61
สารพิษในชีวิตประจาวัน - 1 คาอธิบายหลักสูตรรายวิชา สารพิษในชีวิตประจาวัน รหัสรายวิชา พว0213 สาระความรู้พื้นฐาน ระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย จานวน 1 หน่วยกิต (40 ชั่วโมง) มาตรฐานการเรียนรูมาตรฐานที2.2 มีความรู้ความเข้าใจและทักษะพื้นฐานเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 1. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับสารพิษในชีวิตประจาวัน 2. เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ มีประสบการณ์ตรงจากการปฏิบัติจริง 3. เพื่อฝึกให้ผู้เรียนแก้ปัญหาโดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 4. เพื่อให้ผู้เรียนตระหนักถึงผลกระทบจากสารพิษที่มีต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม 5. เพื่อให้ผู้เรียนนาความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้ในการปูองกันผลกระทบจากสารพิษที่เกิดต่อชีวิต และสิ่งแวดล้อม ศึกษาและฝึกทักษะเกี่ยวกับเรื่องต่อไปนีการเข้าสู่ร่างกายและความเป็นพิษของสาร ประเภทและชนิดของสารพิษในครัวเรือนและอาชีพ สารพิษจากครัวเรือน ผลกระทบที่เกิดจากสารพิษในครัวเรือน และสารพิษที่เกิดจากอาชีพที่มีต่อชีวิต และสิ่งแวดล้อม การจัดประสบการณ์การเรียนรูให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้า ทดลอง จาแนก อธิบาย อภิปราย นาเสนอด้วยการจัดกระบวนการ เรียนรู้โดยการเข้าค่าย การเรียนรู้ด้วยตนเอง การทารายงาน การศึกษาจากแหล่งเรียนรู้ ประสบการณ์ โดยตรง ใช้สถานการณ์จริง และประสบการณ์จากการเรียน การวัดและประเมินผล การสังเกต การอภิปราย การสัมภาษณ์ ทักษะปฏิบัติ รายงานการทดลอง การมีส่วนร่วมใน กิจกรรมการเรียนรู้ ผลงาน การทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน การประเมิน และการนาไปใช้ประโยชน์

คำอธิบายรายวิชาการทำนาlpsci.nfe.go.th/lpsci/attachments/068_file2.pdfเรื่องนี้แล้วประชาชนสามารถปูองกัน

  • Upload
    others

  • View
    5

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

  • สารพิษในชีวิตประจ าวัน - 1

    ค าอธิบายหลักสูตรรายวิชา สารพิษในชีวิตประจ าวัน รหัสรายวิชา พว0213 สาระความรู้พื้นฐาน

    ระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย จ านวน 1 หน่วยกิต (40 ชั่วโมง)

    มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐานที่ 2.2 มีความรู้ความเข้าใจและทักษะพ้ืนฐานเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

    ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

    1. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับสารพิษในชีวิตประจ าวัน 2. เพ่ือให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ มีประสบการณ์ตรงจากการปฏิบัติจริง 3. เพ่ือฝึกให้ผู้เรียนแก้ปัญหาโดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 4. เพ่ือให้ผู้เรียนตระหนักถึงผลกระทบจากสารพิษที่มีต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม 5. เพื่อให้ผู้เรียนน าความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้ในการปูองกันผลกระทบจากสารพิษท่ีเกิดต่อชีวิต

    และสิ่งแวดล้อม

    ศึกษาและฝึกทักษะเกี่ยวกับเรื่องต่อไปนี้ การเข้าสู่ร่างกายและความเป็นพิษของสาร ประเภทและชนิดของสารพิษในครัวเรือนและอาชีพ

    สารพิษจากครัวเรือน ผลกระทบที่เกิดจากสารพิษในครัวเรือน และสารพิษที่เกิดจากอาชีพที่มีต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม การจัดประสบการณ์การเรียนรู้

    ให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้า ทดลอง จ าแนก อธิบาย อภิปราย น าเสนอด้วยการจัดกระบวนการเรียนรู้โดยการ เข้าค่าย การเรียนรู้ด้วยตนเอง การท ารายงาน การศึกษาจากแหล่งเรียนรู้ ประสบการณ์โดยตรง ใช้สถานการณ์จริง และประสบการณจ์ากการเรียน

    การวัดและประเมินผล

    การสังเกต การอภิปราย การสัมภาษณ์ ทักษะปฏิบัติ รายงานการทดลอง การมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ ผลงาน การทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน การประเมิน และการน าไปใช้ประโยชน์

  • สารพิษในชีวิตประจ าวัน - 2

    ค าอธิบายหลักสูตรรายวิชา สารพิษในชีวิตประจ าวัน รหัสรายวิชา พว0213 สาระความรู้พื้นฐาน

    ระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย จ านวน 1 หน่วยกิต (40 ชั่วโมง)

    มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐานที่ 2.2 มีความรู้ความเข้าใจและทักษะพ้ืนฐานเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

    ที ่ หัวเรื่อง ตัวช้ีวัด เนื้อหา จ านวน ชั่วโมง

    1. สารพิษในชีวิตประจ าวันและการเข้าสู่ร่างกาย

    อธิบายการเข้าสู่ร่างกายแ ละความเป็นพิษของสารได้

    1. สารพิษและการเข้าสู่ร่างกาย

    2. ความเป็นพิษ

    3

    2. ประเภท ชนิด ของสารพิษในชีวิตประจ าวัน

    บอกประเภทและชนิดของสารพิษในครัวเรือนและสารพิษท่ีเกิดจากอาชีพได้

    1. สารพิษในชีวิตประจ าวัน 1.1 สารพิษจากครัวเรือน 1.1.1 สารท าความ

    สะอาด(สบู่ แชมพู น้ ายาล้างจาน ยาสีฟ ัน น้ ายาล้างห้องน้ า)

    1.1.2 สารซักล้าง(ผงซักฟอก สบู่)

    1.1.3 ภาชนะ 1.1.4 สารฆ่าแมลง

    เช่น ยาฆ่าแมลง

    1.2 เกษตรกรรม 1.2.1 สารก าจัดศัตรู

    พืชและสัตว์ 1.2.2 สารเร่งเนื้อแดง 1.2.3 สารเร่งการ

    เจริญเติบโต 1.3 เครื่องส าอาง 1.4 น้ ายาดับกลิ่นและ

    17

  • สารพิษในชีวิตประจ าวัน - 3

    ที ่ หัวเรื่อง ตัวช้ีวัด เนื้อหา จ านวน ชั่วโมง

    สเปรย์ปรับอากาศ 1.5 อุตสาหกรรม 1.6 ของเด็กเล่น ฯลฯ 2. สารพิษจากอาชีพ

    3. ผลกระทบที่เกิดจา กสารพิษในชีวิตประจ าวัน และแนวทางแก้ไข

    อธิบายผลกระทบที่เกิดจากสารพิษในครัวเรือน และสารพิษท่ีเกิดจากอาชีพที่มีต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อมได้

    ผลกระทบที่เกิดจากสารพิษในครัวเรือน และสารพิษท่ีเกิดจากอาชีพที่มีต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อมและแนว ทางแก้ไข

    10

  • สารพิษในชีวิตประจ าวัน - 4

    โครงสร้างหลักสูตร หลักสูตรรายวิชาเลือก สารพิษในชีวิตประจ าวัน รหัสรายวิชา พว0213 สาระความรู้พื้นฐาน

    ระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย จ านวน 1 หน่วยกิต (40 ชั่วโมง)

