11
สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์การแพทย์ทหาร (สวพท.) หน่วยสายแพทย์ดีเด่น ตามโครงการเชิดชูเกียรติทหารแพทย์ ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๒ www.afrims.go.th

สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์ ......ในป พ.ศ. ๒๕๐๑ ม การระบาดของอห วาตกโรคข นในประเทศไทย

  • Upload
    others

  • View
    4

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์ ......ในป พ.ศ. ๒๕๐๑ ม การระบาดของอห วาตกโรคข นในประเทศไทย

สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์การแพทย์ทหาร (สวพท.)

หน่วยสายแพทย์ดีเด่น ตามโครงการเชิดชูเกียรติทหารแพทย์ ประจ าปีงบประมาณ ๒๕๖๒

www.afrims.go.th

Page 2: สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์ ......ในป พ.ศ. ๒๕๐๑ ม การระบาดของอห วาตกโรคข นในประเทศไทย

ในปี พ.ศ. ๒๕๐๑ มีการระบาดของอหิวาตกโรคขึ้นในประเทศไทย มีผู้เจ็บป่วยล้มตายนับพันคน จึงมีกลุ่มนักวิทยาศาสตร์จากประเทศสหรัฐอเมริกา ร่วมมือกับนักวิทยาศาสตร์ฝ่ายไทยท าการศึกษาวิจัยหาหนทางแก้ปัญหาเกี่ยวกับเรื่องนี้ ต่อมาคณะมนตรีความมั่นคงขององค์การสนธิสัญญาป้องกันเอเชียอาคเนย์หรือองค์การ สปอ. จึงมีมติให้จัดตั้ง “ห้องปฏิบัติการวิจัยอหิวาตกโรคขององค์การ สปอ. หรือ SEATO Cholera Research Laboratory” ขึ้นในปี ๒๕๐๒ เพื่อค้นคว้าวิจัยเกี่ยวกับปัญหาต่างๆ ในอหิวาตกโรค โดยในระยะแรกได้อาศัยสถานที่ของสถาบันพยาธิวิทยาในการจัดตั้งห้องปฏิบัติการ เมื่อการระบาดของอหิวาตกโรคสงบลง และห้องปฏิบัติการวิจัยอหิวาตกโรคขององค์การ สปอ. มีผลงานวิจัยและผลการปฏิบัติงานเป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวาง คณะมนตรีขององค์การ สปอ . จึงมีมติให้ห้องปฏิบัติการวิจัยอหิวาตกโรคขององค์การ สปอ. แปรสภาพเป็น “โครงการวิจัยทางแพทย์ขององค์การ สปอ.” หรือ “SEATO Medical Research Project” เมื่อ ๒๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๐๓ ซึ่งเป็นหน่วยงานที่ด าเนินการร่วมกันระหว่างหน่วยงานในกระทรวงกลาโหมของไทย และกระทรวงกลาโหมสหรัฐอเมริกา

ต่อมาในปี พ.ศ.๒๕๐๔ รัฐบาลไทย โดยกระทรวงกลาโหม ได้อนุมัติจัดตั้งอัตราเป็น “ส านักงานโครงการวิจัยทางแพทย์ขององค์การ สปอ. หรือ SEATO Lab (สน.วพ.สปอ.)” เป็นส่วนราชการขึ้นตรงต่อส านักผู้บัญชาการทหารสูงสุด กองบัญชาการทหารสูงสุด กระทรวงกลาโหม ประกอบด้วย หน่วยวิจัยฝ่ายไทย และหน่วยวิจัยฝ่ายสหรัฐอเมริกา โดยมี พล.ต. พึ่ง พินทุโยธิน ผู้อ านวยการสถาบันพยาธิวิทยา กรมแพทย์ทหารบก ในขณะนั้น ด ารงต าแหน่งเป็นผู้อ านวยการส านักงานโครงการวิจัยทางแพทย์ขององค์การ สปอ . ส าหรับหน่วยวิจัยฝ่ายสหรัฐอเมริกานั้น LTC Oscar Felsenfeld ได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้บังคับการคนแรก ซึ่งนับเป็นจุดเริ่มต้นก าเนิด “สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์การแพทย์ทหาร” ตั้งแต่บัดนั้น

