55
3 การตรวจเอกสาร 1. คําจํากัดความของสารหอมระเหย สารหอมระเหยเปนน้ํามันที่พืชผลิตขึ้นตามธรรมชาติ เก็บไวตามสวนตางๆ เชน กลีบดอก ใบ ผิวของผล เกสร รากหรือเปลือกของลําตน เวลาที่ไดรับความรอนอนุภาคเล็ก ของน้ํามันหอม เหลานี้จะระเหยออกมาเปนกลุมไอรอบๆ ทําใหเราไดกลิ่นหอม อบอวลไปทั่ว ชวยดึงดูดแมลงใหมา ผสมเกสรดอกไม ปกปองการรุกรานจากศัตรู และรักษาความชุมชื้นแกพืช สําหรับประโยชนตอ มนุษยนั้น น้ํามันหอมระเหยมีคุณสมบัติในการฆาเชื้อโรค บรรเทาอาการอักเสบหรือลดบวม คลาย เครียด หรือ กระตุนใหสดชื่น ทั้งนี้ขึ้นกับองคประกอบทางเคมีของน้ํามันหอมระเหยแตละชนิด (พิมพร, 2545) น้ํามันหอมระเหย เปนสารอินทรียที่มีองคประกอบสลับซับซอน ไดจากการสกัดน้ํามันทีพืชสมุนไพรสรางขึ้น โดยเก็บไวในสวนตาง ของพืชสมุนไพร เชน เมล็ด ดอก ใบ ผล เปลือก ลําตน หรือที่รากและเหงา เปนตน ลักษณะทั่วไป เปนของเหลว ใส ไมมีสีหรือมีสีออน มีกลิ่นหอมเฉพาะตัว ระเหยไดงายทีอุณหภูมิปกติ เมื่อไดรับความรอนน้ํามันจะระเหยไดดียิ่งขึ้น กลิ่น ของน้ํามันหอมระเหยจะมี คุณสมบัติที่แตกตางกันไปขึ้นกับองคประกอบทางเคมีของน้ํามันหอมระเหยที่อยูในพืชสมุนไพรแต ละชนิด เชน น้ํามันตะไครหอม ประกอบดวย genaniol, citronella และ borneol ซึ่งทําใหมีคุณสมบัติ ในการไลแมลง หรือน้ํามันตะไคร ประกอบดวย citral, linalool และgeraniol ซึ่งทําให มีคุณสมบัติ ชวยในการขับลม แกจุกเสียด เปนตน (สิริลักษณ, 2545) น้ํามันหอมระเหยพบไดในเนื้อเยื่อของทุกสวนของพืช ที่ไดจากดอก เชน เบอรกาม็อต (bergamot tree) และกระดังงา จากใบ เชน ตะไครหอม ยูคาลิปตัสและลอเรล จากเปลือก เชน อบเชย จากเนื้อไม เชน ไมจันทน จากราก เชน หญาแฝก จากเหงา เชน ขมิ้นชันและขิง จากผล เชน allspice โปยกั๊ก (star anise) anise และเมล็ดของลูกจันทน (nutmeg) ทุกสวนของพืชที่มีน้ํามันหอม ระเหยอาจมีน้ํามัน แตองคประกอบของน้ํามันจากแตละสวนจะตางกัน ตัวอยางไดแก bitter orange tree (Citrus aurantium L. วงศ Rutaceae) ผิวเปลือกให bitter orange oil ดอกให neroli oil หรือ

การตรวจเอกสาร - KU...3 การตรวจเอกสาร 1. ค าจ าก ดความของสารหอมระเหย สารหอมระเหยเป

  • Upload
    others

  • View
    7

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: การตรวจเอกสาร - KU...3 การตรวจเอกสาร 1. ค าจ าก ดความของสารหอมระเหย สารหอมระเหยเป

3

การตรวจเอกสาร 1. คําจํากัดความของสารหอมระเหย สารหอมระเหยเปนน้ํามันทีพ่ืชผลิตขึ้นตามธรรมชาติ เกบ็ไวตามสวนตางๆ เชน กลีบดอก ใบ ผิวของผล เกสร รากหรือเปลือกของลําตน เวลาที่ไดรับความรอนอนุภาคเล็ก ๆ ของน้ํามันหอมเหลานี้จะระเหยออกมาเปนกลุมไอรอบๆ ทําใหเราไดกล่ินหอม อบอวลไปทั่ว ชวยดงึดูดแมลงใหมาผสมเกสรดอกไม ปกปองการรุกรานจากศตัรู และรักษาความชุมชื้นแกพืช สําหรับประโยชนตอมนุษยนั้น น้ํามันหอมระเหยมีคุณสมบัติในการฆาเชื้อโรค บรรเทาอาการอักเสบหรอืลดบวม คลายเครียด หรือ กระตุนใหสดชืน่ ทั้งนี้ขึ้นกับองคประกอบทางเคมีของน้ํามันหอมระเหยแตละชนิด (พิมพร, 2545) น้ํามันหอมระเหย เปนสารอินทรียที่มีองคประกอบสลับซับซอน ไดจากการสกัดน้ํามนัที่พืชสมุนไพรสรางขึ้น โดยเกบ็ไวในสวนตาง ๆ ของพืชสมุนไพร เชน เมล็ด ดอก ใบ ผล เปลือก ลําตน หรือที่รากและเหงา เปนตน ลักษณะทั่วไป เปนของเหลว ใส ไมมีสีหรือมีสีออน ๆ มกีล่ินหอมเฉพาะตัว ระเหยไดงายที่อุณหภูมิปกต ิเมื่อไดรับความรอนน้ํามันจะระเหยไดดียิ่งขึ้น กล่ิน ของน้ํามันหอมระเหยจะมีคุณสมบัติที่แตกตางกันไปขึ้นกับองคประกอบทางเคมขีองน้ํามันหอมระเหยที่อยูในพืชสมุนไพรแตละชนิด เชน น้ํามันตะไครหอม ประกอบดวย genaniol, citronella และ borneol ซ่ึงทําใหมีคุณสมบัติในการไลแมลง หรือน้ํามันตะไคร ประกอบดวย citral, linalool และgeraniol ซ่ึงทําให มีคุณสมบัติชวยในการขับลม แกจุกเสียด เปนตน (สิริลักษณ, 2545) น้ํามันหอมระเหยพบไดในเนื้อเยื่อของทุกสวนของพืช ที่ไดจากดอก เชน เบอรกามอ็ต (bergamot tree) และกระดังงา จากใบ เชน ตะไครหอม ยคูาลิปตัสและลอเรล จากเปลือก เชน อบเชย จากเนือ้ไม เชน ไมจนัทน จากราก เชน หญาแฝก จากเหงา เชน ขมิ้นชันและขงิ จากผล เชน allspice โปยกัก๊ (star anise) anise และเมลด็ของลูกจันทน (nutmeg) ทุกสวนของพืชที่มีน้ํามันหอมระเหยอาจมีน้าํมัน แตองคประกอบของน้ํามันจากแตละสวนจะตางกัน ตัวอยางไดแก bitter orange tree (Citrus aurantium L. วงศ Rutaceae) ผิวเปลือกให bitter orange oil ดอกให neroli oil หรือ

Page 2: การตรวจเอกสาร - KU...3 การตรวจเอกสาร 1. ค าจ าก ดความของสารหอมระเหย สารหอมระเหยเป

4

orange flower essential oil การกลั่นโดยไอน้ําของใบ กิง่และผลขนาดเล็กให petigrain oil น้ํามันทั้งสามมีองคประกอบตางกนั ปริมาณของน้ํามันหอมระเหยนัน้คอนขางต่ํา มักพบวาต่ํากวา 1% การผลิตและสะสมน้ํามันหอมระเหยมักพบในเนื้อเยื่อที่พิเศษสําหรับการนี้ซ่ึงมักอยูใกลผิวพืช ในพืชวงศ Lauraceae และ Zingiberaceae พบเซลลน้ํามัน ในพืชวงศ Lamiaceae พบน้ํามันในตอมไตรโคม (glandular trichome) ในพืชวงศ Myrtaceae หรือ Rutaceae พบน้ํามันหอมระเหยในโพรงขับน้ํามัน (secretory cavity) และในพืชวงศ Umbelliferae และ Compositae พบในทอขับน้ํามัน (secretory canal) ปจจัยที่ชวยควบคุมการปลอยองคประกอบของน้ํามันหอมระเหย ขึ้นกับพันธุกรรมซึ่งผัน แปรตามชนิดของพืช และขึน้อยูกับสิ่งแวดลอม โดยเฉพาะอุณหภูมิ ซ่ึงอัตราการปลอย monoterpenes เพิ่มขึ้นแบบ exponential กับอุณหภูมิและความสัมพันธกบัความดันไอ (Lerdau et al., 1997) การปลอยน้ํามันหอมระเหยจากพืชที่ไดรับอุณหภมูิ 40º C เปนเวลา 12 ช่ัวโมง จะต่ํากวาพืชทีไ่ดรับอุณหภูม ิ10º C ความชืน้สัมพัทธ และความชื้นในใบ มีอิทธิพลตอการปลอย monoterpenes เชน พืชในสกลุ Picea การคายน้ําและการปลอย monoterpenes เพิ่มขึ้นแบบ exponential กับอุณหภูมิ สําหรับแสงจะมอิีทธิพลทางออมคือ เปนแหลงพลังงาน แตไมมีอิทธิพลในการปลอย monoterpenes เชน การปลอย monoterpenes จาก Cryptomeria japonica ไมสัมพันธกบัความเขมแสง และใน Pinus elliottii การปลอย monoterpenes ไมเปลี่ยนแปลง เมื่อใหความเขมแสงเพิ่มขึ้นจาก 0 เปน 800 µ mol m-2s-1 เมื่ออุณหภูมิคงที่ นอกจากปจจัยดงักลาวแลวรูปแบบการปลอยน้ํามันหอมระเหยในรอบวันและในฤดูกาลของพืช จะแตกตางกันตามชนิดของพืชและสภาพแวดลอมที่ไดรับ เชนใน Gossypium hirsutum ปลอย sesquiterpenes ตอนเชาสูงกวาตอนเทีย่งวัน แตปลอย (E)-2-hexanol ตอนเที่ยงวัน ไมปลอยในตอนเชา และใน Pinus densiflora ปลอย α-pinene ในฤดหูนาวต่ํากวาฤดูรอน ตางจาก Populus balsamifera ที่ปลอย monoterpenes สูงสุดในฤดูใบไมผลิ แตไมปลอยในฤดรูอน เปนตน (กาญจนา, 2546) น้ํามันหอมระเหยที่ดอกไมปลอยออกมา มีบทบาทสําคัญในการดึงดูดแมลง เนื่องจากกลิ่นที่ปลอยออกมามีความจําเพาะกับแมลงบางชนิด ผลประโยชนที่ได คือ การถายละอองเรณู ซ่ึงสงผลไปถึงการสืบพันธุ ตลอดจนการกระจายพันธุของเมล็ดพืชดวย และน้าํมันหอมระเหยยังมีบทบาทในการปองกันตวัของพืช ไลแมลง หรือสัตวที่มากินพืช ตวัอยางเชน ในพืชจําพวก Lilac มีการสะสม monoterpenes ไดแก α-pinene, β-pinene, myrcene ซ่ึงเปนสารที่เปนพษิกับแมลง ในสมมี

Page 3: การตรวจเอกสาร - KU...3 การตรวจเอกสาร 1. ค าจ าก ดความของสารหอมระเหย สารหอมระเหยเป

5

triterpines คือ limonoid ที่มีรสขม ไลแมลงศัตรูพืช และในสะเดามี azadirachtin ที่เปน limonoids เชิงซอน มีคุณสมบัติไลแมลงบางชนิด และใชในการเกษตรอยางแพรหลาย น้ํามันหอมระเหยจากพรรณไมหอม พบวา มีสารหลายชนิดที่ใหประโยชนตอระบบรับความรูสึกของมนุษย ทั้งยังมีสมบัติในการตานทานแมลง ใหกล่ินหอม และใชเปนสวนผสมทางดานความงามไดอีกดวย น้ํามันหอมระเหย (Essential Oil, Volatile Oil, Ethereal Oil, Essence) เปนสารอินทรียที่เปนองคประกอบของพชื สวนที่มีกล่ิน อยูในเซลลหรือในตอมเฉพาะ เชน oil glands, veins, oil sacs, glandular hairs เปนตน พบในสวนตางๆ ของพืชทั้งในลําตน ใบ ดอก ผล เมล็ด และราก มีลักษณะเปนของเหลวและระเหยไดที่อุณหภูมหิอง (Guenther, 1975a; Dobson, 1991) สารเคมีที่เปนองคประกอบของน้ํามันหอมระเหย โดยเฉพาะ monoterpenes พืชสังเคราะหและเกบ็สะสมไวในโครงสรางเฉพาะที่ตางกนั ตามกลุมชนิดของพืช เชน ใน glandular hairs ของ Mints, resin canals ในใบ ของ Pinus, glandular dots ของพืชวงศ Rutaceae, glandular trichomes ของพชืวงศ Lamiaceae (Labiatae) และใน irregular tubular elements ในพลาสติดของพืชสกุล Citrus เปนตน (Lerdau et al., 1997) พืชแตละชนดิมีปริมาณและองคประกอบของน้ํามันหอมระเหยแตกตางกัน แตในพชืชนิดเดียวกันองคประกอบของน้ํามันหอมระเหยมีความแตกตางกันอาจเนื่องมาจาก แหลงกําเนิดทางภูมิศาสตร สถานที่ปลูก ส่ิงแวดลอม ฤดูกาล ความแกของพืชขณะเก็บเกี่ยว การเลือกเวลาการเก็บเกี่ยว วิธีการเกบ็เกี่ยวเพื่อปองกันการเสื่อมคุณภาพ และเทคนิคการสกดั เปนตน ขณะที่พืชเจริญ เติบโต สวนประกอบและลกัษณะของน้ํามันหอมระเหยมีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว ผลผลิตที่ไดในเวลาของวนัที่ตางกันแควันเดียว อาจจะมีคุณภาพตางกัน (กาญจนา, 2546)

Page 4: การตรวจเอกสาร - KU...3 การตรวจเอกสาร 1. ค าจ าก ดความของสารหอมระเหย สารหอมระเหยเป

6

2. ลักษณะทั่วไปของพรรณไมหอมท่ีทําการศึกษา

1. กระดังงาจนี

ชื่อทองถิ่น การเวก (กลาง) สะบันงาเครอื สะบันงาจีน (เหนือ) ชื่อสามัญ - ชื่อวิทยาศาสตร Artabotrys hexapetalus (L.f.) Bhandari วงศ Annonaceae

ภาพที่ 1 ดอกกระดังงาจีน ลักษณะพฤกษศาสตร เปนไมเถา เนือ้แข็ง เล้ือยไดไกล 10-15 เมตร คลายการเวก ตามกิ่งและยอดไมมีขน ใบหนาเปนมัน ออกดอกที่ตะขอ มีกลีบดอก 6 กลีบ สีเหลือง แข็งหนา ดอกบานอยูได 1-2 วัน ผลกลุม มีผลยอย 7-15 ผล (อนุชญา, 2548) ระยะเวลาออกดอก ตลอดป ชวงเวลาที่หอม ตลอดวัน ประโยชน ปลูกเปนไมดอกหอม ไมประดบัซุม ดอกปรุงเปนยา แกลมวิงเวยีนศีรษะ และปรุงเปนน้าํอบ (ปยะ, 2541)

