาคาแรงมาเปรียบเทียบ วิธีประเมนิแรงมา

ดูหัวขอ 1.6 หรือ ตารางที่ 5 (บทที่ 2) พบวา เครื่องชุบโลหะ ชนิด 15 VDC ใชกระแส 250 แอมแปร มีกําลังเทากับ 3.01 แรงมา

Page 79: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

75

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

2. การประเมนิแรงมาจากเตาประเภทตางๆ

ตัวอยางที่ 2.1 โรงงานขนาดเล็กแหงหนึ่งใชเตาอั้งโลโดยเตามีขนาดเสนผานศูนยกลาง 32 ซม. จํานวน 30 เตา จงหาคาแรงมาเปรียบเทียบ

วิธีประเมนิแรงมา

ดูหัวขอ 2.2 พบวา เตาอั้งโลขนาดไมเกิน 40 ซม. คิดคาแรงมา 0.25 แรงมาตอเตา

คาแรงมาเปรียบเทยีบ = 0.25 × 30 (30 เตา ) = 7.5 แรงมา

ตัวอยางที่ 2.2 เจาหนาที่ทําการตรวจประเมินแรงมาเปรียบเทียบของ

สหกรณกองทุนสวนยางแหงหนึ่ง โดยพิจารณาจากหองรมควัน พบวา มีทั้งหมด 6 หอง ขนาดกวาง×ยาว×สูง = 2×4×3 ตารางเมตร จงหาขนาดแรงมาเปรียบเทียบ

วิธีประเมินแรงมา คํานวณปริมาตรหองรมควันยาง 1 หอง = 2 × 4 × 3 ลูกบาศกเมตร

= 24 ลูกบาศกเมตร จํานวน 6 หอง = 144 ลูกบาศกเมตร หองรมควัน 1 ลูกบาศกเมตร = 0.1 แรงมา

Page 80: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

76

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

ดังนั้น แรงมาเปรียบเทียบของหองรมควันยาง = 144 × 0.1

= 14.4 แรงมา ตัวอยางที่ 2.3 เตาหลอมอลูมิเนียมมีปริมาตร 1.50 ลูกบาศกเมตรและใช

เวลาหลอมครั้งละ 6 ชั่วโมง โดยโรงงานเปดกิจการมากวา 10 ป จงหาคาแรงมาเปรียบเทียบของเตาหลอม

วิธีประเมนิแรงมา

ดูหัวขอ 2.7 เรื่องเตาหลอมโลหะ แทนคาในสูตร HP = W × K T

ในที่นี้ไมทราบน้ําหนัก (W) ของอลูมิเนียมจึงหาคาโดยใชคาความหนาแนน

จากตารางที่ 6 (บทที่ 2) D = 2,700 กก./ลบ.ม. แทนคาในสูตร M = D × V = 2,700 × 1.5

= 4,050 กก. นําไปแทนคาในสูตร

จากตารางที่ 6 (บทที่2) ใชคา K = 0.40 (โรงงานเกา), T = 6 ชั่วโมง HP = 4,050 × 0.40 = 135 แรงมา

6

Page 81: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

77

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

ตัวอยางที่ 2.4 เตาตมเกลือขนาดเสนผานศูนยกลาง 0.80 เมตร ลึกประมาณ 22 ซม. จงหามีคาแรงมาเปรียบเทียบ (กําหนดใหน้ําระเหยไป 11 ซม.)

วิธีประเมินแรงมา

จากโจทยพบวา เสนผานศูนยกลางกระทะ (T) เทากับ 0.80 เมตร ลึก 0.22 เมตร (D) หาคา R จากสมการที่ 2 ไดเทากับ

T = 2 D(2R-D) สมการ (2) 0.80 = 2 (0.22) (2R-0.22)

R = 1.76 เมตร

นําไปแทนคาในสมการที่ 1 (ตมน้ําจากระดับ 22 ซม. เหลือ 11 ซม. ดังนั้น)

Ho = 0.22 dV = πH 2(R - (H /3))

H1 = 0.11 สมการ (1)

dV = π(0.22) 2(0.47 - (0.22)) π(0.11) 2(0.47 - (0.11))

3 -

3 = 0.060 - 0.016 = 0.044 ลบ.ม.

Page 82: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

78

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

จากสูตร 1 ลบ.ม = 35.7 แรงมา เตาตมเกลอืสินเธารขนาดตามโจทย คดิเปนแรงมาได

HP = 0.044 × 35.7 = 1.57 แรงมา

หมายเหต ุ: การเติมน้ําเกลือกอนตมจากกนกระทะถึงระดับสูงสูด = 22 ซม. และตม

จนเหลือระดับน้ําเกลือสูงจากกนกระทะ = 11 ซม. ดังนั้น จะเปนน้ําเกลือ ที่ระเหยออกไป = 11 ซม.