ปี พ.ศ. ๒๕๒๐ มีการยุบองค์การ สปอ. ท าให้ส านักงานวิจัยทางแพทย์ขององค์การ สปอ. ได้รับการเปลี่ยนชื่อเป็น “สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์การแพทย์ทหาร” หรือ “Armed Forces Research Institute of Medical Sciences” ใช้ชื่อย่อว่า สวพ.ทหาร หรือ AFRIMS โดยยังคงเป็นหน่วยขึ้นตรงต่อส านักผู้บัญชาการทหารสูงสุด ต่อมาได้ปรับโอนเป็นหน่วยขึ้นตรงของกรมแพทย์ทหารบก และศูนย์อ านวยการแพทย์พระมงกุฎเกล้า ตามล าดับ ใช้ชื่อย่อว่า สวพท. จนถึงปัจจุบัน

ประวัติ สวพท.

Page 3: สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์ ......ในป พ.ศ. ๒๕๐๑ ม การระบาดของอห วาตกโรคข นในประเทศไทย

สวพท. มีขอบเขตความรับผิดชอบในการด าเนินงานศึกษาวิจัย และ

พัฒนาทางด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ทหาร การเฝ้าระวังโรคที่เป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติการทางทหาร และความมั่นคงของชาติ เพื่ออนุรักษ์ก าลังพล ด าเนินงานศึกษาวิจัยด้านโรคติดเชื้อ และโรคไม่ติดเชื้อ ที่มีผลต่อสุขภาพของก าลังพลกองทัพบก โดยเฉพาะอย่างยิ่งก าลังพลที่ปฏิบัติหน้าที่ในพื้นที่ฝึกและพื้นที่ปฏิบัติการตามแนวชายแดน ตอบสนองแผนยุทธศาสตร์กรมแพทย์ทหารบกในการมุ่งสู่ความเป็นเลิศในการบริการการแพทย์สนาม มีบทบาทหน้าที่ที่ส าคัญ ดังนี้

เป็นหน่วยวิทยาการหลักที่ให้การสนับสนุนด้านการตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการ ให้บริการตรวจวินิจฉัยโรคติดเชื้อริคเค็ทเซียทางห้องปฏิบัติการ การใช้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศในการวิเคราะห์พื้นที่เพื่อวางแผนเตรียมการเฝ้าระวังโรค จัดต้ังชุดเฉพาะกิจห้องปฏิบัติการเคลื่อนที่เร็วในการเก็บตัวอย่างสิ่งส่งตรวจ มีเครื่องมืออุปกรณ์ที่ทันสมัยด้วยเทคนิคพิเศษเฉพาะในการตรวจโรคติดเชื้ออุบัติใหม่อุบัติซ้ า รวมถึงการศึกษาวิจัยเชื้อโรคที่น ามาใช้เป็นอาวุธชีวภาพ เพื่อให้ได้มาซึ่งข่าวกรองทางการแพทย์ น าไปใช้ในการวางแผนด้านการเวชกรรมป้องกันแก่หน่วยทหาร และการพัฒนาศักยภาพของกองทัพในการป้องกันประเทศจากภัยคุกคามที่เป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติการทางทหาร

บทบาท หน้าที่

มีโครงการศึกษาวิจัยด้านระบาดวิทยาในพื้นที่ทหารเป็นหลัก โดยได้รับงบประมาณสนับสนุนจากกองทัพบก ได้แก่ โครงการเฝ้าระวังโรคมาลาเรียส าหรับทหารที่ปฏิบัติหน้าที่ตามแนวชายแดนและโครงการเฝ้าระวังโรคที่เป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติการทางทหาร จัดบรรยายให้ความรู้แก่ก าลังพลเสนารักษ์ในพื้นที่ให้สามารถตรวจวินิจฉัยขั้นต้นได้ด้วยตนเอง ให้การตรวจทางห้องปฏิบัติการแก่ก าลังพล ท าให้ก าลังพลได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที มีความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอกในการพัฒนาและก าหนดแนวทางการป้องกันโรคติดเชื้อต่าง ๆ รวมทั้งโรคประจ าถิ่นที่เกิดในก าลังพลทหารในพื้นที่ปฏิบัติการ เพื่อน าผลลัพธ์ที่ได้มาใช้เป็นประโยชน์ในการวางแผนด้านยุทธการ และลดการสูญเสียทางธุรการลงได้

