157
รายงานฉบับสมบูรณ โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงาน ทดแทนและอนุรักษพลังงานเพื่อสนับสนุนกิจกรรม ศูนยศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ โดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ฉบับศูนยศึกษาฯ (ศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอันเนื่องมาจากพระราชดําริ) ประจําปงบประมาณ 2558

รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

  • Upload
    others

  • View
    9

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

รายงานฉบับสมบูรณ

โครงการศึกษาศกัยภาพและแนวทางการพฒันาพลงังาน

ทดแทนและอนุรักษพลงังานเพือ่สนับสนนุกิจกรรม

ศูนยศึกษาการพฒันาอันเนือ่งมาจากพระราชดําริ

โดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

ฉบับศูนยศึกษาฯ

(ศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอันเนื่องมาจากพระราชดําริ)

ประจําปงบประมาณ 2558

Page 2: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสรุนารี 111 ตําบลสุรนารี อําเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา 30000

โทรศัพท: 0-4422-5007 0-4422-5045 โทรสาร: 044-225046

Page 3: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

รายงานฉบับศูนยศึกษาฯ

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงาน

ทดแทนและอนุรักษพลังงานเพ่ือสนับสนุนกิจกรรมศูนยศึกษา

การพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ

เสนอ

ศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอันเน่ืองมาจากพระราชดําร ิ

เสนอโดย

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี และ

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน

ประจําปงบประมาณ 2558

Page 4: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

i

สารบัญ

บทท่ี หนา

1 บทนํา 1-1

1.1 หลักการและเหตุผล 1-1

1.2 วัตถุประสงค 1-2

1.3 ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ 1-2

2 ขอบเขตการดําเนินงาน 2-1

2.1 ขอบเขตการดําเนินงาน 2-1

2.2 ประเด็นการศึกษา 2-1

3 แนวคิด กลยุทธ และวิธีการศึกษา 3-1

4 ขอมูลพ้ืนฐานศูนยศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําร ิ 4-1

4.1 ศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอันเนื่องมาจากพระราชดําร ิ 4-1

5 เทคโนโลยีพลังงานทดแทนท้ัง 5 ดาน 5-1

5.1

5.2

5.3

5.4

5.5

พลังงานลม

พลังงานน้ํา

พลังงานแกสชีวภาพ

พลังงานแสงอาทิตย

พลังงานชีวมวล

5-1

5-4

5-7

5-10

5-13

6 ขอมูลการสํารวจศักยภาพพลังงานทดแทนท้ัง 5 ดาน 6-1

6.1 ศักยภาพพลังงานลม 6-2

6.2 ศักยภาพพลังงานแสงอาทิตย 6-2

6.3

6.4

6.5

ศักยภาพพลังงานน้ําขนาดเล็ก

ศักยภาพพลังงานแกสชีวภาพ

ศักยภาพพลังงานชีวมวล

6-3

6-7

6-8

6.6 สรุปศักยภาพพลังงานทดแทนของศูนยศึกษาฯ 6 แหง 6-10

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 5: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

ii

สารบัญ (ตอ)

บทท่ี หนา

7 ขอมูลสํารวจการใชพลังงานของศูนยศึกษาฯ 7-1

7.1 ขอมูลการใชพลังงานไฟฟา 7-1

7.2

7.3

ขอมูลการใชพลังงานเชื้อเพลิง

ขอมูลระบบผลิตพลังงานทดแทน

7-2

7-3

8 การประเมินความเหมาะสมเทคโนโลยีพลังงานทดแทน 8-1

8.1 การประเมินความเหมาะสม 8-2

8.2 สรุปการประเมินความเหมาะสมของเทคโนโลยีพลังงานทดแทน 8-3

9 การสํารวจออกแบบเบื้องตนและการวิเคราะหทางเศรษฐศาสตร 9-1

9.1 การศึกษาความเหมาะสมทางดานวิศวกรรมและเทคโนโลยีการผลิตไฟฟาจาก

เซลลแสงอาทิตย

9-1

9.2 การกําหนดขนาดกําลังผลิตติดตั้ง 9-4

9.3 ผลการสํารวจออกแบบ 9-5

9.4 การประเมินพลังงานไฟฟาท่ีผลิตได 9-7

9.5 การประเมินราคาของระบบผลิตไฟฟาและอุปกรณประกอบ 9-8

9.6 การวิเคราะหทางเศรษฐศาสตร 9-9

10 การศึกษาผลกระทบทางสิ่งแวดลอมและชุมชนเบื้องตน 10-1

10.1 การประเมินผลกระทบทางดานสิ่งแวดลอมของระบบผลิตไฟฟาดวยเซลล

แสงอาทิตย

10-1

10.2 การศึกษาผลกระทบดานชุมชน 10-3

11 แนวทางการอนุรักษพลังงานในศูนยศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ 11-1

11.1 ศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอันเนื่องมาจากพระราชดําร ิ 11-2

12 การจัดประชุมชี้แจงผลการศึกษา 12-1

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 6: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

iii

สารบัญ (ตอ)

บทท่ี หนา

13 สรุปและขอเสนอแนะ 13-1

13.1 ขอมูลศูนยศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ 13-1

13.2 ศักยภาพและความเหมาะสมของพลังงานทดแทน 13-2

13.3 แนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทน 13-4

13.4 แนวทางการอนุรักษพลังงาน 13-6

13.5 ขอเสนอแนะ 13-7

14 เอกสารอางอิง 14-1

ภาคผนวก

ภาคผนวก ก แบบแผนผังเครื่องใชไฟฟาภายในอาคารศูนยศึกษาฯภูพาน จ.สกลนคร ก-1

ภาคผนวก ข แนวทางการดําเนินการเก่ียวกับการประกอบกิจการพลังงาน ข-1

ภาคผนวก ค ใบลงทะเบียนการประชุมชี้แจงผลการศึกษา ค-1

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 7: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

