393
การใช้ไตรสิกขาได้ครบในการดำเนินชีวิต เป็นการศึกษาในทุกขณะและเป็นระบบการศึกษาที่แท้จริง การศึกษาจะมีได้อย่างไรในทุกกิจกรรม ในพฤติกรรม โดยมีไตรสิกขาครบ อันนี้เป็นการมองในระดับ วงจรเล็ก หรือจะใช้ภาษาเลียนแบบเศรษฐศาสตร์ก็ว่า มองในระดับจุลภาค ส่วนในช่วงยาวเราก็มอง คล้ายกับที่เข้าใจกันทั่วๆ ไป คือการศึกษาพัฒนาคนเป็นขั้นตอนจากหยาบไปหาละเอียดแยกการฝึกคน หรือจัดแยกการศึกษาเป็นระดับ เริ่มจากศีลขึ้นไปหาสมาธิแล้วก็ไปจบที่ปัญญา อันนี้เป็นการมองในระดับ วงจรใหญ่ หรือพูดเลียนภาษาเศรษฐศาสตร์ว่า มองในระดับมหัพภาค การมองแบบมหัพภาคนั้น ในขนาดใหญ่ที่สุดอาจเอาไปใช้มองการพัฒนามนุษย์ทั้งสังคมก็ได้คือ เป็นวงจรใหญ่ที่เป็นวงรอบครอบทั้งสังคม ซึ่งเวียนซ้อนเรียงขึ้นไปเป็นรูปพระเจดีย์ โดยเริ่มจากคนส่วนใหญ่ ที่อาศัยศีลเพียงในขั้นระเบียบวินัยควบคุมพฤติกรรมไว้เป็นฐานรองรับ จากนั้นก็เรียวเล็กลงไปเป็นหมูคนที่มีการพัฒนาในขั้นจิตใจมากขึ้นๆ จนขึ้นไปถึงยอดที่เล็กลงๆ คือคนที่ได้พัฒนามีปัญญาอย่างสูงจนถึง สูงสุด แต่ทั้งหมดนี้ ต้องไม่ลืมวงจรเล็กแบบจุลภาค ที่ว่าให้ตระหนักรู้ที่จะมีการศึกษาครบไตรสิกขา ที่พัฒนาคนในทุกกิจกรรมและทุกพฤติกรรม ซึ่งขอทบทวนหน่อยว่า เวลาจะทำากิจกรรมอะไรก็ตาม (ถ้าไหวก็ทุกพฤติกรรมเลย) ให้เราดูว่า ๑. กิจกรรมที่เราจะทำานี้ จะเป็นไปเพื่อเบียดเบียน ก่อความเดือดร้อนเสียหายแก่ใคร หรือ แก่สังคมไหม เป็นการสร้างสรรค์เกื้อกูล ก่อประโยชน์หรือไม่ ๒. เราทำากิจกรรมนี้ด้วยสภาพจิตอย่างไร มีเจตนาที่ไม่ดี เช่น คิดเห็นแก่ตัว คิดร้ายใคร เป็นต้น แฝงอยบ้างไหม มีแรงจูงใจที่ดี เป็นฉันทะ ใฝ่รู้ ใฝ่สร้างสรรค์ หรือประกอบด้วยเมตตา กรุณา เป็นต้น หรือไมและใจของเราร่าเริงแจ่มใสสดชื่นเบิกบาน มีความสุข หรือขุ่นมัว เศร้าหมอง เป็นต้น ๓. แล้วก็ในการทำากิจกรรมนี้ เรามีปัญญารู้เข้าใจสิ่งที่จะทำาชัดเจนไหม มีเหตุผลในการที่จะทำา และมองเห็นผลที่จะติดตามมาจากการกระทำาแค่ไหน ตลอดจนใช้ปัญญาในการกระทำา เพื่อให้กิจกรรมนีสำาเร็จผลด้วยดี นี่คือการใช้ไตรสิกขาได้ครบในการดำาเนินชีวิต เป็นการศึกษาในทุกขณะ อันเป็นระบบการศึกษา ที่แท้จริง ซึ่งในที่สุดจะพัฒนาคนไปให้ถึงความหลุดพ้น เป็นอิสระ ให้คนมีชีวิตจิตใจและปัญญาเป็นอิสระ ที่ว่าเป็นอิสระนี้ มีความหมายว่า เป็นอิสระอย่างเกื้อกูล ไม่ใช่เป็นอิสระแบบเป็นใหญ่แล้วก็ไปรุกราน ทำาลาย ไปเบียดเบียนผู้อื่น พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต). พุทธธรรมกับการฝึกหัดครู. กรุงเทพฯ : ศูนย์สื่อและสิ่งพิมพ์แก้วเจ้าจอมมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, ๒๕๕๑. หน้า ๔๗-๔๙ แนวคิดทางการศึกษา สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป. อ. ปยุตฺโต) แนวคิดทางการศึกษา ISBN 978-616-478-739-1 ราคา 200 บาท NEW��-�����������������-61-01.indd 1 1/12/2561 14:22:54

สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป. อ....ค ำน ำ พระเดชพระค ณ สมเด จพระพ ทธโฆษาจารย

  • Upload
    others

  • View
    4

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

  • การใช้ไตรสิกขาได้ครบในการดำ�เนินชีวิตเป็นการศึกษาในทุกขณะและเป็นระบบการศึกษาที่แท้จริง

    การศึกษาจะมีได้อย่างไรในทุกกิจกรรม ในพฤติกรรม โดยมีไตรสิกขาครบ อันนี้เป็นการมองในระดับ วงจรเล็ก หรือจะใช้ภาษาเลียนแบบเศรษฐศาสตร์ก็ว่า มองในระดับจุลภาค ส่วนในช่วงยาวเราก็มอง คล้ายกับที่เข้าใจกันทั่วๆ ไป คือการศึกษาพัฒนาคนเป็นขั้นตอนจากหยาบไปหาละเอียดแยกการฝึกคนหรือจัดแยกการศึกษาเป็นระดับ เริ่มจากศีลขึ้นไปหาสมาธิแล้วก็ไปจบที่ปัญญา อันนี้เป็นการมองในระดับวงจรใหญ่ หรือพูดเลียนภาษาเศรษฐศาสตร์ว่า มองในระดับมหัพภาค การมองแบบมหัพภาคนั้น ในขนาดใหญ่ที่สุดอาจเอาไปใช้มองการพัฒนามนุษย์ทั้งสังคมก็ได้คือ เป็นวงจรใหญ่ที่เป็นวงรอบครอบทั้งสังคม ซึ่งเวียนซ้อนเรียงขึ้นไปเป็นรูปพระเจดีย ์ โดยเริ่มจากคนส่วนใหญ ่ที่อาศัยศีลเพียงในขั้นระเบียบวินัยควบคุมพฤติกรรมไว้เป็นฐานรองรับ จากนั้นก็เรียวเล็กลงไปเป็นหมู ่คนที่มีการพัฒนาในขั้นจิตใจมากขึ้นๆ จนขึ้นไปถึงยอดที่เล็กลงๆ คือคนที่ได้พัฒนามีปัญญาอย่างสูงจนถึงสูงสุด แต่ทั้งหมดนี้ ต้องไม่ลืมวงจรเล็กแบบจุลภาค ที่ว่าให้ตระหนักรู้ที่จะมีการศึกษาครบไตรสิกขา ที่พัฒนาคนในทุกกิจกรรมและทุกพฤติกรรม ซึ่งขอทบทวนหน่อยว่า เวลาจะทำากิจกรรมอะไรก็ตาม (ถ้าไหวก็ทุกพฤติกรรมเลย) ให้เราดูว่า ๑. กิจกรรมที่เราจะทำานี้ จะเป็นไปเพื่อเบียดเบียน ก่อความเดือดร้อนเสียหายแก่ใคร หรือ แก่สังคมไหม เป็นการสร้างสรรค์เกื้อกูล ก่อประโยชน์หรือไม่ ๒. เราทำากิจกรรมนี้ด้วยสภาพจิตอย่างไร มีเจตนาที่ไม่ดี เช่น คิดเห็นแก่ตัว คิดร้ายใคร เป็นต้น แฝงอยู่บ้างไหม มีแรงจูงใจที่ดี เป็นฉันทะ ใฝ่รู้ ใฝ่สร้างสรรค์ หรือประกอบด้วยเมตตา กรุณา เป็นต้น หรือไม่ และใจของเราร่าเริงแจ่มใสสดชื่นเบิกบาน มีความสุข หรือขุ่นมัว เศร้าหมอง เป็นต้น ๓. แล้วก็ในการทำากิจกรรมนี้ เรามีปัญญารู้เข้าใจสิ่งที่จะทำาชัดเจนไหม มีเหตุผลในการที่จะทำาและมองเห็นผลที่จะติดตามมาจากการกระทำาแค่ไหน ตลอดจนใช้ปัญญาในการกระทำา เพื่อให้กิจกรรมนี้สำาเร็จผลด้วยดี นี่คือการใช้ไตรสิกขาได้ครบในการดำาเนินชีวิต เป็นการศึกษาในทุกขณะ อันเป็นระบบการศึกษาที่แท้จริง ซึ่งในที่สุดจะพัฒนาคนไปให้ถึงความหลุดพ้น เป็นอิสระ ให้คนมีชีวิตจิตใจและปัญญาเป็นอิสระ ที่ว่าเป็นอิสระนี้ มีความหมายว่า เป็นอิสระอย่างเกื้อกูล ไม่ใช่เป็นอิสระแบบเป็นใหญ่แล้วก็ไปรุกรานทำาลาย ไปเบียดเบียนผู้อื่น

