7
บทที3 วิธีการดําเนินการวิจัย การวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยดําเนินการวิจัยตามขั้นตอนดังนี1. กลุมเปาหมายที่ใชในการวิจัย 2. เครื่องมือที่ใชในการวิจัย และการสรางเครื่องมือ 3. การเก็บรวบรวมขอมูล 4. การวิเคราะหขอมูล 5. สถิติที่ใชในการวิจัย กลุมเปาหมายที่ใชในการวิจัย กลุมเปาหมายที่ใชในการวิจัยครั้งนีไดแก นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที3 ภาคเรียนที1 ปการศึกษา 2553 ของโรงเรียนบานกอจัดสรร อําเภอลีจังหวัดลําพูน จํานวน 22 คน เครื่องมือที่ใชในการวิจัยและการสรางเครื่องมือ เครื่องมือที่ใชในการวิจัยในครั้งนี้ ไดแก 1. แผนการจัดการเรียนรู เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร 2. แบบทดสอบวัดความสามารถในการแกโจทยปญหาเรื่องพื้นที่ผิว และปริมาตร 3. แบบบันทึกหลังการสอน 4. แบบบันทึกการเรียนรูของนักเรียน ซึ่งไดดําเนินการสรางเครื่องมือ ดังนี1. แผนการจัดการเรียนรู เรื่อง พื้นที่ผิวและปริมาตร จํานวน 9 แผน รวมทั ้งหมด 13 คาบ คาบละ 1 ชั่วโมง รายละเอียด ดังตารางตอไปนี

วิธีการดําเนินการวิจัยarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2554/emath0354bn_ch3.pdf · 1. แผนการจัดการเรียนรู

  • Upload
    others

  • View
    3

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: วิธีการดําเนินการวิจัยarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2554/emath0354bn_ch3.pdf · 1. แผนการจัดการเรียนรู

บทที่ 3

วิธีการดําเนินการวิจัย

การวิจัยคร้ังน้ี ผูวิจัยดําเนินการวิจัยตามขั้นตอนดังน้ี

1. กลุมเปาหมายที่ใชในการวิจัย

2. เคร่ืองมือที่ใชในการวิจัย และการสรางเคร่ืองมือ

3. การเก็บรวบรวมขอมูล

4. การวิเคราะหขอมูล

5. สถิติที่ใชในการวิจัย

กลุมเปาหมายท่ีใชในการวิจัย

กลุมเปาหมายที่ใชในการวิจัยคร้ังน้ี ไดแก นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ภาคเรียนที่ 1

ปการศึกษา 2553 ของโรงเรียนบานกอจัดสรร อําเภอลี้ จังหวัดลาํพนู จํานวน 22 คน

เคร่ืองมือท่ีใชในการวิจัยและการสรางเคร่ืองมือ

เคร่ืองมือที่ใชในการวิจัยในคร้ังน้ี ไดแก

1. แผนการจัดการเรียนรู เร่ืองพื้นที่ผิวและปริมาตร

2. แบบทดสอบวัดความสามารถในการแกโจทยปญหาเร่ืองพื้นที่ผิว และปริมาตร

3. แบบบันทึกหลังการสอน

4. แบบบันทึกการเรียนรูของนักเรียน

ซึ่งไดดําเนินการสรางเคร่ืองมือ ดังน้ี

1. แผนการจัดการเรียนรู เร่ือง พื้นที่ผิวและปริมาตร จํานวน 9 แผน รวมทัง้หมด 13 คาบ

คาบละ 1 ชั่วโมง รายละเอียด ดังตารางตอไปน้ี

Page 2: วิธีการดําเนินการวิจัยarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2554/emath0354bn_ch3.pdf · 1. แผนการจัดการเรียนรู

29

ตารางที่ 1 แผนการจัดการเรียนรู ตามเน้ือหา และจํานวนคาบ

โดยในแตละแผนการจัดการเรียนรูประกอบไปดวย ผลการเรียนรูที่คาดหวัง สาระการ

เรียนรู กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อการเรียนการสอน การวัดผลและการประเมินผลการเรียนรู

และบันทึกหลังการสอน ซึ่งมีขั้นตอนในการสรางแผนการจัดการเรียนรู ดังน้ี

1.1 ศึกษาหลักสูตร ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544

กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ในเน้ือหาเร่ือง พื้นที่ผิวและปริมาตร เพื่อกําหนดผลการเรียนรู