    ความเป็นมา ในยุคปัจจุบันเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของสังคมโลก ส่งผลให้สภาพเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ตลอดจนสภาพความเป็นอยู่ของประชาชนเปลี่ยนแปลงไป จากสภาพดังกล่าวประชาชนจ าเป็นต้องมีความรู้ความเข้าใจ เพื่อการปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงและการพัฒนา ซึ่งเครื่องมือที่ส าคัญของการพัฒนาคนคือ การศึกษา ซึ่งการศึกษาท าให้ประชาชนรู้ทันต่อโทษ และประโยชน์ของสิ่งต่าง ๆ รอบตัว เช่น สารพิษท่ีอยู๋ในชีวิตประจ าวันของเรา ซึ่งประชาชนอาจมองข้ามและเมื่อศึกษาเรียนรู้เรื่องนี้แล้วประชาชนสามารถปูองกัน แก้ไข เหตุจากโทษของสารเคมีในชีวิตประจ าวันได้ และนักศึกษาการศึกษานอกระบบ หรือ นักศึกษา กศน. ส่วนมากเป็นเยาวชนและผู้ใหญ่ ซึ่งเป็นผู้มีวุฒิภาวะ มีประสบการณ์ มีความรับผิดชอบในการประกอบอาชีพ ดูแลครอบครัว และมีข้อจ ากัดมากมายในการเรียนรู้ ซึ่งลักษณะดังกล่าวท าให้การจัดกระบวนการเรียนรู้ไม่เหมือนกับเด็ก เพราะมีอะไรที่แตกต่างกันหลายอย่าง เช่น ความคิดอ่าน ประสบการณ์ ความพร้อม การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนจึงจ าเป็นต้องให้สอดคล้องกับความต้องการและธรรมชาติของผู้เรียน ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม น าความรู้และประสบการณ์ที่มีอยู่มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน และส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยตนเอง ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาล าปาง เป็นสถานศึกษาสังกัดส านักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย กระทรวงศึกษาธิการ มีภารกิจในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยทางด้านวิทยาศาสตร์แก่นักเรียน นักศึกษาทั้งในและนอกระบบโรงเรียน รวมทั้งประชาชนทั่วไปในพ้ืนที่ 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน ซึ่งประกอบด้วยกิจกรรมนิทรรศการ ค่ายวิทยาศาสตร์ กิจกรรมการศึกษา และกิจกรรมบริการวิชาการ โดยมีวัตถุประสงค์ที่จะให้ผู้รับบริการมีความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ สามารถน าความรู้ไปพัฒนาคุณภาพชีวิตและอาชีพของตนเอง ครอบครัวให้ดีขึ้น ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาล าปาง จึงจัดท า หลักสูตรสารพิษในชีวิตประจ าวัน เพ่ือประสานและจัดกิจกรรมการเรียน รู้ในรูปแบบค่าย การเรียนรู้ด้วยตนเอง ให้ความรู้ ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม ให้กับนักศึกษา กศน. และนักศึกษา กศน. สามารถ น าความรู้ที่ได้รับไปพัฒนาตนเอง ครอบครัว สังคม และชุมชน ให้เกิดคุณภาพชีวิตที่ดีข้ึน นอกจากนี้ยังเป็นการสร้างเครือข่ายในการจัดและส่งเสริมกิจกรรมการเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมให้กับชุมชนต่อไป

  • สารพิษในชีวิตประจ าวัน - 5

    หลักการ 1. เป็นหลักสูตรที่มีโครงสร้างยืดหยุ่นด้านสาระการเรียนรู้ เวลาเรียน และการจัดการเรียนรู้ โดยเน้นการบูรณาการเนื้อหาให้สอดคล้องกับวิถีชีวิต ความแตกต่างของบุคคล ชุมชน และสังคม 2. เป็นหลักสูตรที่ส่งเสริมให้ผู้เรียน เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริง 3. เป็นหลักสูตรที่สามารถน าความรู้ และประสบการณ์ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาในชีวิตประจ าวัน จุดมุ่งหมายของหลักสูตร

    1. เพ่ือให้ผู้เรียนได้รับความรู้ในเรื่องสารเคมีท่ีใช้ในชีวิตประจ าวัน 2. เพ่ือให้ผู้เรียนน าความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้ในชีวิตประจ าวัน

    3. เพ่ือให้ผู้เรียนน าความรู้ที่ได้รับไปถ่ายทอดสู่ครอบครัว สังคมและชุมชนได้ ระยะเวลาเรียนและจ านวนหน่วยกิต ระยะเวลา 1 ภาคเรียน จ านวน 40 ชั่วโมง จ านวน 1 หน่วยกิต โครงสร้างหลักสูตร แบ่งออกเป็น 3 ตอน จ านวน 40 ชั่วโมง ตอนที่ 1 สารพิษในชีวิตประจ าวันและการเข้าสู่ร่างกาย จ านวน 3 ชั่วโมง ตอนที่ 2 ประเภท ชนิดของสารพิษในชีวิตประจ าวัน จ านวน 17 ชั่วโมง ตอนที่ 3 ผลกระทบที่เกิดจากสารพิษในชีวิตประจ าวัน จ านวน 10 ชั่วโมง และแนวทางแก้ไข รายละเอียดเนื้อหา ตอนที่ 1 สารพิษในชีวิตประจ าวันและการเข้าสู่ร่างกาย

    1.1 สารพิษและการเข้าสู่ร่างกาย 1.2 ความเป็นพิษ

    ตอนที่ 2 ประเภท ชนิดของสารพิษในชีวิตประจ าวัน 2.1 สารพิษในชีวิตประจ าวัน 2.1.1 สารพิษจากครัวเรือน 1) สารท าความสะอาด (สบู่ แชมพู น้ ายาล้างจาน ยาสีฟ ัน น้ ายาล้างห้องน้ า) 2) สารซักล้าง(ผงซักฟอก สบู่)

    3) ภาชนะ 4) สารฆ่าแมลง เช่น ยาฆ่าแมลง

    2.1.2 เกษตรกรรม 1) สารก าจัดศัตรูพืชและสัตว์ 2) สารเร่งเนื้อแดง

  • สารพิษในชีวิตประจ าวัน - 6

    3) สารเร่งการเจริญเติบโต 2.1.3 เครื่องส าอาง 2.1.4 น้ ายาดับกลิ่นและสเปรย์ปรับอากาศ 2.1.5 อุตสาหกรรม 2.1.6 ของเด็กเล่น

    2.2 สารพิษจากอาชีพ ตอนที่ 3 ผลกระทบที่เกิดจากสารพิษในชีวิตประจ าวัน และแนวทางแก้ไข ผลกระทบที่เกิดจากสารพิษในครัวเรือน และสารพิษท่ีเกิดจากอาชีพที่มีต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อมและแนวทางแก้ไข กระบวนการเรียนรู้

    1. ทดสอบความรู้ก่อนเรียนโดยใช้แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 2. แบ่งกลุ่มย่อยเพ่ือศึกษาเรียนรู้ตามฐานเรียนรู้เกี่ยวกับสารพิษในชีวิตประจ าวัน 3. ครูประจ าฐานการเรียนรู้แต่ละฐานแจกใบความรู้ และให้ความรู้แก่ผู้เรียน 4. ฝึกปฏิบัติจริงโดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และเน้นการท างานเป็นทีมแบบมีส่วน

    ร่วม พร้อมกับแจกใบงาน 5. ผู้เรียนน าเสนอผลการปฏิบัติ และสรุปผล 6. ครูมอบหมายงานในการเรียนรู้ด้วยตนเอง (กรต.) และก าหนดส่งงาน 7. ทดสอบความรู้หลังเรียนโดยใช้แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 8. ประเมินความคิดเห็นของผู้เรียนโดยใช้แบบทดสอบความคิดเห็น