    พระพรหมคุณาภรณ์�(ป.�อ.�ปยุตฺโต).�พุทธธรรมกับการฝึกหัดครู.�กรุงเทพฯ�:�

    ศูนย์สื่อและสิ่งพิมพ์แก้วเจ้าจอมมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา,�๒๕๕๑.�หน้า�๔๗-๔๙

    แนวคิดท

    างการศึกษา�ส

    มเด็จ

    พระพ

    ุทธโฆ

    ษาจารย์�(ป

    .�อ.�ปยุตฺโต)

    แนวคิดทางการศึกษาISBN 978-616-478-739-1

    ราคา 200 บาท

    NEW��-�����������������-61-01.indd 1 1/12/2561 14:22:54

  • 00 ���������������������� A(1)-H(8)�����.indd 1 3/29/19 5:19 PM

  • แนวคิดทางการศึกษาสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป. อ. ปยุตฺโต) ผู้เขียน : สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป. อ. ปยุตฺโต) ที่ปรึกษาการจัดพิมพ์ : พระมงคลธีรคุณ (อินศร จินฺตาปญฺโ ) ศ.ร.ท.ดร.บรรจบ บรรณรุจิ รศ.ดร.สมศักดิ์ บุญปู่ ผู้เรียบเรียง : พระครูโอภาสนนทกิตติ์ (ศักดา โอภาโส) พระมหาญาณวัฒน์ ิตวฑฺฒโน (บุดดาวงษ์) หลักสูตรครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพุทธบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ศิลปะและจัดรูปเล่ม : วรศิลป์การพิมพ์89 พิสูจน์อักษร : พุทธวัฒน์ พุทธวงศ์ ออกแบบปก : วรศิลป์การพิมพ์89, ศุขศรีไท พิมพ์ครั้งที่ ๑ : ธันวาคม ๒๕๖๑ ๒,๐๐๐ เลม่ พิมพ์ครั้งที่ ๒ : เมษายน ๒๕๖๒ ๑,๐๐๐ เลม่ ISBN : 978-616-478-739-1 ข้อมูลทางบรรณานุกรม

    พระครูโอภาสนนทกิตติ์ (ศักดา โอภาโส), พระมหาญาณวัฒน์ ฐิตวฑฺฒโน (บุดดาวงษ์). แนวคิดทางการศึกษาสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป. อ. ปยุตฺโต). พิมพ์ครั้งที่ ๒. อ่างทอง : วรศิลป์การพิมพ์89, ๒๕๖๑. พิมพ์ที ่ : โรงพิมพ์วรศิลป์การพิมพ์89 ๑๘/๑ ถนนอ่างทอง-สิงห์บุรี ต าบลตลาดหลวง อ าเภอเมืองอ่างทอง จังหวัดอ่างทอง ๑๔๐๐๐

    กรณีที่ต้องการสั่งซื้อหนังสือจ านวนมาก เพ่ือใช้ในการเรียนการสอน การฝึกอบรม หรือมอบเป็นของขวัญ สามารถติดต่อได้ที่ ๐๙๕-๕๔๒-๖๖๙๕

    ๒๕๖๒.

    00 ���������������������� A(1)-H(8)�����.indd 2 3/29/19 5:19 PM

  • ค ำน ำ พระเดชพระคุณ สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป. อ. ปยุตฺโต) พระมหาเถระผู้เป็นนักปราชญ์

    แห่งยุครัตนโกสินทร์ เป็นเกียรติเป็นศักดิ์ศรี เป็นประดุจเพชรน ้าเอกที่จรัสแสงไปทั่วโลกของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย และเป็นพระมหาเถระผู้มีคุณูปการต่อการศึกษาไทยด้วยการเสนอแนวคิดการจัดการศึกษาบนฐานของพระพุทธศาสนาและวัฒนธรรมไทย

    องค์การยูเนสโกได้ถวายรางวัลการศึกษาเพ่ือสันติภาพแด่สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป. อ. ปยุตฺโต) ในปี พ.ศ. ๒๕๓๗ ครั งนั น สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ทรงเป็นองค์ประธานพิธีเชิดชูเกียรติและแสดงมุทิตาจิต ตรัสพระวรสัมโมทนียกถาว่า “อาตมภาพยินดีที่เมืองไทยได้มีพิธีนี และยินดีเป็นพิเศษที่ได้มาร่วมพิธีด้วย เพราะเป็นพิธีที่ควรแก่ความชื่นชมโสมนัสอย่างยิ่งของคนไทยทั งชาติ ผู้มีบุญได้พบพระพุทธศาสนา มีสมเด็ จพระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า เป็นสมเด็จพระบรมครู ที่ทรงมีพุทธบุตร รูปหนึ่งเป็นเพชรแท้ อยู่ในปัจจุบันนี ท่านเจ้าคุณพระธรรมปิฎก หรือชื่อท่านเจ้าคุณประยุทธ์ของเรา ท่านเป็นผู้สร้างเกียรติยศชื่อเสียงให้แก่เรา ให้แก่ประเทศชาติของเรา ให้แก่คณะสงฆ์ของเราอย่างมาก ที่จริง ก่อนที่องค์การศึกษา วิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติจะถวายรางวัลการศึกษาเพ่ือสันติภาพ ท่านเจ้าคุณท่านก็ เป็นชื่อเสียงเกียรติยศของคนไทย ของไทย ของพระสงฆ์ไทยอยู่ตลอดมาแล้ว เพราะท่านเป็นคนดีจริง เป็นพระดีจริง ผู้ที่รู้จักท่านหรือได้ยินกิตติศักดิ์ชื่อเสียงของท่าน นิยมยกย่องสรรเสริญเป็นอันมาก”๑

    พระพรหมบัณฑิต (ประยูร ธมฺมจิตฺโต) กรรมการมหาเถรสมาคม ได้กล่าวว่า “ถ้าสถาบันสงฆ์และคนไทยร่วมสมัยกับท่านไม่ศึกษาแนวคิดของท่านและน้าไปประยุกต์ใช้ในสังคมไทย ความยิ่งใหญ่ของท่านก็จะไม่ปรากฏชัดในยุคนี คือ ต้องรอให้คนรุ่นหลังมาตระหนักถึงคุณค่าและน้าไปประยุกต์ใช้ในสังคม”๒

    พระราชปริยัติกวี (สมจินต์ สมฺมาปญฺโ ) อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย กล่าวว่า “พระเดชพระคุณ เป็นพระเถระผู้รัตตัญญู เป็นนักปราชญ์แห่งยุค เป็นผู้แตกฉานทั งพุทธศาสตร์และศาสตร์สมัยใหม่ และเป็นผู้ที่นักวิชาการทั งในประเทศและต่างประเทศให้การยอมรับในแนวคิดด้านต่างๆ ผลงานเขียนของท่านเป็นงานเขียนที่มีลักษณะสามารถใช้เป็นหลักฐานอ้างอิงได้ใน

    ๑สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก, “วรสัมโมทนียกถา”, ดูรายละเอียดใน พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต), ค ำปรำศรัยของพระธรรมปิฎก (ป. อ. ปยุตฺโต) ในพิธีรับถวำยรำงวัลกำรศึกษำเพ่ือสันติภำพของยูเนสโก ปี ๒๕๓๗, (กรุงเทพมหานคร : ศูนย์สื่อและสิ่งพิมพ์แก้วเจ้าจอม มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา, ๒๕๕๑), หน้า ๑-๒.

    ๒พระพรหมบัณฑิต (ประยูร ธมฺมจิตฺโต) [เมื่อครั งด้ารงสมณศักด์ิที่ พระเมธีธรรมาภรณ์] ดูรายละเอียดใน พระเมธีธรรมาภรณ์ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต), “นานาทัศนะเกี่ยวกับพระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต)”, ใน นำนำทัศนะเกี่ยวกับพระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต), หน้า ๑๕-๑๖, ๒๖-๒๗.

