14
การจัดการอุทยานแห่งชาติในประเทศไทยยุค 4.0 ดร.ทรงธรรม สุขสว่าง ผู้อานวยการสานักอุทยานแห่งชาติ ทศวรรษต่อไปในการจัดการอุทยานแห่งชาติจะเข้าสู่ทศวรรษที่ 6 ซึ่งจะต้องก้าวสู่ความเป็นสากล และยกระดับพื้นที่อุทยานแห่งชาติให้ได้มาตรฐานโลก โดยเฉพาะการดาเนินการตามพันธกรณีตามอนุสัญญาต่างๆ ที่เป็นข้อตกลงที่สาคัญ ได้แก่ อนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ อนุสัญญาคุ้มครองมรดกโลก ทางวัฒนธรรมและธรรมชาติ และอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ สาหรับ อนุสัญญาความหลากหลายทางชีวภาพมีความสาคัญต่อการดาเนินงานของอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครองอื่นๆ ซึ่งเน้นขับเคลื่อนการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพให้โดดเด่นชัดเจนมากยิ่งขึ้น ในประเด็นหลักๆ 4 ประเด็น ดังนี1) การเชื่อมโยงการพัฒนาในด้านต่างๆ กับการจัดการพื้นที่และความหลากหลายทางชีวภาพ โดย การอนุรักษ์ให้เกิดประโยชน์กับมิติการพัฒนาด้านอื่นๆ เช่น เรื่องความมั่นคงทางอาหาร การลดความ ยากจน 2) การจัดการให้เกิดการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืนตลอดไป 3) การปกปักษ์รักษาระบบนิเวศและพันธุกรรมที่สาคัญ เนื่องจากเป็นแหล่งผลิตวัตถุดิบธรรมชาติ ซึ่ง เป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าและมูลค่าในการทาธุรกิจ 4) การเข้าถึงและการแจกกระจายประโยชน์ที่เกิดจากทรัพยากรอย่างทั่วถึงและเท่าเทียมกัน และในการที่จะพัฒนาในด้านต่างๆ ที่จะเอื้อประโยชน์กับทุกฝ่ายและให้ความสาคัญกับสิ่งแวดล้อมนั้น พื้นทีอุทยานแห่งชาติถือเป็นทุนทางธรรมชาติ ( Natural Capital) เนื่องจากเป็นแหล่งต้นทางของระบบนิเวศ (Ecosystem Services) ความมั่นคงในชีวิต ช่วยป้องกันภัยพิบัติทางธรรมชาติ การท่องเที่ยวและนันทนาการ แหล่งพันธุกรรมที่สาคัญ บทบาทในการกักเก็บก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และความมั่นคงทางอาหาร เป็นต้น จะทาให้ ภาคีต่างๆ เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการพื้นที่อุทยานแห่งชาติ เพราะเป็นการลงทุนที่คุ้มค่า ช่วยไม่ให้เกิดความ สูญเสียในอนาคต โดยเฉพาะการสร้างกลไกการเงินที่ยั่งยืน ( Sustainable Financing) เช่น ระบบการเงินการคลัง ที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่อุทยานแห่งชาติ การจ่ายค่าตอบแทนคุณระบบนิเวศ เศรษฐศาสตร์ระบบนิเวศ ความหลากหลายทางชีวภาพ รวมทั้งการเพิ่มศักยภาพในการจัดการพื้นที่อุทยานแห่งชาติ เช่น อัตรากาลัง การสร้างองค์ความรู้ การแสวงหาการเงิน การจัดพื้นที่แบบ Landscape management เป็นต้น

การจัดการอุทยานแห่งชาติในประเทศไทยยุค 4portal.dnp.go.th/DNP/FileSystem/download?uuid=555526dc-b72d-46fb-abbc... ·

  • Upload
    others

  • View
    0

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: การจัดการอุทยานแห่งชาติในประเทศไทยยุค 4portal.dnp.go.th/DNP/FileSystem/download?uuid=555526dc-b72d-46fb-abbc... ·

การจัดการอุทยานแห่งชาติในประเทศไทยยุค 4.0

ดร.ทรงธรรม สุขสว่าง ผู้อ านวยการส านักอุทยานแห่งชาติ

ทศวรรษต่อไปในการจัดการอุทยานแห่งชาติจะเข้าสู่ทศวรรษที่ 6 ซึ่งจะต้องก้าวสู่ความเป็นสากล

และยกระดับพ้ืนที่อุทยานแห่งชาติให้ได้มาตรฐานโลก โดยเฉพาะการด าเนินการตามพันธกรณีตามอนุสัญญาต่างๆ ที่เป็นข้อตกลงที่ส าคัญ ได้แก่ อนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ อนุสัญญาคุ้มครองมรดกโลก ทางวัฒนธรรมและธรรมชาติ และอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ส าหรับอนุสัญญาความหลากหลายทางชีวภาพมีความส าคัญต่อการด าเนินงานของอุทยานแห่งชาติและพ้ืนที่คุ้มครองอ่ืนๆ ซึ่งเน้นขับเคลื่อนการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพให้โดดเด่นชัดเจนมากยิ่งขึ้น ในประเด็นหลักๆ 4 ประเด็น ดังนี้

