14
การศึกษาความตองการในดานองคความรูที่สําคัญตอการพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ เชิงวิชาการสําหรับผูเรียนระดับอุดมศึกษา An Exploratory Study of Essential Knowledge as Required for the Development of English Academic Writing Skills for Higher Education Learners พีรเดช คุมวงศไทย* บทคัดยอ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาองคความรู ทักษะ และเนื้อหาสาระที่สําคัญตอการพัฒนาการเขียน ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการที่สําคัญตอผูเรียนระดับปริญญาตรี และระดับบัณฑิตศึกษา โดยขอมูลที่ไดรับจะเปนประโยชน อยางยิ่งตอการพัฒนาทักษะการเขียนดังกลาว ทั้งในแงของ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การพัฒนาสื่อทรัพยากร ทางการเรียนรู และการสรางแรงจูงใจในกระบวนการเรียนรู เพื่อนําไปสูการพัฒนา กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยคือ นิสิต นักศึกษาในระดับอุดมศึกษา รวมทั้งสิ้น 107 คน โดยเปน นิสิตระดับปริญญาตรี จํานวน 53 คน และนักศึกษาระดับ บัณฑิตศึกษาจํานวน 54 คน รวมทั้งอาจารยผูสอน ภาษาอังกฤษทางดานการเขียนจํานวน 4 ทานจาก สถาบันการศึกษาทั้ง 4 แหง เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ไดแก แบบสอบถาม สําหรับอาจารยและนิสิตนักศึกษา และแบบสัมภาษณแบบ กึ่งโครงสรางสําหรับอาจารย ผลการวิจัยพบวา นิสิต นักศึกษาระดับปริญญาตรีและระดับบัณฑิตศึกษามีความ ตองการในเนื้อหาสาระและองคความรูเกี่ยวกับหลัก ไวยากรณและรูปแบบของการเขียนประโยคในระดับมากซึ่ง ถือเปนรากฐานสําคัญตอกระบวนการเขียนทั้งในแงของการ เขียนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทั ่วไปและการเขียน ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ ในดานการเขียนเชิงวิชาการนิสิต นักศึกษามีความตองการในดานการเขียนรายงานเปน ภาษาอังกฤษในระดับมากที่สุด ซึ่งเปนสิ่งที่สําคัญในแงของ การเขียนรายงานและการเขียนรายงานการวิจัย ทั้งนี้ การ เขียนบรรณานุกรมและการเขียนอางอิงในเนื้อความถือวามี ความสําคัญในระดับมากที่สุดสําหรับผูเรียนใน ระดับอุดมศึกษาเพื่อปองกันประเด็นปญหาทางดาน อาชญากรรมทางวิชาการ ผลการวิจัยทั้งหมดจึงนําไปสู แนวทางและขอเสนอแนะอันเปนประโยชนตอการพัฒนา ความรูและทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ ทั้งในดานของการ จัดกิจกรรมการเรียนรูภายใตเนื้อหาสาระที่มีความสําคัญ และตรงกับความตองการของผูเรียน รวมทั้งการนําสื่อ ทรัพยากรทางการเรียนการสอนหลากหลายรูปแบบมาใช เปนแหลงรวบรวมสาระความรูและเปนปจจัยนําเขาทางดาน การเขียน โดยมีอาจารยผูสอนเปนผูใหการกํากับดูแลใน กระบวนการเรียนรูเปนสําคัญ ABSTRACT This study aimed to explore essential knowledge, writing skills, and other relevant contents regarding English academic writing considered to be crucial for undergraduate and graduate students. The implications of the study can promote practical guidelines and suggestions for the development of English academic writing through learning and teaching activities, beneficial learning resources, and potential approaches in fostering positive attitude towards the development in writing. The research sampling was conducted with 107 higher education students (53 undergraduates and 54 graduates), and 4 English writing instructors from 4 academic institutes. Research instruments comprised semi-structured interview for instructors and a questionnaire for students and instructors to explore learners’ needs in writing knowledge and skills. The results of the study revealed that academic knowledge and skills regarding grammatical structures and sentence writing were still considered to be one of the most essential contents for both undergraduate and graduate learners. *ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาภาษาและการสื่อสาร สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร รายงานสืบเนองการประชุมวิชาการและนำาเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 1 “นวัตกรรมสร้างสรรค์ ศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน ไทยแลนด์ 4.0” 102

การศึกษาความต องการในด านองค ความรู ที่สําคัญต อการพัฒนา ... · writing and bibliography

  • Upload
    others

  • View
    5

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: การศึกษาความต องการในด านองค ความรู ที่สําคัญต อการพัฒนา ... · writing and bibliography

การศึกษาความตองการในดานองคความรูที่สําคญัตอการพัฒนาทกัษะการเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการสําหรบัผูเรียนระดบัอดุมศกึษา

An Exploratory Study of Essential Knowledge as Required for the Development of English Academic Writing Skills for Higher Education Learners

พีรเดช คุมวงศไทย*

บทคัดยอ การวิจัยน้ีมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาองคความรู ทักษะ และเน้ือหาสาระที่สําคัญตอการพัฒนาการเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการที่สําคัญตอผูเรียนระดับปริญญาตรีและระดับบัณฑิตศึกษา โดยขอมูลที่ไดรับจะเปนประโยชนอยางยิ่งตอการพัฒนาทักษะการเขียนดังกลาว ทั้งในแงของการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การพัฒนาส่ือทรัพยากรทางการเรียนรู และการสรางแรงจูงใจในกระบวนการเรียนรูเพื่อนําไปสูการพัฒนา กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยคือ นิสิตนักศึกษาในระดับอุดมศึกษา รวมทั้งส้ิน 107 คน โดยเปนนิสิตระดับปริญญาตรี จํานวน 53 คน และนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาจํานวน 54 คน รวมทั้งอาจารย ผูสอนภาษาอังกฤษทางดานการเขียนจํานวน 4 ทานจาก สถาบันการศึกษาทั้ง 4 แหง เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ไดแก แบบสอบถามสําหรับอาจารยและนิสิตนักศึกษา และแบบสัมภาษณแบบก่ึงโครงสรางสําหรับอาจารย ผลการวิจัยพบวา นิสิตนักศึกษาระดับปริญญาตรีและระดับบัณฑิตศึกษามีความตองการในเ น้ือหาสาระและองคความรู เ ก่ียวกับหลักไวยากรณและรูปแบบของการเขียนประโยคในระดับมากซ่ึงถือเปนรากฐานสําคัญตอกระบวนการเขียนทั้งในแงของการเขียนภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสารทั่ วไปและการเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ ในดานการเขียนเชิงวิชาการนิสิตนักศึกษามีความตองการในดานการเขียนรายงานเปนภาษาอังกฤษในระดับมากที่สุด ซ่ึงเปนส่ิงที่สําคัญในแงของการเขียนรายงานและการเขียนรายงานการวิจัย ทั้งน้ี การเขียนบรรณานุกรมและการเขียนอางอิงในเน้ือความถือวามีค ว า ม สํ า คั ญ ใ น ร ะ ดั บ ม า ก ที่ สุ ด สํ า ห รั บ ผู เ รี ย น ใ นระดับอุดมศึกษาเพื่อปองกันประเด็นปญหาทางดานอาชญากรรมทางวิชาการ ผลการวิจัยทั้งหมดจึงนําไปสูแนวทางและขอเสนอแนะอันเปนประโยชนตอการพัฒนาความรูและทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ ทั้งในดานของการ

จัดกิจกรรมการเรียนรูภายใตเน้ือหาสาระที่มีความสําคัญและตรงกับความตองการของผูเรียน รวมทั้งการนําส่ือ ทรัพยากรทางการเรียนการสอนหลากหลายรูปแบบมาใชเปนแหลงรวบรวมสาระความรูและเปนปจจัยนําเขาทางดานการเขียน โดยมีอาจารยผูสอนเปนผูใหการกํากับดูแลในกระบวนการเรียนรูเปนสําคัญ ABSTRACT This study aimed to explore essential knowledge, writing skills, and other relevant contents regarding English academic writing considered to be crucial for undergraduate and graduate students. The implications of the study can promote practical guidelines and suggestions for the development of English academic writing through learning and teaching activities, beneficial learning resources, and potential approaches in fostering positive attitude towards the development in writing. The research sampling was conducted with 107 higher education students (53 undergraduates and 54 graduates), and 4 English writing instructors from 4 academic institutes. Research instruments comprised semi-structured interview for instructors and a questionnaire for students and instructors to explore learners’ needs in writing knowledge and skills. The results of the study revealed that academic knowledge and skills regarding grammatical structures and sentence writing were still considered to be one of the most essential contents for both undergraduate and graduate learners.

*ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาภาษาและการสื่อสาร สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร

รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการและนำาเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 1

“นวัตกรรมสร้างสรรค์ ศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน ไทยแลนด์ 4.0”102

Page 2: การศึกษาความต องการในด านองค ความรู ที่สําคัญต อการพัฒนา ... · writing and bibliography

การศึกษาความตองการในดานองคความรูที่สําคญัตอการพัฒนาทกัษะการเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการสําหรบัผูเรียนระดบัอดุมศกึษา

An Exploratory Study of Essential Knowledge as Required for the Development of English Academic Writing Skills for Higher Education Learners

พีรเดช คุมวงศไทย*

บทคัดยอ การวิจัยน้ีมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาองคความรู ทักษะ และเน้ือหาสาระที่สําคัญตอการพัฒนาการเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการที่สําคัญตอผูเรียนระดับปริญญาตรีและระดับบัณฑิตศึกษา โดยขอมูลที่ไดรับจะเปนประโยชนอยางยิ่งตอการพัฒนาทักษะการเขียนดังกลาว ทั้งในแงของการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การพัฒนาส่ือทรัพยากรทางการเรียนรู และการสรางแรงจูงใจในกระบวนการเรียนรูเพื่อนําไปสูการพัฒนา กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยคือ นิสิตนักศึกษาในระดับอุดมศึกษา รวมทั้งส้ิน 107 คน โดยเปนนิสิตระดับปริญญาตรี จํานวน 53 คน และนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาจํานวน 54 คน รวมทั้งอาจารย ผูสอนภาษาอังกฤษทางดานการเขียนจํานวน 4 ทานจาก สถาบันการศึกษาทั้ง 4 แหง เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ไดแก แบบสอบถามสําหรับอาจารยและนิสิตนักศึกษา และแบบสัมภาษณแบบก่ึงโครงสรางสําหรับอาจารย ผลการวิจัยพบวา นิสิตนักศึกษาระดับปริญญาตรีและระดับบัณฑิตศึกษามีความตองการในเ น้ือหาสาระและองคความรู เ ก่ียวกับหลักไวยากรณและรูปแบบของการเขียนประโยคในระดับมากซ่ึงถือเปนรากฐานสําคัญตอกระบวนการเขียนทั้งในแงของการเขียนภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสารทั่ วไปและการเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ ในดานการเขียนเชิงวิชาการนิสิตนักศึกษามีความตองการในดานการเขียนรายงานเปนภาษาอังกฤษในระดับมากที่สุด ซ่ึงเปนส่ิงที่สําคัญในแงของการเขียนรายงานและการเขียนรายงานการวิจัย ทั้งน้ี การเขียนบรรณานุกรมและการเขียนอางอิงในเน้ือความถือวามีค ว า ม สํ า คั ญ ใ น ร ะ ดั บ ม า ก ที่ สุ ด สํ า ห รั บ ผู เ รี ย น ใ นระดับอุดมศึกษาเพื่อปองกันประเด็นปญหาทางดานอาชญากรรมทางวิชาการ ผลการวิจัยทั้งหมดจึงนําไปสูแนวทางและขอเสนอแนะอันเปนประโยชนตอการพัฒนาความรูและทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ ทั้งในดานของการ

จัดกิจกรรมการเรียนรูภายใตเน้ือหาสาระที่มีความสําคัญและตรงกับความตองการของผูเรียน รวมทั้งการนําส่ือ ทรัพยากรทางการเรียนการสอนหลากหลายรูปแบบมาใชเปนแหลงรวบรวมสาระความรูและเปนปจจัยนําเขาทางดานการเขียน โดยมีอาจารยผูสอนเปนผูใหการกํากับดูแลในกระบวนการเรียนรูเปนสําคัญ ABSTRACT This study aimed to explore essential knowledge, writing skills, and other relevant contents regarding English academic writing considered to be crucial for undergraduate and graduate students. The implications of the study can promote practical guidelines and suggestions for the development of English academic writing through learning and teaching activities, beneficial learning resources, and potential approaches in fostering positive attitude towards the development in writing. The research sampling was conducted with 107 higher education students (53 undergraduates and 54 graduates), and 4 English writing instructors from 4 academic institutes. Research instruments comprised semi-structured interview for instructors and a questionnaire for students and instructors to explore learners’ needs in writing knowledge and skills. The results of the study revealed that academic knowledge and skills regarding grammatical structures and sentence writing were still considered to be one of the most essential contents for both undergraduate and graduate learners.

*ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาภาษาและการสื่อสาร สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร

This is because such content has been prioritized as the most fundamental writing knowledge and skills for a great contribution towards a well-crafted English communicative writing and academic writing mechanism. In terms of English academic writing, the knowledge and skills were perceived as the most significant matter for higher education learners in the sense that undergraduates were able to use such knowledge and skills to perform a report writing for certain assigned tasks in general and a research writing project for the degree’s fulfillment in particular. Academic and research writing was rated the highest level for graduate learners to pursue their academic endeavors and the requirement of the degrees. Of great significant for all learners was academic reference writing and bibliography in order to promote academic integrity and to avoid plagiarism in all written tasks. The overall results have made suggestions and practical guidelines for the development of English writing and academic writing skills for higher education learners with different needs and writing capacity. A key success for the whole development is an instructor to support learning progress and process. The implementation should be executed through various facets of learning and teaching activities including practical learning resources as knowledge-based and input factors to facilitate thinking and writing mechanism. คําสําคัญ : การเขียนภาษาอังกฤษ, ผู เรียนระดับ อุดมศึกษา, การศึกษา ความตองการ Keywords : English Writing Skill, Higher Education Learners, Need Analysis บทนํา การศึกษาและการเรียนรูถือไดวามีความสําคัญอยางยิ่งในยุคปจจุบัน โดยการเปล่ียนแปลงที่เกิดขึ้นในดานต า ง ๆ ไ ม ว า จ ะ เป นการ เ ป ล่ี ยนทาง ด าน เ ศ รษฐ กิ จ อุตสาหกรรม การเ มืองการปกครอง หรือแมแตการ

เป ล่ียนแปลงทา งด าน สั งคม ไป สู สั ง คมฐ านความรู (Knowledge-based Society) ลวนแตสงผลกระทบตอความจํา เปนในการเ รี ยนรู ของมนุษย การศึกษา ซ่ึ งเปรียบเสมือนเครื่องมือในการพัฒนาความรูจึงไดทวีบทบาทความสําคัญจนถึงกับจัดใหมีกฏหมายเก่ียวกับการศึกษาในรั ฐ ธร รม นูญแห ง ร าชอาณ าจักร ไทยและก อให เ กิ ดพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542 และฉบับแกไขเพิ่มเติม พุทธศักราช 2545 ในลําดับตอมา โดยในมาตรา 15 วรรค 2 หมวด 3 ไดมีการกําหนดใหมีการจัดการศึกษาแบงออกเปน 3 รูปแบบ คือ การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบและการศกึษาตามอัธยาศัย (สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาต.ิ 2542) ทั้งน้ี การศึกษาในแตละรูปแบบจะมีคุณลักษณะที่แตกตางกันออกไป โดยการศึกษาในระบบเปนรูปแบบของการศึกษาที่กําหนดจุดมุงหมาย วิธีการศึกษา หลักสูตร ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและประเมินผล ซ่ึงเปนเงื่อนไขของการสําเร็จการศึกษาที่แนนอน ในขณะที่การศึกษานอกระบบคือ การศึกษาที่มีความยืดหยุนในการกําหนดจุดมุงหมาย รูปแบบ วิธีการจัดการศึกษา ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและประเมินผล ซ่ึงเปนเงื่อนไขสําคัญของการสําเร็จการศึกษาโดยเน้ือหาและหลักสูตรจะตองมีความเหมาะสมสอดคลองกับสภาพปญหาและความตองการของบุคคลแตละกลุมได เปนอยางดี และในสวนของการศึกษาตามอัธยาศัยจะเปนการศึกษาที่ใหผูเรียนไดเรียนรูดวยตนเองตามความสนใจ ตามศักยภาพ ความพรอม และโอกาสโดยมุงทําการศึกษาจากบุคคล ประสบการณ สังคม สภาพแวดลอม ส่ือ หรือแหลงความรูอ่ืน ๆ การเรียนรูอยางตอเน่ืองตลอดชีวิต (Life-long Learning) น้ันมีความจําเปนอยางยิ่งสําหรับมนุษยในการพัฒนาองคความรู ทักษะ และประสบการณเพื่อใหสามารถปรับตัวไดอยางทัดเทียมตอขอมูลขาวสาร นวัตกรรม วิทยาการและ เทคโนโลยีที่ มี ความทันส มัย รวมทั้ งสภาพแวดลอมที่มีการเปล่ียนแปลงไปอยางรวดเร็วอยูตลอดเวลาไดอยางเหมาะสม (สุมาลี สังขศรี. 2544) กอปรการปฏิรูปการจัดการศึกษาในรูปแบบใหมไดสงเสริมใหผูเรียนมีความสนใจใฝเรียนรู มุงที่จะศึกษาคนควาและสรางองคความรูไดดวยตนเอง โดยยึดหลักวา ผูเรียนทุกคนน้ันมีความสามารถในการเรียนรูและพัฒนาตนเองได ซ่ึงสอดคลองกับแนวคิดทางดานการเรียนรูดวยตนเองหรือ Self-Directed Learning (SDL) ที่ มี ลักษณะเปนกระบวนการทางการเรียนรูเกิดขึ้นโดยความรับผิดชอบของผู เรียนในการวางแผนและควบคุมกระบวนการเรียนรู

รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการและนำาเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 1

“นวัตกรรมสร้างสรรค์ ศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน ไทยแลนด์ 4.0”103

Page 3: การศึกษาความต องการในด านองค ความรู ที่สําคัญต อการพัฒนา ... · writing and bibliography

การศึกษา ส่ิงตางๆ ตลอดจนการประมวลสาระความรูควบคู ไป กับการประ เ มินผลและการบริหาร จัดการประสบการณ การเรียนรูทั้งหมดดวยตนเอง (Merriam and Caffarella. 1991) และยิ่งในปจจุบันความกาวหนาทางเทคโนโลยีสารสนเทศไดเขามามีบทบาทอยางมากในการสงเสริมและสนับสนุนกระบวนการเรียนรูที่ไรพรมแดน การจัดการเรียนการสอนดวยส่ืออิเล็กทรอนิกสจึงถือเปนนวัตกรรมทางการเรียนรูอีกรูปแบบหน่ึงที่มีการประยุกตใชเทคโนโลยีส่ืออิเล็กทรอนิกสบนโลกอินเตอรเน็ตอันนําไปสูการจัดการศึกษาที่มีประสิทธิภาพมากขึ้นและมุงเนนการมีปฏิสัมพันธระหวางกัน โดยครอบคลุมการเรียนรูหลากหลายรูปแบบไมวาจะเปนการจัดการเรียนการสอนทางไกล (Distance Learning) หรือการเรียนรูผานระบบเครือขายที่เอ้ืออํานวยใหผูเรียนสามารถเกิดการเรียนรูไดโดยปราศจากขอจํากัดทางดานเวลาและสถานที่ (บุปผชาติ ทัฬหิกรณ.2544) จากมุมมองน้ีจึงพอสรุปไดวา การนําเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารในรูปแบบตางๆ มาประยุกตใชทางดานการศึกษานอกจากจะกอใหเกิดประโยชนกับกระบวนการจัดการเรียนการสอนภายในหองเรียนแลว ยังสงผลใหการเรียนรูสามารถเกิดขึ้นไดโดยที่ผู เรียนไมจําเปนตองอยู ในบริบทของสถานศึกษาอีกตอไป ผูเรียนสามารถศึกษาคนควาไดดวยตนเองบนโลกอินเทอรเน็ตหรือแมแต โลกโซเ ซียลมีเดียไรพรมแดนในยุคปจจุบันโดยปราศจากขอจํากัดทางดานเวลาและสถานที่ผานนวัตกรรมเทคโนโลยีซ่ึงทําหนาที่เสมือนส่ือกลางเพื่อเอ้ือตอการเรียนรูอยางตอเน่ืองตลอดชีวิต ความกาวหนาของเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารไดสงผลกระทบในวงกวางโดยทําใหกระบวนการติดตอส่ือสารและการมีปฏิสัมพันธระหวางกันทั้งในระดับภูมิภาคไปจนถึงระดับประเทศเกิดขึ้นไดอยางรวดเร็ว ยกตัวอยางเชน เทคโนโลยีคอมพิวเตอรและระบบเครือขายอินเตอรเน็ตทําใหผูคนที่อาศัยอยูในซีกโลกหน่ึงสามารถติดตอส่ือสาร ยักยายถายเทและแลกเปล่ียนขอมูลความรูกับบุคคลที่อยูในอีกซีกโลกหน่ีงไดโดยใชระยะเวลาอันส้ัน การมีปฏิสัมพันธของมนุษยในระดับนานาชาติจึงดําเนินไปอยางสะดวกรวดเร็วไรพรมแดนและไรซ่ึงขอจํากัดทางดานระยะทางมาขวางก้ัน

ภาษาถือเปนเครื่องมือที่ มีความสําคัญในการส่ือสารความหมายเพื่อถายทอดขอมูล รวมทั้งแสดงความคิดเห็นหรือการกระทําของมนุษย (สุไร พงษทองเจริญ. 2525) ยิ่งในโลกยุคปจจุบันภาษาอังกฤษไดรับการยอมรับจ า ก น าน า ช า ติ ใ ห เ ป น ภ า ษ าส า ก ลที่ ใ ช ใ น ส่ื อ ส า ร

(English as a Lingua Franca) ทั้งในแวดวงธุรกิจ การคาการลงทุน การประกอบอาชีพในหนวยงานของภาครัฐและเอกชน หรือแมแตในดานการศึกษาเองก็ตาม โดยภาพรวมแลวสถาบันการศึกษาของประเทศไทยทั้งในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานและระดับอุดมศึกษาไดใหความสําคัญกับการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษมาตั้งแตในอดีตจนถึงปจจุบันโดยมุงจัดการเรียนการสอนที่มีความหลากหลายเพื่อใหสอดรับกับวัตถุประสงค ความสามารถ และความตอง การ ของ ผู เ รี ยนที่ แ ตกต าง กัน ยิ่ งก าร ศึ กษาในระดับอุดมศึกษาแลวภาษาอังกฤษเปรียบเสมือนเครื่องมือสําคัญที่จะชวยในกระบวนการเรียนรูและการส่ือสารในบริบทตาง ๆ ที่เกิดขึ้นทั้งภายในและภายนอกหองเรียน เม่ือผูเรียนสําเร็จการศึกษาในระดับอุดมศึกษา ภาษาอังกฤษยังมีอิทธิพลตอการเรียนรูตลอดชีวิต รวมไปถึงการประกอบอาชีพในอนาคต โดยสอดคลองกับประเด็นที่ Langan (2005 : 3) ไดกลาวไววา ภาษาอังกฤษถือเปนภาษาสากลที่มีความจําเปนอยางยิ่งทั้งในดานการประกอบอาชีพ การดําเนินชีวิตประจําวัน รวมทั้งการศึกษาตอในระดับสูง อย าง ไร ก็ตามปญหาทางด านการ เขี ยนภาษาอังกฤษถือเปนปญหาสําคัญอีกประการหน่ึงที่ยังคงเกิดขึ้นในบริบทของประเทศไทย ดังที่ สุมิตรา อังวัฒนกุล (2536) ไดนําเสนอวา ภาษาอังกฤษทางดานการเขียนเปนทักษะที่กอใหเกิดปญหาในดานการจัดการเรียนการสอนมากที่สุด และยิ่งไปกวาน้ันเปนทักษะที่จัดการเรียนการสอนไดยากที่สุดและประสบความสําเร็จในระดับนอยที่สุด อีกดวย ทั้งน้ีสวนหน่ึงเปนผลมาจากทักษะการเขียนภาษาอังกฤษถือเปนทักษะที่มีความยุงยากและสลับซับซอนโดยตองอาศัยความรูและปจจัยนําเขาทางดานขอมูลที่ไดรับจากการฟง ก า ร อ าน ห รื อก า ร สน ท นา เพื่ อ ร วบ ร วม คว าม คิ ด จัดเรียงลําดับเหตุการณ กอนที่จะสังเคราะหและถายทอดออกมาในลักษณะภาษาเขียน (เสาวลักษณ รัตนวิชช . 2531 ; พิตรวัลย โกวิทวท.ี 2537) นอกจากน้ียังตองอาศัยความรูความสามารถในการสะกดคํา ความรูทางดานคําศัพทและโครงสร างประโยค ความรู ในดานสํานวนภาษา ตลอดจนความสามารถในการใชเครื่องหมายวรรคตอน รวมทั้งยังตองมีจุดมุงหมายในการเขียนและสามารถส่ือความหมายไดตรงตามวัตถุประสงค (Lado. 1961) โดยสวนใหญแลวปญหาที่พบในทักษะการเขียนภาษาอังกฤษของนักศึกษาไทยมักจะครอบคลุมในประเด็นที่เก่ียวของกับการที่ผูเรียนไมมีความรูความเขาใจในดานการสะกดคําอยางเพียงพอ (สันติ แสงสุก. 25 35; พรทิพย ปลอดโปรง. 2535) รวมไปถึงความบกพรองในดานการใชเครื่องหมาย

รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการและนำาเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 1

“นวัตกรรมสร้างสรรค์ ศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน ไทยแลนด์ 4.0”104

Page 4: การศึกษาความต องการในด านองค ความรู ที่สําคัญต อการพัฒนา ... · writing and bibliography

การศึกษา ส่ิงตางๆ ตลอดจนการประมวลสาระความรูควบคู ไป กับการประ เ มินผลและการบริหาร จัดการประสบการณ การเรียนรูทั้งหมดดวยตนเอง (Merriam and Caffarella. 1991) และยิ่งในปจจุบันความกาวหนาทางเทคโนโลยีสารสนเทศไดเขามามีบทบาทอยางมากในการสงเสริมและสนับสนุนกระบวนการเรียนรูที่ไรพรมแดน การจัดการเรียนการสอนดวยส่ืออิเล็กทรอนิกสจึงถือเปนนวัตกรรมทางการเรียนรูอีกรูปแบบหน่ึงที่มีการประยุกตใชเทคโนโลยีส่ืออิเล็กทรอนิกสบนโลกอินเตอรเน็ตอันนําไปสูการจัดการศึกษาที่มีประสิทธิภาพมากขึ้นและมุงเนนการมีปฏิสัมพันธระหวางกัน โดยครอบคลุมการเรียนรูหลากหลายรูปแบบไมวาจะเปนการจัดการเรียนการสอนทางไกล (Distance Learning) หรือการเรียนรูผานระบบเครือขายที่เอ้ืออํานวยใหผูเรียนสามารถเกิดการเรียนรูไดโดยปราศจากขอจํากัดทางดานเวลาและสถานที่ (บุปผชาติ ทัฬหิกรณ.2544) จากมุมมองน้ีจึงพอสรุปไดวา การนําเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารในรูปแบบตางๆ มาประยุกตใชทางดานการศึกษานอกจากจะกอใหเกิดประโยชนกับกระบวนการจัดการเรียนการสอนภายในหองเรียนแลว ยังสงผลใหการเรียนรูสามารถเกิดขึ้นไดโดยที่ผู เรียนไมจําเปนตองอยู ในบริบทของสถานศึกษาอีกตอไป ผูเรียนสามารถศึกษาคนควาไดดวยตนเองบนโลกอินเทอรเน็ตหรือแมแต โลกโซเ ซียลมีเดียไรพรมแดนในยุคปจจุบันโดยปราศจากขอจํากัดทางดานเวลาและสถานที่ผานนวัตกรรมเทคโนโลยีซ่ึงทําหนาที่เสมือนส่ือกลางเพื่อเอ้ือตอการเรียนรูอยางตอเน่ืองตลอดชีวิต ความกาวหนาของเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารไดสงผลกระทบในวงกวางโดยทําใหกระบวนการติดตอส่ือสารและการมีปฏิสัมพันธระหวางกันทั้งในระดับภูมิภาคไปจนถึงระดับประเทศเกิดขึ้นไดอยางรวดเร็ว ยกตัวอยางเชน เทคโนโลยีคอมพิวเตอรและระบบเครือขายอินเตอรเน็ตทําใหผูคนที่อาศัยอยูในซีกโลกหน่ึงสามารถติดตอส่ือสาร ยักยายถายเทและแลกเปล่ียนขอมูลความรูกับบุคคลที่อยูในอีกซีกโลกหน่ีงไดโดยใชระยะเวลาอันส้ัน การมีปฏิสัมพันธของมนุษยในระดับนานาชาติจึงดําเนินไปอยางสะดวกรวดเร็วไรพรมแดนและไรซ่ึงขอจํากัดทางดานระยะทางมาขวางก้ัน

ภาษาถือเปนเครื่องมือที่ มีความสําคัญในการส่ือสารความหมายเพื่อถายทอดขอมูล รวมทั้งแสดงความคิดเห็นหรือการกระทําของมนุษย (สุไร พงษทองเจริญ. 2525) ยิ่งในโลกยุคปจจุบันภาษาอังกฤษไดรับการยอมรับจ า ก น าน า ช า ติ ใ ห เ ป น ภ า ษ าส า ก ลที่ ใ ช ใ น ส่ื อ ส า ร

(English as a Lingua Franca) ทั้งในแวดวงธุรกิจ การคาการลงทุน การประกอบอาชีพในหนวยงานของภาครัฐและเอกชน หรือแมแตในดานการศึกษาเองก็ตาม โดยภาพรวมแลวสถาบันการศึกษาของประเทศไทยทั้งในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานและระดับอุดมศึกษาไดใหความสําคัญกับการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษมาตั้งแตในอดีตจนถึงปจจุบันโดยมุงจัดการเรียนการสอนที่มีความหลากหลายเพื่อใหสอดรับกับวัตถุประสงค ความสามารถ และความตอง การ ของ ผู เ รี ยนที่ แ ตกต าง กัน ยิ่ งก าร ศึ กษาในระดับอุดมศึกษาแลวภาษาอังกฤษเปรียบเสมือนเครื่องมือสําคัญที่จะชวยในกระบวนการเรียนรูและการส่ือสารในบริบทตาง ๆ ที่เกิดขึ้นทั้งภายในและภายนอกหองเรียน เม่ือผูเรียนสําเร็จการศึกษาในระดับอุดมศึกษา ภาษาอังกฤษยังมีอิทธิพลตอการเรียนรูตลอดชีวิต รวมไปถึงการประกอบอาชีพในอนาคต โดยสอดคลองกับประเด็นที่ Langan (2005 : 3) ไดกลาวไววา ภาษาอังกฤษถือเปนภาษาสากลที่มีความจําเปนอยางยิ่งทั้งในดานการประกอบอาชีพ การดําเนินชีวิตประจําวัน รวมทั้งการศึกษาตอในระดับสูง อย าง ไร ก็ตามปญหาทางด านการ เขี ยนภาษาอังกฤษถือเปนปญหาสําคัญอีกประการหน่ึงที่ยังคงเกิดขึ้นในบริบทของประเทศไทย ดังที่ สุมิตรา อังวัฒนกุล (2536) ไดนําเสนอวา ภาษาอังกฤษทางดานการเขียนเปนทักษะที่กอใหเกิดปญหาในดานการจัดการเรียนการสอนมากที่สุด และยิ่งไปกวาน้ันเปนทักษะที่จัดการเรียนการสอนไดยากที่สุดและประสบความสําเร็จในระดับนอยที่สุด อีกดวย ทั้งน้ีสวนหน่ึงเปนผลมาจากทักษะการเขียนภาษาอังกฤษถือเปนทักษะที่มีความยุงยากและสลับซับซอนโดยตองอาศัยความรูและปจจัยนําเขาทางดานขอมูลที่ไดรับจากการฟง ก า ร อ าน ห รื อก า ร สน ท นา เพื่ อ ร วบ ร วม คว าม คิ ด จัดเรียงลําดับเหตุการณ กอนที่จะสังเคราะหและถายทอดออกมาในลักษณะภาษาเขียน (เสาวลักษณ รัตนวิชช . 2531 ; พิตรวัลย โกวิทวท.ี 2537) นอกจากน้ียังตองอาศัยความรูความสามารถในการสะกดคํา ความรูทางดานคําศัพทและโครงสร างประโยค ความรู ในดานสํานวนภาษา ตลอดจนความสามารถในการใชเครื่องหมายวรรคตอน รวมทั้งยังตองมีจุดมุงหมายในการเขียนและสามารถส่ือความหมายไดตรงตามวัตถุประสงค (Lado. 1961) โดยสวนใหญแลวปญหาที่พบในทักษะการเขียนภาษาอังกฤษของนักศึกษาไทยมักจะครอบคลุมในประเด็นที่เก่ียวของกับการที่ผูเรียนไมมีความรูความเขาใจในดานการสะกดคําอยางเพียงพอ (สันติ แสงสุก. 25 35; พรทิพย ปลอดโปรง. 2535) รวมไปถึงความบกพรองในดานการใชเครื่องหมาย

