15
ความรู เบื ้องตน เรื ่อง DNA Fingerprint พญ. พรทิพย โรจนสุนันท + บทบัณฑิตย เลมที่ 57 ตอน 1 มีนาคม 2544 หนา 86-100 ในปจจุบันมีการพูดเรื่อง DNA Fingerprint หรือลายพิมพ DNA ในกระบวนการ ยุติธรรมกันมากขึ้น คดีแรกที่เริ่มรูจัก คือ คดีฆาตกรรมภรรยาของ โอ เจ ซิมบสัน ในสหรัฐอเมริกา สวนในประเทศไทยเริ ่มรู จักจากกรณี ยันตระ จนถึงนักรองดัง มนตสิทธิ์ ซึ่งเปนเรื่องการพิสูจน พอ แม ลูก และที่โดงดังที่สุดคงเปนคดีฆาตกรรม . . เจนจิรา นักศึกษาแพทยของคณะแพทยศาสตร โรงพยาบาลรามาธิบดี โดยมีการใชการตรวจ DNA พิสูจนหลักฐานจนนํามาซึ่งคําตัดสิน ขณะเดียวกันในป ๒๕๔๔ ก็มีคดีที่คลายคลึงคดีเจนจิรา คือ การหายตัวไปของคุณหมอผัสพร ซึ ่งมีประเด็นเกี ่ยวของกับ DNA เชนกัน ซึ ่งคนทั ่วไปยังเขาใจเรื ่องนี ้นอยมาก คําวา DNA Fingerprint เปนการนําเอาคําภาษาอังกฤษสองคํามาประกอบกัน โดย DNA เปนตัวยอของ "Deoxy ribonucleic acid" ซึ่งเปนองคประกอบพื้นฐานของสารพันธุกรรม สวนคําวา "Fingerprint" จริงๆ แลวหมายความถึง ลายพิมพนิ้วมือที่ปลายนิ้วทั้งสิบของมนุษย ซึ่งลายพิมพนิ้วมือ ทั้งสิบของมนุษย ใชเปนลักษณะเฉพาะบุคคล (Individualization) ในการพิสูจนบุคคล (Identification) ทางนิติเวชมาแตเดิม เมื่อนํามารวมกันเปน DNA Fingerprint จะมีความหมาย วา ลายพิมพ DNA ซึ่งมีลักษณะเฉพาะบุคคลเหมือนลายพิมพนิ้วมือ ในปจจุบันนักวิทยาศาสตรไดตรวจพบลําดับของ DNA ในสวนที่เรียกวา "ยีน" (Gene) ซึ ่งเปน DNA ในสวนของหนวยควบคุมการทํางานของเซลตาง ในรางกาย ดังนั ้น การตรวจลําดับของ DNA หรือการหาขอมูล DNA จึงอาจเรียกวา "DNA Profiling" ซึ่งมีความหมาย กวางกวาเดิม ความรู เบื ้องตน กอนที่จะทําความเขาใจเรื่องการตรวจ DNA Fingerprint คงตองมาทําความ เขาใจในความรูพื้นฐานของ DNA ดังนี คือ Ι หัวหนาหนวยนิติเวช ภาควิชาพยาธิวิทยา โรงพยาบาลรามาธิบดี , หัวหนาหนวยตรวจศพ ภาควิชาพยาธิวิทยา โรงพยาบาลรามาธิบดี , ผู อํานวยการนายแพทย () กองแพทย สถานพินิจและคุ มครองเด็กและเยาวชนกลาง, โฆษกกระทรวงยุติธรรม

ความรู เบื้องต น เรื่อง DNA Fingerprintforensicrpca.com/data/article/DNA1.pdf · 2018-02-12 · ความรู เบื้องต น

  • Upload
    others

  • View
    5

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ความรู เบื้องต น เรื่อง DNA Fingerprintforensicrpca.com/data/article/DNA1.pdf · 2018-02-12 · ความรู เบื้องต น

ความรูเบ้ืองตน เร่ือง DNA Fingerprintพญ. พรทิพย โรจนสุนันท +บทบัณฑิตย เลมที่ 57 ตอน 1 มีนาคม 2544 หนา 86-100

ในปจจุบันมีการพดูเร่ือง DNA Fingerprint หรือลายพมิพ DNA ในกระบวนการยุตธิรรมกนัมากข้ึน คดแีรกท่ีเร่ิมรูจัก คอื คดฆีาตกรรมภรรยาของ โอ เจ ซิมบสนั ในสหรัฐอเมริกาสวนในประเทศไทยเร่ิมรูจักจากกรณี ยันตระ จนถึงนักรองดัง มนตสิทธิ ์ซึ่งเปนเรื่องการพิสูจน พอ แม ลกู และท่ีโดงดงัท่ีสดุคงเปนคดฆีาตกรรม น.ส.เจนจิรา นักศกึษาแพทยของคณะแพทยศาสตรโรงพยาบาลรามาธิบดี โดยมีการใชการตรวจ DNA พิสูจนหลักฐานจนนํามาซ่ึงคําตัดสิน ขณะเดียวกันในป ๒๕๔๔ ก็มีคดีที่คลายคลึงคดีเจนจิรา คือ การหายตัวไปของคุณหมอผัสพร ซ่ึงมีประเด็นเก่ียวของกับ DNA เชนกัน ซ่ึงคนท่ัวไปยังเขาใจเร่ืองน้ีนอยมาก คําวา DNA Fingerprint เปนการนําเอาคําภาษาอังกฤษสองคํามาประกอบกัน โดย DNA เปนตัวยอของ"Deoxy ribonucleic acid" ซ่ึงเปนองคประกอบพื้นฐานของสารพันธุกรรม สวนคําวา "Fingerprint" จริงๆ แลวหมายความถงึ ลายพมิพน้ิวมือท่ีปลายน้ิวท้ังสบิของมนุษย ซ่ึงลายพมิพน้ิวมือท้ังสิบของมนุษย ใชเปนลักษณะเฉพาะบุคคล (Individualization) ในการพิสูจนบุคคล(Identification) ทางนิติเวชมาแตเดิม เม่ือนํามารวมกันเปน DNA Fingerprint จะมีความหมายวา ลายพิมพ DNA ซึ่งมีลักษณะเฉพาะบุคคลเหมือนลายพิมพนิ้วมือ

ในปจจุบันนักวิทยาศาสตรไดตรวจพบลําดับของ DNA ในสวนที่เรียกวา "ยีน" (Gene) ซ่ึงเปน DNA ในสวนของหนวยควบคุมการทํางานของเซลตาง ๆ ในรางกาย ดังน้ัน การตรวจลาํดบัของ DNA หรือการหาขอมูล DNA จึงอาจเรียกวา "DNA Profiling" ซ่ึงมีความหมายกวางกวาเดิม

ความรูเบ้ืองตนกอนที่จะทําความเขาใจเร่ืองการตรวจ DNA Fingerprint คงตองมาทําความ

เขาใจในความรูพื้นฐานของ DNA ดังน้ี คือ

Ι หวัหนาหนวยนิติเวช ภาควชิาพยาธวิทิยา โรงพยาบาลรามาธบิดี, หวัหนาหนวยตรวจศพ ภาควชิาพยาธวิทิยา โรงพยาบาลรามาธิบดี, ผูอํานวยการนายแพทย (๘) กองแพทย สถานพินิจและคุมครองเด็กและเยาวชนกลาง, โฆษกกระทรวงยุติธรรม