Page 5: การตรวจเอกสาร - KU...3 การตรวจเอกสาร 1. ค าจ าก ดความของสารหอมระเหย สารหอมระเหยเป

7

2. สายหยุด ชื่อทองถิ่น กลวยเครือ (สระบุรี) เครือเขาแกลบ (เลย) สายหยดุ สาวหยุด (ภาคกลาง

และภาคใต) เสลาเพชร (สุราษฏรธานี) ชื่อสามัญ Chinese Desmos ชื่อวิทยาศาสตร Desmos chinensis Lour. วงศ Annonaceae ภาพที่ 2 ดอกสายหยดุ ลักษณะพฤกษศาสตร

ไมเล้ือย มีเนื้อไม ตามกิ่งออนมีขนสีน้ําตาล กิ่งแกสีดําไมมีขน ใบเดีย่ว เรียงสลับ รูปใบหอก ปลายใบเรียวแหลม โคนใบแหลม ขอบใบเรียบเปนคลื่นเล็กนอย ดอกเดี่ยว คว่ําหนาลง สมบูรณเพศ สมมาตรตามรัศมี กลีบเลี้ยง 3 กลีบ เชื่อมติดกันที่โคน กลีบดอก 6 กลีบ แยกกัน เรียงเปน 2 วง วงละ 3 กลีบ ลักษณะเรยีว ยาวขอบเปนคลื่น เรียงสลับกัน กลีบวงนอกมีขนาดใหญและยาวกวากลีบวงใน บานใหมมีสีเขียว และเปลี่ยนเปนสีเหลือง มีกล่ินหอม เกสรเพศผูจาํนวนมาก แยกกัน กานเกสรสั้น เรียงตวัอยูบนจานฐานดอกลอมรอบเกสรเพศเมีย เกสรเพศเมียจาํนวนมาก แยกกัน กานเกสรสั้นติดอยูบนจานฐานดอก รังไขเหนอืวงกลีบ ผลเปนกลุม ผลยอยรูปยาวเรียว มีสวนปองและสวนคอดสลับกัน ผลออนสีเขียวและเมื่อแกสีแดงจนถึงสีมวงแดง แตโดยทั่วไปมักไมคอยติดผล (อนุชญา, 2548) ระยะเวลาออกดอก ตลอดป ดอกดกชวงตนฤดูฝน ชวงเวลาที่หอม เชามืด และพลบค่ํา ประโยชน ปลูกเปนไมประดับ ดอกนํามาสกัดน้ํามันหอมระเหย เปนสมุนไพร

Page 6: การตรวจเอกสาร - KU...3 การตรวจเอกสาร 1. ค าจ าก ดความของสารหอมระเหย สารหอมระเหยเป

8

3. บานบุรีหอม ชื่อทองถิ่น บานบุรีหอม, บานบุรีแสด ชื่อสามัญ Allamanda, Golden Trumpet ชื่อวิทยาศาสตร Allamanda cathartica L. วงศ Apocynaceae ภาพที่ 3 ดอกบานบุรี ที่มา: www.morninggarden.com ลักษณะทางพฤกษศาสตร

บานบุรีหอมเปนพรรณไมเถาเล็ก จะเลื้อยเถายาวเกี่ยวเกาะกับไมพุมใหญ ๆ ลักษณะของใบจะเปนใบมนร ีปลายใบแหลม ของใบเรียบ ออกดอกเปนชอ อยูตามปลายกิ่งของตน ชอ ๆ หนึ่งจะมีดอกอยูประมาณ 5-8 ดอก จะคอย ๆ ทยอยกนับาน ดอกมีสีเหลืองแสด ดอกยอยมีกลีบเลี้ยง 5 กลีบ กลีบดอกคอนขางกลม เมื่อดอกยอยบานมีเสนผานศูนยกลาง 4-7 ซม. โคนดอกเปนหลอด แฉกกลีบเวียนคลายกงจกัร มีจุดร้ิวสีสมที่โคนคอกลีบ ดอกจะมีกล่ินหอม กล่ินหอมตอนเชา ออกดอกตลอดป การขยายพนัธุ (อนุชญา, 2548) ระยะเวลาออกดอก ปลายฤดูหนาว - ตนฤดูรอน ( ม.ค. - มี.ค.) ชวงเวลาที่หอม หอมตลอดวัน (หอมมากชวงอากาศเยน็) ประโยชน ปลูกเปนไมประดับ (คณิตา, 2536)

Page 7: การตรวจเอกสาร - KU...3 การตรวจเอกสาร 1. ค าจ าก ดความของสารหอมระเหย สารหอมระเหยเป

9

4. พุดจีบ

ชื่อทองถิ่น พุดปา (ลําปาง) พุดจีบ พุดซอน พุดสวน พดุสา (ภาคกลาง) ชื่อสามัญ Clavel De La India, Crape Jasmine, East Indian Rosebay ชื่อวิทยาศาสตร Tabernaemontana divaricarta (L.) R.Br. ex Roem. & Schult. วงศ Apocynaceae ภาพที่ 4 ดอกพุดจีบ ลักษณะพฤกษศาสตร ไมพุมเตี้ย ทกุสวนมีน้ํายางขาว ใบเดี่ยว เรียงตรงขามสลับตั้งฉาก รูปใบหอก ปลายใบ แหลม โคนใบสอบ ผิวใบเปนมัน ดอกชอกระจกุ ออกตามซอกใบบริเวณปลายกิ่ง สมบูรณเพศ สมมาตรตามรัศมี กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันเปนหลอด กลีบดอก 5-10 กลีบ ซอน 2 ช้ัน เชื่อมติดกัน เปนหลอด ปลายแยกเปนกลีบสีขาว เกสรเพศผู 5 อัน ติดที่หลอดกลีบดอก เกสรเพศเมีย 1 อัน รังไข เหนือวงกลีบ ผลเปนฝก ปลายแหลมโคง (อนุชญา, 2548) ระยะเวลาออกดอก ตลอดป ชวงเวลาที่หอม ตลอดวัน ประโยชน เปนไมประดบั เปลือกตนและราก มีอัลคาลอยด coronarine เปนสมุนไพร

Page 8: การตรวจเอกสาร - KU...3 การตรวจเอกสาร 1. ค าจ าก ดความของสารหอมระเหย สารหอมระเหยเป

10

5. โมกซอน ชื่อทองถิ่น โมกซอน โมกลา โมกบาน (ภาคกลาง) ชื่อสามัญ Moke ชื่อวิทยาศาสตร Wrightia religiosa Benth.ex Kurz วงศ Apocynaceae ภาพที่ 5 ดอกโมกซอน ลักษณะพฤกษศาสตร

ไมพุม เปลือกสีน้ําตาลแก ใบเดี่ยว เรียงตรงขาม รูปใบหอกแกมขอบขนาน หรือรูปไข ปลายใบแหลม โคนใบมน ดอกเดี่ยวหรือชอกระจุก กานดอกเล็ก เรียวยาว ทําใหดอกคว่ําลง สมบูรณเพศ สมมาตรตามรัศมี กลีบเลี้ยง 5 กลีบ เชื่อมติดกัน กลีบดอก 5 กลีบ หรือจํานวนมาก เรียงซอนกันหลายชั้น โคนเชื่อมติดกันเปนหลอดสั้น ๆ เกสรเพศผู 5 อัน ตดิที่ขอบกลีบดอกชั้นในสดุ เกสรเพศเมีย 1 อัน 2 คารเพล รังไขเหนือวงกลีบ ผลเปนฝกคู เมล็ดจํานวนมาก มีปุยสีขาวเปนกระจกุที่ปลาย ปลิวตามลม (อนุชญา, 2548) ระยะเวลาออกดอก ตลอดป ชวงเวลาที่หอม ตลอดวัน หอมแรงชวงเย็นถึงค่ํา ประโยชน ปลูกเปนไมประดับ ใชเปนสมุนไพร (คณติา, 2536)

Page 9: การตรวจเอกสาร - KU...3 การตรวจเอกสาร 1. ค าจ าก ดความของสารหอมระเหย สารหอมระเหยเป

11

6. ยี่โถ ชื่อทองถิ่น ยี่โถ ยี่โถฝร่ัง ชื่อสามัญ Oleander, Rose Bay, Sweet Oleander ชื่อวิทยาศาสตร Nerium oleander L. วงศ Apocynaceae ภาพที่ 6 ดอกยี่โถ ลักษณะพฤกษศาสตร

ไมพุมขนาดกลาง ลําตนตั้งตรง แตกกิ่งที่โคนตนจํานวนมาก ลําตนมีลักษณะเกลี้ยง เปลือกสีเทา ทุกสวนของตนมีน้ํายางสีขาว ใบเดีย่ว เรียงรอบขอ มีขอละ 3 ใบ รูปรีแกมขอบขนาน หรือรูปใบหอก ปลายใบแหลม โคนใบสอบ ขอบใบเรียบ แผนใบหนาและแขง็ สีเขียวเขม กานใบสั้น ดอกชอแบบชอกระจุก ออกท่ีปลายกิ่ง สมบูรณเพศ สมมาตรตามรัศมี กลีบเลี้ยง 5 กลีบ แยกกนั กลีบดอก 5 กลีบ หรือจํานวนมาก โคนเชื่อมติดกันเปนรูประฆัง ปลายแยกเปนกลีบ สีชมพู –แดง มีทั้งชัน้เดียวและซอนกันหลายชัน้ มรียางคขนที่คอหลอดกลีบดอก มีกล่ินหอมออน ๆ เกสรเพศผู 5 อัน ติดที่หลอดกลีบดอก อับเรณูแตะชนกนัหุมยอดเกสรเพศเมยีไว เกสรเพศเมยี 1 อัน รังไขเหนือวงกลีบ ผลเปนรูปฝกยาว เมื่อแกจะแตกเปน 2 ซีกเมล็ดรูปขอบขนาน มีขนสีขาวเปนกระจกุปลิวตามลมไดด ี ระยะเวลาออกดอก ตลอดป ชวงเวลาที่หอม หอมออนตลอดวัน ประโยชน ปลูกเปนไมประดับ และใชเปนยาสมุนไพร (อนุชญา, 2548)

Page 10: การตรวจเอกสาร - KU...3 การตรวจเอกสาร 1. ค าจ าก ดความของสารหอมระเหย สารหอมระเหยเป

12

7. แยมปนงั ชื่อทองถิ่น บานทน แยมปนัง หอมปนงั (กรุงเทพฯ) ชื่อสามัญ Climbing Oleander, Cream Fruit ชื่อวิทยาศาสตร Strophanthus gratus Franch. วงศ Apocynaceae ภาพที่ 7 ดอกแยมปนัง ลักษณะพฤกษศาสตร

ไมพุม มียางสขีาว ใบเดีย่ว เรียงตรงขามสลับตั้งฉาก รูปไขแกมขอบขนาน ปลายใบแหลม โคนใบมน ขอบใบเรียบ เนื้อใบหนา สีเขยีวเขมเปนมัน ดอกชอกระจุก สมบูรณเพศ สมมาตรตามรัศมี กลีบเลี้ยง 5 กลีบ เชื่อมติดกันที่โคน กลีบดอก 5 กลีบ เชื่อมติดกนัเปนรูปกรวย ปลายแยกเปนกลีบ สีมวง-ขาว มีรยางคเปนเสนสีมวง 10 เสน เกสรเพศผู 5 อัน ติดที่หลอดกลีบดอก เกสรเพศเมีย 1 อัน รังไข 2 อัน แยกกัน รังไขเหนือวงกลบี ผลเปนฝกคูติดกัน เมล็ดมขีนสีขาวเปนกระจุก(อนุชญา, 2548) ระยะเวลาออกดอก ตลอดป แตดอกดก ธันวาคม- กุมภาพันธุ ชวงเวลาที่หอม ตลอดวัน ประโยชน เปนไมประดบั เปนสมุนไพร (ปยะ, 2541)

Page 11: การตรวจเอกสาร - KU...3 การตรวจเอกสาร 1. ค าจ าก ดความของสารหอมระเหย สารหอมระเหยเป

13

8. ปบไหหนาน ชื่อทองถิ่น ปบยูนาน ชื่อสามัญ - ชื่อวิทยาศาสตร - วงศ Bignoniaceae ภาพที่ 8 ดอกปบไหนาน ลักษณะพฤกษศาสตร ไมพุม ใบประกอบแบบขนนก 2 ช้ัน ปลายคี่ เรียงสลับตั้งฉาก รูปรีหรือรูปสี่เหล่ียมขนมเปยกปนู โคนใบแหลม ปลายใบเรยีวแหลม ดอกชอกระจุก ออกที่ปลายกิ่ง สมบูรณเพศ สมมาตรดานขาง กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกนัเปนหลอด ปลายแยกเปนรูปปากเปด กลีบดอก 5 กลีบ เชื่อมติดกันเปนรูประฆัง ปลายแยกเปน 2 ปาก ปากบนมี 2 กลีบ ปากลางมี 3 กลีบ สีมวงออนถึงขาว คอหลอดกลีบดอกสีเหลืองเขม เกสรเพศผู 4 อัน กานเกสรสั้น 2 อัน ยาว 2 อัน ตดิที่โคนหลอดกลีบดอก อับละอองเกสรเพศผูเปนแบบถาง มีเกสรเพศผูที่เปนหมัน 1 อัน เกสรเพศเมีย 1 อัน ปลายแผแบนและแยกเปน 2 แฉก รังไขเหนือวงกลีบ ผลเปนฝกยาว เมล็ดมปีกบาง สีขาว (อนุชญา, 2548) ระยะเวลาออกดอก กันยายน-ธันวาคม ชวงเวลาที่หอม บายถึงกลางคืน การขยายพันธุ ตอนกิ่ง ประโยชน เปนไมประดบั

Page 12: การตรวจเอกสาร - KU...3 การตรวจเอกสาร 1. ค าจ าก ดความของสารหอมระเหย สารหอมระเหยเป

14

9. แฮบปเนส ชื่อทองถิ่น แฮปปเนส ชมพูฮาวาย โพดราเนีย ชื่อสามัญ Pink Trumpet Vine ชื่อวิทยาศาสตร Podranea ricasoliana (Tanf.) Sprague วงศ Bignoniaceae ภาพที่ 9 ดอกแฮบปเนส ลักษณะพฤกษศาสตร

ไมพุมกึ่งเลื้อย ใบประกอบขนนกชั้นเดยีว ปลายคี่ เรียงตรงขามสลับตั้งฉาก รูปรี หรือรูปไข ปลายใบและโคนใบแหลม ขอบใบเรียบ หรือเปนคลื่น หรือจักเล็กนอย แผนใบสีเขียวเปนมัน ดอกชอกระจุกออกตามซอกใบ สมบูรณเพศ สมมาตรดานขาง กลีบเลี้ยง 5 กลีบ โคนเชื่อมติดกันปลายแยกเปนแฉก กลีบดอก 5 กลีบ เชื่อมติดกนัเปนรูประฆงั ปลายแยกเปนรูปปากเปด สวนบน 2 กลีบ สวนลาง 3 กลีบ สีชมพู มีกล่ินหอมออน ๆ ภายในหลอดกลีบดอกมีขนเสนเล็กสีขาว เกสรเพศผู 5 อัน ปกติ 4 อัน (ยาว 2 อัน ส้ัน 2 อัน) เปนหมัน 1 อัน เกสรเพศเมีย 1 อัน ยอดเกสรเพศเมียแยกเปน 2 แฉก รังไขเหนือวงกลบี (อนุชญา, 2548) ระยะเวลาออกดอก เกือบตลอดป ชวงเวลาที่หอม มีกล่ินหอมออนตลอดวัน ประโยชน เปนไมประดบั