วรรคตอนและโครงสรางของภาษาที่ถูกตองตามหลักไวยากรณ (พันทิพา เข็มทอง. 2534) ขณะเดียวกันปญหาทั่วไปที่ปรากฏยังครอบคลุมในดานการขาดซ่ึงคลังความรูทางดานคําศัพทและทักษะกระบวนการทางการเขียนที่ด ี การเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ (English for Academic Writing) ถือเปนอีกรูปแบบหน่ึงของงานเขียนที่นอกจากจะตองใชองคความรู ความเชี่ยวชาญ และความชํ านาญของ ผู เ ขี ยน ซ่ึ ง มี สถ านภาพเป น นั ก วิ ชาการ ผูเชี่ยวชาญ ผูชํานาญการในสาขาวิชาแขนงตางๆ แลว ยังตองอาศัยรูปแบบ วิธีการ และทักษะกระบวนการในการเขียนที่สะทอนใหเห็นถึงบริบทความเปนวิชาการ ทั้งน้ี เพื่อเปนการส่ือสารและถายทอดเน้ือหาสาระดานวิชาการ รวมไปถึ ง เ น้ื อห า ในบทความและ ง าน วิ จั ยที่ ผู เ ขี ย น ไดทําการศึกษาคนความา ประกอบกับการสะทอนแนวคิด ขอโตแยง การสังเคราะหและประมวลผลองคความรู ใหแกผูรับสารไดอยางมีความถูกตองแมนยํา และมีประสิทธิภาพ โดยภาพรวมการเขียนเชิงวิชาการมีคุณลักษณะและรูปแบบทางกระบวนการเขียนที่แตกตางและโดดเดนจากการเขียนทั่ ว ไป โดย มีคุณ ลักษณะที่ สํ าคัญ เชน (1) การ เขี ยน เชิงวิชาการน้ันจะตองมีรูปแบบการเขียนที่ เปนทางการ (Formality) ทั้งในสวนของการใชคํานาม คํากริยา หรือสวนประกอบอ่ืนๆ ในประโยค (2) ความตอเน่ืองในการใชกาลของคํากริยา (Consistency of the Verb Tenses) ที่จะตองสอดคลองกับเน้ือสาระสําคัญในประเด็นที่นําเสนอ และ (3) การใชโครงสรางกรรมวาจกในประโยค (Passive Sentence Construction) ที่แสดงใหเห็นถึงการที่ประธานของประโยคเปนผูถูกกระทําซ่ึงจะสงผลตอความเหมาะและความหมายที่ตองการจะส่ือสารใหแกผูอาน (Monash University. 2007) ดวยเหตุน้ีจึงสามารถมองไดวาการเขียนเชิงวิชาการถือเปนรูปแบบการเขียนที่ มีความยากและซับซอนขึ้นกวาการเขียนในรูปแบบอ่ืนๆ ซ่ึงตองใชทั้งความรู ทักษะและกระบวนการเขียนตางๆ มาบูรณาการเขาดวยกัน และยิ่งในปจจุบันน้ี การคนควาและวิจัยถือเปนส่ิงสําคัญทั้งในระดับของนักวิชาการและตัวผูเรียนเอง การเขียนเชิงวิชาการจึงยิ่งทวีความสําคัญในแงที่ผูเขียนจําเปนตองศึกษาคนควาและฝกฝนทักษะการเขียนดังกลาวใหมีประสิทธิภาพมากยิ่ งขึ้นเพื่อนําไปถายทอดส่ิงที่ ไดศึกษาคนความาสูรูปแบบงานเขียนประกอบการวิจัย วิทยานิพนธ ตลอดจนสาระนิพนธและบทความทางวิชาการอันจะเปนประโยชนตอการขยาย องคความรูในแขนงตางๆ ตอไปในอนาคต จากสภาพปญหาที่เกิดขึ้นจึงถือเปนเรื่องที่ควรใหความสนใจอยางยิ่งในการพัฒนาองคความรู ทักษะและ

ศักยภาพทางดานการเขียนภาษาอังกฤษโดยเฉพาะอยางยิ่งทักษะการเขียนภาษาอังกฤษเชิง วิชาการสําหรับนิสิตนักศึกษาในระดับอุดมศึกษา ทั้งน้ี มิใชเพื่อตองการใหผูเรียนดังกลาวสามารถนําความรูและทักษะที่ไดรับไปใชสําหรับการทดสอบความสามารถทางดานภาษาแตเพียงอยางเดียว แตยังมุงเนนที่จะใหความรูความสามารถเหลาน้ีติดตัวอยูกับผูเรียนทุกคนเพื่อที่จะนําไปใชในชีวิตประจําวัน ในการพัฒนาศักยภาพของตนเองจากการเขาศึกษาตอในระดับสูง รวมทั้งการนําไปใชในการประกอบอาชีพไดอยางเกิดประโยชนตอไปในอนาคต จากประเด็นดังกลาวขางตน ผูวิจัยจึงเกิดแนวคิดและมีความสนใจที่จะศึกษาปจจัยทางดานองคความรูและเน้ือหาสาระสําคัญทางดานภาษาที่จะสงผลตอการพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการใหกับผูเรียนในระดับอุดมศึกษา โดยผลที่ไดรับจากการวิจัยเชิงสํารวจน้ีจะเปนประโยชนอยางยิ่งทั้งในแงของการนําเอาขอมูล ไปใชสังเคราะหเพื่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในหองเรียน การจัดทําวิจัยในชั้นเรียน ตลอดจนการพัฒนาส่ือทรัพยากรทางการเรียนรู อ่ืน ๆ เพื่อสงเสริมและสรางแรงจูงใจในกระบวนการเรียนรูที่จะนําไปสูการพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการไดอยางมีประสิทธิภาพ วัตถุประสงค เพื่อศึกษาและสํารวจองคความรู รวมไปถึ งองคประกอบในดานเน้ือหาสาระที่ สําคัญตอการพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการในระดับอุดมศึกษา

และนําขอมูลที่ไดรับมาวิเคราะหและสังเคราะห สําหรับนําเสนอแนวทางและขอเสนอแนะอันเปนประโยชนตอการพัฒนาทักษะการ เขี ยนภาษาอังกฤษเชิ ง วิชาการ ในระดับอุดมศึกษา วิธีดําเนินการการวิจัย ผูวิจัยไดดําเนินการตามลําดับขั้นตอนดังตอไปน้ี 1. ประชากรและกลุมตัวอยาง ป ร ะ ช า ก ร ไ ด แ ก อ า จ า ร ย แ ล ะ นั ก ศึ ก ษ าระดับอุดมศึกษา กลุมตัวอยางคือ อาจารยผูสอนภาษาอังกฤษทางดานการเขียนเชิงวิชาการและนักศึกษาผูลงทะเบียนเรียนรายวิชาภาษาอังกฤษจากมหาวิทยาลัยรัฐบาล จํานวน 2 แหง และมหาวิทยาลัยเอกชน จํานวน 2 แหง 2. เคร่ืองมือที่ใชในการวิจัย ในการวิจัยครั้งน้ี ผูวิจัยไดใชเครื่องมือทางการวิจัย

รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการและนำาเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 1

“นวัตกรรมสร้างสรรค์ ศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน ไทยแลนด์ 4.0”105

Page 5: การศึกษาความต องการในด านองค ความรู ที่สําคัญต อการพัฒนา ... · writing and bibliography

คือ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณเชิงโครงสรางเพื่อทําการศึกษาและสํารวจขอมูล แบบสอบถามสรางขึ้นโดยการศึกษา เอกสาร หนังสือ ตํารา บทความทางวิชาการ งานวิจัยที่เก่ียวของ รวมไปถึงส่ือส่ิงพิมพในรูปแบบอ่ืนๆ และแหลงขอมูลทางอินเตอรเน็ต เพื่อสํารวจประเด็นเก่ียวกับทักษะการเขียนภาษาอังกฤษและการเขียนเชิง วิชาการ โดยผู วิจัย ได รวบรวม วิเคราะห และ สังเคราะหข อ มูล เพื่อ นํามา จัดทําแบบสอบถาม ซ่ึงแบงออกเปนจํานวน 2 ชุด คือ 1) แบบสอบถามสําหรับนิสิตนักศึกษากลุมตัวอยาง โดยมีจุดประสงคเพื่อใชสํารวจความตองการทางดานเน้ือหาสาระ องคความรูและทักษะ รวมไปถึงกิจกรรมการเรียนการสอนที่ผูเรียนเห็นวามีความเอ้ือตอการพัฒนาทักษะในดานดังกลาว2) แบบสอบถามสําหรับกลุมตัวอยางที่เปนอาจารย โดยมุงสํารวจความสําคัญจําเปนของเน้ือหาสาระและองคความรูที่สอดรับกับระดับความสามารถของผูเรียนในแตละระดับ ชั้นการศึกษา และใชเพื่อตรวจสอบยืนยันขอมูลที่ไดรับจากแบบสัมภาษณเชิงโครงสรางสําหรับอาจารยอีกขั้นหน่ึง แบบสัมภาษณเชิงโครงสรางสําหรับอาจารยมหาวิทยาลัยที่เปนกลุมตัวอยาง โดยมีการกําหนดคําถามปลายเปดเพื่อสํารวจความคิดเห็นเก่ียวกับความตองการทางดานเน้ือหาสาระทางดานการเขียนภาษาอังกฤษและ การเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการที่ครอบคลุมตั้งแตองคประกอบของการเขียนเบื้ องตน หลักไวยากรณ ตลอดจนกระบวนการเขียนและเทคนิคการเขียน เพื่อเปนประโยชนตอการนําไปใชวิเคราะหและสังเคราะหขอมูลในการสรางแบบสัมภาษณ ผูวิจัยจะทําการศึกษาคนควาขอมูลทางดานทักษะการเขียนภาษาอังกฤษเบื้องตนและทักษะการเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ เพื่อนํามาใชในการสรางแบบสัมภาษณ จากน้ันจึงนําแบบสัมภาษณดังกลาวไปใชเก็บรวบรวมขอมูลจากกลุมตัวอยางในลําดับตอไป 3. การเก็บรวบรวมขอมูล ผูวิจัยเก็บรวบรวมขอมูลโดยใชแบบสอบถามและแบบสัมภาษณ และนําขอมูลที่ไดมาวิเคราะห ประมวลผล รวมทั้งตรวจสอบความถูกตองกอนนําขอมูลทั้งหมดไปใชในการอภิปรายและสรุปผล 4. การวิเคราะหขอมูล ผูวิจัยดําเนินการวิเคราะหขอมูลโดยใชโปรแกรมสถิติประยุกต SPSS ในการวิเคราะหและประมวลผลขอมูล 5. สถิติที่ใชในการวิจัย ผู วิ จั ย ใ ช ส ถิ ติ เ ชิ ง พ ร ร ณ น า ( Descriptive Statistics) ในการแจกแจงความถี่ การหาคาเฉล่ียรอยละ

และการวัดความสัมพันธระหวางตัวแปร สําหรับขอมูลที่ไดจากแบบสอบถาม สําหรับขอมูลที่ไดจากการสัมภาษณจะนํามาตีความหมาย แปลผล วิเคราะห และนําเสนอในรูปแบบความเรยีง สรุปผล จากการวิจัยเรื่อง การศึกษาความตองการในดานองค ค ว ามรู ที่ สํ าคั ญต อการ พัฒนาทั กษะการ เขี ย นภาษาอังกฤษเชิงวิชาการสําหรับผูเรียนระดับอุดมศึกษา ส า มา ร ถส รุ ป ผ ลก า ร วิ จั ย ไ ด เ ป น 2 ส ว น ดั ง น้ี คื อ ผลการวิจัยที่ไดจากการสํารวจขอมูลจากนิสิตนักศึกษา และผลการวิจัยที่ไดจากการสํารวจขอมูลจากอาจารยผูสอนภาษาอังกฤษทางดานการเขียน 1. ผลการวิจัยที่ไดจากการสํารวจขอมูลจากนิสิตนักศึกษา ผูใหขอมูลเปนนิสิตระดับปริญญาตรี จํานวน 53 คน คิดเปนรอยละ 49.5 ขณะที่ นักศึกษาระดับบัณฑิ ตศึ กษาทั้ ง ระ ดับป ริญญาโทและ ปริญญา เอก มีจํานวน 54 คน โดยแบงเปนนักศึกษาระดับปริญญาโท 31 คน และระดับปริญญาเอก 23 คน คิดเปน รอยละ 29 และ 21.5 ตามลําดับ จากการสอบถามขอมูลสวนบุคคลพบวา นิสิตนักศึกษาสวนใหญประเมินตนเองวามีศักยภาพทางดานการเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการอยูในระดับปานกลางโดยคิดเปนรอยละ 51 และมีศักยภาพทางการเขียนอยูในระดับออนโดยคิดเปนรอยละ 28 การสํารวจความตองการของผู เรียนทางดานเน้ือหาสาระและองคความรูที่มีความสําคัญและจะเปนประโยชนตอการสง เสริมและพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ มีประเด็นสําคัญที่สามารถสรุป ไดดังตอไปน้ี 1. ผลการสํารวจความตองการทางดานเน้ือหาสาระและองคความรูที่สงผลตอทักษะการเขียนภาษาอังกฤษเชิง วิชาการ พบวา ความรู เบื้องตนเก่ียวกับการเขียนภาษาอังกฤษถือวามีความสําคัญ โดยนิสิตนักศึกษาผูใหขอมูลสวนใหญมีความตองการในดานหลักไวยากรณพื้นฐานและรูปแบบของการเขียนประโยคอยูในระดับมาก โดยคิดเปนรอยละ 29.9 ทั้งสองดาน ขณะที่ในดานองคประกอบและโครงสรางประโยค ผูเรียนมีความตองการอยูในระดับปานกลาง โดยคิดเปนรอยละ 34.6 2. ในดานการเขียนเชิงวิชาการ ผูเรียนมีความตองการดานเน้ือหาสาระ ทักษะและองคความรูเก่ียวกับการ

รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการและนำาเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 1

“นวัตกรรมสร้างสรรค์ ศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน ไทยแลนด์ 4.0”106

Page 6: การศึกษาความต องการในด านองค ความรู ที่สําคัญต อการพัฒนา ... · writing and bibliography

คือ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณเชิงโครงสรางเพื่อทําการศึกษาและสํารวจขอมูล แบบสอบถามสรางขึ้นโดยการศึกษา เอกสาร หนังสือ ตํารา บทความทางวิชาการ งานวิจัยที่เก่ียวของ รวมไปถึงส่ือส่ิงพิมพในรูปแบบอ่ืนๆ และแหลงขอมูลทางอินเตอรเน็ต เพื่อสํารวจประเด็นเก่ียวกับทักษะการเขียนภาษาอังกฤษและการเขียนเ ชิง วิชาการ โดยผู วิจัย ได รวบรวม วิเคราะห และ สังเคราะหข อ มูล เพื่อ นํามา จัดทําแบบสอบถาม ซ่ึงแบงออกเปนจํานวน 2 ชุด คือ 1) แบบสอบถามสําหรับนิสิตนักศึกษากลุมตัวอยาง โดยมีจุดประสงคเพื่อใชสํารวจความตองการทางดานเน้ือหาสาระ องคความรูและทักษะ รวมไปถึงกิจกรรมการเรียนการสอนที่ผูเรียนเห็นวามีความเอ้ือตอการพัฒนาทักษะในดานดังกลาว2) แบบสอบถามสําหรับกลุมตัวอยางที่เปนอาจารย โดยมุงสํารวจความสําคัญจําเปนของเน้ือหาสาระและองคความรูที่สอดรับกับระดับความสามารถของผูเรียนในแตละระดับ ชั้นการศึกษา และใชเพื่อตรวจสอบยืนยันขอมูลที่ไดรับจากแบบสัมภาษณเชิงโครงสรางสําหรับอาจารยอีกขั้นหน่ึง แบบสัมภาษณเ ชิงโครงสรางสําหรับอาจารยมหาวิทยาลัยที่เปนกลุมตัวอยาง โดยมีการกําหนดคําถามปลายเปดเพื่อสํารวจความคิดเห็นเก่ียวกับความตองการทางดานเน้ือหาสาระทางดานการเขียนภาษาอังกฤษและ การเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการที่ครอบคลุมตั้งแตองคประกอบของการเขียนเบื้ องตน หลักไวยากรณ ตลอดจนกระบวนการเขียนและเทคนิคการเขียน เพื่อเปนประโยชนตอการนําไปใชวิเคราะหและสังเคราะหขอมูลในการสรางแบบสัมภาษณ ผูวิจัยจะทําการศึกษาคนควาขอมูลทางดานทักษะการเขียนภาษาอังกฤษเบื้องตนและทักษะการเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ เพื่อนํามาใชในการสรางแบบสัมภาษณ จากน้ันจึงนําแบบสัมภาษณดังกลาวไปใชเก็บรวบรวมขอมูลจากกลุมตัวอยางในลําดับตอไป 3. การเก็บรวบรวมขอมูล ผูวิจัยเก็บรวบรวมขอมูลโดยใชแบบสอบถามและแบบสัมภาษณ และนําขอมูลที่ไดมาวิเคราะห ประมวลผล รวมทั้งตรวจสอบความถูกตองกอนนําขอมูลทั้งหมดไปใชในการอภิปรายและสรุปผล 4. การวิเคราะหขอมูล ผูวิจัยดําเนินการวิเคราะหขอมูลโดยใชโปรแกรมสถิติประยุกต SPSS ในการวิเคราะหและประมวลผลขอมูล 5. สถิติที่ใชในการวิจัย ผู วิ จั ย ใ ช ส ถิ ติ เ ชิ ง พ ร ร ณ น า ( Descriptive Statistics) ในการแจกแจงความถี่ การหาคาเฉล่ียรอยละ