    แหล่งเรียนรู้สนับสนุน

    1. ผู้รู้ในเรื่องที่ศึกษา 2. อินเตอร์เน็ต 3. ห้องสมุด

    การวัดผลประเมินผล

    1. การทดสอบความรู้ก่อนและหลังเรียน โดยใช้แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 2. การประเมินความคิดเห็นของผู้เรียน โดยใช้แบบสอบถามความคิดเห็น 3. ผลการท าใบงาน 4. การสังเกตการร่วมกิจกรรมของผู้เรียน 5. ผลงานจากการท ากิจกรรมการเรียนรู้ เช่น ใบความรู้ 6. การปฏิบัติจริง โดยประเมินจากการสังเกตการณ์มีส่วนร่วมในการท ากิจกรรม และ

    ทักษะในการปฏิบัติกิจกรรม

  • สารพิษในชีวิตประจ าวัน - 7

    แผนการจัดการเรียนรู้ หลักสูตรรายวิชาเลือก สารพิษในชีวิตประจ าวัน รหัสรายวิชา พว0213 สาระความรู้พื้นฐาน

    ระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย จ านวน 1 หน่วยกิต (40 ชั่วโมง)

    ที่ หัวเรื่อง ตัวช้ีวัด เนื้อหา กิจกรรม

    การเรียนรู้

    ส่ือ/วัสดุ/อุปกรณ์

    จ านวนชั่วโมง

    การวัดประเมินผล

    1. สารพิษในชีวิตประจ าวันและการเข้าสู่ร่างกาย

    อธิบายการเข้าสู่ร่างกายและความเป็นพิษของสารได้

    1. สารพิษและการเข้าสู่ร่างกาย

    2. ความเป็นพิษ

    เป็นกิจกรรมให้ความรู้ แบ่งกลุ่ม อภิปราย ระดมสมอง สรุปผล

    1. ใช้สื่อหลากหลายประเภท ได้แก่ Power point วีดิทัศน์ ใบความรู้ ใบงาน ของจริง 2. ตัวอย่างของจริง

    3 ชั่วโมง

    1.การสังเกตการ ร่วมกิจกรรมของผู้เรียน 2.ผลงานจากการ ท ากิจกรรมการเรียนรู้ เช่น ใบงาน 3.การปฏิบัติจริง โดยประเมินจากการสังเกตการณ์มีส่วนร่วมในการท ากิจกรรม และทักษะในการปฏิบัติกิจกรรม

    2. ประเภท ชนิดของสารพิษในชีวิตประจ าวัน

    บอกประเภทและชนิดของสารพิษในครัวเรือนและสารพิษท่ีเกิดจากอาชีพได้

    1. สารพิษในชีวิตประจ าวัน

    1.1 สารพิษจากครัวเรือน

    1.1.1 สารท าความสะอาด(สบู่ แชมพู น้ ายาล้างจาน ยาสีฟ ัน น้ ายาล้างห้องน้ า) 1.1.2 สารซักล้าง(ผงซักฟอก สบู่) 1.1.3 ภาชนะ 1.1.4 สารฆ่าแมลง เช่น ยาฆ่าแมลง 1.2 เกษตรกรรม 1.2.1 สารก าจัด

    เป็นกิจกรรมให้ความรู้ แบ่งกลุ่ม ปฏิบัติจริง อภิปราย ระดมสมอง สรุปผล

    1. ใช้สื่อหลากหลายประเภท ได้แก่ Power point วีดิทัศน์ ใบความรู้ ใบงาน ของจริง 2. ตัวอย่างของจริง

    17 ชั่วโมง

    1. การสังเกตการ ร่วมกิจกรรมของผู้เรียน 2. ผลงานจากการ ท ากิจกรรมการเรียนรู้ เช่น ใบงาน 3. การปฏิบัติจริง โดยประเมินจากการสังเกตการณ์มีส่วนร่วมในการท ากิจกรรม และทักษะในการปฏิบัติกิจกรรม

  • สารพิษในชีวิตประจ าวัน - 8

    ที่ หัวเรื่อง ตัวช้ีวัด เนื้อหา กิจกรรมการ

    เรียนรู้

    ส่ือ/วัสดุ/อุปกรณ์

    จ านวนชั่วโมง

    การวัดประเมินผล

    ศัตรู พืชและสัตว์ 1.2.2 สารเร่ง

    เนื้อแดง 1.2.3 สารเรง่

    การเจริญเติบโต 1.3 เครื่องส าอาง 1.4 น้ ายาดับ

    กลิ่นและ สเปรย์ปรับอากาศ

    1.5 อุตสาหกรรม 1.6 ของเด็กเล่น ฯลฯ 3. สารพิษจาก

    อาชีพ 3. ผลกระทบที่

    เกิดจากสารพิษในชีวิตประจ า วัน และแนวทางแก้ไข

    อธิบายผลกระทบที่เกิดจากสารพิษในครัวเรือน และสารพิษท่ีเกิดจากอาชีพที่มีต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อมได้

    ผลกระทบที่เกิดจากสารพิษในครัวเรือน และสารพิษท่ีเกิดจากอาชีพที่มีต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อมและแนว ทางแก้ไข

    เป็นกิจกรรมให้ความรู้ แบ่งกลุ่ม อภิปราย ระดมสมอง สรุปผล

    ใช้สื่อหลากหลายประเภท ได้แก่ Power point วีดิทัศน์ ใบความรู้ ใบงาน ของจริง

    10 ชั่วโมง

    1. การสังเกตการ ร่วมกิจกรรมของผู้เรียน 2. ผลงานจากการ ท ากิจกรรมการเรียนรู้ เช่น ใบงาน 3. การปฏิบัติจริง โดยประเมินจากการสังเกตการณ์มีส่วนร่วมในการท ากิจกรรม และทักษะในการปฏิบัติกิจกรรม

  • สารพิษในชีวิตประจ าวัน - 9

    แผนการจัดการเรียนรู้ ตอนที่ 1 สารพิษในชีวิตประจ าวันและการเข้าสู่ร่างกาย

    หัวเรื่อง สารพิษในชีวิตประจ าวันและการเข้าสู่ร่างกาย

    ตัวช้ีวัด อธิบายการเข้าสู่ร่างกายและความเป็นพิษของสารได้

    เนื้อหา 1. สารพิษและการเข้าสู่ร่างกาย 2. ความเป็นพิษ

    กิจกรรมการเรียนรู้

    1. ศึกษาความรู้ด้านทฤษฎี โดยแจกใบความรู้ เรื่องสารพิษในชีวิตประจ าวันและการเข้าสู่ร่างกายและครูน าเสนอข้อมูลทาง Power point

    2. ดูวีดิทัศน์ ภาพตัวอย่างสารพิษในชีวิตประจ าวันและการเข้าสู่ร่างกาย

    3. แบ่งกลุ่มผู้เรียน แจกใบงาน ร่วมกันอภิปรายเรื่องสารพิษในชีวิตประจ าวันและการเข้าสู่ร่างกาย

    4. ผู้เรียนน าเสนอผลการอภิปรายของแต่ละกลุ่ม

    5. ครูสรุปผลการอภิปราย และมอบหมายงาน

    ระยะเวลา

    3 ชั่วโมง

    ส่ือ/วัสดุ/อุปกรณ์ 1. ใช้สื่อหลากหลายประเภท ได้แก่ Power point วีดิทัศน์ ใบความรู้ ใบงาน ของจริง 2. ตัวอย่างของจริง

    การวัดผลประเมินผล 1. การสังเกตการร่วมกิจกรรมของผู้เรียน 2. ผลงานจากการท ากิจกรรมการเรียนรู้ เช่น ใบงาน 3. การปฏิบัติจริงโดยประเมินจากการสังเกตการณ์มีส่วนร่วมในการท ากิจกรรม และทักษะใน