Page 4: สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์ ......ในป พ.ศ. ๒๕๐๑ ม การระบาดของอห วาตกโรคข นในประเทศไทย

ศึกษาวิจัยงานด้านยาเสพติดและพิษวิทยา สนับสนุนโครงการหน่วยทหารสีขาว ปฏิบัติการเชิงรุก เก็บปัสสาวะเพื่อตรวจหาสารเสพติดให้กับก าลังพลกองทัพบก ให้บริการตรวจสารเสพติดทางห้องปฏิบัติการ มีการด าเนินโครงการตรวจสุขภาพประจ าปีให้กับก าลังพลกองทัพบก ณ ที่ตั้งหน่วยในเขต กทม. และปริมณฑล เป็นการตรวจทางห้องปฏิบัติการชีวเคมีคลินิก และการตรวจวิเคราะห์ทางจุลทรรศน์ศาสตร์คลินิก ที่ได้การรับรองคุณภาพ ISO 15189:2012 และ ISO 15190:2013 อีกทั้งยังด าเนินงานวิเคราะห์ วิจัย และให้บริการด้านการตรวจอาชีวอนามัยและคุณภาพสิ่งแวดล้อม เฝ้าระวังปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อสุขภาพก าลังพลกองทัพบก ตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ าดื่มน้ าใช้ในหน่วยทหารและหน่วยงานอื่นตามร้องขอ นอกจากนี้ ยังมีการศึกษา วิจัย และพัฒนาเทคนิคทางห้องปฏิบัติการโดยใช้สัตว์ทดลอง เพื่อการศึกษาโรคติดต่อสู่คน การทดสอบยาและวัสดุทางการแพทย์ การศึกษาด้านเภสัชจุลศาสตร์ และการเพาะเลี้ยงเชื้อเพื่อพัฒนาชุดตรวจวินิจฉัยโรคอีกด้วย

จากความมุ่งมั่นและความส าเร็จในการด าเนินงานวิจัยมากมายทั้งในระดับชาติ และระดับสากล ท าให้องค์การอนามัยโลกแต่งตั้งให้ สวพท. เป็นศูนย์ความร่วมมือขององค์การอนามัยโลก ส าหรับการตรวจวินิจฉัยอ้างอิง

การฝึกอบรม และการสอบสวนโรคติดต่ออุบัติใหม่ของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ “WHO-Collaborating Center for Diagnostic Reference, Training and Investigation of Emerging Infectious Diseases”

ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๔๘ เป็นต้นมา

Page 5: สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์ ......ในป พ.ศ. ๒๕๐๑ ม การระบาดของอห วาตกโรคข นในประเทศไทย

[Type a quote from the document or the summary of an interesting

point. You can position the text box anywhere in the document. Use

the Drawing Tools tab to change the formatting of the pull quote text

box.]

สวพท. จัดท า “โครงการพัฒนาห้องปฏิบัติการเพื่อขอการรับรองมาตรฐานในระดับสากล” โดยบรรจุอยู่ในแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติราชการ ในปี ๒๕๕๖ อันมีเป้าหมายให้ทุกห้องปฏิบัติการของสถาบันฯ ได้รับการรับรองมาตรฐานภายใน ปี ๒๕๖๓

การด าเนินงานพัฒนาห้องปฏิบัติการของสถาบันฯ ได้พัฒนาจนได้รับการรับรองความสามารถทางห้องปฏิบัติการตามมาตรฐานสากล ISO 15189: 2007 และมาตรฐานความปลอดภัยทางห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ ISO 15190 จากส านักมาตรฐานห้องปฏิบัติการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ครั้งแรกเมื่อวันที่ ๕ มิถุนายน ๒๕๕๗ โดยมีขอบข่ายการรับรอง ๓ รายการ ส าหรับห้องปฏิบัติการตรวจวินิจฉัยโรคริคเค็ทเซีย ได้แก่ การตรวจวินิจฉัย Scrub Typhus, Murine Typhus และ Tick Typhus

ในปี ๒๕๕๙ มีการเปลี่ยนแปลงมาตรฐานการรับรอง จาก ISO 15189: 2007 เป็น ISO 15189: 2012 ตามข้อบังคับของส านักมาตรฐานห้องปฏิบัติการฯ จึงมีการแก้ไขปรับปรุงเอกสารคุณภาพ และเอกสารที่เกี่ยวข้องต่างๆ ให้เหมาะสมสอดคล้องกับข้อก าหนด พร้อมกันนี้ ได้จัดให้มีการอบรมทบทวนการใช้เอกสารคุณภาพที่ปรับปรุงใหม่ และประชุมชี้แจงการรับส่งสิ่งส่งตรวจที่สอดคล้องกับวิธีปฏิบัติงานให้แก่ผู้รับบริการ

