2
ลําดับที 31 ฝ่ ายบริหารคลัสเตอร์และโปรแกรมวิจัย (CPM) โทร. 02 564 6700 ต่อ 3449 (ธนพร) e-mail : [email protected] ปรับปรุงครั งที 1 : .. 55 ต่อด้านหลัง อ้อยเป็นพืชเศรษฐกิจที่สําคัญ ใช้เป็นวัตถุดิบใน อุตสาหกรรมการผลิตน้ําตาลและพลังงานทดแทน ปัจจุบัน ประเทศไทยมีพื้นที่ปลูกอ้อย 6-7 ล้านไร่ ให้ผลผลิตอ้อยรวม 60-70 ล้านตัน ค่าเฉลี่ยของผลผลิตอ้อย 8-11 ตันต่อไร่ แต่ละปี ให้มูลค่าทางเศรษฐกิจของอุตสาหกรรมทั้งระบบ ไม่น้อยกว่า 7 หมื่นล้านบาท เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศคู่แข่งที่สําคัญ เช่น บราซิล และออสเตรเลีย ให้ค่าเฉลี่ยผลผลิตอ้อย 13-15 ตันต่อไร่ การปรับปรุงพันธุ์อ้อยที่ให้ผลผลิตอ้อยและความหวานสูง จึงเป็น หนทางหนึ่งที่ช่วยลดต้นทุนการผลิตของชาวไร่อ้อย สนับสนุน อุตสาหกรรมอ้อยและนําตาลทรายในประเทศให้แข่งขันกับ ประเทศผู้ส่งออกรายใหญ่ของโลกได้ โดยพันธุ์อ้อยที่ดีต้องให้ ผลผลิตสูงและความหวานสูง ต้านทานต่อโรคและแมลง มีลักษณะทางการเกษตรที่ดี เช่น ไว้ตอได้หลายครั้ง ทนทานต่อ การหักล้มไม่ออกดอก เป็นต้น และปรับตัวได้ดีในแหล่งปลูกอ้อยทีสําคัญในแต่ละภูมิภาค เพื่อให้มีอ้อยพันธุ์ดีส่งเสริมชาวไร่อ้อย อย่างต่อเนื่อง สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) สนับสนุนการวิจัยและพัฒนาพันธุ์อ้อยที่เหมาะสมกับ สภาพพื้นที่ปลูกพันธุ์อ้อยทางการค้าของไทย โดยมีฐานพันธุกรรม มาจากพันธุ์อ้อยต่างประเทศเพียง 23 พันธุ์ และเมื่อสืบประวัติ ย้อนหลังไปหลายๆ ชั่วการผสมพันธุ์ พบว่าพันธุ์อ้อยเหล่านี้มี ฐานพันธุกรรมมาจากแหล่งเดียวกันที่มีความสัมพันธ์กันมาก ให้ความสําคัญกับความหลากหลายทางพันธุกรรมของพันธุ์อ้อยที่เป็น ปัจจัยสําคัญมีผลต่อความสําเร็จของการปรับปรุงพันธุ์อ้อย โดยอ้อยแต่ละพันธุ์มีลักษณะทางการเกษตรดีเด่นแตกต่างกันไป นักปรับปรุงพันธุ์จึงพยายามนําลักษณะดีเด่นในแต่ละพันธุมารวมอยู่ในอ้อยพันธุ์เดียวกัน สวทช. สนับสนุน รศ.ประเสริฐ ฉัตรวชิระวงษ์ จาก มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกําแพงแสน ดําเนิน โครงการประเมินเชื้อพันธุกรรมอ้อย และการปรับปรุงพันธุ์อ้อย โดยรวบรวมเชื้อพันธุกรรมอ้อยทั้งในและต่างประเทศ อ้อยพันธุการค้า อ้อยพื้นเมือง อ้อยป่าและพืชสกุลใกล้เคียง ได้ทั้งสิ้น 2,559 โคลน เป็นพันธุ์อ้อยจากต่างประเทศ 431 โคลน พันธุ์อ้อย ในประเทศ 1,973 โคลน พันธุ์อ้อยป่าและพืชสกุลใกล้เคียง 155 โคลน ตรวจสอบพันธุกรรมโดยใช้เครื่องหมายโมเลกุลจําแนกอ้อยเป็น 47 กลุ่ม เป็นพันธุ์อ้อยที่เก็บรวบรวมหลัก 300 โคลน ทั้งหมดรวบรวมไว้ทีสถานีผสมพันธุ์อ้อยบ้านทิพุเย ต.ชะแล อ.ทองผาภูมิ จ.กาญจนบุรี ซึ่งเป็นพื้นที่ที่มีสภาพอากาศเหมาะสมต่อการออกดอกของอ้อย ทุกพันธุ์ ในแต่ละปีโครงการฯ ดําเนินการผสมพันธุ์ได้เมล็ดพันธุอ้อยไม่น้อยกว่า 1,500 คู่ผสม เมื่อนําเมล็ดอ้อยไปเพาะได้ต้นกล้า 70,000-150,000 ต้น เชื้อพันธุกรรมอ้อยที่ได้เก็บรวบรวมไว้สามารถ สืบประวัติย้อนหลังได้ 3-5 ชั่วการผสมพันธุ์ ทําให้ทราบ ความสัมพันธ์ทางเครือญาติของอ้อยแต่ละพันธุ์กับบรรพบุรุษ ดั้งเดิมและชนิดอ้อย ข้อมูลลักษณะทางการเกษตรและสัณฐาน วิทยา และระบบฐานข้อมูลการผสมพันธุ์อ้อยที่ให้ข้อมูลคู่ผสมพันธุช่วงเวลาการออกดอก การเพาะเมล็ด และความดีเด่นของอ้อยใน แต่ละคู่ผสมพันธุการวิจัยและพัฒนาพันธุ์อ้อย สถานีผสมพันธุ์อ้อยบ้านทิพุเย ต.ชะแล .ทองผาภูมิ จ.กาญจนบุร กระโจมผสมพันธุ์อ้อย มีมากกว่า 750 กระโจม การจับคู่ช่อดอกอ้อยเพื่อ การผสมพันธุ์ภายในกระโจม ระบบน้ําชลประทานแบบฉีดฝอยใน แปลงรวบรวมเชื้อพันธุกรรมอ้อย ต้นกล้าอ้อยอายุ 12 วัน หลังงอก