และการวัดความสัมพันธระหวางตัวแปร สําหรับขอมูลที่ไดจากแบบสอบถาม สําหรับขอมูลที่ไดจากการสัมภาษณจะนํามาตีความหมาย แปลผล วิเคราะห และนําเสนอในรูปแบบความเรยีง สรุปผล จากการวิจัยเรื่อง การศึกษาความตองการในดานองค ค ว ามรู ที่ สํ าคั ญต อการ พัฒนาทั กษะการ เขี ย นภาษาอังกฤษเชิงวิชาการสําหรับผูเรียนระดับอุดมศึกษา ส า มา ร ถส รุ ป ผ ลก า ร วิ จั ย ไ ด เ ป น 2 ส ว น ดั ง น้ี คื อ ผลการวิจัยที่ไดจากการสํารวจขอมูลจากนิสิตนักศึกษา และผลการวิจัยที่ไดจากการสํารวจขอมูลจากอาจารยผูสอนภาษาอังกฤษทางดานการเขียน 1. ผลการวิจัยที่ไดจากการสํารวจขอมูลจากนิสิตนักศึกษา ผูใหขอมูลเปนนิสิตระดับปริญญาตรี จํานวน 53 คน คิดเปนรอยละ 49.5 ขณะที่ นักศึกษาระดับบัณฑิ ตศึ กษาทั้ ง ระ ดับป ริญญาโทและ ปริญญา เอก มีจํานวน 54 คน โดยแบงเปนนักศึกษาระดับปริญญาโท 31 คน และระดับปริญญาเอก 23 คน คิดเปน รอยละ 29 และ 21.5 ตามลําดับ จากการสอบถามขอมูลสวนบุคคลพบวา นิสิตนักศึกษาสวนใหญประเมินตนเองวามีศักยภาพทางดานการเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการอยูในระดับปานกลางโดยคิดเปนรอยละ 51 และมีศักยภาพทางการเขียนอยูในระดับออนโดยคิดเปนรอยละ 28 การสํารวจความตองการของผู เรียนทางดานเน้ือหาสาระและองคความรูที่มีความสําคัญและจะเปนประโยชนตอการสง เสริมและพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ มีประเด็นสําคัญที่สามารถสรุป ไดดังตอไปน้ี 1. ผลการสํารวจความตองการทางดานเน้ือหาสาระและองคความรูที่สงผลตอทักษะการเขียนภาษาอังกฤษเชิง วิชาการ พบวา ความรู เบื้องตนเก่ียวกับการเขียนภาษาอังกฤษถือวามีความสําคัญ โดยนิสิตนักศึกษาผูใหขอมูลสวนใหญมีความตองการในดานหลักไวยากรณพื้นฐานและรูปแบบของการเขียนประโยคอยูในระดับมาก โดยคิดเปนรอยละ 29.9 ทั้งสองดาน ขณะที่ในดานองคประกอบและโครงสรางประโยค ผูเรียนมีความตองการอยูในระดับปานกลาง โดยคิดเปนรอยละ 34.6 2. ในดานการเขียนเชิงวิชาการ ผูเรียนมีความตองการดานเน้ือหาสาระ ทักษะและองคความรูเก่ียวกับการ

ใชภาษาเขียนรายงานในระดับมากที่สุด และในดานการเขียนประเภทอ่ืน ๆ ที่นอกเหนือจากการเขียนเชิงวิชาการความตองการของนิสิตนักศึกษาที่อยูในระดับมาก ไดแก การเขียนเรียงความแบบการใหนิยามและคําจํากัดความ การเขียนเรียงความเชิงสะทอนความเปน เหตุเปนผล การเขียนเรียงความเชิง วิจารณ การเขียนเรียงความเชิงสัญลักษณ การเขียนเรียงความเพื่อแสดงความคิดเห็น การเขียนเรียงความแบบยกตัวอยางสนับสนุน การเขียนเรียงความเชิงสํารวจ และการเขียนบันทึกประจําวัน สวนบุคคล รวมไปถึงทักษะการเขียนภาษาอังกฤษเชิงธุรกิจและการประกอบอาชีพ นอกจากน้ี นิสิตนักศึกษามีความตองการในดานการเขียนเพื่อการส่ือสารในระดับมากที่สุด ซ่ึงจะเปนประโยชนตอการนําไปประยุกตใชเพื่อประกอบวิชาชีพและการใชในการทดสอบมาตรฐานทางดานภาษาเพื่อการสมัครงานในอนาคต 3. สําหรับเน้ือหาสาระและทักษะดานกลยุทธการเขียนซ่ึงถือเปนเครื่องมือสําคัญที่จะชวยสงเสริมและพัฒนากระบวนการถายทอดทางความคิดมาสูการเขียนไดอยางมีประสิทธิภาพ นิสิตนักศึกษามีความตองการในเน้ือหาสาระดานการเขียนบรรณานุกรมและการอางอิงในเน้ือความ การใชเทคนิคการเช่ือมโยงผังความคิด การระดมความคิด การเขียนแบบ Transition-action-details และการเขียนชมเรื่อง ในระดับมากที่ สุ ด ขณะที่กลยุทธการแสดงความเห็นแบบ What-Why-How การเขียนแบบมุงแสดงเน้ือหาสาระและวัตถุประสงค รวมทั้ง การเขียนจากกวางสูแคบไดรับการประเมินความสําคัญในระดบัมาก 4. ผลการวิจัยพบวา ผูเรียนระดับปริญญาตรีและระดับบัณฑิตศึกษามีความตองการที่แตกตางกันในดานเน้ือหาสาระ องคความรู และทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ เพื่อการส่ือสารและการเขยีนเชิงวิชาการ

ทักษะ/เนื้อหาสาระความรู

ปริญญาตรี ระดับความตองการ

บัณฑิตศึกษาระดับความตองการ P-

value X SD X SD

1. ความรูเบ้ืองตนเกี่ยวกับการเขียนภาษาอังกฤษ - อง คป ระกอ บแล ะโ ค รง สร า งของประโยค

3.13

.962

ปานกลาง

3.89 1.11 มาก .000

- หลักไวยากรณพื้นฐาน

3.15

.949

ปานกลาง

3.91 1.17 มาก .000

- รูปแบบของการเขียนประโยค

3.02

.951

ปานกลาง

4.00 1.09 มาก .000

ทักษะ/เนื้อหาสาระความรู

ปริญญาตรี ระดับความตองการ

บัณฑิตศึกษาระดับความตองการ

P-value

X SD X SD 2. การเขียนประเภทอ่ืนๆ - การเขียนเรียงความเชิงวิเคราะหกลยุทธ

2.72

.863

นอย 4.04 1.09 มาก .000

- การเขียนเรียง ความเชิงสาํรวจ

2.68

.872

นอย 3.85 1.13 มาก .000

- การเขียนเพื่อการสื่อสารทั่วไป

3.34

.898

มาก 4.19

1.02 มากที่สุด

.000

- การเขียนจดหมายประเภทตางๆ

3.09

.925

ปานกลาง

4.00

.991 มากที่สุด

.000

เม่ือเปรียบเทียบความตองการทางดานเน้ือหาสาระและองคความรูของผูเรียนในระดับปริญญาตรีและระดับบัณฑิตศึกษาซ่ึงหมายถึงระดับปริญญาโทและ ปริญญาเ อก พบว า มีค วามต อง การที่ แต กต าง กัน หลากหลายดาน เชน ในดานขององคประกอบและโครงสรางของประโยค หลักไวยากรณพื้นฐาน รูปแบบของการเขียนประโยค โดยผูเรียนในระดับปริญญาตรีมีความตองการอยู ในระดับปานกลาง ขณะที่ ผู เรียนในระดับบัณฑิตศึกษามีความตองการอยูในระดับมาก โดยแตกตางกันอยางมีนัยยะสําคัญทางสถิติ (p ≤ 0.1) สํ า ห รั บ อ ง ค ค ว า ม รู แ ล ะ ทั กษ ะ ก า ร เ ขี ย นภาษาอังกฤษประเภทอ่ืนๆ เชน การเขียนเรียงความเชิงวิเคราะห การเขียนเรียงความเ ชิงสํารวจ การเขียนเรียงความเชิงปรัชญา ผลการวิจัยพบวาผูเรียนในระดับปริญญาตรีมีความตองการในทักษะดังกลาวในระดับนอยซ่ึงแตกตางจากผูเรียนในระดับบัณฑิตศึกษาที่มีความตองการอยูในระดับมาก ในดานทักษะการเขียนเพื่อการส่ือสารทั่วไปผูเรียนในระดับปริญญาตรี มีความตองการอยูใน ระดับมาก ขณะที่ผูเรียนระดับบัณฑิตศึกษามีความตองการอยู ในระดับมากที่ สุด รวมไปถึงรูปแบบของการเขียนจดหมายภาษาอังกฤษประเภทตาง ๆ

รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการและนำาเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 1

“นวัตกรรมสร้างสรรค์ ศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน ไทยแลนด์ 4.0”107

Page 7: การศึกษาความต องการในด านองค ความรู ที่สําคัญต อการพัฒนา ... · writing and bibliography

ทักษะ/เนื้อหาสาระความรู

ปริญญาตรี ระดับความตองการ

บัณฑิตศึกษา ระดับความตองการ

P-value

X SD X SD 3. การเขียนเชิงวิชาการ - การเขียนรายงาน

3.45

1.04

มาก 3.96 1.13 มากที่สุด

.017

- การเขียนเรียงความเชิงวิชาการและงานวิจัย

3.17 .871 ปานกลาง

4.19 .992 มาก .000

- การเขียนเพื่อสะทอนความคิด

3.02 .951 ปานกลาง

4.07 1.09 มาก .000

- การเขียนเชิงโตแยง

3.00 .961 ปานกลาง

4.13 1.06 มาก .000

- การเขียนเชิงวิพากษ

3.02 .888 ปานกลาง

4.06 1.07 มาก .000

- การเขียนสรุปความ

3.19 1.00 ปานกลาง

4.11 .965 มาก .000

ในด านการ เขี ยนภาษาอังกฤษเชิ ง วิชาการ ผูเรียนระดับปริญญาตรีมีความตองการในดานการเขียนรายงานอยูในระดับมาก ขณะที่ผูเรียนระดับบัณฑิตศึกษามีความตองการอยู ในระดับมากที่ สุด สําหรับการเขียนเรียงความเชิงวิชาการและงานวิจัย การเขียนเพื่อสะทอนความคิด การเขียนเชิงโตแยง เชิงวิพากษ และการเขียนสรุปความ ผูเรียนระดับปริญญาตรีมีความตองการในระดับ ปานกลาง และผูเรียนในระดับบัณฑิตศึกษามีความตองการอยูในระดับมาก โดยมีความแตกตางกันอยางมีนัยยะสําคัญ ในดานของกลยุทธและเทคนิคการเขียนความตองการของผูเรียนระดับปริญญาตรีและระดับบัณฑิตศึกษามีความแตกตางกันเปนไปตามงานเขียนที่จะตองนําไปใช เชน การเขียนจากกวางสูแคบ การเขียนเชิงสะทอนปญหา กระบวนการและแนวทางแกไข และการเขียนชมเรื่อง ผูเรียนระดับบัณฑิตศึกษามีความตองการอยู ในระดับที่มากกวา โดยเฉพาะอยางยิ่งในการนําความรูและทักษะเหลาน้ีไปใชในการเขียนรายงานการวิจัย การใชเทคนิคการเขียนจากกวางสูแคบ (General-Specific Text) ในบทนําและในสวนความสําคัญของปญหา การใชการเขียนชมเรื่อง (Data Commentary) ในบทนําเสนอขอมูลและอภิปรายผลการวิจัย เปนตน

2. ผลการวิจัยที่ไดจากการสํารวจขอมูลจากอาจารยผูสอนภาษาอังกฤษทางดานการเขียน

ทักษะ/สาระความรู ระดับ

ความสําคัญ ระดับการศึกษา

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการเขียนภาษาอังกฤษ - องคประกอบและโ ค ร ง ส ร า ง ข อ งประโยค

มากที่สุด ปริญญาตรี โท และเอก

- หลั ก ไ ว ย ากรณพ้ืนฐาน

มากที่สุด ปริญญาตรี

- รูปแบบของการเขียนประโยค

มากที่สุด / มาก

ปริญญาตรี / ปริญญาโทและเอก

ผ ล ก า ร สํ า ร ว จ ข อ มู ล จ า ก อ า จ า ร ย ผู ส อ นภาษาอังกฤษทางดานการเขียนพบวา เน้ือหาสาระและองคความรู เบื้องตนเก่ียวกับการเขียนภาษาอังกฤษถือวามีความสําคัญอยางมากตอนิสิตนักศึกษาทั้งในระดับปริญญาตรี ปริญญาโทและปริญญาเอก ซ่ึงแตกตางจากการที่ผูเรียนไดใหความสําคัญ โดยเรื่องขององคประกอบและโครงสรางประโยคเบื้องตน เชน คํานาม (Noun) คํากริยา (Verb) คําคุณศัพท (Adjective) รวมไปถึงความสอดคลองของประธาน กริยา (Subject-verb Agreement) ถือวามีความสําคัญมากที่สุดสําหรับนิสิตนักศึกษาทั้งสามระดับที่ผูสอนควรใหความสําคัญในการจัดการเรียนการสอนและการพัฒนาทักษะของผูเรียนในประเด็นดังกลาว ในดานหลักไวยากรณพื้นฐาน คณาจารยเห็นวามีระดับความสําคัญมากที่ สุด สําหรับ ผู เรียนระดับปริญญาตรี เพื่อเปนพื้นฐานทางการกระบวนการเขียนในดานอ่ืนๆ และดานวิชาการตอไป รวมไปถึงรูปแบบของการเขียนประโยค ไมวาจะเปนประโยคความเดียว ความรวม และความซอน คณาจารยผูสอนมีความคิดเห็นวา สาระความรูดังกลาวมีความสําคัญจําเปนเพื่อใชเปนพื้นฐานในการตอยอดกระบวนการเขียนในระดับที่สูงขึ้น มีความสลับซับซอนของโครงสรางภาษามากขึ้น ผลการสํารวจขอมูลในดานความสําคัญของทักษะการเขียนประเภทอ่ืนๆ ที่นอกเหนือจากการเขียนเชิงวิชาการ พบวา การเขียนบันทึกประจําวันสวนบุคคล การเขียนเลาเรื่องราวทั่วไป การเขียนเรียงความเชิงสํารวจ การเขียนเรียงความเชิงปรัชญา การเขียนเรียงความเชิงวิเคราะหและเชิงสัญลักษณ การเขียนเรียงความเชิงสะทอนความเปนเหตุเปนผล และการเขียนเรียงความเชิงจําแนกประเภท มีความสําคัญอยูในระดับปานกลางสําหรับนิสิตนักศึกษา

รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการและนำาเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 1

“นวัตกรรมสร้างสรรค์ ศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน ไทยแลนด์ 4.0”108

Page 8: การศึกษาความต องการในด านองค ความรู ที่สําคัญต อการพัฒนา ... · writing and bibliography

ทักษะ/เนื้อหาสาระความรู

ปริญญาตรี ระดับความตองการ

บัณฑิตศึกษา ระดับความตองการ

P-value

X SD X SD 3. การเขียนเชิงวิชาการ - การเขียนรายงาน

3.45

1.04

มาก 3.96 1.13 มากที่สุด

.017

- การเขียนเรียงความเชิงวิชาการและงานวิจัย

3.17 .871 ปานกลาง

4.19 .992 มาก .000

- การเขียนเพื่อสะทอนความคิด

3.02 .951 ปานกลาง

4.07 1.09 มาก .000

- การเขียนเชิงโตแยง

3.00 .961 ปานกลาง

4.13 1.06 มาก .000

- การเขียนเชิงวิพากษ

3.02 .888 ปานกลาง

4.06 1.07 มาก .000

- การเขียนสรุปความ

3.19 1.00 ปานกลาง

4.11 .965 มาก .000

ในด านการ เขี ยนภาษาอังกฤษเชิ ง วิชาการ ผูเรียนระดับปริญญาตรีมีความตองการในดานการเขียนรายงานอยูในระดับมาก ขณะที่ผูเรียนระดับบัณฑิตศึกษามีความตองการอยู ในระดับมากที่ สุด สําหรับการเขียนเรียงความเชิงวิชาการและงานวิจัย การเขียนเพื่อสะทอนความคิด การเขียนเชิงโตแยง เชิงวิพากษ และการเขียนสรุปความ ผูเรียนระดับปริญญาตรีมีความตองการในระดับ ปานกลาง และผูเรียนในระดับบัณฑิตศึกษามีความตองการอยูในระดับมาก โดยมีความแตกตางกันอยางมีนัยยะสําคัญ ในดานของกลยุทธและเทคนิคการเขียนความตองการของผูเรียนระดับปริญญาตรีและระดับบัณฑิตศึกษามีความแตกตางกันเปนไปตามงานเขียนที่จะตองนําไปใช เชน การเขียนจากกวางสูแคบ การเขียนเชิงสะทอนปญหา กระบวนการและแนวทางแกไข และการเขียนชมเรื่อง ผูเรียนระดับบัณฑิตศึกษามีความตองการอยู ในระดับที่มากกวา โดยเฉพาะอยางยิ่งในการนําความรูและทักษะเหลาน้ีไปใชในการเขียนรายงานการวิจัย การใชเทคนิคการเขียนจากกวางสูแคบ (General-Specific Text) ในบทนําและในสวนความสําคัญของปญหา การใชการเขียนชมเรื่อง (Data Commentary) ในบทนําเสนอขอมูลและอภิปรายผลการวิจัย เปนตน

2. ผลการวิจัยที่ ไดจากการสํารวจขอมูลจากอาจารยผูสอนภาษาอังกฤษทางดานการเขียน

ทักษะ/สาระความรู ระดับ

ความสําคัญ ระดับการศึกษา

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการเขียนภาษาอังกฤษ - องคประกอบและโ ค ร ง ส ร า ง ข อ งประโยค