จากผลการประเมินความสามารถห้องปฏิบัติการโดยส านักมาตรฐานห้องปฏิบัติการครั้งที่ ๒ ในปี ๒๕๕๙ นั้น ห้องปฏิบัติการของ สวพท. ได้รับการรับรองความสามารถส าหรับการขอต่ออายุห้องปฏิบัติการ รวมทั้งสิ้น ๘ รายการ ได้แก่ ห้องปฏิบัติการตรวจวินิจฉัยโรคริคเค็ทเซีย จ านวน ๓ รายการ และการขยายขอบข่ายการรับรองส าหรับห้องปฏิบัติการตรวจวิเคราะห์ยาเสพติด ๔ รายการ และห้องปฏิบัติการจุลทรรศน์ศาสตร์คลินิก ๑ รายการ และในปี ๒๕๖๑ ซึ่งเป็นการประเมินความสามารถครั้งที่ ๓ ห้องปฏิบัติการของ สวพท. ได้รับการรับรองความสามารถห้องปฏิบัติการเดิมทั้งหมด ๓ ห้องปฏิบัติการ รวม ๘ รายการ และได้ขยายขอบข่ายเพิ่มเติมอีก ๑ ห้องปฏิบัติการ คือ ห้องปฏิบัติการชีวเคมี จ านวน ๑๐ รายการ รวมรายการตรวจวิเคราะห์เพิ่มเป็น ๑๘ รายการ

การพัฒนาเกณฑม์าตรฐานสากล (๒ ปีย้อนหลัง)

Page 6: สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์ ......ในป พ.ศ. ๒๕๐๑ ม การระบาดของอห วาตกโรคข นในประเทศไทย

๑. ผลงานวิจัยเรื่อง “โครงการการศึกษาแมลงพาหะและสัตว์น าโรคก่อเชื้อริคเค็ทเซีย ในพื้นที่ปฏิบัติการทางทหารตามแนวชายแดน” ได้รับรางวัลชนะเลิศ จากการประกวดนวัตกรรมของกระทรวงกลาโหมด้านหลักการ เมื่อวันที่ ๒๔ สิงหาคม ๒๕๕๙ ณ กรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกลาโหม

๒. ผลงานสิ่งประดิษฐ์ “ชุดตรวจวินิจฉัยโรคสครับไทฟัส dot-ELISA โดยใช้แอนติเจนสังเคราะห์” ได้รับรางวัลชนะเลิศ จากการประกวดนวัตกรรมของกระทรวงกลาโหมด้านยุทโธปกรณ์ เมื่อวันที่ ๒๔ สิงหาคม ๒๕๕๙ ณ กรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกลาโหม

๓. ผลงานวิจัยเรื่อง “นวัตกรรมการผลิต Recombinant 56 kDa Protein Antigens จากเชื้อก่อโรคสครับไทฟัส สายพันธุ์มาตรฐาน และสายพันธุ์ประจ าถิ่นประเทศไทย” ได้รับรางวัลชนะเลิศ จากการประกวดผลงานสิ่งประดิษฐ์คิดค้นทางการแพทย์ ในงานประชุมวิชาการโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า ครั้งที่ ๔๔ เมื่อวันที่ ๒๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๙

๔. การจัดอบรมให้ความรู้เรื่อง รู้ทันโรคติดเชื้อไวรัสซิกา ให้แก่ แม่บ้านทหารบกทั่วประเทศ เมื่อวันที่ ๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ ณ วิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้า

๕. จัดกิจกรรมรณรงค์ให้ความรู้เรื่องโรคที่มียุงเป็นพาหะน าโรค ให้แก่ชุมชนวัดมะกอก ใน วันยุงโลก เมื่อวันที่ ๒๐ สิงหาคม ๒๕๖๐ (๒๐ สิงหาคม ของทุกป)ี