Page 13: การตรวจเอกสาร - KU...3 การตรวจเอกสาร 1. ค าจ าก ดความของสารหอมระเหย สารหอมระเหยเป

15

10. กระทิง

ชื่อทองถิ่น กระทิง กระทงึ กากะทิง กากระทึง (ภาคกลาง) ทิง (กระบี่) เนาวกาน (นาน) สารภีทะเล(ประจวบคีรีขันธ) สารภีแนน (ภาคเหนือ)

ชื่อสามัญ Alexandrian laurel ชื่อวิทยาศาสตร Calophyllum inophyllum L. วงศ Clusiaceae ภาพที่ 10 ดอกกระทิง ลักษณะพฤกษศาสตร

ไมตนขนาดกลาง ไมผลัดใบ เรือนยอดแผกวาง เปนพุมกลมทึบ เปลือกสีน้ําตาลปนเทา ทุกสวนมียางสีเหลืองอมเขียว ใบเดี่ยว เรียงตรงขาม รูปรีหรือรูปไข ปลายใบมนหรือเวาเล็กนอย โคนใบแหลมถึงมน ใบหนาแข็ง เสนใบถี่ และขนานกัน เนื้อใบหนาเกลี้ยง ดอกชอแบบชอกระจะ ออกตามซอกใบและปลายกิ่ง สมบูรณเพศ สมมาตรตามรัศมี กลีบเลี้ยง 4 กลีบ แยกกัน กลีบดอก 5-6 กลีบ แยกกัน งองุมโคงเขาหากัน สีขาว เรียงสลับกับกลีบเลี้ยง เกสรเพศผูจํานวนมาก แยกกัน เกสรเพศเมีย 1 อัน รังไขเหนือวงกลีบ ผลรูปกลม ผลออนสีเขียวและเมื่อแกสีน้ําตาล แหง ผิวยน แตละผลมี 1 เมล็ด (อนชุญา, 2548) ระยะเวลาออกดอก ตุลาคม-ธันวาคม ชวงเวลาที่หอม บายถึงกลางคืน ประโยชน เปนไมประดบั เนื้อไม ใชกอสราง เปนสมุนไพร

Page 14: การตรวจเอกสาร - KU...3 การตรวจเอกสาร 1. ค าจ าก ดความของสารหอมระเหย สารหอมระเหยเป

16

11. นางแยม ชื่อทองถิ่น นางแยม (ภาคกลาง-นครศรีธรรมราช) ปงสมุทร (เชียงใหม) ปงชะมด ปง ซอน (ภาคเหนือ) สวนใหญ (นครราชสีมา) กะอุมเปอ (กระเหรี่ยง- กาญจนบุรี) ปงหอม (ภาคกลาง) ชื่อสามัญ Glory Tree ชื่อวิทยาศาสตร Clerodendrum chinense (Osbeck) Mabb. วงศ Lamiaceae ภาพที่ 11 ดอกนางแยม ลักษณะพฤกษศาสตร ไมพุมขนาดเลก็ ลําตนและกิง่กานเปนเหล่ียมและมีขน ใบเดี่ยว เรียงตรงขามสลับตั้งฉาก รูปคลายสามเหลี่ยม ปลายใบเรียวแหลม โคนใบตัด ขอบใบจักหาง ๆ กลีบ ผิวใบมีขนทั้งสองดาน เมื่อขยี้ใบดมมกีล่ินเหม็น เนือ้ใบนุมแตสากระคายมือ ดอกชอกระจกุ ออกที่ปลายยอด ประกอบดวยดอกยอยจํานวนมากเบยีดกนัแนน สมบูรณเพศ สมมาตรตามรัศมี กลีบเลี้ยงจํานวนมาก โคนเชื่อมติดกันเปนหลอดสั้น ปลายแยกเปนแฉกเรยีวแหลม สีมวงแดง กลีบดอกจํานวนมาก มีหลายชั้น โคนเชื่อมติดกนัเปนหลอดปลายแยกเปนกลีบ สีขาวอมชมพู เกสรเพศผู 4 อัน ติดที่หลอดกลีบดอก กานเกสรยาว เกสรเพศเมีย 1 อัน รังไขเหนอืวงกลีบ ผลเนื้อออน มีเปลือกหุม แตกเปน 4 กลีบ ระยะเวลาออกดอก ตลอดป ชวงเวลาที่หอม ท้ังกลางวัน และกลางคืน หอมแรงชวงพลบค่ํา ประโยชน เปนไมประดบั เปนสมุนไพร (อนุชญา, 2548)

Page 15: การตรวจเอกสาร - KU...3 การตรวจเอกสาร 1. ค าจ าก ดความของสารหอมระเหย สารหอมระเหยเป

17

12. บัวสวรรค

ชื่อทองถิ่น บัวสวรรค กัสตาเวีย ชื่อสามัญ Gustsvia ชื่อวิทยาศาสตร Gustavia gracillima Miers. วงศ Lecythidaceae ภาพที่ 12 ดอกบัวสวรรค ลักษณะทางพฤกษศาสตร ไมตนขนาดเล็กไมผลัดใบ เปลือกลําตนสีน้ําตาลปนเทา ใบเดีย่ว เรียงตวัแบบเวียน ออกเปนกระจกุบริเวณปลายกิ่ง รูปใบหอก ปลายใบแหลม โคนใบสอบ ขอบใบเรียบ แผนใบสีเขียวเขม เห็นเสนใบชัดเจน ดอกเดีย่ว สมบูรณเพศ สมมาตรตามรัศมี กลีบรวม 8 กลีบ แยกกัน เรียงซอนกัน 2 ช้ัน สีขาวอมชมพู เกสรเพศผูจํานวนมาก ลักษณะเปนเสนเลก็ๆ แยกกัน เกสรเพศเมีย 1 อัน รังไขเหนือวงกลีบ ลักษณะคลายดอกบัวหลวง ผลทรงครึ่งวงกลม ภายในมีหลายเมล็ด เมล็ดเกอืบกลม (อนุชญา, 2548) ระยะเวลาออกดอก ตลอดป ชวงเวลาที่หอม มีกล่ินหอมออนๆตลอดวัน การขยายพันธุ เพาะเมล็ด ตอนกิ่ง (ปยะ, 2541) ประโยชน ปลูกเปนไมประดับ

Page 16: การตรวจเอกสาร - KU...3 การตรวจเอกสาร 1. ค าจ าก ดความของสารหอมระเหย สารหอมระเหยเป

18

13. เทียนกิ่ง ชื่อทองถิ่น เทียนกิ่ง เทียนขาว เทียนขาวเปลือก เทียนแดง เทียนไม (ภาคกลาง) ชื่อสามัญ Henna, Mignonette -Tree ชื่อวิทยาศาสตร Lawsonia inermis L. วงศ Lythraceae ภาพที่ 13 ดอกเทียนกิ่ง ลักษณะพฤกษศาสตร

ไมพุมขนาดเลก็ สูง 2-5 เมตร ลําตนตั้งตรงแตกกิ่งกานขนาดเล็กจํานวนมาก เปลือกลําตน สีน้ําตาล ตามกิ่งมีหนามเล็ก ๆ ส้ัน ๆ ใบเดี่ยว เรียงตรงขามสลับตั้งฉาก รูปรี ปลายใบแหลม โคนใบเรียวเล็กติดกับกานใบ ขอบใบเรียบ ดอกชอแบบชอแยกแขนง ออกที่ปลายกิ่ง ดอกยอยขนาดเล็ก จํานวนมาก สมบูรณเพศ สมมาตรตามรศัมี กลีบเลี้ยง 4 กลีบ เชื่อมติดกันเปนทอส้ัน ๆ ปลายแยกเปนแฉก กลีบดอก 4 กลีบ แยกกัน แตละกลีบมีรอยยน หลุดรวงงาย สีขาวหรอืแดง เรียงสลบักับกลีบเลี้ยง เกสรเพศผู 8 อัน เรียงสลับกับกลีบดอก ระหวางกลีบดอก 1 คู มีเกสรเพศผู 2 อัน เกสรเพศเมีย 1 อัน รังไขเหนอืวงกลีบ ผล รูปกลม สีเขียว เมื่อแกเปนสีน้าํตาล เมล็ดขนาดเล็กจํานวนมาก อัดกันแนน สีน้ําตาลเขม (อนุชญา, 2548) ระยะเวลาออกดอก เกือบตลอดป ชวงเวลาที่หอม ตลอดวัน การขยายพันธุ เพาะเมล็ด หรือตอนกิ่ง ประโยชน ปลูกเปนไมประดับ เปนสมนุไพร

Page 17: การตรวจเอกสาร - KU...3 การตรวจเอกสาร 1. ค าจ าก ดความของสารหอมระเหย สารหอมระเหยเป

19

14. จําป ชื่อทองถิ่น จําป ชื่อสามัญ White Chempaka ชื่อวิทยาศาสตร Michelia alba DC. วงศ Magnoliaceae ภาพที่ 14 ดอกจําป ลักษณะพฤกษศาสตร

ไมตนขนาดกลางถึงใหญ สูงประมาณ 10-20 เมตร ลําตนสีน้ําตาลหรือสีน้ําตาลออน เปลือกลําตนและกิ่งแกแตกเปนรองถ่ี ตามแนวยาว กิ่งแขนงและกิ่งออนเปราะหักงาย กิ่งออนสีเขียวจุดประสีขาว ใบเดีย่ว เรียงสลับหรือเวียน รูปรี ปลายใบแหลม โคนใบสอบเรียว ขอบใบเรียบ ใบหนาแข็ง มีสีเขียวเปนมนั มีหูใบใหญหุมยอดออนไว เมื่อใบเจริญเต็มที่สวนของหูใบจะหลุดรวงไป ดอกเดีย่ว ออกตามซอกใบ กลีบรวม 12 กลีบ เรียง 3 ช้ัน ช้ันละ 4 กลีบ ช้ันนอกมีขนาดใหญ ช้ันกลางมีขนาดเล็กกวาชัน้นอก เรียงสลับกบัชั้นนอก ช้ันในมีขนาดเล็กที่สุด เรียงสลับกับชั้นกลาง มีสีขาวนวล เกสรเพศผูจํานวนมาก แยกกัน ลักษณะเปนแผน ไมมกีาน เกสรเพศเมยีจํานวนมาก แยกกัน ตดิบนกานชูเกสรเพศเมีย รังไขเหนือวงกลีบ ผลกลุม เมื่อแกแหงแตกตามยาวแนวเดียว เยือ่หุมเมล็ดสีแดง เมล็ดสีดํามี 1-4 เมล็ดตอผล (อนุชญา, 2548)

ระยะเวลาออกดอก ตลอดป ชวงเวลาที่หอม ตลอดวัน ประโยชน ปลูกประดับ และเปนสมุนไพร

Page 18: การตรวจเอกสาร - KU...3 การตรวจเอกสาร 1. ค าจ าก ดความของสารหอมระเหย สารหอมระเหยเป

20

15. กรรณิการ ชื่อทองถิ่น กณิการ กรณิการ กรรณิการ (ภาคกลาง) ชื่อสามัญ Night Blooming Jasmine ชื่อวิทยาศาสตร Nyctanthes arbor- tritis L. วงศ Oleaceae ภาพที่ 15 ดอกกรรณิการ ลักษณะพฤกษศาสตร

ไมพุมขนาดเลก็ เปลือกหยาบและมีขนแขง็สีขาว ใบเดีย่ว เรียงตรงขามสลับตั้งฉาก รูปไข ปลายใบเรียวแหลม โคนใบมน ขอบใบเรียบ หรือจักเล็กนอย เนื้อใบสาก มีหนามขนาดเล็กที่ผิวใบ ดอกชอแบบชอแยกแขนง ออกตามซอกใบและปลายกิ่ง มีใบประดับรองรับชอดอก สมบูรณเพศ สมมาตรตามรัศมี กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันเปนรูปถวย กลีบดอก 5-8 กลีบ โคนเชื่อมติดกันเปนหลอดสีสม ปลายแยกเปนกลีบสีขาว เกสรเพศผู 2 อัน ติดที่คอหลอดกลีบดอก เกสรเพศเมีย 1 อัน รังไขเหนือวงกลีบ ผล กลมแบน ปลายมีติ่งแหลม เมื่อแกแตก 2 ซีก มีเมล็ดซีกละ 1 เมล็ด (อนุชญา, 2548) ระยะเวลาออกดอก สิงหาคม-ธันวาคม ชวงเวลาที่หอม กลางคืน ประโยชน ปลูกเปนไมประดับ ดอกใชทําสียอมผาใหสีเหลือง ใชทําน้ําหอม เปน

สมุนไพร (คณติา, 2536)

Page 19: การตรวจเอกสาร - KU...3 การตรวจเอกสาร 1. ค าจ าก ดความของสารหอมระเหย สารหอมระเหยเป

21

16. พุทธชาดกานแดง ชื่อทองถิ่น พุทธชาดกานแดง จัสมิน จะขาน (กะเหรีย่ง-แมอองสอน) มะลิกานแดง

มะลิฝร่ังเศส ชื่อสามัญ Spanish Jasmine, Catalonian Jasmine ชื่อวิทยาศาสตร Jusminum officinale L.f. var. grandiflorum (L.) Kob. วงศ Oleaceae ภาพที่ 16 ดอกพุทธชาดกานแดง ลักษณะพฤกษศาสตร ไมเถา ขนาดเล็ก ใบประกอบแบบขนนกปลายคี่ เรียงตรงขาม มีใบยอย 5-9 ใบ รูปไข ปลายใบมน โคนใบมน ขอบใบเรยีบ ดอกชอแยกแขนง ออกที่ปลายกิ่ง สมบูรณเพศ สมมาตรตามรัศมี กลีบเลี้ยง 5 กลีบ โคนเชื่อมติดกันปลายแยกเปนแฉกเรยีวแหลม กลีบดอก 5 กลีบ เชือ่มติดกันเปนหลอดยาว ปลายแยกเปนกลบี สีขาว มีกล่ินหอมมาก ดอกบานวนัเดยีวแลวโรย ดอกตูมสีแดงเขม เกสรเพศผู 2 อัน ติดที่หลอดกลีบดอก เกสรเพศเมีย 1 อัน รังไขเหนือวงกลีบ (อนุชญา, 2548) ระยะเวลาออกดอก ตลอดป ชวงเวลาที่หอม ตลอดวัน ประโยชน เปนไมประดบั ดอกสดมีน้ํามันหองระเหย ที่มีกล่ินหอมเฉพาะตัว กล่ันไอ

น้ําทําเปนหวัน้ําหอม สําหรับแตงกลิ่นเครือ่งสําอาง

Page 20: การตรวจเอกสาร - KU...3 การตรวจเอกสาร 1. ค าจ าก ดความของสารหอมระเหย สารหอมระเหยเป

