38
รายงาน (เชิงประจักษ์) การดาเนินงานของสถานศึกษา ตามนโยบาย ยุทธศาสตร์สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ ประเด็นการติดตาม ๑. นโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ ๒. โครงการศูนย์ซ่อมสร้างเพื่อชุมชน (Fix it center) ๓. การประกันคุณภาพการศึกษา ๔. การรับนักเรียน นักศึกษา ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๔ วิทยาลัยเทคนิคพังงา สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

ประเด็นการติดตาม...งานว จ ย โครงงานใหมากข น รวมท งสงเสร มสน บสน นใหบ

  • Upload
    others

  • View
    3

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ประเด็นการติดตาม...งานว จ ย โครงงานใหมากข น รวมท งสงเสร มสน บสน นใหบ

รายงาน (เชิงประจักษ์) การด าเนินงานของสถานศึกษา ตามนโยบาย ยุทธศาสตร์ส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔

ประเด็นการตดิตาม

๑. นโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ ๒. โครงการศูนย์ซ่อมสร้างเพ่ือชุมชน (Fix it center) ๓. การประกันคุณภาพการศึกษา ๔. การรับนักเรียน นักศึกษา ประจ าปีการศึกษา ๒๕๕๔

วิทยาลัยเทคนิคพังงา ส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

กระทรวงศึกษาธกิาร

Page 2: ประเด็นการติดตาม...งานว จ ย โครงงานใหมากข น รวมท งสงเสร มสน บสน นใหบ

ส่วนที่ ๑ : แบบเก็บข้อมลูพื้นฐานของสถานศึกษา

(ค าชี้แจง : โปรดกรอกข้อมูลใยช่องว่างตามสภาพจริงของสถานศึกษา)

๑. ชื่อสถานศึกษา วิทยาลัยเทคนิคพังงา ๑.๑ ที่ตั้ง ....๓๒๖... ต าบล ....ท้ายช้าง...... อ าเภอ .....เมือง....... จังหวัด ......พังงา...... รหสัไปรษณีย์ ๘๒๐๐๐ โทรศัพท์ ....๐๗๖ ๔๑๒๐๗๗..... โทรสาร ...๐๗๖ ๔๑๒๐๔๕.... E-MAL ........ [email protected] ……..website : http://www.pntc.ac.th ๑.๒ พ้ืนที่ วิทยาลัยเทคนิคพังงา จ านวน .......๘.... ไร่ ..... ๓ งาน .......๗๖.๒.... ตารางวา วิทยาลัยเทคนิคพังงา วิทยาเขต ๒ จ านวน .... ๔๐ ..... ไร่

๒. ผู้บริหารสถานศึกษา (ระบุชื่อ – นามสกุล) ๒.๑ นายเมธีศิน สมอุ่มจารย์ ผู้อ านวยการ ๒.๒ นายสมปอง เตชเสนสกุล รองผู้อ านวยการฝ่ายบริหารทรัพยากร ๒.๓ นายสุพชัย อัมภา รองผู้อ านวยการฝ่ายวิชาการ ๒.๔ นายธวัชชัย วิญญัตติกุล รองผู้อ านวยการฝ่ายแผนงานและความร่วมมือ ๒.๕ นายวิบูลศักดิ์ ศันสนียเมธา รองผู้อ านวยการฝ่ายกิจการนักเรียน นักศึกษา

๓. ปรัชญา วิสัยทัศน์ และนโยบายสถานศึกษา ๓.๑ ปรัชญา .... วิชาการเด่น เน้นคุณธรรม ทักษะสูงล้ า น าทางอาชีพ …… ๓.๒ วสิัยทัศน์ .....วิทยาลัยเทคนิคพังงา เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ด้านวิชาชีพที่มีมาตรฐานพัฒนา

ระบบบริหารจัดการและบุคลากรด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย ตอบสนองความต้องการ ของตลาดแรงงานในภูมิภาคอย่างยั่งยืน ....

๓.๓ นโยบายสถานศึกษา (โดยสังเขป) ๑. เพ่ิมปริมาณผู้เรียนในสาขาที่มีความต้องการสูง ๒. ลดอัตราการออกกลางคัน และเพ่ิมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สูงขึ้นทุกรายวิชา ๓. พัฒนาความร่วมมือกับเครือข่ายสถานประกอบการ องค์กรท้องถิ่น ฯลฯ ๔. เพ่ิมจ านวนคอมพิวเตอร์และพัฒนาระบบสารสนเทศให้ครอบคลุมและมีประสิทธิภาพ ๕. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีสมรรถนะสูงขึ้นทุกด้าน ๖. พัฒนาการเรียนการสอนตามโครงการโรงเรียนเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์ให้ครอบคลุม หลายสาขาวิชาชีพ ๗. พัฒนาระบบบริหารจัดการให้ทันสมัย

Page 3: ประเด็นการติดตาม...งานว จ ย โครงงานใหมากข น รวมท งสงเสร มสน บสน นใหบ

๔. บุคลากร จ านวนบุคลากร (ปีการศึกษา พ.ศ.2554) ทั้งหมด จ านวน......๑๒๐........ คน - ข้าราชการครู จ านวน .....๖๑....... คน - ข้าราชการพลเรือน จ านวน ........๒....... คน - ครูอัตราจ้าง จ านวน......๒๕........ คน - พนักงานราชการ จ านวน ........๑....... คน - ลูกจ้างประจ า จ านวน.......๑๐...... คน - ลูกจ้างชั่วคราว จ านวน .......๒๑...... คน

๕. การจัดการเรียนการสอน ๕.๑ หลักสูตร - หลักสูตรระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) - หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ๕.๒ ประเภทวิชาที่จัดการเรียนการสอน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ประเภทวิชาอุตสาหกรรม - สาขาวิชาเครื่องมือกล - สาขาวิชาเครื่องมือกลและซ่อมบ ารุง - สาขาวิชาโลหะการ - สาขาวิชาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ - สาขาวิชาการก่อสร้าง ประเภทวิชาพาณิชยกรรม - สาขางานการบัญชี - สาขางานการขาย - สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ - สาขางานภาษาต่างประเทศ ประเภทวิชาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว - สาขาวิชาการโรงแรมและการท่องเที่ยว - โรงเรียนเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์พังงา ประเภทวิชาคหกรรม - สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ประเภทวิชาอุตสาหกรรม - สาขาวิชาเครื่องกล - สาขาวิชาเครื่องมือกล - สาขาวิชาไฟฟ้าก าลัง

Page 4: ประเด็นการติดตาม...งานว จ ย โครงงานใหมากข น รวมท งสงเสร มสน บสน นใหบ

- สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ - สาขาวิชาการก่อสร้าง ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ - สาขาวิชาการบัญชี - สาขาวิชาการตลาด - สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ประเภทวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ - สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ

๖. งบประมาณที่ได้รับ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ รวมทั้งสิ้น จ านวน ๙๑,๑๒๑,๐๑๖.- บาท จ าแนกเป็น ๖.๑ งบบุคลากร ๓๑,๓๓๑,๑๗๖.- บาท ๖.๒ งบด าเนินงาน ๑๒,๔๔๙,๔๔๐.- บาท ๖.๓ งบลงทุน ๓๐,๐๐๐,๐๐๐.- บาท ๖.๔ งบเงินอุดหนุน ๑๒,๒๘๓,๓๐๐.- บาท

๗. เงินรายได้สถานศึกษา / เงินนอกงบประมาณ ปีงบประมาณ พ.ศ.2554 จ านวน ๕,๐๕๗,๑๐๐.- บาท

๘. งาน / โครงการ / กิจกรรมดีเด่น ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ ๘.๑ รางวัลระดับประเทศ - นายอภิชาต วีระการ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.๒ สาขาวิชาการบัญชี ได้รีบรางวัลนักศึกษา

พระราชทาน - รองชนะเลิศอันดับ ๑ กีฬาหมากล้อม ประเภทบุคคลชาย ในการแข่งขันกีฬาอาชีวเกมส์ ระดับชาติ ณ จังหวัดเชียงใหม่

- ชนะเลิศกีฬาหมากล้อม ในการแข่งขันกีฬานักเรียนนักศึกษาแห่งชาติ ครั้งที่ ๓๒ ประเภทคู่ชาย ทีมชายและทีมผสม

๘.๒ รางวัลระดับภาค - รางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๒ การแข่งขันทักษะวิชาชีพ สาขาวิชาเครื่องมือกลและ

ซ่อมบ ารุง ณ จังหวัดภูเก็ต - รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ ๒ ระดับภาคใต้ ผลงานรถพลังงานกลเพ่ือเด็กและผู้พิการ และ รับการคัดเลือกไปประกวดในระดับชาติ - รางวัลล าดับที่ ๖ ระดับภาคใต้ และได้เข้าร่วมประกวดระดับชาติ “เครื่องช่วยเดินพื้นราบ” - รองชนะเลิศ อันดับ ๒ กีฬาหมากล้อมประเภทบุคคลชาย ในการแข่งขันกีฬาอาชีวเกมส์

ภาคใต้

Page 5: ประเด็นการติดตาม...งานว จ ย โครงงานใหมากข น รวมท งสงเสร มสน บสน นใหบ

9. ภาพรวมสถานศึกษา จุดเด่น สถานศึกษาได้รับรางวัลและผลงานของสถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้เรียน ซึ่งเป็นที่ยอมรับของสังคมในรอบปีการศึกษา ดังนี้ - รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ ๒ ระดับภาคใต้ ผลงานรถพลังงานกลเพื่อเด็กและผู้พิการ และ รับการคัดเลือกไปประกวดในระดับชาติ - รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ ๒ การแข่งขันทักษะวิชาชีพ จังหวัดภูเก็ต - รางวัลล าดับที่ ๖ ระดับภาคใต้ และได้เข้าร่วมประกวดระดับชาติ “เครื่องช่วยเดินพื้นราบ” - นายอภิชาต วีระการ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.๒ สาขาวชิาการบัญชี ได้รีบรางวัลนักศึกษา

พระราชทาน - รางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๒ การแข่งขันทักษะวิชาชีพ สาขาวิชาเครื่องมือกลและ