ทีค่าดหวัง

1.2 ศึกษาเอกสารตางๆ เกี่ยวกับเน้ือหาเร่ือง พื้นที่ผิวและปริมาตร

1.3 วิเคราะหเน้ือหา และ กําหนดผลการเรียนรูที่คาดหวังตามหลักสูตร

1.4 สรางแผนการจัดการเรียนรู โดยในแผนการจัดการเรียนรูไดออกแบบให

นักเรียนฝกวาดรูปสองมิติ และสามมิติ แลวจึงใหนักเรียนวิเคราะหโจทยปญหา โดยใหวาดรูป

ประกอบ และแกโจทยปญหาน้ัน ซึ่งผูวิจัยไดสรางแผนการจัดการเรียนรูทั้งหมดจํานวน 9 แผน ใช

เวลาทั้งสิ้น 13 คาบ

1.5 นําแผนการจัดการเรียนรูใหอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธตรวจสอบ จากน้ัน

ใหผูเชี่ยวชาญจํานวน 3 คน ประเมินแผนการจัดการเรียนรู (รายละเอียดดูในภาคผนวก ก หนา 76 )

1.6 ปรับปรุงแกไขแผนการจัดการเรียนรูตามคําแนะนําของผูเชี่ยวชาญ ซึ่งสรุป

ขอแนะนําตางๆ ของผูเชี่ยวชาญ รายละเอียดดังตาราง ที่ 2

แผนการจัดการเรียนรูท่ี เน้ือหา จํานวนคาบ

1 ความสัมพันธระหวางรูปเรขาคณิตสองมิติ และสามมิติ 1

2 การวาดรูปสามมิติจากของจริง 1

3 การวาดรูปคลี่ของรูปทรงสามมิติจากของจริง 2

4 การวาดรูปทรงสามมิติ และรูปคลี่จากขอความที่กําหนด 1

5 การหาพื้นที่ผิวของปริซึม และทรงกระบอก 2

6 การหาพื้นที่ผิวของพีระมิด 1

7 การหาปริมาตรของปริซึม และพีระมิด 2

8 การหาปริมาตรของทรงกระบอก และ กรวย 2

9 การหาปริมาตรของทรงกลม 1

รวม 13

Page 3: วิธีการดําเนินการวิจัยarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2554/emath0354bn_ch3.pdf · 1. แผนการจัดการเรียนรู

30

ตารางที่ 2 ขอแนะนําในการปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรูของผูเชี่ยวชาญ

1.7 ผูวิจัยไดปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรูตามขอแนะนําของผูเชี่ยวชาญและ

จัดเตรียมแผนการจัดการเรียนรูเพื่อใชสอนตอไป (ดูตัวอยางแผนการจัดการเรียนรู ในภาคผนวก ข

หนา 78 )

