22
แนวพื้นที่เศรษฐกิจ (Economic Corridor) และเสนทางเศรษฐกิจที่สําคัญ ในอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง (GMS) ภูมิหลัง ไทยไดลงนามในกรอบความรวมมืออนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง (Greater Mekong Sub- region Cooperation: GMS) ตั้งแตป 2535 โดยเปนโครงการที่ไดรับความชวยเหลือจากธนาคาร พัฒนาเอเชีย (Asian Development Bank: ADB) ประกอบดวย ประเทศในอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง 6 ประเทศ ไดแก ไทย สปป.ลาว กัมพูชา เวียดนาม สหภาพพมา และจีนตอนใต ( มณฑลยูนนาน) มี พื้นที่รวมกันประมาณ 2 ลาน 3 แสนตารางกิโลเมตร หรือประมาณพื้นที่ของยุโรปตะวันตก มี ประชากรรวมกันประมาณ 250 ลานคน อุดมไปดวยทรัพยากรธรรมชาติ อีกทั้งเปนจุดศูนยกลางใน การเชื่อมโยงติดตอระหวางภูมิภาคเอเชียใต เอเชียตะวันออก และเอเชียตะวันออกเฉียงใต

แนวพื้นทเศรษฐกี่ ิจ (Economic Corridor) และ ... · 2007-10-10 · แนวพื้นทเศรษฐกี่ ิจ (Economic Corridor)

  • Upload
    others

  • View
    2

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

แนวพื้นทีเ่ศรษฐกิจ (Economic Corridor) และเสนทางเศรษฐกิจที่สําคัญ ในอนุภูมิภาคลุมแมนํ้าโขง (GMS)

ภูมิหลัง

ไทยไดลงนามในกรอบความรวมมืออนุภูมิภาคลุมแมนํ้าโขง (Greater Mekong Sub-

region Cooperation: GMS) ตั้งแตป 2535 โดยเปนโครงการที่ไดรับความชวยเหลือจากธนาคารพัฒนาเอเชีย (Asian Development Bank: ADB) ประกอบดวย ประเทศในอนุภูมิภาคลุมแมนํ้าโขง 6 ประเทศ ไดแก ไทย สปป.ลาว กัมพูชา เวียดนาม สหภาพพมา และจีนตอนใต (มณฑลยูนนาน) มีพ้ืนที่รวมกันประมาณ 2 ลาน 3 แสนตารางกิโลเมตร หรือประมาณพื้นที่ของยุโรปตะวันตก มีประชากรรวมกันประมาณ 250 ลานคน อุดมไปดวยทรัพยากรธรรมชาติ อีกทั้งเปนจุดศูนยกลางในการเชื่อมโยงติดตอระหวางภูมิภาคเอเชียใต เอเชียตะวันออก และเอเชียตะวันออกเฉียงใต

- 2 -

โครงการ GMS มีวัตถุประสงคเพื่อสงเสริมใหเกิดการขยายตัวทางการคา การลงทุนอุตสาหกรรม การเกษตร และบริการ สนับสนุนการจางงาน และยกระดับความเปนอยูของประชาชนในพ้ืนที่ใหดีขึ้น สงเสริมและพัฒนาความรวมมือทางเทคโนโลยีและการศึกษาระหวางกัน ตลอดจนการใชทรัพยากรธรรมชาติที่สงเสริมกันอยางมีประสิทธิภาพ สงเสริมและเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน รวมทั้งเปดโอกาสทางเศรษฐกิจในตลาดโลก

ในการประชุมผูนํา GMS Summit ครั้งที่ 2 ระหวางวันที่ 4-5 กรกฎาคม 2548 ณ นครคุนหมิง ประเทศจีน ผูนํา GMS ไดออกแถลงการณรวมคุนหมิง (Kunming Declaration) โดยมีเปาหมายคือความเปนอันหน่ึงอันเดียวกัน ความปรองดองและความมั่งคั่งของอนุภูมิภาค รวมถึงความพยายามในการลดปญหาความยากจน และสงเสริมการพัฒนาอยางยั่งยืน โดยสนับสนุนใหมีการติดตอและการแขงขันระหวางกัน นอกจากนั้น ผูนํา GMS ไดลงนามความตกลงในเรื่องการขนสง และแสดงเจตนารมณใหมีการลงนามในภาคผนวกและพิธีสารแนบทายของความตกลงขนสงขามพรมแดน (GMS Cross-Border Transport Agreement) ใหเสร็จครบถวนภายในป 2548

สาขาความรวมมือของ GMS มี 9 สาขา ไดแก คมนาคมขนสง โทรคมนาคม พลังงาน การคา การลงทุน เกษตร สิ่งแวดลอม การทองเที่ยว และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย

แผนงานที่มีความสําคัญในลําดับสูง (Flagship Programs) จํานวน 11 แผนงาน ไดแก

1) แผนงานพัฒนาแนวพื้นที่เศรษฐกิจเหนือ-ใต (North-South Economic Corridor)

2) แผนงานพัฒนาแนวพื้นที่เศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตก (East-West Economic Corridor)

3) แผนงานพัฒนาแนวพื้นที่เศรษฐกิจตอนใต (Southern Economic Corridor)

4) แผนงานพัฒนาเครือขายโทรคมนาคม (Telecommunications Backbone)

5) แผนงานซื้อขายไฟฟาและการเชื่อมโยงเครือขายสายสงไฟฟา (Regional Power Interconnection and Trading Arrangements)

6) แผนงานการอํานวยความสะดวกการคาและการลงทุนขามพรมแดน (Facilitating Cross-Border Trade and Investment)

7) แผนงานเสริมสรางการมีสวนรวมและความสามารถในการแขงขันของภาคเอกชน (Enhancing Private Sector Participation and Competitiveness)

8) แผนงานพัฒนาทรัพยากรมนุษยและทักษะความชํานาญ (Developing Human Resources and Skills Competencies)

9) กรอบยุทธศาสตรการพัฒนาสิ่งแวดลอม (Strategic Environment Framework)

10) แผนงานการปองกันน้ําทวมและการจัดการทรัพยากรน้ํา (Flood Control and Water Resource Management)

11) แผนงานการพัฒนาการทองเที่ยว (GMS Tourism Development)

- 3 -

ในการประชุมระดับรัฐมนตรี GMS ครั้งที่ 8 เมื่อเดือนตุลาคม 2541 ที่ประชุมไดใหการรับรองแนวทางการพัฒนาแนวพื้นที่เศรษฐกิจ (Economic Corridor) ซ่ึงเปนการขยายมาจากแนวพ้ืนที่การขนสง (Transport Corridor) และไดมีการแถลงการณรวมกันของรัฐมนตรี GMS เกี่ยวกับการพัฒนาแนวพื้นที่เศรษฐกิจเพ่ือเชื่อมโยงตลาดในกลุมประเทศ GMS ใหเปนศูนยกลางในการพัฒนาธุรกิจ โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือขยายผลประโยชนของการพัฒนาการเชื่อมโยงการขนสงไปในเขตที่หางไกลใน GMS เพ่ือกระตุนกิจกรรมทางเศรษฐกิจโดยมีศูนยกลางการเจริญเติบโตสําหรับการพัฒนาพื้นที่ใกลเคียง เพ่ือเปดโอกาสใหมีการลงทุนจากทั้งภายในและภายนอก GMS และเพื่อใหมีกลไกในการจัดลําดับความสําคัญและประสานงานการลงทุนโครงสรางพื้นฐาน

ปจจุบัน แนวพ้ืนที่เศรษฐกิจ (Economic Corridor) ใน GMS แบงออกเปน 3 แนว ไดแก แนวพ้ืนที่เศรษฐกิจตะวันออก - ตะวันตก (East West Economic Corridor: EWEC) แนวพ้ืนที่เศรษฐกิจเหนือ – ใต (North South Economic Corridor: NSEC) และแนวพื้นที่เศรษฐกิจตอนใต (Southern Economic Corridor)

- 4 -

1. แนวพื้นที่เศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตก (East West Economic Corridor: EWEC) เชื่อมโยงเวียดนาม-ลาว-ไทย-พมา