1-1

บทท่ี 1

บทนํา

1.1 หลักการและเหตุผล

ดวยรัฐบาลไดมอบหมายใหกระทรวงพลังงานจัดทําแผนการพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงาน

ทางเลือก หรือ Alternative Energy Development Plan (AEDP) เพ่ือเปนการกําหนดกรอบและทิศ

ทางการพัฒนาพลังงานทดแทนของประเทศ โดยมีเปาหมายสําคัญ คือ เพ่ิมสัดสวนการใชพลังงานทดแทน

ใหไดอยางนอย รอยละ 25 ของการใชพลังงานข้ันสุดทายของท้ังประเทศใน 10 ป (พ.ศ.2555 – 2564)

โดยมีวัตถุประสงคในการลดคาใชจายการนําเขาน้ํามันจากตางประเทศ ลดความเสี่ยงจากการพ่ึงพากาซ

ธรรมชาติในการผลิตไฟฟาท่ีมากเกินไป และลดปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจก

การสงเสริมใหมีการพัฒนาพลังงานทดแทนในระดับชุมชนหรือทองถ่ินตางๆ ถือเปนการสนับสนุนแนว

ทางการสงเสริมใหมีการใชพลังงานทดแทนตามเปาหมายท่ีไดกลาวมาขางตน กรมพัฒนาพลังงานทดแทน

และอนุรักษพลังงาน (พพ.) เปนหนวยงานหลัก ภายใตกระทรวงพลังงาน ท่ีเขามากํากับดูแล และพัฒนา

โครงการดานพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก เพ่ือสนับสนุนใหแผน AEDP บรรลุตามเปาหมายท่ีไว

วางไว โดย กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน ไดพัฒนาแผนงานหลักดานพลังงานทดแทน

และพลังงานทางเลือก คือ โครงการสนับสนุนเพ่ือการศึกษาความเปนไปไดของโครงการสถานีผลิตพลังงาน

สีเขียว Distributed-Green-Generation: DGG ซ่ึงหนึ่งในแผนงานหลักนี้ คือ โครงการศึกษาความเปนไป

ไดและความเหมาะสมของการสรางสถานีผลิตพลังงานทดแทนในพ้ืนท่ีศูนยศึกษาการพัฒนาตนเอง

เนื่องมาจากพระราชดําริ 6 แหง ดวย กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน พิจาณาเห็นแลววา

โครงการดังกลาวนี้ จะเปนกลไกหนึ่งในการสนับสนุนแผนยุทธศาสตรดานพลังงานทดแทนได

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงมีพระราชหฤทัยมุงม่ันท่ีจะแกไขปญหาความเดือดรอนของราษฎร

เสมือนหนึ่งเปนความทุกขของพระองค พระองคทรงใหความสําคัญอยางยิ่งตอการสงเสริมความรูในเรื่อง

การทําการเกษตรอยางมีหลักวิชาการ ใชเทคโนโลยีการเกษตรสมัยใหม การพัฒนาเทคโนโลยีพลังงาน

ทดแทนในชุมชน โดยเนนใหเกษตรสามารถนําไปปฏิบัติท่ีเปนจริงได พระองคทรงใชพระอัจฉริยภาพในดาน

ตางๆ พระราชทานโครงการ อันเนื่องมาจากพระราชดําริ เพ่ือประโยชนสุข แกทุกชีวิตในประเทศไทย

ตลอดมา พระองคทรงวางแผนพัฒนา ทรงเสนอแนะใหรัฐบาลรวมดําเนินการตามพระราชดําริ ศูนยศึกษา

การพัฒนาตนเองเนื่องมาจากพระราชดําริ ใน 6 แหง กระจายอยูท่ัวทุกภูมิภาคของประเทศไทย เปนอีก

หนึ่งของโครงการในพระราชดําริ

ดังกลาว การสงเสริมใหเกิดความเขมแข็งสําหรับประชาชน เกษตรกรในพ้ืนท่ี ของศูนยศึกษาการ

พัฒนาตนเองเนื่องมาจากพระราชดําริ ใน 6 แหง ในดานพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก จะเปน

การสนับสนุนใหชุมชนมีความเขมแข็ง สามารถพ่ึงพาตนเองไดในดานพลังงานทดแทนในชุมชน ซ่ึงจะ

เชื่อมโยงไปถึงความม่ันคงดานเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม ภายในชุมชนอยางยั่งยืนตอไป

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 8: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

1-2

1.2 วัตถุประสงค

1) เพ่ือทําการศึกษาขอมูลประสิทธิภาพการใชพลังงาน และศึกษาขอมูลศักยภาพดานพลังงาน

ทดแทน ของศูนยศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ 6 แหง

2) เพ่ือวิเคราะหและประเมินประสิทธิภาพการใชพลังงาน และศักยภาพดานพลังงานทดแทนของ

ศูนยศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ 6 แหง

3) เพ่ือทําการศึกษาแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงานของศูนยศึกษาการ

พัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ 6 แหง ในดานตางๆประกอบดวย ดานเทคนิคทางวิศวกรรม ดาน

ปริมาณพลังงานท่ีคาดวาจะผลิต/ประหยดั ได ดานเศรษฐศาสตร และดานผลกระทบสิ่งแวดลอมเบื้องตน

1.3 ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ

1) ไดผลการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงานของศูนย

ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ 6 แหง

2) ไดขอเสนอแนะ กรอบ และรูปแบบการดําเนินงาน ตัวชี้วัดท่ีเหมาะสมของโครงการในระยะตอไป