การวิจัยและพัฒนาพันธุ์อ้อยwaa.inter.nstda.or.th/stks/pub/2012/20121203-31...พธ อ+(ยนาตาล อายุ 8 เด&(น

  • Upload
    others

  • View
    2

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: การวิจัยและพัฒนาพันธุ์อ้อยwaa.inter.nstda.or.th/stks/pub/2012/20121203-31...พธ อ+(ยนาตาล อายุ 8 เด&(น

ลาดบท 31

ฝายบรหารคลสเตอรและโปรแกรมวจย (CPM)

โทร. 02 564 6700 ตอ 3449 (ธนพร) e-mail : [email protected] ปรบปรงคร� งท 1 : พ.ย. 55

ตอดานหลง

ออย เ ปนพช เศรษฐ กจ ทส า คญ ใ ช เ ปน วต ถดบใน

อตสาหกรรมการผลตนาตาลและพลงงานทดแทน ปจจบนประเทศไทยมพนทปลกออย 6-7 ลานไร ใหผลผลตออยรวม 60-70 ลานตน คาเฉลยของผลผลตออย 8-11 ตนตอไร แตละปใหมลคาทางเศรษฐกจของอตสาหกรรมทงระบบ ไมนอยกวา 7 หมนลานบาท เมอเปรยบเทยบกบประเทศคแขงทสาคญ เชน บราซล และออสเตรเลย ใหคาเฉลยผลผลตออย 13-15 ตนตอไร การปรบปรงพนธออยทใหผลผลตออยและความหวานสง จงเปนหนทางหนงทชวยลดตนทนการผลตของชาวไรออย สนบสนนอตสาหกรรมออยและนาตาลทรายในประเทศใหแขงขนกบประเทศผสงออกรายใหญของโลกได โดยพนธออยทดตองให ผลผลตสงและความหวานสง ตานทานตอโรคและแมลง มลกษณะทางการเกษตรทด เชน ไวตอไดหลายครง ทนทานตอการหกลมไมออกดอก เปนตน และปรบตวไดดในแหลงปลกออยทสาคญในแตละภมภาค เพอใหมออยพนธดสงเสรมชาวไรออยอยางตอเนอง