แนวพื้นที่เศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตก (East West Economic Corridor: EWEC) เปน

การเชื่อมโยงพื้นที่ดานตะวนัออกจากเวียดนาม ผานสปป.ลาว บนเสนทางR 9 ขามสะพานแมนํ้าโขงแหงที่ 2 เขาสูไทย และไปสูสหภาพพมา หรืออาจเรียกไดวาเปนเสนทางเชื่อมโยงระหวางทะเลจีนใตกับทะเลอันดามัน โดยมีระยะทางรวมประมาณ 1,450 กิโลเมตร

เสนทาง R9 มีจุดเชื่อมโยงเมืองสําคัญตางๆ ดังน้ี เมาะละแหมง - เมียวะดี (พมา) – แมสอด – พิษณุโลก – ขอนแกน – กาฬสินธุ - มุกดาหาร

(ไทย) – สะหวันนะเขต - แดนสะหวัน (ลาว)- ลาวบาว – เว – ดองฮา - ดานัง (เวียดนาม)

- 5 -

(i) จุดขามแดน : เมียวะดี (พมา) – แมสอด (ไทย) (ii) จุดขามแดน : มุกดาหาร (ไทย) – สะหวันนะเขต (ลาว) (iii) จุดขามแดน : แดนสะหวัน (ลาว) – ลาวบาว (เวียดนาม)

EWEC มีจุดที่เชื่อมตอกับเสนทางในแนวเหนือ-ใตหลายเสนทาง ไดแก (1) ยางกุง- ดาไว (2)

เชียงใหม-กรุงเทพฯ (3) หนองคาย- กรุงเทพฯ (4) เสนทางหมายเลข 13 ในลาว และ (5) ทางดวน 1A ในเวียดนาม EWEC จึงมีบทบาทสําคญัในการเปนทางเปดไปสูทาเรอืสําหรับภาคตะวันออกเฉยีงเหนือของไทย และภาคกลางของลาว รวมทั้งเปนการเปดโอกาสใหแกเมืองขนาดกลางหลายเมืองในประเทศ GMS 4 ประเทศ

วัตถุประสงคของการริเริ่ม EWEC คือ (1) เพ่ือเสริมสรางความรวมมือทางเศรษฐกิจและ

อํานวยความสะดวกทางการคาและการลงทุน และการพัฒนาระหวางประเทศลาว พมา ไทย และเวียดนาม (2) เพ่ือลดตนทนุการขนสงในพื้นที่ และทําใหการเคลื่อนยายสินคาและคนโดยสารมีประสิทธิภาพมากขึ้น และ (3) เพ่ือลดความยากจน สนับสนุนการพฒันาในพื้นที่ชนบทและพื้นที่ชายแดน เพ่ิมรายไดในกลุมคนที่มีรายไดต่ํา สรางโอกาสการจางงานสําหรับสตรี และสงเสรมิการทองเที่ยว นอกจากนี้ EWEC ยังเนนการสรางโอกาสในการพัฒนาอุตสาหกรรมการเกษตรและการทองเที่ยว

แนวพื้นทีเ่ศรษฐกิจตะวันออกแนวพื้นทีเ่ศรษฐกิจตะวันออก--ตะวันตก ตะวันตก ((RR 99))

Phitsanulok

Tak

Sukhothai Kalas

in Mae Sot

Khon Kaen

Mukdaharn

ถนน แมสอด – มุกดาหาร (770 กม.) – ยกระดับใหเปนทางดวน 4 เลน

• เปนทางดวน 4 เลนแลว (233 กม.)

• อยูระหวางกอสราง (75 กม.)

• วางแผนที่จะยกระดับภายใน 5 ป (262 กม.) สะพาน

•สะพานขามแมน้ําโขงแหงที่ 2 (มุกดาหาร-สะหวันนะเขต) - สรางเสร็จแลว โดยไดรับเงินกูจาก JBIC - เปดใชเมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2549

4- lane or more Under Construction to 4 lane Plan to widen to 4 lane Existing 2 lane

- 6 -

โครงการดานการขนสงภายใต EWEC ที่สําคัญ ไดแก 1. การพัฒนาเสนทางการขนสงตะวันออก-ตะวันตก 2. การพัฒนาการขนสงทางน้ํา 3. การพัฒนาเสนทางรถไฟ 4. การปรับปรุงทาอากาศยานสะหวันนะเขต 5. การอํานวยความสะดวกการเคลื่อนยายสนิคาและคนขามพรมแดน 6. การพัฒนาทรัพยากรมนุษยในสาขาการขนสง

โครงการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานอ่ืนๆ ไดแก

7. การเชื่อมโยงระบบสายสงไฟฟา 8. การสงเสริมการจัดทําความรวมมือดานพลังงานในภูมิภาค 9. การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานโทรคมนาคม 10. การพัฒนาการทองเที่ยว 11. การริเริ่มเขตเศรษฐกิจ 12. การริเริ่มของคณะทํางาน AMEICC (Japan) ในการพัฒนาพื้นที่ตะวันตก-ตะวันออก

การริเริ่ม EWEC จําเปนตองมีการสรางเครือขายเชื่อมโยงการขนสงทางถนน ทางรถไฟ

ทางน้ํา และทางอากาศ การยกระดับในดานตะวันตกจากเมาะละแหมง-เมียวะดี ในพมา รัฐบาลไทยจะใหเงินกูผอนปรนแกรัฐบาลพมา เสนทางในสวนที่อยูในไทยอยูในสภาพดี และอยูระหวางการบํารุงรักษาและปรับปรุงใหดีขึ้น โดยรัฐบาลไทย

การสรางสะพานขามแมนํ้าโขงจากมุกดาหารไปสะหวนันะเขตไดดําเนินการเสร็จสิ้นแลว โดยใชเงินกูจาก Japan Bank for International Cooperation (JBIC) และไดเปดใชเม่ือวันที่ 19 ธันวาคม 2549

สวนเสนทางที่อยูในลาวไดรับการยกระดบัโดยไดรับความชวยเหลือทางการเงินจาก Japan

International Cooperation Agency (JICA) และ ADB เสนทางในเวยีดนามจากลาวบาวถึงดองฮาและตอไปยงัดานังบนทางดวนหมายเลข 1 ไดถูก

ปรับปรุงโดยรัฐบาลเวียดนาม โดยไดรับความชวยเหลือจาก ADB และ JBIC จุดปลายทั้งสองฝงของ EWEC เปนทีต่ั้งของเมืองขนาดกลาง คือ เมาะละแหมง ในพมา

ทางดานตะวนัตก และดานงั ในเวียดนาม ทางดานตะวันออก การฟนฟูทาเรือนํ้าลึกดานังและการปรับปรุงทางเขาไดรับความชวยเหลือจาก JBIC ถึงแมวาพมาจะมีขอเสนอใหมีการพัฒนาทาเรือนํ้าลึกแหงใหมทางดานทะเลอันดามันใกลเมืองเมาะละแหมง แตยังไมมีการศึกษาความเปนไปไดอยางจริงจังทั้งทางดานกายภาพและดานเศรษฐกิจ สวนลาวไดเสนอโครงการปรับปรุงทาเรือบนฝงแมนํ้าโขงระหวางเวียงจันทนและสะหวันนะเขต

- 7 -

นอกจากนี้ เสนทางรถไฟสายสิงคโปร-คนุหมิงในสวนของ spur line ยังถือเปนสวนหนึ่งของ EWEC นอกจากนี้ยังมีโครงการสรางเสนทางรถไฟเชือ่มตอระหวางเมาะละแหมง-Thanbyuzayat-ดานเจดียสามองค ซ่ึงเชื่อมตอระหวางพมากับไทย โดยเสนทางในสวน เมาะละแหมง-Thanbyuzayat ไดรับการยกระดับโดยรัฐบาลพมา

ลาวไดเสนอโครงการปรับปรุงทาอากาศยานสะหวันนะเขต เพ่ือใหเปนทาอากาศยานใน

อนุภูมิภาคที่สามารถรองรับเครื่องบินขนาดกลางได ขณะน้ีไทยโดยบริษัท TAG เขารับสัมปทานอยูระหวางปรับปรุงสถานที่ และประสานการดําเนินการดานการบิน

ในการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานใน EWEC รัฐบาลไทยไดมีสวนรวม ดังน้ี (1) ฝงตะวันออก: มุกดาหาร-สะหวันนะเขต-ดองฮา-เว-ดานัง - สะพานขามแมนํ้าโขงแหงที่ 2 ไทยและลาวไดกูเงินจาก JBIC มาดําเนินการกอสรางเปน

วงเงิน 4,700 ลานเยน (สวนของไทย 2,300 ลานเยน) ไดมีการลงนามสัญญาจางกอสรางสะพานเมื่อวันที่ 3 ธันวาคม 2546

- เสนทาง R 9 ในลาว การปรับปรุงและซอมแซมเสนทางสะหวันนะเขต-เมืองพิน-แดนสะหวัน ระยะทางประมาณ 210 กิโลเมตร โดย JICA และ ADB ใหการสนับสนุนดานการเงิน ซ่ึงไดเปดใชอยางเปนทางการเมื่อวันที่ 23 เมษายน 2547

- เสนทาง R 9 ในเวียดนาม และทาเรือนํ้าลึกดานัง ADB JBIC และรัฐบาลเวยีดนามใหการสนับสนุนดานการเงินในการกอสรางเสนทางลาวบาว-ดองฮา อุโมงคไฮวัน และการปรับปรุงทาเรือนํ้าลึกดานัง

(2) ฝงตะวันตก: แมสอด-เมียวะด-ี เมาะลําไย - รัฐบาลไทยจะใหความชวยเหลือเสนทางชวงแมสอด-เมียวด-ีกอกะเร็ก-พะอัน-ทาตอน

ระยะทางประมาณ 198 กิโลเมตร โดยจะสรางถนนใหเปลาในชวง 18 กิโลเมตรแรก และใหเงินกูคากอสรางในสวนที่เหลือ โครงการเขตเศรษฐกิจพิเศษ-นิคมอุตสาหกรรมบน EWEC

บนเสนทาง R 9 มีเขตเศรษฐกิจพิเศษและเขตนิคมอุตสาหกรรม 6 แหง ไดแก (1) เขตนิคมอุตสาหกรรมผาอัน ในสหภาพพมา (2) เขตนิคมอุตสาหกกรมเมาะละแหมง ในสหภาพพมา (3) เขตนิคมอุตสาหกรรมเมียวดี ในสหภาพพมา (4) เขตเศรษฐกิจพิเศษสะหวันเซโน ในสปป.ลาว (5) เขตการคาเสรบีานแดนสะหวัน ในสปป.ลาว (6) เขตเศรษฐกิจพิเศษลาวบาว ในเวียดนาม

- 8 -

สภาพการคา การลงทุน และการทองเที่ยวบนเสนทาง R 9 (1) ดานการคา การขนสงสินคามีความสะดวก เน่ืองจากสภาพถนนตั้งแตมุกดาหาร –

สะหวันนะเขต – เว – ดานัง – วินห - ฮานอย เปนถนน 2 เลนตลอดทาง และมีการเจาะอุโมงคระหวางเวไปดานัง ชือ่ อุโมงคไฮวัน ลอดภูเขายาว 7 กิโลเมตร เพ่ือยนระยะทางในการออมขึ้นเขา 25 กิโลเมตร ปจจุบัน สินคาไทยจะสงออกโดยขนสงลงเรือขามแมนํ้าโขงจากมุกดาหารไปสะหวนันะเขตและขนสงทางถนนตอไปยังจุดผานแดนลาวบาว ของเวยีดนาม โดยจะมีบริษัทตวัแทนขนสงสินคาของเวียดนาม รับขนสงกระจายเขาไปในตลาดในเมืองตางๆของเวียดนามตอไป สาเหตุที่ผูประกอบการไทยไมประสงคที่จะขนสงสินคาเองในเวียดนาม เน่ืองจากไมมีสินคาใหขนในเที่ยวกลับ ซ่ึงจะทําใหตนทุนการขนสงสูงขึ้น และเนื่องจากการขับขี่รถยนต/รถบรรทุกในลาวและเวยีดนาม ใชพวงมาลัยซาย และมีการจํากัดน้ําหนักรถบรรทุกใหบรรทุกไดไมเกิน 21 ตัน ในขณะที่ไทยใหบรรทุกไดไมเกิน 24 ตัน นอกจากนี้ เวียดนามยังจํากัดความเร็วของรถยนต/รถบรรทุกไวไมเกิน 30 และ 50 กิโลเมตร/ชั่วโมง สําหรับการขับในเมือง และนอกเมือง ตามลําดับ อยางไรก็ตาม ปจจุบันยังไมมีการขนสงสินคาบนเสนทาง R 9 ไปยังทาเรือนํ้าลึกดานัง เน่ืองจากทาเรือมีสภาพเกาและมีขนาดไมใหญนัก รวมทั้งยังอยูระหวางการพัฒนา แตมีการขนสงสินคาระหวางทาเรือไฮฟอง ซ่ึงอยูใกลกับฮานอย ไปยังทาเรือหยางพู ของมณฑลไหหลํา

(2) ดานการลงทุน ในปจจุบัน ยังไมมีสิ่งอํานวยความสะดวกบนเสนทาง R 9 เชน ปมนํ้ามัน รานอาหาร โรงแรม ศูนยบริการนักทองเที่ยว และรานจาํหนายของที่ระลึก เน่ืองจากพื้นที่สวนใหญเปนปาเขาและพื้นที่เกษตรกรรม นอกจากนี้ การจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษสะหวันเซโน และเขตการคาเสรีบานแดนสะหวันในสปป.ลาว ยังไมประสบความสําเร็จ เน่ืองจากยังไมมีการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานที่จําเปน ทําใหไมมีนักลงทุนตางชาติสนใจเขาไปลงทุน อยางไรก็ตาม รัฐบาล ลาวไดตระหนักถึงความสําคัญและโอกาสทางการคาและการลงทุนในแขวงสะหวันนะเขต จึงไดกําหนดใหเปน 1 ใน 4 แขวง (สะหวันนะเขต เวียงจันทน หลวงพระบาง จําปาสัก) ที่เจาแขวงมีอํานาจในการอนุมัติโครงการลงทุนในแขวงที่มีมูลคาไมเกิน 2 ลานเหรียญสหรัฐฯ โดยไมตองไดรับความเห็นชอบจากสวนกลาง เฉพาะในโครงการที่รัฐบาลสงเสริม เชน การกอสราง และการขดุคนทรัพยากรธรรมชาติ เปนตน ในขณะที่แขวงอ่ืนๆสามารถอนุมัติโครงการลงทุนไดเองในโครงการทีมี่มูลคาไมเกิน 1 ลานเหรียญสหรัฐฯ จึงเปนโอกาสดีที่นักลงทุนไทยที่สนใจเขารวมพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษสะหวันเซโน จะสามารถใชเปนฐานเชื่อมโยงการลงทุนดานตะวันออกของไทย และชวยสรางงานแกประชาชนลาว ซ่ึงจะสรางความรูสึกทีดี่ของลาวที่มีตอไทยที่ไดแสดงความจริงใจในการรวมมือกันพัฒนาเศรษฐกิจ ลาว

สวนเขตเศรษฐกิจพิเศษลาวบาว ในเวียดนาม ยังมีนักลงทุนเขาไปลงทุนจํานวนไมมากนัก

แตมีนักลงทุนไทยเขาไปลงทุนบางแลว คอื บริษัทเครื่องด่ืมและผาเย็น Super Horse และโรงงานผลิตชิ้นสวนยานยนต ซ่ึงเปนโรงงานที่ผลิตเพ่ือปอนตลาดภายในเวียดนามที่มีผูบริโภค 83 ลานคน

สําหรับไทย การนิคมอุตสาหกรรม (กนอ.) ไดริเริ่มโครงการพัฒนานิคมอุตสาหกรรมมุกดาหาร เพ่ือรองรับการคาชายแดนไทย-ลาว (มุกดาหาร – สะหวันนะเขต) และเปนประตกูารคาสูลาว กัมพูชา และเวียดนาม โดยอาศัยสะพานขามแมนํ้าโขงเปนแรงผลักดนัใหเกิดการลงทุนในนิคม