    การปฏิบัติกิจกรรม

  • สารพิษในชีวิตประจ าวัน - 10

    ใบความรู้

    เร่ือง สารพิษในชีวิตประจ าวันและการเข้าสู่ร่างกาย สารพิษ (Toxic Substances) หมายถึงแร่ธาตุหรือสารประกอบทางเคมีที่เกิดขึ้นเองตาม

    ธรรมชาติ หรือสังเคราะห์ขึ้นและมีสมบัติเป็นพิษต่อมนุษย์ สัตว์ พืชและท าให้ทรัพย์สินเสื่อมสภาพ(จารุพงศ์ บุญหลง ,2538:20) เมื่อสารพิษเข้าสู่ร่างกายในปริมาณที่มากพอจะท าให้เกิดอันตรายต่อร่างกาย ส่วนลักษณะของ "พิษ( Toxic)" มีหลายแบบ เช่น พิษท่ีเป็นลักษณะการแสดงออก เช่นการระคายเคือง ความร าคาญ หรืออันตรายต่อสิ่งมีชีวิต นอกจากนี้ยังมีลักษณะทางนามธรรม เช่นอาการที่ส่งผลเสียมาสู่มนุษย ์ไม่ว่าจะเป็นทางด้านอารมณ์หรือพฤติกรรม ก็อาจยอมว่านั้นคือ พิษ ส าหรับความเป็นพิษนั้นมีทั้งที่แสดงออกและไม่แดงออกให้เห็นได้ด้วยตา ซึ่งสรุปได้ดังนี้

    1. ความเป็นพิษภายนอก เช่น ตามผิวหนัง ซึ่งอาจมีอาการของผื่นแผล เป็นตุ่ม พุพอง ซึ่งผู้ได้รับพิษจะมีอาการคับแสบ ปวดแสบปวดร้อน หรือมีไข้

    2. ความเป็นพิษภายใน เช่น อาจเกิดที่ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบประสาท ระบบการรับฟัง ระบบทางเดินหายใจ ระบบย่อยอาหาร ซึ่งพิษส่วนใหญ่จะออกอาการอยู่ภายใน บางกรณีมีลักษณะบางอย่างให้เห็น เช่น ปากสั่น ตาเหลือง เป็นต้น

    ความเป็นพิษของสารไม่สามารถวัดออกมาเป็นเกณฑ์มาตรฐานเหมือนการวัดจุดเดือดหรือจุดหลอมเหลวของสารได้ แต่ความเป็นพิษจะแสดงออกมาเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงทั้งทางกายภาพ และชีวภาพที่เกิดขึ้นกับร่างกาย บางครั้งการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นน้อยมากจนไม่สามารถสังเกตเห็นได้ในช่วงระยะเวลาสั้น ๆ ท าให้เกิดการปล่อยปละละเลย จนกระท่ังความเป็นทวีความรุนแรงก่อให้เกิดอันตรายถึงข้ึนเสียชีวิตได้ หรือบางกรณีเพียงแต่สร้างความร าคาญ หรืออาการพิการไม่ทางใดก็ทางหนึ่งได้ ส าหรับพิษที่ได้รับอาจเป็นทั้งพิษแบบฉับพลันคือเมื่อได้รับพิษแล้วจะมีอาการแสดงออกในระดับอันตรายทันทีทันใดโดยอาจตายได้ซึ่งส่วนใหญ่เป็นพิษท่ีได้รับจากการดมกลิ่น หรือลิ้มรสด้วยปาก และพิษแบบสะสม หรือท่ีเรียกว่าพิษแบบเรื้อรัง ซึ่งถ้าพิษสะสมไว้เป็นเวลานานอาจตายได้เช่นกัน ความหมายของค าว่า “สารพิษ” (Pollutant)

    ค าว่า “Pollutant” หรือ “Pollution” ในภาษาอังกฤษเมื่อน ามาใช้ในภาษาไทยได้มีความหมายหลายอย่างด้วยกัน เช่น มลพิษ มลภาวะ สารพิษ แต่ก็มีความหมายใกล้เคียงกันหรือเหมือนกัน และบางครั้งก็ใช้กันสับสนอยู่บ้าง

    ค าว่า “Pollution” หมายถึง “Matter in the wrong place” (H.M.Dix, 1981) ซ่ึงหมายถึงสภาพสิ่งแวดล้อมท่ีเสื่อมโทรมลง เนื่องจากการปล่อยสารหรือพลังงานใดๆ เข้าไปสู่สิ่งแวดล้อมนั้น และการที่ท าให้สิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรมลงนั้นก่อให้เกิดผลเสียหายต่อสุขภาพอนามัยของมนุษย์ ซึ่งในความหมายนี้ค่อนข้างจะเน้นความเสื่อมโทรมของสิ่งแวดล้อมท่ีก่อให้เกิดผลเสียต่อสุขภาพอนามัยของมนุษย ์

    แต่ในขณะเดียวกันความเสื่อมโทรมของสิ่งแวดล้อม อาจจะไม่เกิดผลเสียแก่มนุษย์โดยตรง แต่อาจท าให้มีผลต่อห่วงโซ่อาหาร (Food chain) และการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศน์นั้นๆ ซึ่งจะเกิดผลทางอ้อมแก่มนุษย์

  • สารพิษในชีวิตประจ าวัน - 11

    ดังนั้น ถ้าจะให้ความหมายของค าว่า “Pollutant” เพียงค าเดียวก็ควรจะหมายถึงตัวสารหรือวัตถุธาตุที่ปลดปล่อยออกสู่สิ่งแวดล้อม อาจเป็นพวกขยะ สิ่งปฏิกูลและสิ่งที่เป็นพิษ ที่เกิดขึ้นจาก กิจกรรมของมนุษย์

    ดังนั้น จึงพอสรุปได้ว่า “Pollutant” ควรหมายถึง “สารพิษ” หรือ “มลพิษ” และ “Pollution” ควรหมายถึง มลภาวะ หรือสภาพของสิ่งแวดล้อมท่ีมีสารพิษเข้าไปปะปนอยู่

    ประเภทของสารพิษ

    การจ าแนกประเภทของสารพิษตามความเป็นพิษของสารเคมีที่ใช้กันอยู่เสมอในอุตสาหกรรมหรือในห้องปฏิบัติการ แบ่งออกเป็นประเภทต่างๆ ดังนี้

    1. สารระคายเคืองเป็นสารที่ไม่ออกฤทธิ์กัดกร่อนผิวหนัง แต่เป็นเหตุให้เกิดการอักเสบ เช่น การพุพอง หรือ เป็นผื่นแดง ของเนื้อเยื่อผิวหนังบริเวณท่ีสัมผัสกับสารเคมี สารระคายเคืองยังสามารถแบ่งออกได้อีก ได้แก่ สารที่ออกฤทธิ์ระคายเคืองทันที สารที่ออกฤทธิ์แบบสะสม สารระคายเคืองที่เกิดฤทธิ์กัดกร่อน และ สารระคายเคืองที่เกิดขึ้นเมื่อถูกแสงหรือรังสี เป็นต้น

    2. สารกัดกร่อน สารกัดกร่อน จะท าลายเซลเนื้อเยื่อของสิ่งมีชีวิตในบริเวณท่ีถูกสัมผัสท าให้เกิดการย่อยสลายของเนื้อเยื่อและเกิดความเจ็บปวดรุนแรง การกัดกร่อนอาจเกิดขึ้นได้ต่อผิวหนังภายนอก ดวงตา รวมไปถึงเนื้อเยื่อต่างๆของอวัยวะภายใน เช่น ระบบทางเดินหายใจ ระบบทางเดินอาหาร หรือ ระบบหมุนเวียนโลหิต ได้อีกด้วย