Page 2: ความรู เบื้องต น เรื่อง DNA Fingerprintforensicrpca.com/data/article/DNA1.pdf · 2018-02-12 · ความรู เบื้องต น

๑. ในรางกายของสิง่มีชีวติทุกชนิด จะประกอบไปดวยเน้ือเย่ือของอวยัวะตางๆเชน ตบั มาม ไต ซ่ึงอวยัวะตางๆ เหลาน้ีจะประกอบไปดวยเซลเลก็ๆ มากมาย โดยมนุษยเรามีเซลในรางกายรวมกันเปนจํานวนถงึ ๓๐๐ ลานเซล

๒. เซลทุกเซลในรางกายจะมีองคประกอบคือ นิวเคลียส (Nucleus) และ ไซโตพลาสซึม (Cytoplasm) ยกเวนเซลเม็ดเลือดแดงไมมีนิวเคลยีส โดยสารพันธุกรรม DNAท่ีวาน้ีจะมีอยูในนิวเคลียสโดยอยูในโครโมโซม (Chromosome) และมีอยูในไซโตพลาสซึม โดยอยูในไมโตคอนเดรีย (Mitochondria)

๓. มนุษยเราจะมีโครโมโซม ๔๖ อนั อยูเปนคู ๒๓ คู แบงเปนโครโมโซมรางกาย๒๒ คู (Autosome) และเปนโครโมโซมเพศ ๑ คู (Sex chromosome) คือ X และ Y โดยผูหญิงมี XX และผูชายมี XY

๔. โครโมโซมในเซลของรางกายมนุษย เกดิมาจากการผสมกนัระหวางไข (Ovum)จากมารดา ซ่ึงจะพาโครโมโซมมา ๒๓ อัน กับเชื้ออสุจิ (Sperm) จากบิดา ซ่ึงพาโครโมโซมมา ๒๓ อัน เชนกัน เมื่อมีการผสมกันเปนตัวออนจะรวมตัวเปนโครโมโซม ๒๓ คู ดงัน้ันสารพนัธุกรรม DNA ในนิวเคลยีสจึงมาจากบิดาและมารดาอยางละคร่ึง แตในการเกดิตัวออนของมนุษยน้ัน ไซโตพลาสซึมจะมาจากมารดา ๑๐๐ เปอรเซ็นต ไมเหมือนนิวเคลียส ดังน้ันDNA ในไมโตคอนเดรีย จึงไดรับมาจากมารดา ๑๐๐ เปอรเซ็นต

๕. โครโมโซมมีสวนประกอบของสารพนัธกุรรม DNA ขดตวัจับกบัโปรตนี โดยDNA จะมีโครงสรางพื้นฐาน เปนเสนคู (Double - stand) บิดเปนเกลียว (Helix)

๖. สารพันธุกรรม DNA ประกอบไปดวย การจับตัวขององคประกอบทางเคมี ๔ ชนิด หรือเรียกวา base คือ Adenine Thymine Cytosine และ Guanine ซ่ึงการเรียงตัวของเบส (Base) เหลานี้ เปรียบเสมือนเปนรหัสขอมูลภายในเซล

๗. สารพนัธกุรรมท่ีมีในโครโมโซมน้ีจะแบงเปน ๒ สวน โดยสวนแรกจะทําหนาท่ีควบคมุการทํางานในการสรางโปรตนีตางๆ เพือ่นําไปใชในการทํางานของเซลตางๆ ในอวยัวะของรางกายสวนนี้เรียกวา "Gene" ซึ่งมีเพียงสิบเปอรเซ็นตของจํานวน DNA ในนิวเคลียส สวนที่สองเปนสวนท่ีไมไดทําหนาท่ีอะไรเปนพิเศษเรียกวา "Stutters" ซ่ึงมีถึงเกาสบิเปอรเซ็นตของดเีอน็เอท้ังหมด ซ่ึง DNA ในสวนน้ีมีความหลากหลายในการเรียงตวัของเบส โดยนักจิตวิทยาไดศึกษาพบวาการเรียงตัวของเบสในสวนท่ีเปนยีนสอาจจะมีการซํ้ากันไดในคนแตละคน เพราะเปนสวนท่ีควบคมุหนาท่ีตางๆ ของอวยัวะในรางกายซ่ึงมีความหลากหลายไมมากนัก เชน ยีนสควบคุมสีตาก็จะมีแคสีฟา สีนํ้าตาล เปนตน การเรียงตัวของเบสในสวนน้ีจึงไมสามารถนํา

Page 3: ความรู เบื้องต น เรื่อง DNA Fingerprintforensicrpca.com/data/article/DNA1.pdf · 2018-02-12 · ความรู เบื้องต น

มาพิสูจนบุคคลได แตในปจจุบันไดมีการศึกษาลําดับเบสในสวน Gene นี้เพื่อนํามาตรวจหาความผิดปกติของ Gene ได จะมีสวนเก่ียวของในการวินิจฉัย รักษาโรคตางๆ เชน โรคเลือด ทาลัสซีเมีย หรือโรคมะเร็ง เปนตน ซ่ึงในป ๒๐๐๐ ไดมีการถอดรหัสของ Gene ไดหมดแลว

๘. สารพันธุกรรม DNA ในสวน "Stutters" น้ี เปรียบเสมือนเปนลายเซ็นตของเรา (Signature) เนื่องมาจากคุณลักษณะเฉพาะบุคคลดังกลาวในขอ ๗ ท้ังน้ี นักวทิยาศาสตรท่ีคนพบคุณสมบัติเฉพาะขอน้ี ไดทําการวิจัยและยืนยันไดวา โอกาสท่ีการเรียงตัวของเบสใน DNA สวนน้ีจะมีโอกาสซํ้ากันระหวางคนสองคนซ่ึงไมมีความเกี่ยวพันทางพันธุกรรมกันเลย เพียงหนึ่งในหนึ่งลานพันลานคน (million - billion)

๙. การตรวจลาํดบัเบสในสวน "Stutter" เพือ่พสิจูนบุคคล ไมไดตรวจสอบใหครบทุกเบสของโครโมโซมทุกเสน แตนักจิตวิทยาไดศึกษาวิจัยพบวา สามารถใชบางตําแหนงบนโครโมโซม ๒๓ คูน้ี มาเปรียบเทียบ เนื่องจากบางตําแหนงมีความหลากหลายมาก โดยไดกาํหนดเกณฑมาตรฐานวา ในการพสิจูนบุคคลดวยวธิ ี DNA Fingerprint น้ี ตองใชการเปรียบเทียบตําแหนง (Locus) อยางนอย ๑๐ ตําแหนง (Loci) ซ่ึงปจจุบัน FBI ของอเมริกาไดกําหนดเกณฑวาตองตรวจถึงสิบสามตําแหนง และกําลังจะปรับเปลี่ยนเปนสิบหกตําแหนง

๑๐. การตรวจ DNA Fingerprint ของไมโตคอนเดรียจะตางกับการตรวจ ในนิวเคลียสโดยจะกําหนดใหมีการเปรียบเทียบเพียง ๔ ตําแหนง เทานั้น การรายงานผลก็ไมเหมือนกับรายงานผลของ DNA นิวเคลียส