1) การเชื่อมโยงการพัฒนาในด้านต่างๆ กับการจัดการพื้นที่และความหลากหลายทางชีวภาพ โดย การอนุรักษ์ให้เกิดประโยชน์กับมิติการพัฒนาด้านอื่นๆ เช่น เรื่องความมั่นคงทางอาหาร การลดความ

ยากจน 2) การจัดการให้เกิดการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืนตลอดไป 3) การปกปักษ์รักษาระบบนิเวศและพันธุกรรมที่ส าคัญ เนื่องจากเป็นแหล่งผลิตวัตถุดิบธรรมชาติ ซึ่ง

เป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าและมูลค่าในการท าธุรกิจ 4) การเข้าถึงและการแจกกระจายประโยชน์ที่เกิดจากทรัพยากรอย่างทั่วถึงและเท่าเทียมกัน

และในการที่จะพัฒนาในด้านต่างๆ ที่จะเอ้ือประโยชน์กับทุกฝ่ายและให้ความส าคัญกับสิ่งแวดล้อมนั้น พ้ืนที่อุทยานแห่งชาติถือเป็นทุนทางธรรมชาติ (Natural Capital) เนื่องจากเป็นแหล่งต้นทางของระบบนิเวศ (Ecosystem Services) ความมั่นคงในชีวิต ช่วยป้องกันภัยพิบัติทางธรรมชาติ การท่องเที่ยวและนันทนาการ แหล่งพันธุกรรมที่ส าคัญ บทบาทในการกักเก็บก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และความมั่นคงทางอาหาร เป็นต้น จะท าให้ภาคีต่างๆ เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการพ้ืนที่อุทยานแห่งชาติ เพราะเป็นการลงทุนที่คุ้มค่า ช่วยไม่ให้เกิดความสูญเสียในอนาคต โดยเฉพาะการสร้างกลไกการเงินที่ยั่งยืน (Sustainable Financing) เช่น ระบบการเงินการคลังที่ เกี่ยวข้องกับ พ้ืนที่ อุทยานแห่ งชาติ การจ่ายค่าตอบแทนคุณระบบนิ เวศ เศรษฐศาส ตร์ระบบนิ เวศ ความหลากหลายทางชีวภาพ รวมทั้งการเพ่ิมศักยภาพในการจัดการพ้ืนที่ อุทยานแห่งชาติ เช่น อัตราก าลัง การสร้างองค์ความรู้ การแสวงหาการเงิน การจัดพ้ืนที่แบบ Landscape management เป็นต้น

Page 2: การจัดการอุทยานแห่งชาติในประเทศไทยยุค 4portal.dnp.go.th/DNP/FileSystem/download?uuid=555526dc-b72d-46fb-abbc... ·
Page 3: การจัดการอุทยานแห่งชาติในประเทศไทยยุค 4portal.dnp.go.th/DNP/FileSystem/download?uuid=555526dc-b72d-46fb-abbc... ·

ดังนั้น ในอนาคตการจัดการพ้ืนที่อุทยานแห่งชาตขิองไทย ไม่เพียงแต่จัดการเรื่องการท่องเที่ยว แตย่ังต้องเน้นการอนุรักษ์ระบบนิเวศดั้งเดิมและการบริการทางระบบนิเวศ และต้องให้ความส าคัญต่อนโยบายของรัฐ ที่เน้นการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติให้มีความเพียงพอและรักษาสมดุลระบบนิเวศดั้งเดิม เพ่ือให้สามารถรองรับต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลกและภัยธรรมชาติได้ นอกจากนี้ การน าเอาเทคโนโลยีหรือนวัตกรรมในการจัดการอุทยานแห่งชาติมาเป็นเครื่องมือในการด าเนินงานอุทยานแห่งชาติ ไม่ว่าจะเป็นระบบการลาดตระเวนแผนใหม่ ที่รวมเอางานดูแลรักษาทรัพยากรและงานวิจัยเข้ามาไว้ด้ วยกัน การใช้อากาศยานไร้นักบิน ในการตรวจติดตามสถานภาพทรัพยากรป่าไม้ การใช้มาตรการทางเศรษฐศาสตร์ การท่องเที่ยวสีเขียว การใช้ Mobile Application เพ่ือการจัดการอุทยานแห่งชาติ ซึ่งสิ่งต่างๆ เหล่านี้ก็ เพ่ือมุ่ งเน้นการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพให้มีความยั่งยืนคงความอุดมสมบูรณ์ต่อไปนั่นเอง