ซ่อมบ ารุง ณ จังหวัดภูเก็ต

รางวัลและผลงานของครู - นายกันตภณ ปัญญาดี ต าแหน่งครูช านาญการ ได้รับเกียรติบัตรเป็นครูผู้จัดการเรียนการ สอนแบบบูรณาการที่เน้นสมรรถนะอาชีพภายใต้ของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง รางวัล เหรียญเงิน ระดับอาชีวศึกษาจังหวัดพังงา ประจ าปีการศึกษา ๒๕๕๓ จากศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีวศึกษาภาคใต้ - นางฉลบฉลัย รัตนกุสุมภ์ ต าแหน่ง ครูช านาญการ - ไดร้ับเกียรติบัตรเป็นครูอาชีวศึกษาดีเด่น ด้านกิจกรรม ประจ าปีการศึกษา ๒๕๕๓ จากอาชีวศึกษาจังหวัดพังงา

- ได้รับเกียรติบัตรเป็นครูผู้จัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการที่เน้นสมรรถนะอาชีพ ภายใต้ของปรัชญาเศรษฐกิจ รางวัลเหรียญทองแดง ระดับอาชีวศึกษาจังหวัดพังงา ประจ าปีการศึกษา ๒๕๕๓ จากศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีวศึกษาภาคใต้

รางวัลและผลงานของผู้เรียน - นายอภิชาต วีระการ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.๒ สาขาวชิาการบัญชี ได้รับรางวัลนักศึกษาวิชาชีพดีเด่น รางวัลชมเชย ระดับภาคใต้ ประจ าปีการศึกษา ๒๕๕๓ - นายอภิชาต วีระการ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.๒ สาขาวชิาการบัญชี ได้รับรางวัลนักศึกษาพระราชทาน ปีการศึกษา ๒๕๕๓ - นางสาวเรวดี บุญมา นักศึการะดับชั้น ปวช.๓ สาขาวชิาการบัญชี ชนะเลิศการแข่งขันทักษะวิชาการบัญชีกับคอมพิวเตอร์ ระดับอศจ.พังงา และได้เข้าร่วมแข่งขันทักษะวิชาการบัญชีกับคอมพิวเตอร์ ระดับภาคใต้ ณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาภูเก็ต

Page 6: ประเด็นการติดตาม...งานว จ ย โครงงานใหมากข น รวมท งสงเสร มสน บสน นใหบ

- นางสาวสิริรัตน์ เสือย้อย นักศึกษาระดับชั้น ปวช.๓ กลุม่ ๒ สาขาวิชาการบัญชี ชนะเลิศการแข่งขันทักษะวิชาการบัญชีกับคอมพิวเตอร์ ระดับ อศจ.พังงา และได้เข้าร่วมแข่งขันทักษะวิชาการบัญชีกับคอมพิวเตอร์ ระดับภาคใต้ ณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาภูเก็ต

จุดที่ต้องพัฒนา ๑. สถานศึกษาควรหากลยุทธ์เพ่ือแก้ปัญหาจ านวนผู้ส าเร็จการศึกษาที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามเกณฑ์การส าเร็จการศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพในแต่ละชั้นปีค่อนข้างต่ าอย่างเร่งด่วน ๒. สถานศึกษาควรจัดท าหลักสูตรฐานสมรรถนะที่มีคุณภาพในทุกสาขาวิชา/สาขางาน โดยร่วมกับสถานประกอบการในการพัฒนาหลักสูตรให้ตรงกับความต้องการของตลาดแรงงานให้มากข้ึน ๓. สถานศึกษาควรหากลยุทธ์เพ่ือแก้ปัญหาผู้เรียนที่ออกกลางคันอย่างเร่งด่วน ๔. สถานศึกษาควรเพ่ิมงบประมาณในการส่งเสริมสนับสนุนการจัดท านวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานวิจัย โครงงานให้มากขึ้น รวมทั้งส่งเสริมสนับสนุนให้บุคลากรครู นักเรียน นักศึกษาเข้ารับการอบรมศึกษาดูงานอย่างสม่ าเสมอ

ความต้องการช่วยเหลือจากส่วนกลาง - จัดสรรยอดค่าสาธารณูปโภคเพ่ิมขึ้นจากเดิมปีละ ๙๔๐,๐๐๐ บาท ใช้จ่ายไม่เพียงพอ เนื่องจากวิทยาลัยได้มีโครงการโรงเรียนเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์พังงา ท าให้มีภาระค่าสาธารณูปโภคเพ่ิมขึ้น

Page 7: ประเด็นการติดตาม...งานว จ ย โครงงานใหมากข น รวมท งสงเสร มสน บสน นใหบ

ส่วนที่ ๒ : แบบเก็บข้อมูลการด าเนินงานของสถานศึกษา ตามนโยบาย ยุทธศาสตร์ และจุดเน้นส าคัญ ของส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ปีงบประมาณ พ.ศ ๒๕๕๔ (ค าชี้แจง : โปรดกรอกข่อมูลลงในช่องว่างตามสภาพจริงของสถานศึกษา)

นโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ

ตอนที่ ๑ ข้อมูลสภาพการด าเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ (ค าชี้แจง : โปรดกรอกข้อมูลลงในช่องว่างตามสภาพจริงของสถานศึกษา) ๑. ขัอมูลจ านวนนักเรียนระดับชั้นปวช.ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๔ (ข้อมูล ณ วันท่ี ๓๐ มิถุนายน ๒๕๕๔)

ระดับชั้น จ านวนนักเรียน (หน่วย : คน)

ปกติ ทวิภาคี เทียบโอนฯ กลุ่มพิเศษ แผนรับ รับจริง แผนรับ รับจริง แผนรับ รับจริง แผนรับ รับจริง

ปวช.๑ ๖๐๒ ๔๙๗ ๔๐ ๔๘ - - - - ปวช.๒ ๕๕๒ ๓๘๗ ๔๐ ๓๓ - - - - ปวช.๓ ๕๖๐ ๓๕๕ ๔๐ ๓๒ - - - -

รวมทั้งสิ้น ๑,๗๑๔ ๑,๒๓๙ ๑๒๐ ๑๑๒ - - - -

วัตถุประสงค์ : เพ่ือติดตามและรวบรวมข้อมูลสภาพการด าเนินงาน/กระบวนการ/ ผลสัมฤทธิ์/ข้อเสนอแนะ/ความต้องการช่วยเหลือจากหน่วยงานส่วนกลาง จากการด าเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๔ ของสถานศึกษา สังกัด ส านักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษา

Page 8: ประเด็นการติดตาม...งานว จ ย โครงงานใหมากข น รวมท งสงเสร มสน บสน นใหบ

๒. ข้อมูลจ านวนนักเรียนระดับชั้น ปวช. ลงทะเบียนสิทธิ์/ลงทะเบียนสละสิทธิ์/ไม่ติดต่อลงทะเบียน สละสิทธิ์ ในการรับเงินสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการศึกษาตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ

ระดับชั้น ประเด็น

จ านวนนักเรียนระดับ ปวช. (หน่วย : คน ลงทะเบียนรับสิทธิ์

การรับเงินสนับสนุนค่าใช้จ่าย

ในการศึกษา

ลงทะเบียนสละสิทธิ์การรับเงิน

สนับสนุนค่าใช้จ่ายการศึกษา

ไม่ติดต่อลงทะเบียนขอสละสิทธิ์การรับเงิน

สนับสนุนค่าใชจ้่ายในการศึกษา

ปวช.๑ - ค่าหนังสือเรียน - ค่าอุปกรณ์การเรียน - ค่าเครื่องแบบนักเรียน - ค่ากิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน

๕๑๗ ๕๑๗ ๕๑๗ ๕๑๗

รวม ปวช.๒ - ค่าหนังสือ

- ค่าอุปกรณ์การเรียน - ค่าเครื่องแบบนักเรียน - ค่ากิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน

๔๑๘ ๔๑๘ ๔๑๘ ๔๑๘

รวม ปวช.๓ - ค่าหนังสือ

- ค่าอุปกรณ์การเรียน - ค่าเครื่องแบบนักเรียน - ค่ากิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน

๓๗๕ ๓๗๕ ๓๗๕ ๓๗๕

รวม รวมทั้งสิ้น ๑,๓๑๐

๓. งบประมาณท่ีสถานศึกษาได้รับจากส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เพ่ือด าเนินงานตามนโยบาย เรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ (ข้อมูล ณ วันที่ .........๓๐ มิถุนายน ๒๕๕๔.........)

รายการ งบประมาณตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ

(หน่วย : บาท) จ านวนเงินที่ได้รับ จ านวนเงินที่ใช้จ่าย จ านวนเงินที่เหลือจ่าย

ค่าจัดการเรียนการสอน (เงินอุดหนุนรายหวั) ค่าหนังสือเรียน ค่าเครื่องแบบนักเรียน

๑๐,๙๑๕,๐๕๐.- ๘,๗๐๓,๓๐๐.- ๒,๒๑๑,๗๕๐.- ๒,๔๑๑,๓๐๐.- ๑,๗๕๗,๔๓๔.๖๕.- ๖๕๓,๘๖๕.๓๕ ๑,๓๕๙,๙๐๐.- ๑,๒๕๑,๙๐๐.- ๑๐๘,๐๐๐.-

Page 9: ประเด็นการติดตาม...งานว จ ย โครงงานใหมากข น รวมท งสงเสร มสน บสน นใหบ

รายการ งบประมาณตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ

(หน่วย : บาท) จ านวนเงินที่ได้รับ จ านวนเงินที่ใช้จ่าย จ านวนเงินที่เหลือจ่าย

ค่าอุปกรณ์การเรียน ค่ากิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน

๗๐๗,๒๕๐.- ๕๘๘,๑๑๐.- ๑๑๙,๑๔๐.-

๑,๒๗๑,๕๒๕.- ๑,๑๔๗,๖๐๐.- ๑๒๓,๙๒๕.-

รวมทั้งสิ้น ๑๖,๖๖๕,๐๒๕ ๑๓,๔๔๘,๓๔๔.๖๕ ๓,๒๑๖,๖๘๐.๓๕

ตอนที่ ๒ ข้อมูลกระบวนการด าเนินงาน (แผนงาน กระบวนการจัดการ การก ากับติดตาม และการแก้ไข ปรับปรุง ) ตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ (ค าชี้แจง : โปรดใส่เครื่องหมาย และกรอกข้อมูลตามสภาพจริงของสถานศึกษา)

แผนการด าเนินงาน การด าเนินงาน มี ไม่มี

มีการก าหนดแผนการด าเนินงานและมาตรการในการด าเนินงานอย่างชัดเจน มีการประชุมท าความเข้าใจและมอบหมายนโยบายแก่บุคลากร และผู้ปกครอง มีการแต่งตั้งคณะกรรมการและมอบหมายผู้รับผิดชอบ มีการจัดท าปฏิทินและก าหนดระยะเวลาการปฏิบัติงาน มีการด าเนินงานมากกว่าที่กล่าวมาข้างต้น (โปรดระบุ)