    3. สารก่อภูมิแพ้ การเกิดภูมิแพ้มักมีสาเหตุจากการกระตุ้นของสารเคมีชนิดใดชนิดหนึ่งหรือสารเคมีที่มีลักษณะโมเลกุลคล้ายคลึงกับสารเคมีชนิดนั้นที่ร่างกายไม่ยอมรับ อาการภูมิแพ้อาจเกิดได้ทันทีทันใดเพียงไม่ก่ีนาที หลังจากได้รับสารพิษและอาจรุนแรงถึงขั้นท าให้เกิดหมดสติจนเสียชีวิตได้หากไม่ได้รับการรักษาทันเวลา หากร่างกายเคยได้รับการกระตุ้นจากสารพิษมาก่อนแล้วร่างกายอาจสร้างภูมิคุ้มกันขึ้นมาและท าให้อาการภูมิแพ้ลดลงเมื่อได้รับสารนั้นๆอีกครั้งหนึ่ง อาการภูมิแพ้อาจปรากฏขึ้นภายหลังได้รับสารพิษ หรืออาจเกิดข้ึนหลังจากท่ีได้ขับสารพิษออกจากร่างกายไปหมด

    4. สารขัดขวางการหายใจ สารเคมีประเภทนี้เมื่อเข้าสู่ร่างกายแล้วจะไปขวางการเดินทางของออกซิเจนสู่ส่วนส าคัญต่างๆของร่างกาย เช่น หัวใจ สมอง และต่อมไร่ท่อต่างๆ การรับสารเคมีประเภทนี้เข้าไปอาจท าให้เกิดอาการหมดสติ หรือเกิดอันตรายถึงชีวิตเนื่องจากสารเคมีเหล่านี้จะเข้าไปแทนที่อ๊อกซิเจนที่หายใจเข้าไปตัวอย่างสารเคมีเหล่านี้ได้แก่ แอเซทิลีน คาร์บอนไดออกไซด์ อาร์กอน ฮีเลียม ไนโตรเจน และมีเทน เป็นต้น

    5. สารก่อมะเร็ง คือสารเคมีท่ีท าให้ระบบร่างกายไม่สามารถควบคุมการเจริญเติบโตของเซลได้ เซลมะเร็ง ก็คือเซลที่เจริญเติบโตอย่างผิดปกติ ถึงแม้ว่าในปัจจุบันยังไม่ทราบกลไกในการเกิดมะเร็งอย่างแน่ชัด แต่เชื่อว่าเกิดจากสารเคมีท่ีเข้าไปท าปฏิกิริยาโดยตรงกับ DNA หรือ สารพันธุกรรมภายในเซล

    6. สารท าลายระบบสืบพันธุ์ สารเคมีเหล่านี้จะมีผลต่อระบบสืบพันธุ์ เช่น ท าให้เกิดการผิดปรกติต่อการตั้งครรภ์ หรือ การเจริญพันธุ์โดยทั่วๆไป รวมไปถึง การแท้ง การเกิดรูปร่างที่ผิดปรกติ ปัญญาอ่อน หรือ การท าให้เป็นหมัน และสามารถท าให้เกิดผลกระทบได้ท้ังเพศชายเพศหญิง ตัวอย่าง

  • สารพิษในชีวิตประจ าวัน - 12

    สารเคมีที่มีผลกระทบต่อระบบสืบพันธุ์ที่รู้จักกันดี ได้แก่ เอทิลีนไดโบรไมด์ และ ไดโบรโมคลอโรโพรเพน เป็นต้น

    7. สารท าลายระบบประสาท สารท าลายระบบประสาทนี้จะท าให้เกิดผลต่อโครงสร้างและหน้าที่ของระบบประสาทส่วนกลาง หรือ ประสาทส่วนนอก แบบชั่วคราว หรือ แบบเป็นการถาวร อาการจากการรับพิษต่อระบบประสาทท่ีสังเกตเห็นได้ ได้แก่ ความสามารถในการพูด หรือ การทรงตัวที่เสียไป สารท าลายระบบประสาทมักเป็นสารที่ออกฤทธิ์แบบสะสม ไม่แสดงอาการให้เห็นในทันที แต่อาการจะแสดงออกภายหลัง จึงเป็นกลุ่มสารพิษที่ต้องระมัดระวังเป็นพิเศษหากจ าเป็นต้องเก่ียวข้องด้วย

    สารพิษเข้าสู่ร่างกายได้ทางใด

    สารพิษสามารถเข้าสู่ร่างกายได้หลายทาง แต่ละทางจะมีอัตราการแทรกซึมเข้าสู่ร่างกายได้ไม่เท่ากัน และมีผลกระทบต่อเมแทบอลิซึมปกติของร่างกายแตกต่างกันด้วย ระบบหายใจเป็นช่องทางที่สารพิษเข้าสู่ร่างกายได้เร็วที่สุดและสารพิษเข้าทางผิวหนังได้ช้าที่สุด ซึ่งการเข้าสู่ร่างกายทางช่องทางใดก็ตาม จะข้ึนอยู่กับปริมาณของสารพิษท่ีร่างกายได้รับ ความอ่ิมตัวของสารพิษต่อเยื่อบุผนังเซลล์ รูปแบบของสารพิษ และต าแหน่งที่พบสารพิษในสิ่งแวดล้อม สารพิษบางชนิดอาจอยู่ในรูปของสารระเหยหรือเป็นไอ อาจมีโอกาสสูงที่จะเข้าสู่ร่างกายทางระบบหายใจ หากสารพิษอยู่ในน้ าก็อาจเกิดความเป็นพิษต่อระบบทางเดินอาหาร ดังนั้นเมื่อสารพิษเข้าสู่ร่างกายอาจถูกดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือด หรืออาจเปลี่ยนรูปเป็นสารพิษชนิดอื่น ซึ่งยากท่ีจะคาดการณ์ได้ เพราะการออกฤทธิ์ของสารพิษจะมีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอจุดส าคัญที่สารพิษเข้าสู่ร่างกายได้ คือ

    1. ทางปอด จากการสูดดมไอของสารผงฝุุนหรือละอองของสารเป็นพิษโดยเฉพาะสารที่มีฤทธิ์กัดกร่อนจะท าลายเยื่อบุจมูกและหลอดลม สารเป็นพิษบางตัวสามารถซึมเข้าสู่กระแสโลหิตได้โดยเฉพาะบริเวณปอด ซ่ึงเต็มไปด้วยเสน้โลหติฝอย การดูดซึมจะเกิดอย่างรวดเร็ว

    2. ทางปาก การกินและดื่มสารพิษจากโรงงานอุตสาหกรรมที่อาจผสมมากับอาหารและเครื่องดื่มเช่นการท างานในโรงงานผลิตยาฆ่าแมลง ผงฝุุนที่มาจากกระบวนการผลิตอาจหล่นลงมาบนชามข้าว ถ้วยกาแฟ หรือติดกับบุหรี่ที่สูบก็ได้ การกินสารพิษที่ปะปนมากับอาหารทั้งที่เกิดโดยความประมาทของผู้บริโภคหรือความเห็นแก่ได้ของผู้ผลิต อาจท าให้เกิดอันตรายต่อหลอดอาหาร กระเพาะ หรือล าไส้ได ้

    3. ทางผิวหนัง ผิวหนังเป็นเกราะปูองกันสารพิษที่ดีเลิศเพราะผิวหนังเป็นอวัยวะส่วนแรกที่สัมผัสและแตะต้องสารเป็นพิษ โดยปกติเรามักจะเห็นสารพิษถูกขับออกจากผิวหนังมากกว่าถูกดูดซึมเข้าไปแต่ในบางครั้งสารพิษสามารถละลายไขมันบนผิวหนังออกท าให้สารตัวอ่ืนหรือตัวมันเองซึมเข้าสู่กล้ามเนื้อและกระแสโลหิตได้ง่ายขึ้นสารพิษแทบทุกชนิดโดยเฉพาะในสถานะของเหลวและก๊าซสามารถดูดซึมเข้าสู่ร่างกายได้ทางผิวหนัง