22

17. มะลิหลวง ชื่อทองถิ่น มะลิหลวง ชื่อสามัญ Angelwing Jasmine ชื่อวิทยาศาสตร Jasminum nitidum Skan วงศ Oleaceae ภาพที่ 17 ดอกมะลิหลวง ลักษณะพฤกษศาสตร ไมพุมกึ่งเลื้อย แตกกิ่งยอดจํานวนมาก เปนพุมแนน ใบเดีย่ว เรียงตรงขามสลับตั้งฉาก รูปใบหอก ปลายใบเรียวแหลม โคนใบมน ขอบใบเรียบ แผนใบเกลี้ยงเปนมนั ดอกชอแบบชอกระจุก ออกตามซอกใบและปลายกิ่ง สมบูรณเพศ สมมาตรตามรัศมี ดอกตูมสมีวงแดง กานดอกมีสีเขียวอมมวงออน กลีบเลี้ยง 4-6 กลีบ โคนเชื่อมติดกัน ปลายแยกเปนแฉกเรยีวแหลมตั้งฉากกับหลอดกลีบเลี้ยง สีมวงแดง กลีบดอก 6-12 กลีบ เชื่อมติดกันเปนหลอด ปลายแยกเปนกลีบ สีขาว ดอกเริ่มบานและสงกลิ่นหอมในชวงเย็น ดอกบานวันเดียวและโรยในชวงเยน็ เกสรเพศผู 2 อัน ติดที่หลอดกลีบดอก เกสรเพศเมีย 1 อัน รังไขเหนือวงกลีบ (อนุชญา, 2548) ระยะเวลาออกดอก ตลอดป ชวงเวลาที่หอม ตอนเย็นจนถึงชวงบายของวนัรุงขึ้น การขยายพันธุ ปกชํา ทาบกิ่ง และตอนกิง่ ประโยชน ปลูกเปนไมประดับ

Page 21: การตรวจเอกสาร - KU...3 การตรวจเอกสาร 1. ค าจ าก ดความของสารหอมระเหย สารหอมระเหยเป

23

18. เข็มหลวง ชื่อทองถิ่น เข็มหลวง (ภาคเหนือ) ชื่อวิทยาศาสตร Ixora spectabilis Wall. วงศ Rubiaceae ภาพที่ 18 ดอกเข็มหลวง ลักษณะพฤกษศาสตร ไมพุม สูง 1-3 เมตร ใบเดี่ยว รูปรีแกมขอบขนาน สีเขียวเปนมัน ใตใบสีออนกวา ดอกชอ ขนาดใหญ ออกที่ปลายกิ่ง ดอกตูมสีชมพ ูแลวเปลี่ยนเปนสีขาวเมื่อแยม ดอกบานสีเหลือง กลีบมวนออก (อนชุญา, 2548) ระยะเวลาออกดอก เกือบตลอดป ชวงเวลาที่หอม ตลอดวัน หอมแรงตอนเยน็ถึงเชาวันรุงขึน้ การขยายพันธุ ปกชําและตอนกิ่ง ถิ่นกําเนิด ประเทศแถบเอเชีย ประโยชน ปลูกเปนไมประดับ

Page 22: การตรวจเอกสาร - KU...3 การตรวจเอกสาร 1. ค าจ าก ดความของสารหอมระเหย สารหอมระเหยเป

24

19. คัดเคา ชื่อทองถิ่น เขี้ยวกระจับ (ภาคตะวันตกเฉียงใต) คัดเคา (ภาคเหนือ, ภาค ตะวนัออกเฉียงเหนือ) คัดเคาเครือ (นครราชสีมา) คัดเคาหนาม (ชัยภูม)ิ เค็ดเคา (ภาคเหนือ) จีเคา พญาเทาเอว (กาญจนบุรี) หนามลิดเคา (เชียงใหม) ชื่อสามัญ - ชื่อวิทยาศาสตร Oxyceros horridus Lour. ชื่อพอง Randia siamensis Craib วงศ Rubiaceae ภาพที่ 19 ดอกคัดเคา ลักษณะพฤกษศาสตร ไมพุมกึ่งเลื้อย เนื้อไมแข็งเหนียว บริเวณขอมีหนามโคงแหลมเกดิเปนคู ตรงขามกัน ใบเดี่ยว เรียงตรงขามสลับตั้งฉาก รูปไขแกมขอบขนาน ปลายใบแหลม โคนใบมน ขอบใบเรยีบ ดอกชอแบบชอกระจกุ ออกที่ปลายกิ่งหรือซอกใบใกลปลายกิ่ง สมบูรณเพศ สมมาตรตามรัศมี กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันเปนรูปถวย ปลายจักแหลม กลีบดอก 5 -6 กลีบ เชื่อมติดกนัเปนหลอด ปลายบานออกแยกเปนกลีบ เมื่อแรกบานมสีีขาว ตอมาเปลี่ยนเปนสีขาวอมเหลืองและสีเหลือง บริเวณคอหลอดดานในมีขนสีขาวจํานวนมาก มีกานดอกทีแ่ข็งแรงมาก เกสรเพศผู 5 -6 อัน ติดระหวางแฉกของกลีบดอก กานเกสรสั้น เกสรเพศเมีย 1 อัน ยอดเกสรพองออกเปนรูปทรงกระบอก รังไขใตวงกลีบ ผล รูปรี ฉ่ําน้ํา เมื่อแกสีดํา (อนุชญา, 2548) ระยะเวลาออกดอก กุมภาพนัธ-พฤษภาคม ชวงเวลาที่หอม ตลอดวัน หอมแรงชวงเย็นถึงกลางคืน ประโยชน ปลูกเปนไมประดับ เปนสมนุไพร (คณิตา, 2536)

Page 23: การตรวจเอกสาร - KU...3 การตรวจเอกสาร 1. ค าจ าก ดความของสารหอมระเหย สารหอมระเหยเป

25

20. พุดน้ําบุศย ชื่อทองถิ่น ตะบือโก บาแยมาเดาะ (มาเล-นราธิวาส) พุดน้ําบุษย (ภาคกลาง) รักนา

รัตนา (ภาคใต) ระนอ (มาเล-ยะลา) ระไน (ยะลา) ชื่อวิทยาศาสตร Gardenia carinata Wall. วงศ Rubiaceae ภาพที่ 20 ดอกพุดน้ําบุศย ลักษณะพฤกษศาสตร

ไมพุมขนาดเลก็ ทรงพุมแนนทึบ ใบเดีย่ว เรียงตรงขามสลับตั้งฉาก รูปรี ปลายใบเรียวแหลม โคนใบเบี้ยว หลังใบเปนมนั เสนกลางใบสีขาว เนื้อใบบาง สีเขียวเขมเปนมัน ดอกเดี่ยว ออกตามซอกใบใกลปลายกิ่ง สมบูรณเพศ สมมาตรตามรัศมี กลีบเลี้ยง 7 กลีบโคนเชื่อมติดกนัปลายแยกเปนแฉก กลีบดอก 7 กลีบ เชื่อมติดกันกันเปนหลอดยาว ปลายแยกเปนกลบี สีเหลือง เกสรเพศผู 7 อัน ติดที่หลอดกลีบดอก กานชูอับเรณูส้ัน เกสรเพศเมีย 1 อัน รังไขใตวงกลีบ (อนุชญา, 2548) ระยะเวลาออกดอก ตลอดป ชวงเวลาที่หอม พลบค่ํา การขยายพันธุ ปกชํา และตอนกิ่ง การแพรกระจาย มีถ่ินกําเนิดอยูในแถบมาเลเซีย และภาคใตของไทย ประโยชน ปลูกเปนไมดอกไมประดับ ใชปรุงแตงกลิน่หอมตาง ๆ (คณิตา, 2536)

Page 24: การตรวจเอกสาร - KU...3 การตรวจเอกสาร 1. ค าจ าก ดความของสารหอมระเหย สารหอมระเหยเป

26

21. พุดแสงอษุา ชื่อทองถิ่น พุดแสงอุษา พดุฮาวาย ชื่อวิทยาศาสตร Gardenia taitensis DC. วงศ Rubiaceae ภาพที่ 21 ดอกพุดแสงอษุา ลักษณะพฤกษศาสตร ไมพุมขนาดเลก็ แตกกิ่งจํานวนมาก ทรงพุมกลมโปรง ใบเดี่ยว เรียงตรงขามสลับตั้งฉาก รูปใบหอกกลับ โคนใบสอบ ปลายใบแหลม-มน ขอบใบเรียบ เปนคลื่นเล็กนอย เนื้อใบหนา ผิวใบเรียบเปนมนั ดอกเดี่ยว ออกตามซอกใบใกลปลายกิ่ง สมบูรณเพศ สมมาตรตามรัศมี กลีบเลี้ยง 4-5 กลีบ เชื่อมติดกันเปนหลอดยาว ปลายแยกเปนสัน กลีบดอก 7 กลีบ เชือ่มติดกันเปนหลอด ปลายบานออกแยกเปนแฉก ลักษณะอวบหนา สีขาว มีกล่ินหอมออน ๆ เกสรเพศผู 7 อัน ติดที่คอหลอดกลีบดอก 5 อัน และตดิที่โคนหลอดกลีบดอก 2 อัน ไมมกีานเกสร อับละอองเรณูยาว เกสรเพศเมยี 1 อัน กานเกสรยาวพนหลอดกลีบดอกออกมาเล็กนอย รังไขใตวงกลีบ (อนุชญา, 2548) ระยะเวลาออกดอก ตลอดป ชวงเวลาที่หอม ตลอดวัน การขยายพันธุ ปกชํา ตอนกิ่ง ประโยชน ปลูกเปนไมประดับ เปนสมนุไพร (คณิตา, 2536) สรรพคุณ ลําตน ตากแหงดื่มแกไขทับระดู ประจําเดอืนไมปกต ิ

Page 25: การตรวจเอกสาร - KU...3 การตรวจเอกสาร 1. ค าจ าก ดความของสารหอมระเหย สารหอมระเหยเป

27

22. แวววิเชียร

ชื่อทองถิ่น แวววเิชียร, เทียนญี่ปุน ชื่อสามัญ - ชื่อวิทยาศาสตร Angelonia Goyazensis วงศ Scrophulariaceae ภาพที่ 22 ดอกแวววิเชียร ลักษณะทางพฤกษศาสตร แวววเิชียรเปนไมลมลุก สูง 50-120 ซม. ลําตนเล็ก เสนผานศูนยกลาง ไมเกิน 1 ซม. แตกกิ่งใกลผิวดนิ ใบเปนใบเดีย่ว เรียงตรงขามกัน รูปหอก ปลายแหลม ขอบใบหยัก กวาง 0.5-1.2 ซม. ยาว 3-10 ซม. ดอกออกทุกซอกใบตลอดปลายยอด มีหลายสี เชน ขาว ชมพ ูฟาอมมวง และสองสีในดอกเดียวกัน กลีบเลี้ยงสีเขียว โคนกลีบเชื่อมกนั ปลายแยกเปน 5 แฉก ยาว 2-2.5 ซม. โคนกลีบเชื่อมติดกันเปนถุงสั้น ๆ ปลายแยกเปนกลีบขนาดไมเทากัน เมื่อดอกบานมเีสนผานศูนยกลาง 1.5 ซม. ดอกมีกล่ินหอมออน ๆ ออกดอกตลอดป (อนุชญา, 2548) ระยะเวลาออกดอก ออกดอกตลอดป ชวงเวลาที่หอม - การขยายพันธุ การเพาะเมลด็ การปกชํา ประโยชน นิยมปลูกเปนไมดอกไมประดับสวยงาม มีกล่ินหอม

Page 26: การตรวจเอกสาร - KU...3 การตรวจเอกสาร 1. ค าจ าก ดความของสารหอมระเหย สารหอมระเหยเป

28

23. ราตรีสวรรค ชื่อทองถิ่น ราตรีสวรรค ชื่อวิทยาศาสตร Clerodendrum calamitosum L. วงศ Lamiaceae ภาพที่ 23 ดอกราตรีสวรรค ลักษณะพฤกษศาสตร ไมพุมขนาดเล็ก สูง 1-2 เมตร แตกกิ่งมาก ทรงพุมกลมแนน ใบเดีย่ว เรียงสลับ ปลายใบแหลม โคนใบมน ขอบใบจัก แผนใบมีขนปกคลุม สากมือ เห็นเสนใบชัดเจน ดอกชอแบบชอกระจกุ ออกทีซ่อกใบและปลายยอด ทยอยบาน สมบูรณเพศ สมมาตรตามรัศมี กลีบเลี้ยง 5 กลีบ แยกกัน กลีบดอก 5 กลีบ โคนเชื่อมติดกนัเปนหลอดยาว ปลายแยกเปนกลีบ เกสรเพศผู 5 อัน ติดที่หลอดกลีบดอก ยาวพนหลอดกลีบดอก เกสรเพศเมีย 1 อัน ยาวพนหลอดกลีบดอก รังไขเหนือวงกลีบ ผลเมล็ดเดียวแข็ง รูปขอบขนานแกมรี สีดํา (อนุชญา, 2548) ระยะเวลาออกดอก ตลอดป ดอกบานอยูนาน 2-3 วัน ชวงเวลาที่หอม มีกล่ินหอมออนชวงพลบค่ํา การขยายพันธุ เพาะเมล็ด ปกชํา และตอนกิง่ ประโยชน ปลูกเปนไมประดับ (คณิตา, 2536)

Page 27: การตรวจเอกสาร - KU...3 การตรวจเอกสาร 1. ค าจ าก ดความของสารหอมระเหย สารหอมระเหยเป

29

3. ลักษณะของพืชท่ีจะใชสกัด โดยแบงกลุมของชนิดพืชที่มนี้ํามันหอมระเหยออกเปน 3 กลุมคือ กลุมท่ี 1 มีน้ํามันมาก ตัวอยางเชน เปลือกสมตางๆ จะสามารถมองเห็นเซลลที่เก็บน้าํมันหอมระเหยไดดวยตาเปลาอยางชัดเจน เมื่อบีบเบาๆ ก็จะมีน้ํามันออกมา และมีกล่ินหอมได กลุมท่ี 2 มีน้ํามันปานกลาง ตัวอยางเชน ตะไคร ใบมะกรูด กระเพรา โหระพา กลุมนี้ เมื่อเดินผานตนพชื จะไมมกีล่ินหอมออกมา แตเมื่อขยี้ จะมีกล่ินหอม กลุมท่ี 3 มีน้ํามันนอย ตวัอยางเชน ดอกไมตางๆ เชน มะลิ กระดังงา ซอนกล่ิน ดอกไมเหลานี้ จะรําเพยกลิ่นหอมไปไกล แตเมื่อขยี้ หรือบีบจะไมมีกล่ินหอม แตจะมีกล่ินเหม็นเขียว 4. วิธีการสกัดสารหอมระเหยจากพรรณไมหอม

4.1 การสกัดสารโดยใชของไหลเหนือวิกฤต

ของไหลเหนอืวิกฤตมีคุณสมบัติการสงถายคลายกาซ ซ่ึงสามารถพาสารที่ตองการสกัดออกจากตวัอยางที่เปนเมทรกิซได จึงเหมาะสมตอการสกัดสารจากสมนุไพรกวาสภาวะอื่น ๆ วิธีการสกัดสารจากสมุนไพรโดยอาศัยของไหลเหนือวิกฤตเปนวิธีที่หลายประเทศในยุโรปและสหรัฐอเมริกาแนะนําใหใช เพื่อลดปริมาณการใชตัวทําละลายอินทรียในหองปฏิบัติการหรือโรงงานอุตสาหกรรม ซ่ึงอาจสรางปญหามลภาวะตอส่ิงแวดลอม และวิธีนีย้ังใชเวลาในการสกัดนอยกวา ดวย อุปกรณการสกัดสารโดยอาศัยของไหลเหนือวิกฤตประกอบดวย ถังบรรจุของไหลเหนือวิกฤต ถังใส modifiedagent ซ่ึงเปนตัวชวยเพิ่มความจําเพาะในการสกดัสาร ถังใสตัวอยางสมุนไพรเพื่อสกัด วาลวกาซ ถังเก็บสารสกัด (สารสกัดยังปนอยูกบัของไหลเหนือวิกฤต) ซ่ึงจะมีทอเพื่อใหของไหลเหนือวิกฤตแยกออกไปได เมื่อสกัดเก็บแลวจึงนําภาชนะสําหรับเก็บสารสําคัญมาถายสารสกัดออกจากถัง