ท้ังเชิงปริมาณ และ คุณภาพ รวมถึงงบประมาณท่ีเหมาะสม จากการประเมินผลกระทบ

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 9: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

2-1

บทท่ี 2

ขอบเขตการดําเนินงาน

2.1 ขอบเขตการดําเนินงาน

ทําการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน เพ่ือสนับสนุน

กิจกรรมศูนยการศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ ท้ัง 6 แหง

1) ศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอันเนื่องมาจากพระราชดําริ จังหวัดฉะเชิงเทรา

2) ศูนยศึกษาการพัฒนาหวยทรายอันเนื่องมาจากพระราชดําริ จังหวัดเพชรบุรี

3) ศูนยศึกษาการพัฒนาอาวคุงกระเบนอันเนื่องมาจากพระราชดําริ จังหวัดจันทบุรี

4) ศูนยศึกษาการพัฒนาภูพานอันเนื่องมาจากพระราชดําริ จังหวัดสกลนคร

5) ศูนยศึกษาการพัฒนาหวยฮองไครอันเนื่องมาจากพระราชดําริ จังหวัดเชียงใหม

6) ศูนยศึกษาการพัฒนาพิกุลทองอันเนื่องมาจากพระราชดําริ จังหวัดนราธิวาส

2.2 ประเด็นการศึกษา

2.2.1 การศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน

1) ศึกษาขอมูลเบื้องตนของศูนยศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริท้ัง 6 แหง

ประกอบดวยขอมูลดานความเปนมา วิสัยทัศน พันธกิจ พ้ืนท่ีดําเนินการ หนวยงานรับผิดชอบ การ

ดําเนินงานของศูนยฯ และแผนยุทธศาสตร

2) ศึกษาและสํารวจขอมูลการใชพลังงานของศูนย ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจาก

พระราชดําริท้ัง 6 แหง เพ่ือใชเปนแนวทางในการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน ดังนี้

- ขอมูลการใชพลังงานไฟฟาภายในศูนยศึกษาฯ เชน พลังงานไฟฟาสําหรับไฟสองสวาง

อุปกรณไฟฟาสํานักงาน และอุปกรณไฟฟาอ่ืนๆ เปนตน

- ขอมูลการใชพลังงานในรูปแบบอ่ืนๆ ท่ีเปนการสนับสนุนกิจกรรมของศูนยศึกษาฯ เชน

การใชพลังงานความรอน การใชแกสเชื้อเพลิง และการใชน้ํามันเชื้อเพลิง เปนตน

- ขอมูลเก่ียวกับระบบผลิตพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงานท่ีศูนยศึกษาฯ เคย

ดําเนินการหรือกําลังดําเนินการอยู

3) ศึกษา รวบรวมขอมูล สํารวจพ้ืนท่ี เพ่ือวิเคราะหศักยภาพพลังงานทดแทนของศูนยศึกษา

การพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ ท้ัง 6 แหง ซ่ึงประกอบดวย พลังงานแสงอาทิตย พลังงานลม

พลังงานน้ําขนาดเล็ก พลังงานแกสชีวภาพ และพลังงานชีวมวล

ศูนยความเปนเลิศทางดานชวีมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 10: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

2-2

4) ศึกษาแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน อันประกอบดวย ดาน

เทคนิคทางวิศวกรรม ดานปริมาณพลังงานท่ีคาดวาจะผลิต/ประหยัด ได ดานเศรษฐศาสตร และดาน

ผลกระทบสิ่งแวดลอมเบื้องตน

- ศึกษาความเหมาะสมทางดานวิศวกรรม และเทคโนโลยีการผลิตพลังงาน/อนุรักษ

พลังงาน

- ศึกษาวิเคราะหความคุมคาทางเศรษฐศาสตร ปริมาณพลังงานท่ีคาดวาจะผลิต/ประหยัด

ได วิเคราะหตนทุน (Capital Cost) วิเคราะหความเปนไปไดทางการเงินของโครงการ ตนทุนการผลิต และ

ระยะเวลาคุมทุน

- ศึกษาความเปนไปไดดานสิ่งแวดลอมและชุมชน

- งานสํารวจออกแบบระบบผลิตพลังงาน/อนุรักษพลังงานเบื้องตน

ศูนยความเปนเลิศทางดานชวีมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 11: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

3-1

บทท่ี 3

แนวคิด กลยุทธ และวิธีการศึกษา

ท่ีปรึกษาฯ จะดําเนินงานใหเปนไปตามขอบเขตและกรอบ ตามท่ี กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและ

อนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน ไดกําหนดไดอยางครบถวน โดยการดําเนินโครงการนี้ จะใชองคความรู

จากการพัฒนางานวิจัยดานชีวมวลและพลังงานทดแทน ของศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล ท่ีได

ดําเนินงานมามากกวา 10 ป มาใชใหเกิดประโยชนสูงสุดกับโครงการฯ ดังแสดงในรูปท่ี 3-1

รูปท่ี 3-1 การใชประโยชนจากองคความรูและงานวิจัยท่ีผานมา

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 12: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

3-2

ท้ังนี้การดําเนินโครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงานเพ่ือสนับสนุนกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ ท้ัง 6 แหง มีข้ันตอนการดําเนินการ ดังแสดงในรูปท่ี 3-2

รูปท่ี 3-2 ข้ันตอนการดําเนินโครงการ

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ

พลังงานเพ่ือสนับสนุนกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ

ศึกษา สํารวจขอมลูของศูนยศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ 6 แหง

ศึกษาแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนรุักษพลังงาน

ศึกษา รวบรวมขอมูล เพ่ือนําไปใชวิเคราะหศักยภาพพลังงานทดแทน

แสงอาทิตย ลม นํ้าขนาดเล็ก ชีวมวล แกสชีวภาพ

การศึกษาความเหมาะสมทางดานวิศวกรรมและเทคโนโลย ี

การศึกษาวิเคราะหความคุมคาทางเศรษฐศาสตร

งานสํารวจออกแบบระบบผลิตพลงังาน/อนุรักษพลังงานเบ้ืองตน

ศึกษาความเปนไปไดดานสิ่งแวดลอมและชุมชน

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 13: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

3-3

รูปท่ี 3-3 ข้ันตอนการดําเนินโครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ

พลังงานเพ่ือสนับสนุนกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ

เดือนท่ี 1

เดือนท่ี 2

วางกรอบการสํารวจ

พ้ืนท่ีของท้ัง 6 ศูนย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงานเพ่ือ

สนับสนุนกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําร ิ

ศึกษา รวบรวมขอมูลท่ีเกี่ยวของ

ดานพลังงานทดแทนและอนุรักษ

พลังงาน เพ่ือนําไปใชวิเคราะห

ศักยภาพพลังงานทดแทน

ลงพ้ืนท่ีประสานงาน

ชี้แจงโครงการ

1) ศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอันเน่ืองมาจากพระราชดําริ จังหวัดฉะเชิงเทรา

2) ศูนยศึกษาการพัฒนาหวยทรายอันเน่ืองมาจากพระราชดําริ จังหวัดเพชรบุร ี

3) ศูนยศึกษาการพัฒนาอาวคุงกระเบนอันเน่ืองมาจากพระราชดําริ จังหวัดจันทบุร ี

4) ศูนยศึกษาการพัฒนาภูพานอันเน่ืองมาจากพระราชดําริ จังหวัดสกลนคร

5) ศูนยศึกษาการพัฒนาหวยฮองไครอันเน่ืองมาจากพระราชดําริ จงัหวัดเชียงใหม

6) ศูนยศึกษาการพัฒนาพิกุลทองอันเน่ืองมาจากพระราชดําริ จังหวัดนราธิวาส

เดือนท่ี 6

ศึกษา สํารวจขอมลูของศูนยศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ 6

ขอมูลพ้ืนฐานของพ้ืนท่ี ศักยภาพ ขอมูลการใชพลังงาน ประสิทธิภาพการใชพลังงาน และ

ความคิดเห็นตอประเภทของพลังงานทดแทน และความตองการการใชพลังงานทดแทน

สํารวจศักยภาพพลังงานทดแทนของพ้ืนท่ี (พลังงานแสงอาทิตย พลังงานลม พลังงานนํ้า

ขนาดเล็ก พลังงานชีวมวล พลังงานแกสชีวภาพ)

การศึกษาแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน

การศึกษาความเหมาะสมทางดานวิศวกรรมและเทคโนโลย ี

การศึกษาวิเคราะหความคุมคาทางเศรษฐศาสตร

ศึกษาความเปนไปไดดานสิ่งแวดลอมและชุมชน งานสํารวจออกแบบระบบผลิตพลงังาน/อนุรักษพลังงานเบ้ืองตน

เดือนท่ี 7

จัดประชุมชี้แจงผลการ

ศึกษาใหกับหนวยงานท้ัง 6 ศูนย

เดือนท่ี 8

เดือนท่ี 9 สรุปผลการดําเนินโครงการ

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 14: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

4-1

บทท่ี 4

ขอมูลพ้ืนฐานศูนยศึกษาการพัฒนาอันเน่ืองมาจากพระราชดําร ิ

4.1 ศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอันเนื่องมาจากพระราชดําริ

รูปท่ี 4-1 ศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอันเนื่องมาจากพระราชดําริ

4.1.1 ช่ือและท่ีอยูสํานักงาน

ศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอันเนื่องมาจากพระราชดําริ เลขท่ี 7 หมู 2 ตําบลเขาหิน

ซอน อําเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา 24120 โทรศัพท 081-4104040 โทรสาร 038-554982-3

Email : [email protected] / [email protected] Website : www.khaohinsorn.com

4.1.2 ประวัติความเปนมา

เม่ือวันท่ี 8 สิงหาคม พุทธศักราช 2522 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ไดเสด็จพระราช

ดําเนิน ไปทรงเปดศาลบวรราชานุสาวรียพระบาทสมเด็จพระปนเกลาเจาอยูหัว ณ ตําบลเขาหินซอน

อําเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา ราษฎรไดนอมเกลาฯ ถวายท่ีดินหมูท่ี 2 ตําบลเขาหินซอน อําเภอ

พนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา จํานวน 264 ไร พระองคไดเสด็จฯ ทอดพระเนตรท่ีดินดังกลาว และทรงมี

พระราชดําริกับอําเภอ จังหวัด และหนวยราชการตาง ๆ ไดแก กรมชลประทาน กรมพัฒนาท่ีดิน กรมปาไม

กรมปศุสัตว ใหรวมกันพัฒนาพ้ืนท่ีแหงนี้จัดทําเปนศูนยศึกษาตัวอยาง สาธิตการพัฒนาดานการ

เกษตรกรรมและงานศิลปาชีพ เพ่ือเปนแหลงใหเกษตรกรตลอดจนผูสนใจไดเขาชมศึกษา คนควา หา

ความรูเพ่ิมเติมได

จากพระราชดําริขางตน หนวยงานท่ีเก่ียวของรวมท้ังภาคเอกชนไดประชุมปรึกษาหารือกัน

มอบหมายให กรมพัฒนาท่ีดินเปนเจาของเรื่อง กระทรวงเกษตรและสหกรณไดแตงตั้งคณะกรรมการ

บริหารงานข้ึนคณะหนึ่ง เรียกวา "คณะกรรมการบริหารและกรรมการท่ีปรึกษาศูนยศึกษาการพัฒนาเขา