๖. จัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพสัตว์เลี้ยงด้วยการให้ความรู้โรคพิษสุนัขบ้า และฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าแก่สัตว์เลี้ยงในชุมชนทหาร ในพื้นที่เสี่ยง ในพื้นที่พลเรือนใกล้เคียง ตามโครงการสัตว์ปลอดโรคคนปลอดภัยจากโรคพิษสุนัขบ้า เมื่อวันที่ ๘ มีนาคม ๒๕๖๐ และวันที่ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๖๐ ณ กรมพลาธิการทหารบก และชุมชนวัดมะกอก ตามล าดับ

๗. การส ารวจหาเชื้อเลปโตสไปราในพื้นที่เสี่ยงรอบแปลงนาสาธิตการเกษตร รร .จปร. เพื่อถวายความปลอดภัยทางการแพทย์แด่ พล.อ.หญิง สมเด็จพระขนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา เจ้าฟ้ามหาจักรีสิรินธร ซึ่งเสด็จแปลงนาสาธิตเกษตร รร.จปร. เพื่อทรงปลูกข้าวและทรงเกี่ยวข้าวเป็นประจ าทุกปี โดย พ.อ.หญิง ดวงพร พูลสุขสมบัติ จาก กองวิเคราะห์ สวพท. ได้ถวายรายงานในเรื่องการส ารวจหาเชื้อ เลปโตสไปรา ในพื้นที่เสี่ยงรอบๆแปลงนาสาธิตเกษตร รร.จปร นี้ ในการประชุมวิชาการนานาชาติ International Conference of Military Medicine Schools (ICMMS 2017) ครั้งที่ ๒ ณ วิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้า

๘. ผลงานวิจัยเรื่อง “The Optimal Cut-off Points of Waist Circumference of Metabolic Syndrome in Royal Thai Army Personnel in Bangkok and Suburban” ได้รับรางวัลชมเชย ประเภทนิพนธ์ต้นฉบับ ในงานประชุมวิชาการโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า ครั้งที่ ๔๔ เมื่อวันที่ ๒๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๙

๙. การพัฒนาคุณภาพห้องปฏิบัติการ ได้รับการรับรองมาตรฐาน ISO 15189:2012 และ ISO 15190:2013 จาก ส านักมาตรฐานห้องปฏิบัติการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุขอย่างต่อเนื่องในปี ๒๕๖๐ ส าหรับห้องปฏิบัติการตรวจวินิจฉัยโรคติดเชื้อริคเค็ทเซีย ห้องปฏิบัติการชีวเคมีคลินิก ห้องปฏิบัติการโลหิตวิทยา และห้องปฏิบัติการจุลทรรศนศาสตร์คลินิก ส่วนห้องปฏิบัติการยาเสพติดและพิษวิทยา นั้น ปี ๒๕๖๐ นี้ถือว่าเป็นปีแรกที่ได้ผ่านการรับรองความสามารถตามมาตรฐานดังกล่าว

ผลงานในระดับดีเด่น (๒ ปี ย้อนหลัง)

Page 7: สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์ ......ในป พ.ศ. ๒๕๐๑ ม การระบาดของอห วาตกโรคข นในประเทศไทย

๑๐. โครงการ “การค้นหาโปรตีนชนิดใหม่ของเชื้อเลปโตสไปราสายพันธุ์ก่อโรคที่จับกับ Factor H complement regulator (fHps) เพื่อน ามาพัฒนาเป็นวัคซีนส าหรับโรคเลปโตสไปโรซิส” ได้รับรางวัลผลงานดีเด่น ในงานประชุมวิชาการโรคเลปโตสไปโรซิส ประจ าปี ๒๕๖๑ จัดเมื่อวันที่ ๑๒-๑๓ กรกฎาคม ๒๕๖๑ ณ โรงแรมเซ็นทาราและคอนเวนชันเซ็นเตอร์ จังหวัดอุดรธานี ๑๑. ผลงานเรื่อง “Thai Fever Risk Map: the Online Medical Warning Tool for Arthropod-borne Diseases in Thailand” เป็นความร่วมมือในการพัฒนา application ผ่านระบบ internet ระหว่างกองทัพบก โดย สวพท. และส านักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (GISTDA) ใช้เพื่อแจ้งเตือนโรคไข้น าโดยแมลง และให้ความรู้ ทั้งอาการ สาเหตุ พาหะ ในพื้นที่เสียงทั่วประเทศไทย และสามารถน าไปใช้ได้ทั้งหน่วยทหารในพื้นที่การฝึก และ ประชาชนทั่วไปในสถานที่ท่องเที่ยวตามธรรมชาติ การพัฒนานี้เป็นความร่วมมือ ๑๒. การพัฒนา “ต้นแบบการก าจัดโรคไข้มาลาเรียในพื้นที่ปฏิบัติการทางทหารจังหวัดศรีสะเกษ (Malaria Elimination Model in Military Areas of Operation, Srisaket Province)” เป็นความร่วมมือในการพัฒนานวัตกรรมระหว่างภาคีเครือข่ายกับกระทรวงสาธารณสุข และหน่วยวิจัยของสถาบันการศึกษา ตามแผนการก าจัดโรคไข้มาลาเรียประเทศไทย ๒๕๖๐-๒๕๖๙