จากคณุสมบัตพิืน้ฐานดงักลาวขางตน เราคงเห็นความมหัศจรรยของธรรมชาติท่ีสรางมนุษยมาใหมีสารพนัธกุรรม DNA ท่ีมีคณุสมบัตพิเิศษมากมายรวมถงึความเกงของนักวจัิยนักวิทยาศาสตรที่ศึกษาคนพบเรื่องราวเหลานี้ โดยสรุปความจริงแลวในเซลของรางกายมนุษยน้ีมีสาร DNA อยูในโครงสรางของเซล ๒ สวน คอื ในโครโมโซมในนิวเคลยีส ซ่ึงเปนการถายทอดจากบิดาและมารดาอยางละหาสิบเปอรเซ็นต ซ่ึง DNA สวนน้ีจะมีเพียง ๒ ชุด DNA อีกสวนอยูในโครงสรางท่ีเรียกวา ไมโตคอนเดรีย (Mitochondria) ซ่ึงอยูในไซโตรพลาสซึม DNA สวนนี้ถายทอดมาจากมารดารอยเปอรเซ็นต ซ่ึงอธิบายไดวาในการปฏิสนธิของไขจากมารดากับเช้ืออสุจิจากบิดาน้ัน เกดิจากไขซ่ึงมีไซโตพลาสซึมมาดวย มารวมกบัเช้ืออสจิุ ซ่ึงไมมีไซโตพลาสซึมมาดวย เม่ือเกดิเปนตวัออนข้ึนไซโตพลาสซึมของตวัออนจะมาจากมารดาท้ังหมด โดยไมโตคอนเดรียจะมีเปนจํานวนมากมายในเซลซึ่งหมายความวาจะมีจํานวนมากกวา ๑ ชุด สารพันธุกรรม DNA ในโครโมโซมสวนท่ีเปน "Stutter" มีคุณสมบัติเฉพาะบุคคลซึ่งใชในการพิสูจนบุคคลไดแมนยําท่ีสุดในขณะท่ีสารพันธุกรรม DNA ในไมโตคอนเดรียจะมีลักษณะเฉพาะที่จะพิสูจนบุคคลไดเพียงวาเปนบุคคลท่ีมีสายพันธุทางมารดาเดียวกันยกตัวอยางดังน้ี คือ ครอบครัว

Page 4: ความรู เบื้องต น เรื่อง DNA Fingerprintforensicrpca.com/data/article/DNA1.pdf · 2018-02-12 · ความรู เบื้องต น

นาย ก กับนาง ข มีลูกสาว ๑ คน ลูกชาย ๑ คน มีหลานสาวและหลานชายจากลูกสาว อยางละ ๑ คน มีหลานสาวและหลานชายจากลกูชาย อยางละ ๑ คน DNA ในไมโตคอนเดรีย ของนาง ข ลูกสาว ลูกชาย หลานชาย หญิงที่เกิดจากลูกสาวจะเหมือนกันทุกประการขณะท่ีหลานชาย หญิงท่ีเกิดจากลูกชาย จะมี DNA ในไมโตคอนเดรียเหมือนกับภรรยาของลูกชาย ดังน้ัน ประโยชนท่ีจะไดจากการตรวจ DNA Fingerprint ของโครโมโซมและไมโตคอนเดรียจึงมีจุดประสงคไมเหมือนกัน โดยการตรวจ DNA ในไมโตรคอนเดรียจะนํามาใชในการพิสูจนบุคล เม่ือการตรวจในโครโมโซมมีขอจํากดั เชน ไมมี DNA ตนแบบ หรือไมมี DNA ของบิดา มารดา เน่ืองจากไดเสียชีวิตไปแลว แตกรรมวิธีการตรวจหลักการคลายๆ กัน ดังจะไดกลาวตอไป

ข้ันตอนการทํา DNA Fingerprintขบวนการในการทําใหได DNA Fingerprint ออกมามีข้ันตอนหลายอยาง ซ่ึง

ตองทําโดยระมัดระวังรอบคอบปองกันการผิดพลาดของผลการตรวจ ซึ่งประกอบดวยขั้นตอนตางๆ ดังน้ี

๑. การเก็บตัวอยางสงตรวจ การเก็บรวบรวมวัตถุพยานตางๆ มีกรรมวิธีแตกตางกันตามชนิดของวัตถุพยาน โดยตองยึดหลักเกณฑดังนี้คือ

๑.๑ ตัวอยางที่จะสงตรวจ DNA ตองเปนเซลที่มีนิวเคลียส๑.๒ ตัวอยางท่ีจะสงตรวจตองมี DNA ท่ีมีคุณภาพ ปจจัยท่ีจะทําให DNA

เส่ือมสลายมีดังน้ี∏ ระยะเวลานาน∏ อุณหภูมิที่สูงเกินไป∏ ความชื้นสูง∏ แสงอาทิตย หรือรังสี∏ สารเคมี∏ เชื้อโรค

ปจจัยดังกลาวน้ีไมสามารถทําใหเกิดลายพิมพ DNA เปนของบุคคลอื่นไดเพียงแตทําให DNA เสื่อมสลายจนไมสามารถหาลายพิมพได โดยความเปนจริงแลว DNAเสื่อมสลายไดยากกวา Genetic markers ตัวอื่นที่ใชในทางนิติเวช เชน กรุปเลือด เอ, บี, โอ, โดย DNA สามารถคงอยูไดเปนหลายป ในขณะท่ีโปรตนีหรือ marker ตวัอืน่จะเสือ่มสลายภายใน

Page 5: ความรู เบื้องต น เรื่อง DNA Fingerprintforensicrpca.com/data/article/DNA1.pdf · 2018-02-12 · ความรู เบื้องต น

๒ ถึง ๓ เดือนเทาน้ัน วิธีที่จะรักษา DNA ใหคงสภาพดีที่สุด คือ การทําแหง และเย็นจัด ซ่ึงบุคลากรที่มีหนาที่ตรวจเก็บวัตถุพยานจะตองยึดเปนหลักในการทํางาน

๑.๓ การเก็บตัวอยางสงตรวจตองระมัดระวังการปนเปอน (Contamination)การปนเปอนเกิดจากสาเหตุ ๓ กุลม ดังน้ี

ก. การปนเปอนจากส่ิงไมมีชีวิต (Non - biological contamination)โดยสวนใหญเปนสารเคมี เชน สียอมผม สียอมผา สบู หรือสารเคมีอื่นๆ ซ่ึงจะมีผลทําใหไมสามารถหาลายพิมพ DNA ได

ข. การปนเปอนจากส่ิงมีชีวิตท่ีไมใชมนุษย (Non - human biologicalcontamination) ซ่ึงหมายถึง มี DNA จากส่ิงมีชีวิตอ่ืนๆ ท่ีไมใชมนุษย เชน เชื้อโรค เชื้อราสัตว เชื้อแบคทีเรีย หรือ พืช มาปนเปอน เปนตน