เนื่องจากอุทยานแห่งชาติมีบทบาทส าคัญต่อการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน ทั้งในมิติสิ่งแวดล้อม สังคม และเศรษฐกิจ ด้านสิ่งแวดล้อม อุทยานแห่งชาติเป็นแหล่งรวมของสรรพสิ่งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิตซึ่งมีปฏิสัมพันธ์ต่อกันอย่างเป็นกระบวนการและมีระบบที่น าไปสู่การผลิตและควบคุมตนเองตามธรรมชาติ อันส่งผลต่อการด ารงชีวิตของมนุษย์ทั้งทางตรงและทางอ้อมที่ส าคัญ ได้แก่ เป็นแหล่งต้นน้ าล าธาร ศูนย์รวมของความหลากหลายทางชีวภาพ ช่วยควบคุมสภาพภูมิอากาศ บรรเทาความรุนแรงของอุทกภัย วาตภัย และความแห้งแล้ง และช่วยลดการพังทลายของดิน ด้านสังคม จากบทบาทด้านสิ่งแวดล้อมดังกล่าว อุทยานแห่งชาติจึงมีความส าคัญต่อสังคมนานัปการ เป็นแหล่งก าเนิดของน้ าใช้สอยในครัวเรือน เกษตรกรรม อุตสาหกรรมและพลังงาน เป็นแหล่งอาหารและวัสดุใช้สอยของชุมชนท้องถิ่น เป็นสถานที่ท่องเที่ยวและนันทนาการ และเอ้ือต่อการค้นคว้าวิจัยและการศึกษาหาความรู้ในศาสตร์แขนงต่างๆ โดยเฉพาะเรื่องความหลากหลายของชนิดพันธุ์และสายพันธุกรรม ที่จะเป็นประโยชน์ต่อเกษตรกรรม การแพทย์ และอุตสาหกรรมในอนาคต และด้านเศรษฐกิจ พวกเราทราบดีว่าอุทยานแห่งชาติมีคุณค่าด้านความงดงามและความโดดเด่นของทรัพยากรธรรมชาติที่หลากหลาย จึงมีศักยภาพสูงส าหรับใช้เป็นฐานในการส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการบริการ ซึ่งจะเป็นที่มาของรายได้ ของราษฎรในท้องถิ่น ท าให้เกิดการกระจายรายได้สู่ชนบท รวมทั้งเกิดประโยชน์ด้านเศรษฐกิจต่อชุมชนท้องถิ่นและในระดับชาติ การท่องเที่ยวยังช่วยให้เงินตราจากต่างประเทศไหลเข้าสู่ประเทศ กระตุ้นให้เกิดอุตสาหกรรม ที่เกี่ยวข้อง ก่อให้เกิดการหมุนเวียนทางเศรษฐกิจ การจ้างงาน และกระจายรายได้แก่ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ดังนั้น การจัดการอุทยานแห่งชาติในยุคประเทศไทย 4.0 จะต้องขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยี ความคิดสร้างสรรค์ และนวัตกรรม

Page 4: การจัดการอุทยานแห่งชาติในประเทศไทยยุค 4portal.dnp.go.th/DNP/FileSystem/download?uuid=555526dc-b72d-46fb-abbc... ·
Page 5: การจัดการอุทยานแห่งชาติในประเทศไทยยุค 4portal.dnp.go.th/DNP/FileSystem/download?uuid=555526dc-b72d-46fb-abbc... ·

อุทยานแห่งชาต ิ4.0 ยุคเศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม

เนื่องจากประเทศไทย 4.0 จะปรับเปลี่ยนโครงสร้างเศรษฐกิจจากที่กล่าวมาข้างต้นไปสู่ ยุคเศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม หรือ Value-Based Economy โดยมีฐานคิดหลัก คือ เปลี่ยนจากการผลิตสินค้าโภคภัณฑ์ไปสู่สินค้าเชิงนวัตกรรม เปลี่ยนจากการขับเคลื่อนประเทศด้วยภาคอุตสาหกรรมไปสู่การขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยี ความคิดสร้างสรรค์ และนวัตกรรม เปลี่ยนจากการเน้นภาคการผลิตสินค้าไปสู่การเน้นภาคบริการมากข้ึน ดังนั้น อุทยานแห่งชาติจะต้องเปลี่ยนผ่านทั้งระบบใน 4 องค์ประกอบส าคัญ คือ

1. เปลี่ยนจากการจัดการอุทยานแห่งชาติแบบดั้งเดิมในปัจจุบันไปสู่การจัดการอุทยานแห่งชาติสมัยใหม่ ที่เน้นการบริหารจัดการและเทคโนโลยี (Smart National Parks) โดยอุทยานแห่งชาติต่างๆ ต้องเพ่ิมประสิทธิภาพในการจัดการ

2. เปลี่ยนจากหน่วยงานราชการแบบดั้งเดิมที่รัฐต้องให้ความช่วยเหลืออยู่ตลอดเวลาไปสู่การเป็นหน่วยงานที่ทันสมัยและช่วยเหลือตัวเองได้ในเรื่องการสนับสนุนงบประมาณ