๒. กระบวนการจัดการเพ่ือด าเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ ของสถานศึกษา

ประเด็นการติดตาม กระบวนการจัดการ หนังสือเรียน ๑. การจัดซื้อ การจัดซื้อหนังสือเรียนตามระเบียบพัสดุ โดยทางสาขาวิชา

พิจารณารายการหนังสือตามที่ สอศ.ก าหนด

๒. การส่งมอบหนังสือเรียน งานพัสดุด าเนินการแจ้งสาขาวิชา เพื่อรับหนังสือตามขั้นตอน

๓. การเก็บรักษา หนังสือจัดเก็บรักษาไว้ที่งานพัสดุ กรณีท่ีแจกจ่ายนักเรียน สาขาวิชาจะด าเนินการ ปัจจุบันหนังสือจะมอบให้กับนักเรียนนักศึกษา

๔. กรณีมีเงินเหลือจ่าย จะด าเนินการจัดซื้อหนังสือ

Page 10: ประเด็นการติดตาม...งานว จ ย โครงงานใหมากข น รวมท งสงเสร มสน บสน นใหบ

ประเด็นการติดตาม กระบวนการจัดการ ค่าอุปกรณ์การเรียน ๑. การจ่ายเงิน .....ให้นักเรียนน าเอกสารมารับเงินตามที่ระบุไว้ ตามวันเวลา

ที่ก าหนด เฉพาะนักเรียนที่ลงทะเบียนเรียนเรียบร้อยแล้ว.......... ๒. การตรวจสอบหลักฐานการใช้จ่ายเงิน ....... ๑) เอกสารหมายเลข ๑ (ใบส าคัญรับเงิน) ๒) ใบเสร็จ/บิลเงินสดค่าอุปกรณ์การเรียน ๒๓๐.- บาท ๓) ส าเนาบัตรประชาชน/ทะเบียนบ้าน ๓. กรณีใช้จ่ายเงินผิดวัตถุประสงค์/ไม่ครบถ้วน ........ไม่มี...... ๔. กรณีเงินเหลือจ่าย ....... สง่คืนคลัง............

ค่าเครื่องแบบนักเรียน ๑. การจ่ายเงิน .....ให้นักเรียนน าเอกสารมารับเงินตามที่ระบุไว้ตามวันเวลา

ที่ก าหนด เฉพาะนักเรียนที่ลงทะเบียนเรียนเรียบร้อยแล้ว................ ๒. การตรวจสอบหลักฐานการใช้จ่ายเงิน ..... ๑) เอกสารหมายเลข ๑ (ใบส าคัญรับเงิน) ๒) ใบเสร็จค่าเครื่องแบบนักเรียนหรือบิลเงินสด ๓) ส าเนาบัตรประชาชน ...... ๓. กรณีใช้จ่ายเงินผิดวัตถุประสงค์/ไม่ครบถ้วน .... ไม่มี ....... ๔. กรณีเงินเหลือจ่าย ..... ส่งคืนคลัง .......

ค่ากิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๑. กิจกรรมวิชาการ - โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการการเขียนโครงการ - โครงการประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ - โครงการแข่งขันทักษะวิชาชีพ - โครงการประกวดผลงานและสิ่งประดิษฐ์ของนักเรียน นักศึกษา - โครงการตอบปัญหาวิชาการ - โครงการส่งเสริมทักษะภาษาต่างประเทศ - โครงการทดสอบมาตรฐานฝีมือทางวิชาชีพ - โครงการประเมินคุณลักษณะที่พึงประสงค์ - โครงการทดสอบมาตรฐานฝีมือทางวิชาการ - โครงการประกวดโครงงานวิชาชีพ (Project) ตามหลักสูตร - โครงการประกวดสิ่งประดิษฐ์จากสิ่งของเหลือใช้ - โครงการส่งเสริมการหารายได้ระหว่างเรียน - โครงการส่งเสริมเทคนิคการท างานเป็นทีม - โครงการส่งเสริมและพัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง - โครงการส่งเสริมสุขภาพและนันทนาการ

Page 11: ประเด็นการติดตาม...งานว จ ย โครงงานใหมากข น รวมท งสงเสร มสน บสน นใหบ

ประเด็นการติดตาม กระบวนการจัดการ - โครงการนักศึกษาวิชาชีพภายใต้การนิเทศ

- โครงการเสริมสร้างภาวะผู้น า ๒. กิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม - โครงการไหว้ครู - โครงการวันเข้าพรรษาและวันอาสาฬหบูชา - โครงการวันมาฆบูชา - โครงการกีฬาภายใน “ชงโคเกมส์” ครั้งที่ ๒๐ - โครงการวันแม่แห่งชาติ - โครงการวันปิยะมหาราช - โครงการวันเฉลิมพระชนมพรรษา ๕ ธันวาคม - โครงการวันเด็กแห่งชาติ - โครงการเลือกตั้งคณะกรรมการองค์การวิชาชีพในอนาคตฯ - โครงการพิธีมอบประกาศนียบัตร - โครงการปฐมนิเทศและประชุมผู้ปกครอง - โครงการเข้าค่ายพักแรมลูกเสือวิสามัญ - โครงการประดับแถบ ๒ สี และ ๓ ส ี - โครงการงานชุมนุมลูกเสือ เนตรนารี อาชีวศึกษา ระดับภาค - โครงการงานชุมนุนลูกเสือ เนตรนารี อาชีวศึกษา ระดับชาติ - โครงการราชสดุดีลูกเสือไทย - โครงการเสริมสร้างประชาธิปไตย - โครงการส่งเสริมวัฒนธรรมไทย วัฒนธรรมท้องถิ่นและมารยาทไทย - โครงการส่งเสริมกิจกรรมอาสาพัฒนา - โครงการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม - โครงการพัฒนาจิต - โครงการวัด มีสยิด โบสถ์คริสต์ วิทยาลัย (ทุกภาคเรียน) - โครงการปลูกป่าลดภาวะโลกร้อน - โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด (TO BE NUMBER ONE)

ค่ากิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๓. กิจกรรมศึกษาดูงาน - โครงการทัศนศึกษาดูงานนักเรียน นักศึกษาใหม่ (ภาคเรียนที่ ๑) - โครงการทัศนศึกษาดูงาน (ภาคเรียนที่ ๒)

Page 12: ประเด็นการติดตาม...งานว จ ย โครงงานใหมากข น รวมท งสงเสร มสน บสน นใหบ

ประเด็นการติดตาม กระบวนการจัดการ ค่ากิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๔. กิจกรรมคอมพิวเตอร์

- โครงการทดสอบมาตรฐานการใช้คอมพิวเตอร์ ๓. การก ากับ/ติดตาม และการแก้ไข/ปรับปรุงการด าเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมี คุณภาพ ของสถานศึกษา

ประเด็นการติดตาม กระบวนการจัดการ การก ากับติดตาม - ได้ติดตามงานหลักสูตร และพัสดุ เพ่ือให้การด าเนินการจัดหาหนังสือให้กับ

นักเรียนให้ทันเวลาเปิดภาคเรียน การแก้ไข/ปรับปรุง - แจ้งให้ครูผู้สอนทราบตั้งแต่ก่อนปิดภาคเรียนเพ่ือจัดหนังสือ เมื่อทราบ

จ านวนนักเรียนที่สอบเข้า (ปวช.๑) ก็สามารถสั่งซื้อหนังสือได้เลย ตอนที่ ๓ ข้อมูลผลสัมฤทธิ์จากการด าเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ (ค าชี้แจง : โปรดกรอกข้อมูลเกี่ยวกับจุดเด่น/จุดที่ต้องพัฒนา/โอกาส และผลกระทบจากการ

ด าเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ ตามสภาพจริงของสถานศึกษา) ผลสัมฤทธิ์จากการด าเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ ของสถานศึกษา

ประเด็นการติดตาม ผลสัมฤทธิ์จากการด าเนินงาน จุดเด่น หมายถึง : กิจกรรม/การปฏิบัติที่สถานศึกษาด าเนินงานแล้วประสบความส าเร็จ สามารถน าไปแบบอย่างที่ดีให้กับสถานศึกษาอ่ืนได้

- ความรวดเร็วของการด าเนินการงานหลักสูตร งานพัสดุ และฝ่ายแผนงานและความร่วมมือ

จุดที่ต้องพัฒนา หมายถึง : กิจกรรม/การปฏิบัติที่สถานศึกษาด าเนินการแล้วประสบปัญหาและอุปสรรคต้องปรับปรุง/แก้ไขให้การปฏิบัติงานดีขึ้น

- จ านวนนักเรียนที่เข้าเรียนมีเพ่ิมขึ้นเรื่อยๆ ตามนโยบายของส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และกระทรวงศึกษาธิการ การสั่งซื้อจึงต้องรอเวลา

Page 13: ประเด็นการติดตาม...งานว จ ย โครงงานใหมากข น รวมท งสงเสร มสน บสน นใหบ

ประเด็นการติดตาม ผลสัมฤทธิ์จากการด าเนินงาน โอกาส หมายถึง : ข้อได้เปรียบ/ประโยชน์ที่สถานศึกษาได้รับเมื่อด าเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ

- ช่วยลดปัญหาค่าครองชีพให้กับผู้ปกครอง สนับสนุนให้นักเรียนมีการเรียน ศึกษาต่อมากข้ึน

ผลกระทบ หมายถึง : ปัญหา/อุปสรรค ที่เกิดข้ึนหลังจากสถานศึกษาด าเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ

- นักเรียนบางส่วนขาดความสนใจเนื่องจากการส่งเสริมการเรียนฟรี ความพยายามความอดทนต่อการศึกษาต่อลดลง

ตอนที่ ๔. ข้อเสนอแนะเพ่ิมเติม/ความต้องการช่วยเหลือจากหน่วยงานส่วนกลาง (ค าชี้แจง : โปรดกรอกข้อมูลที่ตรงกับความคิดเห็นของท่านมากที่สุด)

Page 14: ประเด็นการติดตาม...งานว จ ย โครงงานใหมากข น รวมท งสงเสร มสน บสน นใหบ

ภาพกิจกรรมนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ

Page 15: ประเด็นการติดตาม...งานว จ ย โครงงานใหมากข น รวมท งสงเสร มสน บสน นใหบ
Page 16: ประเด็นการติดตาม...งานว จ ย โครงงานใหมากข น รวมท งสงเสร มสน บสน นใหบ

โครงการขยายบทบาทศูนย์ซ่อมสร้างเพื่อชุมชน (Fix it center)

ตอนที่ ๑ ข้อมูลสภาพการด าเนินงานโครงการขยายบทบาทศูนย์ซ่อมสร้างเพ่ือชุมชน (Fix it center) (ค าชี้แจง : โปรดใส่เครื่องหมาย ลงใน และกรอกข้อมูลตามสภาพจริงของสถานศึกษา) ๑. งบประมาณท่ีสถานศึกษาได้รับเพื่อด าเนินการจัดตั้งศูนย์ซ่อมสร้างเพ่ือชุมชน (Fix it center) ประจ าปี งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ (ข้อมูล ณ วันที่ .....๑๕ มีนาคม ๒๕๕๔....)