ค. การปนเปอนจาก DNA ของมนุษย (Human source contamination)เปนการปนเปอนท่ีอันตราย และตองระมัดระวังที่สุด เนื่องจากมีความสําคัญในการแปรผลลายพิมพ DNA มาก โดยเราตองแยกวาวัตถุท่ีสงตรวจเปนของคนหลายคนจริงๆ "Mixed sample" เชนกรณี ท่ีมีผูขมขืนกระทําชําเราหญิงหลายคน คือ เปนการปนเปอน "Contaminated sample" จากขบวนการกอนการวิเคราะหลายพิมพ DNA เชน จากการเก็บวัตถุสงตรวจ (Collection) อาจมีเซลเนื้อเยื่อจากมือของผูเก็บวัตถุพยาน จากการเก็บรักษาวัตถุพยาน (Preservation) จากการนําสงวัตถุพยาน (Handling) และจากการตรวจวเิคราะหลายพมิพ DNA (Analysis) ซ่ึงข้ันตอนท้ังหมดตองทําโดยมนุษยท้ังน้ัน จึงอาจมีการปนเปอนไดในธรรมชาต ิ DNA ไมสามารถลอยมาในอากาศ นํ้า หรือ ดิน โดยอิสระได จากสิ่งที่กลาวมาขางตน จะเห็นไดวาการที่จะใหไดมาซึ่งผลการตรวจที่ถูกตองและแมนยํา ตองใชบุคลากรที่มีคุณภาพระมัดระวังในทุกขั้นตอน

การเก็บตัวอยางสงตรวจ โดยท่ัวไปมี ๒ วิธีหลักๆ คือ๑. การเก็บโดยตรง เชน ตัดเศษเสื้อผาที่มีคราบเลือด คราบอสุจิ หรือ

ตัดชิ้นเนื้อจากศพมาตรวจเลย๒. ตองมีการเคลือ่นยายวตัถสุงตรวจ เชน พบคราบเลอืดท่ีผนังหองนํ้า

หรือพื้น วิธีท่ีดีสุดคือ ควรใชมีดขูด (Scrape) หรือพรมนํ้าลงไปแลวใชผาพันแผลหรือสาํล ีท่ีไมมีสารเคมีใดๆ ซับ แมแต Cottonbud ท่ีมีขายในทองตลาดกไ็มควรนํามาใช เน่ืองจากมีสารเคมีติดอยู จากนั้นปลอยใหแหง

Page 6: ความรู เบื้องต น เรื่อง DNA Fingerprintforensicrpca.com/data/article/DNA1.pdf · 2018-02-12 · ความรู เบื้องต น

๑.๔ การเก็บรักษาวัตถุสงตรวจ (Preservation) มีหลักการ ๒ อยาง คือ แหง (Dried) และเย็น (Frozen)

๒. การประเมินวัตถุที่สงตรวจ เนื่องจากการตรวจลายพิมพ DNA เปนเทคนิคท่ีคอนขางยากและมีตนทุนสงู อกีท้ังบางคร้ังวตัถพุยานมีจํานวนนอยผูเกบ็รวบรวมวตัถพุยานที่สงตรวจจะตองระมัดระวังเก็บรักษาวัตถุพยานไมใหสูญหาย หรือเสื่อมสลายนอยที่สุด และจะตองพยายามใหไดผลดีท่ีสุดและแมนยํา จึงตองมีการประเมินคุณภาพวัตถุท่ีสงตรวจ โดยมีหลักการดังน้ี คือ

๒.๑ ตรวจดวูาวตัถพุยานแยกวาจะเปนเน้ือเย่ืออะไรกอน เชน เปนเลอืด นํ้าลายหรือคราบอสุจิ กระดูกหรือผม เพื่อเลือกวิธีสกัด DNA ใหเหมาะสมกับเน้ือเย้ือ

๒.๒ตรวจคุณภาพ (Quality) DNA ของวัตถุพยาน๒.๓ ตรวจดูปริมาณของ DNA (Quantity) หากมีปริมาณนอยจะตองมีวิธีเพิ่ม

จํานวน DNA (Amplification) ดวยเทคนิคอื่นๆ๒.๔ ตรวจดูวา DNA ท่ีไดเปนของมนุษยหรือไม๒.๕ ตรวจดูสภาพของ DNA (State) เชน เปน Single strand หรือเปน

Double stand จะไดเลือกวิธีตรวจไดถูกตอง๓. การสกัด DNA จากเซล กรรมวิธีในการสกัด DNA คอนขางยาก มีเทคนิค

ท่ีตองใชบุคลากรระดับนักวิจัย ตองรูวาสกัด DNA จากนิวเคลียส หรือจากไมโตคอนเดรีย ตองรูวาเปนเน้ือเยื่อประเภทใดจะใชวิธีสกัดสวนที่ไมตองการออกไดถูกตอง เชน หากเปนการตรวจจากคราบเลือดจะสกัดงายกวาการตรวจชิ้นสวนของกระดูก หรือกลามเนื้อ เปนตน

๔. การตรวจลายพมิพ DNA กรรมวธิใีนข้ันตอนน้ียากกวาขอ ๓ ซ่ึงโดยท่ัวไปมี ๒ วธิ ีคอื การทําดวยมือ (Manual) และการทําโดยเคร่ืองมืออตัโนมัต ิ(Automate) แตหลกัการในการตรวจจะเหมือนกัน กลาวคือ จากความรูพื้นฐานวา DNA ในสวน "Stutter" เราจะนํามาใชพิสูจนบุคคล ซ่ึง DNA สวนนี้จะมาจากโครโมโซมทุกอัน นักวิจัยไดทําการวิจัยไวแลวและจะพบวา "Stutter" ของแตละโครโมโซมจะมีบางสวนของ DNA ท่ีซํ้ากันในแตละคนนอยมาก ซ่ึงเราสามารถเลือกตัดเฉพาะทอนของ DNA เหลานี้ไดโดยใชเอนไซมที่มีลักษณะตัดเฉพาะ (Restricted endonuclease) จากน้ันแยกทอน DNA ที่ถูกตัดตามความยาวแลวเปลี่ยนถายแถบของ DNA ไปอยูบนแผนท่ีเหมาะสม ติดฉลากทอน DNA ท่ีอยูบนแผนโดยสารกัมมันตภาพรังสี หรือ สารปลอดกัมมันตภาพรังสี เปลี่ยนถายแถบ DNA ที่ติดฉลากแลวดวยเทคนิคเฉพาะ จากน้ันก็ตรวจหาตําแหนงของแถบ DNA โดยถาเปนการใชสาร

Page 7: ความรู เบื้องต น เรื่อง DNA Fingerprintforensicrpca.com/data/article/DNA1.pdf · 2018-02-12 · ความรู เบื้องต น