    ปริมาณและการตอบสนองต่อความเป็นพิษ

    สารเคมีทุกชนิดจะมีความเป็นพิษไม่อย่างใดก็อย่างหนึ่งถ้าได้รับเข้าสู่ร่างกายในปริมาณที่มากพอ สารเคมีแต่ละชนิดจะมีช่วงของความเข้มข้นหรือปริมาณที่จะท าให้เกิดพิษต่อร่างกายในระดับที่แตกต่างกันออกไป ในทางพิษวิทยาได้ก าหนดเกณฑ์ส าหรับบอกระดับความเป็นพิษของสารเคมีขึ้นมา

  • สารพิษในชีวิตประจ าวัน - 13

    เรียกว่า Threshold Dose ซึ่งหมายถึงปริมาณของสารเคมีที่จะท าให้เริ่มเกิดความเป็นพิษต่อร่างกายข้ึน หากร่างกายได้รับสารเคมีน้อยกว่าค่า Threshold Dose ก็ถือว่ายังไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อร่างกาย เกณฑ์ส าหรับบอกระดับความเป็นพิษของสารเคมีที่ส าคัญ ได้แก่

    1. Threshold Limit Value (TLV) หมายถึงค่าความเข้มข้นของสารเคมีในอากาศซึ่งคนปกติที่มีน้ าหนักตัว 60 กิโลกรัม และไม่ปุวยเป็นโรคใด ๆ จะสามารถรับเข้าสู่ร่างกายได้โดยไม่เกิดผลกระทบใด ๆ หรืออาจนิยาว่าเป็นค่าความเข้มข้นต่ าสุดของสารที่มีได้ในอากาศ พอที่ผู้ปฏิบัติงานในบริเวณนั้น ทุกวัน ๆ ละ 8 ชั่วโมง โดยไม่เป็นอันตราย ซึ่งค่าที่ก าหนดขึ้นมานี้เพื่อเป็นแนวทางท่ีบอกอันตรายของสารเป็นพิษได้ ค่า TVL แบ่งออกเป็น1.1 Threshold Limit Value - Time Weighted Average (TLV-TWA) หมายถึง ค่าความเข้มข้นของสารเคมีในอากาศที่ปลอดภัยส าหรับผู้ปฎิบัติงานจะได้รับในระยะเวลาไม่เกิน 8 ชั่วโมงท างานติดต่อกันใน 1 วันเป็นเวลา 5 วันต่อสัปดาห์1.2 Threshold Limit Value - Short Term Exposure Limit (TLV-STEL) หมายถึง ค่าความเข้มข้นสูงสุดของสารเคมีในอากาศที่ปลอดภัยส าหรับผู้ปฏิบัติงานจะได้รับในระยะเวลา 15 นาที และได้รับซ้ ากันไม่เกิน 4 ครั้งใน 1 วัน แต่ละครั้งต้องห่างกันอย่างน้อย 1 ชั่วโมง ถึงแม้ว่าปริมาณที่ได้รับรวมทั้งหมดจะไม่เกินค่า TLV-TWA ก็ตาม1.3 Threshold Limit Value - Ceiling Exposure Limit (TLV-C) หมายถึง ค่าความเข้มข้นสูงสุดที่ผู้ปฏิบัติงานจะได้รับขณะใดๆท่ีปฏิบัติงาน จะสูงเกินกว่าค่าความเข้มข้นนี้ไม่ได้เลย 1.4 Permissible Exposure Limit (PEL) หมายถึงปริมาณของสารเคมีที่ผู้ปฏิบัติงานจะสัมผัสกับสารเคมีได้อย่างปลอดภัยซึ่งมักมีค่าใกล้เคียงกับค่า TLV-TWA ค่า PEL เป็นค่าที่ระบุปริมาณของสารเคมีในอากาศอีกค่าหนึ่งที่มักมีการอ้างอิงถึง

    2. Lethal Dose (LD50) เป็นค่าบอกความเป็นพิษเฉียบพลันของสารเคมี หมายถึง ปริมาณของสารเคมีซึ่งเม่ือสัตว์ที่ใช้ในการทดลองได้รับเข้าสู่ร่างกายเพียงครั้งเดียวโดยทางการกิน การฉีด หรือ การสัมผัสทางผิวหนัง แล้วท าให้สัตว์เสียชีวิตไปเป็นจ านวนครึ่งหนึ่งในกลุ่มที่ท าการทดลอง ค่า LD50 จะมีหน่วยเป็นมิลลิกรัม หรือ กรัมของสารเคมีต่อน้ าหนักของสัตว์ทดลองเป็นกิโลกรัม

    3. Lethal Concentration (LC50) เป็นค่าบอกความเป็นพิษของก๊าซหรือไอของสารเคมีที่ระเหยได้ง่าย ค่า LC50 คือ ค่าความเข้มข้นของสารเคมีในอากาศที่ท าให้สัตว์ทดลองเสียชีวิตไปเป็นจ านวนครึ่งหนึ่งในกลุ่มที่ท าการทดลอง มีหน่วยเป็น ส่วนต่อล้านส่วน ( ppm หรือ parts per million ) หรือ มิลลิกรัมต่อลิตร (mg/l) หรือ มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ( mg/cu.m) ของบรรยากาศปรกติในการท างาน

    4. Lowest Dose (LD10) และ Lowest Concentraintion (LC10) เป็นค่าบอกปริมาณหรือ ความเข้มข้นในอากาศ ที่ต่ าท่ีสุดที่ท าให้สัตว์ทดลองเริ่มเสียชีวิตการบอกระดับความเป็นพิษที่นิยมใช้ทั่วไป ได้แก่ค่า LD50 และ LC50 ซึ่งหากมีค่าตัวเลขท่ีสูงก็แสดงว่าสารเคมีนั้นๆ จะมีอันตรายน้อย เนื่องจากต้องได้รับในปริมาณมากจึงจะท าให้สัตว์ทดลองเสียชีวิตไปครึ่งหนึ่งในกลุ่มสัตว์ที่ท าการทดลอง ในขณะที่ค่าตัวเลขต่ าจะแสดงความเป็นพิษท่ีรุนแรงสูงคือได้รับเพียงเล็กน้อยก็จะท าให้สัตว์ทดลองเสียชีวิตไปครึ่งหนึ่ง ในปัจจุบันมีสารเคมีประมาณ 850 ชนิดเท่านั้นที่มีการทดลองหาค่า TLV และได้รายงานค่าไว้ ส่วนค่า PEL พบว่ามีระบุไว้ส าหรับสารเคมีจ านวน 550 ชนิด หลักปฏิบัติที่นิยมท าส าหรับสารเคมีที่ไม่มีค่า TLV หรือ PEL ระบุไว้ให้มักจะใช้ค่า LD50 และ LC50 ซึ่งมีรายงานไว้อย่างแพร่หลายมากกว่า มาเป็นแนวทางบอกระดับความเป็นพิษของสารเคมีแต่ละชนิดข้อควรระวังอีกประการหนึ่งเกี่ยวกับการประเมินระดับความรุนแรงของความเป็นพิษของสารเคมีก็คือการที่สารเคมี 2 ชนิดหรือ

  • สารพิษในชีวิตประจ าวัน - 14

    มากกว่ามาผสมรวมกันอาจท าให้เกิดอันตรายจากความเป็นพิษได้รุนแรงมากกว่าการได้รับสารพิษแต่ละตัวก็เป็นได้ ดังนั้น การมีข้อมูลเกี่ยวกับผลกระทบจากสารเคมีชนิดอ่ืนที่อาจท าให้ทวีความเป็นอันตรายมากขึ้นก็จะเป็นประโยชน์ต่อการประเมินความเสี่ยงได้มากข้ึน