รายการ จ านวนเงิน (หน่วย : บาท) ๑. จ านวนเงินงบประมาณที่ได้รับ ๕๙๐,๐๐๐.- ๒. จ านวนเงินงบประมาณที่เบิกจ่าย ๒๙๕,๐๐๐.- ๓. จ านวนเงินงบประมาณคงเหลือ ๒๙๕,๐๐๐.- ๒. จ านวนศูนย์ซ่อมสร้างเพื่อชุมชน (Fix it center) ที่สถานศึกษาด าเนินการจัดตั้งในปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๔ จ านวน ............๒............ ศูนย์ จ านวน .......๑๓....... หมู่บ้าน จ านวน .......๒...... ต าบล ๓. ข้อมูลการให้บริการศูนย์ซ่อมสร้างเพ่ือชุมชน (Fix it center) ของสถานศึกษา การให้บริการศูนย์ซ่อมสร้างเพื่อชุมชน (Fix it center) ข้อมูล ณ วันที่....๑๕ – ๒๒ มีนาคม ๒๕๕๔.... ให้บริการแล้ว จ านวน ........๑......... ศนูย์ จ านวน .......๘...... หมู่บ้าน จ านวน ..........๑........ ต าบล อยู่ระหว่างด าเนินการ จ านวน ..................... ศูนย์ จ านวน ............... หมู่บ้าน จ านวน ................... ต าบล ยังไม่ได้ด าเนินการ จ านวน .........๑.. ...... ศูนย์ จ านวน ......๕...... หมู่บ้าน จ านวน .........๑........ ต าบล

วตัถปุระสงค์ : เพ่ือติดตามและรวบรวมข้อมลูสภาพการด าเนินงาน/กระบวนการ/ผลสมัฤทธ์ิ/ ข้อเสนอแนะ/ความต้องการช่วยเหลอืจากหนว่ยงานสว่นกลาง จากการด าเนินงาน

โครงการขยายบทบาทศนูย์ซอ่มสร้างเพื่อชมุชน (Fix it center) ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ ของสถานศกึษา สงักดัส านกังานคณะกรรมการการอาชีวศกึษา

Page 17: ประเด็นการติดตาม...งานว จ ย โครงงานใหมากข น รวมท งสงเสร มสน บสน นใหบ

๔. จ านวนครั้งของการออกให้บริการ จ านวนผู้รับบริการ และจ านวนชิ้นงานในการให้บริการแต่ละกิจกรรม

กิจกรรม จ านวนการออกบริการ

(หน่วย : คร้ัง) จ านวนผู้รับบริการ

(หน่วย : คน) จ านวนชิ้นงาน (หน่วย : ชิ้น)

แผน ท าจริง แผน ท าจริง แผน ท าจริง การยกระดับช่างชุมชน การซ่อมบ ารุงรักษาเครื่องมืออุปกรณ์ ประกอบอาชีพ และเครื่องใช้ใน ครัวเรือน การพัฒนาสุขอนามัย การพัฒนาเทคโนโลยีนวัตกรรมและ ต่อยอดผลิตภัณฑ์ชุมชน

๘ ๘ ๑๐๐ ๔๗ ๒๐๐ ๑๕๓ ๘ ๘ ๑๐๐ ๔๗ ๒๐๐ ๑๕๓

๘ ๘ ๔๐ ๓๐ ๑ ๑ ๑ ๑ ๔๐ ๒๐ ๒ ๒

๕. หน่วยงานภาคีท่ีร่วมกิจกรรมการให้บริการศูนย์ซ่อมสร้างเพ่ือชุมชน (Fix it center) กับสถานศึกษา สถาบันการศึกษาเอกชน บริษัทเอกชน/สถานประกอบการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (โปรดระบุ) ......องค์การบริหารส่วนต าบลโคกเจริญ..... หน่วยงานราชการ (โปรดระบุ) .............สถานีอนามัยต าบลโคกเจริญ.........

๖. บุคลากรในการออกให้บริการศูนย์ซ่อมสร้างเพ่ือชุมชน (Fix it center) ของสถานศึกษา ประกอบด้วย ครู อาจารย์ จ านวน ........๒๓........ คน/ศูนย์ นักเรียน นักศึกษา จ านวน ........๗๒........ คน/ศูนย์ ช่างชุมชนที่ได้รับการพัฒนา จ านวน .........๒๑....... คน/ศูนย์ อ่ืน ๆ (โปรดระบุ......เครือข่าย...) จ านวน ...........๔........ คน/ศนูย์

๗. การออกปฏิบัติงานของนักเรียน นักศึกษาในการให้บริการศูนย์ซ่อมสร้างเพ่ือชุมชน (Fix it center) ตรงตามสาขาที่เรียน จ านวน .......๗๒...... คน ไม่ตรงตามสาขาที่เรียน จ านวน .........-....... คน

๘. เครื่องมือ/อุปกรณ์ซ่อมบ ารุงรักษาที่ประชาชนน ามาขอรับบริการ จ านวนทั้งหมด ......๑๕๗.... ชิ้น สว่นใหญ่เป็น เครื่องใช้ในครัวเรือน วัสดุอุปกรณ์ในการประกอบอาชีพ อ่ืน ๆ (โปรดระบุ)..............รถจักรยานยนต์....................... ๙. สถานศึกษามีการออกหน่วยบริการเคลื่อนที่ (Mobile Unit) ด้วยหรือไม่ มี ไม่มี

Page 18: ประเด็นการติดตาม...งานว จ ย โครงงานใหมากข น รวมท งสงเสร มสน บสน นใหบ

ตอนที่ ๒ ข้อมูลกระบวนการด าเนินงาน (แผนงาน กระบวนการจัดการ การก ากับติดตาม และการแก้ไข ปรับปรุง) โครงการศูนย์ซ่อมสร้างเพ่ือชุมชน (Fix it center) ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ (ค าชี้แจง : โปรดใส่เครื่องหมาย และกรอกข้อมูลลงในช่องว่างตามสภาพความเป็นจริง) ๑. แผนการด าเนินงานโครงการศูนย์ซ่อมสร้างเพื่อชุมชน (Fix it center) ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ ของสถานศึกษา

แผนการด าเนนิงาน การด าเนินงาน มี ไม่มี

มีการก าหนดแผนการด าเนินงานและมาตรการในการด าเนินงานอย่างชัดเจน มีการประชุมท าความเข้าใจและมอบหมายนโยบายแก่บุคลากร มีการแต่งตั้งคณะกรรมการและมอบหมายผู้รับผิดชอบ มีการจัดท าปฏิทินและก าหนดระยะเวลาการปฏิบัติงาน มีการส ารวจความต้องการและก าหนดกลุ่มเป้าหมายให้บริการ และข้อมูลพ้ืนที่ การให้บริการ มีการวางแผนงานร่วมกับหน่วยงานภายนอก มีการด าเนินงานมากกว่าที่กล่าวมาข้างต้น (โปรดระบุ)....มีการประชาสัมพันธ์ป้าย และแผ่นพับ ใบปลิว.............

๒. กระบวนการจัดการการด าเนินงานโครงการศูนย์ซ่อมสร้างเพ่ือชุมชน (Fix it center) ของสถานศึกษา

รายการ กระบวนการจัดการ การกระดับช่างชุมชน ๑. การประชาสัมพันธ์

- ติดต่อประสานงานกับองค์การบริหารส่วนต าบล , ผู้ใหญ่บ้าน, ก านัน เพ่ือคัดเลือกช่างชุมชนมาท าการรับการอบรม

๒. การเตรียมความพร้อมของบุคลากร และปัจจัยพื้นฐาน - มีการประชุม และประสานงานกาอนการปฏิบัติงานจริง

๓. การพัฒนาและยกระดับช่างชุมชน - มีคณะครูที่ออกหน่วยช่วยในการอบรม และคอยสอนช่างชุมชนและ รว่มปฏิบัติ ๔. ความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอก ................................................................................................................... ...................................................................................................................

Page 19: ประเด็นการติดตาม...งานว จ ย โครงงานใหมากข น รวมท งสงเสร มสน บสน นใหบ

รายการ กระบวนการจัดการ การซ่อมบ ารุงรักษาเครื่องมือ อุปกรณ ์

๑. การประชาสัมพันธ์ - มีการจัดท าแผ่นพับ ใบปลิว และแผ่นป้าย เพื่อใช้ในการประชาสัมพันธ์

๒. การเตรียมความพร้อมของบุคลากร และปัจจัยพื้นฐาน - มีการจัดคณะครู นักเรียน นักศึกษา พร้อมกับช่างชุมชนในการออกหน่วยให้บริการ

๓. การออกให้บริการ - ออกให้บริการทุกวัน ตั้งแต่วันที่ ๑๕ – ๒๒ มีนาคม ๒๕๕๔ ตั้งแต่เวลา ๐๘.๐๐ – ๑๗.๐๐ น.

๔. ความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอก - ประสานงานกับองค์การบริหารส่วนต าบล เพื่อขอพ้ืนที่จัดตั้งศูนย์ฯ

การพัฒนาสุขอนามัย ๑. การประชาสัมพันธ์ - มีการประสานงานกับองค์การบริหารส่วนต าบล ให้เตรียมพ้ืนที่ที่จัดท าการพัฒนาสุขอนามัย

๒. การเตรียมความพร้อมของบุคลากร และปัจจัยพื้นฐาน - เตรียมคณะครู นักเรียน นักศึกษา ออกหน่วยให้บริการโดยสาขาวิชาช่างก่อสร้าง

๓. การออกให้บริการ - ออกให้บริการทุกวัน ตั้งแต่วันที่ ๑๕ – ๒๒ มีนาคม ๒๕๕๔ ตั้งแต่เวลา ๐๘.๐๐ – ๑๗.๐๐ น.