สานกงานพฒนาวทยาศาสตรและเทคโนโลยแหงชาต (สวทช.) สนบสนนการวจยและพฒนาพนธออยทเหมาะสมกบสภาพพนทปลกพนธออยทางการคาของไทย โดยมฐานพนธกรรมมาจากพนธออยตางประเทศเพยง 23 พนธ และเมอสบประวตยอนหลงไปหลายๆ ชวการผสมพนธ พบวาพนธออยเหลานม ฐานพนธกรรมมาจากแหลงเดยวกนทมความสมพนธกนมาก ใหความสาคญกบความหลากหลายทางพนธกรรมของพนธออยทเปนปจจยสาคญมผลตอความสาเรจของการปรบปรงพนธออย โดยออยแตละพนธมลกษณะทางการเกษตรดเดนแตกตางกนไป นกปรบปรงพนธจงพยายามนาลกษณะดเดนในแตละพนธ มารวมอยในออยพนธเดยวกน

สวทช. สนบสนน รศ.ประเสรฐ ฉตรวชระวงษ จาก

มหาวทยาลยเกษตรศาสตร วทยาเขตกาแพงแสน ดาเนนโครงการประเมนเชอพนธกรรมออย และการปรบปรงพนธออย โดยรวบรวมเชอพนธกรรมออยทงในและตางประเทศ ออยพนธการคา ออยพนเมอง ออยปาและพชสกลใกลเคยง ไดทงสน 2,559 โคลน เปนพนธออยจากตางประเทศ 431 โคลน พนธออยในประเทศ 1,973 โคลน พนธออยปาและพชสกลใกลเคยง 155 โคลน ตรวจสอบพนธกรรมโดยใชเครองหมายโมเลกลจาแนกออยเปน 47 กลม เปนพนธออยทเกบรวบรวมหลก 300 โคลน ทงหมดรวบรวมไวทสถานผสมพนธออยบานทพเย ต.ชะแล อ.ทองผาภม จ.กาญจนบร ซงเปนพนททมสภาพอากาศเหมาะสมตอการออกดอกของออย ทกพนธ ในแตละปโครงการฯ ดาเนนการผสมพนธไดเมลดพนธออยไมนอยกวา 1,500 คผสม เมอนาเมลดออยไปเพาะไดตนกลา 70,000-150,000 ตน เชอพนธกรรมออยทไดเกบรวบรวมไวสามารถสบประวตย อนหล งได 3-5 ช วการผสมพนธ ทาใหทราบความสมพนธทางเครอญาตของออยแตละพนธกบบรรพบรษดงเดมและชนดออย ขอมลลกษณะทางการเกษตรและสณฐานวทยา และระบบฐานขอมลการผสมพนธออยทใหขอมลคผสมพนธ ชวงเวลาการออกดอก การเพาะเมลด และความดเดนของออยในแตละคผสมพนธ

การวจยและพฒนาพนธออย

สถานผสมพนธออยบานทพเย ต.ชะแล อ.ทองผาภม จ.กาญจนบร

กระโจมผสมพนธออย มมากกวา 750 กระโจม

การจบคชอดอกออยเพอ การผสมพนธภายในกระโจม

ระบบนาชลประทานแบบฉดฝอยในแปลงรวบรวมเชอพนธกรรมออย

ตนกลาออยอาย 12 วน หลงงอก

Page 2: การวิจัยและพัฒนาพันธุ์อ้อยwaa.inter.nstda.or.th/stks/pub/2012/20121203-31...พธ อ+(ยนาตาล อายุ 8 เด&(น

ฝายบรหารคลสเตอรและโปรแกรมวจย (CPM)

โทร. 02 564 6700 ตอ 3449 (ธนพร) e-mail : [email protected] ปรบปรงคร� งท 1 : พ.ย. 55