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 15: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

4-2

หินซอน อําเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา" คณะกรรมการบริหารฯ ไดทําหนังสือในนามของ กรม

พัฒนาท่ีดิน กส. 0801/1094 ลงวันท่ี 19 กุมภาพันธ 2523 ถึงสํานักราชเลขาธิการ เพ่ือนําความกราบ

บังคมทูลพระกรุณาขอรับพระราชทานชื่อของศูนยเพ่ือเปนสิริมงคลแกการดําเนินโครงการสนอง

พระราชดําริสืบไป และทางสํานักราชเลขาธิการไดแจงใหทราบตามหนังสือ ท่ี รล.0002/3041 ลงวันท่ี 29

มีนาคม 2523 ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหชื่อวา "ศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอน อําเภอพนมสารคาม

จังหวัดฉะเชิงเทรา"

เม่ือวันท่ี 30 เมษายน 2524 คณะรัฐมนตรีไดอนุมัติใหแตงตั้งเปลี่ยนแปลงและปรับปรุง

คณะกรรมการบริหารของโครงการศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนใหมเรียกวา "คณะกรรมการบริหาร

โครงการศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอน" ประกอบดวยหมอมเจาจักรพันธุเพ็ญศิริ จักรพันธุ องคมนตรี

เปนองคประธาน และหนวยงานตาง ๆ หลายกระทรวง ทบวง กรม รวมท้ังภาคเอกชนเปนกรรมการและ

เลขานุการ และทําหนาท่ีเปนแกนกลางประสานงานระหวางหนวยงานตาง ๆ จังหวัดฉะเชิงเทรารับผิดชอบ

ตอพ้ืนท่ีศูนยศึกษาฯ ดูแลใหความปลอดภัยแกบุคคลและสนับสนุนการดําเนินงานท่ีรวมดําเนินการอยู โดย

คณะกรรมการบริหารฯ ไดพิจารณาจําแนกพ้ืนท่ีภายในศูนยศึกษาฯ ตามความเหมาะสม พรอมท้ัง

มอบหมายใหหนวยงานท่ีเก่ียวของดําเนินการตามหนาท่ีรับผิดชอบและเหมาะสมกับสภาพทองถ่ิน

นอกจากนี้ ผูวาราชการจังหวัดปราจีนบุรีมีหนังสือกราบบังคมทูลพระกรุณาพระราชทานพระ

บรมราชวินิจฉัยเก่ียวกับท่ีดินท่ีราษฎรอําเภอบานสราง จังหวัดปราจีนบุรี นอมเกลาฯ ถวายใหเปนท่ีดินสวน

พระองค เนื้อท่ี 86 ไร และกรมพัฒนาท่ีดินไดรับแจงจากสํานักราชเลขาธิการ ตามหนังสือ ท่ี รล.

0007/9937 ลงวันท่ี 11 กันยายน 2524 วา พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ให

ใชสถานท่ีดังกลาวจัดตั้งเปนสาขาของศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอน และโปรดเกลาฯ ใหกรมพัฒนา

ท่ีดิน กรมสงเสริมการเกษตร กรมชลประทาน กรมประมงฯ รวมกันพิจารณาดําเนินการ

ดังนั้น นับแตเริ่มตั้งศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอน ไดมีราษฎรท่ีมีจิตศรัทธานอมเกลาฯ

ถวายท่ีดินเพ่ิมเติมอีก 497 ไร ผนวกกับท่ีดินบริเวณสวนรุกขชาติและสวนพฤกษศาสตร รวมเปนเนื้อท่ี

ท้ังหมดของศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอน 1,227 ไรเศษ นอกจากนี้ราษฎรตําบลบางแตน อําเภอบาน

สราง จังหวัดปราจีนบุรี ไดนอมเกลาฯ ถวายท่ีดินรวม 3 แปลง จํานวน 145 ไร ดําเนินการจัดทําในลักษณะ

"ศูนยบริการพัฒนาฯ" คือ ทําท้ังการสาธิตเพ่ือเปนตัวอยาง และใหบริการพัฒนาแกราษฎรดวย โดยใชชื่อวา

"ศูนยบริการพัฒนาบานสราง จังหวัดปราจีนบุรี" ซ่ึงอยูในขายความรับผิดชอบของศูนยศึกษาการพัฒนาเขา

หินซอน อีกประการหนึ่งนับวาเปนพระมหากรุณาธิคุณอยางใหญหลวง คือ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว

ไดพระราชทานพ้ืนท่ีสวนท่ีติดกับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนประมาณ 642 ไร ใหเปนพ้ืนท่ี

ทําการศึกษาวิจัยและทดสอบการพัฒนาทางดานเกษตรกรรมเพ่ือใหไดขอมูลท่ีถูกตองแนนอนข้ึน เปนการ

สนับสนุนศูนยศึกษาฯ อีกดานหนึ่งดวย

คณะกรรมการบริหารโครงการศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอน ไดกําหนดนโยบายเพ่ือให

สอดคลองกับพระราชดําริท่ีไดรับพระราชทานแนวทางการพัฒนาไว และไดแบงพ้ืนท่ีหลักเปนจํานวน 4

พ้ืนท่ี กลาวคือ

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 16: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

4-3

1) พ้ืนท่ีแหงแรก คือพ้ืนท่ีภายในศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอน อําเภอพนมสารคาม