กัมมันตภาพรังสี ก็จะผานเครื่องเอ็กซเรย ผลจะปรากฏออกมาในลักษณะ "Bar code" แตหากไมใชสารกัมมันตภาพรังสี ก็จะใชวิธียอมสีแลวอานดวยเครื่องปรากฏเปนเสนกราฟในตําแหนงตางๆ กัน โดยเครื่องอื่นจะอานตําแหนงใหโดยอัตโนมัต ิโดยทั่วไปเทคนิคที่ใชกัมมันตภาพรังสีเปนเทคนิคท่ีทําดวยมือตนทุนต่ํากวาเทคนิคท่ีไมใชสารกัมมันตภาพรังสี ซ่ึงใชเคร่ืองตรวจอัตโนมัติ ท้ัง ๒ วิธีมีขอดีขอเสียตางกันคราวๆ ดังน้ี การตรวจดวยมือมีตนทุนท่ีถูกกวา แตจะตรวจวัตถุพยานไดไมมากตอการตรวจหน่ึงครั้ง และมีโอกาสที่จะเกิดขอผิดพลาดจากมนุษยไดหลายขั้นตอน เชน การควบคุมเวลา อุณหภูมิ การปนเปอน แตการตรวจดวยเครื่องแมนยําเรื่องเทคนิค สามารถตรวจวัตถุพยานไดครั้งละเปนจํานวนมาก ประโยชนที่ดีอีกเหตุผล คือ หากมีวัตถุพยานเปรียบเทียบในภายหลัง ซึ่งอาจจะมีระยะเวลาหางกันสามารถตรวจลายพิมพ DNA ของวัตถุพยานครั้งหลังอยางเดียวแลวมาเปรียบเทียบขอมูลกับลายพิมพที่เคยตรวจไวไดเลย ไมตองนําวัตถุพยานมาตรวจเปรียบเทียบพรอมกันอีกครั้ง แตหากเปนการตรวจดวยมือจะตองนํามาตรวจเปรียบเทียบพรอมๆ กันเสมอ เพื่อปองกันการผิดพลาดทางเทคนิค เพียงแตราคาของเครื่องมือตรวจอัตโนมัติคอนขางสูง คือ ราคาประมาณส่ีลานบาท นอกจากน้ี การตัดทอน DNA น้ี ตามหลักสากลควรทําหลายตําแหนงเพื่อใหเกิดความแมนยํา โดยทั่วไปใชสิบตําแหนง ซ่ึงในชวงกลางป ๒๕๔๑ ทางหนวยงาน FBI ของสหรัฐอเมริกาไดใชเกณฑใหมคือ ตองตรวจเปนจํานวนสิบสามตําแหนง ในขณะท่ีประเทศไทยไมมีการกําหนดเกณฑมาตรฐาน จึงทําใหการฟงผลการตรวจ DNA ไมสามารถบอกไดวาตรวจทําทั้งหมดกี่ตําแหนง จึงยังไมอาจเช่ือถอืไดเสมอไปเน่ืองจากตาํแหนงตางๆ เหลาน้ีไดมีการทําการวจัิยในกลุมประชากรตางๆเพื่อคํานวณคา P.D คือ Probability of Discrimination ซึ่งตองเปนที่ยอมรับโดยสากลจึงจะนํามาใชได

การแปรผลลายพิมพ DNAการตรวจลายพิมพ DNA มี ๒ วิธ ี ดังกลาวขางตน การแปรผลจึงมี ๒

ลักษณะ กลาวคือ การตรวจดวยมือ (Manual) จะเปนการใชสารกัมมันตภาพรังสี ซึ่งผลจะออกมาเปนลักษณะแบบบารโคด สวนการตรวจดวยเครื่องอัตโนมัติ (Automate) น้ัน เคร่ืองจะรายงานผลตามตําแหนงท่ีตัดเฉพาะแตละตําแหนง โดยเคร่ืองจะอานเลขตําแหนงใหโดยอัตโนมัติ ซึ่งงายตอการแปรผล ตัวอยางของการรายงานผลมีดังรูปประกอบ เมื่อไดผลการตรวจมาแลวจะตองมีการสรุปผลการตรวจ ซึ่งการสรุปผลมีได ๓ แบบ ดังน้ี คือ

๑. Exclusion หมายถึง ผลการตรวจยืนยันไดถึงความขัดแยงรอยเปอรเซ็นต โดยไมจําเปนตองทําการตรวจเพิ่มเติมเพื่อยืนยันอีก

Page 8: ความรู เบื้องต น เรื่อง DNA Fingerprintforensicrpca.com/data/article/DNA1.pdf · 2018-02-12 · ความรู เบื้องต น

ตัวอยางการตรวจน้ีเปนการตรวจพิสูจนบิดามารดาและบุตร ซ่ึงยกตัวอยางมาใหดูเพียงสามตําแหนง โดยแถวบนเปนผลการตรวจลายพิมพ DNA ของบิดา แถวที่สองเปนของมารดา แถวลางเปนของบุตร คอลมันท่ีหนึง่ สอง และสาม เปนการตรวจตาํแหนงท่ีหน่ึงสอง และสาม หลกัเกณฑการพสิจูนบิดา มารดาและลกู คอื บุคคลท่ีเปนลกูจะตองมีสารพนัธกุรรมมาจากบิดาและมารดาอยางละคร่ึง ซึ่งเม่ือดูผลการตรวจแถวที่สามจะพบวา ตัวเลข ๑๕ ไมมีในบิดาและมารดา เลข ๑๖ มาจากมารดา ตาํแหนงที ่๒ กแ็สดงใหเหน็วาตวัเลข ๑๙ ไมมีบิดาเชนกนั ผลการตรวจเชนน้ีอธิบายไดวา ผูชายที่มาตรวจ (แถวบน) ไมใชบิดาของเด็กแนนอนเพราะมีความขัดแยงเห็นไดอยางชัดเจน

๒. Inconclusion หมายถึง ผลการตรวจไมสามารถสรุปผลได เน่ืองมาจากปญหาท่ีเกดิข้ึนในข้ันตอนตางๆ เชน เสือ่มสภาพ มีการปนเปอนของ DNA หรือมีความผดิพลาดเกิดข้ึนในกรรมวิธีการตรวจ เชน นํ้ายาหมดอายุ เปนตน

Page 9: ความรู เบื้องต น เรื่อง DNA Fingerprintforensicrpca.com/data/article/DNA1.pdf · 2018-02-12 · ความรู เบื้องต น

ผลการตรวจในแผนกราฟไมสามารถแสดงผลเปนตัวเลขไดในตําแหนงที่สอง และสามของสี่ การที่ไมมีตัวเลขขึ้นแสดงถึงการเสื่อมสลายของ DNA จึงเปนการแปรผลในลักษณะวา ยังสรุปไมได ไมไดแปลวาผลขัดแยง

Page 10: ความรู เบื้องต น เรื่อง DNA Fingerprintforensicrpca.com/data/article/DNA1.pdf · 2018-02-12 · ความรู เบื้องต น

๑๐

๓. Conclusion เปนการยืนยันบุคคล ซ่ึงการสรุปผลจะตองไมมีขอขัดแยงตามเกณฑมาตรฐานสากลก็คือ จะตองตรงกันทั้งสิบตําแหนง เชน ในการพิสูจน บิดา มารดาและบุตร ผลการตรวจที่จะบอกวาเปนบุตรแนนอนนั้นจะตองตรวจพบลายพิมพ DNA ของบุตรมาจาก บิดา และมารดาอยางละ ๕๐% ทั้งสิบตําแหนง สวนการตรวจวตัถุพยานผลการตรวจลายพิมพ DNA ทั้งสิบตําแหนงตองตรงกันทุกประการ

ตวัอยางท่ีแสดงน้ีเปนการพสิจูนบิดา มารดาและบุตร ในลกัษณะเดยีวกบัตวัอยางขอ ๑ จะเหน็วาผลการตรวจของบุตรอธบิายวา ตาํแหนงท่ีหน่ึงตวัเลข ๑๕ มาจากมารดา ตวัเลข๑๖ มาจากบิดา ตําแหนงที่สองตัวเลข ๑๔ มาจากมารดา ตัวเลข ๑๙ มาจากมารดา ตําแหนงที่สามมีตัวเลข ๒๒ ตัวเดียว แสดงวาโครโมโซมท้ังสองเสนมีตัวเลข ๒๒ เหมือนกันอธิบายวาแตละตัวมาจากบิดาหน่ึงชุด มารดาหน่ึงชุด

Page 11: ความรู เบื้องต น เรื่อง DNA Fingerprintforensicrpca.com/data/article/DNA1.pdf · 2018-02-12 · ความรู เบื้องต น