- 9 -

อุตสาหกรรมมุกดาหาร ตั้งศูนยกระจายสินคา โดยกําหนดใหอุตสาหกรรมการผลิตและแปรรปูสินคาเกษตร เปนอุตสาหกรรมเปาหมาย ซ่ึงสินคาหลัก ไดแก ยางพารา ซ่ึงจะมีการผลิตทั้งนํ้ายางขน ยางแผนดิบรมควัน การแปรรูปผลติภัณฑยางพารา สวนสินคารอง คือ เอธานอล เน่ืองจากจังหวัดมุกดาหารและจังหวัดใกลเคยีงมีโรงงานน้ําตาลหลายแหง สามารถนํากากชานออยจากโรงงานน้ําตาลมาผลติเปนเอธานอลเพื่อสงออกไปอินโดจีนได นอกจากนี้ยังมีพ้ืนที่เพ่ือรวบรวมและกระจายสินคา โดยมีสินคาหลัก ไดแก สินคาเกษตร สินคาอุปโภคบริโภค และสินคาอุตสาหกรรม คือ เครื่องใชไฟฟาพื้นฐาน

(3) ดานการทองเที่ยว ในปจจุบัน มีนักทองเที่ยวไทยจํานวนมากเดินทางบนเสนทาง R9

เพ่ือไปยังเมืองเว ดานัง และฮอยอาน ซ่ึงเปนเมืองมรดกโลกทางวัฒนธรรม มีอาคารสถาปตยกรรมสมัยฝรั่งเศสอยูหลายแหง และเปนที่ตั้งของเมืองโบราณสมัยจักรพรรดิของเวียดนาม ไทยจึงควรเสนอยุทธศาสตรการทองเที่ยว เพ่ือเชื่องโยงเสนทางการทองเที่ยวและนาํไปสูการขยายโอกาสทางการคาและการลงทุนในลาวและเวียดนามตอไป

- 10 -

2. แนวพื้นทีศ่รษฐกิจเหนือ-ใต (North South Economic Corridor: NSEC)

เชื่อมโยงไทย-พมา/ลาว-จีน NSEC ประกอบดวยเสนทางหลัก 3 เสนทาง ไดแก

(1) เสนทาง R3E : คุนหมิง – ยูซี – หยวนเจียง – โมเฮย – ซิเมา – เฉียวเมิงหยาง – บอหาน (จีน) - บอเต็น – หวยทราย (ลาว) – เชียงของ – เชียงราย – ตาก – กรุงเทพฯ (ไทย)

(i) จุดขามแดน: บอหาน (จีน) – บอเต็น (ลาว) (ii) จุดขามแดน: หวยทราย (ลาว) – เชียงของ (ไทย)

(2) เสนทาง R3W : เชียงตุง – ทาขี้เหล็ก (พมา) – แมสาย – เชียงราย – ตาก – กรุงเทพฯ (ไทย) (i) จุดขามแดน: ทาขี้เหล็ก (พมา) – แมสาย (ไทย)

(3) เสนทาง R5 : คุนหมิง – หม่ีเหลอ – หยินซอ – ไคหยวน – เมงซือ – เฮียโคว (จีน) – ลาวไค – ฮานอย – ไฮฟอง (เวียดนาม)

(i) จุดขามแดน: เฮียโคว (จีน) – ลาวไค (เวียดนาม)

เสน R 3 W

เสน R3E

เสน R5

- 11 -

วัตถุประสงคของการริเริ่ม NSEC คือ (1) เพ่ืออํานวยความสะดวกการคาและการพัฒนาระหวางลาว พมา ไทย เวยีดนาม และจีน (2) เพ่ือลดตนทุนคาขนสงในพื้นที่ภายใตโครงการและทําใหการเคลื่อนยายสินคาและคนมีประสิทธิภาพ และ (3) เพ่ือลดความยากจน สนับสนุนการพัฒนาในพื้นที่ชนบทและชายแดน เพ่ิมรายไดของกลุมคนรายไดต่ํา สรางโอกาสในการจางงานสําหรับสตรี และสงเสริมการทองเที่ยวในพื้นที ่

การพัฒนาแนวพื้นที่เศรษฐกิจเหนือ-ใต (North South Economic Corridor: NSEC)

ภายใตกรอบ GMS เปนหนึ่งในโครงการที่มีความสําคัญภายใตแนวทางการพัฒนาแนวพื้นที่เศรษฐกิจ (Economic corridor) ขณะน้ีธนาคารพัฒนาแหงเอเชีย (Asian Development Bank: ADB) ไดใหความชวยเหลอืดําเนินการศึกษาโอกาสศกัยภาพการพัฒนาตามแนวพื้นที่ดังกลาว โดยการศึกษาระยะที่ 1 เนนดานโลจิสติกสและการคา แลวเสร็จเม่ือเดือนสิงหาคม 2550 และอยูระหวางการศึกษาระยะที่ 2 ซ่ึงไดมีการหารือรอบที่ 1 ระหวางวันที่ 26 สิงหาคม – 31 ตุลาคม 2550 กับหนวยงานที่เกี่ยวของกับการพัฒนา NSEC ในประเทศ GMS เพ่ือจัดทํายุทธศาสตรและแผนปฏิบัติการในการพัฒนาแนว NSEC โดยกําหนดที่จะจัดทํารางเบื้องตนใหแลวเสร็จภายในวันที่ 15 ธันวาคม 2550 และจะมีการประชุมหารือรอบที่ 2 ระหวางวันที่ 8 มกราคม – 8 กุมภาพันธ 2551 โดยจะจัดทํารางที่ทบทวนแลวใหเสร็จภายในวันที่ 28 กุมภาพันธ 2550

การศึกษาระยะที่ 1 มีวัตถุประสงคเพ่ือวิเคราะหและประเมินสถานะของการพัฒนาโครงสราง

พ้ืนฐานดานโลจิสติกสและบริการใน NSEC ระบุขอจํากัดในการพัฒนาดานโลจิสติกส และจัดทาํขอเสนอแนะและโครงการสาํหรับการพัฒนา NSEC โดยผลการศึกษาไดสรุปวา การพัฒนา NSEC ประกอบดวย 3 ระยะ คือ (1) การพัฒนาแนวพื้นที่การขนสง (Transport corridor) (2) การพัฒนาแนวพ้ืนที่โลจิสติกส (“Logistics” corridor) และ (3) การพัฒนาแนวพื้นที่เศรษฐกิจ (Economic Corridor) ซ่ึงปจจุบัน ทุกเสนทางใน NSEC ยังอยูในระยะที่ 1 (Transport corridor) และจําเปนตองมีการพัฒนาในทุกสาขาพรอมๆกัน ทั้งดานกายภาพและดานนโยบาย ทั้งน้ี จุดที่ออนแอมากที่สุด คือ จุดขามแดน ซ่ึงการอํานวยความสะดวกทางการคาและการขนสง ณ จุดขามแดน เปนเรื่องที่สําคัญในการเปลี่ยนจากการพัฒนาในระยะที่ 1 (Transport corridor) เปนการพัฒนาในระยะที่ 2 (Logistic corridor)

ผลการศึกษาในระยะที่ 1 ADB ไดจัดทํารางขอเสนอแนะ คือ (1) ใหใชความพยายามในการ

พัฒนา NSEC ใหเปน Logistic corridor เพ่ือใชประโยชนจากการเปดเสรีการคาและบริการ ภายใตความตกลงของอาเซียนและอาเซียน-จีน (2) ควรใหความสําคัญในลาํดับแรกตอการอํานวยความสะดวกทางการคาและการขนสงที่จุดขามแดน (3) ควรปรับปรงุการประสานงานระหวางรัฐบาลในสวนกลางและสวนทองถิ่น (4) สงเสริมการมีสวนรวมของภาคเอกชน (5) ขยายการเสริมสรางศกัยภาพใหแกผูที่เกี่ยวของ และ (6) จัดทําแผนการพัฒนาในสาขาตางๆ