จังหวัดฉะเชิงเทรา ประมาณ 1,227 ไรเศษ ผนวกกับพ้ืนท่ีท่ีพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวไดพระราชทาน

ซ่ึงเปนพ้ืนท่ีติดกับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอน ประมาณ 642 ไร ใหเปนพ้ืนท่ีท่ีทําการศึกษาวิจัย และ

ทดสอบการพัฒนาดานการเกษตรกรรม รวมเปนพ้ืนท่ีท้ังหมดประมาณ 1,869 ไร

2) พ้ืนท่ีแหงท่ีสอง คือ ท่ีตําบลบานซองและตําบลเขาหินซอน อําเภอพนมสารคาม จังหวัด

ฉะเชิงเทรา เนื้อท่ีประมาณ 84 ไร

3) พ้ืนท่ีแหงท่ีสาม คือ พ้ืนท่ีราษฎรรอบนอกศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอน ซ่ึงเปนพ้ืนท่ี

ลุมน้ําโจนเปนพ้ืนท่ีตอเนื่องกับศูนยโครงการฯ จํานวน 14 หมูบาน ในเขตตําบลเขาหินซอนและตําบลเกาะ

ขนุน อําเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา พ้ืนท่ีประมาณ 56,000 ไร ซ่ึงเปนหมูบานบริวาร

4) พ้ืนท่ีแหงท่ีสี่ คือ ท่ีอําเภอบานสราง จังหวัดปราจีนบุรี เนื้อท่ีประมาณ 145 ไร ทําหนาท่ี

เปนศูนยบริการพัฒนาในเขตจังหวัดปราจีนบุรี เปนศูนยบริวารของศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอน

นอกจากนี้ พ้ืนท่ีหลักดังกลาวแลว ศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนยังทําหนาท่ีในการ

ถายทอดวิชาการแผนใหมท้ังดานการเพาะปลูกพืช การปศุสัตว การประมง การพัฒนาท่ีดิน รวมท้ังดาน

ศิลปาชีพ ใหแกเกษตรกร หรือประชาชนท่ีสนใจ ท้ังในจังหวัดปราจีนบุรี รวมท้ังจังหวัดตาง ๆ ในภาค

ตะวันออกและภาคกลางดวย

4.1.3 วิสัยทัศนและพันธกิจ

วิสั ย ทั ศน : เป น พิ พิ ธภัณ ฑ ธรรมชาติ ท่ี มี ชี วิต ผลผลิ ต เกษตรกรยั่ งยื น ฟ น ฟู

ทรัพยากรธรรมชาติ นําชีวิตสูวิถีท่ีพอเพียง

พันธกิจ : 1) ศึกษา วิจัย ทดสอบ เพ่ือการพัฒนาอาชีพและฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติ

(ดิน น้ํา ปา และสิ่งแวดลอม)

2) ขยายผลความสําเร็จไปสูประชาชน

3) สงเสริมการมีสวนรวมในการพัฒนาสังคมและคุณภาพชีวิต

4) การบริหารจัดการอยางมีประสิทธิภาพ

4.1.4 พ้ืนท่ีดําเนินการ

1) พ้ืนท่ีศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอน อําเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา มีเนื้อท่ี

ประมาณ 1,280 ไร

2) โครงการสวนพระองคเขาหินซอน อําเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา มีเนื้อท่ี 655

ไร

3) หมูบานขยายผลรอบศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอน จํานวน 33 หมูบาน ในเขตตําบล

เขาหินซอน ตําบลบานซอง และตําบลเกาะขนุน มีเนื้อท่ีประมาณ 178,897 ไร

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 17: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

4-4

4) พ้ืนท่ีราษฎรนอมเกลาฯ ถวาย บานธารพูด ตําบลบานซอง อําเภอพนมสารคาม มีเนื้อท่ี

33 ไร

5) โครงการพัฒนาสวนพระองคบางคลา ตําบลเสม็ดเหนือ อําเภอบางคลา จังหวัด

ฉะเชิงเทรา มีเนื้อท่ีประมาณ 114 ไร

4.1.5 หนวยงานท่ีรับผิดชอบ แบงตามกลุมงาน ดังนี้

1) งานพัฒนาท่ีดิน (หนวยงานหลัก)

2) งานวิชาการเกษตร

3) งานสงเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตร

4) งานสงเสริมสหกรณ

5) งานปศุสัตว

6) งานประมง

7) งานชลประทาน

8) งานสวนพฤกษศาสตร

9) งานเพาะชํากลาไม

10) งานสวนรุกขชาติ

11) งานพัฒนาชุมชน

4.1.6 การดําเนินงานของศูนยฯ

1) เกษตรทฤษฎีใหมตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

2) ศูนยขยายพันธหญาแฝกเพ่ือการอนุรักษน้ําและดิน และการปรับปรุงดิน

3) สงเสริมการปลูกและการใชประโยชนพ้ืนสมุนไพร

4) เปนศูนยฝกวิชาชีพ

4.1.7 แผนยุทธศาสตร

1) ศึกษา วิจัย ทดสอบ ดานการพัฒนาตามแนวพระราชดําริ

1.1) ศึกษา วิจัย ดานดิน น้ํา พืช และประมงในลักษณะบูรณาการ

1.2) พัฒนาฐานขอมูลวิชาการ

2) งานขยาย

2.1) สาธิตพัฒนาอาชีพการเกษตร อนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

2.2) เสริมสรางความรู ความเขาใจในการอนุรักษปาไมและสิ่งแวดลอมตามแนว

พระราชดําริ

2.3) สงเสริมและพัฒนากลุมอาชีพ

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 18: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