ตัวอยางที่ 2.5 โรงงานยางแทง STR 20 ที่จังหวัดสุราษฏรฐานี มีขนาดเตาอบกวาง 4 เมตร ยาว 15 เมตร และใช Burner ในการใหลมรอนโดยใชกาซ LPG ดวยอัตรา 10 กิโลกรัมตอชั่วโมง จงหาแรงมาเปรียบเทียบของเตาอบชุดนี้

วิธีประเมนิแรงมา

ดูหัวขอ 3.1 เรื่องประเภทเชื้อเพลิง แทนคาในสูตร HP = 3.8 × A

= 3.8 × 10 = 38 แรงมา

Page 83: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

79

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

ตัวอยางที่ 2.6 เตาอบสีในโรงงานพนสีชิ้นสวนอะไหลรถยนตแหงหนึ่ง ใชความรอนในการอบดวยหลอดไฟขนาด 200 วัตต จํานวน 50 หลอดจงหาแรงมาเปรียบเทียบของเตาอบสีชิ้นงานชุดนี้

วิธีประเมนิแรงมา เนื่องจากเตาอบสีไมจัดอยูในประเภทเตาตาง ๆ จึงใหประเมินจากแหลงพลังงาน คือ หลอดไฟฟา ขนาด 200 วัตต จํานวน 50 หลอด โดยคิดคา COS ∅ = 0.80

HP = 200 × 50 × 0.80 = 10.72 แรงมา 746 3. การประเมนิแรงมาจากเชื้อเพลิงประเภทตาง ๆ

ตัวอยางที่ 3.1 หัวเผา (Burner) ในโรงงานใชน้ํามันเตาดวยอัตรา 15 ลิตรตอชั่วโมง จงหาแรงมาเปรียบเทียบ

วิธีประเมนิแรงมา ดูหัวขอ 3.3 เรื่องประเภทเชื้อเพลิง แทนคาในสูตร

HP = 2.89 × ปริมาณการใชน้ํามันเตา (l/hr)

= 2.89 × 15 = 43.35 แรงมา

Page 84: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

80

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

4. การประเมินแรงมาจากเครื่องยนตสันดาปภายใน

ตัวอยางที่ 4.1 เครื่องยนตดีเซลรอบเร็ว (1800 rpm) ชนิด 4 จังหวะในโรงงานแหงหนึ่ง เปนชนิด 4 สูบ มีระยะชวงชัก 0.5 ฟุต ลูกสูบมีพ้ืนที่ 12.56 ตารางนิ้ว จงหาแรงมาเปรียบเทียบ

วิธีประเมินแรงมา ดูหัวขอ 4 เรื่องเครื่องยนตสันดาปภายในชนิด 4 จังหวะ จากสูตร กําลังแรงมา (BHp) = Pbmep LAN × จํานวนสูบ 2 × 33,000 (เปดตารางที่ 7 คา Pbmep ) = 85 x 0.5 ×12.56 × 1,800 × 4 2 × 33,000 = 58.23 แรงมา 5. การประเมินแรงมาจากหมอน้ํา

ตัวอยางที่ 5.1 ถาหมอน้ํามีอัตราสงไอน้ํา (Stream Rate) เทากับ 99 ปอนดตอชั่วโมง จงหาคาแรงมาเปรียบเทียบ

Page 85: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

81

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

วิธีประเมินแรงมา ( ดูหัวขอ 5.2)

จากสูตร HP = Q×6.6

34.5 = 99 × 6.6 /34.5

= 18.94 แรงมา ตัวอยางที่ 5.2 หมอน้ําชนิดทอน้ําแบบมีพัดลม มีพ้ืนที่ผิวรับความรอน

เปนทอทรงกระบอกขนาดเสนผานศูนยกลาง 1 ฟุต ยาว 3 ฟุต จํานวน 10 ทอ จงหาคาแรงมาเปรียบเทียบ

วิธีประเมินแรงมา (หัวขอ 5.5)

จากสูตร พ้ืนที่ผิวรบัความรอน = ¶ × D × L × N (ตร.ฟุต) (A) = 3.14x 1x 3 x 10 = 94.2 ตร.ฟุต จากสูตร HP = A x 6.6 / K คา K (ตารางที ่8) = 6 แทนคา HP = 94.2 x 6.6 / 6 = 103.62 แรงมา

Page 86: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

82

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

6. การประเมินแรงมาจากหมอตมน้ํามัน

ตัวอยางที่ 6.1 หมอตมน้ํามัน (Hot Oil Boiler) มีอัตรา Output ของความรอน = 32,000 Kcal/h จงหาคาแรงมาเปรียบเทียบ

วิธีประเมินแรงมา

จากสูตร HP = 0.00156 × A = 0.00156 × 32,000 = 49.92 HP ตัวอยางที่ 6.2 หมอตมน้ํามันมีอัตราการหมุนเวียนน้ํามันรอนของ