3. เปลี่ยนจากการบริการการท่องเที่ยวแบบดั้งเดิม (Traditional Services) ซึ่งมีการสร้างมูลค่าค่อนข้างต่ าไปสู่การบริการการท่องเที่ยวเพื่อเพ่ิมมูลค่า (High Value Services)

4. เปลี่ ยนหน่ วยงานที่ มี เจ้ าหน้าที่ อุทยานแห่ งชาติที่ มีทักษะต่ าไปสู่ เจ้ าหน้าที่ที่ มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ และทักษะสูง

Page 6: การจัดการอุทยานแห่งชาติในประเทศไทยยุค 4portal.dnp.go.th/DNP/FileSystem/download?uuid=555526dc-b72d-46fb-abbc... ·

กลไกขับเคลื่อนอุทยานแห่งชาติยุคใหม่ ประกอบด้วย

1. กลไกขับเคลื่อนผลผลิตจากการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ เป้าหมายส าคัญในการปรับเปลี่ยนประเทศไทยสู่ประเทศที่มีรายได้สูง (High Income Country) ที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม ปัญญา เทคโนโลยี และความคิดสร้างสรรค์ กลไกดังกล่าวประกอบไปด้วย การสร้างเครือข่ายความร่วมมือการจัดการการท่องเที่ยวในพ้ืนที่ธรรมชาติในรูปแบบประชารัฐ การบริหารจัดการสมัยใหม่ และการสร้างคลัสเตอร์ท่องเที่ยวในกลุ่มจังหวัดต่างๆ การพัฒนาขีดความสามารถด้านการวิจัยและพัฒนาตามยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวของชาติ การพัฒนาโมเดลธุรกิจ การท่องเที่ยวที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม กิจการร่วมทุนรัฐและเอกชนในโครงการท่องเที่ยวเชื่อมโยงกับอุทยานแห่งชาติที่ส าคัญ เป็นต้น ซึ่งถือเป็นการตอบโจทย์ความพยายามในการก้าวข้ามกับดักประเทศรายได้ปานกลาง ที่ไทยก าลังเผชิญอยู่ โดยใช้การท่องเที่ยวเป็นแหล่งรายได้เข้าประเทศ ดังนั้น ในการจัดการอุทยานแห่งชาติยุคใหม่ ก็ต้องมีกลไกขับเคลื่อนผลผลิตการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ เพ่ือน าไปสู่การท ารายได้เข้าประเทศให้สูงขึ้นกว่าเดิม ซึ่งเป็นความท้าทายใหม่ของการจัดการอุทยานแห่งชาติ

2. กลไกขับเคลื่อนแบบมีส่วนร่วมทุกภาคส่วน เพ่ือให้ประชาชนได้รับประโยชน์และเป็นการกระจายรายได้ โอกาส และความมั่งคั่งที่เกิดขึ้น โดยกลไกนี้ประกอบด้วย การสร้างคลัสเตอร์การท่องเที่ยวในอุทยานแห่งชาติระดับกลุ่มจังหวัด การพัฒนาเศรษฐกิจระดับฐานรากในชุมชนที่อยู่รอบอุทยานแห่งชาติ การส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนเพ่ือสังคมในอุทยานแห่งชาติ เพ่ือตอบโจทย์ประเด็นปัญหาและความท้าทายทางสังคมในมิติต่างๆ การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอ้ืออ านวยต่อการท าธุรกิจรอบอุทยานแห่งชาติ การส่งเสริมและสนับสนุนให้วิสาหกิจการท่องเที่ยวขนาดกลางและขนาดย่อมเข้มแข็งและสามารถแข่งขันได้ในเวทีโลก การสร้างงานใหม่ๆ เพ่ือรองรับการเปลี่ยนแปลงในอนาคต การยกระดับขีดความสามารถ การเสริมสร้างทักษะและการเติมเต็มศักยภาพของเจ้าหน้าที่อุทยานแห่งชาติให้ร่วมงานกับประชาชนในการอนุรักษ์อุทยานแห่งชาติให้ทันกับพลวัต การเปลี่ยนแปลงจากภายนอก การบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติในอนาคตจึงต้องขับเคลื่อนร่วมกับทุกภาคส่วน เพ่ือเป็นแหล่งรายได้หลักของประเทศ

การผนึกก าลังของทุกภาคส่วนภายใต้แนวคิด ประชารัฐ ที่ผนึกก าลังกับเครือข่ายพันธมิตรทางธุรกิจ การวิจัยพัฒนา และบุคลากรทั้งในประเทศและระดับโลก ดังนั้น ถ้าการจัดการอุทยานแห่งชาติยังคงยึดความคิดเดิมๆ ปัญหาของการหลุดพ้นจากกับดักของงบประมาณไม่เพียงพอในการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติจะไม่สามารถเกิดขึ้นได้เลย ดังจะเห็นได้จากตัวเลขเงินรายได้ของอุทยานแห่งชาติตลอด 50 ปีที่ผ่านมา มีเงินรายได้น้อยมาก และไม่เพียงพอต่อการคุ้มครองป้องกันทรัพยากรและการพัฒนาสิ่งอ านวยความสะดวกในอุทยานแห่งชาติ อุทยานแห่งชาติของเราในฐานะต้นทุนธรรมชาติที่ส าคัญของประเทศ ต้องเตรียมความพร้อม เพ่ือการขับเคลื่อนประเทศไทยให้บรรลุตามโมเดลประเทศไทย 4.0