    ค ำน ำ พระเดชพระคุณ สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป. อ. ปยุตฺโต) พระมหาเถระผู้เป็นนักปราชญ์

    แห่งยุครัตนโกสินทร์ เป็นเกียรติเป็นศักดิ์ศรี เป็นประดุจเพชรน ้าเอกที่จรัสแสงไปทั่วโลกของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย และเป็นพระมหาเถระผู้มีคุณูปการต่อการศึกษาไทยด้วยการเสนอแนวคิดการจัดการศึกษาบนฐานของพระพุทธศาสนาและวัฒนธรรมไทย

    องค์การยูเนสโกได้ถวายรางวัลการศึกษาเพ่ือสันติภาพแด่สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป. อ. ปยุตฺโต) ในปี พ.ศ. ๒๕๓๗ ครั งนั น สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ทรงเป็นองค์ประธานพิธีเชิดชูเกียรติและแสดงมุทิตาจิต ตรัสพระวรสัมโมทนียกถาว่า “อาตมภาพยินดีที่เมืองไทยได้มีพิธีนี และยินดีเป็นพิเศษที่ได้มาร่วมพิธีด้วย เพราะเป็นพิธีที่ควรแก่ความชื่นชมโสมนัสอย่างยิ่งของคนไทยทั งชาติ ผู้มีบุญได้พบพระพุทธศาสนา มีสมเด็ จพระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า เป็นสมเด็จพระบรมครู ที่ทรงมีพุทธบุตร รูปหนึ่งเป็นเพชรแท้ อยู่ในปัจจุบันนี ท่านเจ้าคุณพระธรรมปิฎก หรือชื่อท่านเจ้าคุณประยุทธ์ของเรา ท่านเป็นผู้สร้างเกียรติยศชื่อเสียงให้แก่เรา ให้แก่ประเทศชาติของเรา ให้แก่คณะสงฆ์ของเราอย่างมาก ที่จริง ก่อนที่องค์การศึกษา วิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติจะถวายรางวัลการศึกษาเพ่ือสันติภาพ ท่านเจ้าคุณท่านก็ เป็นชื่อเสียงเกียรติยศของคนไทย ของไทย ของพระสงฆ์ไทยอยู่ตลอดมาแล้ว เพราะท่านเป็นคนดีจริง เป็นพระดีจริง ผู้ที่รู้จักท่านหรือได้ยินกิตติศักดิ์ชื่อเสียงของท่าน นิยมยกย่องสรรเสริญเป็นอันมาก”๑

    พระพรหมบัณฑิต (ประยูร ธมฺมจิตฺโต) กรรมการมหาเถรสมาคม ได้กล่าวว่า “ถ้าสถาบันสงฆ์และคนไทยร่วมสมัยกับท่านไม่ศึกษาแนวคิดของท่านและน้าไปประยุกต์ใช้ในสังคมไทย ความยิ่งใหญ่ของท่านก็จะไม่ปรากฏชัดในยุคนี คือ ต้องรอให้คนรุ่นหลังมาตระหนักถึงคุณค่าและน้าไปประยุกต์ใช้ในสังคม”๒

    พระราชปริยัติกวี (สมจินต์ สมฺมาปญฺโ ) อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย กล่าวว่า “พระเดชพระคุณ เป็นพระเถระผู้รัตตัญญู เป็นนักปราชญ์แห่งยุค เป็นผู้แตกฉานทั งพุทธศาสตร์และศาสตร์สมัยใหม่ และเป็นผู้ที่นักวิชาการทั งในประเทศและต่างประเทศให้การยอมรับในแนวคิดด้านต่างๆ ผลงานเขียนของท่านเป็นงานเขียนที่มีลักษณะสามารถใช้เป็นหลักฐานอ้างอิงได้ใน

    ๑สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก, “วรสัมโมทนียกถา”, ดูรายละเอียดใน พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต), ค ำปรำศรัยของพระธรรมปิฎก (ป. อ. ปยุตฺโต) ในพิธีรับถวำยรำงวัลกำรศึกษำเพ่ือสันติภำพของยูเนสโก ปี ๒๕๓๗, (กรุงเทพมหานคร : ศูนย์สื่อและสิ่งพิมพ์แก้วเจ้าจอม มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา, ๒๕๕๑), หน้า ๑-๒.

    ๒พระพรหมบัณฑิต (ประยูร ธมฺมจิตฺโต) [เมื่อครั งด้ารงสมณศักด์ิที่ พระเมธีธรรมาภรณ์] ดูรายละเอียดใน พระเมธีธรรมาภรณ์ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต), “นานาทัศนะเกี่ยวกับพระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต)”, ใน นำนำทัศนะเกี่ยวกับพระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต), หน้า ๑๕-๑๖, ๒๖-๒๗.

    พระเดชพระคุณ สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป. อ. ปยุตฺโต) พระมหาเถระผู้เป็นนักปราชญ ์

    แห่งยุครัตนโกสินทร์ เป็นเกียรติเป็นศักด์ิศรี เป็นประดุจเพชรนํ้าเอกที่จรัสแสงไปทั่วโลกของ

    มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย และเป็นพระมหาเถระผู้มีคุณูปการต่อการศึกษาไทยด้วย

    การเสนอแนวคิดการจัดการศึกษาบนฐานของพระพุทธศาสนาและวัฒนธรรมไทย

    องค์การยูเนสโกได้ถวายรางวัลการศึกษาเพ่ือสันติภาพแด่สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป. อ.

    ปยุตฺโต) ในปี พ.ศ. ๒๕๓๗ ครั้งนั้น สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก

    ทรงเป็นองค์ประธานพิธีเชิดชูเกียรติและแสดงมุทิตาจิต ตรัสพระวรสัมโมทนียกถาว่า “อาตมภาพ

    ยินดีที่เมืองไทยได้มีพิธีนี้และยินดีเป็นพิเศษที่ได้มาร่วมพิธีด้วย เพราะเป็นพิธีที่ควรแก่ความ

    ชื่นชมโสมนัสอย่างยิ่งของคนไทยท้ังชาติ ผู้มีบุญได้พบพระพุทธศาสนา มีสมเด็จพระบรมศาสดา

    สัมมาสัมพุทธเจ้า เป็นสมเด็จพระบรมครู ที่ทรงมีพุทธบุตร รูปหนึ่งเป็นเพชรแท้ อยู่ในปัจจุบันนี้

    ทา่นเจ้าคณุพระธรรมปิฎก หรอืชือ่ทา่นเจา้คณุประยทุธข์องเรา ทา่นเปน็ผูส้รา้งเกยีรตยิศชือ่เสยีงใหแ้ก่

    เรา ใหแ้ก่ประเทศชาตขิองเรา ให้แกค่ณะสงฆข์องเราอยา่งมาก ทีจ่ริง กอ่นทีอ่งคก์ารศึกษา วทิยาศาสตร์

    และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติจะถวายรางวัลการศึกษาเพ่ือสันติภาพ ท่านเจ้าคุณท่านก็เป็น

    ชื่อเสียงเกียรติยศของคนไทย ของไทย ของพระสงฆ์ไทยอยู่ตลอดมาแล้ว เพราะท่านเป็นคนดีจริง

    เป็นพระดีจริง ผู้ที่รู้จักท่านหรือได้ยินกิตติศักดิ์ชื่อเสียงของท่าน นิยมยกย่องสรรเสริญเป็นอันมาก”๑

    พระพรหมบัณฑิต (ประยูร ธมฺมจิตฺโต) กรรมการมหาเถรสมาคม ได้กล่าวว่า “ถ้าสถาบันสงฆ์

    และคนไทยร่วมสมัยกับท่านไม่ศึกษาแนวคิดของท่านและนําไปประยุกต์ใช้ในสังคมไทย ความยิ่งใหญ่

    ของท่านก็จะไม่ปรากฏชัดในยุคนี้ คือ ต้องรอให้คนรุ่นหลังมาตระหนักถึงคุณค่าและนําไปประยุกต์ใช้

    ในสังคม”๒

    พระราชปริยัติกวี (สมจินต์ สมฺมาปญฺโญ) อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

    กล่าวว่า “พระเดชพระคุณ เป็นพระเถระผู้รัตตัญญู เป็นนักปราชญ์แห่งยุค เป็นผู้แตกฉานท้ัง

    พทุธศาสตรแ์ละศาสตรส์มยัใหม ่และเปน็ผูท้ีน่กัวชิาการทัง้ในประเทศและต่างประเทศใหก้ารยอมรบัใน

    แนวคิดด้านต่างๆ ผลงานเขียนของท่านเป็นงานเขียนที่มีลักษณะสามารถใช้เป็นหลักฐานอ้างอิงได้ใน

    00 ���������������������� A(1)-H(8)�����.indd 3 3/29/19 5:19 PM

  • ทุกกรณี จุดเด่นในการน้าเสนอเรื่องทางวิชาการของพระเดชพระคุณ ถือเป็นมาตรฐานที่นักวิชาการ รุ่นใหม่ต้องถือแบบอย่าง นั่นคือ การเชื่อมโยงหลักวิชาการทางพระพุทธศาสนาเข้ากับหลักวิชาการโลกอย่างกลมกลืน ไม่พูดถึงความแตกต่างหรือความขัดแย้งกันเพียงด้านเดียว แต่จะชี ให้เห็นความเหมือนและความต่าง และจุดที่จะเชื่อมประสานกันได้ เช่น เรื่ องปริญญาทางโลกกับปริญญาทางธรรม แนวความคิดของท่านโดยเฉพาะด้านการศึกษา มีอิทธิพลต่อสังคมไทยมาก นักการศึกษาไทยปัจจุบันล้วนแต่ยึดแนวความคิดของท่านเป็นแม่แบบในการพัฒนาทฤษฎีทางการศึกษาที่เป็นของไทย ผลงานทางวิชาการทั งหมดของท่าน ไม่ใช่เฉพาะด้านการศึกษา ถือเป็นมรดกทางความคิดที่จะตกเป็นสมบัติของชาวโลกตราบชั่วนิรันดร์กาล”๓