๑๓. การตรวจวัดสิ่งแวดล้อมภายในโรงพยาบาลสนาม กองทัพบก บริเวณงานอุ่นไอรัก ๒๕๖๑ ด าเนินการประเมินและตรวจวัดสิ่งแวดล้อม ด้านปริมาณก๊าซในอากาศ และด้านกายภาพ พร้อมทั้งให้ค าแนะน าเพื่อการปรับปรุงให้เหมาะสม และปลอดภัย

รางวัลหน่วยงานที่ได้รับ ๑. รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ ประเภท การพัฒนาการบริการที่เป็นเลิศ

ในระดับ ดี ในหัวข้อ “การตรวจและรักษามาลาเรียเบ็ดเสร็จ” ปี พ.ศ.๒๕๕๘ มอบโดย ส านักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.)

๒. รางวัลประกาศกองทัพบก เรื่อง “ชมเชยในการปฏิบัติหน้าท่ี” ทุกปีตั้งแต ่ปี พ.ศ. ๒๕๕๘ – ๒๕๖๑ จากการที่ สวพท. เป็นหน่วยที่มีผลประเมินอยู่ในเกณฑ์ดีเยี่ยม จากส านักงานตรวจสอบภายในทหารบก มอบโดย กองทัพบก

๓. รางวัลหน่วยวิจัยดีเด่นด้านหลักการ ประจ าปี พ.ศ. ๒๕๕๘ มอบโดย กองทัพบก และกระทรวงกลาโหม

๔. รางวัลประกาศเกียรติคุณตามโครงการบัญชีใสสะอาด ปี พ.ศ. ๒๕๖๐ มอบโดย กรมการเงินทหารบก

Page 8: สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์ ......ในป พ.ศ. ๒๕๐๑ ม การระบาดของอห วาตกโรคข นในประเทศไทย

สวพท. ด าเนินการจัดท าแผนยุทธศาสตร์ ครั้งที่ ๒ ระยะ ๕ ปี (ปี ๒๕๕๖-๒๕๖๐) และครั้งที่ ๓ ระยะ ๕ ปี (ปี ๒๕๖๑-๒๕๖๕) รวมถึงมีการจัดท าแผนราชการประจ าปี มีการทบทวน ปรับปรุง และพัฒนาแผนการปฏิบัติอย่างต่อเนื่องตามวงรอบการปฏิบัติเพื่อความเหมาะสมตามนโยบายและแผนยุทธศาสตร์ของหน่วยเหนือ ทันสมัยต่อเหตุการณ์ และสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไป เพื่อใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาองค์กรอย่างมีระบบ มีเป้าหมาย และให้มีการบริหารจัดการที่ดี เป็นไปตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖ และสอดคล้องกับเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ (TQA) ซึ่งมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพการปฏิบัติงาน

ปัจจุบันวิสัยทัศน์ของ สวพท. (พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๖๕) คือ “เป็นเลิศด้านวิจัยทางการแพทย์ทหาร เป็นที่ยอมรับในระดับประเทศและภูมิภาค”

ความส าเร็จตามแผนปฏิบัติราชการท่ีเกี่ยวพันกับยุทธศาสตร์ พบ. (๒ ปี ย้อนหลัง)

ผลส าเร็จของการด าเนินการตามแผนปฏิบัติราชการของ สวพท. ได้สนับสนุนตัวชี้วัดตามยุทธศาสตร์ พบ. ปี ๖๐ และปี ๖๑ โดยตอบสนองเป้าประสงค์ในมิติการพัฒนาองค์กร และมิติด้านประสิทธิผล ดังนี้ จ านวนผลงานวิจัย ส่งประดิษฐ์ นวัตกรรม : สวพท. มีจ านวนผลงานวิจัยที่ส าเร็จ บรรลุ