- 12 -

โครงการดานการขนสงภายใต NSEC ที่สําคัญ ไดแก 1. โครงการปรับปรุงถนน เชียงราย – คุนหมิง ผานลาว 2. โครงการปรับปรุงถนน เชียงราย – คุนหมิง ผานพมา 3. โครงการปรับปรุงถนน หวยโกน (จ.นาน) – ปากแบง – อุดมไชย – บอเต็น – เชียงรุง - คุนหมิง 4. โครงการเสนทางคมนาคม คุนหมิง – ฮานอย- ไฮฟอง 5. การยกระดับเสนทางรถไฟคุนหมิง – ไฮฟอง – ยินเวียน – ลาวไค และเสนทางรถไฟตาลี่ - หลุยลี ่6. การพัฒนาทาอากาศยานที่หลวงน้ําทาและหวยทราย 7. การพัฒนาพื้นที่ตอนบนของ Lancang / ความตกลงวาดวยการเดินเรือเชิงพาณิชยในแมนํ้าโขง 8. การอํานวยความสะดวกขามพรมแดนในการเคลื่อนยายสินคาและคน 9. การพัฒนาทรัพยากรมนุษยในสาขาการขนสง

โครงสรางพืน้ฐานอ่ืนๆ 10. การเชื่อมโยงระบบสายสงไฟฟา 11. การสงเสริมการจัดทําความรวมมือดานพลังงานในภูมิภาค 12. การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานโทรคมนาคม 13. การพัฒนาการทองเที่ยวในแมนํ้าโขง 14. การศึกษากอนการลงทุนในเขตเศรษฐกิจเหนือ-ใต 15. การจัดตั้งเขตเศรษฐกิจชายแดนพิเศษในจังหวัดเชยีงราย

โครงการที่มีความสําคัญเปนลําดับแรก ไดแก โครงการปรับปรุงถนนสาย เชียงราย – คุนหมิง ผานลาว/ผานพมา ทั้งน้ี การยกระดับเสนทางสวนใหญที่อยูในจีนไดดําเนินการเสร็จสิ้นแลว/อยูระหวางดําเนินการ สวนเสนทางในไทยมีสภาพดี ในขณะที่เสนทางในพมาอยูระหวางการยกระดับโดยรัฐบาลพมาโดยมีภาคเอกชนเขามามีสวนรวม เสนทางในลาวจากบอเต็น-หวยทราย จะถูกปรับปรุง โดยไดรับการชวยเหลือเงินกู 3 ฝาย จาก ADB จีน และไทย ในวงเงินฝายละ 30 ลานเหรียญสหรัฐฯ

นอกจากนี้ รัฐบาลไทยไดเสนอใหมีเสนทางเลือกที่เชื่อมตอถนนดานเหนือ-ใต โดยเริ่มตน

จากจังหวัดนาน ใหเปนสวนหนึ่งภายใตกรอบความรวมมือเพ่ือการพัฒนาลุมแมนํ้าโขง-อาเซียน (ASEAN-Mekong Basin Development Cooperation: AMBDC) และรวมอยูในโครงการของ NSEC

นอกจากนี้ ยังมีโครงการพัฒนาเสนทางการขนสงหลายรูปแบบ คุนหมิง – ฮานอย –

ไฮฟอง ซ่ึงเปนโครงการดานการขนสงใน GMS อีกโครงการที่มีความสําคัญในลําดับแรก โดยไดรับความชวยเหลอืทางเทคนิคจาก ADB ในการศึกษาความเปนไปไดในการปรับปรงุถนน ทางรถไฟ หรือเสนทางขนสงทางน้ําและใหขอเสนอแนะเรื่องการเลือกรูปแบบการขนสงที่เหมาะสม ซ่ึงไดดําเนินการเสร็จสิ้นแลว และอยูระหวางดําเนินการศึกษาความเปนไปไดในการเลือกเสนทางสําหรับทางดวนและทางรถไฟ

- 13 -

โครงการเสนทางรถไฟ 3 โครงการภายใต NSEC มี 1 โครงการที่เปนสวนหนึ่งในเสนทางที่มีความสําคัญในลําดับแรกของเสนทางทีริ่เร่ิมโดยอาเซียน ภายใตโครงการเชื่อมโยงเสนทางรถไฟสิงคโปร-คุนหมิง (สวนอีก 2 โครงการที่เชือ่มตอไทยกับยูนนาน โดยผานลาว ถูกเสนอโดยรัฐบาลไทยและเปนสวนหนึ่งภายใตความริเริ่มของ AMBDC)

นอกจากนี้ ประเทศที่ไดเสนอโครงการดานการขนสง ภายใต NSEC ไดแก ลาว ซ่ึงไดเสนอโครงการพัฒนาทาอากาศยานหลวงน้ําทาและทาอากาศยานหวยทรายซึ่งอยูในภาคเหนือของลาว เพ่ือใหสามารถรองรับเครื่องบินขนาดกลางได และจีนไดเสนอโครงการพัฒนาพื้นที่ตอนบนของ Lancang / ความตกลงวาดวยการเดินเรือเชิงพาณิชยในแมนํ้าโขง ซ่ึงไดลงนามรวมกันแลวระหวางรัฐบาลจีน ลาว พมา และไทย ในเดือนเมษายน 2543 และอยูระหวางการใหสัตยาบนัของประเทศสมาชิก

ในการดําเนินโครงการลงทนุดานโครงสรางพื้นฐานจําเปนตองมีการวางนโยบายและกฎระเบียบซึง่เอ้ือประโยชนตอการคาและการลงทุน จึงมีความริเริ่มเรื่องการอํานวยความสะดวกการคาและการลงทุนขามพรมแดนรวมเปนสวนหนึ่งของโครงการภายใตกรอบยุทธศาสตร GMS ซ่ึงการดําเนินการตามความตกลงเรื่องการอํานวยความสะดวกการขนสงทางบกขามพรมแดนถือเปนสวนหนึ่งในการพัฒนา NSEC เชนเดียวกับการพฒันาเขตเศรษฐกิจอ่ืน โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือทําใหพิธีการทางศุลกากรงายขึน้ อํานวยความสะดวกการเดินทางขามพรมแดน และลดความจําเปนในการเปลี่ยนถายยานพาหนะ

แนวพื้นทีเ่ศรษฐกิจเหนือแนวพื้นทีเ่ศรษฐกิจเหนือ--ใตใต ((RR33))

ไทย – สปป.ลาว – จีน (R3E) ถนน - กรุงเทพฯ – เชียงราย (830 กม.) (ถนน 4 เลน/มากกวา) - เชียงราย – เชียงของ (110 กม.) (ทางดวน 2 เลน จะยกระดบั

ภายใน 5 ป) - ถนนในสปป.ลาว (228 กม.) – อยูระหวางกอสราง - (ไดรับการสนับสนุนทางการเงินจากไทย+ADB+จีน) สะพาน - สะพานขามแมน้ําโขงที่เชียงของ (ADB ใหความชวยเหลือทาง

เทคนิค)

ไทย – พมา –จีน (R3W) ถนน - กรุงเทพฯ – แมสาย (890 กม.) (ถนน 4 เลน/มากกวา) - New Mae Sai Bypass (8 กม.) (อยูระหวางกอสราง) สะพาน - สะพานขามแมน้ําสายแหงที่ 2 (สรางเสร็จแลว)

เชียงราย แมสาย เชียงของ

พะเยา

ลําปางอุตรดิตถ พิษณุโลก

กรุงเทพฯ

- 14 -

ในการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานใน NSEC รัฐบาลไทยไดมีสวนรวม ดังน้ี (1) เสนทาง R3W แมสาย – เชียงตุง – เชียงรุง – คุนหมิง ไทยชวยสรางสะพานมิตรภาพ

ขามแมนํ้าแมสายแหงที่ 2 แบบเงินใหเปลาดวยวงเงิน 38 ลานบาท และไดมีการเปดใชสะพานดังกลาว และเสนทาง แมสาย - เชียงตุง – เชียงรุง ในเดือนกรกฎาคม 2547