4-5

2.4) สงเสริมการมีสวนรวมในการพัฒนาสังคมและคุณภาพชีวิต

3) การบริหารจัดการ

3.1) การบริหารจัดการ การดําเนินงานของศูนยฯ ใหมีประสิทธิภาพ

3.2) สงเสริมการมีสวนรวม

3.3) พัฒนาแหลงทองเท่ียวเชิงเกษตร

3.4) การประชาสัมพันธสูกลุมเปาหมาย

4.1.8 พิกัดตําแหนงศูนยศึกษาฯ (13.747803, 101.505063)

4.1.9 ผูใหขอมูล/ผูประสานงาน

ลําดับ ช่ือ-สกุล ตําแหนง/หนวยงาน โทรศัพท/โทรสาร

1 นายอนุวัชร โพธินาม ผูอํานวยการศูนยศึกษาฯ 038-554982-3, 081-6860639

2 นายรัฐ เกาวนันทน นักวิชาการเกษตรชํานาญการ 081-9253518

3 น.ส.นาตยา สมเท่ียง นักวิเทศนสัมพันธ 085-0828319

4.1.10 จํานวนบุคลากร

ขาราชการ จํานวน 16 คน

ลูกจางประจํา จํานวน 20 คน

พนักงานราชการ จํานวน 41 คน

ลูกจางชั่วคราว(รายเดือน) จํานวน 38 คน

ลูกจางชั่วคราว(รายวัน) จํานวน 29 คน

พนักงานจางเหมา จํานวน 33 คน

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 19: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

4-6

4.1.11 แผนผังอาคาร

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 20: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

5-1

บทท่ี 5

เทคโนโลยีพลังงานทดแทนท้ัง 5 ดาน

5.1 พลังงานลม

ลม เกิดจากความแตกตางของอุณหภูมิและความกดอากาศในแตละตําแหนง ซ่ึงเปนผลมาจากการแผ

รังสีความรอนของดวงอาทิตยมายังโลก ทําใหแตละตําแหนงบนพ้ืนโลกไดรับปริมาณความรอนไมเทากัน

โดยบริเวณใดท่ีมีอุณหภูมิสูงหรือความกดอากาศตํ่า อากาศในบริเวณนั้นก็จะลอยตัวข้ึนสูง อากาศจาก

บริเวณท่ีเย็นกวาหรือมีความกดอากาศสูงกวาจะเคลื่อนท่ีเขามาแทนท่ี ซ่ึงการเคลื่อนท่ีของมวลอากาศนี้ คือ

ลมนั่นเอง และจากการเคลื่อนท่ีของมวลอากาศดังกลาวทําใหเกิดเปนพลังงานจลนท่ีสามารถนํามา

ประยุกตใชประโยชนได ซ่ึงลมสามารถจําแนกตามธรรมชาติการเกิดไดเปน 2 ประเภท คือ 1) ลมบก-ลม

ทะเล และ 2) ลมภูเขา-ลมหุบเขา

5.1.1 หลักการทํางานของกังหันลม

ลมท่ีจะนํามาใชประโยขนในการหมุนกังหันลมเพ่ือเปนตนกําลังใหกับเครื่องจักรตางๆ หรือเพ่ือ

การผลิตไฟฟานั้นเปนลมท่ีเกิดข้ึนบริเวณใกลพ้ืนผิวโลก เรียกวา ลมผิวพ้ืน ซ่ึงหมายถึงลมท่ีพัดอยูภายใต

ความสูงประมาณ 1 กิโลเมตรเหนือพ้ืนดิน การใชประโยชนจากลมควรจะเริ่มตนท่ีระดับความสูงมากกวา

10 เมตรข้ึนไป เนื่องจากแรงเสียดทานจะลดลง ทําใหความเร็วลมจะเพ่ิมข้ึนตามระดับความสูง ซ่ึงความเร็ว

ลมมีการเปลี่ยนแปลงข้ึนอยูกับระดับความสูงและสภาพภูมิประเทศ เชนเดียวกันกับทิศทางของลม ซ่ึง

กังหันลมจะทํางานไดดีหรือไมนั้นจะข้ึนอยูกับทิศทางลมและความเร็วลม โดยท่ีความเร็วลมตํ่าในชวง 1–3

เมตรตอวินาที กังหันลมจะยังไมทํางานจึงยังไมสามารถผลิตไฟฟาออกมาได ท่ีความเร็วลมระหวาง 2.5–5

เมตรตอวินาที กังหันลมจะเริ่มทํางานเรียกชวงนี้วาชวงเริ่มความเร็วลม (cut in wind speed) และท่ี

ความเร็วลมชวงประมาณ 12–15 เมตรตอวินาที เปนชวงท่ีเรียกวาชวงความเร็วลม (nominal หรือ rate

wind speed) ซ่ึงเปนชวงท่ีกังหันลมทํางานอยูบนพิกัดกําลังสูงสุดของตัวมันเอง และในชวงท่ีความเร็วลมสูง

กวา 25 เมตรตอวินาที กังหันลมจะหยุดทํางานเนื่องจากความเร็วลมสูงเกินไปซ่ึงอาจทําใหเกิดความเสียหายตอ

กลไกของกังหันลมได

ในการนําพลังงานลมมาใชสามารถทําไดโดยใชกังหันลม โดยเม่ือมีลมพัดมาปะทะกับใบพัดของ

กังหันลม กังหันลมจะทําหนาท่ีเปลี่ยนพลังงานจลนไปเปนพลังงานกลโดยการหมุนของใบพัด กําลังจากการ

หมุนของใบพัดนี้จะถูกสงผานตามแกนหมุน และสามารถนําพลังงานกลท่ีไดจากการหมุนของแกนหมุนมา

ประยุกตใชประโยชนตามความตองการ เชน การใชเปนตนกําลังในการขับเครื่องจักร (โรงสี,เครื่องสูบน้ํา)