Page 28: การตรวจเอกสาร - KU...3 การตรวจเอกสาร 1. ค าจ าก ดความของสารหอมระเหย สารหอมระเหยเป

30

การสกัดดวยของไหลเหนือวกิฤตมีขอดีหลายประการ ไดแก เปนตัวทําละลายที่สามารถควบคุมไดโดยการปรับอุณหภูมหิรือความดัน สามารถนําของไหลเหนือวิกฤตกลับมาใชใหม เปนตัวทําละลายที่ไมเปนอันตรายหรือมีสารตกคางที่ไมเปนอันตรายตอส่ิงแวดลอม สามารถสกัดสารสําคัญที่มีจุดเดือดสูงโดยใชอุณหภูมิต่าํได ไมจําเปนตองทําความสะอาดหรือปรับสภาพของสารสกัดเชนเดียวกับวิธีการสกดัแบบดั้งเดิม สามารถสกัดสารที่สลายตัวโดยอุณหภูมิสูงไดเพราะใชอุณหภูมิต่ําในการสกัด แตอยางไรก็ตาม การสกัดดวยของไหลเหนือวิกฤติยังมีขอเสีย ไดแก เครื่องมือมีราคาแพง เนื่องจากการสกัดตองใชความดนัสูง ดังนั้นอุปกรณที่ใชตอความดันสูงได และตองมีอุปกรณในการอดัเพื่อนําตวัทําละลายกลับมาใชใหม และเพือ่ลดคาใชจายของตัวทําละลาย

ภาพที ่24 เครื่องสกัดดวยของไหลเหนือวิกฤตและสวนประกอบของเครื่องมือ ที่มา: www.thaiscience.com

Page 29: การตรวจเอกสาร - KU...3 การตรวจเอกสาร 1. ค าจ าก ดความของสารหอมระเหย สารหอมระเหยเป

31

ชนิดของตัวทาํละลายเปนปจจัยสําคัญตอสารที่ตองการสกัด ตัวทําละลายควรมีความสามารถในการสกัดสูง เปนสารเฉื่อย งายตอการแยกจากสารสกัด และราคาถูก โดยทั่วไปนิยมใชคารบอนไดออกไซดมากที่สุด 4.2 การกล่ันโดยใชน้ํา วิธีนี้สามารถทําไดโดยใชอุปกรณสําหรับการกลั่น เชน หมอกล่ัน, เครื่องควบแนน และภาชนะรองรับน้ํามัน วิธีการก็คือ บรรจุพืชที่ตองการสกัดน้ํามนัหอม ระเหยลงในหมอกล่ัน เติมน้ําพอทวม แลวตมจนน้ําเดือด เมื่อน้ําเดือดระเหยเปนไอ ไอน้ําจะชวยพาน้าํมันหอมระเหยที่อยูในเนื้อเยื่อของพชืออกมาพรอมกัน เมื่อผานเครื่องควบแนน ไอน้ําและไอของน้ํามันหอมระเหยจะควบแนนเปนของเหลว ไดน้ํามันหอมระเหย และน้ํา แยกชั้นจากกัน สําหรับการกลั่นพืชปริมาณนอยๆ ในหองปฏิบัติการ เราสามารถทําได โดยใชชุดกลัน่ที่ทําจากเครือ่งแกว เรียกวา ชุดกลั่นชนดิ Clevenger

ภาพที่ 25 อุปกรณการกลั่นโดยใชน้ํา ที่มา: www.thaiscience.com

Page 30: การตรวจเอกสาร - KU...3 การตรวจเอกสาร 1. ค าจ าก ดความของสารหอมระเหย สารหอมระเหยเป

32

สวนการกลั่นพืชปริมาณมาก ควรใชเครื่องกลั่นที่มีขนาดใหญขึ้น อาจทําดวยเหล็ก สเตนเลส หรือทองแดง โดยอาศัยหลักการเดียวกัน

ภาพที่ 26 เครื่องกล่ันโดยใชน้ําในระดับอตุสาหกรรม ที่มา: www.thaiscience.com

การกลั่นโดยใชน้ํานี ้มีขอดี คือ เปนวิธีที่งาย อุปกรณในการกลั่น ไมยุงยากซับซอน และคาใชจายต่ํา แตก็มีขอเสีย คอื ในกรณีที่ตองกล่ันพืชปริมาณๆ ความรอนที่ใหสูหมอกล่ันจะไมสม่ําเสมอตลอดทั้งหมอกล่ัน พืชที่อยูดานลางใกลกับเตา อาจเกิดการไหมได ทําใหน้ํามันหอมระเหยที่กล่ันได มีกล่ันเหม็นไหมตดิปนมา อีกทั้งการกลั่นโดยวธีินี้ พืชจะตองสัมผัสกับน้ําเดือดโดยตรงเปนเวลานาน ทําใหองคประกอบทางเคมีของน้ํามันหอมระเหย เกิดการเปลี่ยนแปลงไปบางบางสวน

Page 31: การตรวจเอกสาร - KU...3 การตรวจเอกสาร 1. ค าจ าก ดความของสารหอมระเหย สารหอมระเหยเป

33

4.3 การกล่ันโดยใชน้ําและไอน้าํ

ภาพที่ 27 อุปกรณการกลั่นโดยใชน้ําและไอน้ํา ที่มา: www.thaiscience.com วิธีนี้มีหลักการคลายกับการกลั่นโดยใชน้ํา แตแตกตางตรงที่ ภายในหมอกล่ันจะมีตะแกรงสําหรับวางพืชไวเหนือระดับน้ํา เมื่อใหความรอน โดยเปลวไฟ หรือไอน้ําจากเครื่องกาํเนิดไอน้าํ (Boiler), น้ําภายในหมอกล่ัน จะเดือดกลายเปนไอ การกลั่นโดยวิธีนี ้พชืที่ใชกล่ันจะไมสัมผัสกับความรอนโดยตรง ทําใหคุณภาพของน้ํามนัหอมระเหยดกีวาวิธีแรก 4.4 การกล่ันดวยไอน้ํา (Steam distillation)

หลักการที่สําคัญของการสกัดโดยการกลัน่ดวยไอน้ําคือ “สารที่ตองการสกัดจะตองระเหยไดงาย สามารถใหไอน้ําพาออกมาจากของผสมได และสารที่สกัดไดจะตองไมรวมเปนเนื้อเดยีวกับน้ําหรือไมละลายน้ํา” (เพราะถาของเหลวที่ไดจากการกลั่นสามารถละลาย ในน้ําไดจะตองนําของเหลวนั้นไปกลั่นแยกอีกครั้งเพื่อใหไดของเหลวบริสุทธิ์ออกมา) หลังจากของเหลวที่สกัดดวยไอน้ําถูกแยกออกมาจากของผสมแลว ของเหลวจะแยกเปน 2 ช้ัน โดยช้ันหนึ่งเปนน้ําสวนอีกชัน้หนึ่งเปนของเหลวที่ตองการ ซ่ึงสามารถใชกรวยแยกเพื่อแยกออกจากกันได ตัวอยางของการกลั่นดวยไอน้ํา ไดแกการสกัดน้ํามันหอมระเหยจากพชื เชน เปลือกสม เปนตน

Page 32: การตรวจเอกสาร - KU...3 การตรวจเอกสาร 1. ค าจ าก ดความของสารหอมระเหย สารหอมระเหยเป

34

วิธีนี้มีขอด ีคือ เวลาที่ใชในการกลั่นจะสั้นกวา ปริมาณน้าํมันมีคุณภาพ และปริมาณดกีวา แตไมเหมาะกบัพืชที่มีลักษณะบาง เชน กลีบกุหลาบ เพราะไอน้ําจะทาํ ใหกลีบกหุลาบรวมตัวกันเปนกอน น้ํามนัหอมระเหยที่อยูในกลีบกหุลาบไมสามารถออกมา พรอมไอน้ําไดทั้งหมด ทําใหไดปริมาณน้ํามันหอมระเหยนอยลง หรือไมไดเลย การกลั่นน้ํามันกหุลาบจึงควรใชวิธีการกลั่นดวยน้ําจะเหมาะสมกวา เคร่ืองกลั่นน้ํา เครื่องกล่ันน้ํา (Water Distillation Equipment) เปนเครื่องมือที่นิยมใชกล่ันน้ําเพื่อใชในหองปฏิบัติการ มีสวนประกอบที่สําคัญ 2 สวน คือ สวนกล่ัน (Distillation Chamber) และสวนควบคุม (Control Panel) Distillation Chamber สําหรับสวนกลั่นประกอบไปดวยชุดกลั่น คือมี ภาชนะใสของเหลว เร่ิมตนหรือขวดกล่ัน สวนทําความรอน distillation column คอนเดนเซอรและภาชนะรองรบัของเหลวจากการกลั่น ซ่ึงภาชนะในสวนกล่ันนี้สวนใหญจะทํามาจากแกวชนดิ borosilicate หรือ fused quartz, tin และ titanium สวนกล่ันสามารถมองเห็นไดจากภายนอก ทําใหสังเกตกระบวนการกลั่นไดชัดเจน ผานกระจกกันความรอน (plexiglass) ซ่ึงปดสวนกล่ันเอาไว เครื่องกล่ันบางรุนจะสามารถใชภาชนะแกวทั่วไป เชน ฟลาส หรือ บีกเกอร มาทําเปนขวดกลั่นและภาชนะรองรับได แตบางรุนจะตองใชภาชนะเฉพาะที่มากับเครื่องเทานั้น นอกจากนี้ในเครื่องกลั่นบางชนิด อาจจะมีสวนประกอบที่ใชในงานวิเคราะหโดยเฉพาะ เชน การไทเทรต และการทําปฏิกริิยา Kjeldahl ดวย สวนประกอบที่สําคัญที่สุดของสวนกลั่นคอืคอนเดนเซอร เพราะคอนเดนเซอรเปนสวนที่ทําใหไอน้าํที่ระเหยออกมาจากการใหความรอน เกิดการควบแนนและกลั่นตัวกลับมาเปนหยดน้ําอีกครั้งอุณหภมูิบริเวณคอนเดนเซอรจึงควรมีอุณหภูมิทีต่่ํามากๆ เพื่อใหมีอัตราการควบแนนสูง โดยทั่วไปจะใชน้ําเย็นหลอเล้ียงอยูรอบคอนเดนเซอร และตองมีการหมนุเวยีนน้ําเยน็อยูตลอดเวลาเพื่อไมใหเกดิความรอนสะสมอยูในคอนเดนเซอร

Page 33: การตรวจเอกสาร - KU...3 การตรวจเอกสาร 1. ค าจ าก ดความของสารหอมระเหย สารหอมระเหยเป

35

Control Panel สวนควบคุมใชสําหรับตั้งโปรแกรมการทาํงาน เชน อุณหภูมแิละเวลาที่ใชในการกลัน่ กําหนดการทํางานในการวิเคราะหเชน การปลอยสารละลายในการไทเทรต และยังสามารถคํานวณผล การวิเคราะหได นอกจากนี้ในเครื่องกลั่นรุนใหมๆยงัสามารถเชื่อมตอเขากับเครื่องคอมพิวเตอร หรือเครื่องพิมพ(printer) ทําใหสามารถรายงานผลและพมิพผลการทดลอง หรือผลการทํางานออกมาไดทันทีอีกดวย ภาพที่ 28 การกลั่นดวยไอน้ํา ที่มา: อังสนา(2546) 4.5 การกล่ันดวยไอน้ําภายใตแรงดันสูง (Vacuum Steam Distillation) วิธีการเหมือนการสกัดแบบ Steam Distillation แตอยูภายใตความดนัในภาชนะที่ปดสนิท เพื่อเปนการลดจุดเดือดของน้ําและน้ํามนัหอมระเหยใหต่ําลง ทําใหน้ํามันหอมระเหยไมถูกทําลายคุณสมบัติดวยความรอนสูง จะไดคุณภาพน้ํามันหอมระเหยที่ดกีวา 2 วธีิของการกลั่นขางตน 4.6 การสกัดดวยตัวทําละลาย (solvent extraction)

4.6.1 ตัวทําละลายที่ระเหยได (Volatile Solvent )

Page 34: การตรวจเอกสาร - KU...3 การตรวจเอกสาร 1. ค าจ าก ดความของสารหอมระเหย สารหอมระเหยเป

36

ก) Petroleum ether, Hexene

- สกัดเย็น วิธีการสกัด คือ นํา พืช หรือ ดอกไมมาใสในภาชนะที่ตองการสกัด แลวเติมตัวทําละลายลงไป ตั้งทิ้งไวที่อุณหภูมิหอง

- สกัดรอน โดยใช Soxchlet Extraction โดยควบคุมอุณหภูมิเทากับจุดเดือดของ ตัวทําละลายที่ใช ( ประมาณ 40-60 องศาเซลเซียส ) ทั้งสองวิธีจะไดสารประกอบที่เปนสี, น้ํามัน และ wax ละลายออกมาในตัวทําละลาย เรียกวา “Crude extract” จากนั้นนําไประเหยตัวทําละลายออกดวย Vacuum Evaporator จะได “Concrete” หากนําไปสกัดตอดวย Absolute alcohol ก็จะไดน้ํามันหอมระเหยรวมอยูกับแอลกอฮอล เรียกวา “Absolute Oil” (หามรับประทาน) ถาตองการแยกน้ํามันหอมระเหยออกมา ก็นําไประเหยเอาแอลกอฮอลออกใหหมดภายใตความดันสูง ข) Absolute alcohol คือการสกัดดวย Alcohol 95% แบงออกไดเปน 2 วิธีคือ

- สกัดเย็น เปนการนําพืชมาแชในแอลกอฮอล ตั้งทิ้งไวที่อุณหภูมิหอง จะไดสารประกอบของพืชที่ละลายไดทั้งในน้ํา และในน้ํามัน เรียกวา “Tincture” (ไมควรรับประทาน)

- สกัดรอน เปนการสกัดดวยแอลกอฮอลโดยใหความรอนประมาณ 70 องศาเซลเซียส โดยใชเครื่องมือ Soxchlet Extraction ไดสารสกัดที่เรียกวา “ Oleoresin” ขอดีของการใชวิธีสกัดแบบ Solvent Extraction คือ ไมทําใหองคประกอบทางเคมีของน้ํามันหอมระเหยเสียไป และ เหมาะกับพืชที่มีน้ํามันหอมระเหยนอย ขอเสียคือ ตัวทําละลายที่ใชบางชนิด มีราคาแพง และตองแนใจวาไดระเหยตัวทําละลายหมดแลว กอนน้ําไปใช 4.6.2 สารละลายที่ระเหยไมได เชน น้ํามัน หรือไขมันจาก พืช หรือ สัตว (Fixed Oil , Lard ) เหมาะสําหรับดอกไมที่มีน้ํามันหอมระเหยนอย ก) Maceration

Page 35: การตรวจเอกสาร - KU...3 การตรวจเอกสาร 1. ค าจ าก ดความของสารหอมระเหย สารหอมระเหยเป