๑๑

ประโยชนของการตรวจลายพิมพ DNAในปจจุบันเรานําการตรวจลายพมิพ DNA มาใชในขบวนทางวทิยาศาสตรมากมาย

รวมท้ังการแพทย เชน การวินิจฉัยโรคทางพันธุกรรม การวิเคราะหยีนสมะเร็ง และรวมถึงการตรวจทางนิติเวชวิทยา ซ่ึงในหัวขอน้ีจะพูดถึงการนําการตรวจลายพิมพ DNA มาใชในทางนิติเวชวิทยาเปนสวนใหญ การตรวจในลักษณะน้ีมักเปนการพิสูจนสายพันธุมนุษยในกรณีตางๆ ดังน้ี คือ

๑. การตรวจในคดขีมขนืกระทาํชาํเรา ซ่ึงเปนการพสิจูนบุคคลท่ีไดกระทําชําเราโดยสามารถตรวจ DNA จากคราบอสุจิ เสนขนที่หัวเหนาที่มีรากขน นํ้าลายซ่ึงอาจมีเย่ือบุกระพุงแกมและคราบเลอืด ในการหาหลกัฐานในคดขีมขืนกระทําชําเรา วาชายผูใดเปนผูมีเพศสมัพนัธกับฝายหญิง สามารถตรวจหาวัตถุพยาน หรือขนเพชรของฝายชายท่ีอยูบนรางกายฝายหญิง หรือตัวอสุจิวาเปนของใคร การตรวจในเบ้ืองตนสามารถบอกไดวาเปนเช้ืออสุจิหรือขนเพชรหรือไม โดยการดูดวยกลองจุลทรรศน แตการจะบอกวาวัตถุพยานนั้นเปนของใครจะตองใชการตรวจ DNA ในสหรัฐอเมริกา คดีฆาตกรรมขมขืนกระทําชําเรา จะมีการตรวจ DNA ของวัตถุพยานที่พบในผูตายไวเสมอ แมจะยังจับผูรายไมได เมื่อตํารวจนําผูตองหามาตรวจสอบในภายหลังก็จะสามารถหาตัวฆาตกรได บางคดีเหตุการณไดผานไปแลว ๖ ถึง ๗ ป น้ันเปนเพราะการตรวจ DNA ในประเทศเขามีการรักษามาตรฐานท่ีดีมาก พยานท่ีใชหลักเกณฑทางวิทยาศาสตรน้ีนาเช่ือถือกวาประจักษพยานแนนอน นอกจากนี้ในบางครั้งผูตองหาอาจจะฝากรอยกดัไวบนรางกายของผูเสยีหาย หรือผูตาย ซ่ึงสามารถพสิจูนไดดวยกรุปเลอืด หรือพมิพฟนหรือ DNA ของเซลเย่ือบุกระพุงแกมได ในปจจุบันมีการตรวจในคนไขท่ีตัง้ครรภจากการถกูขมขืนซ่ึงมาทําแทง โดยสามารถทําการตรวจ DNA จากรกเทียมกับเลือดแม และนําไปดําเนินคดีกับผูตองหาท่ีกระทําชําเราได ดงัเชนกรณเีดก็พกิารถกูคนขับรถขมขืนจนทอง เม่ือมีการดําเนินคดีจึงไดทําแทง แลวเก็บตัวอยางของรกและเลือดแมมาเทียบกับคนรถ ซ่ึงเม่ือผลออกมาตรง ผูกระทําชําเรากต็องไดรับโทษ นอกจากน้ี อาจตรวจจากวตัถพุยานท่ีอยูท่ีเสือ้ผา ถงุยางอนามัยกระดาษทิชชูกเ็ปนไป โดยเฉพาะคดลีวงละเมิดทางเพศตอเดก็ ซ่ึงกวาผูใหญจะรูความจริงกล็วงเลยมาหลายวันวิธีจับผูกระทําผิดมาดําเนินการคงตองใชการตรวจวัตถุพยานจากแหลงตางๆ

๒. การตรวจในคดีฆาตกรรม ในคดีฆาตกรรมท่ีมีการทํารายกนั ทําใหมีเลือดออกก็สามารถใชการตรวจ DNA จากคราบเลือดที่พบเพื่อหาฆาตกรได ตัวอยางคดีดังในอเมริกาคือ คดีของนายโอ เจ ซิมบสัน นักกีฬา อเมริกันฟุตบอล ที่ตองสงสัยวาเปนผูฆาภรรยาของตนเอง ตํารวจไดนําถุงมือของผูชายที่มีคราบเลือดมาพิสูจนพบวาเปนของผูตาย แตศาล

Page 12: ความรู เบื้องต น เรื่อง DNA Fingerprintforensicrpca.com/data/article/DNA1.pdf · 2018-02-12 · ความรู เบื้องต น

๑๒

ไมรับฟงเนื่องจากการไดมาซึ่งวัตถุพยานไมโปรงใส สวนคดีทั่วๆ ไป เชน การพิสูจนวามีดเปอนเลือดที่พบใกลๆ ที่เกิดเหตุเปนมีดที่ใชแทงผูตายใชหรือไม ก็ใชวิธีตรวจ DNA แมนยําท่ีสุดในประเทศไทยคดีที่โดงดังในการนําเทคนิคนี้มาใชคือ คดีฆาตกรรมนักศึกษาแพทยเจนจิรา ท้ังน้ีเพราะผูท่ีกระทําผิดมีความรูมากจึงไดทําลายหลักฐานจนเกือบหมดสิ้น เม่ือประจักษพยานไมมีเลย การพิสูจนความจริงจึงตองใชกระบวนการทางวิทยาศาสตรชั้นสูงเขามาจับ ซ่ึงการตรวจ DNA ของคราบเลือดทายรถยนต ในหองน้ําของผูตองหา ชิ้นเนื้อในบอเกรอะ และกะโหลกศรีษะออกมาตรงกนักบัผูตาย คดฆีาตกรรมท่ีนาสนใจอกีคดหีน่ึง คอื คดวีสิามัญสพุจนท่ีจังหวดัอางทอง การพสิจูนความจริงวาผูตายนาจะถกูฆาท่ีจังหวดัอางทองไมใชจังหวดันนทบุรีกใ็ชการตรวจ DNA โดยไดมีการไปตรวจหาตนหญา ท่ีเปอนเลอืดในบริเวณของจังหวดัอางทอง ท่ีสงสยัวาเขาจะถกูฆา ท้ังท่ีเวลาไดลวงเลยมาหลายเดอืนแลว กยั็งสามารถตรวจพบคราบเลอืดซึ่งก็ไดนํามาพิสูจนลายพิมพ DNA และพบวาตรงกันกับผูตายทั้งสิบตําแหนง จึงทําใหนาเช่ือไดวาผูตายถูกทําใหบาดเจ็บตั้งแตอยูที่จังหวัดอางทองแลว