(2) เสนทาง R3E เชียงของ – หลวงน้าํทา – เชียงรุง – คุนหมิง ไทย จีน และ ADB ใหความชวยเหลอืการกอสรางเสนทางในสวนที่อยูในลาว ฝายละ 1 ใน 3 ของคากอสราง โดยไทยไดใหความชวยเหลอืในรูปแบบของเงินกูแบบผอนปรนดวยวงเงิน 1,385 ลานบาท นอกจากนี้ ในการประชุมระดับรัฐมนตร ี6 ประเทศลุมแมนํ้าโขง ครั้งที่ 14 เม่ือวันที่ 21 มิถุนายน 2550 ณ ธนาคารพัฒนาแหงเอเชีย (ADB) กรุงมะนิลา ประเทศฟลิปปนส ไดมีการลงนามบันทึกความเขาใจระหวางไทย-สปป.ลาว-จีน (Memorandum of Understanding on GMS North South Economic Corridor International Bridge) ซ่ึงไดตกลงรวมกนักําหนดแนวทางการพัฒนาและกอสรางสะพานขามแมนํ้าโขง ณ เมืองเชียงของ – หวยทราย ซ่ึงเปนโครงการตัวอยางของความสําเร็จที่ประเทศสมาชิกของกรอบความรวมมือ GMS รวมมือเพ่ือชวยเหลือกันเอง โดยไทยใหความชวยเหลือในการศึกษาออกแบบรายละเอียด (วงเงิน 35 ลานบาท) และรวมกบัจีนออกคากอสรางฝายละครึง่หน่ึง (วงเงินประมาณ 1,000 ลานบาท) เริ่มกอสรางสะพานในป 2552 คาดวาจะแลวเสร็จในป 2554

(3) เสนทางหวยโกน-ปากแบง โครงการปรับปรุงเสนทางจากหวยโกน (จ.นาน) – เมืองเงิน (แขวงไชยบุรี) – ปากแบง (แขวงอุดมไชย) ระยะทาง 49.22 กิโลเมตร รัฐบาลไทยจะใหความชวยเหลือดวยวงเงิน 840 ลานบาท โดยเปนเงินกูผอนปรน 70% และเงินใหเปลา 30% ซ่ึงเสนทางดังกลาวจะสามารถเชื่อมตอจากจังหวัดนาน ไปยังประเทศจีน โดยผานทางไชยบุรี-บอเต็น และเชื่อมตอไปยังหลวงพระบาง

- 15 -

3. แนวพื้นทีเ่ศรษฐกิจตอนใต (Southern Economic Corridor: SEC)

เชื่อมโยงไทย-กัมพูชา-เวียดนาม แนวพื้นที่เศรษฐกิจตอนใต (Southern Economic Corridor: SEC) เปนการพัฒนาแนว

เสนทางเชื่อมระหวางไทย-กัมพูชา-เวียดนาม มีเสนทางสําคัญ 2 เสนทางคือ เสนทาง R1 และ R10 เสนทาง R1 มีจุดเชื่อมโยงเมืองสําคัญตางๆ ดังน้ี กรุงเทพฯ – กบินทรบุรี – สระแกว - อรัญประเทศ หรือ กรุงเทพฯ – แหลมฉบัง – พนมสาร

คาม – กบินทรบุรี – สระแกว – อรัญประเทศ (ไทย) - ปอยเปต – ศรีโสภณ – เปอสาด - พนมเปญ – นาคหลวง – บาเวด (กัมพูชา) – มอคไบ - โฮจิมินตซิตี้ – วังเตา (เวียดนาม)

(i) จุดขามแดน : อรัญประเทศ (ไทย) – ปอยเปต (กัมพูชา) (ii) จุดขามแดน : บาเวด (กัมพูชา) – มอคไบ (เวียดนาม) เสนทาง R10 มีจุดเชื่อมโยงเมืองสําคัญตางๆ ดังน้ี กรุงเทพฯ - ตราด – หาดเล็ก (ไทย) – แชมแยม - เกาะกง – สะแรอัมเปล – กําพต – ลอก

(กัมพูชา) – ฮาเตียน – คาเมา – นามคาน (เวียดนาม) (i) จุดขามแดนแดน : หาดเล็ก (ไทย) – แชมแยม (กัมพูชา)

วัตถุประสงคของการริเริ่ม SEC คือ (1) เพ่ือสงเสริมความรวมมือในภูมิภาค สนับสนุนการ

รวมกลุมเศรษฐกิจ สนับสนนุการขยายตวัของการคาและการลงทุน และอํานวยความสะดวกการแลกเปลีย่นและการพัฒนาตามแนวพื้นทีด่านตะวันออก-ตะวันตก ระหวางไทย กมัพูชา เวียดนาม และบางสวนทางตอนใตของลาว และ (2) เพ่ือสนับสนุนการพัฒนาเขตเศรษฐกิจที่ครอบคลุมเมืองสําคัญในไทย กัมพูชา และเวียดนามโดยผานโครงสรางเครือขายถนนและทางรถไฟ โครงการดานการขนสงภายใต SEC ที่สําคัญ ไดแก

1. โครงการปรับปรุงเสนทาง R1 กรุงเทพฯ- พนมเปญ – โฮจิมินหซิตี้ – วังเตา 2. โครงการพัฒนาเสนทาง R 10 กรุงเทพ – เกาะกง – กําพต (กัมพูชา) – ฮาเตียน – คาเมา –

นามคาน (เวยีดนาม) 3. โครงการปรับปรุงเสนทาง ตอนใตของลาว – สีหนุวิลล 4. โครงการพัฒนาเสนทางตะวันตกตอนกลางของกัมพูชา – ตะวันออก 5. โครงการพัฒนาทางรถไฟ ไทย – กัมพูชา – เวียดนาม 6. โครงการปรับปรุงทาเรือในพนมเปญและสีหนุวิลล (กัมพูชา) และในวังเตา (เวียดนาม) 7. โครงการยกระดับทาอากาศยานปากเซ (ลาว) และทาอากาศยานรัตนคีรีและสะตรึงเตร็ง (กัมพูชา) 8. การอํานวยความสะดวกการเคลื่อนยายสนิคาและคนขามพรมแดน 9. การพัฒนาทรัพยากรมนุษยในสาขาการขนสง

- 16 -

โครงการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานอ่ืนๆ ไดแก 10. การเชื่อมโยงระบบสายสงไฟฟา 11. การสงเสริมการจัดทําความรวมมือดานพลังงานในภูมิภาค 12. การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานโทรคมนาคม 13. การพัมนาการทองเที่ยวแมนํ้าโขง 14. แผนความรวมมือทางเศรษฐกิจไทย-กัมพูชา

โครงการที่มีความสําคัญในลําดับแรก คือ โครงการปรับปรุงเสนทาง R1 กรุงเทพฯ- พนมเปญ – โฮจิมินหซิตี้ – วังเตา และ R 10 กรุงเทพ – เกาะกง – กําพต (กัมพูชา) – ฮาเตียน – คาเมา – นามคาน (เวียดนาม) สวนสําคัญหลายจุดบนเสนทาง R1 ในกัมพูชาและเวียดนามอยูระหวางดําเนินการโดยไดรับความชวยเหลือจาก ADB ในขณะที่สวนของเสนทาง R10 ในเวียดนามไดรับเงินกูคากอสรางจาก ADB

โครงการพัฒนาเสนทางรถไฟ ไทย – กัมพูชา – เวียดนาม เปนการฟนฟู และ/หรือ สรางเสนทางรถไฟเชื่อมโยงจากปอยเปต ที่ชายแดนไทย-กัมพูชา ไปยังโฮจิมินหซิตี้ โดยมีเสนทางจากพนมเปญถึงสหีนุวิลล เสนทางรถไฟหลักเปนสวนหนึ่งของเสนทางรถไฟเชื่อมโยงสิงคโปร-คุนหมิง สวนการปรับปรุงทาเรือในพนมเปญและสีหนุวิลลในกัมพูชา และทาเรือในวังเตาในเวยีดนาม เปนโครงการพัฒนาการขนสงทางน้ําเพื่อรองรับการขนสงสินคาทางเรือของประเทศและในอนุภูมิภาค

โครงการพัฒนาทาอากาศยานใน SEC ไดแก (1) การยกระดับทาอากาศยานปากเซในภาคใตของลาว เพ่ือสงเสริมการทองเที่ยวแหลงมรดกโลกของ UNESCO ในอนุภูมิภาค และ (2) การยกระดับทาอากาศยานรัตนคีรีและสะตรงึเตร็งในกัมพูชา ซ่ึงเปนสวนหนึ่งของโครงการพัฒนาการทองเที่ยวในแมนํ้าโขงที่ไดรับความชวยเหลือจาก ADB

ในการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานใน SEC รัฐบาลไทยไดมีสวนรวม ดังน้ี - เสนทาง R 10 ตราด – เกาะกง - สะแรอัมเปล ซ่ึงเปนสวนหนึ่งของเสนทางเลยีบชายฝง

ทะเลไทย – กัมพูชา – เวียดนาม ไทยไดใหความชวยเหลือแบบเงินกูผอนปรน 567.7 ลานบาท เพ่ือปรับปรุงถนนระยะทาง 151.5 กิโลเมตร และแบบเงินใหเปลา 288 ลานบาท เพ่ือการกอสรางสะพานขนาดใหญ 4 แหง

- 17 -

4. แนวพื้นทีเ่ศรษฐกิจอ่ืน (1) เสนทาง : คุนหมิง – ฉูฉง – ตาลี่ – เปาซาน – หลุยลี ่(จีน) – มูเซ – ลาชิโอ (พมา) (i) จุดขามแดน : หลุยลี ่(จีน) – มูเซ (พมา) (2) เสนทาง : เวียงจันทน – บานลาว – ทาแขก – เซโน – ปากเซ (ลาว) – สะตรึงเตร็ง – Kratie

– พนมเปญ – สีหนุวิลล (i) จุดขามแดน : ชายแดนเวียนขาม (ลาว) – ดองกระลอ (กัมพูชา) (3) เสนทาง : นาเตย – อุดมไชย – ปกมอง – หลวงพระบาง – เวียงจันทน – ทานาแลง (ลาว) – หนองคาย – อุดรธานี – ขอนแกน – กรุงเทพฯ (ไทย) (i) จุดขามแดน : ทานาแลง (ลาว) – หนองคาย (ไทย) (4) เสนทาง : เวียงจันทน – ปอลิคมัไซ (ลาว) – ฮาติน (เวียดนาม) (i) จุดขามแดน : นําเพา (ลาว) – เคาโทร (เวียดนาม)

(5) เสนทาง : จําปาสัก (ลาว) – อุบลราชธานี (ไทย) (i) จุดผานแดน : วังเตา (ลาว) – ชองเม็ก (ไทย)

- 18 -

ลาสุด ในการประชุมระดับรฐัมนตรี 6 ประเทศลุมแมนํ้าโขง ครั้งที่ 14 เม่ือวันที่ 21 มิถุนายน 2550 ณ ธนาคารพัฒนาแหงเอเชีย (ADB) กรุงมะนิลา ประเทศฟลปิปนส ที่ประชุมไดเห็นชอบตอการกําหนดแนวพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจในลุมแมนํ้าโขง จํานวน 9 เสนทาง (เพ่ิมขึ้นจากเดิม 3 เสนทาง คือ แนวเหนือ-ใต แนวตะวันออก-ตะวันตก และแนวตอนใต) ใหเปนแนวพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจหลักของอนุภูมิภาค ซ่ึงจะเปนการพัฒนาแบบองครวมที่เปนการพัฒนาทั้งดานเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม ตอยอดจากการเชื่อมโยงโครงสรางพื้นฐานการขนสงหลกัในอนุภูมิภาค ตลอดจนเรงรัดการพัฒนากฎระเบียบตางๆที่เกี่ยวของ เพ่ืออํานวยความสะดวกและดึงดูดการคาและการลงทุนในกลุมประเทศสมาชิกภายใตกรอบความรวมมือ GMS เพ่ิมขึ้น

- 19 -

5. ความตกลงวาดวยการขนสงขามพรมแดนในอนุภูมิภาคลุมแมนํ้าโขง (GMS Cross-Border Transport Agreement) ความเปนมา ประเทศสมาชกิ ในกรอบความรวมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุมแมนํ้าโขง (GMS) ไดเห็นชอบที่จะรวมมือทั้งทางดานเศรษฐกจิและสังคม เพ่ือความเจริญรวมกันในภมิูภาค โดยความรวมมือทางเศรษฐกิจเริ่มจากการกอสรางโครงสรางพื้นฐานดานการคมนาคมขนสง โดยเนนการพัฒนาเสนทางการขนสงทางถนนเปนหลัก ตลอดจนการลดอุปสรรคในการขนสงขามพรมแดน จึงไดจัดทําความตกลงวาดวยการอํานวยความสะดวกในการขนสงสินคาและผูโดยสารระหวางไทย-ลาว-เวียดนาม เปนโครงการนํารอง โดยธนาคารเพื่อการพัฒนาแหงเอเชีย (ADB) ไดใหความชวยเหลือในการยกรางความตกลงฯ และไดประชุมเพ่ือพิจารณารางความตกลงฯหลายครั้ง จนกระทั่งมีการลงนามความตกลงสามฝาย โดยไทย ลาว และเวียดนาม เม่ือวันที่ 26 พฤศจิกายน 2542 ณ กรุงเวียงจันทน ตอมา ไดมีการแกไขความตกลงฯ เพ่ือเปดใหสมาชิกอ่ืนในกรอบความรวมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุมแมนํ้าโขง สามารถเขารวมเปนภาคีในความตกลงฯ ปจจุบันมีประเทศตางๆเขารวมในการเจรจาความตกลง 6 ประเทศ ไดแก กัมพูชา พมา ลาว เวียดนาม ไทย และจีนตอนใต (มณฑลยูนนาน) และไดเปลี่ยนชื่อความตกลงที่ดําเนินการเจรจากันเปน ความตกลงวาดวยการขนสงขามพรมแดนในอนุภูมิภาคลุมแมนํ้าโขง (GMS Cross Border Transport Agreement: GMS CBTA)

วัตถุประสงค ความตกลง GMS มีวัตถุประสงคเพ่ือสงเสริมและอํานวยความสะดวกในการขนสงผูโดยสารและสินคาทั้งขามแดนและผานแดนระหวางประเทศสมาชกิ เพ่ือประสานกฎระเบียบ ขอปฏิบัตเิกี่ยวกับการขนสงขามพรมแดนของสินคาและผูโดยสาร และสงเสริมการขนสงตอเน่ืองหลายรูปแบบ ภายใตความตกลงฯ มีการจัดทํารายละเอียดของการปฏิบัตใินเรือ่งตางๆที่เรียกวา ภาคผนวกและพิธีสาร จํานวน 20 ฉบับ ไดแก เรื่องการอํานวยความสะดวก ณ จุดขามแดน การกําหนดเสนทางจุดเขา-ออก เกณฑในการออกใบอนุญาตประกอบการขนสงระหวางประเทศ การขนสงสินคาเนาเสียงาย เง่ือนไขการขนสง เปนตน ขณะน้ี ประเทศสมาชิกทั้ง 6 ประเทศ ไดใหสัตยาบันความตกลงฯแลว และไดมีการประกาศการมีผลบังคับใชความตกลงฯ ในสวนกรอบความตกลง เม่ือวันที่ 30 เมษายน 2547 และไดมีการจัดทําภาคผนวกและพธิีสารแลวเสร็จและมีการลงนามทั้ง 20 ฉบับ ในปจจุบันอยูระหวางการใหสัตยาบันของประเทศสมาชกิ คาดวาจะแลวเสร็จภายในป 2551 สําหรับไทย คาดวาจะใหสัตยาบันไดเพียงบางสวน เน่ืองจากตองมีการออกพระราชบัญญัติเพ่ือรองรับการดําเนินการตามภาคผนวกและพิธีสารที่เกี่ยวของ

กลไกของความตกลงดานขนสง GMS 1. ความตกลง

- ภาคผนวก 17 ฉบับ พิธีสาร 3 ฉบับ - บันทึกความเขาใจระหวางประเทศคูภาคีวาดวยการเริ่มใชความตกลงฯ

- 20 -

2. องคกร - คณะกรรมการอํานวยความสะดวกในการขนสงแหงชาติ (National Transport Facilitation

Committee: NTFC) - คณะกรรมการรวม (Joint Committee) - หนวยงานที่จุดผานแดนตามบันทึกความเขาใจฯ

การลงนามภาคผนวกและพิธีสาร ระยะที่ 1 : ลงนามเมื่อวันที่ 30 เมษายน 2547 ณ กรุงพนมเปญ ประเทศกัมพูชา

ที่ ภาคผนวก/ พิธีสาร

เร่ือง หนวยงานทีรั่บผิดชอบ

1. 2. 3.