มากที่สุด ปริญญาตรี โท และเอก

- หลั ก ไ ว ย ากรณพ้ืนฐาน

มากที่สุด ปริญญาตรี

- รูปแบบของการเขียนประโยค

มากที่สุด / มาก

ปริญญาตรี / ปริญญาโทและเอก

ผ ล ก า ร สํ า ร ว จ ข อ มู ล จ า ก อ า จ า ร ย ผู ส อ นภาษาอังกฤษทางดานการเขียนพบวา เน้ือหาสาระและองคความรู เบื้องตนเก่ียวกับการเขียนภาษาอังกฤษถือวามีความสําคัญอยางมากตอนิสิตนักศึกษาทั้งในระดับปริญญาตรี ปริญญาโทและปริญญาเอก ซ่ึงแตกตางจากการที่ผูเรียนไดใหความสําคัญ โดยเรื่องขององคประกอบและโครงสรางประโยคเบื้องตน เชน คํานาม (Noun) คํากริยา (Verb) คําคุณศัพท (Adjective) รวมไปถึงความสอดคลองของประธาน กริยา (Subject-verb Agreement) ถือวามีความสําคัญมากที่สุดสําหรับนิสิตนักศึกษาทั้งสามระดับที่ผูสอนควรใหความสําคัญในการจัดการเรียนการสอนและการพัฒนาทักษะของผูเรียนในประเด็นดังกลาว ในดานหลักไวยากรณพื้นฐาน คณาจารยเห็นวามีระดับความสําคัญมากที่ สุด สําหรับ ผู เรียนระดับปริญญาตรี เพื่อเปนพื้นฐานทางการกระบวนการเขียนในดานอ่ืนๆ และดานวิชาการตอไป รวมไปถึงรูปแบบของการเขียนประโยค ไมวาจะเปนประโยคความเดียว ความรวม และความซอน คณาจารยผูสอนมีความคิดเห็นวา สาระความรูดังกลาวมีความสําคัญจําเปนเพื่อใชเปนพื้นฐานในการตอยอดกระบวนการเขียนในระดับที่สูงขึ้น มีความสลับซับซอนของโครงสรางภาษามากขึ้น ผลการสํารวจขอมูลในดานความสําคัญของทักษะการเขียนประเภทอ่ืนๆ ที่นอกเหนือจากการเขียนเชิงวิชาการ พบวา การเขียนบันทึกประจําวันสวนบุคคล การเขียนเลาเรื่องราวทั่วไป การเขียนเรียงความเชิงสํารวจ การเขียนเรียงความเชิงปรัชญา การเขียนเรียงความเชิงวิเคราะหและเชิงสัญลักษณ การเขียนเรียงความเชิงสะทอนความเปนเหตุเปนผล และการเขียนเรียงความเชิงจําแนกประเภท มีความสําคัญอยูในระดับปานกลางสําหรับนิสิตนักศึกษา

ระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก สําหรับการเขียนบันทึกอนุทิน (Live Journal) มีความสําคัญในระดับมากสําหรับผูเรียนระดับปริญญาตรีและปริญญาโท ในขณะที่การเขียนโนตยอเพื่อเตือนความจํามีความสําคัญสําหรับนิสิตปริญญาตรี และการเขียนเรียงความเชิงวิเคราะห กลยุทธมีความสําคัญในระดับมากสําหรับนิสิตปริญญาโท ในดานการเขียนประโยคและอนุเฉทตามความสนใจ (Sentence and Paragraph) มีความสําคัญในระดับมากที่สุด สําหรับผูเรียนระดับปริญญาตรี และความสําคัญในระดับมากสําหรับผู เรียนระดับปริญญาโทและเอก การเขียนเรียงความแบบยกตัวอยางสนับสนุนและการเรียงความเพื่อแสดงความคิดเห็นมีความสําคัญในระดับมากสําหรับผูเรียนระดับปริญญาโทและเอก และระดับมากที่สุดสําหรับผูเรียนระดับปริญญาตรี เชนเดียวกับการเขียนเรียงความเชิงบรรยาย ในขณะที่การเขียนเรียงความเชิงวิจารณ การเขียนเรียงความแบบการใหคํานิยามและคําจํากัดความ และการเขียนเรียงความโดยมุงสะทอนความคิดเห็นหลายดาน มีความสําคัญระดับปานกลางสําหรับผูเรียนระดับปริญญาตรี และมีความสําคัญในระดับมากและมากที่สุดสําหรับผูเรียนระดับบัณฑิตศึกษา ในดานของการเขียนเพื่อนําเสนอความรูทั่วไปถือวามีความสําคัญในระดับมากที่ สุดสําหรับผู เรียนระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก

ทักษะ/สาระความรู

ระดับความสําคัญ

ระดับการศึกษา

การเขียนเชิงวิชาการ - การเขียนรายงาน

มากที่สุด ปริญญาตรี ปริญญาโทและเอก

- การเขียนเรียงความเชิงวิชาการและงานวิจัย

มากที่สุด ปริญญาตรี ปริญญาโทและเอก

- การเขียนเพ่ือสะทอนความคดิ

มาก / มากที่สดุ ปริญญาตรี / ปริญญาโทและเอก

- การเขียนเชิงโตแยง ปานกลาง / มากที่สุด

ปริญญาตรี / ปริญญาโทและเอก

- การเขียนเชิงวิพากษ ปานกลาง / มากที่สุด

ปริญญาตรี / ปริญญาโทและเอก

- การเขียนสรุปความ มาก / มากที่สดุ

ปริญญาตรี / ปริญญาโทและเอก

จากตารางขางตน พบวาองคความรูทางดานการเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ การเขียนรายงาน การเขียน

เรียงความเชิงวิชาการและงานวิจัยไดรับการประเมินจากอาจารยผูสอนวา มีลําดับความสําคัญในระดับที่มากที่สุดในทุกระดับช้ันการศึกษา ขณะที่ในดานทักษะการเขียนเชิงธุรกิจและการประกอบอาชีพ การเขียนเพื่อการส่ือสาร การเขียนจดหมายประเภทตางๆ การเขียนเอกสารเพื่อการรับสมัครงาน ถือวามีความสําคัญในระดับมากที่สุดสําหรับผูเรียนระดับปริญญาตรี ทั้งน้ี รูปแบบการเขียนประเภทอ่ืนๆ รวมทั้งกลยุทธทางการเขียนซ่ึงถือเปนเครื่องมือสําคัญที่จะชวยสงเสริมและพัฒนากระบวนการถายทอดทางความคิด มาสูกระบวนการเขียนและรูปแบบการเขียนใหมีความถูกตองและประสิทธิภาพในดานการสรางความเขาใจที่ตรงกันระหวางผูสงสารและผูรับสาร จึงมีความสําคัญแตกตางกันไปตามวัตถุประสงคทางการเขียนและความถนัดทางดานการเขียนของแตละบุคคลที่แตกตางกัน อยางไรก็ตามความรูเก่ียวกับการเขียนบรรณานุกรมและการอางอิงในเน้ือความถือวามีความสําคัญในระดับมากที่สุดสําหรับผูเรียนในทุกระดับเพื่อใหการอางอิงไปยังเน้ือความตนฉบับมีความถูกตองเหมาะสม อภิปรายผล จากผลการวิจัยที่ไดรับ สามารถนํามาอภิปรายไดเปนประเด็นดังตอไปน้ี 1. ผลการวิจัยที่ไดรับจากนิสิตนักศึกษาพบวา ผูเรียนสวนใหญประเมินวาตนเองมีศักยภาพทางดานการเขียนภาษาอังกฤษอยูในระดับปานกลาง ไปจนถึงระดับออน ซ่ึงประเด็นดังกลาว เม่ือนํามาสูทักษะทางดานการเขียนจึงส งผลให ผู เ รี ยนไมท ราบว าจะ เ ริ่ มตน เขี ยนอย าง ไ ร จะถายทอดกระบวนการทางความคิดมาสูกระบวนการเขียนไดอยางไร อีกทั้งกลไกและโครงสรางของภาษา การใชหลักไวยากรณที่ถูกตอง ที่มีความเปนทางการเพื่อนําเสนอผลงานใหมีความเปนวิชาการน้ันมีความยากและซับซอน จึงเปนอุปสรรคสําคัญที่สงผลตอกระบวนการเขียน ดวยเหตุ น้ีผูเรียนจึงมีความตองการทางดานเน้ือหาสาระและองคความรูเก่ียวกับหลักไวยากรณและรูปแบบของการเขียนประโยคอยูในระดับมาก ในทางตรงกันขามผูเรียนกลับมีความตองการเก่ียวกับองคประกอบและโครงสรางของประโยคอยูในระดับปานกลาง ซ่ึงมีความขัดแยงกับผลที่ไดรับจากการสํารวจขอมูลที่นําเสนอโดยอาจารยผูสอน ซ่ึงมองวาเน้ือหาสาระและองคความรูเก่ียวกับหลักไวยากรณ โครงสรางของภาษา และรูปแบบการเขียนประโยคถือเปนรากฐานและองคประกอบที่สําคัญที่สุด ที่จะเปนเครื่องมือ

รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการและนำาเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 1

“นวัตกรรมสร้างสรรค์ ศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน ไทยแลนด์ 4.0”109

Page 9: การศึกษาความต องการในด านองค ความรู ที่สําคัญต อการพัฒนา ... · writing and bibliography

และกลไกใหผูเรียนเขียนไดอยางมีประสิทธิภาพทั้งในแงของการเขียนเพื่อการส่ือสารทั่วไปและการเขียนเชิงวิชาการ ในดานการเขียนประเภทอ่ืนๆ ที่นอกเหนือจากการเขียนเชิงวิชาการ นิสิตนักศึกษามีความตองการในเน้ือหาสาระและองคความรูในระดับที่แตกตางกันไปตามรูปแบบของการเขียนในแตละประเภทที่ มีวัตถุประสงคทางการส่ือสารที่แตกตางกัน ทั้งน้ี นิสิตนักศึกษาทั้งในระดับปริญญาตรีและระดับบัณฑิตศึกษา มีความตองการในดานการเขียนเพื่อการส่ือสารทั่วไปในระดับมากที่สุด ซ่ึงจะเปนประโยชนตอการนําไปประยุกตใชใหสอดรับกับบริบททางการเขียนในชีวิตประจําวันไดเปนอยางด ี ในดานของการเขียนเชิงวิชาการ พบวา นิสิตนักศึกษามีความตองการในดานเน้ือหาสาระและองคความรูเก่ียวกับการเขียนรายงาน การเขียนบทความวิชาการและการเขียนรายงานการวิจัยภาษาอังกฤษในระดับมากที่สุด ซ่ึงจะมีความสําคัญทั้ ง ในแงการเขียนรายงานที่ไดรับมอบหมายใหไปศึกษาคนควาและนําเสนอดวยการเขียนเปนภาษาอังกฤษในระดับปริญญาตรีและการเขียนรายงานการวิจัยในระดับบัณฑิตศึกษา ใ นด านของกลยุ ท ธ แ ละ เ ทค นิคการ เ ขี ย น ความตองการของผู เรียนระดับปริญญาตรีและระดับบัณฑิตศึกษามีความแตกตางกันเปนไปตามงานเขียนที่จะตองนําไปใช รวมไปถึงศักยภาพทางดานการเขียนของผู เรียนเอง ยกตัวอยางเชน เทคนิคการระดมความคิด (Brainstorming) และการใชเทคนิคเชื่อมโยงผังความคิด (Mind-Mapping Technique) ถือวาเปนเทคนิคที่สําคัญมากสําหรับผูเรียนในระดับปริญญาตรีและโดยเฉพาะในกรณีที่ผูเรียนไมรูวาจะเขียนอะไร ไมรูวาจะถายทอดประเด็นอะไรออกมา การระดมความคิดในประเด็นที่เก่ียวของกับหัวขอที่ตองการเขียนสามารถชวยในการสกัดขอมูลในเรื่องที่เก่ียวของออกมาไดในลําดับแรก จากน้ันจึงเปนการจัดหมวดหมูขอมูลที่ตองการเขียน เชน “The Advantages and Disadvantages of Pokemon-Go” ซ่ึงสามารถทําไดโดยใชเทคนิคการเชื่อมโยงผังความคิด เทคนิคดังกลาวน้ีจึงสามารถนําไปใชสงเสริมและพัฒนาการเชื่อมโยงการคิดมาสูการถายทอดเรื่องราวในการเขียนไดอยางดีโดยเฉพาะ ในกรณีที่ผูเรียนไมทราบวาจะเริ่มตนการเขียนเน้ือหาอะไรอยางไร 2. ผลการวิจัยที่ ไดรับจากแบบสัมภาษณของอาจารยเก่ียวกับปญหาทางดานการสอนเขียนภาษาอังกฤษและความสําคัญของเน้ือหาสาระ ทักษะและองคความรูที่จําเปนตองพัฒนาใหแกผูเรียน สามารถอภิปรายไดดังน้ี

2.1 การที่ผูเรียนไมมีปจจัยนําเขาทางดานความรูและความคิดเพื่อที่จะนํามาถายทอดสูกระบวนการเขียน ทั้งน้ีเน่ืองมากจากผูเรียนเปนผูที่อานนอย มีความสนใจใฝเรียนรูในระดับที่ต่ํา เม่ือไมมีความรูที่เปนวัตถุดิบทางดานความคิดจึงทําใหไมสามารถเขียนถายทอดเรื่องราว ออกมาได 2.2 ปญหาทางดานความรู เ ก่ียวกับหลักไวยากรณ (Grammar) โครงสรางและกลไกของภาษา (Language Structure and Mechanism) ความรูพื้นฐานตั้งแตในระดับองคประกอบในสวนตาง ๆ ของประโยค (Parts of Speech) โครงสรางประโยค (Sentence Structure) ยังมีไมเพียงพอโดยผูเรียนสวนใหญมีองคความรูและทักษะดังกลาวอยูแคในระดับพื้นฐานซ่ึงยังไมสามารถที่จะพัฒนามาสูการเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการได ประเด็นดังกลาวน้ีสอดรับกับ ส่ิงที่ สุมิตรา อังวัฒนกุล (2537) สมบูรณ วิภาวีนุกูล (2528) Heaton (1975) และ Bennui (2008) ไดนําเสนอไวโดยการเขียนภาษาอังกฤษผูเขียนจําเปนตองมีความรูความสามารถในการเลือกใชคําใหถูกตอง มีความรูในดานระบบคํา หลักไวยากรณ โครงสรางของภาษาและประโยค หลักการและกลไกของภาษา นอกจากน้ี ยังมีความสอดคลองกับงานวิจัยของ Hinkel (2013) ซ่ึงหลักไวยากรณมีความสําคัญตอกระบวนการเขียนและการพัฒนาศักยภาพทางการเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการของผูเรียนภาษาอังกฤษเปนภาษาที่สองในระดับมากที่สุด 2.3 ทัศนคติที่ไมพึงประสงคของผูเรียนตอการเรียนรูการใหความใสใจ และการศึกษาคนควา รวมทั้งการฝกฝนเพิ่มเติมเพื่อนํามาซ่ึงการพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ 2.4 เน้ือหาสาระ ทักษะ และองคความรูทางดานหลักไวยากรณภาษาอังกฤษ (English Grammar) องคประกอบและโครงสรางของประโยค (Parts of Speech and Sentence Structure) รวมไปถึงกลไกทางดานการใชภาษา (Language Mechanism) ถือวามีความสําคัญจําเปนอยางยิ่งตอการพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการของผูเรียนในระดับอุดมศึกษา ทั้งในระดับปริญญาตรีและระดับบัณฑิตศึกษา โดยทักษะการเขียนภาษาอังกฤษถือวามีความแตกตางจากการใชภาษาอังกฤษดานการพูดและการส่ือสารทั่วไปในชีวิตประจําวันในแงที่วา การเขียนเม่ือไดรับการถายทอด การตีพิมพสารหรือขอมูลลงไปในรูปแบบของอักขระที่เปนสัญลักษณเพื่อการส่ือ ความหมายแลว ถาหากเกิดขอผิดพลาดขึ้นในดานการใชภาษาซ่ึงสงผล

รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการและนำาเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 1

“นวัตกรรมสร้างสรรค์ ศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน ไทยแลนด์ 4.0”110

Page 10: การศึกษาความต องการในด านองค ความรู ที่สําคัญต อการพัฒนา ... · writing and bibliography