ตามแผนปฏิบัติการ มีผลงานน าเสนอ และตีพิมพ์ในเอกสารวิชาการ ตามเป้าหมายที่ก าหนดไว้

จ านวนกิจกรรม โครงการส่งเสริมการวิจัย/นวัตกรรม และ R2R ทางการแพทย์ บรรลุเป้าหมายตามแผนประจ าปี ๖๐ จ านวน ๓ รายการ คือ การจัดประชุมวิชาการนานาชาติ การเสริมสร้างความร่วมมือระหว่างพลเรือน

และทหารเพื่อเร่งรัดก าจัดมาลาเรียในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ การเดินทางไปเยี่ยมชมดูงานของคณะผู้บริหาร สวพท. เพื่อการพัฒนาและสร้าง

ความร่วมมือด้านการวิจัย ณ กรุงวอชิงตันดีซี สหรัฐอเมริกา การพัฒนานักวิจัยโดยการฝึกศึกษาดูงาน ณ ศูนย์วิจัยวิทยาศาสตร์การแพทย์

ทหารเรือ มลรัฐแมรีแลนด์ สหรัฐอเมริกา ระดับความส าเร็จของการจัดท ารายงานและรับการนิเทศ ปี ๖๑ ของ สวพท. เป็นไป

ตามเป้าหมายของโครงการพัฒนาสมรรถนะก าลังพลเหล่าแพทย์ ในระดับที่ ๓ จ านวนผลงานวิจัย สิ่งประดิษฐ์ นวัตกรรม ของ สวพท. รวม ๑๙ รายการ เป็นไปตาม

เป้าหมายที่ก าหนดไว้ จ านวนกิจกรรม โครงการส่งเสริมการวิจัย/นวัตกรรม และ R2R ทางการแพทย์ บรรลุ

เป้าหมายตามแผนประจ าปี ๖๑ จ านวน ๔ รายการ จ านวนรางวัลจากหน่วยงานภายนอก ที่ สวพท. ได้รับ จ านวน ๒ รางวัล ได้แก่ รางวัล

ใสสะอาด ในระดับดีมาก จากกรมการเงินทหารบก และรางวัลชมเชยผลการประเมินจากส านักตรวจสอบภายในกองทัพบก จากที่ สวพท. เป็นหน่วยที่มีผลการประเมินอยู่ในเกณฑ์ดีเยี่ยม

การพัฒนาผลการด าเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการของหน่วย (๓ ปีย้อนหลัง)

Page 9: สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์ ......ในป พ.ศ. ๒๕๐๑ ม การระบาดของอห วาตกโรคข นในประเทศไทย

สวัสดิการและการพัฒนาคุณภาพชีวิต ของก าลังพล สวพท.

ด้านการศึกษา

มอบทุนการศึกษาให้บุตรของก าลังพล ไดแ้ก่ ทุน ทบ. จ านวน ๔ ทนุ, ทุน ททบ. จ านวน ๔ ทุน,

ทุน ทบ. (มหาวิทยาลยัของรัฐ) จ านวน ๑ ทนุ, ทุนออมสิน จ านวน ๒ ทุน, และทุนสหกรณ์ออมทรัพย์

วังพญาไท จ านวน ๑๒ ทุน มอบเงินให้ก าลังพลที่ส าเร็จการศึกษาทุกระดับ

ตามสาขาที่หน่วยก าหนดและลาศึกษาอย่างถูกต้อง จัดสัมมนานอกสถานที่เพื่อประโยชน์ทางวิชาการ

และการสันทนาการ ปีละ ๑ ครั้ง จัดสรรทุนสนับสนุนก าลังพลเพื่อเข้ารับการศึกษาต่อใน

ระดับปริญญาโทและปริญญาเอก จัดสรรทุนสนับสนุนก าลังพลที่ได้รับการตอบรับเข้าร่วม

ประชุมทางวิชาการและการฝึกอบรมในต่างประเทศ ด้านการฌาปนกิจสงเคราะห ์ เงินช่วยเหลือก าลังพลที่ถึงแก่กรรม จ านวน ๕,๐๐๐