ลาดบท 31

เชอพนธกรรมออยทงหมดรองรบการผสมพนธเพอพฒนา

พนธออย 3 ชนด คอ การปรบปรงพนธออยนาตาล ใหมผลผลตออยและความหวานสง มปรมาณแปงตา ตานทานตอโรคและแมลง ไวตอไดหลายครง และปรบตวไดด ในแหลงปลกออยทสาคญของประเทศ เหมาะสาหรบใชเปนวตถดบในอตสาหกรรมการผลตนาตาล การปรบปรงพนธออยพลงงาน ใหไดพนธออยใหมๆ ทใ หผลผลตเอทานอลและเสนใยสง ใ ชสนบสนนอตสาหกรรมด านพล งงานโดยตรง โดยนาออยนาเขาสกระบวนการผลตเอทานอล และมปรมาณชานออยมากเพยงพอทจะใชในโรงไฟฟาชวมวล ออยชนดนเจรญเตบโตเรว เกบเกยวผลผลตไดทก 8 เดอน และการปรบปรงพนธออยอาหารสตว ใหไดพนธออยชนดใหมทเจรญเตบโตรวดเรว ใหผลผลตชวมวลสง เกบเกยวผลผลตไดทก 4 เดอน ใชเปนพชอาหารหยาบทางเลอกหนงในอตสาหกรรมการผลตโคเนอและโคนม

ลกษณะ ออยนาตาล ออยพลงงาน ออยอาหารสตว

ผลผลตออย - เขตชลประทาน 18-25 ตน/ไร 25-40 ตน/ไร 25-30 ตน/ไร - เขตอาศยนาฝน 10-15 ตน/ไร/ป 15-20 ตน/ไร/ป 15-20 ตน/ไร/ป

อายเกบเกยว 12 เดอน (1 ป เกบเกยวได 1ครง) 8 เดอน (2 ปเกบเกยวได 3 ครง) อาย 4 เดอน (1 ปเกบเกยวได 4 ครง)

ความหวาน 23-25 บรกซ 20-22 บรกซ 8-10 บรกซ

ปรมาณเสนใย 10-14 เปอรเซนต 16-18 เปอรเซนต 15-20 เปอรเซนต

ขนาดลา ปานกลางถงใหญ ปานกลาง มเปลอกแขง เลก และออนนม

การแตกกอ 10,000-12,000 ลา/ไร 23,000-28,000 ลา/ไร 25,000-35,000 ลา/ไร

การไวตอ 3-5 ครง 6-10 ครง 6-10 ครง

การใชประโยชน นาออยใชผลตนาตาล นาออยใชผลตเอทานอลโดยตรง สวนเสนใยใชเ ปนเชอเพลงผลตกระแสไฟฟา

ลาตนและใบใชเปนอาหารหยาบทงในรปออยสด และหมก สาหรบ เลยงโคเนอและโคนม

ลกษณะทสาคญอนๆ - ใหผลผลตเปนนาตาลซโครสสง แตมเสนใยปานกลาง จงเหมาะสาหรบอตสาหกรรมนาตาล

- นาออยมปรมาณแปงตา - พนธออยปรบตวไดดในแหลง

ปลกออยทสาคญทวประเทศ

- สะสมนาตาลเรวภายใน 8 เดอน และมปรมาณเสนใยมาก - เ ก บ เก ย ว ผลผ ล ต ไ ดหลายตอ

ชวยลดตนทน - ทนแลง และทนนาทวม สามารถ

ปลกไดอยางกวางขวางทวประเทศ

- สามารถสร างทรงพมใบไดเรวและ มปรมาณมาก

- ลาตนและใบออนนมทาใหสตวชอบกน มโปรตน 5% และสตวสามารถยอยไดด

- ทนแลง และทนนาทวม สามารถปลกไดอยางกวางขวางทวประเทศ

เวบไซต http://cropthai.ku.ac.th

ระบบฐานขอมลพนธออย ทางการคาทเผยแพรผาน ทางเครอขายอนเทอรเนต

พนธออยพลงงาน อาย 8 เดอน พนธออยนาตาล อาย 8 เดอน พนธออยอาหารสตว ตอท 3 อาย 3 เดอนหลงเกบเกยว