ที่ผ่านมา กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช โดยส านักอุทยานแห่งชาติได้เริ่มด าเนินการเปลี่ยนแปลง ปรับปรุงหลักสูตรการฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากรต่างๆ โดยเฉพาะหัวหน้าอุทยานแห่งชาติและพนักงานพิทักษ์ป่า ให้สอดรับกับการเปลี่ยนแปลงของประเทศมาได้ระยะหนี่งแล้ว นั่นคือ การพัฒนาคนให้สอดรับ

Page 7: การจัดการอุทยานแห่งชาติในประเทศไทยยุค 4portal.dnp.go.th/DNP/FileSystem/download?uuid=555526dc-b72d-46fb-abbc... ·

กับทักษะของมนุษย์ในศตวรรษที่ 21 และมุ่งมั่นจะปรับเปลี่ยนเนื้อหาการฝึกอบรมให้ทันสมัยสอดคล้ องกับ ทิศทางการพัฒนาของประเทศไทย เพราะส านักอุทยานแห่งชาติเชื่อมั่นเสมอว่า คนเป็นผู้ก าหนดทิศทางของอุทยานแห่งชาติไม่ใช่อุทยานแห่งชาติก าหนดทิศทางของคน

3. กลไกขับเคลื่อนอุทยานแห่งชาติสีเขียว การสร้างความมั่งคั่งของอุทยานแห่งชาติไทยในอนาคต จะต้องค านึงถึงการพัฒนาและใช้เทคโนโลยีที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เพ่ือตอบโจทย์การหลุดออกจากกับดัก ความไม่สมดุลของการพัฒนาระหว่างนักท่องเที่ยวกับสภาพแวดล้อม โดยกลไกนี้ประกอบด้วย การมุ่งเน้นการใช้พลังงานทดแทน หัวใจส าคัญอยู่ที่การพัฒนากระบวนการจัดการการท่องเที่ยวให้ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด อันจะเกิดประโยชน์กับประเทศและประชาคมโลกด้วยในเวลาเดียวกัน ทั้ง 3 กลไกขับเคลื่อนอุทยานแห่งชาติตามแนวคิดประเทศไทย 4.0 ถือเป็นการปฏิรูปประเทศไทยไปสู่ความมั่งคั่งอย่างมั่นคงและยั่งยืน เพ่ือให้หลุดพ้นจากกับดักอุทยานแห่งชาติที่ไม่ทันสมัย ต้องมีการลงทุนการวิจัยและพัฒนาตัวเองมากขึ้น โดยมุ่งเน้นการพัฒนาการศึกษาของเจ้าหน้าที่ สร้างการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมในอุทยานแห่งชาติ เพื่อตอบสนองโครงสร้างเศรษฐกิจของชาติ ให้อุทยานแห่งชาติไทยสามารถอยู่ได้อย่างยั่งยืนในศตวรรษที่ 21

Page 8: การจัดการอุทยานแห่งชาติในประเทศไทยยุค 4portal.dnp.go.th/DNP/FileSystem/download?uuid=555526dc-b72d-46fb-abbc... ·

Smart National Parks : การจัดการอุทยานแห่งชาติยุคใหม ่

เนื่องจากสมาร์ทโฟนเป็นเครื่องมือสื่อสารประเภทหนึ่งที่ก าลังได้รับความนิยมอย่างสูง ผู้ใช้งานสามารถติดตั้งแอพพลิเคชั่นต่างๆ ในเครื่องตามความต้องการได้ด้วยตนเอง ท าให้เกิดนวัตกรรมในการท าสื่อทางการตลาดรูปแบบใหม่ๆ บนสมาร์ทโฟน ไม่ว่าจะเป็นการสร้างแอพพลิเคชั่นเพ่ืออ านวยความสะดวกให้กับลูกค้า การแทรกสื่อโฆษณาผ่านเกมหรือแอพพลิเคชั่นต่างๆ การประชาสัมพันธ์ผ่านงานแสดง ซึ่งจะช่วยให้อุทยานแห่งชาติต่างๆ สามารถเจาะตลาดกลุ่มนักท่องเที่ยวที่มาเยี่ยมชมอุทยานแห่งชาติได้ง่าย รวดเร็ว รวมทั้งช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายในการท าสื่อความหมายธรรมชาติ ไม่ว่าจะเป็นแผ่นป้าย ใบปลิวแนะน าสถานที่ของอุทยานแห่งชาติต่างๆ รวมทั้งการสร้างจิตส านึกให้กับนักท่องเที่ยว รวมทั้งเครือข่ายภาคเอกชนและประชาชนที่จะร่วมกันจัดการอุทยานแห่งชาติในอนาคต Application บนมือถือกบัความท้าทายใหม่ในการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติยุค 4.0