    ศาสตราจารย์ ดร.จ้านงค์ ทองประเสริฐ ได้กล่าวไว้ว่า “ท่านเป็นเกียรติ เป็นศักดิ์ศรี เป็นดุจเพชรน ้าเอกที่จรัสแสง ไปทั่วโลกของมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เป็นศิษย์ที่มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยภาคภูมิใจเป็นอย่างยิ่ง เป็นผู้สร้างประวัติศาสตร์ด้านการศึกษาจนชาวโลกได้ยอมรับ คนโบราณมักพูดเสมอว่า ช้างเผือกต้องเกิดในป่า และ เพชรย่อมเกิดในหิน ท่านเจ้าคุณก็เปรียบเสมือนเพชรในหิน ซึ่งไม่มีใครทราบว่าเป็นเพชร มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยนี แหละที่เป็นผู้เจียระไน เพชรในหิน นี ให้เป็นดุจเพชรมณีอันโชติช่วง ส่องแสงแห่งปัญญาให้สว่างไสว ไม่เฉพาะในสังคมไทยเท่านั น หากรวมไปถึงสังคมโลกด้วย”๔

    ศาสตราจารย์กิตติคุณ สุมน อมรวิวัฒน์ ได้กล่าวว่า “ท่านได้มีคุณูปการต่อการรื อปรับระบบการศึกษาไทย ให้นักการศึกษาไทยที่ก้าลังงมงายอยู่กับทฤษฎีของตะวันตกนั นได้ตื่นขึ น รื อปรับการศึกษาใหม่แล้วจัดการศึกษาบนฐานของพระพุทธศาสนาและวัฒนธรรมไทย” ๕

    หนังสือเรื่อง “แนวคิดทางการศึกษาสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป. อ. ปยุตฺโต)” นี เป็นการรวบรวมผลงานนิพนธ์ของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป. อ. ปยุตฺโต) จ้านวน ๔๐ เล่ม (เฉพาะที่สืบค้นได้) ซึ่งได้สรุปตามกรอบของการปฏิรูปการศึกษาของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ คือ ๑) แนวการจัดการศึกษา ๒) การบริหารและการจัดการศึกษา ๓) มาตรฐานและการ

    ๓พระราชปริยัติกวี (สมจินต์ สมฺมาปญฺโ [เมื่อครั งด้ารงสมณศักดิ์ที่ พระมหาสมจินต์ สมฺมาปญฺโ ] ดูรายละเอียดใน พระมหาสมจินต์ สมฺมาปญฺโ , “ทัศนะเกี่ยวกับการศึกษาของพระธรรมปิฎก (ป. อ. ปยุตฺโต) : วิเคราะห์จากหนังสือ ทางสายกลางของการศึกษาไทย”, ใน ชีวิตและผลงำนของพระธรรมปิฎก (ป. อ. ปยุตฺโต) และนำนำทัศนะของนักวิชำกำร, จัดพิมพ์โดย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย , พิมพ์ครั งที่ ๒, (กรุงเทพมหานคร: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๒), หน้า ๔๐-๔๒.

    ๔ศ.จ้านงค์ ทองประเสริฐ, “พระธรรมปิฎกในทัศนะของข้าพเจ้า”, ใน ชีวิตและผลงำนของพระธรรมปิฎก (ป. อ. ปยุตฺโต) และนำนำทัศนะของนักวิชำกำร, จัดพิมพ์โดย มูลนิธิพุทธธรรม, (กรุงเทพมหานคร: สหธรรมิก, ๒๕๓๘), หน้า ๗๕-๗๖.

    ๕ศ.สุมน อมรวิวัฒน์, “นานาทัศนะเกี่ยวกับพระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต)”, ใน นำนำทัศนะเกี่ยวกับพระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต), จัดพิมพ์โดย มูลนิธิพุทธธรรม, (กรุงเทพมหานคร: สหธรรมิก, ๒๕๓๘), หน้า ๑๗๖.

    00 ���������������������� A(1)-H(8)�����.indd 4 3/29/19 5:19 PM

  • ประกันคุณภาพการศึกษา ๔) ครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ๕) ทรัพยากรเพ่ือการศึกษา และ ๖) เทคโนโลยีเพ่ือการศึกษา โดยเป็นการวิเคราะห์ และแปลความตามความเข้าใจของผู้เรียบเรียงที่เห็นว่ามีความสอดคล้องกับกรอบการปฏิรูปการศึกษาทั ง ๖ ด้าน เพราะพระเดชพระคุณ ไม่ได้กล่าวไว้โดยตรง นอกจากนี ในการรวบรวมผลงานนิพนธ์ที่จะน้ามาสังเคราะห์เป็นข้อมูลการวิจัยทั ง ๔๐ เล่มนั น ผู้เรียบเรียงไม่ได้ท้าการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลในหนังสือพุทธธรรม สาเหตุเพราะหนังสือพุทธธรรมเป็นหนังสือที่มีความสมบูรณ์ความบริบูรณ์ในองค์รวมทั งหมด และเนื อหาสาระในหนังสือพุทธธรรมนั นมีความสมบูรณ์ความบริบูรณ์พร้อมที่จะน้ามาประยุกต์หรือบูรณาการกับการศึกษาและการบริหารการศึกษาได้ทั งหมดจนไม่สามารถท่ีจะน้ามาเพียงบางส่วนหรือบางหัวข้อได้

    หนังสือเล่มนี แบ่งออกเป็น ๖ บท ตามกรอบแนวคิดการปฏิรูปการศึกษาของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติทั ง ๖ ด้าน ได้แก่ บทที่ ๑ แนวการจัดการศึกษา บทที่ ๒ การบริหารและการจัดการศึกษา บทที่ ๓ มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา บทที่ ๔ ครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา บทที่ ๕ ทรัพยากรเพ่ือการศึกษา และ บทที่ ๖ เทคโนโลยีเพ่ือการศึกษา ซึ่งหนังสือเล่มนี อาจเป็นประโยชน์ต่อการน้าเป็นข้อมูลในการวิจัย การน้าไปประยุกต์ หรือการน้าไปบูรณาการกับการศึกษา การบริหารการศึกษา และการปฏิรูปการศึกษา ได้บ้างไม่มากก็น้อย อนึ่ง หากผู้อ่านมีความสนใจที่จะศึกษาค้นคว้าข้อมูลเพ่ิมเติมก็สามารถที่จะให้สืบค้นได้ เพราะผู้เรียบเรียงได้อ้างอิงผลงานนิพนธ์เล่มนั นเป็นเชิงอรรถไว้ทุกหัวข้อ

    กราบขอบพระคุณ พระมงคลธีรคุณ (อินศร จินฺตาปญฺโ ) รองเจ้าอาวาสวัดญาณเวศกวัน นครปฐม และเจริญพรขอบคุณ อาจารย์ ศ.ร.ท.ดร.บรรจบ บรรณรุจิ ที่ได้ให้ค้าแนะน้าและข้อเสนอแนะในการจัดพิมพ์หนังสือเล่มนี

    เจริญพรขอบคุณ รศ.ดร.สมศักดิ์ บุญปู่ ผู้อ้านวยการหลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพุทธบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ที่ได้ให้ค้าแนะน้าว่า ควรจัดพิมพ์หนังสือเล่มนี ขึ นเพ่ือเป็นประโยชน์แก่การศึกษาและการบริหารการศึกษา

    ประการสุดท้าย หากหนังสือเล่มนี มีข้อผิดพลาดและข้อบกพร่องประการใด หรือหากมีข้อเสนอแนะประการใด ผู้เรียบเรียงขอน้อมจิตน้อมใจรับไว้ เพ่ือจะได้น้าไปปรับปรุงให้สมบูรณ์ต่อไป