๔. ความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอก - ประสานกับศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่จะออกหน่วยบริการ เพ่ือจัดท าอ่างล้างหน้าแปรงฟันส าหรับเด็ก

การพัฒนาเทคโนโลยีและต่อยอด ผลิตภัณฑ์ชุมชน

๑. การประชาสัมพันธ์ - มีการจัดท าป้ายในการประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์ชุมชน

๒. การเตรียมความพร้อมของบุคลากร และปัจจัยพื้นฐาน - เตรียมคณะครู นักเรียน นักศึกษา ออกหน่วยส ารวจ

Page 20: ประเด็นการติดตาม...งานว จ ย โครงงานใหมากข น รวมท งสงเสร มสน บสน นใหบ

รายการ กระบวนการจัดการ การพัฒนาเทคโนโลยีและต่อยอด ผลิตภัณฑ์ชุมชน (ต่อ)

๓. การออกให้บริการ - ออกให้บริการทุกวัน ตั้งแต่วันที่ ๑๕ – ๒๒ มีนาคม ๒๕๕๔ ตั้งแต่เวลา ๐๘.๐๐ – ๑๗.๐๐ น.

๔. ความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอก - จัดท าเป็น OTOP ขององค์การบริหารส่วนต าบล - ท าการถ่ายทอดทางโทรทัศน์ PTV เคเบิ้ล

๓. การก ากับ/ติดตาม และการแก้ไข/ปรับปรุงการด าเนินงานตามโครงการศูนย์ซ่อมสร้างเพื่อชุมชน (Fix it center) ของสถานศึกษา

รายการ กระบวนการบริหารจัดการ การก ากับ/ติดตาม - การจัดท าแผนการปฏิบัติงาน ระยะเวลาการปฏิบัติงานที่ชัดเจน และ

เหมาะสมกับสภาพพ้ืนที่ของชุมชน

การแก้ไข/ปรับปรุง - ควรปรับปรุงร่องเวลาในการลงพื้นที่ปฏิบัติงานให้ตรงกับความต้องการของชุมชน

ตอนที่ ๓ ข้อมูลผลสัมฤทธิ์จากการด าเนินงานตามโครงการศูนย์ซ่อมสร้างเพ่ือชุมชน (Fix it center) (ค าชี้แจง : โปรดกรอกข้อมูลเกี่ยวกับจุดเด่น/จุดที่ต้องพัฒนา/โอกาส และผลกระทบจากการ ด าเนินงานตามโครงการศูนย์ซ่อมสร้างเพื่อชุมชน (Fix it center) ตามสภาพจริง ของสถานศึกษา) ผลสัมฤทธิ์จากการด าเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ ของสถานศึกษา

ประเด็นการติดตาม ผลสัมฤทธิ์จากการด าเนินงาน จุดเด่น หมายถึง : กิจกรรม/การปฏิบัติที่สถานศึกษาด าเนินการแล้วประสบความส าเร็จสามารถน าไปแบบอย่างที่ดีให้กับสถานศึกษาอ่ืนได้

๑. ประชาชนได้รับความรู้เรื่องการบ ารุงรักษาการซ่อมบ ารุงเครื่องมือเบื้องต้น บรรเทาปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน และลดรายจ่ายในการซ่อมบ ารุง ๒. ประชาชนมีสุขอนามัยที่ดี ลดความเสี่ยงต่อการติดโรคและค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล ๓. ประสิทธิภาพผลิตภัณฑ์ชุมชน มีคุณภาพ และเป้นการเพ่ิมมูลค่าสินค้า

Page 21: ประเด็นการติดตาม...งานว จ ย โครงงานใหมากข น รวมท งสงเสร มสน บสน นใหบ

ประเด็นการติดตาม ผลสัมฤทธิ์จากการด าเนินงาน จุดที่ต้องพัฒนา หมายถึง : กิจกรรม/การปฏิบัติที่สถานศึกษาด าเนินการแล้วประสบปัญหาและอุปสรรคต้องปรับปรุง/แก้ไขให้การปฏิบัติงานดีขึ้น

๑. วิทยาลัยฯ ควรสนับสนุนวัสดุ เครื่องมือ อุปกรณ์ ส าหรับทีมปฏิบัติงานมากกว่านี้ ๒. การประชาสัมพันธ์ และการประสานงานกับหน่วยงานภายนอกต้องทั่วถึงทุกพื้นที่ของการด าเนินฌครงการ ๓. ร่องเวลาในการปฏิบัติงานค่อนข้างจ ากัด

โอกาส หมายถึง : ข้อได้เปรียบ/ประโยชน์ที่สถานศึกษาได้รับจากการด าเนินงานโครงการศูนย์ซ่อมสร้างเพ่ือชุมชน (Fix it center)

๑. สร้างชื่อเสียงงานทางด้านวิชาชีพ สาขาวิชาต่างๆ ที่วิทยาลัยเปิดสอน ให้ประชาชนในพื้นที่ได้เข้าใจถึงแนวทางในการจัดการเรียนการสอนของวิทยาลัยฯ ส่งผลให้นักเรียนในความปกครอง เข้าศึกษาต่อทางด้านสายอาชีพมากข้ึน ๒. เพ่ิมประสบการณ์งานด้านวิชาชีพให้กับนักเรียน นักศึกษา ๓. สร้างเครือข่ายและความร่วมมือกับชุมชน

ประเด็นการติดตาม ผลสัมฤทธิ์จากการด าเนินงาน ผลกระทบ หมายถึง : ปัญหา/อุปสรรคที่เกิดข้ึนหลังจากการด าเนินงานโครงการศูนย์ซ่อมสร้างเพื่อชุมชน (Fix it center)

๑. เวลาปฏิบัติงานมีจ ากัดท าให้การซ่อมแซมอุปกณ์ของชาวบ้านไม่ทั่วถึง ส่งผลต่อการปฏิบัติงานในครั้งต่อไป ดังนั้นต้องวางแผนและเตรียมงานต้องรัดกุม และตรงความต้องการของชาวบ้านให้มากข้ึน

ตอนที่ ๔ ข้อเสนอแนะเพ่ิมเติม/ความต้องการช่วยเหลือจากหน่วยงานส่วนกลาง (ค าชี้แจง : โปรดกรอกข้อมูลที่ตรงกับความคิดเห็นของท่านมากที่สุด) ๑. แนวนโยบายในการด าเนินงานที่ต้องการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนเป็นสิ่งที่ถูกต้อง โดยน าหลักปฏิบัติงาน คือ ๑.๑ งานด้านการซ่อมสร้าง และยกระดับช่างชุมชน ๑.๒ งานด้านการพัฒนาสุขอนามัยพ้ืนฐาน ๑.๓ งานด้านการพัฒนาต่อยอดผลิตภัณฑ์ชุมชน แต่จะต้องท าความเข้าใจให้ชาวบ้านเข้าใจถึงค าว่า “บริการฟรี” ให้ถูกต้องและเหมาะสม เพื่อให้ผู้ที่ปฏิบัติงานสามารถท างานร่วมกับชุมชนได้

Page 22: ประเด็นการติดตาม...งานว จ ย โครงงานใหมากข น รวมท งสงเสร มสน บสน นใหบ

ภาพกิจกรรมโครงการศูนย์ซ่อมสร้างเพื่อชุมชน (Fix it center)

Page 23: ประเด็นการติดตาม...งานว จ ย โครงงานใหมากข น รวมท งสงเสร มสน บสน นใหบ

การประกันคุณภาพการศึกษา

ตอนที่ ๑ ข้อมลสภาพการด าเนินงานการประกันคณภาพการศึกษารอบที่ผ่านมา (ค าช้ีแจง : โปรดใส่เครื่องหมาย ในช่อง และกรอกข้อมูลลงตามสภาพจริงของสถานศกึษา)

๑. สถานศึกษาของท่านได้รับการประเมินคุณภาพภายนอกจาก สมศ. รอบท่ี ๑ ปีการศึกษา ๒๕๔๕ เมื่อวันที่ ๑๘ – ๒๐ พฤศจิกายน ๒๕๔๕ รอบท่ี ๒ ปีการศึกษา ๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๑๘ – ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๔๙ ปีการศึกษา ๒๕๕๒ เมื่อวันที่ ๕ เมษายน ๒๕๕๒ ๒. ผลการประเมินคุณภาพภายนอกจาก สมศ. รอบท่ี ๑ ระดับดีมาก ระดับด ี ระดับพอใช้ ระดับที่ต้องปรับปรุง รอบท่ี ๒ ระดับดีมาก ระดับดี ผ่านการรับรองแบบมีเงื่อนไข (ปัจจุบันได้แก้ไขจนผ่านการรับรองแล้ว) รอพินิจ (ปัจจุบันได้แก้ไขจนผ่านการรับรองแล้ว)

๓. ผลการประเมินคุณภาพภายนอกจาก สมศ. รอบที่ ๒ (ในแต่ละมาตรฐาน) มาตรฐาน ระดับคะแนน

มาตรฐานที่ ๑ การประกันคุณภาพภายใน มาตรฐานที่ ๒ คุณภาพของผู้ส าเร็จการศึกษา มาตรฐานที่ ๓ การจัดการเรียนการสอนด้านอาชีวศึกษา มาตรฐานที่ ๔ นวัตกรรมและการสร้างองค์ความรู้ของอาจารย์และนักศึกษา มาตรฐานที่ ๕ การให้บริการทางวิชาการแก่ชุมชน มาตรฐานที่ ๖ การบริหารและการจัดการ

๔.๕๐ ๓.๖๓ ๓.๖๐ ๓.๖๗ ๔.๐๐ ๔.๕๐

ระดับคะแนนภาพรวมของสถานศึกษา ๓.๘๔

วัตถุประสงค์ : เพ่ือติดตามและรวบรวมข้อมูลสภาพการด าเนินงาน/กระบวนการ/ผลสัมฤทธิ์/ข้อเสนอแนะ/ ความต้องการช่วยเหลือจากหน่วยงานส่วนกลาง จากการด าเนินงานประกันคุณภาพ การศึกษาที่ผ่านมา ของสถานศึกษา สังกัดส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

Page 24: ประเด็นการติดตาม...งานว จ ย โครงงานใหมากข น รวมท งสงเสร มสน บสน นใหบ

ตอนที่ ๒ ข้อมูลกระบวนการด าเนินงาน (แผนงาน กระบวนการจัดการ การก ากับติดตาม และการแก้ไข ปรับปรุง) ด าเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษา (ค าชี้แจง : โปรดใส่เครื่องหมาย และกรอกข้อมูลตามสภาพจริงของสถานศึกษา) ๑. แผนการด าเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา เพ่ือรองรับการประเมินคุณภาพภายนอกจาก สมศ. รอบท่ี ๓ ของสถานศึกษา