หมอตม 1.30 ลิตรตอวินาที โดยมีคาความแตกตางของอุณหภูมิหมอตมเทากับ 20 องศาเซลเซียส และคิดประสิทธิภาพ 80 เปอรเซ็นต จงหาคาแรงมาเปรียบเทียบ

วิธีประเมินแรงมา (หัวขอ 6.3)

จากสูตร HP = 37.72 × Q = 37.72 × 1.30 = 49.04 แรงมา

Page 87: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

83

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

7. การประเมินแรงมาจากเครื่องจักรไอน้ํา

ตัวอยางที่ 7.1 เครื่องจักรไอน้ําชนิด 2 สูบ มีขนาดเสนผานศูนยกลางกระบอกสูบไอดีขนาด 8 นิ้ว จงหาคาแรงมาเปรียบเทียบ

วิธีประเมินแรงมา (หัวขอ 7.2) จากสูตร HP = 0.762 × D2 = 0.762 × (8)2 = 48.77 แรงมา หรือสามารถเปดตารางที่ 10 บทที่ 2 8. การประเมินแรงมาจากตนกําลังบางประเภท

ตัวอยางที่ 8.1 โรงสีขาวแหงหนึ่งใชเครื่องจักรไอน้ําชนิดลูกสูบเดียวโดยมีลูกสูบขนาด 6 นิ้ว จํานวน 1 เครื่อง ในขณะเดียวกัน มีเครื่องกําเนิดไฟฟา (Generator) ที่ใชเครื่องยนตดีเซลในการฉุดเครื่องกําเนิดไฟฟาโดยมีคากําลัง Output เทากับ 50 แรงมา นอกจากนี้ยังใชมอเตอรขนาด 3.7 KW และ 5.5 KW ในการขับสายพานและเครื่องจักรอื่นๆ จงหาคาแรงมาเปรียบเทียบทั้งหมด

Page 88: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

84

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

วิธีประเมินแรงมา แยกตามประเภทเครื่องจักร ดังนี้

เครื่องจักรไอน้ําชนิดลูกสูบเดียว จากสูตร HP = 0.442 × D 2 = 0.442 × ( 6 ) 2 = 15.91 แรงมา หรือสามารถเปดตารางที่ 9 บทที่ 2 เครื่องตนกําลังสําหรับเครื่องกําเนิดไฟฟา (Generator) คิดจากคา Output ของ Generator HP = 50 แรงมา

มอเตอรท่ีเปน KW จากสูตร HP = KW / 0.746 = 3.7 /0.746 = 4.96 แรงมา แทนคาทํานองเดียวกันจะไดมอเตอร 5.5 KW = 7.37 แรงมา ดังนัน้คาแรงมารวมทั้งหมด = 15.91 + 50 + 4.96 + 7.3 แรงมา

= 78.17 แรงมา

Page 89: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค

85

การประเมินแรงมาเครื่องจักร

ที่ปรึกษา 1. นายยงยุทธ ทองสุข รองอธิบดีกรมโรงงานอุตสาหกรรม 2. นายประสงค นรจิตร ผูอํานวยการสาํนักเทคโนโลยีความปลอดภัย

คณะกรรมการประสานและรับมอบงาน คณะผูจัดทํา

1. นายวัฒนา เทวาหุด ี 1. รศ.ดร.เกียรติไกร อายุวัฒน ประธานคณะกรรมการประสาน ผูจัดการโครงการ และรับมอบงาน 2. ดร.วิชัย ศิวะโกศิษฐ 2. นายสักดา พงษไพโรจน ผูเชี่ยวชาญความเสี่ยงดานกระบวนการผลิต กรรมการ 3. รศ.ดร.ธงไชย ศรีนพคุณ 3. นายขจรศักดิ ์ กันตพิทยา ผูเชี่ยวชาญดานความปลอดภัย กรรมการ 4. นายธีรวินท สิงหปรีชา 4. นายชาตรี กระจาดทอง วิศวกรสิ่งแวดลอม กรรมการ 5. นางสาวปาริฉตัร มาลีวงษ 5. นายพิทักษ ชางไม วิศวกรสิ่งแวดลอม กรรมการ 6. นางสาวจุไรรตัน พานอนันต 6. นายเอกบุตร อุตมพงศ วิศวกรสิ่งแวดลอม กรรมการ 7. นายประสาท รักพาณิชสิริ กรรมการ 8. นางสาวรัตนา รักษตระกูล กรรมการและเลขานุการ 9. นางสาวณัฐอาภา อุไรกุล กรรมการและผูชวยเลขานุการ

Page 90: ารประเมินแรงม าเครื่องจักร · 2010-06-30 · ภารกิจ และการกระจายอํานาจส ู ภูมิภาค