    ระยะเวลาและความถี่ของการได้รับสารพิษ

    ความเป็นพิษของสารเคมีอาจเป็นแบบเฉียบพลันคือทันทีท่ีได้รับสารพิษเพียงครั้งเดียวหรือ อาจจะเป็นแบบเรื้อรังคือเกิดข้ึนหลังจากได้รับการสะสมของสารพิษเป็นเวลานาน หรือ บ่อยครั้ง ตัวอย่างของสารเคมีที่มีพิษเฉียบพลัน ได้แก่ ไฮโดรเจนไซยาไนด์ ไฮโดรเจนซัลไฟด์ และไนโตรเจนไดออกไซด์ เป็นต้น ส่วนสารเคมีท่ีมีพิษสะสม ได้แก่ สารก่อมะเร็ง โลหะหนัก และสารประกอบของโลหะหนัก เป็นต้น ซึ่งความเป็นพิษอาจไม่ปรากฏอาการให้เห็นได้เป็นเวลานานหลาย ๆปี หลักโดยทั่วไปมักจะถือว่าความเป็นพิษจะสูงขึ้นหากระยะเวลาที่ได้รับหรือสัมผัสกับสารพิษนานขึ้นและหากความถ่ีที่ได้รับสารพิษมีบ่อยครั้งขึ้นก็จะท าให้ความเสี่ยงต่อการได้รับอันตรายจากสารพิษสูงขึ้น ในบางกรณีร่างกายสามารถก าจัดสารพิษบางชนิดออกไปได้เอง ดังนั้นการสัมผัสสารพิษประเภทนี้โดยมีระยะเวลาห่างกันพอสมควรจึงอาจไม่ท าให้เห็นอันตรายที่จะเกิดต่อร่างกายแต่อย่างใด และมักท าให้เข้าใจผิดว่าสารเคมีดังกล่าวไม่เป็นอันตราย ดังนั้นจึงควรศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับระยะเวลาและความถี่ของการสัมผัสสารเคมีต่าง ๆ อย่างรอบคอบและพิจารณาในหลาย ๆ ด้านเสมอ

    อันตรายต่อผู้ปฏิบัติงาน

    จะเห็นได้ว่าผลกระทบที่เกิดจากความเป็นพิษของสารพิษจะก่อให้เกิดความเป็นอันตรายต่อผู้ปฏิบัติงานสามารถประเมินได้จากปัจจัยส าคัญใน 2 ส่วนคือความรุนแรงของสารพิษ และ โอกาสที่ผู้ปฏิบัติงานจะได้รับสารพิษ การประเมินโดยรวมจึงต้องพิจารณาปัจจัยทั้ง 2 ร่วมกันระดับความเป็นพิษอันเนื่องมาจากความรุนแรงของพิษ อาจพิจารณาจากผลกระทบที่จะเกิดข้ึนต่อผู้ปฏิบัติงาน โดยจัดล าดับความรุนแรงได้จากหลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้

    ระดับท่ี1 ท าให้เกิดอาการหรือความเจ็บปุวยเล็กน้อย ไม่มีผลต่อความสามารถในการปฏิบัติงาน หรือท าให้ความสามารถในการปฏิบัติงาน หรือไม่จ าเป็นต้องหยุดงาน

    ระดับท่ี2 ท าให้เกิดอาการหรือความเจ็บปุวย จนมีผลต่อการปฏิบัติงาน หรือต้องหยุดงานเพื่อพักรักษาตัวเป็นระยะเวลาสั้นๆ ไม่เกิน 2-3 วัน และสามารถรักษาจนหายขาดเป็นปรกติได้

    ระดับท่ี3 ท าให้เกิดอาการหรือความเจ็บปุวยรุนแรง ซึ่งมีผลท าให้ความสามารถในการปฎิบัติงานบางส่วนลดลงอย่างถาวรหรือต้องหยุดพักรักษาตัวเป็นเวลายาวนาน

    ระดับท่ี4 ท าให้เกิดอาการหรือความเจ็บปุวยรุนแรงมากจนกระท่ังถึงแก่ชีวิต หรือสูญเสียความสามารถในการปฏิบัติงานใดๆได้อย่างถาวร

  • สารพิษในชีวิตประจ าวัน - 15

    ระดับท่ี5 ท าให้เกิดอาการหรือความเจ็บปุวยรุนแรงมากจนกระท่ังถึงแก่ชีวิตต่อผู้คนเป็นจ านวนมาก

    ส าหรับโอกาสที่ผู้ปฏิบัติงานจะได้รับสารพิษ อาจแบ่งออกเป็นระดับได้ตามหลักเกณฑ์ต่อไปนี้ ระดับท่ี 1 โอกาสที่จะได้รับสารพิษมีน้อยมากหรือไม่มีเลย ระดับท่ี 2 มีโอกาสที่จะได้รับสารพิษแต่มีระบบปูองกันที่มั่นใจได้ว่าระบบปูองกันท างานได้อย่าง

    สมบูรณ์ตลอดเวลา ระดับท่ี 3 มีโอกาสที่จะได้รับสารพิษและมีระบบปูองกัน แตะระบบปูองกันไม่สามารถให้ความ

    มั่นใจว่าจะท างานได้สมบูรณ์ตลอดเวลา หรือ ไม่สามารถยืนยันได้ว่าการปูองกันดังกล่าวจะให้ผลได้อย่างสมบูรณ์

    ระดับท่ี 4 มีโอกาสที่จะได้รับสารพิษและระบบปูองกันไม่เพียงพอ ระดับท่ี 5 มีโอกาสที่จะได้รับสารพิษสูงและเห็นได้ชัดเจนว่าจะท าให้เกิดอันตรายต่อ

    ผู้ปฏิบัติงานได้โดยง่าย

    แนวคิดการป้องกันและควบคุมสารพิษ

    เพ่ือให้เกิดความเข้าใจในการก าหนดมาตรการและวิธีการที่จะปูองกันควบคุมสารพิษจึงขอยกตัวอย่างแนวคิดในการปูองกันและควบคุมท่ัวๆไป คือ

    1) มาตรการด้านวิศวกรรม จะเป็นมาตรการที่มุ่งแก้ไขปัญหาสารพิษโดยใช้เทคโนโลยี เช่น การออกแบบระบบระบายอากาศเฉพาะที่ และระบบระบายอากาศแบบเจือจาง การใช้ระบบเปียกในกระบวนการที่ท าให้เกิดฝุุน การใช้วัตถุดิบที่มีอันตรายน้อยกว่า การแยกกระบวนการผลิตที่อันตรายออกจากส่วนอื่นที่ไม่เก่ียวข้อง เป็นต้น

    2) มาตรการด้านการศึกษา เป็นมาตรการที่เน้นที่ผู้ที่ปฏิบัติงานและผู้บริหารตัวอย่างวิธีการที่อยู่ในมาตรการนี ้เช่น การศึกษาต่อ การอบรม การฝึกปฏิบัติ การสัมมนา และการประชุมเชิงปฏิบัติการเป็นต้น

    3) มาตรการด้านการบังคับ การบังคับในที่นี้ไม่ได้มีความหมายเพียงการก าหนดกฎข้อบังคับขึ้นมาเท่านั้น แต่ยังมีความหมายรวมไปถึงการตรวจตราและสอดส่องว่ามีกากรปฏิบัติตามวิธีการที่ก าหนดไว้หรือไม ่และต้องมีบทลงโทษในกรณีที่ไม่ท าตามท่ีก าหนดไว้