4. 5. 6.

7. 8.

ภาคผนวก 2 ภาคผนวก 4 ภาคผนวก 7 ภาคผนวก 11 ภาคผนวก 12 ภาคผนวก 13 (a) ภาคผนวก 15 พิธีสาร 1

การจดทะเบียนพาหนะระหวางประเทศ การอํานวยความสะดวกการขนสงขามแดน กฎระเบียบและสัญญาณจราจร มาตรฐานการออกแบบถนนและสะพาน จุดขามแดนและผานแดนและการใหบริการที่เกี่ยวของ ระบบความรบัผิดทางแพงของการขนสงตอเน่ืองหลายรูปแบบ ระบบการจัดประเภทสินคา การกําหนด Corridor เสนทางจุดเขา-ออก (การขามแดน)

กรมการขนสงทางบก กรมศุลกากร กรมทางหลวง/สํานักงานตํารวจแหงชาต ิกรมทางหลวง กรมศุลกากร กรมการขนสงทางน้ําและพาณิชยนาว ีกรมศุลกากร กรมทางหลวง

ระยะที่ 2 : ลงนามเมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2547 ณ กรุงเวียงจันทน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว

ที่ ภาคผนวก/ พิธีสาร

เร่ือง หนวยงานทีรั่บผิดชอบ

1. 2.

3.

4.

ภาคผนวก 1 ภาคผนวก 9 ภาคผนวก 13 (b) ภาคผนวก 16

การขนสงสินคาอันตราย กฎเกณฑในการออกใบอนุญาตประกอบการขนสงระหวางประเทศ กฎเกณฑในการออกใบอนุญาตประกอบการขนสงตอเน่ืองหลายรูปแบบ ในสวนการขนสง cross-border หลักเกณฑเรือ่งใบอนุญาตขับขี ่

กรมการขนสงทางบก กรมศุลกากร กรมการขนสงทางน้ําและพาณิชยนาว ีกรมการขนสงทางบก

- 21 -

ระยะที่ 3 : ลงนามเมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม 2548 ณ คุนหมิง สาธารณรัฐประชาชนจีน

ที่ ภาคผนวก/ พิธีสาร

เร่ือง หนวยงานทีรั่บผิดชอบ

1.

2.

3. 4.

ภาคผนวก 3 ภาคผนวก 5 ภาคผนวก 10 พิธีสาร 2

การขนสงสินคาเนาเสียงาย การขามแดนของคน เง่ือนไขการขนสง คาธรรมเนียมที่เกี่ยวกบัการผานแดน

กระทรวงเกษตรและสหกรณ สํานักงานตรวจคนเขาเมือง กรมการขนสงทางบก กรมทางหลวง

ระยะที่ 4 : ลงนามเมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2550 ณ สาธารณรัฐประชาชนจีน

ที่ ภาคผนวก/ พิธีสาร

เร่ือง หนวยงานทีรั่บผิดชอบ

1. 2. 3. 4.

ภาคผนวก 6 ภาคผนวก 8 ภาคผนวก 14 พิธีสาร 3

ระบบศุลกากรผานแดน การนํารถยนตเขาประเทศชั่วคราว ระบบศุลกากรสําหรับตูคอนเทนเนอร จํานวนเที่ยววิง่และขนาดบรรทุก การกําหนดโควตา และออกใบอนุญาต

กรมศุลกากร กรมศุลกากร กรมศุลกากร กรมการขนสงทางบก

สถานะการดําเนินการ

อยางไรก็ตาม ในระหวางทีค่วามตกลงฯ ภาคผนวก และพิธีสารยังไมมีผลในทางปฏิบัติโดยสมบูรณ เน่ืองจากตองรอใหประเทศสมาชกิอยางนอย 2 ประเทศ ใหสตัยาบันภาคผนวกและพธิีสารแลวกอน ดังน้ัน ประเทศสมาชิกไดเห็นชอบในการเริ่มใชความตกลงวาดวยการขนสงขามพรมแดนในอนุภูมิภาคลุมแมนํ้าโขง ณ จุดผานแดนของประเทศภาคทีี่มีพรมแดนติดกัน โดยไดจัดทําบันทึกความเขาใจวาดวยการเริม่ใชความตกลง ณ จุดผานแดนตางๆ ไดแก จุดผานแดนอรัญประเทศ-ปอยเปต มุกดาหาร-สะหวันนะเขต ลงนามแลวเม่ือวันที่ 5 กรกฎาคม 2548 รวมถึงจุดผานแดนแมสาย-ทาขี้เหล็ก แมสอด-เมียวะดี ซ่ึงคาดวาจะลงนามในป 2550

ภายใตการจัดทําบันทึกความเขาใจวาดวยการเริ่มใชความตกลงฯ ไดกําหนดใหมีการจัดทําบันทึกความเขาใจวาดวยการแลกเปลี่ยนสิทธิจราจรระหวางกัน เพ่ือใชเปนมาตรการชั่วคราว ระหวางที่ความตกลง GMS ยังไมมีผลบังคบัใช ประกอบกับที่ผานมา ไทย-กัมพูชา และไทย-พมา ยังไมมีการจัดทําความตกลงวาดวยการขนสงทางถนนระหวางกนั ทั้งน้ี บันทึกความเขาใจวาดวยการแลกเปลี่ยนสิทธิจราจร ณ จุดผานแดน อรัญประเทศ-ปอยเปต แมสอด-เมียวะดี และแมสาย-ทาขี้เหล็ก จะลงนามในป 2550

- 22 -

บันทึกความเขาใจวาดวยการเริ่มใชความตกลง GMS ณ จุดผานแดนนํารอง มีสาระสําคัญ ดังน้ี • การตรวจสินคาเพียงครั้งเดียว การลดขั้นตอนการตรวจสินคา การประสานงานดานเวลาปฏิบตัิงานที่

จุดผานแดน การจัดหาอุปกรณอํานวยความสะดวก (Single Window Inspection/Single Stop Inspection)

• การขนสงสินคาเนาเสียงาย การขนสงสินคาอัตราย การจดทะเบียนพาหนะ การยอมรับใบอนุญาตขับรถ การนํารถเขาประเทศเปนการชัว่คราว ขอบังคับการประกันภัยความเสียหายที่เกิดจากรถตอบุคคลที่สาม

บันทึกความเขาใจวาดวยการแลกเปลี่ยนสิทธิการจราจรระหวางประเทศ มีสาระสําคัญ ดังน้ี • กําหนดเสนทางการขนสง • การยอมรับหนังสือรับรองการจดทะเบียนรถ หนังสือรับรองการตรวจสภาพรถ แผนปายทะเบียนรถ • จํานวนรถที่อนุญาตในระยะแรก • ขอกําหนดทางเทคนิคของรถ (อิงความตกลงอาเซียน) • รายการเอกสารสําหรับบุคคล พาหนะ และสินคา

-------------------------------- สํานักอาเซียน กรมเจรจาการคาระหวางประเทศ ตุลาคม 2550

บันทึกความเขาใจวาดวยการเริ่มใชความตกลงวาดวยการขนสง ขามพรมแดนในอนุภูมภิาคลุมแมน้ําโขง (II CBTA MOU)

มุกดาหาร-สะหวันนะเขต

อรัญประเทศ-ปอยเปต แมสอด-เมียวะดี แมสาย-ทาขี้เหล็ก

ความตกลงไทย-ลาว

บันทึกความเขาใจวาดวย การแลกเปลี่ยนสิทธิจราจร (MOU on Exchange of

Traffic Right)

บันทึกความเขาใจวาดวย การแลกเปลี่ยนสิทธิจราจร (MOU on Exchange of

Traffic Right)

ความตกลงวาดวยการขนสงขามพรมแดนในอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง (GMS Cross Border Transport Agreement)