และกลไกใหผูเรียนเขียนไดอยางมีประสิทธิภาพทั้งในแงของการเขียนเพื่อการส่ือสารทั่วไปและการเขียนเชิงวิชาการ ในดานการเขียนประเภทอ่ืนๆ ที่นอกเหนือจากการเขียนเชิงวิชาการ นิสิตนักศึกษามีความตองการในเน้ือหาสาระและองคความรูในระดับที่แตกตางกันไปตามรูปแบบของการเขียนในแตละประเภทที่ มีวัตถุประสงคทางการส่ือสารที่แตกตางกัน ทั้งน้ี นิสิตนักศึกษาทั้งในระดับปริญญาตรีและระดับบัณฑิตศึกษา มีความตองการในดานการเขียนเพื่อการส่ือสารทั่วไปในระดับมากที่สุด ซ่ึงจะเปนประโยชนตอการนําไปประยุกตใชใหสอดรับกับบริบททางการเขียนในชีวิตประจําวันไดเปนอยางด ี ในดานของการเขียนเชิงวิชาการ พบวา นิสิตนักศึกษามีความตองการในดานเน้ือหาสาระและองคความรูเก่ียวกับการเขียนรายงาน การเขียนบทความวิชาการและการเขียนรายงานการวิจัยภาษาอังกฤษในระดับมากที่สุด ซ่ึงจะมีความสําคัญทั้ ง ในแงการเขียนรายงานที่ไดรับมอบหมายใหไปศึกษาคนควาและนําเสนอดวยการเขียนเปนภาษาอังกฤษในระดับปริญญาตรีและการเขียนรายงานการวิจัยในระดับบัณฑิตศึกษา ใ นด านของกลยุ ท ธ แ ละ เ ทค นิคการ เ ขี ย น ความตองการของผู เรียนระดับปริญญาตรีและระดับบัณฑิตศึกษามีความแตกตางกันเปนไปตามงานเขียนที่จะตองนําไปใช รวมไปถึงศักยภาพทางดานการเขียนของผู เรียนเอง ยกตัวอยางเชน เทคนิคการระดมความคิด (Brainstorming) และการใชเทคนิคเช่ือมโยงผังความคิด (Mind-Mapping Technique) ถือวาเปนเทคนิคที่สําคัญมากสําหรับผูเรียนในระดับปริญญาตรีและโดยเฉพาะในกรณีที่ผูเรียนไมรูวาจะเขียนอะไร ไมรูวาจะถายทอดประเด็นอะไรออกมา การระดมความคิดในประเด็นที่เก่ียวของกับหัวขอที่ตองการเขียนสามารถชวยในการสกัดขอมูลในเรื่องที่เก่ียวของออกมาไดในลําดับแรก จากน้ันจึงเปนการจัดหมวดหมูขอมูลที่ตองการเขียน เชน “The Advantages and Disadvantages of Pokemon-Go” ซ่ึงสามารถทําไดโดยใชเทคนิคการเชื่อมโยงผังความคิด เทคนิคดังกลาวน้ีจึงสามารถนําไปใชสงเสริมและพัฒนาการเชื่อมโยงการคิดมาสูการถายทอดเรื่องราวในการเขียนไดอยางดีโดยเฉพาะ ในกรณีที่ผูเรียนไมทราบวาจะเริ่มตนการเขียนเน้ือหาอะไรอยางไร 2. ผลการวิจัยที่ ไดรับจากแบบสัมภาษณของอาจารยเก่ียวกับปญหาทางดานการสอนเขียนภาษาอังกฤษและความสําคัญของเน้ือหาสาระ ทักษะและองคความรูที่จําเปนตองพัฒนาใหแกผูเรียน สามารถอภิปรายไดดังน้ี

2.1 การที่ผูเรียนไมมีปจจัยนําเขาทางดานความรูและความคิดเพื่อที่จะนํามาถายทอดสูกระบวนการเขียน ทั้งน้ีเน่ืองมากจากผูเรียนเปนผูที่อานนอย มีความสนใจใฝเรียนรูในระดับที่ต่ํา เม่ือไมมีความรูที่เปนวัตถุดิบทางดานความคิดจึงทําใหไมสามารถเขียนถายทอดเรื่องราว ออกมาได 2.2 ปญหาทางดานความรู เ ก่ียวกับหลักไวยากรณ (Grammar) โครงสรางและกลไกของภาษา (Language Structure and Mechanism) ความรูพื้นฐานตั้งแตในระดับองคประกอบในสวนตาง ๆ ของประโยค (Parts of Speech) โครงสรางประโยค (Sentence Structure) ยังมีไมเพียงพอโดยผูเรียนสวนใหญมีองคความรูและทักษะดังกลาวอยูแคในระดับพื้นฐานซ่ึงยังไมสามารถที่จะพัฒนามาสูการเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการได ประเด็นดังกลาวน้ีสอดรับกับ ส่ิงที่ สุมิตรา อังวัฒนกุล (2537) สมบูรณ วิภาวีนุกูล (2528) Heaton (1975) และ Bennui (2008) ไดนําเสนอไวโดยการเขียนภาษาอังกฤษผูเขียนจําเปนตองมีความรูความสามารถในการเลือกใชคําใหถูกตอง มีความรูในดานระบบคํา หลักไวยากรณ โครงสรางของภาษาและประโยค หลักการและกลไกของภาษา นอกจากน้ี ยังมีความสอดคลองกับงานวิจัยของ Hinkel (2013) ซ่ึงหลักไวยากรณมีความสําคัญตอกระบวนการเขียนและการพัฒนาศักยภาพทางการเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการของผูเรียนภาษาอังกฤษเปนภาษาที่สองในระดับมากที่สุด 2.3 ทัศนคติที่ไมพึงประสงคของผูเรียนตอการเรียนรูการใหความใสใจ และการศึกษาคนควา รวมทั้งการฝกฝนเพิ่มเติมเพื่อนํามาซ่ึงการพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ 2.4 เน้ือหาสาระ ทักษะ และองคความรูทางดานหลักไวยากรณภาษาอังกฤษ (English Grammar) องคประกอบและโครงสรางของประโยค (Parts of Speech and Sentence Structure) รวมไปถึงกลไกทางดานการใชภาษา (Language Mechanism) ถือวามีความสําคัญจําเปนอยางยิ่งตอการพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการของผูเรียนในระดับอุดมศึกษา ทั้งในระดับปริญญาตรีและระดับบัณฑิตศึกษา โดยทักษะการเขียนภาษาอังกฤษถือวามีความแตกตางจากการใชภาษาอังกฤษดานการพูดและการส่ือสารทั่วไปในชีวิตประจําวันในแงที่วา การเขียนเม่ือไดรับการถายทอด การตีพิมพสารหรือขอมูลลงไปในรูปแบบของอักขระที่เปนสัญลักษณเพื่อการส่ือ ความหมายแลว ถาหากเกิดขอผิดพลาดขึ้นในดานการใชภาษาซ่ึงสงผล

ใหเกิดความไมเขาใจ ความคลุมเครือ ความไมถูกตองในการตีความหมายของสารที่ตองการจะสง ผูสงสารไมสามารถที่จะ โ ต ตอบ กับ ผู รั บ สา ร โ ด ย ใ ช วั จนะภ าษา (Verbal Communication) ซ่ึงเปนภาษาพูดและภาษาเขียน อวัจนะภาษา (Nonverbal Communication) ซ่ึงเปนการส่ือสารจากภาษากาย สีหนา ทาทาง เพื่อแกไขขอมูลในเน้ือสารไดทันทวงทีในกระบวนการส่ือสารหรือเพื่อที่จะนําไปสูความเขาใจที่ตรงกันความหมายที่ถูกตอง ครบถวน สมบูรณตามที่ตองการจะส่ือสารได ดังน้ัน องคความรูและทักษะที่กลาวถึงขางตน จึงมีความสําคัญในระดับมากโดยเฉพาะเรื่องของการเขียนภาษาอังกฤษที่จะเปนรากฐานสําคัญตอกระบวนการเขี ยนที่ มี ความถู กต องและ เหมาะสม การ เขี ยนที่ มีประสิทธิภาพเพื่อการส่ือสารความหมายไดอยางถูกตองตามบริบทและตรงจุดตรงประเด็นของเน้ือสารที่ตองการจะส่ือ ทั้งในแงของการเขียนภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสารทั่วไปและการเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการที่มีกลไกและโครงสรางของการใชภาษาที่มีความสลับซับซอนกวา มีการใชคําศัพทที่ยากและมีความเปนทางการมากกวา ดังน้ันการจัดการเรียนการสอนและการมุงสงเสริมพัฒนาองคความรูทางดานห ลักการ ใ ชภ าษาเ ขี ยนดั งกล าว จึ งยั งคง เปน ส่ิ งที่ มีความสําคัญอยู เพื่อเปนรากฐานทางการเขียนที่ มีความถูกตอง ส่ือความหมายไดตรงจุดตรงประเด็นทั้งในระดับของการเขียนประโยค อนุเฉท การเขียนบทความส้ันๆ การเขียนจดหมายสมัครงาน ซ่ึงเปนการเขียนเพื่อการส่ือสารทั่วไป ไปจนถึงการเขียนบทความและรายงานการวิจัยที่มีความเปนวิชาการ มีความเปนทางการในการใชภาษา 3. ในสวนของเ น้ือหาสาระและองคความรูทางดานการเขียนภาษาอังกฤษในรูปแบบอ่ืนๆ ถือวามีความสําคัญแก ผู เ รียนในระดับปริญญาตรีและระดับบัณฑิตศึกษาในลําดับที่แตกตางกันไป โดยมีปจจัยสําคัญที่สุดคือวัตถุประสงคของการเขียน กลาวคือรูปแบบของการเขียนจะมีระดับความยากงาย ระดับความซับซอนของภาษาเขียน กลไกของการใชภาษาและเครื่องหมายวรรคตอน การเลือกใชคําศัพท รูปแบบการเรียบเรียงเน้ือความที่แตกตางกันไปตามวัตถุประสงคของงานเขียนที่ตองการจะส่ือสารขอมูล เชน ในระดับปริญญาตรีนอกจากผูเรียนจะตองเรียนรูเ น้ือหาสาระและทักษะ การเขียนเพื่อการ ส่ือสารในชีวิตประจําวัน ไมวาจะเปนการเขียนบันทึกอนุทินเพื่อบันทึกและสะทอนสาระความรูที่ไดรับจากการเรียนรู การเขียนประวัติยอเพื่อการสมัครงาน (Resume) การเขียนจดหมายโตตอบประเภทตางๆ (Correspondence Letters) เพื่อนําไปใชในการประกอบอาชีพในอนาคตแลว ปจจุบันจะตอง

มีการจัดทําผลงานวิจัยซ่ึงเน้ือหาสาระความรูและทักษะการเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการจึงถือเปนส่ิงที่สําคัญสําหรับผูเรียนในระดับปริญญาตรีอีกเชนเดียวกันเพื่อใหสามารถนําไปใชในการเขียนรายงานเชิงวิชาการและบทคัดยอเปนภาษาอังกฤษไดและเปนรากฐานสําคัญในการพัฒนาทักษะดานการเขียนที่ยากขึ้นตอไป รูปแบบการเขียนบางประเภทมีขอจํากัดตามความตองการของผูเรียนและการนําไปใชซ่ึงอาจจะไมสําคัญกับผูเรียนทุกคน เชน การเขียนเรียงความเชิงปรัชญา ซ่ึงจะเหมาะสมกับผูที่เรียนทางดานปรัชญาและวรรณกรรม การเขียนคําปราศรัยเพื่อนําเสนอตอสาธารณะ ซ่ึงจะใชเพื่อเปนบทพูดสําหรับการนําเสนอตอที่สาธารณะ เปนตน การเขียนในรูปแบบอ่ืนๆ เชนการเขียนเรียงความแบบยกตัวอยางสนับสนุน การเขียนเรียงความเชิงบรรยาย การเขียนชมเรื่อง การเขียนเรียงความเชิงวิจารณและเชิงวิเคราะห การเขียนเรียงความแบบการใหนิยามและคําจํากัดความ การเขียนเรียงความเชิงจําแนกและจัดประเภท โดยเน้ือหาสาระความรูและทักษะการเขียนเหลาน้ีสามารถนํามาบูรณาการและตกผลึกมาสูการเขียนเชิงวิชาการและงานวิจัยในบทตางๆ ได เพราะฉะน้ันไมวาจะเปนรูปแบบการเขียนประเภทใดก็ตาม ส่ิงที่สําคัญที่สุดคือจะตองเปนเน้ือหาสาระ ทักษะ และองคความรูที่ผูเรียนสามารถนําไปใชไดจริงในอนาคตทั้งในดานการทํางานและ การพัฒนาในสายวิชาการสําหรับการศึกษาตอในระดับที่สูงขึ้น 4. การพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษเพื่อการ ส่ือสารทั่ วไปและการเขี ยนเ ชิง วิชาการสามารถดําเนินการไดในหลากหลายรูปแบบ หลากหลายระดับ ทั้งในดานของการจัดกิจกรรมการเรียนรู การฝกปฏิบัติทางดานการเขียน ไปจนถึงการพัฒนาส่ือทรัพยากรที่ เ อ้ือต อกระบวนการเรียนรูของผู เรียนที่ มีศักยภาพแตกตางกัน การจัดการเรียนการสอนในหองเรียนเก่ียวกับเรื่องหลักไวยากรณและโครงสรางภาษาสวนใหญมักจะสรางความนาเบื่อและความไมนาสนใจใหกับผูเรียน โดยเฉพาะในกรณีที่ผูเรียนคิดวาเรื่องดังกลาวเปนเรื่องที่ยากตอการทําความเขาใจ ตองอาศัยการทองจํา และเม่ือเกิดทัศนคติเชิงลบยอมสงผลตอความไมสนใจของผูเรียนอีกดวย ซ่ึงนอกเหนือจากเทคนิคการสอนที่สามารถนํามาใชเพื่อสรางแรงจูงใจในกระบวนการเรียนรู ในเรื่องดังกลาว การนํานวัตกรรมเทคโนโลยีทางการศึกษาเขามาใชนาจะชวยสงเสริมและกระตุนกระบวนการเรียนรูไดดียิ่งขึ้น ทั้งในแงของการชวยสนับสนุนกิจกรรมการเรียนการสอน การใชเปนชองทางในการส่ือสาร และการใชเปนปจจัยนําเขาในดานกระบวนการเขียน ยกตัวอยางเชน การนําเทคโนโลยีในรูปแบบของเกมส

รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการและนำาเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 1

“นวัตกรรมสร้างสรรค์ ศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน ไทยแลนด์ 4.0”111

Page 11: การศึกษาความต องการในด านองค ความรู ที่สําคัญต อการพัฒนา ... · writing and bibliography

การเรียนรูออนไลนที่ เรียกวา Kahoot จากเ ว็บไซต https: / / kahoot. it/ โ ด ย อา จาร ย ผู ส อ นส าม าร ถลงทะเบียนเขาใชงาน และสรางเกมสการเรียนรูแบบออนไลนไดโดยไมเสียคาใชจาย เพื่อฝกฝนทักษะความรูใหแกผูเรียนเก่ียวกับหลักไวยากรณและโครงสรางประโยคภาษาอังกฤษ พรอมกันน้ี ผูเรียนสามารถแขงขันกันไดทั้งหองโดยใช Smartphone ของแตละคนในการวิเคราะหโครงสรางประโยคและหลักไวยากรณจากคําถามในเกมสที่สรางขึ้นในรูปแบบของ Error Identification เม่ือผูเรียนเลือกคําตอบไดถกูตองและมีความรวดเร็วก็จะไดคะแนนในการแขงขัน ซ่ึงกิจกรรมดังกลาวน้ีนาจะสรางความสนุกและสงเสริมการมีสวนรวม พรอมทั้งปรับทัศนคติที่ดีใหกับผูเรียนไดในระดับที่ดีกวาการทองจําหลักไวยากรณจากบทเรียนเชนในอดีตการใชนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษามาใชในรูปแบบของฐานความรู (Knowledge-based Resources) ซ่ึงมีลักษณะเปนแหลงการเรียนรูในรูปแบบของเว็บไซตบนระบบเครือขายอินเตอรเน็ตที่เปดโอกาสใหผูเรียนสามารถศึกษาคนควาหาความรูไดอยางมีการเชื่อมโยงและมีปฏิสัมพันธไดดวยตนเองอยางตอเน่ืองตลอดเวลา รวมทั้งการนําส่ือสังคมหรือ Social Media ทั้งในรูปแบบของ Facebook Line Twitter มาใชสําหรับเปนชองทางในการติดตอส่ือสารระหวางผูสอนและผูเรียน จะเปนประโยชนอยางยิ่งในการสนทนา การถามตอบประเด็นปญหาทางดานการเขียนภาษาอังกฤษแบบเวลาเสมือนจริง (Real-time Communication) รวมไปถึงการแนบไฟลเพื่อการสงงานเขียน การแกไขงานเขียน พรอมทั้งใหผลยอนกลับสูผู เรียน (Feedback) นวัตกรรมเหลาน้ีสามารถชวยสงเสริมและพัฒนาศักยภาพทางดานการเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการไดทั้งในดานของชองทางการติดตอส่ือสาร ส่ือทรัพยากรทางการเรียนรู และการสรางปจจัยนําเขาทางดานการเขียนโดยสามารถใชบรรจุขอมูลและเก็บรวบรวมเ น้ือหาสาระ ทักษะ และองคความรูเก่ียวกับหลักไวยากรณและโครงสรางประโยคพื้นฐาน การเขียนภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสารทั่วไป การเขียนภาษาอังกฤษเพื่อการประกอบอาชีพ และการเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการไดอยางมีความหลากหลาย รวมทั้งเทคนิคการเขียนในรูปแบบตางๆ พรอมทั้งนําเสนอตัวอยางการเขียน หลักการเขียนทั้งในรูปแบบภาษาไทยและภาษาอังกฤษเพื่อเอ้ือตอการเรียนรูของผูเรียนที่มีศักยภาพตางกัน ไปจนถึงแหลงศึกษาเรียนรูเพื่อ ความบันเทิง เชน เกมสฝกทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ ส่ือมัลติมีเดียในรูปแบบของคลิปเพลงและภาพยนตรตางประเทศ เว็บไซต