Smart Phone ที่รองรับระบบปฏิบัติการต่างๆ ที่มีความสามารถในการรับส่งข้อมูล ดูหนัง ฟังเพลง การจัดการไฟล์ต่างๆ ที่เทยีบได้กับคอมพิวเตอร์พื้นฐานย่อมๆ ตัวหนึ่ง ซึ่งปัจจุบันประชาชนใช้ Smart Phone เป็นจ านวนมาก และมีแนวโน้มมากขึ้นเรื่อยๆ Smart Phone ที่คนส่วนใหญ่ใช้มากท่ีสุด คือระบบปฏิบัติการ Android, IOS, Blackberry, Windows Mobile และ Symbian ตามล าดับ การใช้งานอินเทอร์เน็ตบนมือถือ ก็ได้เกิดขึ้นพร้อมกับระบบปฏิบัติการเหล่านี้ และมีสัดส่วนการใช้งานมากขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับการใช้งานอินเทอร์เน็ตบนคอมพิวเตอร์ PC เพราะมีความสะดวกในการใช้งาน สามารถใช้งานได้ทุกที่และทุกเวลา เพราะ Smart Phone

Page 9: การจัดการอุทยานแห่งชาติในประเทศไทยยุค 4portal.dnp.go.th/DNP/FileSystem/download?uuid=555526dc-b72d-46fb-abbc... ·

สามารถพกพาติดตัวไปได้ทุกที่ แอพพลิเคชั่นบนมือถือสามารถท างานได้หลากหลายประเภท ไม่ว่าจะใช้ เพ่ือ ความบันเทิง เช่น ดูหนัง ฟังเพลง เกม เป็นต้น ในอนาคตอุทยานแห่งชาติต้องใช้ Application บนมือถือเพ่ือให้ข้อมูลข่าวสารกับประชาชน ติดต่อสื่อสารผ่านสังคมออนไลน์ หรือ แม้แต่ใช้เพ่ือเพ่ิมพูนความรู้ในสาขาต่างๆ ซึ่งพิจารณาแล้ว มุ่งเน้นไปที่แอพพลิเคชั่นเกี่ยวกับการถ่ายทอดความรู้ด้านธรรมชาติวิทยาและการท่องเที่ยว ในรูปแบบต่างๆ ที่เกี่ยวกับการจัดการอุทยานแห่งชาติ เช่น การสื่อความหมายธรรมชาติ การวิจัยและพัฒนา การป้องกันรักษาป่า การสร้างมวลชนเพ่ือการมีส่วนร่วมในการจัดการอุทยานแห่งชาติ การจองบ้านพักและ ลานกางเต็นท์ในอุทยานแห่งชาติ การจ าหน่ายตั๋วค่าธรรมเนียมเพ่ือเข้าชมอุทยานแห่งชาติในระบบอิเล็กทรอนิกส์ (E-ticket) เป็นต้น

ประโยชน์ของ Mobile Application ในการจัดการอุทยานแห่งชาติ

ปัจจุบัน Smart Phone และ Tablet มีบทบาทมากขึ้นในการด ารงชีวิตของมนุษย์ และ Mobile Application คือส่วนส าคัญที่ท าให้ผู้ใช้งาน Smart Phone และ Tablet เข้าถึงสื่อต่างๆ ได้ง่ายขึ้น ซึ่งปัจจุบันนี้กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืชได้ให้ความสนใจในการที่จะพัฒนา Mobile Application เพ่ือให้เป็น อีกช่องทางหนึ่ งในการถ่ายทอดองค์ความรู้ของอุทยานแห่ งชาติ การประชาสัมพันธ์ รวมไปถึงติดต่อ กลุ่มนักท่องเที่ยวที่มาเยี่ยมอุทยานแห่งชาติ ซึ่งเชื่อมโยงกับ

- กลุ่มธุรกิจการท่องเที่ยวและการเดินทาง โดยให้มีการจัด Mobile Application ของระบบแนะน าสถานที่ท่องเที่ยวในอุทยานแห่งชาติ แนะน าที่พักในอุทยานแห่งชาติชั้นน า และการให้ข้อมูลเกี่ยวกับ Camping site มีระบบการจองการด าน้ าในอุทยานแห่งชาติทางทะเล การจองตั๋วล่วงหน้าเพ่ือเข้าชมอุทยานแห่งชาติ กับกลุ่มนักท่องเที่ยวที่มาเยือนอุทยานแห่งชาติ