แผนการด าเนนิงาน การด าเนินงาน มี ไม่มี

มีการก าหนดแผนการด าเนินงานและมาตรการในการด าเนินงานอย่างชัดเจน มีการประชุมท าความเข้าใจและมอบหมายนโยบายแก่บุคลากรอย่างสม่ าเสมอ มีการแต่งตั้งคณะกรรมการและมอบหมายผู้รับผิดชอบ มีการด าเนินงานมากกว่าที่กล่าวมาข้างต้น

มีรายงานสรุปผลการประกันคุณภาพภายใน และการประเมินคุณภาพภายนอก ตั้งแต่ ปี พ.ศ.๒๕๔๕ – ๒๕๕๔

มีการอบรมเชิงปฏิบัติการ “การเตรียมการรับการประเมินคุณภาพภายใน จากต้นสังกัด (สอศ.) เพ่ือรองรับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม (สมศ.) ระยะที่ ๑ การเขียน SAR ระดับบุคคล (๒๘ มี.ค. – ๓๐ มี.ค. ๒๕๕๔) ระยะที่ ๒ การเขียน SAR ระดับแผนกวิชา/งาน (๗ – ๘ เม.ย. ๒๕๕๔) ระยะที่ ๓ การเขียน SAR ระดับวิทยาลัย (๑๘ – ๒๒ เม.ย. ๒๕๕๔)

มีการเตรียมรับการนิเทศการประกันคุณภาพภายในตามตัวบ่งชี้ของ สมศ. และการเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบ ๓ จาก สมศ. - ระยะที่ ๑ การเขียนแผนยุทธศาสตร์ แผนปฏิบัติการประจ าปี การจัดแฟ้ม ๑๘ ตัวบ่งชี้ ตามกรอบการประเมินคุณภาพภายนอกรอบ๓ (๑๓ – ๑๕ มิ.ย. ๒๕๕๔) - ระยะที่ ๒ รับการนิเทศการประกันคุณภาพภายในจากต้นสังกัดตามกรอบ การประเมินคุณภาพภายนอกรอบ ๓ (๑๖ – ๑๗ มิ.ย. ๒๕๕๔) - ระยะที่ ๓ การเตรียมความพร้อมรับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบ ๓ จาก สมศ. (๙, ๒๓, ๓๐, ก.ค. ๖, ๑๓, ๒๐, ๒๑ ส.ค. ๒๕๕๔) - ระยะที่ ๔ รับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบ ๓ จากคณะกรรมการประเมิน คุณภาพ สมศ. (๒๒ – ๒๔ ส.ค. ๒๕๕๔)

Page 25: ประเด็นการติดตาม...งานว จ ย โครงงานใหมากข น รวมท งสงเสร มสน บสน นใหบ

๒. กระบวนการจัดการการด าเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษา เพ่ือรองรับการประเมินคุณภาพ ภายนอกจาก สมศ. รอบที่ ๓ ของสถานศึกษา

รายการ กระบวนการจัดการ การเตรียมความพร้อมของบุคลากร - ประชุมเพ่ือสร้างความเข้าใจในการประเมินคุณภาพภายนอก

รอบ ๓ (พ.ศ. ๒๕๕๔ – ๒๕๕๘) - จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ “การประเมินคุณภาพภายนอกรอบ๓ ” เพ่ือให้ความรู้ความเข้าใจ ๑) พรบ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ แก้ไขเพ่ิมเติมฉบับที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๔๕ ๒) กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกัน คุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓ ๓) ตัวบ่งชี้การประเมินคุณภาพ ภายนอกรอบ ๓ - จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ “การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (SAR) ระดับบุคคล , แผนกวิชา/งาน และวิทยาลัย - จัดประชุมกลุ่มย่อยเกี่ยวกับประเด้นการพิจารณาแต่ละตัวบ่งชี้ ข้อมูลประกอบการพิจารณา - คัดเลือกและเตรียมคณะกรรมการในแต่ละตัวบ่งชี้ (๑๘ ตัวบ่งชี้) - แต่งตั้งค าสั่งคณะกรรมการที่รับผิดชอบจัดเตรียมเอกสาร พร้อมรับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบ ๓ ตามตัวบ่งชี้

การจัดเตรียมเอกสาร - จัดเตรียมแฟ้มตามตัวบ่งชี้ (๑๘ ตัวบ่งชี้)

- จัดเตรียมการสรุปผลแต่ละตัวบ่งชี้ - จัดเตรียมเอกสารประกอบตามประเด็นการพิจารณาตามตัวบ่งชี้ - จัดเตรียมร่องรอย/หลักฐาน แยกตามตัวบ่งชี้

การพัฒนาระบบประกันคุณภาพ ภายใน

การประเมินคุณภาพภายใน - รายงานการประเมินตนเอง (SAR) ระดับบุคคล - รายงานการประเมินตนเอง (SAR) ระดับแผนกวิชา/งาน - รายงานการประเมินตนเอง (SAR) ระดับวิทยาลัย - รายงานการประเมินคุณภาพภายในจากต้นสังกัด - รายงานการนิเทศการประกันคุณภาพภายในจากศึกษานิเทศ

Page 26: ประเด็นการติดตาม...งานว จ ย โครงงานใหมากข น รวมท งสงเสร มสน บสน นใหบ

รายการ กระบวนการจัดการ การพัฒนาระบบประกันคุณภาพ ภายใน

- คณะกรรมการติดตาม/ตรวจสอบคุณภาพการศึกษาระดับบุคคล - คณะกรรมการติดตาม/ตรวจสอบคุณภาพระดับแผนกวิชา/งาน - คณะกรรมการติดตาม/ตรวจสอบคุณภาพระดับวิทยาลัย - คณะกรรมการติดตาม/ตรวจสอบคุณภาพภายในจากต้นสังกัด การพัฒนาคุณภาพการศึกษา - ก าหนดมาตรฐานการศึกษา วิทยาลัยเทคนิคพังงาใช้ ๗ มาตรฐาน ๔๓ ตัวบ่งชี้ และก าหนดให้สอดคล้องกับ ๑๘ ตัวบ่งชี้ (สมศ.) - การจัดระบบและโครงสร้าง แผนกวิชา/งาน วิทยาลัย - การวางแผน (แผนยุทธศาสตร์/แผนปฏิบัติการประจ าปี ตามตัวบ่งชี้ (วิทยาลัย)/ตามตัวบ่งชี้ (สมศ.) - การด าเนินงานตามแผน/โครงการ/กิจกรรมให้มีผลสัมฤทธิ์ ตามตัวบ่งชี้ - การให้ความรู้, การสร้างจิตส านึก, การสร้างการมีส่วนร่วม ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง - กิจกรรมหน้าเสาธง (ให้ความรู้นักเรียน นักศึกษา ครูและ บุคลากรทุกคน) - ประชุม (แต่ละงาน, แผนกวิชา, วิทยาลัย) - อบรมเชิงปฏิบัติการ (ตามตัวบ่งชี้)

๓. การก ากับ/ติดตาม และการแก้ไข/ปรับปรุงการด าเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา เพ่ือรองรับการ ประเมินคุณภาพภายนอกจาก สมศ. รอบท่ี ๓ ของสถานศึกษา

ประเด็นการติดตาม กระบวนการจัดการ การก ากับติดตาม - การก ากับ/ติดตาม ตรวจสอบความก้าวหน้าของการปฏิบัติตาม

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา - การจัดท ารายงานการติดตาม/ตรวจสอบคุณภาพการศึกษา - การเสนอแนะมาตรการเร่งรัดการพัฒนาคุณภาพการศึกษา

Page 27: ประเด็นการติดตาม...งานว จ ย โครงงานใหมากข น รวมท งสงเสร มสน บสน นใหบ

การแก้ไข/ปรับปรุง ระดับแผนกวิชา/งาน - ข้อเสนอแนะระดับบุคคล/แผนกวิชา/งาน - แผนพัฒนาตามข้อเสนอแนะ - ด าเนินการตามแผนพัฒนาฯ - ประเมินผลการด าเนินงาน - รายงานการประเมินตนเอง (SAR) ระดับบุคคล/แผนกวิชา/งาน ระดับวิทยาลัย - ข้อเสนอแนะรายงานการประเมินตนเอง (SAR) วิทยาลัย (ต้นสังกัด) รายงานการประเมินคุณภาพภายนอก (สมศ.) - แผนพัฒนาตามข้อเสนอ - ด าเนินการตามแผนพัฒนาฯ - ประเมินผลการด าเนินงาน - รายงานการประเมินภายนอก (SAR) ระดับวิทยาลัย

ตอนที่ ๓ ข้อมูลผลสัมฤทธิ์จากการด าเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาที่ผ่านมา (ค าชี้แจง : โปรดกรอกข้อมูลเกี่ยวกับจุดเด่น/จุดที่ต้องพัฒนา/โอกาส และผลกระทบ จากการด าเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาที่ผ่านมา ของสถานศึกษา) ผลสัมฤทธิ์จากการด าเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา เพ่ือรองรับการประเมินคุณภาพภายนอกจาก สมศ. ที่ผ่านมาของสถานศึกษา

ประเด็นการติดตาม ผลสัมฤทธิ์จากการด าเนินงาน จุดเด่น หมายถึง : กิจกรรม/การปฏิบัติที่สถานศึกษาด าเนินการแล้วประสบความส าเร็จสามารถน าไปแบบอย่างที่ดีให้กับสถานศึกษา อ่ืนได้

- การให้บริการวิชาการหรือวิชาชีพที่ส่งเสริมการพัฒนาทักษะของผู้เรียน เช่น โครงการวัด มัสยิด โบส คริสต์ , ประหยัด รวมใจสมานฉันท์ , โครงการบ้านน้ าใจ, โครงการอาชีวศึกษาร่วมด้วยช่วยประชาชน ช่วยเหลือผู้ประสบภัยน้ าท่วมใต้, โครงการศูนย์ซ่อมสร้างเพ่ือชุมชน - ผลงานที่เป็นโครงงานทางวิชาชีพหรือสิ่งประดิษฐ์ของผู้เรียนที่ได้น ามาใช้ ประโยชน ์ - รถพลังงานกลเพ่ือเด็กและผู้พิการ (ไฟฟ้า) - เครื่องช่วยเดินบนพ้ืนราบ (ช่างอิเล็กทรอนิกส์)