๓. การตรวจพิสูจน บิดา มารดาและบุตร (Parentage test) เปนการตรวจพิสูจนยืนยันวาเปนบุตรของบิดา (Parentage test) หรือ เปนบุตรของมารดา (Maternity test) ใชหรือไม โดยสวนใหญฝายบิดามักมีปญหาไมแนใจวาใชบุตรของตัวเองหรือไม สวนฝายมารดานานๆ ที่จะมีขอสงสัยท่ีพบสวนใหญเปนการคลอดบุตรที่โรงพยาบาลแลวเกรงวาจะเกิดการสลับตัวเด็กขึ้น ปญหาอ่ืนๆ ที่พบนอยกวา มักเปนการแจงบุคคลเขาเมือง เชน ไปคลอดตางประเทศ ไมมีใบแจงเกิดชัดเจน เมื่อจะนําบุตรกลับประเทศก็ตองตรวจ DNA ยืนยัน หรือในกรณีชาย หญิง ท่ีไมไดทะเบียนสมรสกัน เม่ือมีบุตรทางเขตมักจะขอใหไปตรวจ DNA เพื่อยืนยันความเปนบุตรกอนรับจดทะเบียน ในปจจุบันการพิสูจนบิดา มารดาและบุตร มีมาในลกัษณะการขอรับมรดกของบุตรนอกสมรส ซ่ึงบิดาเสยีชีวติแลวการตรวจ DNA ก็สามารถยืนยันความเปนบุตรได เชนกัน สําหรับปญหาในประเด็นกองมรดกนี้กําลังมีมากขึ้นเร่ือยๆ ท้ังน้ีเพราะคดีเหลาน้ีจะตองมีตัวเงินเกี่ยวของเปนจํานวนมาก จึงอาจเกิดมีโอกาสทุจริตได การดําเนินการตรวจจึงตองทําใหรัดกุม โปรงใส ตรวจสอบได หากมีขอสงสัยก็ใหตรวจสอบโดยหลายสถาบัน หรือใชสถาบันท่ีนาเช่ือถือ ทําการตรวจควรมีการมอบรายงานการตรวจ เชน บารโคด หรือ แผนกราฟไปใชผูขอตรวจ เผื่อใหกระบวนการตรวจมีลักษณะโปรงใส ตรวจสอบได ปจจุบันมีการตรวจพิสูจนในกรณีท่ีอาจขาดบิดาหรือขาดมารดาไปคนใดคนหน่ึง จึงตองมีการทําการตรวจ DNA ทั้งในนิวเคลียสและในไมโตคอนเดรียมาใชรวมกัน โดยเฉพาะกรณีที่มีแตแมจะชวยยืนยันไดมาก

Page 13: ความรู เบื้องต น เรื่อง DNA Fingerprintforensicrpca.com/data/article/DNA1.pdf · 2018-02-12 · ความรู เบื้องต น

๑๓

๔. การตรวจพสิจูนซากโครงกระดกูหรือชิน้สวนมนุษย ท่ีพบในกรณอีบัุตเิหตุเคร่ืองบินตก สงคราม คดีฆาตกรรมฆาหั่นศพ หรือ พิสูจนสายพันธุมนุษยในประวัติศาสตร ซ่ึงอาจใชการตรวจ DNA ทั้งในโครโมโซม และไมโตคอนเดรีย ก็ได ในปจจุบันคดีฆาตกรรมมีลักษณะยุงยากซับซอน เหี้ยมโหดมากข้ึน ดูอยางคดี น.ส.เจนจิรา นักศึกษาแพทยท่ีถูกฆา จะเหน็วาปญหาทางนิตเิวชท่ีเกดิไมไดมีเฉพาะการพสิจูนหาสาเหตกุารเสยีชีวติเทาน้ัน การพสิจูนบุคคลก็ตองใชเทคนิคทางวิทยาศาสตรยากข้ึน ก็คือ การตรวจลายพิมพ DNA น่ันเอง

๕. การตรวจพิสูจน DNA ในการติดเชื้อ HIV ไวรัส HIV มีลายพิมพ DNAท่ีมีลักษณะเฉพาะน่ันคือ ผูรับเช้ือกับผูใหเช้ือ จะมีเช้ือ HIV ท่ีมีลายพิมพ DNA เหมือนกัน ในอเมริกาเคยมีคนไขฟองแพทยผูผาตัดวาเปนผูปลอยเชื้อ HIV ให แตเมื่อตรวจ DNA แลวพบวา ลายพิมพ DNA ไมตรงกัน จึงทําใหสรุปไดทันทีวาแพทยไมไดเปนผูปลอยเช้ือ HIVใหในอเมริกาทนายจึงใชความรูในประเด็นนี้เรียกคาเสียหายจากคนที่ปลอยเชื้อ HIV ไดเปนจํานวนมาก

ประโยชนดานอ่ืนๆ ท่ีใชการตรวจ DNA มาชวยนอกเหนือไปจากสี่ขอดังกลาวเราอาจนํา การตรวจ DNA มาใชในการดําเนินคดีดานอืน่ๆ ไปเชน การตรวจ DNA ของพืชหรือสัตว ก็สามารถกระทําไดลักษณะคดีท่ีจะมาใช คือ การละเมิดลิขสิทธ์ิ การขโมยพืชหรือสัตวท่ีมีราคา แมแตคดีไมปาสาละวินก็อาจจะทําการตรวจ DNA ของตอไม และทอนซุงท่ีพบ ก็อาจบอกไดวาตัดมาจากพมา หรือฝงไทย เพียงแตจะคุมหรือไมเทานั้นเอง นอกจากน้ีในคดีฆาตกรรม หรือโจรกรรมทรัพยสิน ก็อาจนํามาใชได เชน การพบวัตถุพยาน ใบมะมวงของบานผูเสียหาย หรือพบขนควายซึ่งเปนสัตวเสียงในบานผูเสียหาย แตไปปรากฏอยูในพาหนะ หรือบานของผูตองสงสัย ซึ่งจะเปนหลักฐานที่ดีกวาคํารับสารภาพ ซึ่งสามารถกลับคําไดในชัน้ศาล ดงัน้ันจะเหน็ไดวาประโยชนของการตรวจ DNA นอกจากจะใชในการวนิิจฉยัโรคแลว ในกระบวนการยุติธรรมก็สามารถนํามาใชได ซึ่งแมนยําและนาเชื่อถือที่สุด เพียงแตตองเลือกใชเนื่องจากตนทุนสูง รวมท้ังตองควบคุมมาตรฐานการตรวจใหไดทุกหนวยงาน

ขอพึงระวังในการตรวจลายพิมพ DNAการตรวจลายพิมพ DNA เปนเทคนิคทางวิทยาศาสตรท่ีมีประสิทธิภาพสูงสุด

ในการพิสูจนบุคคล แตก็มีตนทุนในการดําเนินการสูง อีกทั้งขบวนการในการตรวจหาลายพิมพก็เปนเทคนิคท่ียุงยากซับซอนตองการบุคลากรท่ีมีคุณภาพสูง จึงตองระมัดระวังในการรับฟง หรือรับรองผลการตรวจ ซึ่งขอพึงระวังดังกลาวมีดังนี้

Page 14: ความรู เบื้องต น เรื่อง DNA Fingerprintforensicrpca.com/data/article/DNA1.pdf · 2018-02-12 · ความรู เบื้องต น