- กลุ่มธุรกิจเพื่อการศึกษา มีการโฆษณาประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยวในอุทยานแห่งชาติแห่งใหม่ๆ การให้ความรู้ต่างๆ แก่นักเรียนและเยาวชน รวมทั้งกลุ่มธุรกิจการค้าในระดับชาติและระดับท้องถิ่นที่จะน าสินค้ามาขายให้กับนักท่องเที่ยวในอุทยานแห่งชาติ เป็นต้น Application เหล่านี้จะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อการจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างดียิ่ง

Mobile Application ในการจัดการอุทยานแห่งชาติ เป็นการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ส าหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ เช่น โทรศัพท์มือถือ แท็บเล็ต โดยโปรแกรมจะช่วยตอบสนองความต้องการของนักท่องเที่ยว อีกทั้งยังสนับสนุนให้ผู้ใช้โทรศัพท์ได้ใช้ง่ายยิ่งขึ้น ในปัจจุบันโทรศัพท์มือถือหรือสมาร์ทโฟน มีหลายระบบปฏิบัติการ ที่พัฒนาออกมาให้ผู้บริโภคใช้ ส่วนที่มีคนใช้และเป็นที่นิยมมาก ก็คือ IOS และ Android จึงท าให้เกิดการเขียนหรือพัฒนา Application ลงบนสมาร์ทโฟนเป็นอย่างมาก อย่างเช่น แผนที่อุทยานแห่งชาติ, โปรแกรมการจัดการนักท่องเที่ยว และในอนาคตอุทยานแห่งชาติจะต้องเข้าไปเน้นในการพัฒนา Mobile Application เพ่ือเพ่ิมช่องทางในการสื่อสารกับนักท่องเที่ยวมากขึ้น

Page 10: การจัดการอุทยานแห่งชาติในประเทศไทยยุค 4portal.dnp.go.th/DNP/FileSystem/download?uuid=555526dc-b72d-46fb-abbc... ·

Mobile Application ส าหรับอุทยานแห่งชาติในอนาคต ได้แก่

1. E-Ticket System Application ใช้ในระบบการจองตั๋วเข้าอุทยานแห่งชาติ การจองบ้านพักในอุทยานแห่งชาติ การจองที่จอดรถบ้าน การจ าแนกราคาของค่าธรรมเนียมประเภทต่างๆ การจ่ายค่าธรรมเนียมผ่านบัตรเครดิตของนักท่องเที่ยวต่างชาติ อาจรวมถึงต าแหน่งที่ตั้งของสถานที่ท่องเที่ยวที่โดดเด่นในอุทยานแห่งชาติ และข้อมูลการเข้าถึงแหล่งท่องเที่ยวที่ส าคัญของอุทยานแห่งชาติ เป็นต้น

Page 11: การจัดการอุทยานแห่งชาติในประเทศไทยยุค 4portal.dnp.go.th/DNP/FileSystem/download?uuid=555526dc-b72d-46fb-abbc... ·

2. Friend of National Park Application ใช้เพ่ือสร้างเครือข่ายให้กับมวลชนพันธมิตรที่จะเป็นเพ่ือนกับอุทยานแห่งชาติในอนาคต นอกจากนี้ ยังสามารถใช้ส าหรับแจ้งเหตุภัยธรรมชาติต่างๆ การกู้ภัย การช่วยเหลือนักท่องเที่ยวภายในอุทยานแห่งชาติ เช่น การเกิดไฟป่า วิกฤตน้ าหลาก หรือขอความช่วยเหลือในกรณีฉุกเฉินอ่ืนๆ ของนักท่องเที่ยว

Page 12: การจัดการอุทยานแห่งชาติในประเทศไทยยุค 4portal.dnp.go.th/DNP/FileSystem/download?uuid=555526dc-b72d-46fb-abbc... ·

3. Park Ranger Application ใช้ส าหรับสอดส่องดูแลอุทยานแห่งชาติและทรัพยากรของพ้ืนที่อุทยานแห่งชาติ ให้กับผู้พิทักษ์ป่าที่ท าการลาดตระเวน เพ่ือใช้ประโยชน์ในการคุ้มครองทรัพยากรในอุทยานแห่งชาติ และการรับแจ้งเหตุจากภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง

Page 13: การจัดการอุทยานแห่งชาติในประเทศไทยยุค 4portal.dnp.go.th/DNP/FileSystem/download?uuid=555526dc-b72d-46fb-abbc... ·

4. Park Ranger Scout Application กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช จะด าเนินการจัดท าโครงการลูกเสือพิทักษ์ป่า จึงได้เสนอ Application นี้ เพ่ือไว้ใช้ส าหรับลูกเสือพิทักษ์ป่า ในการช่วยสังเกตการณ์การบุกรุกท าลายป่า การแจ้งเหตุไฟป่า การค้นหาวิธีการปฐมพยาบาลเบื้องต้น บันทึกรายงานการท าความดเีมื่อลูกเสือมีการท ากิจกรรมกับอุทยานแห่งชาติ