    4) มาตรการด้านบริหารจัดการ มาตรการด้านนี้ถูกน ามาใช้แก้ปัญหาสารพิษอย่างกว้างขวาง เช่น การก าหนดนโยบายอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการท างาน การก าหนดบทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของบุคลากรฝุายต่าง ๆ อย่างชัดเจนเป็นต้น

    5) การปูองกันและควบคุมสารพิษที่ตัวผู้ปฏิบัติงาน การด าเนินการที่ตัวผู้ปฏิบัติงานนั้นมีข้อจ ากัดหลายประการเช่น การรู้เท่าไม่ถึงการณ์ การปฏิบัติไม่สม่ าเสมอ และการปฏิบัติผิดหลักการทางวิชาการ เป็นต้น

  • สารพิษในชีวิตประจ าวัน - 16

    วิธีการที่สามารถน ามาใช้กับผู้ปฏิบัติงานมีหลายวิธีเช่น การฝึกอบรมและให้ความรู้ ซึ่งสามารถท าได้ในระยะต่างๆเช่น ก่อนปฏิบัติงานจริง เริ่มท างาน ท างานไปได้ระยะหนึ่ง หรือระยะที่กลับจากพักฟ้ืนกรณีเจ็บปุวยเนื่องจากสารพิษเป็นต้น ตั้งเกณฑ์ขั้นต่ าไว้ว่าผู้ปฏิบัติงานควรมีความรู้ในเรื่องความเป็นพิษและทางเข้าสู่ร่างกาย อันตรายของสารพิษท่ีมีโอกาสพบในการปฏิบัติงาน ระบบการปูองกันและควบคุมสารพิษ วิธีปูองกันตนเองจากสารพิษ วิธีการปฐมพยาบาล รวมถึงอุปกรณ์ปูองกันอันตรายส่วนบุคคลที่จ าเป็นต้องใช้ เป็นต้น การหมุนเวียนผู้ปฏิบัติงานที่ต้องท างานในที่ที่ต้องสัมผัสกับสารพิษ เพ่ือลดปริมาณสารพิษที่จะเข้าสู่ร่างกายผู้สัมผัส และเป็นการลดระยะเวลาที่ต้องสัมผัสสารพิษด้วย การใช้อุปกรณ์ปูองกันอันตรายส่วนบุคคล เช่น การสวมใส่ถุงมือนิรภัย การสวมใส่อุปกรณ์ปูองกันระบบการหายใจ เป็นต้น การตรวจวัดระดับความเข้มข้นของสารพิษในอากาศท่ีผู้ปฏิบัติงานอาจจะได้รับ การตรวจวัดปริมาณสารพิษในร่างกายผู้ปฏิบัติงาน จึงควรน าตัวอย่างเลือด ปัสสาวะ ของผู้ปฏิบัติงานไปตรวจหาปริมาณสารพิษนั้น ๆ และน าผลการตรวจไปวิเคราะห์กับค่ามาตรฐานที่ควรจะเป็น การก าหนดวิธีการท างานที่ปลอดภัยให้ผู้ปฏิบัติงานใช้ขณะท างาน การก าหนกฎความปลอดภัย ให้ผู้ปฏิบัติงานปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด

    บทสรุป

    การที่สารพิษเข้าสู่ร่างกายในปริมาณที่มากพอจะท าให้เกิดอันตรายต่อชีวิตนั้นขึ้นกับองค์ประกอบต่างๆ เช่น ปริมาณสารเป็นมิลลิกรัมต่อน้ าหนักร่างกายเป็นกิโลกรัม อัตราการดูดซึมของร่างกาย อัตราการขับถ่าย คุณสมบัติของสาร และ การตอบสนองของแต่ละบุคคล ความเป็นพิษของสารใด ๆ จะผันแปรไปตามปริมาณสารพิษ จ านวนครั้ง และช่องทางที่ได้รับสารพิษ ซึ่งจะมีผลต่อการออกฤทธิ์ว่าจะเกิดพิษเฉียบพลันหรือพิษเรื้อรัง นอกจากนี้ยังมีปัจจัยอื่น ๆ ที่เก่ียวข้อง ได้แก่ ชนิดของสัตว์ อายุ เพศ ภาวะโภชนาการ สุขภาพ การตอบสนองต่อสารพิษของแต่ละบุคคล การมีสารเคมีอ่ืนร่วมด้วย และความสามารถในการปรับตัว ความเป็นพิษของสารเคมีอาจเป็นแบบเฉียบพลัน หรือ อาจจะเป็นแบบเรื้อรัง หลักโดยทั่วไปมักจะถือว่าความเป็นพิษจะสูงขึ้นหากระยะเวลาที่ได้รับหรือสัมผัสกับสารพิษนานขึ้น และหากความถี่ท่ีได้รับสารพิษมีบ่อยครั้งขึ้นก็จะท าให้ความเสี่ยงต่อการได้รับอันตรายจากสารพิษสูงขึ้น ดังนั้นจึงควรศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับระยะเวลาและความถี่ของการสัมผัสสารเคมีต่าง ๆ อย่างรอบคอบและพิจารณาในหลาย ๆ ด้านเสมอ การบอกระดับความเป็นพิษท่ีนิยมใช้ทั่วไป ได้แก่ค่า LD50 และ LC50 ซึ่งหากมีค่าตัวเลขท่ีสูงก็แสดงว่าสารเคมีนั้น ๆ จะมีอันตรายน้อย ในขณะที่ค่าตัวเลขต่ าจะแสดงความเป็นพิษที่รุนแรงสูงข้อควรระวังประการหนึ่งเก่ียวกับการประเมินระดับความรุนแรงของความเป็นพิษของสารเคมีก็คือการที่สารเคมี 2 ชนิดหรือมากกว่ามาผสมรวมกันอาจท าให้เกิดอันตรายจากความเป็นพิษได้รุนแรงมากกว่าการได้รับสารพิษแต่ละตัวก็เป็นได้ การก าหนดมาตรการและวิธีการที่จะปูองกันควบคุมสารพิษสามารถท าได้หลายวิธีเช่น การใช้มาตรการด้านวิศวกรรม การใช้มาตรการด้านการศึกษา การใช้มาตรการด้านการบังคับ การใช้มาตรการด้านบริหารจัดการ และการใช้การปูองกันและควบคุมสารพิษที่ตัวผู้ปฏิบัติ เป็นต้น ซึ่งมาตรการและวิธีการเหล่านี้ไม่อาจจัดเป็นสูตรส าเร็จที่จะน ามาแก้ปัญหาอันตรายที่เกิดจากสารพิษทางอุตสาหกรรมได้ถ้าท้ังผู้ประกอบการและผู้ปฏิบัติงานที่ต้องใช้ชีวิตสัมผัสกับสารพิษโดยตรงละเลยที่จะระวังปูองกันและเห็นว่าความรู้เบื้องต้นในเรื่องสารพิษทางอุตสาหกรรมเป็นเรื่องไกลตัว....บทลงโทษที่คืนกลับอาจรุนแรงกว่าที่คาดคิดก็ได้

  • สารพิษในชีวิตประจ าวัน - 17

    ใบงาน

    เร่ือง สารพิษในชีวิตประจ าวันและการเข้าสู่ร่างกาย

    1. ให้ผู้เรียนช่วยกันคิดว่าสารพิษในชีวิตประจ าวันที่รู้จักมีอะไรบ้าง .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... 2. สารพิษเหล่านั้นมีโทษ และประโยชน์อย่างไร และการปูองกันจากการรับสารพิษเหล่านั้น .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................

  • สารพิษในชีวิตประจ าวัน - 18

    แผนการจัดการเรียนรู้ ตอนที่ 2 ประเภท ชนิดของสารพิษในชีวิตประจ าวัน