๑๔

๑. การตรวจตองกระทําโดยนักวิทยาศาสตรท่ีมีประสบการณ มีความสามารถเฉพาะทาง คอยตรวจสอบควบคุมดูแลทุกขั้นตอน เน่ืองจากการตรวจมิใชเปนเพียงการหยดนํ้ายา ดูสีที่เปลี่ยนหรืออะไรที่งาย ผูท่ีทําการควบคุมการตรวจตองเปนระดับนักวิจัยท่ีมีความรูระดบัปริญญาโท หรือเอก ทีเดียว อกีท้ังตองมีประสบการณดวย ไมใชใครๆ กส็ามารถทําได นอกจากน้ีบุคลากรท่ีจะทํางานดานน้ีตั้งแตพนักงานสอบสวนรวมไปถึงแพทย กต็องมีความรูและประสบการณเชนกนั การผาตดัเปลีย่นอวยัวะ การไดรับเลอืด หรือการตดัตอตอตนไมมีสวนบนกับสวนลางของตนอาจไมไดเปนตนเดียวกัน เหลาน้ีลวนตองระมัดระวังการเก็บวัตถุพยานตรวจ หรือการรับฟงผล เชน คนตายถูกแทงดวยมีดไดเขาโรงพยาบาลประมาณหน่ึงช่ัวโมงไดรับเลอืดหน่ึงขวด หากการชันสตูรตองการพสิจูนวามีดเปอนเลอืดท่ีพนักงานสอบสวนนํามาใหตรวจเปนมีดท่ีใชแทงผูตายหรือไม ก็ตองเปรียบเทียบ DNA ที่คราบเลือดบนมีดกับชิ้นเนื้ออื่นๆ ของผูตาย ไมใชการเปรียบเทียบกับเลือดในผูตาย เนื่องจากเลือดในตัวผูตายจะมีเลือดของผูบริจาคปนอยู ลายพิมพ DNA จะออกมาขัดแยงท้ังๆ ท่ีเปนมีดท่ีใชแทงผูตายจริง

๒. การตรวจควรใชนํ้ายาตามเกณฑมาตรฐานสากล เชน ของ FBI ในสหรัฐอเมริกา น้ํายาที่ใชตรวจควรมีการรับรองมาตรฐาน (Licensed reagent) และมีคุณภาพคดีไมหมดอายุ หนวยงานบางแหงพยายามประหยัดงบประมาณจึงคิดจะเตรียมนํ้ายาข้ึนเอง ซ่ึงการรับรองมาตรฐานของนํ้ายาน้ีสาํคญัพอๆ กบัการควบคมุมาตรฐานทางเทคนิค ท่ีกาํหนดวาตองสิบตําแหนงข้ึนไป เพราะผลการตรวจผิดพลาดได อันเน่ืองมาจากคุณภาพของนํ้ายา สําคัญพอๆ กับ การควบคุมมาตรฐานทางเทคนิค ที่กําหนดวาตองตรวจสิบตําแหนงข้ึนไป เพราะผลการตรวจผิดพลาดได อันเนื่องมาจากคุณภาพของน้ํายา

๓. การตรวจทั้งสองวิธี คือ Manual และ Automate ตองมีการตรวจยืนยันท้ังสิบตําแหนงตามเกณฑมาตรฐานวิธีจะรับรูหรือตรวจสอบไดก็คือ การมอบรายงานการตรวจใหกับผูขอตรวจไปดวยทุกคร้ัง ซึ่งเม่ือใหผูเชี่ยวชาญคนใดดูก็จะทราบไดวาถูกตองใชหรือไม ไมใชใหแตใบรับรองการตรวจ

๔. หากมีปญหาในการตรวจ ควรใหมีการตรวจซํ้า โดยนักวิทยาศาสตรคนอื่น หรือหนวยงานอื่นปญหาความนาเชื่อถือของผลการตรวจที่อาจผิดพลาดโดยเทคนิค จะมีมากในการตรวจลายพิมพดวยมือ ดังไดกลาวแลวในตอนตน ดังน้ัน เม่ือใดที่มีวัตถุสงตรวจเปนจํานวนหลายอัน หรือแมแตหากตองการเปรียบเทียบกับวัตถุสงตรวจ ท่ีจะตามมาภายหลัง ซ่ึงท้ิงระยะเวลาหางกัน ควรเลือกการตรวจลายพิมพดวยเครื่องอัตโนมัติ จะเปนการปองกันความผิดพลาดได

Page 15: ความรู เบื้องต น เรื่อง DNA Fingerprintforensicrpca.com/data/article/DNA1.pdf · 2018-02-12 · ความรู เบื้องต น

๑๕

๕. การตรวจดวยมือ (Manual) มีขอจํากัด คือ ตองดําเนินการตรวจวัตถุสงตรวจพรอมๆ กัน ภายใตเงื่อนไขเดียวกันทุกอยางตั้งแต น้ํายาชุดเดียวกัน อุณหภูมิ บุคลากรคนเดียวกัน ซึ่งหากมีวัตถุสงตรวจหลายชิ้น จะทําใหมีปญหาในการแปลผล เชน กรณีพิพาทกองมรดก ซ่ึงมีบุคคลเกี่ยวของหลายคน จะทําใหเสียเวลานานและมีโอกาสผิดพลาดไดงาย แตกตางจากการตรวจดวยมือ ซ่ึงสามารถทําไดคราวละเปนรอยตัวอยาง แตขอดีของวิธีManual คอื ตนทุนต่าํเทียบเคร่ือง Automate ในปจจุบันมีราคาเคร่ืองตรวจประมาณหาลานบาท

๖. สิ่งที่สําคัญที่สุด คือ การตรวจสอบ Identification วาเปนใคร เริ่มตั้งแตการตรวจสอบวัตถุพยานใหชัดเจน ตรวจสอบบุคคลที่จะมาตรวจพิสูจนบิดา มารดาและบุตร หรือเปนผูตองหา ซ่ึงควรตรวจสอบ Identification ใหด ี วาเปนใครตวัจริงหรือไม การนําวัตถุพยานสงหองปฏิบัติการตองระวังการปนเปอน การสลับวัตถุพยาน ความบกพรองของผูตรวจ และท่ีสําคัญท่ีสุดตองมีระบบปองกันการทุจริตทุกข้ันตอน เน่ืองจากผลการตรวจอาจจูงใจใหผูเกี่ยวของแสวงหาผลประโยชนได

การตรวจลายพิมพ DNA นี้ไมสามารถดัดแปลงแกไขดวยวิธีใดๆ ใหผลออกมาเหมือนกันได หมายความวา "False positive" ไมมีโอกาสทําได แตการดัดแปลงใหผลออกมาไมเหมือน ยินยันไมได "False negative" สามารถทําไดงายมาก ซ่ึงในการตรวจพสิจูนบุคคลหาผูกระทําผิดหรือพิสูจนบิดา มารดา และบุตร หรือพิสูจนกองมรดก ลวนแลวแตมักจะมีความตองการใหผลออกมาไมใชฆาตกรจะไดหลุดพนจากการดําเนินคดี บิดาจะไดไมตองรับผดิชอบบุตร หรือเจาของมรดกจะไมตองแบงสมบัติ ซึ่งเม่ือทุกฝายทราบดังนี้แลว จึงควรท่ีจะหันมาหาความรูเบ้ืองตน เพือ่ใหสามารถตรวจสอบได กระบวนการทางวทิยาศาสตรกาวหนาไปมากมายยากตอกระบวนการยุติธรรมจะติดตามตรวจสอบได ดังน้ัน ผูท่ีอยูในกระบวนการวิทยาศาสตรตางๆ จึงควรรักษาคุณภาพและจรรยาบรรณใหดี เพื่อไมใหมีการนําผลงานที่ดีของนักวิทยาศาสตรไปใชในทางท่ีผิด รวมท้ังบุคลากรในกระบวนการยุติธรรมก็ตองติดตามความรูความกาวหนาทางวิทยาศาสตรใหทันเชนกัน

ความรูเบื้องตนเรื่อง DNA Fingerprint