Page 28: ประเด็นการติดตาม...งานว จ ย โครงงานใหมากข น รวมท งสงเสร มสน บสน นใหบ

ประเด็นการติดตาม ผลสัมฤทธิ์จากการด าเนินงาน จุดเด่น หมายถึง : กิจกรรม/การปฏิบัติที่สถานศึกษาด าเนินการแล้วประสบความส าเร็จสามารถน าไปแบบอย่างที่ดีให้กับสถานศึกษา อ่ืนได้

- เครื่องกวนกาละแม (ช่างกลโรงงาน) - ผลงานที่เป็นนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์สร้างสรรค์หรืองานวิจัยของครูที่ได้ น ามาใช้ประโยชน์ - แบบเรียนคณิตศาสตร์อิเล็กทรอนิกส์ - ชมรมการเรียนรู้แบบโครงงาน (Project Based Learning) - รางวัลระดับปกติ โครงการ To be number one - รางวัลการจัดกระบวนการเรียนการสอนและการบริหารจัดการ ตามนโยบายสถานศึกษา ๓D ระดับเหรียญทอง - รางวัลสถานศึกษาเศรษฐกิจพอเพียง ปีการศึกษา ๒๕๕๓ - รางวัลโครงการพัฒนาทักษะการสร้างผู้ประกอบการใหม่

จุดที่ต้องพัฒนา หมายถึง : กิจกรรม/การปฏิบัติที่สถานศึกษาด าเนินการแล้วประสบปัญหาและอุปสรรคต้องปรับปรุง/แก้ไขให้การปฏิบัติงานดีขึ้น

- การจัดท าแผนพัฒนาบุคลากรในแผนปฏิบัติงานประจ าปี - การจัดท าแผนพัฒนาสถานศึกษา (๓ – ๕ ปี) - การจัดอบรมให้ความรู้ด้านการวิจัยให้แก่ครู - การจัดงบประมารสนับสนุนให้เพียงพอ - การจัดประกวดการน าเสนอผลงานครูในระดับวิทยาลัย/อศจ. - การจัดท า MOU กับสถานศึกษาอ่ืนให้มากขึ้น - การจัดหางบประมาณเพ่ือจัดท าห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์แต่ละ แผนกวิชา - การจัดท าแผนพัมนาก าลังคนในระยะยาว - การดูแลนักเรียน นักศึกษา โดยครูที่ปรึกษาอย่างเป็นระบบ - การจัดท าวิจัยสถาบันเก่ียวกับความต้องการของชุมชนเพื่อที่จะได้ก าหนด วิชาชีพ - การจัดโครงการแสดงผลงานของครู นักเรียน ด้านนวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์ งานวิจัย และโครงงานประจ าปี - จัดระบบสารสนเทศให้มีประสิทธิภาพมากข้ึนและจัดท าเว็บไซต์ ให้เป็นปัจจุบัน

โอกาส หมายถึง : ข้อได้เปรียบ/ประโยชน์ที่สถานศึกษาได้รับจากการด าเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา

- นักเรียน นักศึกษาออกกลางคันน้อยลง - นักเรียน นักศึกษา จบการศึกษามากขึ้น - นักเรียน นักศึกษา มีผลสัมฤทธิ์การเรียนสูงขึ้น - นักเรียน นักศึกษา ได้งานท าหรือประกอบอาชีพอิสระในสาขาที่เก่ียวข้อง ภายใน ๑ ปี ครบ ๑๐๐%

Page 29: ประเด็นการติดตาม...งานว จ ย โครงงานใหมากข น รวมท งสงเสร มสน บสน นใหบ

ประเด็นการติดตาม ผลสัมฤทธิ์จากการด าเนินงาน โอกาส หมายถึง : ข้อได้เปรียบ/ประโยชน์ที่สถานศึกษาได้รับจากการด าเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา

- นักเรียน นักศึกษา มีความรู้และทักษะที่จ าเป็นในการท างานสูงขึ้น เช่น มีความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา เป็นต้น - นักเรียน นักศึกษา มีสมรรถนะของแต่ละสาขางานสูงขึ้น เช่น ได้รับ รางวัลในการแข่งขันทักษะวิชาชีพระดับภาค/ระดับชาติ เป็นต้น - นักเรียน นักศึกษา มีผลงานที่เป้นโครงงานวิชาชีพหรือสิ่งประดิษฐ์ที่ได้รับ รางวัลและน าไปใช้ประโยชน์มากขึ้น - ครูมีผลงานที่เป็นนวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์สร้างสรรค์หรืองานวิจัยที่ได้รับ รางวัลและน าไปใช้ประโยชน์มากขึ้น - ครูและนักเรียน นักศึกษา ร่วมกันให้บริการวิชาการหรือวิชาชีพ ผ่านกระบวนการเรียนรู้ในสถานการณ์จริงมากขึ้น - นักเรียน นักศึกษา ได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริงมากข้ึน - คณะกรรมการสถานศึกษาหรือคณะกรรมการวิทยาลัยได้เข้ามามี ส่วนรว่มในการก าหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ ทิศทางและนโยบายมากขึ้น - ระบบฐานข้อมูลสารสนเทศในการบริหารจัดการมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลมากขึ้น - ความปลอดภัยของนักเรียน นักศึกษา ครูและบุคลากร การทะเลาะวิวาท สิ่งเสพติด, ปัญหาสังคม, การพนัน, และการมั่วสุมลดลง - การมีส่วนร่วมในการประกันคุณภาพของทุกฝ่ายมีมากขึ้น - นักเรียน นักศึกษา ได้รับการพัฒนาคุณภาพให้ถึงพร้อมซึ่งการเป็นคนดี คนเก่ง และมีความสุขมากขึ้น - ครูได้รับการพัฒนาในการจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีคุณภาพมากขึ้น - วิทยาลัยมีการพัฒนาสภาพแวดล้อม ปรับแต่งภูมิทัศน์ให้สวยงาม เอ้ือต่อการเรียนรู้มากข้ึน - วิทยาลัยได้มีการพัฒนาระบบงานให้เป็นแหล่งเรียนรู้และท าประโยชน์ ให้แก่ชุมชนมากขึ้น

ผลกระทบ หมายถึง : ปัญหา/อุปสรรคที่เกิดข้ึนหลังจากการด าเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา

- การมีส่วนร่วมในการประกันคุณภาพการศึกษายังไม่ครบสมบูรณ์ - ความรู้/ความเข้าใจของบุคลากรในแต่ละตัวบ่งชี้ ทั้งมาตรฐานการศึกษา ของวิทยาลัย และของสมศ. ยังไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ และยังแตกต่างกัน

Page 30: ประเด็นการติดตาม...งานว จ ย โครงงานใหมากข น รวมท งสงเสร มสน บสน นใหบ

ตอนที่ ๔ ข้อเสนอแนะเพ่ิมเติม/ความต้องการช่วยเหลือจากหน่วยงานส่วนกลาง (ค าชี้แจง : โปรดกรอกข้อมูลที่ตรงกับความคิดเห็นของท่านมากท่ีสุด) - ควรจัดวิทยากรภายนอก (ที่เชี่ยวชาญ) มาให้ความรู้/ความเข้าใจในการประกันคุณภาพภายในตาม ตัวบ่งชี้ (สอศ.), (สมศ.) - ควรท ากรอบการด าเนินการตามตัวบ่งชี้ที่ด าเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล (สอศ.) - ผู้บริหารควรด าเนินการจัดประชุม/วางแผนการด าเนินการติดตามโครงการ/กิจกรรมตามตัวบ่งชี้ (สอศ.) , (สมศ.)

ความต้องการช่วยเหลือจากหน่วยงานส่วนกลาง - ส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จัดวิทยากรภายนอก (ที่เชี่ยวชาญ) มาให้ความรู้ ความเข้าใจในการประกันคุณภาพในตามตัวบ่งชี้ (สอศ.) , (สมศ.) เช่น การสร้างความตระหนัก/ ความพยายามในการสร้างความรู้ความเข้าใจ/การมีส่วนร่วมการประกันคุณภาพ - ส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จัดท ากรอบการด าเนินการตามตัวบ่งชี้ ที่ด าเนินการได้ อย่างมีประสิทิภาพ และประสิทธิผล เช่น ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง (ไม่นับรวมการ ฝึกงานตามหลักสูตร) เป็นต้น

Page 31: ประเด็นการติดตาม...งานว จ ย โครงงานใหมากข น รวมท งสงเสร มสน บสน นใหบ

ภาพกิจกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา

Page 32: ประเด็นการติดตาม...งานว จ ย โครงงานใหมากข น รวมท งสงเสร มสน บสน นใหบ

การรับนักเรียน นักศึกษา ปีการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๔

ตอนที่ ๑ ข้อมูลสภาพการด าเนินงานการรับนักเรียน นักศึกษา ปีการศึกษา พ.ศ.๒๕๕๔ (ค าชี้แจง : โปรดใส่เครื่องหมาย ลงใน และกรอกข้อมูลตามสภาพจริงของสถานศึกษา)

๑. จ านวนกลุ่มเป้าหมายที่มีความสนใจสมัครเข้าเรียน

กลุ่มเป้าหมาย จ านวนกลุ่มเป้าหมายที่มีสมัครและลงทะเบียนเรียน (หน่วย : คน)

ปวช. ปวส. ปทส. สมัคร ลงทะเบียน สมัคร ลงทะเบียน สมัคร ลงทะเบียน

๑. โรงเรียนประถมขยายโอกาส ๒. โรงเรียนมัธยมสึกษา สังกัด สพฐ. ๓. สถานศึกษาสังกัด สอศ. ๔. โรงเรียนเอกชน ๕. อ่ืน ๆ (โปรดระบุ) ................................................................................................................................................................................................................................................