บาท พร้อมพวงหรีด

เ งิ นช่ วย เหลือครอบครั วก าลั งพลที่ ถึ ง แก่ กรรม (ครอบครัวสายตรง คือ บิดา มารดา สามี ภรรยา และบุตร) จ านวน ๒,๐๐๐ บาท พร้อมพวงหรีด

ด้านสุขภาพ และการรักษาพยาบาล เงินช่วยเหลือก าลังพลที่นอนพักรักษาในโรงพยาบาล

ไม่น้อยกว่า ๓ วัน เงินช่วยเหลือก าลังพลที่ประสบอุบัติเหตุจนถึง

ทุพพลภาพบางส่วนหรือโดยสิ้นเชิง จ านวน ๕,๐๐๐ บาท

การท าประกันชีวิตให้กับก าลังพลที่เดินทางไปราชการต่างจังหวัดทุกนาย

จัดห้องปฐมพยาบาลและยาเวชภัณฑ์เบื้องต้น ดูแลก าลังพลที่ได้รับบาดเจ็บจากอุบัติเหตุจากการท างานและฉีดวัคซีนให้วัคซีนป้องกันไวรัสตับอักเสบบีให้กับเจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการ และวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่ให้ก าลังพล

ให้การตรวจร่างกายประจ าปีให้แก่ก าลังพลและครอบครัวเป็นประจ าทุกปี

Page 10: สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์ ......ในป พ.ศ. ๒๕๐๑ ม การระบาดของอห วาตกโรคข นในประเทศไทย

สวัสดิการและการพัฒนาคุณภาพชีวิต ของก าลังพล สวพท.

ด้านการบันเทิงและสันทนาการ จัดเลี้ยงก าลังพลในงานวันขึ้นปีใหม่ และ

มอบของขวัญปีใหม่ จัดเลี้ยงในงานวันสงกรานต์ และงานวัน

สถาปนาหน่วย

การสงเคราะห์ข้าราชการและก าลังพลด้านอื่นๆ จัดเลี้ยงอาหารกลางวันแก่ก าลังพลทุกวัน เงินช่วยเหลือก าลังพลที่สมรสและอุปสมบท

ตามระเบียบการลาอุปสมบท จ านวน ๑,๐๐๐ บาท

เงินช่วยเหลือก าลังพลที่เกษียณอายุราชการ จ านวน ๓,๐๐๐ บาท

มอบเครื่องหมายยศ จ านวน ๒ ชุด และของขวัญให้กับก าลังพลที่ได้รับพระราชทานยศสูงขึ้น

ท าการชุบเครื่องหมายทหารให้ก าลังพล จ านวน ๒ ชุด ต่อปี

การตัดชุดปฏิบัติงานให้แก่ก าลังพลทุกนาย

ด้านการเคหะสงเคราะห ์ จัดสวัสดิการบ้านพักตามสิทธิก าลังพล ตาม

โควตาที่ได้รับจากหน่วยเหนือ เงินช่วยเหลือซ่อมแซมบ้านพักก าลังพลที่

ประสบภัยพิบัติหรือภัยธรรมชาติ จ านวน ๓,๐๐๐ บาท

ด้านการกีฬา จัดห้องออกก าลังกายให้กับก าลังพล เพื่อ

สุ ข ภ า พ ที่ แ ข็ ง แ ร ง ต า มน โ ย บ า ย ขอ งกองทัพบก “smart man smart soldier” โดยได้รับการสนับสนุนเครื่องออกก าลังกายจาก กองทัพบก

จัดตั้งชมรมปิงปอง และแบดมินตัน สวพท. เพื่อสุขภาพ ส่งเสริมการออกก าลังกาย

มอบรางวัลแก่ผู้ที่สามารถ ลด BMI ในโครงการ สวพท.ลด BMI เพื่อห่างไกลโรค

มอบชุดวอร์ม เสื้อกีฬา

Page 11: สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์ ......ในป พ.ศ. ๒๕๐๑ ม การระบาดของอห วาตกโรคข นในประเทศไทย

“เป็นเลิศด้านวิจัยทางการแพทย์ทหาร เป็นที่ยอมรับในระดับประเทศและภูมิภาค”

315/6 ถนนราชวิถี เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400

โทร. 0 2354 5309 โทรสาร 0 2354 5309

www.afrims.go.th