    ผู้เรียบเรียง ธันวาคม ๒๕๖๑

    00 ���������������������� A(1)-H(8)�����.indd 5 3/29/19 5:19 PM

  • 00 ���������������������� A(1)-H(8)�����.indd 6 3/29/19 5:19 PM

  • คำ�นำ�

    บทที่ ๑ แนวก�รจัดก�รศึกษ� ๑

    ความหมายของการศึกษา ๑

    จุดหมายของการศึกษา ๕

    หน้าที่ของการศึกษา ๒๐

    องค์ประกอบของการศึกษา (ปัจจัยแห่งสัมมาทิฏฐิ=กัลยาณมิตร-โยนิโสมนสิการ) ๒๖

    การศึกษากับไตรสิกขา ๓๗

    การศึกษากับชีวิต (สังคมแห่งการเรียนรู้) ๔๖

    การศึกษากับพระพุทธศาสนา ๖๐

    การศึกษากับจริยธรรม ๗๕

    การศึกษากับความสุข ๘๒

    การศึกษากับวิจัย ๙๑

    การศึกษากับวัฒนธรรม ๙๙

    การศึกษากับศิลปศาสตร์ ๑๐๖

    การศึกษากับการแนะแนว ๑๑๐

    การศึกษากับอารยธรรม ๑๑๒

    การศึกษากับประชาธิปไตย ๑๑๔

    การจัดการศึกษาตามแนวคิดตะวันตก ๑๑๖

    การฝึกคิดเป็น ๑๒๘

    การปฏิรูปการศึกษา ๑๓๙

    การจัดการศึกษาให้สังคมไทยได้เรียนศาสนาของตน ๑๔๒

    การศึกษาวิถีพุทธ ๑๔๙

    การบูรณาการพระพุทธศาสนา ๑๕๘

    การสอนจริยธรรม ๑๖๔

    ส�รบัญเรื่อง หน้�

    00 ���������������������� A(1)-H(8)�����.indd 7 3/29/19 5:19 PM

  • บทที่ ๒ ก�รบริห�รและก�รจัดก�รศึกษ� ๑๗๕

    รัฐบาล/กระทรวงศึกษาธิการ ๑๗๕

    สังคม/สื่อมวลชน ๑๘๖

    ชุมชน (บวร) ๑๙๐

    พ่อแม่/ครอบครัว ๑๙๓

    พระสงฆ์/วัด ๒๑๐

    บทที่ ๓ ม�ตรฐ�นและก�รประกันคุณภ�พก�รศึกษ� ๒๑๓

    มาตรฐานการศึกษา (คุณสมบัติผู้ได้รับการศึกษา) ๒๑๓

    การพัฒนาคุณภาพการศึกษา (การพัฒนามนุษย์) ๒๒๙

    บทที่ ๔ ครู คณ�จ�รย์ และบุคล�กรท�งก�รศึกษ� ๒๓๗

    ครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ๒๓๗

    : คุณสมบัติ ๒๓๗

    : บทบาท ๒๔๖

    : หน้าที่ ๒๔๗

    : การสอนให้เรียนรู้ ๒๕๑

    : การสอนแบบการศึกษาจัดตั้ง (ความสุขแบบจัดตั้ง) ๒๕๕

    : การสอนการฝึกสมาธิ ๒๕๗

    : ปัญหาทางการศึกษา ๒๕๙

    การผลิตและพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ๒๖๒

    : : จุดหมายการผลิตและพัฒนา ๒๖๒

    : : การฝึกหัดครู ๒๗๐

    : : ครูจริยศึกษา ๒๗๒

    : : การสร้างคุณสมบัติประจําตัวของผู้สําเร็จการศึกษา ๒๗๗

    บทที่ ๕ ทรัพย�กรเพื่อก�รศึกษ� ๒๘๓

    ทรัพยากร ๒๘๓

    : แนวคิดเกี่ยวกับธรรมชาติ ๒๘๓

    : แนวคิดเกี่ยวกับมนุษย์ ๒๘๙

    การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ๒๙๕

    เรื่อง หน้�

    00 ���������������������� A(1)-H(8)�����.indd 8 3/29/19 5:19 PM

  • : : ความหมายของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ๒๙๕

    : : จุดหมายของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ๒๙๖

    : : การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์กับการศึกษา ๒๙๘

    การพัฒนามนุษย์ ๒๙๙

    : : : ความหมายของการพัฒนามนุษย์ ๒๙๙

    : : : จุดหมายของการพัฒนามนุษย์ ๓๐๑

    : : : การพัฒนามนุษย์ด้านความสุข ๓๐๓

    : : : การพัฒนามนุษย์ตามหลักพระพุทธศาสนา ๓๐๕

    : : : การพัฒนามนุษย์ด้านอื่นๆ ๓๐๗

    บทที่ ๖ เทคโนโลยีเพื่อก�รศึกษ� ๓๑๑

    ความหมายของเทคโนโลยี ๓๑๑

    แนวคิดเกี่ยวกับเทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์ ๓๑๓

    ปัญหาที่เกิดจากเทคโนโลยีและวิธีแก้ไข ๓๑๘

    การศึกษาในยุคเทคโนโลยี ๓๒๑

    สังคมไทยกับเทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์ ๓๒๔

    พระพุทธศาสนากับเทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์ ๓๒๗

    ปัญญาที่ควรสร้างขึ้นในยุคไอที (ยุคข่าวสารข้อมูล) ๓๓๓

    การปฏิบัติต่อเทคโนโลยีให้ถูกต้อง ๓๓๖

    ปัญหาจากการใช้เทคโนโลยีที่ไม่ถูกต้อง ๓๔๐

    การพัฒนาผู้ใช้เทคโนโลยี ๓๔๓

    การพัฒนาผู้ผลิตเทคโนโลยี (การพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อสร้างสรรค์) ๓๔๖

    บรรณน�นุกรม ๓๕๑

    ภ�คผนวก ๓๕๕

    : รายชื่อผลงานนิพนธ์ของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป. อ. ปยุตฺโต) ๓๕๕

    : ประวัติของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป. อ. ปยุตฺโต) ๓๖๙

    : งานวิจัยที่เกี่ยวกับแนวคิดของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป. อ. ปยุตฺโต) ๓๗๕

    เรื่อง หน้�

    00 ���������������������� A(1)-H(8)�����.indd 9 3/29/19 5:19 PM

  • 00 ���������������������� A(1)-H(8)�����.indd 10 3/29/19 5:19 PM

  • แนวคิดทางการศึกษา

    สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป. อ. ปยตฺุโต)

    “คุณสมบัติของผู้มีการศึกษาหรือพัฒนาตนสมบูรณ์แล้วในแง่นี้ ถือตามคุณสมบัติ ๒ ประการของพระพุทธเจ้า ซึ่งชีวิตของคนท่ัวไปก็ควรด าเนินตาม กล่าวคือ

    ๑. อัตตัตถสมบัติ (หรือ อัตตหิตสมบัติ) ความถึงพร้อมหรือสมบูรณ์ด้วยประโยชน์ตน ตัวประโยชน์ที่แท้จริงของชีวิตนั้น ก็คือความเจริญงอกงามของชีวิต ซึ่งช่วยให้ชีวิตเข้าถึงสันติสุขและอิสรภาพ ได้แก่ ความงอกงามแห่งปัญญาและคุณสมบัติต่างๆ ของตัวชีวิตเอง ซึ่งมีความเจริญบริบูรณ์แห่งปัญญา

    ๒. ปรัตถปฏิบัติ (หรือปรหิตปฏิบัติ) การปฏิบัติเพ่ือประโยชน์ของผู้อ่ืน เม่ือพัฒนาชีวิตจนบรรลุประโยชน์ตนโดยสมบูรณ์แล้ว นอกจากตนเองจะด าเนินชีวิตได้ดีแล้ว ก็ยังท าให้เป็นผู้พร้อมที่จะบ าเพ็ญประโยชน์แก่ผู้อ่ืนได้อย่างผลดีด้วย ผู้ที่มีการศึกษาสมบูรณ์จะต้องมีลักษณะการด าเนินชีวิตที่เป็นการปฏิบัติ หรือบ าเพ็ญเพ่ือประโยชน์ผู้อ่ืนด้วย

    คุณธรรมหลักของผู้ที่มีการศึกษา ๒ อย่างคือ ๑. ปัญญา (รู้) เป็นองค์ธรรมแกนของอัตตัตถสมบัติ คือ ความสมบูรณ์พร้อมแห่งประโยชน์ตน

    หรือความเจริญงอกงามของชีวิตที่พัฒนาสมบูรณ์จนเป็นอยู่ได้ด้วยดี มีปัญญาซึ่งสามารถใช้คุณสมบัติอ่ืนๆ ของชีวิตที่พัฒนาพ่วงตามกันมาให้เป็นประโยชน์ได้อย่างเต็มที่ จนเป็นอัตตนาถะ คือ พ่ึงตนเองได้ หรือเป็นที่พ่ึงของตนเองได้ มีความสมบูรณ์ในตัวเอง ปัญญานี้เจริญงอกงามขึ้นมาพร้อมกับความลดน้อยและสูญสิ้นไปของอวิชชา ท าให้ก้าวพ้นจากการอยู่รอดด้วยกิเลส ขึ้นมาสู่การอยู่ดีด้วยปัญญา

    ๒. กรุณา (รัก) เป็นองค์ธรรมแกนของปรัตถปฏิบัติ คือ การปฏิบัติเพื่อประโยชน์ของผู้อ่ืน หรือการช่วยผู้อ่ืนให้พัฒนาชีวิตของเขาเองจนเจริญงอกงามพอที่จะเป็นอยู่ได้ด้วยดี เป็นคุณสมบัติที่ท าให้เป็นโลกนาถะ หรือ ปรนาถะ (เป็นที่พ่ึงของชาวโลกหรือเป็นที่พ่ึงของคนอ่ืนได้) ที่ช่วยให้คนอ่ืนพัฒนาตัวเขาเองจนเป็นอัตตนาถะ (พ่ึงตัวเองได้ หรือเป็นที่พ่ึงของตนได้) ในที่สุด” พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต), การศึกษา เคร่ืองมือพัฒนาที่ยังต้องพัฒนา, พิมพ์ครั้งท่ี ๒, (กรุงเทพฯ : สหธรรมิก, ๒๕๔๑), หน้า ๑๕๗-๑๖๑.