37

เปนการสกัดโดยวิธีแชพืชหรือดอกไม ไวในน้ํามันพืชหรือน้ํามันจากสัตว ทั้งที่อุณหภูมิหอง หรือใหความรอน 70 องศาเซลเซียส จะไดสารประกอบของพืชที่ละลายในน้ํามัน เรียกสารสกัดที่ไดวา “Oil Extract” ข) Enflurage เปนวิธีสกัดโดยใช ไขมันแขง็ จากพืชหรือสัตว (Lard or Magarine)มาทาบางไวบนภาชนะแกวที่มีฝาปด แลวนําพืช หรือดอกไมมาวางไวบนไขมันแข็ง ปดฝาทิ้งไวใหดอกไมรําเพยกลิ่นออกมา (โดยเปลี่ยนดอกไมทุกวันจนกวาไขมันแข็งจะมีกล่ินหอม) กล่ินซึ่งเปนน้ํามันหอมระเหยจะถูกดูดซับไวในไขมันแข็งดงักลาวเรียกวา “Pommade” แลวจึงนํา Pommade มาแยกเอาน้ํามันหอมระเหยออกจากไขมันแข็งโดยการสกดัดวย Absolute alcoholจะได “Absolute Oil” เชนเดียวกับการสกัดจาก Concrete วิธีนี้เหมาะสําหรับดอกไมที่บานทุกวนั จะไดน้ํามนัหอมระเหยที่มกีล่ินธรรมชาติ เพราะไมถูกทาํลายดวยความรอน และไมมีสารประกอบของพืชที่ละลายในน้ํามนัเจือปนออกมา แตตองใชเวลาหลายวัน เปนวธีิที่ใชมาแตโบราณ 4.6.3 สารละลายที่เปนกาซ (Innert Gas) เชน Carbondioxide (CO2)โดยปลอยคารบอนไดออกไซดที่ถูกทาํใหเปนของเหลวที่ความดนัสูง ผานพืชหรือดอกไม กาซ คารบอนไดออกไซดจะพาเอาน้ํามันหอมระเหยออกมาจากพืช แลวจงึนําสารสกัดที่ไดมาระเหยเอากาซออกมาที่อุณหภูมิหอง (กาซคารบอนไดออกไซดจะอยูในสถานะของเหลวที่อุณหภูมิหอง) ทําใหน้ํามนัหอมระเหยไมถูกทาํลายโครงสรางดวยความรอน เปนวิธีที่นยิมใชกนัมาก เพราะจะไดน้ํามันหอมระเหยที่มีกล่ินดี เหมือนธรรมชาติมากที่สุด แตตนทุนจะสูงมาก เหมาะสําหรับการสกัดน้ํามันหอมระเหยเพื่อทําน้ําหอมราคาแพง ขอควรระวัง: ควรเก็บน้ํามนัหอมระเหยไวในขวดแกวเทานั้น ไมควรเก็บในขวดพลาสติก เพราะน้ํามันหอมระเหยบางชนดิละลายพลาสติกได

Page 36: การตรวจเอกสาร - KU...3 การตรวจเอกสาร 1. ค าจ าก ดความของสารหอมระเหย สารหอมระเหยเป

38

ตารางที่ 1 Natural Product

ที่มา: www.dtam.moph.go.th

Flavour and Fragrance Fixed Oil Plant Extracts Food and Soft drink 1. Essential Oil -Fragrance in Perfume -Flavour in Food and Cosmetic -Preservative in Food and Cosmetic

1. Lecithin -Food and Cosmetic

1. Water Soluble Extract -Food

1. Dry Fruit -Fruit Tea

2. Absolute Oil -Fragrance in Perfume

2. Vegetable Oil -Food and Cosmetic

2. Oil Soluble Extract -Cosmetic

2. Dry Fruit -Herbal Tea

3. Tincture -Cosmetic and Medicine

3. Vitamin -Food and Cosmetic

3. Protein -Protein hydrolysate

3. Juice -Concentrate -Formulation

4. Oleoresin -Flavour in Food and Cosmetic -Fragrance in Perfume

4. Glycerine -Soap

4. Enzyme -Papain , Erypsin ect. Use in Cosmetic and Food

4. Instant -Food

5. Distilled water -Cosmetic or Drinking

5. Butter -Food and Cosmetic

5. Pigment - Natural Colour use in Cosmetic , Food and Drink

5. Powder -Snack

6. Surfactant -Cosmetic

6. Gelatin and Pectin -Food and Cosmetic

7. Carbohydrate -Strach in Food and Diet

Page 37: การตรวจเอกสาร - KU...3 การตรวจเอกสาร 1. ค าจ าก ดความของสารหอมระเหย สารหอมระเหยเป

39

5. วิธีการตรวจสอบสารใหกล่ิน การวิเคราะหหา Aromatic Substances in Fragrances หรือ Essential Oil Aromatic Substances คือ สารหอมที่เปนองคประกอบรวมที่ทําใหเกิดกลิ่น (Fragrances or Flower) โดยสารหอมเหลานี้เปนสารเคมทีีมีกล่ินเฉพาะตัวของมัน โดยลําพังแลวสวนใหญจะไมทําใหเกิดกลิ่นเปนที่พึ่งพอใจนัก แตถาอยูรวมๆ กันหลาย ๆ ชนิดในอัตราสวนที่เหมาะสมจะทําใหเกิดกลิ่นทีด่ขีึ้นมามากมายหลายชนิด แลวแตอัตราสวน และชนิดของสารเคมีที่เปนองคประกอบ สารเคมีเหลานี้สามารถพบไดทั้งในพืช สัตว และจากการสังเคราะห การเลือกเทคนิคในการแยกสารตัวอยางนัน้ขึ้นอยูกับปจจัยตาง ๆ ที่ตองพิจารณาดังนี ้

1. ธรรมชาติของสารตัวอยาง 2. วิธีที่ตองการนํามาใชแยกสารตวัอยาง 3. ความสะดวกในการทดลอง 4. ประสบการณกับวิธีทีใ่ชแยกสารตัวอยาง 5. และสิ่งอื่น ๆ ที่อาจพิจารณา

วิธีการวิเคราะหองคประกอบของสารหอมที่มีอยูในน้ํามันหอมระเหย น้ํามันหอม หรือ Fragrances ที่สังเคราะหขึ้นมามีอยูหลายวธีิ คือ 5.1 Gas Chromatography (GC) เปนเครื่องมือที่ใชวิเคราะหสารหอมในน้าํหอมทั่วๆ ไป นิยมใชมากทีสุ่ด เปนการตรวจวดัสารหอมพื้นฐานวามีอะไรบาง จํานวนเทาไหรในน้ําหอมนั้นๆ (Qualitative and Quantitative Analysis) หลักการคือใช gas เปนตัวพา (Carrier) เอาสารหอมที่มีอยูในสภาวะทีเ่ปนไอ (Vapor) ผาน packing material ที่บรรจุอยูภายใน column ชนิด Capillary น้ํามันหอมจะถูกพาออกจาก column ในเวลาที่แตกตางกนัตามคุณสมบตัิทางเคมีฟสิกส และการถูกจับดวย packing material ใน column เมื่อถูกพาออกมาแลวจะเขาสูตวัตรวจวัด (detector) ที่นิยมใชมากที่สุด คอื FID (Flame Ionized Detector) สารหอมทุกตัวที่ออกจาก column จะถูกทําใหแตกตัวเปน ion ที่ตัวตรวจวดั และ

Page 38: การตรวจเอกสาร - KU...3 การตรวจเอกสาร 1. ค าจ าก ดความของสารหอมระเหย สารหอมระเหยเป

40

จะแปรเปนสัญญาณไฟฟาเขาสูเครื่อง chromatopac ที่เปน computer เพื่อบันทึกผลสัญญาณ computer จะแสดงใหทราบเปน peak แตละ peak จะแสดงถึงสารหอมแตละชนดิ พืน้ที่ และความสูงของ peak จะแปรผันโดยตรงกับปริมาณของสารหอมที่มีอยูใน Fragrance นั้นๆ ทําหนาที่ในการแยกองคประกอบของสารที่สามารถระเหยกลายเปนไอ (Volatile organic compounds) ไดเมื่อถูกความรอน กลไกที่ใชในการแยกองคประกอบตางๆ ในสารตัวอยาง อาศัยหลักของความชอบที่แตกตางกันขององคประกอบในตัวอยางที่มีตอเฟส 2 เฟส คือ Stationary phase และ Mobile phase

องคประกอบที่สําคัญของเครื่อง GC สามารถแบงออกไดเปน 3 สวน คือ

ภาพที ่29 สวนประกอบพืน้ฐานของ GC ที่มา: พรรณทพิย(2548) 5.1.1 Injector คือ สวนที่สารตัวอยางจะถกูฉีดเขาสูเครื่องและระเหยเปนไอกอนที่จะเขาสู Column อุณหภูมิทีเ่หมาะสมของ injector ควรเปนอุณหภูมิทีสู่งพอที่จะทําใหสารตัวอยางสามารถระเหยไดแต ตองไมทําใหสารสลายตัว ตวัอยางของ injectorไดแก Split, Splitless, On column 5.1.2 Oven คือ สวนที่ใชสําหรับบรรจุ Column และเปนสวนที่ควบคุมอุณหภูมิของ Column ใหเปลี่ยนไปตามความเหมาะสมกับสารที่ตองการวิเคราะหซ่ึงการควบคุมอุณหภูมิ

Page 39: การตรวจเอกสาร - KU...3 การตรวจเอกสาร 1. ค าจ าก ดความของสารหอมระเหย สารหอมระเหยเป

41

ของ Oven นั้นมี 2 แบบ คือ ก) Isocratic Temperature ข) Gradient Temperature ขอดีของการทํา Gradient temperature คือสามารถใชกับสารตัวอยางทีม่ีจุดเดือดกวาง (Wide boiling range) และยังชวยลดเวลาในการวิเคราะห 5.1.3 Detector คือสวนที่จะใชสําหรับตรวจวัดองคประกอบที่มีอยูในสารตัวอยางและดวูาสารตัวอยางชนดิที่เราสนใจมีปริมาณอยูเทาใด

ตารางที่ 2 เครื่องตรวจวดัทัว่ๆ ไปที่ใชในเครื่องแกสโครมาโตกราฟ

เคร่ืองตรวจวัด ประเภท Support gases

การเลือกจําเพาะ ความสามารถในการตรวจวัด

Dynamic range

Flam Ionization (FID) Mass flow ไฮโดรเจนและอากาศ

สารประกอบอินทรียโดยสวนใหญ

100 pg 107

Thermal Conductivity (TCD)

ความเขมขน สารมาตรฐาน ใชงานไดทั่วๆ ไป 1 ng 107

Electron Capture (ECD)

ความเขมขน Make-up แฮไลด ไนเตรต ไนไตร เปอรออกไซด แอนไฮไดรด โลหะอินทรีย

50 fg 105

Nitrogen-Phosphorus Mass flow ไฮโดรเจนและอากาศ

ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส

10 pg 106

Flame Photometric (FPD)

Mass flow ไฮโดรเจน อากาศ ออกซิเจน

กํามะถัน ฟอสฟอรัส ดีบุก โบรอน อารเซนิก เจอรมาเนียม เซเลเนียม โครเมี่ยม

100 pg 103

Photo Ionization (PID) ความเขมขน Make-up อะลิฟาติกส อะโรมาติกส

2 pg 107

ที่มา: www.sigmaaldrich.com

Page 40: การตรวจเอกสาร - KU...3 การตรวจเอกสาร 1. ค าจ าก ดความของสารหอมระเหย สารหอมระเหยเป

42

5.2 Gas Chromatography / Mass Spectrophotometer (GC / MS) เปนเครื่องมือที่นิยมใชรองลงมาจาก GC และมักจะนิยมใชคูกันเนื่องจากใหคายืนยันแนนอนกวาการใช GC ชนิดเดียว โดยจะแสดงผลของ mass ของ peak เพื่อเปนการยืนยนัวา peak ที่เกิดจาก GC เปนสารชนิดใดแนนอน GC-MS เปนเครื่องมือที่ประกอบไปดวย 2 สวน คือ สวนของเครื่อง GC (Gas chromatography) ซ่ึงเปนสวนที่ทําหนาที่ในการแยกองคประกอบของสารที่มีอยูในตวัอยางใหออกมาทีละองคประกอบกอนที่จะเขาสู detector และ อีกสวนคือ เครื่อง MS (Mass spectrometry) ซ่ึงจะทําหนาที่เปน detector ในการตรวจสอบดูวา องคประกอบตาง ๆ ที่ผานออกมาจากเครื่อง GC นั้น มีเลขมวล (mass number) เปนเทาไร เพื่อที่จะไดสามารถทํานายไดวา สารที่เราสนใจอยูนัน้ประกอบดวยองคประกอบชนิดใดบาง และมีปริมาณเทาไร 5.3 Gas Chromatography / Fourer Transform Infrared (GC / FTIR) เปนเครื่องมืออีกชนิดหนึ่งใชเพื่อยืนยันวา peak ที่ปรากฏในเครื่อง GC เปนสารกลุมใดโดยดูจาก pattern ของ IR Specturm จะทําใหทราบวา peck นั่นมีหมู functional group เปนประเภทใด 5.4 Nuclear Magnetic Resonance (NMR) เปนเครื่องมือทีใชเพื่อศึกษาโครงสรางของสารในน้ําหอมวามีสารประเภทใด โดยดูวาการเปลี่ยนแปลงของ Proton (H) ที่เกิดขึ้น 5.5 High Performance Tinlayer Liquid Chromatography (HPLC) HPLC เปนเทคนิคการแยกสารประกอบ (Substances) โดยอาศัยหลักการความแตกตางของอัตราการเคลื่อนที่ของสารประกอบใน Stationary Phase ของคอลัมนโดยมี Mobile Phase เปนตวัพาไป เมื่อตอเขากับ Detector จะสามารถตรวจวัดสารที่ออกมาจากคอลัมน (Analytes or Solutes) ไดอยางตอเนื่องสามารถตรวจวัดทั้งเชิงคณุภาพ (Qualitative Analysis) และเชิงปริมาณ

Page 41: การตรวจเอกสาร - KU...3 การตรวจเอกสาร 1. ค าจ าก ดความของสารหอมระเหย สารหอมระเหยเป

43

(Quantitative Analysis) สวนใหญนยิมใชวิเคราะหสารประกอบที่ระเหยยาก (Low Volatile Substation) หรือน้ําหนักโมเลกุลสูง (High Molecular Weight Compounds) เปนเครื่องมืออีกชนิดหนึ่งที่สามารถใชหาองคประกอบของสารเคมีในน้ําหอมไดเชนกัน แตไมเปนที่นยิมใชกันมากนัก

ภาพที่ 30 วิธีการวิเคราะหสารโดยใชเครื่องมือ HPLC ที่มา: www.dtam.moph.go.th

HPLC สามารถวิเคราะหสารไดหลายชนิด เชน สารอินทรีย สารประกอบทางชีวภาพ โพลีเมอร คูอิแนนทิโอเมอร สารประกอบที่เสียสภาพไดงาย สารประกอบที่ระเหยยาก ไอออนขนาดเลก็ ไมโครโมเลกุล ตัวอยางที่นาํมาวิเคราะหตองเปนของแขง็หรือของเหลว ตองละลายได 100 %

Page 42: การตรวจเอกสาร - KU...3 การตรวจเอกสาร 1. ค าจ าก ดความของสารหอมระเหย สารหอมระเหยเป

44

(กรองดวย) การแยกสารจะประสบความสําเร็จไดก็ตอเมื่อสารมีอัตราการเคลื่อนที่ที่แตกตางกันภายในคอลัมน สารประกอบที่ถูกแยกนั้นจะเคลื่อนที่ไปตามความยาวทั้งหมดของคอลัมน โดยมี Mobile Phase เปนตัวพาไป