2. แบบทดสอบวัดความสามารถในการแกโจทยปญหาเร่ืองพื้นที่ผิว และปริมาตร

เปนขอสอบแบบอัตนัย จํานวน 5 ขอ ใชสําหรับวัดความสามารถในการแกโจทยปญหาเร่ืองพื้นที่

ผิว และปริมาตร โดยมีประเด็นในการพิจารณา ดังน้ี การวาดรูปแทนขอความในโจทยปญหา การ

เขียนแนวคิดในการแกโจทยปญหา การหาคําตอบ และการตรวจสอบคําตอบ ( ดูตัวอยางใน

ภาคผนวก ค หนา 110 ) ซึ่งมีขั้นตอนในการสราง ดังน้ี

2.1 วิเคราะหผลการเรียนรูที่คาดหวัง เร่ืองพื้นที่ผิวและปริมาตร

2.2 สรางแบบทดสอบวัดความสามารถในการแกโจทยปญหา เร่ือง พื้นที่ผิวและ

ปริมาตร 1 ฉบับ จํานวน 7 ขอ กาํหนดเวลา 1 ชั่วโมง และสรางเกณฑในการใหคะแนน ซึ่งแต

ละขอมีคะแนนขอละ 4 คะแนน และมเีกณฑในการใหคะแนน ดังน้ี

4 คะแนน หมายถึง นักเรียนวาดรูปจากโจทยปญหาไดถูกตอง เขยีน

แนวคดิในการแกปญหาได แสดงการคาํนวณและหาคําตอบได

ถูกตอง เขียนแสดงการตรวจสอบสิ่งที่โจทยตองการ

รายการ ขอแนะนํา

กจิกรรมการเรียนการสอน - ในแผนการจัดการเรียนรูที่ 1 ขั้นนํา เพิ่มตัวอยาง

รูปเรขาคณิตสองมิติ และสามมิติที่พบในชีวิต

จริง เชน กระดานดํา ตูปลา กลองนม เปนตน

- ในแผนการจัดการเรียนรูที่ 8 เร่ือง การหา

ปริมาตรของทรงกระบอกและกรวย เปลี่ยนจาก

ตักเม็ดโฟม มาเปนการตวงทราย ซึ่งทําให

นักเรียนเขาใจเกี่ยวกับปริมาตรไดมากกวา

สือ่การเรียนการสอน - ในการสรางสื่อเกี่ยวกับรูปคลี่ ควรใชสีเดียวกัน

กับดานที่เหมือนกัน เพื่อใหนักเรียนไดเห็น

ชัดเจนขึ้น

Page 4: วิธีการดําเนินการวิจัยarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2554/emath0354bn_ch3.pdf · 1. แผนการจัดการเรียนรู

31

3 คะแนน หมายถึง นักเรียนวาดรูปไดถูกตอง เขยีนแนวคดิในการ

แกปญหาได แสดงการคาํนวณและหาคาํตอบไดถูกตอง แตไมได

ตรวจสอบสิ่งที่โจทยตองการ

2 คะแนน หมายถงึ นักเรียนวาดรูปไดถูกตอง เขยีนแนวคดิในการ

แกปญหาได แตแสดงการคํานวณหาคาไมถูกตอง

1 คะแนน หมายถงึ นักเรียนวาด0เฉพาะ0

2.3 นําแบบทดสอบวัดความสามารถในการแกโจทยปญหาเร่ืองพื้นที่ผิวและ

ปริมาตร และเกณฑการใหคะแนนไปใหอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธพิจารณาเพื่อดูความ

เหมาะสมของขอคําถาม เวลา และจํานวนขอสอบ ซึ่งอาจารยที่ปรึกษาพิจารณาใหปรับลดจํานวน

ขอเหลอืเพยีง 5 ขอ เพื่อจะไดเหมาะสมกับเวลาที่ใชในการทําขอสอบ

รูปไดถูกตอง

0 คะแนน หมายถึง นักเรียนไมเขยีนอะไรเลย

2.4 นําแบบทดสอบวัดความสามารถในการแกโจทยปญหาเร่ืองพื้นที่ผิวและ

ปริมาตร และเกณฑการใหคะแนนไปใหผูเชี่ยวชาญจํานวน 3 คน ( รายนามผูเชี่ยวชาญดูจาก

ภาคผนวก ก หนา 76 ) ตรวจสอบความเที่ยงตรงของเนื้อหา และความเหมาะสมของภาษาที่ใช

ซึ่งไมมีขอแกไขใด ๆ

2.5 นําแบบทดสอบวัดความสามารถในการแกโจทยปญหาเร่ืองพื้นที่ผิวและ

ปริมาตรไปทดลองใชกับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 โรงเรียนบานโปงแดง อําเภอพาน จังหวัด

เชียงราย จํานวน 20 คน ซึ่งนักเรียนไดเรียนเน้ือหาคณิตศาสตร เร่ือง พื้นที่ผิวและปริมาตร มาแลว

ใชเวลาในการทดสอบ 1 ชั่วโมง

2.6 นําแบบทดสอบของนักเรียน 20 คนมาตรวจใหคะแนนตามเกณฑทีก่าํหนดไว

จากนั้นนําคะแนนที่ไดมาวิเคราะหหาคาความยากงาย และ คาอํานาจจําแนกของขอคําถาม ไดคา

ความยากงายอยูระหวาง 0.23 – 0.45 และคาอํานาจจําแนกอยูระหวาง 0.33 – 0.80 จากน้ันนํามาหา

คาความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ โดยใชสูตรการหาสัมประสิทธิ์แอลฟา (α - Coefficient) ของ

ครอนบาค (พรอมพรรณ อุดมสิน, 2544 หนา 128) ไดความเชื่อมั่นเทากับ 0.78 (ดูรายละเอียดใน

ภาคผนวก ง หนา 117 )

2.7 จัดเตรียมแบบทดสอบวัดความสามารถในการแกโจทยปญหา เร่ือง พื้นที่ผิว

และปริมาตรสําหรับใชในการเก็บขอมูล

3. แบบบันทึกหลังการสอน เปนบันทึกประจําวันของครูหลังจากการสอนในแตละคาบ

โดยบันทึกผลการปฏิบัติของนักเรียน ปญหาที่พบ แนวทางการแกไข พฤติกรรมของนักเรียน

Page 5: วิธีการดําเนินการวิจัยarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2554/emath0354bn_ch3.pdf · 1. แผนการจัดการเรียนรู

32

ที่แสดงออกจากการตอบคําถาม การนําเสนอผลงานของนักเรียน และการมีสวนรวมในชั้นเรียน

มีขั้นตอนในการสราง ดังน้ี

3.1 วิเคราะหประเด็นที่สําคัญในการสรางแบบบันทึกหลังการสอน

3.2 สรางแบบบันทึกหลังการสอน

3.3 นําแบบบันทึกหลังการสอนที่สรางขึ้นไปใหอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ

ตรวจสอบ ซึ่งอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธใหคําแนะนําในดานประเด็นที่ใชในการบันทึก

และความเหมาะสมของการใชภาษา ซึ่งมีขอเสนอแนะ ดังน้ี

จากเดิม สิ่งที่ปฏิบัติ เปน ผลการปฏิบัติของนักเรียน

จากเดิม วิธีการสอนของครู เปน การทํากิจกรรมของนักเรียน

3.4 ปรับปรุงแบบบันทึกหลังการสอนตามคําแนะนํา

4. แบบบันทึกการเรียนรูของนักเรียน เปนแบบบันทึกซึ่งใหนักเรียนเขียนบรรยายแสดง

ความรูความเขาใจที่นักเรียนไดรับ รวมถึงปญหาและขอสงสัยตางๆ ในแตละคาบ (ดูตัวอยางใน

ภาคผนวก จ หนา 120 ) มีขั้นตอนในการสรางดังน้ี

4.1 ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของกับการสรางและใชบันทึกการเรียนรู

4.2 สรางแบบบันทึกการเรียนรู โดยกําหนดขอคําถามใหนักเรียนเขียนบันทึก

การเรียนรูหลังจากการเรียนในแตละคาบ

4.3 นําแบบบันทึกการเรียนรูของนักเรียนที่สรางขึ้นไปใหอาจารยที่ปรึกษา

วิทยานิพนธตรวจสอบ ซึ่งอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธใหคําแนะนําในดานความเหมาะสมของ

การใชภาษาในขอคําถามวา ควรเปนขอความที่ไมเปนทางการ ซึ่งผูวิจัยไดปรับปรุงตาม

ขอเสนอแนะ ดังน้ี

จากเดิม “ วันน้ีนักเรียนไดเรียนรูเร่ืองอะไรบาง ”

ปรับปรุงเปน “ ถาพรุงน้ีตองสอบเร่ืองที่เรียนในวันน้ี แลวนักเรียนไดรับมอบหมายใหเปน

ติวเตอรสอนเพื่อนๆ ในหอง นักเรียนจะสอนอยางไร ”

จากเดิม “ สิ่งที่นักเรียนยังสงสัยและไมเขาใจ ”

ปรับปรุงเปน “ สิ่งที่ยังกังวลและสงสัย ถาไมถามวันน้ี นอนไมหลับแนๆ ”

4.4 ปรับปรุงแบบบันทึกการเรียนรูของนักเรียน เพื่อใชในการเก็บขอมูลตอไป

Page 6: วิธีการดําเนินการวิจัยarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2554/emath0354bn_ch3.pdf · 1. แผนการจัดการเรียนรู

33

การเก็บรวบรวมขอมูล

ผูวิจัยไดดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลดวยตนเอง ดังน้ี

1. ผูวิจัยดําเนินการสอน เร่ือง พื้นที่ผิวและปริมาตร ตามแผนการจัดการเรียนรูดวยตนเอง