    แทรก ๑ แผ่น ต่อจากสารบญั

    00 ���������������������� A(1)-H(8)�����.indd 11 3/29/19 5:19 PM

  • 00 ���������������������� A(1)-H(8)�����.indd 12 3/29/19 5:19 PM

  • แนวการจัดการศึกษา 1

    บทที่ ๑

    แนวการจัดการศึกษา...........................................................................................

    ความหมายของการศึกษา

    ความหมายของการศึกษา

    คำ�ว่� ศึกษ� เป็นก�รปฏิบัติ ไม่ใช่เล่�เรียน เล่�เรียนเป็นเบื้องต้นของก�รศึกษ� ถ้�พูดให้เต็มก็คือ

    เรียนให้รู้เข้�ใจ และทำ�ให้ทำ�ให้เป็น หรือเรียนรู้และฝึกทำ�ให้ได้ผล จึงจะเรียกว่� ก�รศึกษ� ไม่ใช่เรียนแต่

    เนื้อห�วิช�อย่�งเดียว๑

    คว�มหม�ยอย่�งหนึ่งของก�รศึกษ�ก็คือ เป็นกระบวนก�รพัฒน�ศักยภ�พของมนุษย์ จะเห็นว่�

    วิช�ศิลปศ�สตร์นั้น เป็นวิช�จำ�พวกที่จะพัฒน�ศักยภ�พพ้ืนฐ�นของมนุษย์ เช่น คว�มรู้จักคิด

    คว�มส�ม�รถสื่อส�ร คว�มส�ม�รถในก�รรับรู้และเรียนรู้คือ รับรู้ได้ รับรู้เป็น และรู้จักเรียนรู้ คนที ่

    จะพัฒน�มีก�รศึกษ�ได้นั้นจะต้องเรียนรู้จนกระท่ังเกิดคว�มรอบรู้อย่�งท่ีว่�รับรู้เรียนรู้แล้วก็รอบรู้

    ยิ่งกว่�นั้น จะต้องส�ม�รถสื่อคว�มหม�ยถ่�ยทอดแก่ผู้อื่นอย่�งได้ผลด้วย สิ่งเหล่�นี้ไม่ได้เกิดขึ้นม�

    ลอยๆ ต้องอ�ศัยก�รฝึกฝนพัฒน�และจำ�เป็นต้องพัฒน� เพร�ะเป็นส่วนสำ�คัญของคว�มพร้อมที่จะ

    ดำ�เนินชีวิตและปฏิบัติต่อสภ�พแวดล้อมอย่�งถูกต้อง๒

    ศึกษา แปลว่า เรียน

    เดี๋ยวนี้เข�แปล “ศึกษ�” แบบทับศัพท์ ตรงกับภ�ษ�บ�ลีคือ “สิกข�” ซึ่งแปลว่�เรียนรู้ หรือ

    ฝึกก็ได้ ถ้�มองในแง่เรียนรู้ ก็ดูคล้�ยกับว่� เน้นไปในแง่ของก�รรับคว�มรู้จ�กโลกภ�ยนอก แต่ที่จริง

    มันไม่ใช่แค่รับรู้ ต้องเข้�ใจว่� ในก�รเรียนรู้นั้น สำ�คัญตรงที่เรียน

    “เรียน” นี้หม�ยถึงฝึกตัวเองด้วย แต่ก่อนนั้นเข�ใช้คำ�ว่� “เรียน” คำ�เดียว เพร�ะคำ�ว่�เรียนนี ้

    มันกว้�งกว่� คือ “เรียน” หม�ยคว�มว่� ได้คว�มรู้แล้วก็ฝึกตัวเองให้ทำ�อะไรต่�งๆ ให้เป็น

    ๑พระเทพเวท ี(ประยทุธ ์ปยตุโฺต), หลกัการศึกษาในพระพทุธศาสนา, (กรุงเทพฯ : จฬุ�ลงกรณม์ห�วิทย�ลยั, ๒๕๓๑), หน�้ ๔.๒พระพรหมคุณ�ภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต), ศิลปศาสตร์แนวพุทธ, พิมพ์ครั้งที่ ๕, (กรุงเทพฯ : มูลนิธิพุทธธรรม, ๒๕๕๑),

    หน้� ๕๓-๕๔.

    01 ����������������� 1-174.indd 1 12/3/18 4:21 PM

  • 2 บทที่ 1

    เรียนนี้เน้นที่ก�รกระทำ� เช่นว่�เร�นั่งไม่เป็น ก็เรียนให้นั่งเป็น ก็คือฝึกนั่นเอง ฉะนั้น แต่ก่อน

    เร�จึงแปล “สิกข�” ว่� ฝึก หรือ เรียน แต่เดี๋ยวนี้ม�พูดว่� “เรียนรู้” คือเอ�สองคำ�นี้ม�ผส�นกันเข้�ไป

    แต่ที่จริง “เรียน” นี้ได้ทั้งรู้และได้ทั้งฝึก สมัยก่อนพูดคำ�เดียวว่� “เรียน”๓

    ศึกษา แปลว่า สำาเหนียกสิกข� ในภ�ษ�ไทยเร�ใช้คำ�ว่�ศึกษ� สิกข� เป็นเรื่องก�รฝึกฝน อบรมตน พัฒน�ตนเหมือนกัน

    และเป็นหลักปฏิบัติทั้งหมดในท�งพระพุทธศ�สน�ทีเดียว สมัยโบร�ณแปล สิกข� ว่� สำ�เหนียก คำ�นี้เป็นคำ�เก่� ทุกวันนี้ไม่ค่อยได้ยิน ที่จริงเป็นคำ�ที่ดี

    คำ�หนึ่ง มีคว�มหม�ยลึกซึ้ง สำ�เหนียกหม�ยคว�มว่�อย่�งไร เท่�ที่พอทร�บ สำ�เหนียก หม�ยคว�มว่� รู้จักจับ รู้จักเลือกเอ�ม�ใช้ประโยชน์ เอ�ม�ใช้ฝึกฝนปรับปรุงตน หม�ยคว�มว่� เร�ไปได้ยินได้ฟัง ใครพูด เช่น ม�ฟังป�ฐกถ� ก็รู้จักสำ�เหนียก รู้จักจับ รู้จักเลือกสิ่งที่ดี มีส�ระ สิ่งเป็นประโยชน์ ที่จะเอ�ม� ใช้ในก�รปรับปรุงตนเอง ใช้ประโยชน์เข้�กับตัวเองได้ แล้วหยิบม�ใช้ในก�รปรับปรุงตนเอง นี้เรียกว่�สำ�เหนียก ไม่เฉพ�ะในก�รฟังเท่�นั้น ไม่ว่�จะไปเกี่ยวข้องกับอะไร ถ้�รู้จักสำ�เหนียก ก็จับเลือกได้ เลือกสิ่งที่ดีมีประโยชน์ต่อตนเอง เอ�ม�ใช้ประโยชน์ได้ สำ�เหนียกนี้มีคว�มสำ�คัญม�กทีเดียว เป็นหลักปฏิบัติที่ดี เหม�ะกับคว�มหม�ยของคำ�ว่�ศึกษ� เพร�ะฉะนั้น ศึกษ� คือ สำ�เหนียก

    ในเมื่อศึกษ� แปลว่�สำ�เหนียก แล้ว เร�จะเห็นแง่ของก�รศึกษ�เป็น ๒ อย่�ง คือ๑. ตอนที่เร�สำ�เหนียก เร�จะเลือกเอ�ม�ใช้ประโยชน์ เร�ต้องรู้ต้องเข้�ใจคว�มมุ่งหม�ยว่�

    เร�ต้องก�รเอ�ไปใช้ทำ�อะไรให้เป็นอะไร๒. เร�จะได้อะไร จะเอ�อะไรม� ถ้�เรียกว่�เป็นก�รเรียนรู้ จะเรียนรู้อะไรข้อหนึ่ง คือ เพื่อจะให้เป็นอะไร และข้อสอง คือเพื่อจะให้เป็นอย่�งนั้น จะต้องเอ�อะไรม�ใช้โดยนัยนี้ เรื่องสำ�เหนียกหรือศึกษ�จึงมีส่วนสำ�คัญ ๒ ขั้น๑. ต้องตระหนักชัดมั่นอยู่ในเป้�หม�ยหรือจุดมุ่งหม�ย

    ๒. จับเอ�สิ่งนั้นๆ ที่จะใช้ประโยชน์ม�ให้ได้จับให้ได้ตัวส�ระสำ�คัญ

    ความหมายของการศึกษาคว�มหม�ยของก�รศึกษ�๑. มองในแง่สภ�พที่เผชิญ : ก�รศึกษ� คือก�รแก้ปัญห�ของมนุษย์หรือพูดให้ชัดว่� ก�รทำ�ให้

    ชีวิตแก้ปัญห�ได้ ถ้�ไม่มีปัญห�ก�รศึกษ�ก็ไม่มี (ทุกข์-ทุกขนิโรธ)

    ๒. มองในแง่สภ�พที่ประสบผล : ก�รศึกษ� คือก�รทำ�ให้ชีวิต

    ๓พระพรหมคุณ�ภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต), โลกขึ้นสหัสวรรษใหม่ คนต้องเปลี่ยนแนวคิดใหม่, พิมพ์ครั้งที่ ๗, (กรุงเทพฯ :

    แอคทีฟพริ้น, ๒๕๕๖), หน้� ๑๐.๔พระพรหมคุณ�ภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต), หลักแม่บทของการพัฒนาตน, พิมพ์ครั้งที่ ๑๓, (กรุงเทพฯ : สหธรรมิก, ๒๕๕๕),

    หน้� ๓๘-๔๐.