ภาพที่ 31 สวนประกอบของเครื่อง HPLC ที่มา: www.chem.sc.edu

เครื่องตรวจวดั (Detector) สําหรับเครื่อง HPLC 5.5.1 ดีเทคเตอรฟลูออเรสเซนต (Fluorescent Detector) มีสภาพความไวสูงเฉพาะ (selective) เนื่องจากมันมีความสามารถในการวัดฟลูออเรสเซนตที่ไดออกมาจากตัวถูกละลายบางชนิดเมื่อถูกกระตุน (excited) ดวยแสงยวูี ดีเทคเตอรชนิดนี้มีประโยชนมากเมื่อนํามาตรวจหาสาร ในสารตัวอยางทางชีวภาพ (biological samples) ตาง ๆ ที่มีปริมาณนอย ๆ 5.5.2 ยูว-ีวิสิเบิล ดีเทคเตอร (UV-VIS Detectors) อาศัยการดูดกลืนแสงยูวีของสารตัวอยาง ลักษณะที่พิเศษ คือ ไมไวตอการเปลี่ยนแปลงของการไหลและอณุหภูม ิแตคอนขางมีความไวสูงกับสารประกอบอินทรยีเปนสวนใหญ ยูว-ีวิสิเบิลที่

Page 43: การตรวจเอกสาร - KU...3 การตรวจเอกสาร 1. ค าจ าก ดความของสารหอมระเหย สารหอมระเหยเป

45

นิยมใชใน HPLC แบงเปน 3 ชนิด

ก) Fixed-wavelength UV detector ข) Variable UV-VIS detector ค) Photodiode-array detector

5.5.3 เครื่องดิฟเฟอเรนเชยีลรีแฟรกโตมิเตอร (Differential Refractometers) นิยมมากใน HPLC รองลงมาจากเครื่องยวูี ดีเทคเตอร ใชตรวจสอบความแตกตางของดรรชนีหักเห (refractive index, RI) อยางตอเนื่อง ระหวางเฟสเคลื่อนที่กับเฟสเคลื่อนที่ที่มีสารประกอบของตัวถูกละลายละลายอยู ขณะผานออกจากคอลัมน สามารถใหสัญญาณกับตวัทําละลายไดทั้งหมด ตราบที่ตัวถูกละลายมีคาดรรชนีหักเหตางจากเฟสเคลื่อนที่ เครื่อง RI ที่สําคัญมีอยู 3 ชนิด ก) Fresnel Refractometer ข) Deflection Refractometer ค) Interferometric Refractometer

คอลัมน (Column) สําหรับเครื่อง HPLC ภายใน Column จะบรรจุดวยอนุภาคของแขง็จนเต็ม ซ่ึงอนุภาคนีจ้ะตองบรรจุใหแนนและไมมีชองวาง จะตองใชปมชวยใหตัวทําละลายไหลผาน อุณหภูมิของ Column สามารถควบคุมไดโดยการติดตัง้ Column ไวใน Heater Column ปจจุบัน Column มีขนาดเล็กลงเรียกวา Micro bore colum (http://www.kmitl.ac.th/sisc/HPLC/Theory.htm) 5.6 High Performance Tinlayer Liquid Chromatography (HPTLC) ใชวิเคราะหสารสกัดจากธรรมชาติไดดีเพราะ plate ใชแลวทิ้งเลยไมตองกลัวจะสกปรก ใชวิเคราะหทั้งคุณภาพ และปริมาณ Aromatic Substances and Fragrances

Page 44: การตรวจเอกสาร - KU...3 การตรวจเอกสาร 1. ค าจ าก ดความของสารหอมระเหย สารหอมระเหยเป

46

6. กลุมของสารใหกล่ิน น้ํามันหอมระเหย คือ ผลิตภณัฑที่มีองคประกอบซับซอน ประกอบดวยสารที่ระเหยไดจากพืชที่อาจมีการเปลี่ยนแปลงไปบางในระหวางขั้นตอนการผลิต ในประเทศฝรั่งเศสในปจจุบัน ระบุวา น้ํามันหอมระเหยไดมาโดยวิธีกล่ันไอน้ํา หรือการบบีเปลือกนอกในกรณีของผลสมหรือมะนาว หรือโดยการกลั่นแยก น้ํามันหอมระเหยถูกแยกออกจากน้ําไดโดยวิธีทางกายภาพ น้ํามันหอมระเหยอาจถูกนําผานขบวนการทีก่ําจัดสารบางชนดิหรือกลุมของสารบางชนิดหรือกําจัดโดยบางสวน ผลิตภัณฑที่ไดเรียก “terpeneless” “rectified” หรือ “xless” essential oil 6.1 ความแตกตางระหวางน้ํามันพืชและสัตว กับน้ํามันหอมระเหย 6.1.1 น้ํามันทัว่ไป หรือ น้ํามันพื้นฐาน (Fixed Oil) เปน Primaty metabolite พืชใชเปนอาหารในการเจริญเติบโต แต น้ํามนัหอมระเหย (Essential Oil) เปน Secondary metabolite พืชจะใชเพื่อการดํารงชีวิตใหมีอายยุืนยาว และเจริญพันธุ 6.1.2 น้ํามัน Fixed Oil มีจดุเดือด ประมาณ 100 องศาเซลเซียส สวนน้ํามันหอมระเหย สวนใหญ มีจุดเดือด ที่อุณหภูมิหอง

6.2 ขอแตกตางของน้ํามันหอมระเหย (Essential Oil) กับน้ํามันหอมสังเคราะห (Fragrance) 6.2.1 น้ํามันหอมระเหยเปนหัวน้ําหอมที่สกัดจากพืชธรรมชาติโดยตรง สวนน้ําหอมทั่วไปเปนน้ําหอมที่ไดจากการสังเคราะหโดยใชสารเคมี 6.2.2 น้ํามันหอมระเหยมีคุณประโยชนตอรางกายใหทัง้กลิ่นหอม และสรรพคุณในการรักษาโรค นอกจากนัน้ยังใชปรุงแตงอาหารได สวนน้ําหอมสังเคราะหใหแคกล่ินหอมเทานั้นไมมีสรรพคุณในการรักษาโรคและจะแยกเฉพาะวาใชเพื่ออะไร บางชนิดอาจทําใหเกิดโรคได และทําลายสภาวะแวดลอมได

Page 45: การตรวจเอกสาร - KU...3 การตรวจเอกสาร 1. ค าจ าก ดความของสารหอมระเหย สารหอมระเหยเป

47

6.2.3 น้ํามันหอมระเหยมีราคาแพงกวาน้ํามันหอมสังเคราะหทัว่ไป

6.3 สารเคมีที่เปนองคประกอบในพืช สัตวและจากการสังเคราะห

พืช (Plants)

Aromatic Substances ที่พบในพืชเกดิจาก by-product ของขบวนการ metabolism แลวถูกลําเลียงเก็บรักษาเอาไวตามสวนตางๆ ที่แนนอน เชน ดอก ใบ ลําตน เปลือก เนื้อไม ราก เหงา ผล เมล็ด ยาง เปนตน โดยที่ไดจากเปลือก ผล และเมล็ดในของผลไมจะใชมากที่สุดในอตุสาหกรรมเครื่องสําอาง เนื่องจากเปนวตัถุดิบที่หางาย มีจํานวนมาก และราคาถูก สวนสิ่งหอมจากดอกนัน้ราคาสูงมาก

สัตว (Animals)

ส่ิงหอมที่ไดจากสัตวที่ใชในอุตสาหกรรมทําน้ําหอม เชน Ambergris (ปลาวาฬ), Castroleum (บีเวอร), Civer (ชะมด), Musk (กวาง) นั้น ถาวิเคราะหองคประกอบภายในจะพบวามีสารเคมีหลายชนิดรวมกันอยูในอัตราสวนที่แตกตางกันทําใหเกิดกลิ่นเหลานี้ขึ้นมา ยกเวนกรณีของ Musk ที่มีสารเคมี มีกล่ินพวก ketone คือ muskone ชนิดเดียวได

สารสังเคราะห (Synthetic Aromatic Substances)

สารหอมที่เกิดจากการสังเคราะหขึ้นมาเนื่องจากหวัน้ําหอมจากธรรมชาติเปนสิ่งที่หาไดยาก และมีปริมาณนอย และราคาสูง จึงไดมีการสังเคราะหสารหอมขึ้นมาเพือ่ปรับปรุงแตงใหไดหวัน้ําหอมชนิดตางๆ ซ่ึงอาจเปนกลิ่นดอกไม หรือกล่ินอื่นๆ ที่แปลกๆ ออกไป บางชนิดไมมีอยูในธรรมชาติก็มีและในบรรดาสารหอมที่ใชเปนสวนประกอบของหัวน้ําหอมนั้นมีอยูหลายชนิด โดยแตละชนดิจะมีคุณสมบัติ และกลิ่นเฉพาะตัว (www.ice.mpg.de)

Page 46: การตรวจเอกสาร - KU...3 การตรวจเอกสาร 1. ค าจ าก ดความของสารหอมระเหย สารหอมระเหยเป

48

6.4 การจําแนกสารหอม (Classification of Aromatic Substances) 6.4.1 จําแนกตามแหลงที่มา

ก) Isolates คือ สารหอมที่ไดจากการนําเอา Essential oil หรือส่ิงหอมจาก ธรรมชาติอ่ืนๆ ที่เราทราบคุณสมบัติทางเคมี ฟสิกส มาผานขบวนการแยกเพื่อไดสารหอมที่บริสุทธิ์เดี่ยวๆ ชนิดเดยีวออกมา เชน

- Eugenol จาก น้ํามันใบการพลู - Eucalyptol จาก น้ํามันยูคาลิปตัส - Cedrol จาก น้ํามัน Cedar wood - Citral จาก น้ํามันตะไคร - Menthol จาก น้ํามนั Peppermint

ข) Semi Synthetic ไดจากการนํา isolates มาสังเคราะหผานขบวนการทางเคมีอีกทีหนึ่งเพื่อสรางสารหอมชนิดใหมขึ้นมา เชน

- Carvone จาก Limonene - Cedryl acetate จาก Cedrol - Hydroxy citronellal จาก Citronellal - Terpineol จาก Pinene

ค) Synthetic ไดจากการสังเคราะหสารอินทรียพื้นฐาน เชน Coal หรือ Petroleum ผานขบวนการทางเคมี เพื่อใหไดสารที่มีโครงสรางเหมือนกับสารที่พบในธรรมชาติหรือสารตัวใหมที่ไมมีในสูตรโครงสรางเหมือนสารหอม จากธรรมชาติแตใหแนวกลิ่นเหมือนกนั เชน

- Benzyl alcohol - Phenyl ethyl alcohol - Eugenol - Menthol - Anethol - Terpineol - Borneol - Linalool - Gerniol - Thymol - Octanol - ฯลฯ - Citronellol - Farnesol - Decanol

Page 47: การตรวจเอกสาร - KU...3 การตรวจเอกสาร 1. ค าจ าก ดความของสารหอมระเหย สารหอมระเหยเป

49

6.4.2 จัดกลุมสารหอมตามโครงสรางทางเคมี แบงออกเปน ก) Alcoholic group พวกนี้จะมีหมู – OH อยูในโครงสรางโมเลกุล การเรียกชื่อมักจะลงทายดวย – ol เชน

- Benzyl alcohol - Phenyl ethyl alcohol - eugenol - menthol - Anethol - Terpineol - Borneol - Isoeugenol - Gerniol - Thymol - Octanol - ฯลฯ - Citronellol - Farnesol - Decanol - Nerol - Linalool - Safrol

ข) Aldehyde group พวกนี้จะมีหมู R-C-H อยูในโครงสรางโมเลกุล การเรียกชื่อมักจะลงทายดวย – al เชน

- Citral - Octanal - Cuminaldehyde - ฯลฯ - Citronellal - Furfural - Anisaldehyde - Decanal - Nonanal - Cinnaldehyde

ค) Ketonic group พวกนี้จะมีหมู R-C-R อยูในโครงสรางโมเลกุล การเรียกชื่อมักจะลงทายดวย – one เชน

- Thujone - Camphor - Jasmone - Carvone - Coumarin - ฯลฯ - Cectophenone - Diacetyl

ง) Esteric group สารกลุมนี้จะมีสูตรโครงสรางเปน R-C-O-R การอานซึ่งมักจะลงทายดวย - ate เชน

- Benzyl acetate - Geranyl acetate - Methyl cinnamate - Benzyl benzoate - Isoamyl acetate - Methyl acetate - Benzyl acetate - Iinlyl acetate - Methyl anthramilate

Page 48: การตรวจเอกสาร - KU...3 การตรวจเอกสาร 1. ค าจ าก ดความของสารหอมระเหย สารหอมระเหยเป

50

จ) อ่ืนๆ เชน Hydrocarbon: Myrcene, Limonene, Camphene, Dipentene, Cymene, β - Caryophyllene, Terpinene ฯลฯ Oxide: 1, 8 – cineol (Eucalyptol) 6.4.3 จําแนกตามสูตรโครงสรางพื้นฐานของสารหอมที่เหมือนกนั คือ Isoperne CH2 = C CH – CH2 สามารถเรียกสารตามจาํนวน C (Carbon) ที่มีอยูในโมเลกุลเปนทวคีูณ ก) C5 เรียกวา Isoprene ข) C10 เรียกวา Monoterpene (Boiling point ~ 140-108OC )

เชน Geraniol, Linalool, Myrcene, Cineol, Terpineol, Limonene, Menthol, Carvone, Menthone, pinene, Thujone ฯลฯ

ค) C15 เรียกวา Sesquiterpene เชน Farnesol, Nerolidol, Bissbolene, β - caryphyllene ฯลฯ ง) C20 เรียกวา Diterpene เชน resin ฯลฯ จ) C30 เรียกวา Triterpene เชน Squalene, Sterol, Steroids Saponins ฯลฯ ฉ) C40 เรียกวา Carotenoid เชน β - Carotene ฯลฯ ช) Cn เรียกวา Polyisoprene เชน rubber ฯลฯ จากที่ทราบแลววา Fragrance (Flavour) เกิดจากสาร Aromatic Substance ที่มีอยูใน Fragrance เหลานั้นรวมกัน บางชนดิประกอบดวยสารหอมหลายตัว บางชนิดประกอบดวยสารหอมไมกี่ตัวรวมกนัในปริมาณทีเ่หมาะสม เกิดแนวกลิ่นออกมา ซ่ึงสามารถจําแนกไดหลายแบบขึ้นอยูกับจุดประสงคในการจําแนก เชน Herbal Notes, Spicy Notes, Floral Notes เปนตน สาร Aromatic Substances ที่เปนองคประกอบหลักของ Essential Oil หรือ Fragrances บางชนิดมีดังนี้

Page 49: การตรวจเอกสาร - KU...3 การตรวจเอกสาร 1. ค าจ าก ดความของสารหอมระเหย สารหอมระเหยเป

51

ตารางที่ 3 ตัวอยาง Aromatic substances ที่มีใน Essential oil บางชนิด

Aromatic Substances Essential Oil (Fragrances) - Cineol (Eucalyptol) - Eucalyptus, Majoram, Spike Lavender - Carvone - Spearmint, Dill, Caraway Seed, Balsamite - Citronellol - Geranium, Citronella, Rose - Citronellal - Citronella, Bergamot (Thai) - Citral - Lemongrass, Lemon, Lime - Anisaldehyde - Vanilla, Anise, Fennel - Anethole - Anise, Star Anise,Fennel - Camphor - Camphor Tree - Benzyl acetate - Jasmine, Gardenia, Ylang-Ylang - Banzyl alcohol - Ylang-Ylang, Jasmine ,Tuberose, Wall flower - Borneol - Rosemary, Lavender - Benzaldenyde - Almond - Cinnaldehyde - Cinnamon Bark - Limonene - Citrus ทั้งหมด เชน Petitgrain, Lemon, Lime,