แหลง สํานักขาวตางๆ ทั่ วโลก ตลอดจนพจนานุกรมภาษาอังกฤษ (Dictionary) และแบบฝกหั ดออนไลนทางดานการเขียน เพื่อใหผู เรียนไดใชส่ิงเหลาน้ีเปนปจจัยนําเขาในการจุดประเด็นทางดานความคิด แลวถายทอดไปสูกระบวนการทางดานการเขียนในรูปแบบตางๆ แตอยางไรก็ตามปจจัยสําคัญที่สุดคือ อาจารยผูสอน ซ่ึงจะตองเปนผูใหการกํากับดูแลในกระบวนการเรียนรู ใหขอเสนอแนะ ใหการแกไข ใหผลตอบกลับแก ผู เ รียนแตละคนที่ มีศักยภาพทางการเรียนรูในระดับที่แตกตางกัน รวมทั้งสรางแรงจูงใจเพื่อสงเสริมกระบวนการพัฒนาและการเรียนรูในเน้ือหาสาระ ทักษะ และองคความรูดังกลาว ทั้งน้ี การใหผูเรียนไดอาน ไดสัมผัสกับปจจัยนําเขาตางๆ ไดฝกคิดวิเคราะหและสัง เคราะห แล วจึ ง นํามาสู กระบวนเขี ยนถือว า เปนองคประกอบที่สําคัญที่สุดในการพัฒนาความรูความสามารถและทักษะ ควบคูไปกับการกํากับดูแล แกไขขอบกพรองที่เกิดขึ้นจากการเขียนเพื่อใหผูเรียนไดเรียนรูจากขอผิดพลาดไดใชสมมุติฐานในการสังเกตโครงสรางและกลไกการใชภาษา เพื่อเปนรากฐานสําคัญในการพัฒนาความรูและทักษะทางดานการเขียนตอไป ขอเสนอแนะ 1. ขอเสนอแนะที่ไดจากการวิจัยครั้งน้ี 1.1 ควรใหความสําคัญกับเ น้ือหาสาระ ทักษะ และองคความรูทางดานหลักไวยากรณภาษาอังกฤษ (English Grammar) องคประกอบและโครงสรางของประโยค (Parts of Speech and Sentence Structure) ร ว ม ไ ปถึ ง กล ไก ทา ง ด า นก าร ใ ช ภ าษ า ( Language Mechanism) ถือวามีความสําคัญจําเปนอยางยิ่งตอการพัฒนาทักษะการเขียนของผูเรียนในระดับอุดมศึกษา ไมวาจะเปนระดับปริญญาตรีและระดับบณัฑิตศึกษา เม่ือคํานึงถึงวาการเขียนภาษาอังกฤษมีความแตกตางจากการใชภ าษาอั ง กฤษ เพื่ อ กา ร พูด และการ ส่ื อส ารทั่ ว ไป ในชีวิตประจําวันในแงที่วา การเขียนเม่ือไดรับการถายทอด การตีพิมพสารหรือขอมูลลงไปในรูปแบบของอักขระที่เปนสัญลักษณ เพื่ อการ ส่ือความหมายแล ว ถาหากเ กิดขอผิดพลาดขึ้นในดานการใชภาษาซ่ึงสงผลใหเกิดความไมเขาใจความคลุมเครือ ความไมถูกตองในการตีความหมายของสารที่ตองการจะสง ผูสงสารไมสามารถที่จะโตตอบกับผูรับสารโดยใชวัจนะภาษา (Verbal Communication) ซ่ึงเปนภาษาพูดและภาษาเขียน อวัจนะภาษา (Nonverbal Communication) ซ่ึงเปนการส่ือสารจากภาษากาย สีหนา ทาทางเพื่อแกไขขอมูลในเน้ือสารไดทันทวงทีในขณะที่

รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการและนำาเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 1

“นวัตกรรมสร้างสรรค์ ศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน ไทยแลนด์ 4.0”112

Page 12: การศึกษาความต องการในด านองค ความรู ที่สําคัญต อการพัฒนา ... · writing and bibliography

การเรียนรูออนไลนที่ เรียกวา Kahoot จากเ ว็บไซต https: / / kahoot. it/ โ ด ย อา จาร ย ผู ส อ นส าม าร ถลงทะเบียนเขาใชงาน และสรางเกมสการเรียนรูแบบออนไลนไดโดยไมเสียคาใชจาย เพื่อฝกฝนทักษะความรูใหแกผูเรียนเก่ียวกับหลักไวยากรณและโครงสรางประโยคภาษาอังกฤษ พรอมกันน้ี ผูเรียนสามารถแขงขันกันไดทั้งหองโดยใช Smartphone ของแตละคนในการวิเคราะหโครงสรางประโยคและหลักไวยากรณจากคําถามในเกมสที่สรางขึ้นในรูปแบบของ Error Identification เม่ือผูเรียนเลือกคําตอบไดถกูตองและมีความรวดเร็วก็จะไดคะแนนในการแขงขัน ซ่ึงกิจกรรมดังกลาวน้ีนาจะสรางความสนุกและสงเสริมการมีสวนรวม พรอมทั้งปรับทัศนคติที่ดีใหกับผูเรียนไดในระดับที่ดีกวาการทองจําหลักไวยากรณจากบทเรียนเชนในอดีตการใชนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษามาใชในรูปแบบของฐานความรู (Knowledge-based Resources) ซ่ึงมีลักษณะเปนแหลงการเรียนรูในรูปแบบของเว็บไซตบนระบบเครือขายอินเตอรเน็ตที่เปดโอกาสใหผูเรียนสามารถศึกษาคนควาหาความรูไดอยางมีการเช่ือมโยงและมีปฏิสัมพันธไดดวยตนเองอยางตอเน่ืองตลอดเวลา รวมทั้งการนําส่ือสังคมหรือ Social Media ทั้งในรูปแบบของ Facebook Line Twitter มาใชสําหรับเปนชองทางในการติดตอส่ือสารระหวางผูสอนและผูเรียน จะเปนประโยชนอยางยิ่งในการสนทนา การถามตอบประเด็นปญหาทางดานการเขียนภาษาอังกฤษแบบเวลาเสมือนจริง (Real-time Communication) รวมไปถึงการแนบไฟลเพื่อการสงงานเขียน การแกไขงานเขียน พรอมทั้งใหผลยอนกลับสูผู เรียน (Feedback) นวัตกรรมเหลาน้ีสามารถชวยสงเสริมและพัฒนาศักยภาพทางดานการเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการไดทั้งในดานของชองทางการติดตอส่ือสาร ส่ือทรัพยากรทางการเรียนรู และการสรางปจจัยนําเขาทางดานการเขียนโดยสามารถใชบรรจุขอมูลและเก็บรวบรวมเ น้ือหาสาระ ทักษะ และองคความรูเก่ียวกับหลักไวยากรณและโครงสรางประโยคพื้นฐาน การเขียนภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสารทั่วไป การเขียนภาษาอังกฤษเพื่อการประกอบอาชีพ และการเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการไดอยางมีความหลากหลาย รวมทั้งเทคนิคการเขียนในรูปแบบตางๆ พรอมทั้งนําเสนอตัวอยางการเขียน หลักการเขียนทั้งในรูปแบบภาษาไทยและภาษาอังกฤษเพื่อเอ้ือตอการเรียนรูของผูเรียนที่มีศักยภาพตางกัน ไปจนถึงแหลงศึกษาเรียนรูเพื่อ ความบันเทิง เชน เกมสฝกทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ ส่ือมัลติมีเดียในรูปแบบของคลิปเพลงและภาพยนตรตางประเทศ เว็บไซต

แหลง สํานักขาวตางๆ ทั่ วโลก ตลอดจนพจนานุกรมภาษาอังกฤษ (Dictionary) และแบบฝกหั ดออนไลนทางดานการเขียน เพื่อใหผู เรียนไดใชส่ิงเหลาน้ีเปนปจจัยนําเขาในการจุดประเด็นทางดานความคิด แลวถายทอดไปสูกระบวนการทางดานการเขียนในรูปแบบตางๆ แตอยางไรก็ตามปจจัยสําคัญที่สุดคือ อาจารยผูสอน ซ่ึงจะตองเปนผูใหการกํากับดูแลในกระบวนการเรียนรู ใหขอเสนอแนะ ใหการแกไข ใหผลตอบกลับแก ผู เ รียนแตละคนที่ มีศักยภาพทางการเรียนรูในระดับที่แตกตางกัน รวมทั้งสรางแรงจูงใจเพื่อสงเสริมกระบวนการพัฒนาและการเรียนรูในเน้ือหาสาระ ทักษะ และองคความรูดังกลาว ทั้งน้ี การใหผูเรียนไดอาน ไดสัมผัสกับปจจัยนําเขาตางๆ ไดฝกคิดวิเคราะหและสัง เคราะห แล วจึ ง นํามาสู กระบวนเขี ยนถือว า เปนองคประกอบที่สําคัญที่สุดในการพัฒนาความรูความสามารถและทักษะ ควบคูไปกับการกํากับดูแล แกไขขอบกพรองที่เกิดขึ้นจากการเขียนเพื่อใหผูเรียนไดเรียนรูจากขอผิดพลาดไดใชสมมุติฐานในการสังเกตโครงสรางและกลไกการใชภาษา เพื่อเปนรากฐานสําคัญในการพัฒนาความรูและทักษะทางดานการเขียนตอไป ขอเสนอแนะ 1. ขอเสนอแนะที่ไดจากการวิจัยครั้งน้ี 1.1 ควรใหความสําคัญกับเ น้ือหาสาระ ทักษะ และองคความรูทางดานหลักไวยากรณภาษาอังกฤษ (English Grammar) องคประกอบและโครงสรางของประโยค (Parts of Speech and Sentence Structure) ร ว ม ไ ปถึ ง กล ไก ทา ง ด า นก าร ใ ช ภ าษ า ( Language Mechanism) ถือวามีความสําคัญจําเปนอยางยิ่งตอการพัฒนาทักษะการเขียนของผูเรียนในระดับอุดมศึกษา ไมวาจะเปนระดับปริญญาตรีและระดับบณัฑิตศึกษา เม่ือคํานึงถึงวาการเขียนภาษาอังกฤษมีความแตกตางจากการใชภ าษาอั ง กฤษ เพื่ อ กา ร พูด และการ ส่ื อส ารทั่ ว ไป ในชีวิตประจําวันในแงที่วา การเขียนเม่ือไดรับการถายทอด การตีพิมพสารหรือขอมูลลงไปในรูปแบบของอักขระที่เปนสัญลักษณ เพื่ อการ ส่ือความหมายแล ว ถาหากเ กิดขอผิดพลาดขึ้นในดานการใชภาษาซ่ึงสงผลใหเกิดความไมเขาใจความคลุมเครือ ความไมถูกตองในการตีความหมายของสารที่ตองการจะสง ผูสงสารไมสามารถที่จะโตตอบกับผูรับสารโดยใชวัจนะภาษา (Verbal Communication) ซ่ึงเปนภาษาพูดและภาษาเขียน อวัจนะภาษา (Nonverbal Communication) ซ่ึงเปนการส่ือสารจากภาษากาย สีหนา ทาทางเพื่อแกไขขอมูลในเน้ือสารไดทันทวงทีในขณะที่

กระบวนการส่ือสารเกิดขึ้นหรือเพื่อที่จะนําไปสูความเขาใจที่ตรงกันความหมายที่ถูกตอง ครบถวน สมบูรณตามที่ตองการจะส่ือสารได ดังน้ัน องคความรูและทักษะที่กลาวถึงขางตน จึงมีความสําคัญในระดับมากโดยเฉพาะเรื่องของการเขียนภาษาอังกฤษที่จะเปนรากฐานสําคัญตอกระบวนการเขียนที่มีความถูกตองและเหมาะสม การเขียนที่มีประสิทธิภาพเพื่อการส่ือสารความหมายไดอยางถูกตองตามบริบทและตรงจุดตรงประเด็นของเน้ือสารที่ตองการจะส่ือ ทั้งในแงของการเขียนภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสารทั่วไปและการเขียนภาษาอังกฤษเชิง วิชาการที่ มีกลไกและโครงสรางของการใชภาษาที่มีความสลับซับซอนกวา มีการใชคําศัพทที่ยากและมีความเปนทางการมากกวา 1.2 เน้ือหาสาระและองคความรูทางดานการเขียนภาษาอังกฤษในรูปแบบตาง ๆ ถือวามีความสําคัญแกผูเรียนในระดับปริญญาตรีและระดับบัณฑิตศึกษาในลําดับที่แตกตางกันไป โดยมีปจจัยสําคัญที่สุดคือวัตถุประสงคของการเขียน กลาวคือรูปแบบของการเขียนจะมีระดับความยากงาย ระดับความซับซอนของภาษาเขียน กลไกของการใชภาษาและเครื่องหมายวรรคตอน การเลือกใชคําศัพท รูปแบบการเรียบเรียงเ น้ือความที่แตกตางกันไปตามวัตถุประสงคของงานเขียนที่ตองการจะส่ือสารขอมูล เชน ในระดับปริญญาตรีนอกจากผูเรียนจะตองเรียนรูเน้ือหาสาระและทักษะการเขียนเพื่อการส่ือสารในชีวิตประจําวัน ไมวาจะเปนการเขียนบันทึกอนุทินเพื่อบันทึกและสะทอนสาระความรูที่ไดรับจากการเรียนรู การเขียนประวัติยอเพื่อการสมัครงาน (Resume) การเขียนจดหมายโตตอบประเภทตาง ๆ (Correspondence Letters) เพื่อนําไปใชในการประกอบอาชีพในอนาคตแลว ปจจุบันจะตองมีการจัดทําผลงานวิจัยซ่ึงเน้ือหาสาระความรูและทักษะการเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการจึงถือเปนส่ิงที่สําคัญสําหรับผูเรียนในระดับปริญญาตรีอีกเชนเดียวกันเพื่อใหสามารถนําไปใชในการเขียนรายงานเชิงวิชาการและบทคัดยอเปนภาษาอังกฤษไดและเปนรากฐานสําคัญในการพัฒนาทักษะดานการเขียนที่ยากขึ้นตอไป รูปแบบการเขียนบางประเภทมีขอจํากัดตามความตองการของผูเรียนและการนําไปใชซ่ึงอาจจะไมสําคัญกับผูเรียนทุกคน เชน การเขียนเรียงความเชิงปรัชญา ซ่ึงจะเหมาะสมกับผูที่เรียนทางดานปรัชญาและวรรณกรรม การเขียนคําปราศรัยเพื่อนําเสนอตอสาธารณะ ซ่ึงจะใชเพื่อเปนบทพูดสําหรับการนําเสนอตอที่สาธารณะ เปนตน การเขียนในรูปแบบอ่ืน ๆ เชน การเขียนเรียงความแบบยกตัวอยางสนับสนุน การเขียนเรียงความเชิงบรรยาย การเขียนชมเรื่อง การเขียนเรียงความเชิงวิจารณและเชิง

วิเคราะห การเขียนเรียงความแบบการใหนิยามและคําจํากัดความ การเขียนเรียงความเชิงจําแนกและจัดประเภท โดยเน้ือหาสาระความรูและทักษะการเขียนเหลาน้ีสามารถนํามาบูรณาการและตกผลึกมาสูการเขียนเชิงวิชาการและงานวิจัยในบทตาง ๆ ได เพราะฉะน้ันไมวาจะเปนรูปแบบการเขียนประเภทใดก็ตาม ส่ิงที่สําคัญที่สุดคือจะตองเปนเน้ือหาสาระ ทักษะ และองคความรูที่ผูเรียนสามารถนําไปใชไดจริงในอนาคตทั้งในดานการทํางานและการพัฒนาในสายวิชาการสําหรับการศึกษาตอในระดับที่สูงขึ้น 1.3 การนํานวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษามาใชในรูปแบบของฐานความรู (Knowledge -based Resources) ซ่ึงมีลักษณะเปนแหลงการเรียนรูในรูปแบบของเว็บไซตบนระบบเครือขายอินเตอรเน็ตที่เปดโอกาสใหผูเรียนสามารถศึกษาและคนควาหาความรูไดอยางมีการเช่ือมโยงและมีปฏิสัมพันธไดดวยตนเองอยางตอเน่ืองตลอดเวลา จากแนวคิดดังกลาว การนําฐานความรูมาใชในกระบวนการสงเสริมและพัฒนาศักยภาพทางดานการเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการโดยมุงใหผู เรียนเกิดการศึกษาคนควาดวยตนเองอยางมีอิสระจึงนาจะเปนอีกชองทางหน่ึงที่มีความสําคัญนอกเหนือจากการจัดประสบการณการเรียนรูในแบบเดิมที่เนนการใชตํารา ส่ือส่ิงพิมพ และเอกสารเปนเครื่องมือในกระบวนการเรียนรู ทั้ง น้ี ฐานความรูดังกลาวสามารถบรรจุขอมูลและเก็บรวบรวมเน้ือหาสาระ ทักษะ และองคความรูเก่ียวกับหลักไวยากรณและโครงสรางประโยคพื้นฐาน การเขียนภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสารทั่วไป การเขียนภาษาอังกฤษเพื่อการประกอบอาชีพ และการเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการไดอยางมีความหลากหลาย รวมทั้งเทคนิคการเขียนในรูปแบบตางๆ ที่ไดจากการทําวิจัยเรื่องน้ี พรอมทั้งนําเสนอตัวอยางการเขียน หลักการเขียนทั้งในรูปแบบภาษาไทยและภาษาอังกฤษเพื่อเอ้ือตอการเรียนรูของผูเรียนที่มีศักยภาพตางกัน ไปจนถึงแหลงศึกษาเรียนรู เพื่อความบันเทิง เชน เกมฝกทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ ส่ือมัลติมีเดียในรูปแบบของคลิปเพลงและภาพยนตรจาก YouTube เ ว็บไซตแหลง สํานักขาวในตางประเทศ โดยส่ือทรัพยากรทั้งหมดน้ีสามารถนํามาใชเปนปจจัยนําเขาทางดานความรูและความคิดเพื่อนํามาสูการฝกฝนกระบวนการเขียนไดในลําดับตอไป ทั้งน้ี เว็บไซตฐ าน ค ว าม รู ค ว ร ร วม เ อ าพ จนา นุก ร ม ( Dictionary) แบบฝกหัดออนไลนและชองทางในการติดตอส่ือสารกับอาจารย ผู สอนเพื่อช วย ใหข อ เสนอแนะและ อํานวยกระบวนการเรียนรู พรอมทั้งกํากับดูแลการเรียนรูของ

รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการและนำาเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 1

“นวัตกรรมสร้างสรรค์ ศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน ไทยแลนด์ 4.0”113

Page 13: การศึกษาความต องการในด านองค ความรู ที่สําคัญต อการพัฒนา ... · writing and bibliography

ผู เรียน เพื่อใหการใชนวัตกรรมดังกลาวเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชนสูงสุด 1.4 นวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศสามารถนํามาใชเปนแหลงขอมูลในรูปแบบของส่ือวิดีทัศน เพลง ภาพยนตร รวมไปถึง ส่ือที่อยู ในรูปแบบของบทความ ขาวสาร และส่ือส่ิงพิมพที่นําเสนอเรื่องราวที่นาสนใจตาง ๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจําวัน เพื่อใหผูเรียนไดใชส่ิงเหลาน้ีเปนปจจัยนําเขาในการจุดประเด็นทางดานความคิด แลวถายทอดไปสูกระบวนการทางดานการเขียนในรูปแบบตางๆ เชน การใหผูเรียนไดรับชมภาพยนตรเพื่อใหเกิดการคิดวิเคราะห สังเคราะห จากน้ันจึงใหผู เรียนเขียนวิจารณภาพยนตรที่ ไดรับชม หรือให ผู เ รียนไดอานงานวิจัยที่หลากหลายแลวนํามาฝกเขียนงานเชิงวิชาการในลักษณะของบททบทวนวรรณกรรม เปนตน 2. ขอเสนอแนะในการวิจัยครั้งตอไป 2.1 ควรศึกษาเก่ียวกับการใชปจจัยนําเขา (Input) ทางดานความคิดและกระบวนการเขียนในรูปแบบใด ในลักษณะใด ที่จะสงผลตอการพัฒนาทัศนคติที่ดีของผูเรียนทั้งในแงของการเขียนทั่วไปและการเขียนเชิงวิชาการ โดยสามารถดําเนินงานวิจัยไดใน 2 รูปแบบ คือ รูปแบบที่หน่ึง การวิจัยเชิงเปรียบเทียบ (Comparative Study) เก่ียวกับการใชปจจัยนําเขาหลากหลายรูปแบบทั้งที่เปนส่ือส่ิงพิมพและส่ือมัลติมีเดีย ทั้งในแงของการกระตุนและจุดประกายความคิด และในแงของการสงเสริมใหผูเรียนเกิดการพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษจากการนําเสนอองคความรู แนวคิดทฤษฎี และเทคนิคในกระบวนการเขียนตาง ๆ โดยมุงศึกษาเปรียบเทียบเก่ียวกับการใชปจจัยนําเขาเหลาน้ีในการจัดการเรียนการสอน และการจัดการเรียนการสอนโดยใชตําราแบบเดิม ๆ ซ่ึงปราศจากปจจัยนําเขาที่กลาวถึงเพื่อเปรียบเทียบวาจะสงผลตอการพัฒนาทักษะการเขียนทั่วไปและการเขียนเชิงวิชาการอยางมีความแตกตางกันหรือไม อยางไร รูปแบบที่สองคือ การวิจัยเชิงสํารวจความตองการ (Need Analysis) ซ่ึงเม่ือนําปจจัยนําเขาทางดานความคิดในรูปแบบตาง ๆ เขามาใชเพื่อสงเสริมและพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ ผูเรียนมีความตองการในปจจัยนําเขาทั้งที่เปนส่ือเทคโนโลยีและเปนส่ือส่ิงพิมพในชีวิตประจําวันในรูปแบบใดมากที่สุด โดยเปน

ส่ิงที่ผูเรียนคิดวาจะชวยกระตุนและสรางทัศนคติเชิงบวกใหเกิดการเรียนรูดวยตนเองเพื่อใหเกิดการฝกฝนและพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษไดเปนอยางด ี 2.2 ควรพิจารณาการวิจัยเชิงพัฒนาเก่ียวกับการสรางฐานความรูทักษะการเขียนภาษาอังกฤษทั่วไปและภาษาอังกฤษเชิงวิชาการที่มีลักษณะเปนแหลงศึกษาคนควาเรียนรูอิเลคทรอนิกสในรปูแบบของเว็บไซตเพื่อใชสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนและสงเสริมกระบวนการเรียนรูดวยตนเอง โดยเทคโนโลยีประเภทฐานความรูดังกลาวสามารถนํามาใชไดทั้งในลักษณะของ 2.2.1) แหลงการเรียนรู (Web-based Learning) ที่รวบรวมเน้ือหาสาระความรู เทคนิคการเขียน แบบฝกหัด ไวใหแกผูเรียนไดใชในกระบวนการเรียนรูดวยตนเองเพื่อเสริมกระบวนการเรียนรูที่ ไดรับจากในหองเรียน 2.2.2) ในลักษณะของแหลงทรัพยากรทางการเรียนรู (Web Resources) ที่นําเอาปจจัยนําเขาทางดานความคิดและกระบวนการเขียนเขาไวภายในเพื่อสรางประเด็นทางการเรียนรู กระตุน สนับสนุนและสงเสริมใหเกิดการเรียนรูทั้งในบริบทภายในและภายนอกหองเรียน 2.2.3) ในรูปแบบของชองทางในการติดตอส่ือสาร (Communication Channel) เพื่อใชระหวางผูเรียนและผูสอนในการ ใหผล ลัพธตอบกลับทางด านการ เขี ยน (Feedback) และใชเพื่อเปนชองทางในการส่ือสารรูปแบบอ่ืน ๆ รวมทั้งชองทางในการนําเสนอกรณีศึกษาทางดานการเขียนเพื่อใหบุคคลอ่ืนที่ เขาใชไดศึกษาประเด็นปญหาทางดานการเขียนและแนวทางการปรับปรุงพัฒนาอันจะเปนประโยชนอยางยิ่งตอการพัฒนาทักษะดังกลาวรวมกัน ทั้งน้ีงานวิจัยอนาคตสามารถดําเนินการไดตั้งแตในระดับการสํารวจขอมูลทั้งที่เปนเน้ือหาสาระ องคความรูทางดานการเขียน และองคประกอบที่ควรนํามาพิจารณาใสไว ในฐานความรู เพื่อพัฒนาฐานความรูดังกลาวขึ้นมา จากน้ันจึงควรทําการเชื้อเชิญใหมีการเขาใชทั้งในสวนของผูเรียนและอาจารยผูสอน แลวจึงทําการวิจัยเพื่อประเมินความพึงพอใจในลําดับตอไป โดยควรเริ่มตนแคในระดับมหาวิทยาลัยแหงใดแหงหน่ึงกอนสําหรับการนํารอง เพื่อใหมีการปรับปรุงทั้งในสวนของเน้ือหาสาระและการใชงาน และนําไปสูการนําไปใชในระดับที่กวางขึ้นกับมหาวิทยาลัยตาง ๆ ในลําดับตอไป

รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการและนำาเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 1

“นวัตกรรมสร้างสรรค์ ศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน ไทยแลนด์ 4.0”114

Page 14: การศึกษาความต องการในด านองค ความรู ที่สําคัญต อการพัฒนา ... · writing and bibliography

ผู เรียน เพื่อใหการใชนวัตกรรมดังกลาวเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชนสูงสุด 1.4 นวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศสามารถนํามาใชเปนแหลงขอมูลในรูปแบบของส่ือวิดีทัศน เพลง ภาพยนตร รวมไปถึง ส่ือที่อยู ในรูปแบบของบทความ ขาวสาร และส่ือส่ิงพิมพที่นําเสนอเรื่องราวที่นาสนใจตาง ๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจําวัน เพื่อใหผูเรียนไดใชส่ิงเหลาน้ีเปนปจจัยนําเขาในการจุดประเด็นทางดานความคิด แลวถายทอดไปสูกระบวนการทางดานการเขียนในรูปแบบตางๆ เชน การใหผูเรียนไดรับชมภาพยนตรเพื่อใหเกิดการคิดวิเคราะห สังเคราะห จากน้ันจึงใหผู เรียนเขียนวิจารณภาพยนตรที่ ไดรับชม หรือให ผู เ รียนไดอานงานวิจัยที่หลากหลายแลวนํามาฝกเขียนงานเชิงวิชาการในลักษณะของบททบทวนวรรณกรรม เปนตน 2. ขอเสนอแนะในการวิจัยครั้งตอไป 2.1 ควรศึกษาเก่ียวกับการใชปจจัยนําเขา (Input) ทางดานความคิดและกระบวนการเขียนในรูปแบบใด ในลักษณะใด ที่จะสงผลตอการพัฒนาทัศนคติที่ดีของผูเรียนทั้งในแงของการเขียนทั่วไปและการเขียนเชิงวิชาการ โดยสามารถดําเนินงานวิจัยไดใน 2 รูปแบบ คือ รูปแบบที่หน่ึง การวิจัยเชิงเปรียบเทียบ (Comparative Study) เก่ียวกับการใชปจจัยนําเขาหลากหลายรูปแบบทั้งที่เปนส่ือส่ิงพิมพและส่ือมัลติมีเดีย ทั้งในแงของการกระตุนและจุดประกายความคิด และในแงของการสงเสริมใหผูเรียนเกิดการพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษจากการนําเสนอองคความรู แนวคิดทฤษฎี และเทคนิคในกระบวนการเขียนตาง ๆ โดยมุงศึกษาเปรียบเทียบเก่ียวกับการใชปจจัยนําเขาเหลาน้ีในการจัดการเรียนการสอน และการจัดการเรียนการสอนโดยใชตําราแบบเดิม ๆ ซ่ึงปราศจากปจจัยนําเขาที่กลาวถึงเพื่อเปรียบเทียบวาจะสงผลตอการพัฒนาทักษะการเขียนทั่วไปและการเขียนเชิงวิชาการอยางมีความแตกตางกันหรือไม อยางไร รูปแบบที่สองคือ การวิจัยเชิงสํารวจความตองการ (Need Analysis) ซ่ึงเม่ือนําปจจัยนําเขาทางดานความคิดในรูปแบบตาง ๆ เขามาใชเพื่อสงเสริมและพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ ผูเรียนมีความตองการในปจจัยนําเขาทั้งที่เปนส่ือเทคโนโลยีและเปนส่ือส่ิงพิมพในชีวิตประจําวันในรูปแบบใดมากที่สุด โดยเปน

ส่ิงที่ผูเรียนคิดวาจะชวยกระตุนและสรางทัศนคติเชิงบวกใหเกิดการเรียนรูดวยตนเองเพื่อใหเกิดการฝกฝนและพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษไดเปนอยางด ี 2.2 ควรพิจารณาการวิจัยเชิงพัฒนาเก่ียวกับการสรางฐานความรูทักษะการเขียนภาษาอังกฤษทั่วไปและภาษาอังกฤษเชิงวิชาการที่มีลักษณะเปนแหลงศึกษาคนควาเรียนรูอิเลคทรอนิกสในรปูแบบของเว็บไซตเพื่อใชสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนและสงเสริมกระบวนการเรียนรูดวยตนเอง โดยเทคโนโลยีประเภทฐานความรูดังกลาวสามารถนํามาใชไดทั้งในลักษณะของ 2.2.1) แหลงการเรียนรู (Web-based Learning) ที่รวบรวมเน้ือหาสาระความรู เทคนิคการเขียน แบบฝกหัด ไวใหแกผูเรียนไดใชในกระบวนการเรียนรูดวยตนเองเพื่อเสริมกระบวนการเรียนรูที่ ไดรับจากในหองเรียน 2.2.2) ในลักษณะของแหลงทรัพยากรทางการเรียนรู (Web Resources) ที่นําเอาปจจัยนําเขาทางดานความคิดและกระบวนการเขียนเขาไวภายในเพื่อสรางประเด็นทางการเรียนรู กระตุน สนับสนุนและสงเสริมใหเกิดการเรียนรูทั้งในบริบทภายในและภายนอกหองเรียน 2.2.3) ในรูปแบบของชองทางในการติดตอส่ือสาร (Communication Channel) เพื่อใชระหวางผูเรียนและผูสอนในการ ใหผล ลัพธตอบกลับทางด านการ เขี ยน (Feedback) และใชเพื่อเปนชองทางในการส่ือสารรูปแบบอ่ืน ๆ รวมทั้งชองทางในการนําเสนอกรณีศึกษาทางดานการเขียนเพื่อใหบุคคลอ่ืนที่ เขาใชไดศึกษาประเด็นปญหาทางดานการเขียนและแนวทางการปรับปรุงพัฒนาอันจะเปนประโยชนอยางยิ่งตอการพัฒนาทักษะดังกลาวรวมกัน ทั้งน้ีงานวิจัยอนาคตสามารถดําเนินการไดตั้งแตในระดับการสํารวจขอมูลทั้งที่เปนเน้ือหาสาระ องคความรูทางดานการเขียน และองคประกอบที่ควรนํามาพิจารณาใสไว ในฐานความรู เพื่อพัฒนาฐานความรูดังกลาวขึ้นมา จากน้ันจึงควรทําการเชื้อเชิญใหมีการเขาใชทั้งในสวนของผูเรียนและอาจารยผูสอน แลวจึงทําการวิจัยเพื่อประเมินความพึงพอใจในลําดับตอไป โดยควรเริ่มตนแคในระดับมหาวิทยาลัยแหงใดแหงหน่ึงกอนสําหรับการนํารอง เพื่อใหมีการปรับปรุงทั้งในสวนของเน้ือหาสาระและการใชงาน และนําไปสูการนําไปใชในระดับที่กวางขึ้นกับมหาวิทยาลัยตาง ๆ ในลําดับตอไป

รายการอางอิง

พันทิพา เข็มทอง. (2534). การศึกษาขอบกพรองในการเขียนภาษาอังกฤษของนักศึกษาวิชาเอกการสอนภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยรามคําแหง. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคําแหง.

พรทิพย ปลอดโปรง. (2535). ความเขาใจในการอาน ความสามารถในการเขียนภาษาอังกฤษและความคงทนในการจําของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปที่ 5 โดยการสอนแบบมุงประสบการณ ภาษากับการสอนตามปกติ. ชลบุร ี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

พิตรวัลย โกวิทวท.ี (2537). ทักษะและเทคนคิการสอนเขียนภาษาอังกฤษระดับประถมศึกษา. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

สันติ แสงสุก. (2535). ผลและความคงทนทางการเรียนรูคําศัพทวิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปที่ 5 ระหวางการสอนโดยใชเกมและการสอนปกติ. ชลบุร ี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

สมบูรณ วิภาวีนุกูล. (2528). การวิเคราะหขอบกพรองในการเขียนเรียงความภาษาอังกฤษของนักศึกษาครุศาสตรบัณฑติภายหลังบทเรียนการเขียนเพื่อส่ือความหมายและการเขียนเรียงความแบบเดิม. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร.

สุมาลี สังขศรี. (2544). การศึกษาตลอดชีวิตเพื่อสังคมไทยในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ : สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาต.ิ

สุมิตรา อังวัฒนกุล. (2536). แนวคิดและเทคนิควิธีการสอนภาษาอังกฤษระดับมัธยมศึกษา. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

สุมิตรา อังวัฒนกุล. (2537). กิจกรรมการสอนภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสาร. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

สุไร พงษทองเจริญ. (2525). วิธีสอนภาษาอังกฤษสําหรับผูเร่ิมเรียน. กรุงเทพฯ : ประมวลศิลป. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาต.ิ (2542). พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และทีแ่กไขเพิ่มเติม

(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ : สํานักนายกรัฐมนตรี. เสาวลักษณ รัตนวิชช. (2531). เอกสารคําสอนหลักสูตรและการสอนภาษาอังกฤษในโรงเรียนมัธยมศึกษา. กรุงเทพฯ :

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร. Bennui, P. (2008). “A Study of L1 Interference in the Writing of Thai EFL Students,” Journal of ELT

Research. 4 : 72-102. Lado, R. (1961). Language Testing. N.Y. : McGraw Hill. Langan, J. (2005). College Writing Skills. 6th Ed. New York : McGraw-Hill. Merriam, S.B., & Caffarella, R.S. (1991). Learning in Adulthood : A Comprehensive Guide. San Francisco,

CA : Jossey-Bass. Learning Support of Monash University. (2007). Some Common Problems. (Online). Available :

http://www.monash.edu.au/lls/llonline/writing/general/academic/7.xml Heaton, J.B. (1975). Writing English Language Tests. London : Longman Group.

รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการและนำาเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 1

“นวัตกรรมสร้างสรรค์ ศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน ไทยแลนด์ 4.0”115