    01 ����������������� 1-174.indd 2 12/3/18 4:21 PM

  • แนวการจัดการศึกษา 3

    ๒.๑ แง่ลบ : หลุดพ้นจ�กปัญห� ปร�ศจ�กสิ่งบีบคั้นขัดข้อง

    ๒.๒ แง่บวก : เข้�ถึงสิ่งที่ดีง�ม สิ่งที่ประเสริฐหรือดีที่สุดที่ชีวิตพึงได้ มีอิสรภ�พสมบูรณ์

    ๓. มองในแง่คว�มสัมพันธ์ของชีวิตกับปัจจัยแวดล้อม : ก�รศึกษ�คือก�รทำ�ให้มนุษย์ พ้นจ�ก

    ก�รต้องพึ่ง ต้องขึ้นต่อปัจจัยภ�ยนอก มีคว�มสมบูรณ์ในตัวเองม�กยิ่งขึ้นโดยลำ�ดับ๕

    สารัตถะของการศึกษา

    ก�รศึกษ�ที่จะได้ผลดี จะแก้ปัญห�ชีวิตและสังคมได้สำ�เร็จ จะต้องมีคว�มชัดเจนในคว�มหม�ย

    ในคว�มมุ่งหม�ยและในก�รทำ�หน้�ที่ของมัน

    ปัญห�อย่�งหนึ่งในก�รศึกษ� ก็คือ มันมีคว�มหม�ย คว�มมุ่งหม�ย และก�รทำ�หน้�ท่ีไม่ชัดเจน

    แม้ว่�เร�จะส�ม�รถให้คว�มหม�ยและคว�มมุ่งหม�ยของก�รศึกษ�ไปได้ต่�งๆ หล�ยๆ อย่�ง แต่จะใช้ได้

    จรงิกต็อ่เมือ่มคีว�มชดัเจน โดยจะตอ้งมคีว�มหม�ยครอบคลมุทกุด้�น มจีดุหม�ยทีไ่ปถงึสงูสดุว�่อยูท่ีไ่หน

    ชัดเจน และมีองค์ประกอบที่ชี้ท�งปฏิบัติให้เห็นว่� จะทำ�อะไรกันอย่�งไร๖

    การศึกษาที่เกื้อหนุนในการพัฒนาชีวิตของมนุษย์

    ก�รศึกษ�ในคว�มหม�ยที่เร�เอ�ปัจจัยด้�นอื่นๆ ซ่ึงมิใช่เฉพ�ะเศรษฐกิจเท่�นั้น แต่รวมท้ังปัจจัย

    ท�งสังคมอย่�งอื่นๆ ด้วย ม�เกื้อหนุนในก�รพัฒน�ชีวิตของมนุษย์ เพื่อให้มนุษย์มีชีวิตที่เจริญงอกง�ม

    ขึ้น มีคว�มสุขม�กขึ้น มีกิเลสน้อยลง มีทุกข์น้อยลง แล้วก็ส�ม�รถที่จะไปบำ�เพ็ญกิจเพ่ือประโยชน์สุข

    แก่ช�วโลกกว้�งขว�งออกไป

    ไม่ใช่ว่�ยิ่งอยู่ไปก็ยิ่งเพ่ิมพูนกิเลส เพ่ิมพูนทุกข์ แล้วก็เลยต้องห�เอ�ม�ให้แก่ตนม�กยิ่งขึ้น

    ด้วยก�รเบียดเบียนกันขย�ยวงกว้�งใหญ่ขึ้น๗

    ความหมายของการศึกษาที่ผิด

    ถ้�จะให้อ�ชีพนั้นดีเป็นกุศลยิ่งขึ้น ก็ให้ได้อีกขั้นหนึ่ง คือใช้อ�ชีพของตนนั้น เป็นเวทีพัฒน�ตนเอง

    พึงตระหนักไว้ ท่ีพูดกันว่� “ก�รศึกษ�เพ่ืออ�ชีพ” คือเล่�เรียนกันเพื่อจะได้มีวิช�คว�มรู้ไปทำ�ม�ห�กิน

    นั้น เป็นคว�มหม�ยเพียงเศษเสี้ยวของก�รศึกษ� ซึ่งบ�งทีทำ�ให้เข้�ใจผิดว่� ก�รศึกษ�ก็แค่นี้เอง แต่ที่จริง

    ก�รศึกษ�เป็นเรื่องของชีวิตทั้งหมด อย่�งที่พูดม�ม�กแล้ว แม้แต่อ�ชีพเองก็เป็นก�รศึกษ�

    ๕พระพรหมคุณ�ภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต), ปรัชญาการศึกษาของไทย ภาคพุทธธรรม : แกนนำาการศึกษา (ภาคต้นของ

    หนังสือ ปรัชญาการศึกษาของไทย), (กรุงเทพฯ : ผลิธัมม์, ๒๕๕๖), หน้� ๒๕-๒๖.๖พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต), การศึกษา เครื่องมือพัฒนาที่ยังต้องพัฒนา, พิมพ์ครั้งที่ ๒, (กรุงเทพฯ : สหธรรมิก,

    ๒๕๔๑), หน้� ๗๔.๗พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต), การศึกษากับเศรษฐกิจ ฝ่ายไหนจะรับใช้ฝ่ายไหน, (กรุงเทพฯ : สหธรรมิก, ๒๕๔๕),

    หน้� ๒๑.

    01 ����������������� 1-174.indd 3 12/3/18 4:21 PM

  • 4 บทที่ 1

    ที่จริงน้ัน เร�มีอ�ชีพเพื่อก�รศึกษ�ด้วย เร�ควรตั้งเป็นคติประจำ�ใจเลยทีเดียวว่� เร�จะทำ�อ�ชีพ

    ของเร�ให้เป็นก�รศึกษ� หม�ยคว�มว่� เร�จะใช้อ�ชีพเป็นเวทีพัฒน�ชีวิตของเร� ซึ่งจะเป็นเวทีใหญ่

    และจะพัฒน�ได้ม�กจริงๆ เพร�ะว่�อ�ชีพคือชีวิตส่วนใหญ่ของเร� มันกินเวล�ส่วนใหญ่ของชีวิต

    ของเร� เช่นวันละถึง ๘ ชั่วโมง ไม่นับเวล�ที่เดินท�งเตรียมตัวเตรียมก�รและเรื่องเร่งเรื่องประกอบต่�งๆ

    อีกม�กม�ย ถ้�ไม่พัฒน�ชีวิตในเวล�ทำ�อ�ชีพแล้วจะไปพัฒน�เมื่อไร๘

    ความหมายที่ผิดของการศึกษา

    เวล�น้ีเร�มองจริยธรรมเป็นส่วนเศษนิดเดียวของก�รศึกษ� และก�รศึกษ�ที่เร�พูดถึงกันนั้น

    เมื่อมองในแง่ของพุทธศ�สน� ก็เป็นเศษนิดเดียวในระบบก�รศึกษ�ของพุทธศ�สน�เพร�ะก�รศึกษ�

    ปัจจุบันมองพร่�แล้ว

    ก�รศกึษ�ในคว�มหม�ยของคนทัว่ไปจะมองเนน้ไปในเร่ืองของก�รเล่�เรียนวชิ�ชพี ทัง้ๆ ทีน่กัก�ร

    ศึกษ�บอกว่�ไม่ใช่แค่นั้น แต่เวล�จัดก�รศึกษ�ในเชิงปฏิบัติ เร�ก็มักจะเอ�อย่�งนั้น จนกระทั่งช�วบ้�นก็

    มองเป็นอย�่งนัน้ว�่ ก�รศึกษ�คอือะไร คอืไปเล�่เรยีนวิช�ก�ร เพ่ือจะไดเ้อ�ม�ทำ�ม�ห�เลีย้งชพี ตลอดจน

    เอ�ไปเป็นเครื่องมือห�ผลประโยชน์ อย่�งดีก็เอ�ม�พัฒน�เศรษฐกิจพัฒน�สังคม จนกระทั่งไปๆ ม�ๆ

    ตัวคนเองก็กล�ยเป็นทรัพย�กรมนุษย์ รวมแล้ว ก�รศึกษ�จะไปได้แค่ตัววิช�ชีพทำ�ม�ห�กิน๙

    ๘พระพรหมคุณ�ภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต), สยามสามไตร, (กรุงเทพฯ : พิมพ์สวย, ๒๕๕๒), หน้� ๑๐๙-๑๑๐.๙พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต), ถึงเวลา มาร้ือปรับระบบพัฒนาคนกันใหม่, พิมพ์ครั้งที่ ๕, (กรุงเทพฯ : มูลนิธิ

    พุทธธรรม, ๒๕๔๓), หน้� ๓๑.