Orange, Mandarin, Celery, Bergamot ฯลฯ - Linalool - Lavender, Bergamot, Coriander, Petigrain - Linalyl acetate - Bergamot, Neroli, Petigrain, Lavender - Eugenol - Clove, Cinnamon leaf, Bay, Pimento - Geraniol - Palmarosa, Citronella - Hexenol - Geranium, Thyme, Mullberry Leaf, Violet Leaf vs Tea - Nerol - Rose, Neroli - Thymol - Thyme - Isoeugenol - Clove, Ylang-Ylang, Nutmeg - Indole - Neroli, Jasmine - Methyl chavicol - Basils - Menthol - Peppermint

- Santalool - Sandalwood - Phenyl ethyl alcohol - Rose, Geranium, Neroli - Phenyl acetaldehyde - Narcissus, Neroli, Rose - Methyl cinnamate - Galanga

Page 50: การตรวจเอกสาร - KU...3 การตรวจเอกสาร 1. ค าจ าก ดความของสารหอมระเหย สารหอมระเหยเป

52

7. แหลงท่ีใหสารหอมระเหย

7.1 สวนของพืชที่มีน้ํามันหอมระเหย น้ํามันหอมระเหยอยูในถุงเลก็ๆภายในสวนตางๆของพืชรวมถึงดอก ราก ใบ เปลือก ดอกตูม หรือผล ตัวอยางเชน ตารางที่ 4 สวนของพืชที่มีน้าํมันหอมระเหยและตวัอยางพืช

สวนของพชืท่ีมีน้ํามันหอมระเหย ตัวอยางน้ํามนัหอมระเหย

ดอก กุหลาบ มะลิ ดอกสม กระดังงา กานพล ูราก ขิง กระชาย แฝกหอม

ผล และเมล็ด ผักชี ยี่หรา กระวาน จันทรเทศ

ใบ มะนาว ตะไครหอม ตะไคร ยูคาลิปตัส

เนื้อไม / เปลือกไม/ลําตน/ลําตนใตดนิ อบเชย / สน / กฤษณา,จันทรหอม / ขิง , ขา

เรชิน (ใชในธปู หรือ incense) กํายาน ยางไมหอมตางๆ

เปลือกผลไม สม มะนาว มะกรูด 7.2 การแบงกลุมของกลิ่นของน้ํามันหอมระเหย กล่ินของน้ํามนัหอมระเหยอาจแบงไดหลายแบบ ดังนี ้ 7.2.1 กล่ินสม เปนกลิ่นที่ใหความรูสึกสดชื่น และสะอาด เปนกลิ่นของน้ํามันที่ไดจากพืชตระกูลสม

Page 51: การตรวจเอกสาร - KU...3 การตรวจเอกสาร 1. ค าจ าก ดความของสารหอมระเหย สารหอมระเหยเป

53

7.2.2 กล่ินเครื่องเทศ เปนกลิน่ที่ไดจากเครือ่งเทศ ใหความรูสึกหนัก หวาน และลึก เชน น้ํามันที่ไดจากอบเชย กานพลู 7.2.3 กล่ินดอกไม ไดมาจากดอกไมที่มกีล่ินหอมตางๆใหความรูสึกออนหวาน นุมนวล ไดแก กล่ินกุหลาบ มะลิ พิกุล แกว 7.2.4 กล่ินปา เปนพวกน้ํามนัที่ไดจากเนื้อไม ใหความรูสึกแหง และเบาสบาย ไดแก น้ํามันสน ตางๆ 7.2.5 กล่ินสมุนไพร เปนกลิ่นของเมนทอล และใหกล่ินสีเขียวของใบไม ไดแก น้ํามันโหระพา กระเพรา สาระแหน ตะไคร (http://www.dtam.moph.go.th) 8. ประโยชนของสารหอมระเหย

8.1 ประโยชนในการฆาเชื้อจุลินทรีย

ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของน้ํามนัหอมระเหย 8.1.1 ฆาเชื้อแบคทีเรียที่กอใหเกิดโรค รวมถึงกลุมที่ดื้อยาดวย บางก็มีคณุสมบัติตานเชื้อราและยีสต Candida ปริมาณที่ออกฤทธิ์ใชเพียงเล็กนอย ใชเปนยาทาภายนอกหรือผสมอาหารเปนตวัยากันเสีย น้ํามนัหอมระเหยจาก อบเชย ไทม (thyme) การบูร ลาเวนเดอร และ ยูคาลิปตัส ใชไดดีที่สุดในหวัขอนี ้ 8.1.2 บรรเทาอาการหดตวัของกลามเนื้อและชวยใหงวงนอน (โดยเฉพาะอยางยิ่งกลามเนื้อของระบบทางเดินอาหาร) น้ํามันหอมระเหยกระตุนการหลั่งน้ํายอย บรรเทาอาการนอนไมหลับ ทําใหจติใจสบายขึ้นในกรณีอาการทางจิตที่มีผลตอการทํางานของรางกาย เชน โรคเครียด เปนตน 8.1.3 คุณสมบัติรอนและคนั เมื่อใชภายนอก ตัวอยาง ไดแก เทอรเพนไทน (turpentine) จะกระตุนการไหลเวียนของเลือดในหลอดเลือดฝอย มีการใหความรอนเล็กนอยและมี

Page 52: การตรวจเอกสาร - KU...3 การตรวจเอกสาร 1. ค าจ าก ดความของสารหอมระเหย สารหอมระเหยเป

54

อาการชาเล็กนอย พบใชในผลิตภัณฑทีแ่กอาการเคล็ดขัดยอกหรือขอปวดบวม เมื่อใชภายในน้ํามนัระเหยหอมจากยูคาลิปตัส และ niaouli กระตุนเซลลผลิตเมือก และเพิ่มการเคลื่อนไหวของเซลล บุผนังหลอดลมที่มีซิเลีย ประโยชนของสารหอมระเหยขึ้นกับองคประกอบทางเคมีของน้ํามันหอมระเหยที่มีอยูมากมายหลายรอยชนิด แตสามารถแยกเปนกลุมของสารไดเปน 7 กลุม ซ่ึงในแตละกลุมจะออกฤทธิ์ในการบําบัดทีแ่ตกตางกันดังนี้ กลุม Alcohols สารในกลุมนีม้ีคุณสมบัติ ฆาเชื้อโรค ตานเชื้อไวรัส ยกระดับจิตใจ ไดแก Linalol, citronellol, geraniol, borneol, menthol, nerol และ teppineol ฯลฯ กลุม Aldehydes สารในกลุมนี้มีฤทธิ์ในการระงับประสาท ยกระดับจติใจ ลดการอักเสบ ลดความอวน ขยายหลอดเลือด และมีฤทธิ์ในการฆาเชื้อโรค ตัวอยางไดแก Cidral, citronellal, neral, geranial กลุม Esters มีคุณสมบัติระงบัประสาท สงบอารมณ ลดอาการเกร็งของกลามเนื้อ ลดการอักเสบ และตานเชื้อราไดแก linalyl acetate, geranyl acetate, bomyl acetate, eugenyl acetate และlavendulyl acetate กลุม Ketones สาร Ketones มีคุณสมบัติชวยขยายหลอดลม ละลายเสมหะ เสริมสรางเนื้อเยื่อ และลดการอักเสบไดแก Jasmone, fenchone, camphor carvone และ menthone กลุม Oxides ในสารกลุมนี ้มีคุณสมบัติในการขับเสมหะ ละลายเสมหะที่สําคัญไดแก Cineol นอกนัน้ก็มีสารที่มีคุณสมบัติฆาเชือ้แบคทีเรีย และการกระตุนระบบประสาทไดแก Linalol oxide, ascaridol, bisabolol oxide และ bisabolon oxide กลุม Phenols มีคุณสมบัติในการฆาเชื้อแบคทีเรีย กระตุนระบบประสาท และภูมิตานทานของรางกายไดแก Eugenol, thymol และ earvacrol

Page 53: การตรวจเอกสาร - KU...3 การตรวจเอกสาร 1. ค าจ าก ดความของสารหอมระเหย สารหอมระเหยเป

55

กลุม Terpenes สารในกลุมนีม้ีฤทธิ์ในการตานเชื้อและลดการอักเสบ ประกอบดวย Camphene, cadinene, caryophyllene, cedrene, dipentene, phellandrene, terpinene, sabinene, mycrene สาร sesquiterpenes เชน chamazulene, farnesol มีฤทธิ์ในการลดการอักเสบและตานเชื้อแบคทีเรีย สาร limonene มีคุณสมบัติตานไวรัส pinene มีฤทธิ์ฆาเชื้อ เปนตน โดยปกตนิ้ํามนัหอมระเหยแตละชนิดจะมสีารประกอบทางเคมีตั้งแต 50-500 ชนิด องคประกอบทางเคมีแตละชนิด ก็มีคณุสมบัติแตกตางกันไป ดังทีก่ลาวแลว แตเมื่อมาผสมผสานกันอยู มันก็ทําใหเกิดคุณสมบัตทิี่เปนเอกลักษณ ของน้ํามันหอมระเหยจากพืชแตละชนดิ ที่มีจุดเดนความเหมือนและความแตกตางในการบําบดัตางกันออกไป (คมสัน, 2546) 8.2 ประโยชนในเชิงการคา 8.2.1 Benzoic acid โดย Benzoic acid จะเกีย่วของกับสมดุลของกรดดางภายในเซลล ซ่ึงตามปกติจุลินทรียจะรักษาระดับ pH ไมสมดุลเกดิการเปลี่ยนแปลงไป ก็จะทาํใหโครงสรางของเซลลจุลินทรียเสียไป สวนมากใชเปนสารกันบูดในผลิตภณัฑเครื่องดื่ม Alcohol, น้ําผลไม, มาการีน, ผลไมแหงและผัก รวมทั้งปองกนัไมใหยีสตเจริญเติบโตไดดวย นอกจากนีย้ังไดประโยชนในการทําหนาที่เปนสารฟอกสีอีกดวย 8.2.2 Alcohol พวก Methyl alcohol, Benzyl alcohol และ Furfuryl alcohol มีกลไกในการยับยั้งการเจริญของเชื้อจุลินทรีย โดยมีผลทําใหเกิดการเสยีสภาพของโปรตีนทําใหเยือ่หุมเซลลของเชื้อสูญเสียภาวะปกตใินการดูดซึมสารไปดวย

Page 54: การตรวจเอกสาร - KU...3 การตรวจเอกสาร 1. ค าจ าก ดความของสารหอมระเหย สารหอมระเหยเป

56

8.2.3 Phenolic compound พวก Eugenol, Eugenol acetate, Phenol, Caryophylene และ β- Caryophylene โดย Caryophylene และ β- Caryophylene จะสลายตัวไดยากในอณุหภูมหิองถา Phenolic มีความเขมขนต่ําจะมผีลยับยั้ง Essential enzyme อีกดวย 8.2.4 Linalool หรือ 3,7-Dimethyl-1-ol, 2,6-Dimethly-2,7-octadine-6-ol สารนี้สามารถสรางมาจากวิตามินอี ซ่ึงมสีวนเสริมทําใหน้ํามันไมเกิดการเหม็นหืนไดงายปองกนัการเกิด Oxidation ของน้ํามัน จึงมีประโยชนในการปองกนัไมใหองคประกอบอื่นๆ สลายไปไดงายในระหวางการเกบ็ ทั้งนี้สารชนิดนี้ไมมีผลตอการยับยั้งเชื้อรา แตมีผลในการสงเสริมคุณสมบัติอ่ืนๆ ของน้ํามันหอมระเหย 8.2.5 Eucalyptol หรือ 1,8-Epoxy-p-Methane หรือ 1,8-Cineole สารชนิดนีน้อกจากเปนสารใหกล่ินแลว ยังชวยในการทําใหเกิดสีเหลืองใสในน้ํามนัหอมระเหย กล่ินของ Eucalyptol ใหความรูสึกสดชื่น เมือ่รวมกับองคประกอบในน้ํามันหอมระเหยในสวนอื่นๆ จะทําใหน้ํามนัหอมระเหยมีกล่ิน รสเฉพาะหอมสดชื่นและหอมหวาน 8.2.6 Benzaldehyde เปนสารที่ใหกล่ิน รส พบไดในเครื่องดื่มทัว่ๆไป และใชในอุตสาหกรรมยาและพลาสติก เมื่อเก็บไวนานขึ้นสามารถกลายเปนสาร Benzyl alcohol, Benzyl amine, Dibenzyl amine, Hexyl และ Amyl-Cinnamicaldehyde (นฤมล, 2543)

8.3 การใชประโยชนการเตมิสารใหกล่ินเพื่อเพิ่มมูลคาผลิตภัณฑ นิยมใชในอุตสาหกรรมการทําน้ําหอม เครือ่งสําอาง ใชเปนสวนผสมของน้ําหอมและโคโลญจน ซ่ึงมีราคาสูง ใชผสมในเครื่องสําอาง สบูหอม แปงหอม และผลิตภัณฑในหองน้ํา สินคา

Page 55: การตรวจเอกสาร - KU...3 การตรวจเอกสาร 1. ค าจ าก ดความของสารหอมระเหย สารหอมระเหยเป

57

อุปโภค เชน สบู ผงซักฟอก ส่ิงทอ เครื่องหนัง พลาสติก สีทาบาน ขัดเงา ของเลนเดก็ ใชในอุตสาหกรรมอาหารประเภท เครื่องดื่ม ยาสูบ และยา เพื่อปรุงแตงกลิ่นและรสชาติ โดยมีผูผลิตหลัก ไดแก ประเทศในเอเชยี บราซิล จีน อียิปต อินเดีย อินโดนีเซีย และสหรัฐอเมริกา สําหรับในเอเชีย ประเทศจีนจัดเปนแหลงผลิตที่สําคัญ เนื่องจากมีคาแรงต่าํ ซ่ึงทําใหเกดิความกาวหนาในการผลิตสารหอมระเหยมาก โดยเฉพาะจากวัตถุดิบพวกดอกไม สมาชิกของสหภาพยุโรป (European Union = EU) และสวิสเซอรแลนด เปนตลาดของสารหอมระเหยที่ใหญทีสุ่ด แตศูนยกลางการผลิตน้ําหอมในยุโรป คือ ฝร่ังเศส สหรัฐอเมริกาเปนประเทศที่มีการนาํเขาสารหอมระเหยที่ใหญที่สุด สําหรับน้ํามันหอมระเหยจากพรรณไมหอม ในประเทศไทยอุตสาหกรรมดานนี้ยังไมเจริญเทาที่ควร โรงงานผลิตน้ํามันหอมระเหยมีการเริ่มตนหลายแหงแตก็ตองปดไป เนื่องจากวัตถุดิบในการผลิตไมเพียงพอ มีเพียงโรงงานเดียวทีย่ังดําเนินการอยู ซ่ึงเปนความรวมมือระหวาง ไทย-จีน มีช่ือวา Thai – China Flavours and Fragrance Industry Co.Ltd. (TCFF) ซ่ึงเปนตัวอยางที่ดีของการรวมมือกันระหวางประเทศ (กาญจนา, 2546)