๕๔๕ ๕๓๙ ๒๓๘ ๒๐๔

จ านวนรวม ๕๔๕ ๕๓๙ ๒๓๘ ๒๐๔

วัตถุประสงค์ : เพ่ือติดตามและรวบรวมข้อมูลสภาพการด าเนินงาน/กระบวนการ/ผลสัมฤทธิ์/ข้อเสนอแนะ/ ความต้องการช่วยเหลือจากหน่วยงานส่วนกลาง จากการด าเนินงาน รักนักเรียน นักศึกษา ปีการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๔ ของสถานศึกษา สังกัดส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

Page 33: ประเด็นการติดตาม...งานว จ ย โครงงานใหมากข น รวมท งสงเสร มสน บสน นใหบ

๒. ข้อมูลจ านวนนักเรียน ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๕๔ ของสถานศึกษา

รูปแบบการจัดการเรียนการสอน จ านวนนักเรียน (หน่วย : คน)

ระดับชั้น ปวช. ระดับ ปวส. ระดับ ปทส. ๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๑ ๒

ปรกติ - จ านวนสมัคร - จ านวนแผนรับ - จ านวนที่รับจริง

๔๙๗ ๕๓๑ ๖๔๒ ๓๘๖ ๔๙๑ ๔๐๑ ๓๕๒ ๑๙๓ ๑๔๗

รวม ทวิภาคี - จ านวนสมัคร - จ านวนแผนรับ - จ านวนที่รับจริง

๔๘ ๑๓ ๔๐ ๔๐ ๔๘ ๓๓ ๓๒ ๑๑ ๒๒

รวม อศ.กช. - จ านวนสมัคร - จ านวนแผนรับ - จ านวนที่รับจริง

รวม สะสมหน่วยกิต - จ านวนสมัคร - จ านวนแผนรับ - จ านวนที่รับจริง

รวม กลุ่มพิเศษ - จ านวนสมัคร - จ านวนแผนรับ - จ านวนที่รับจริง

รวม

Page 34: ประเด็นการติดตาม...งานว จ ย โครงงานใหมากข น รวมท งสงเสร มสน บสน นใหบ

๓. ข้อมูลสาขาวิชาที่รับความสนใจการสมัครเข้าเรียนมากที่สุด/น้อยที่สุด และไม่ได้รับความสนใจ

ระดับชั้น สาขาวิชา

สมัครเข้าเรียนมากที่สุด (๓ อันดับ)

สมัครเข้าเรียนน้อยท่ีสุด (๓ อันดับ)

ไม่ได้รับความสนใจเข้าเรียน (๓ อันดับ)

ปวช. ๑. ช่างยนต ์ ๑. ช่างกลโรงงาน ๑. การขาย ๒. คอมพิวเตอร์ธุรกิจ ๒. ช่างเชื่อม ๒. ๓. การโรงแรม ๓. ๓.

ปวส. ๑. ช่างยนต ์ ๑. เครื่องมือกล ๑. การตลาด ๒. ช่างไฟฟ้า ๒. เชื่อมโลหะ ๒. ๓. เทคนิคคอมพิวเตอร์ ๓. ๓.

๔. วธิีการการคัดเลือกผู้เรียน (ระบบปรกติ) ของสถานศึกษา คือ การสอบคัดเลือก การให้โควตาพิเศษ อ่ืน ๆ (โปรดระบุ) ............................................................................................................................. ................................................................................................................................... ............................................................................................ ๕. กลยุทธ์/มาตรการที่น ามาใช้ในการเพ่ิมจ านวนผู้เรียน คือ การออกแนะแนวตามโรงเรียนที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย การประชาสัมพันธ์ทางสื่อต่าง ๆ เช่น วิทยุ หนังสือพิมพ์ จัดกิจกรรมเกี่ยวกับวิชาชีพ เช่น การจัดนิทรรศการวิชาชีพ การจัดงาน Open House การจัดตั้งศูนย์ประสานงานการรับนักเรียนในสถานศึกษา การให้ทุนการศึกษา การเปิดสาขาใหม่ที่เป็นความต้องการของท้องถิ่น การเปิดรับสมัครมากกว่า ๑ รอบ การสร้างเครือข่ายความร่วมมือกับชุมชน/องค์กรปกครองท้องถิ่นเพ่ือช่วยประชาสัมพันธ์ อ่ืน ๆ (โปรดระบุ) ........................................................................................................... ........................ ..................................................................................................................................................... ......................... ......................................................................................................... ..................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................. .............................................................................................

Page 35: ประเด็นการติดตาม...งานว จ ย โครงงานใหมากข น รวมท งสงเสร มสน บสน นใหบ

ตอนที่ ๒ ข้อมูลกระบวนการด าเนินงานของสถานศึกษา (แผนงาน กระบวนการจัดการ การก ากับติดตาม และการแก้ไขปรับปรุง) การรับนักเรียน นักศึกษา ปีการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๔ (ค าชี้แจง : โปรดใส่เครื่องหมาย และกรอกข้อมูลลงในช่องว่างตามสภาพจริง ของสถานศึกษา) ๑. การก าหนดแผนงานเพื่อด าเนินงานการรับนักเรียน นักศึกษา ปีการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๔ ของสถานศึกษา

แผนการด าเนนิงาน การด าเนินงาน มี ไม่มี

มีการก าหนดแผนการด าเนินงานและมาตรการในการด าเนินงานอย่างชัดเจน มีการประชุมท าความเข้าใจและมอบหมายนโยบายแก่บุคลากร มีการแต่งตั้งคณะกรรมการและมอบหมายผู้รับผิดชอบ มีการจัดท าปฏิทินและก าหนดระยะเวลาการปฏิบัติงาน มีการส ารวจความต้องการและก าหนดกลุ่มเป้าหมาย มีการด าเนินงานมากกว่าที่กล่าวมาข้างต้น (โปรดระบุ) ....................................................................................................... .................................................................................................................................

๒. กระบวนการจัดการการด าเนินงานรับนักเรียน นักศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๔ ของสถานศึกษา

รายการ กระบวนการจัดการ การแนะแนว/ประชาสัมพันธ์ - มีการจัดคณะครูแนะแนวโดยทั้งแนะแนวสาขาวิชาเพ่ือไปแนะแนว

ในสถานศึกษาอ่ืนๆ ทั้งในจังหวัดพังงาและจังหวัดใกล้เคียง เพ่ือประชาสัมพันธ์แนะแนวให้นักเรียนสมัครเข้าเรียนตามเป้าหมาย

การรับสมัคร - การรับสมัครให้ผู้สมัครเข้าเรียนเลือกสาขาท่ีถนัด อันดับ ๑ และ

สาขารองเพ่ือเข้าศึกษาต่อ

การคัดเลือก - โดยการสอบวัดแวว ตามระเบียบก าหนดการของส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

Page 36: ประเด็นการติดตาม...งานว จ ย โครงงานใหมากข น รวมท งสงเสร มสน บสน นใหบ

๓. การก ากับ ติดตาม และการแก้ไข/ปรับปรุงการด าเนินงานในการรับนักเรียน นักศึกษา ปีการศึกษา พ.ศ.๒๕๕๔ ของสถานศึกษา

รายการ กระบวนการจัดการ การก ากับติดตาม - มีค าสั่งในการด าเนินการรับสมัคร กรณีแก้ไขปรับปรุงเกี่ยวกับการสอบ

เข้าเรียน จะดูแลนักเรียนให้เข้าเรียนตรงสาขาที่สมัคร

การแก้ไข/ปรับปรุง - หากนักเรียน นักศึกษา ต้องการเปลี่ยนสาขาวิชา ต้องมีผู้ปกครองรับรองและสาขาวิชาที่เปลี่ยนต้องไม่เต็มจ านวนห้องเรียนที่ก าหนด

ตอนที่ ๓ ข้อมูลผลสัมฤทธิ์จากการด าเนินงานรับนักเรียน นักศึกษา ปีการศึกษา พ.ศ.๒๕๕๔ (ค าชี้แจง : โปรดกรอกข้อมูลเกี่ยวกับจุดเด่น/จุดที่ต้องพัฒนา/โอกาส และผลกระทบจากการ ด าเนินงานรับนักเรียน นักศึกษา ปีการศึกษา พ.ศ.๒๕๕๔ ของสถานศึกษา)

ผลสัมฤทธิ์จากการด าเนินงานรับนักเรียน นักศึกษา ปีการศึกษา พ.ศ.๒๕๕๔ ของสถานศึกษา ประเด็นการติดตาม ผลสัมฤทธิ์จากการด าเนินงาน

จุดเด่น หมายถึง : กิจกรรม/การปฏิบัติที่สถานศึกษาด าเนินการแล้วประสบความส าเร็จสามารถน าไปเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับสถานศึกษาอ่ืนได้

- การรับสมัครนักเรียนแต่เนิ่นๆ และด าเนินการสอบตามกระบวนการ กรณีสาขาใดไม่เต็มจ านวนก็สมัครเพิ่มเติมและสอบตามข้ันตอน

จุดที่ต้องพัฒนา หมายถึง : กิจกรรม/การปฏิบัติที่สถานศึกษาด าเนินการแล้วประสบปัญหาและอุปสรรคต้องปรับปรุง/แก้ไขให้การปฏิบัติงานดีขึ้น

- การด าเนินงานด้านการประชาสัมพันธ์ต้องมากเนื่องจากนักเรียน นักศึกษาในพ้ืนที่มีจ านวนจ ากัด

โอกาส หมายถึง : ข้อได้เปรียบ/ประโยชนืที่สถานศึกษาได้รับจากการด าเนินงานรับนักเรียน นักศึกษา ปีการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๔

- นักเรียน นักศึกษา เข้าศึกษาต่อในสถานศึกษาวิทยาลัยเทคนิคพังงา มากขึ้น

Page 37: ประเด็นการติดตาม...งานว จ ย โครงงานใหมากข น รวมท งสงเสร มสน บสน นใหบ

ประเด็นการติดตาม ผลสัมฤทธิ์จากการด าเนินงาน ผลกระทบ หมายถึง : ปัญหา/อุปสรรคที่เกิดข้ึนหลังจากด าเนินงานรับนักเรียน นักศึกษา ปีการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๔

- นักเรียนบางคนใบ รบ. ไมสมบูรณ์ต้องสอบแก้ตัวที่สถานศึกษาเดิม ท าให้ รบ. ออกล่าช้า

ตอนที่ ๔ ข้อเสนอแนะเพ่ิมเติม/ความต้องการช่วยเหลือจากหน่วยงานส่วนกลาง (ค าชี้แจง : โปรดกรอกข้อมูลที่ตรงกับความคิดเห็นของท่านมากท่ีสุด) ............................................................................................................................. ................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. ......................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................................... ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................... .......................................................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ....................................................................................................................................................................... ....... ........................................................................................................................... ................................................... ............................................................................................................................. ................................................. .......................................................................................................................................................... ....................

Page 38: ประเด็นการติดตาม...งานว จ ย โครงงานใหมากข น รวมท งสงเสร มสน บสน นใหบ

ภาพการรับนักเรียน นักศึกษา ประจ าปีการศึกษา ๒๕๕๔