นอกจากนี้ Mobile Application ในอนาคตเพ่ือการจัดการอุทยานแห่งชาติ จะต้องสามารถน าไปใช้ได้ ทั้งกับ IPAD, IPHONE, Andriod สามารถประยุกต์ใช้ในธุรกิจต่างๆ เกี่ยวกับการท่องเที่ยวในอุทยานแห่งชาติ ได้ ตัวอย่างเช่น

- Mobile Application for National Parks โมบายแอพพลิเคชั่นส าหรับอุทยานแห่งชาติ ใช้ในการเก็บข้อมูลนักท่องเที่ยว การจองบ้านพัก การซื้อตั๋วค่าธรรมเนียมเข้าอุทยานแห่งชาติ การจองการด าน้ าในอุทยานแห่งชาติทางทะเล

- Mobile Application for Tourism โมบายแอพพลิเคชั่นส าหรับการท่องเที่ยว โรงแรม บริษัททัวร์ สามารถดูข้อมูล จองที่พักได้ ที่สามารถจัดท าระบบการลงทะเบียน การช าระเงิน ข้อมูลการประชุม สัมมนา นิทรรศการที่เก่ียวข้องกับการมาท่องเที่ยวในเขตอุทยานแห่งชาติ

- Mobile Application for Restaurant โมบายแอพพลิเคชั่นส าหรับร้านอาหารในเขตและนอกเขตอุทยานแห่งชาติ น าเสนอเมนูอาหารรูปแบบใหม่ สร้างความแตกต่างและทันสมัย

Page 14: การจัดการอุทยานแห่งชาติในประเทศไทยยุค 4portal.dnp.go.th/DNP/FileSystem/download?uuid=555526dc-b72d-46fb-abbc... ·

- Mobile Application for Retail โมบายแอพพลิเคชั่นส าหรับการขายสินค้าหรือบริการ ในการจ าหน่ายของที่ระลึกในอุทยานแห่งชาติ

- Mobile Application for Nature Education โมบายแอพพลิ เคชั่นส าหรับการศึกษาวิจัย ศูนย์ฝึกอบรม สามารถจัดท าสื่อความหมายธรรมชาติ ระบบ Learning Management System ในอุทยานแห่งชาติ

- Mobile Application for Rescue ส าหรับบริการการกู้ชีพ กู้ภัย ในพ้ืนที่อุทยานแห่งชาติ

ท้ายนี้ พวกเราทราบกันดีแล้วว่า ยุทธศาสตร์ประเทศไทย 4.0 ถือเป็นการพัฒนาเครื่องยนต์ เพ่ือขับเคลื่อนการเติบโตทางเศรษฐกิจชุดใหม่ (New Engines of Growth) ด้วยการเปลี่ยนแปลง ความได้เปรียบ เชิงเปรียบเทียบของประเทศที่มีอยู่ 2 ด้าน คือ ความหลากหลายเชิงชีวภาพ และความหลากหลายเชิงวัฒนธรรม ให้เป็นความได้เปรียบในเชิงแข่งขัน โดยการเติมเต็มด้วยวิทยาการ ความคิดสร้างสรรค์ นวัตกรรม วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัยและพัฒนา แล้วต่อยอดความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบกับประเทศต่างๆ ได้ ดังนั้น การด าเนินการขับเคลื่อนโครงการอุทยานแห่งชาติ 4.0 ตามแนวคิดประเทศไทย 4.0 จึงเป็นโครงการที่น่าด าเนินการให้บรรลุวัตถุประสงค์เป็นอย่างยิ่ง อย่างไรก็ตาม โครงการส าหรับอนาคตของส านักอุทยานแห่งชาติ ได้เสนอโครงการ The Future of Thailand’s National Parks ซึ่งได้ก าหนดวิสัยทัศน์ไว้ ดังนี้

1. โครงการในวาระครบรอบ 60 ปี ของการก าเนิดอุทยานแห่งชาติ ปี พ.ศ. 2565 จะท าให้ ส านักอุทยานแห่งชาติเป็นผู้น าในด้านป้องกันรักษาทรัพยากรธรรมชาติ โดยใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัย

2. จะเพ่ิมโอกาสแก่ประชาชนให้ได้รับความสุขและความเพลิดเพลิน กับทรัพยากรธรรมชาติที่อยู่ภายใต้การดูแลของอุทยานแห่งชาติ และเป็นสิ่งท้าทายส าหรับผู้น าของประเทศที่จะท างานด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติให้บรรลุความส าเร็จมากยิ่งขึ้น

3. เจ้าหน้าที่อุทยานแห่งชาติจะท างานร่วมกับพันธมิตรในแหล่งชุมชน เพ่ือเข้าถึงเยาวชนและผู้ที่ด้อยโอกาส เพ่ือจะเติมเต็มให้กับชีวิตของเขาเหล่านั้น ขณะเดียวกันเราก็จะปกป้องรักษาทรัพยากรอย่างเต็มก าลังเพ่ือคนในรุ่นต่อไป และนี่คือ แนวคิดใหม่ในการจัดการอุทยานแห่งชาติในยุคประเทศไทย 4.0