    01 ����������������� 1-174.indd 4 12/3/18 4:21 PM

  • แนวการจัดการศึกษา 5

    จุดหมายของการศึกษา

    จุดหมายการศึกษาที่มนุษย์พึงมี

    ก�รศึกษ�ท่ีแท้จะต้องถึงส�ระและทันสถ�นก�รณ์ เวล�นี้มนุษยช�ติต้องก�รคนมีคุณภ�พอย่�ง

    เข้มข้น ที่ไม่เพียงจะม�แก้ปัญห� แต่ม�เป็นผู้นำ�โลกออกจ�กท�งที่ผิด และนำ�โลกนำ�สังคมให้เดินไป

    ในทิศท�งที่ถูกต้อง และก้�วไปในก�รสร้�งสรรค์ ที่จะให้สัมฤทธิ์จุดหม�ยในก�รที่มนุษย์จะพึงมี

    “ชีวิตที่สุขเกษมดีง�ม ธรรมช�ติที่รื่นรมย์ และสังคมที่สันติสุข”

    ภ�รกิจนี้รอพิสูจน์ด้วยก�รจัดตั้งก�รศึกษ� ซึ่งพอดีที่จะให้ได้ผลสูงสุด โดยสอดคล้องกับคว�มจริง

    และเท่�ทันคว�มต้องก�รของมนุษย์ อันแตกต่�งหล�กหล�ยต�มระดับของก�รพัฒน�ที่ไม่เท่�กัน๑๐

    ความมุ่งหมายของการศึกษา

    ก�รศึกษ�มีคว�มมุ่งหม�ยประก�รหนึ่ง คือไม่ให้คนเป็นท�สของคว�มเปลี่ยนแปลง แต่ให้เป็น

    ผู้ส�ม�รถนำ�ก�รเปลี่ยนแปลงได้ คือ ให้เป็นอิสระอยู่เหนือก�รถูกกระทบกระแทกชักพ�โดยคว�ม

    เปลี่ยนแปลง และกลับนำ�คว�มรู้เท่�ทัน ต่อเหตุปัจจัยของคว�มเปลี่ยนแปลงนั้น ม�ชี้นำ�จัดสรรคว�ม

    เปลี่ยนแปลงให้เป็นไปในท�งที่เป็นผลดีแก่ตนได้๑๑

    ความมุ่งหมายของการศึกษา

    ปัจจุบันนี้เร�เรียกผู้สำ�เร็จก�รศึกษ�ของเร�ว่�เป็น “บัณฑิต” ก็เลยมีคำ�ตอบอยู่ในตัวว่� คว�ม

    มุ่งหม�ยของก�รศึกษ�ของเร� หรือก�รให้เรียนวิช�ก�รต่�งๆ นั้น ก็เพื่อทำ�คนให้เป็นบัณฑิต หรือ

    ผลิตบัณฑิต เป็นอันว่�มีสองคว�มมุ่งหม�ย คว�มมุ่งหม�ยแรกคือ ทำ�คนให้เป็นบัณฑิตขึ้นม�เป็นหลัก

    แล้วนอกจ�กนั้นก็ให้บัณฑิตมีอุปกรณ์มีเครื่องมือที่จะไปทำ�ประโยชน์ทำ�ง�นได้ผล๑๒

    กล่�วโดยสรุป ก�รทำ�หน้�ที่ที่แบ่งต�มคว�มมุ่งหม�ยของก�รศึกษ� ส�ม�รถแยกออกได้เป็น ๒

    ส่วน ส่วนที่ ๑ คือ ก�รศึกษ�สร้�งคนให้เป็น “บัณฑิต” ผู้มีชีวิตที่ดีง�ม ดำ�เนินชีวิตถูกต้องและเกื้อกูลแก่

    สังคม ส่วนที่ ๒ คือ ก�รศึกษ�ให้ “เครื่องมือ” แก่บัณฑิต เพื่อนำ�ไปใช้ในก�รดำ�เนินชีวิตและบำ�เพ็ญกิจ

    แก่สังคม๑๓

    ๑๐พระพรหมคุณ�ภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต), สยามสามไตร, (กรุงเทพฯ : พิมพ์สวย, ๒๕๕๒), หน้� ๑๔๑.๑๑พระพรหมคุณ�ภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต), ศิลปศาสตร์แนวพุทธ, พิมพ์ครั้งที่ ๕, (กรุงเทพฯ : มูลนิธิพุทธธรรม, ๒๕๕๑),

    หน้� ๔๑.๑๒พระเทพเวท ี(ประยทุธ ์ปยตุโฺต), ความมุง่หมายของวชิาพืน้ฐานทัว่ไป, (กรงุเทพฯ : จฬุ�ลงกรณม์ห�วทิย�ลยั, ๒๕๓๒),

    หน้� ๒-๓.๑๓พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต), การศึกษาเพื่ออารยธรรมที่ยั่งยืน, พิมพ์ครั้งที่ ๔, (กรุงเทพฯ : สหธรรมิก, ๒๕๔๒),

    หน้� ๙-๑๑.

    01 ����������������� 1-174.indd 5 12/3/18 4:21 PM

  • 6 บทที่ 1

    จุดหมายของการศึกษา การประสานประโยชน์ระหว่างชีวิต สังคม และธรรมชาติ

    จุดหม�ยของก�รศึกษ� ในขั้นของก�รดำ�รงอยู่อย่�งประส�นกลมกลืนและเกื้อกูลกันระหว่�ง

    องคร์วมในองคร์วมใหญ ่ซึง่ก�รศึกษ�จะตอ้งพย�ย�มพฒัน�คนใหเ้ข้�ถงึให้ได้ โดยเฉพ�ะในยคุโลก�ภวัิตน ์

    คือจะต้องให้ หนึ่ง บุคคลหรือตัวมนุษย์หมดทั้งชีวิตของเข� (ทั้งก�ยและใจ) สอง สังคม ส�ม สิ่งแวดล้อม

    ท�งธรรมช�ติ เข้�ม�ประส�นประโยชน์กันให้ได้ คือให้อยู่ร่วมกันด้วยดีอย่�งเกื้อกูลกัน

    เม่ือเร�พัฒน�ถูกท�งแล้วก็ประส�นประโยชน์กันทุกอย่�ง สิ่งที่ดีต่อชีวิตก็ดีต่อสังคมและดีต่อ

    ธรรมช�ติ สิ่งที่ดีต่อสังคมก็ดีต่อชีวิตและดีต่อธรรมช�ติด้วย สิ่งที่ดีต่อธรรมช�ติแวดล้อมก็ดีต่อชีวิต

    และสังคมด้วย ถ้�ทำ�ได้อย่�งนี้เมื่อไร ก็เป็นก�รประส�นประโยชน์ทั้งส�มอย่�งแล้ว มนุษย์ก็จะประสบ

    คว�มสำ�เร็จอย่�งแน่นอน สังคมที่ดีง�มก็เกิดขึ้น อันนี้เป็นภ�รกิจที่ท้�ท�ยของก�รศึกษ�๑๔

    จุดหมายของการศึกษาเป็นสิ่งเดียวกับจุดหมายของชีวิต

    ถ้�มีใครถ�มว่� จะศึกษ�ไปเพื่ออะไร ก็เห็นจะตอบได้ง่�ยๆ ว่� ศึกษ�เพื่อประโยชน์แก่ชีวิต

    คำ�ตอบน้ีแม้จะกว้�งสักหน่อยแต่เป็นคำ�ตอบที่ไม่ผิด และช่วยเน้นส�ระสำ�คัญให้เห็นว่�ก�รศึกษ�เป็น

    เรื่องของชีวิตและทำ�เพื่อประโยชน์แก่ชีวิตนั่นเอง ชีวิตมีจุดมุ่งหม�ยอย่�งไร ก�รศึกษ�ก็เพื่อให้ถึง

    จุดหม�ยอย่�งนั้น หม�ยคว�มว่� จุดหม�ยของก�รศึกษ�เป็นสิ่งเดียวกับจุดหม�ยของชีวิต

    ชีวิตมิใช่สิ่งที่เกิดขึ้นโดยมีจุดหม�ยหรือวัตถุประสงค์ และจุดหม�ยก็มิใช่สิ่งที่มีติดม�กับชีวิต

    แต่เป็นสิ่งที่ควรกำ�หนดให้แก่ชีวิต ก�รศึกษ�นั่นเองคือก�รพย�ย�มแสวงห�จุดหม�ยให้แก่ชีวิต ลำ�พัง

    ชีวิตเองก็คือคว�มเป็นอยู่ ชีวิตที่มีจุดหม�ย ก็คือชีวิตที่มีก�รศึกษ�

    ปัญห�เกี่ยวกับวัตถุประสงค์ของชีวิตนั้น มิใช่ก�รแสวงห�คำ�ตอบว่� “คือ” แต่เป็นปัญห�เกี่ยวกับ

    คว�ม “ควร” แทนที่จะตั้งคำ�ถ�มว่� ชีวิตเกิดม�เพ่ืออะไร ซ่ึงไม่มีท�งตอบได้ และไม่มีตัวสภ�วะท่ีเป็น

    คำ�ตอบ �