ซึ่งผูวิจัยไดใหนักเรียนฝกวาดรูป และแกโจทยปญหาในชั้นเรียน จากน้ันนักเรียนทําแบบฝกหัดและ

เขียนบันทึกการเรียนรูหลังจากจบการเรียนการสอนในแตละคาบ

2. หลังจากดําเนินการสอนครบทุกแผนการจัดการเรียนรูแลว ผูวิจัยใหนักเรียนทํา

แบบทดสอบวัดความสามารถในการแกโจทยปญหาเร่ือง พื้นที่ผิวและปริมาตร

3. ตรวจใหคะแนนจากแบบฝกหัด และแบบทดสอบของนักเรียน เพือ่เตรียมวิเคราะห

ขอมูลตอไป

การวิเคราะหขอมูล

ผูวิจัยดําเนินการวิเคราะหขอมูล โดยแบงเปนขอมูลเชิงคุณภาพ และขอมูลเชิงปริมาณ

สําหรับขอมูลเชิงคุณภาพ ใชการวิเคราะหเน้ือหา ซึ่งเปนประเด็นเกี่ยวกับการแกปญหาของนักเรียน

ระหวางการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน จากการทําแบบฝกหัด บันทึกการเรียนรูของนักเรียน

บันทึกหลังการสอนของครู สวนขอมูลเชิงปริมาณ วิเคราะหจากแบบทดสอบวัดความสามารถของ

นักเรียน ซึ่งเกณฑในการวิเคราะหความสามารถในการแกโจทยปญหาคือ นักเรียนทําคะแนนได

ต้ังแต รอยละ 50 ขึน้ไป หาจํานวนความถีข่องนักเรียน และนําเสนอแบบรอยละ

สถิติท่ีใชในการวิจัย

1. สถิติที่ใชในการหาคุณภาพของแบบทดสอบวัดความสามารถในการแกโจทยปญหา

เร่ือง พื้นที่ผิว และปริมาตร ไดแก คาความเชื่อมั่น คาความยากงาย คาอํานาจจําแนก

(พรอมพรรณ อุดมสิน , 2544 )

1.1 คาความเชื่อมั่น (Reliability) หาโดยใชสูตรการหาสัมประสิทธิ์แอลฟา

(α - Coefficient) ของครอนบาค ใชหาความเชื่อมั่นของขอสอบแบบอัตนัย ใชสูตรดังน้ี

เมือ่ α แทน คาความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ

k แทน จํานวนขอในแบบทดสอบ

−−

=∑=

21

2

11 t

k

ii

s

s

kkα

Page 7: วิธีการดําเนินการวิจัยarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2554/emath0354bn_ch3.pdf · 1. แผนการจัดการเรียนรู

34

2is แทน ความแปรปรวนของขอสอบในแตละขอ

2ts แทน ความแปรปรวนของขอสอบทั้งหมด

1.2 คาความยากงาย (Index of Difficulty : p) ใชสูตรดังน้ี

คาความยากงาย (Index of Difficulty) =

เมื่อ hs แทน ผลรวมของคะแนนกลุมสูง

ls แทน ผลรวมของคะแนนกลุมตํ่า maxx แทน คะแนนสงูสดุทีไ่ด

minx แทน คะแนนตํ่าสุดที่ได tn แทน จํานวนคนในกลุมสูงและกลุมตํ่ารวมกัน

1.3 คาอํานาจจําแนก (Index of Discrimination : r) ใชสูตรดังน้ี

คาอํานาจจําแนก (Index of Discrimination : r) = ( )minmax xxnss

t

lh

−−

เมื่อ hs แทน ผลรวมของคะแนนกลุมสูง

ls แทน ผลรวมของคะแนนกลุมตํ่า maxx แทน คะแนนสงูสดุทีไ่ด

minx แทน คะแนนตํ่าสุดที่ได tn แทน จํานวนคนในกลุมสูงและกลุมตํ่ารวมกัน

2. สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล ผูวิจัยใชรอยละเพื่อแสดงจํานวนนักเรียนที่มีความสามารถในการแกโจทยปญหา

( )( )( )minmax

min

xxnxnss

t

tlh

−−+