หรือ ในสวนของการผลิตไฟฟาก็สามารถทําไดโดยนํากําลังจากการหมุนของแกนหมุนมาขับเครื่องกําเนิด

ไฟฟาเพ่ือผลิตเปนกระแสไฟฟาออกมาใชประโยชน

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 21: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

5-2

5.1.2 ชนิดของกังหันลม

กังหันลมแบบตางๆท่ีใชกันอยูตั้งแตสมัยโบราณมีหลายแบบซ่ึงสามารถจําแนกตามลักษณะ

การวางตัวของแกนหมุนเปน 2 ประเภทใหญ ๆ ไดแก

1) กังหันลมแกนตั้ ง (Vertical axis wind turbine) คือ กั งหั นลม ท่ี มีแกนหมุนอยู ใน

แนวต้ังฉากกับพ้ืน กังหันลมแบบนี้สามารถรับลมไดทุกทิศทางโดยไมตองปรับมุมของแกนหมุนเม่ือทิศทาง

ของลมเปลี่ยน กังหันลมชนิดนี้มีความสะดวกในการติดตั้ง เนื่องจากอุปกรณรวมตางๆท่ีติดต้ัง เชน เครื่อง

กําเนิดไฟฟา และปมน้ํา สามารถวางไวไดบนพ้ืน กังหันลมแกนตั้ง สามารถแบงไดเปน 2 แบบ ตามลักษณะ

ของแรงท่ีกระทํากับใบพัด ไดแก กังหันลมท่ีขับดวยแรงฉุด และกังหันลมท่ีขับดวยแรงยก มีรายละเอียด

ดังตอไปนี้

รูปท่ี 5-1 กังหันลมแกนตั้งแบบตางๆ

2) กังหันลมแกนนอน (Horizontal axis wind turbine) คือ กังหันลมท่ีมีแกนหมุนอยูใน

แนวขนานกับพ้ืน แรงท่ีกระทําบนใบพัดเกิดจากแรงยก กังหันลมแกนนอนมีจํานวนใบพัดตั้งแต 1 ถึง 50 ใบ

มีท้ังกังหันแบบหันหนาหาลม และกังหันแบบหันหลังหาลม กังหันลมท้ังสองแบบมีท้ังขอเดนและขอดอย คือ

กังหันแบบหันหนาหาลมตองการใบพัดท่ีมีความแข็งแรงเพ่ือลดความเสี่ยงท่ีใบพัดโกง(deflection) ไปชน

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 22: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

5-3

หรือเสียดสีกับเสา กระแสลมถูกรบกวนนอยกวา แตตองการระบบบังคับทิศทางเพ่ือควบคุมใหกังหันลมหัน

หนาเขารับลมอยางตรง ๆ ตลอดเวลาแมวากระแสลมจะเปลี่ยนทิศทางก็ตาม สําหรับกังหันแบบหันหลังหา

ลม สามารถใชใบพัดท่ีมีความยืดหยุนมากกวา ในทางทฤษฎีแลวกังหันจะปรับทิศทางตามการเปลี่ยนทิศทาง

ของกระแสลมอยางอัตโนมัติ แตกระแสลมถูกรบกวนมากกวาจากการไหลผานเสาและเนเซลกอนเขาใบพัด

ดังนั้นจึงนิยมใชกังหันแบบหันหนาหาลม นอกจากนี้กังหันลมแกนนอนบางชนิดมีหางเสือเพ่ือควบคุมทิศทาง

และความเร็วรอบของกังหันลมใหหมุนดวยความเร็วคงท่ี โดยมีการออกแบบรูปรางและใบกังหันแตกตางกัน

ออกไป เพ่ือใหกังหันลมสามารถทํางานไดมีประสิทธิภาพสูงสุดและเหมาะสมกับพ้ืนท่ีใชงาน กังหันลมแกน

นอน มีลักษณะดังแสดงใน รูปท่ี 5-2

รูปท่ี 5-2 กังหันลมแกนนอนแบบตางๆ

5.1.3 สวนประกอบท่ีสําคัญของกังหันลม

กังหันลมโดยท่ัว ๆ ไปมีสวนประกอบสําคัญ ดังตอไป

ใบกังหัน เปนสวนประกอบท่ีสําคัญท่ีสุดของกังหันลม เนื่องจากเปนสวนท่ีปะทะกับ

แรงลมโดยตรงทําใหเกิดพลังงานกล กังหันลมอาจมีใบกังหันตั้งแตหนึ่งใบจนถึงหลาย

สิบใบ ซ่ึงจํานวนใบจะมีผลกับแรงบิดในลักษณะแปรผันตรง กังหันท่ีมีจํานวนใบมาก

แรงบิดสูงความเร็วรอบจะต่ําเหมาะสําหรับการสูบน้ํา สวนกังหันท่ีจํานวนใบนอย

แรงบิดต่ําความเร็วรอบจะสูงเหมาะสําหรับการผลิตไฟฟา วัสดุท่ีนํามาใชทําใบกังหัน

จะตองมีน้ําหนักเบาและมีความแข็งแรง

ระบบควบคุม ในชุดของกังหันลมโดยท่ัวไปมี 2 ระบบ ไดแก ระบบควบคุมทิศทาง

กังหันลมในการรับลม สวนใหญใชเปนหางเสือ และระบบควบคุมความเร็วของใบพัด

เพ่ือใชควบคุมความเร็วของใบพัดและเพลาแกนหมุนของกังหัน ขณะผลิต

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 23: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

5-4

กระแสไฟฟา หรือหยุดเครื่องซอมบํารุง และเปนชุดปองกันความเสียหายจากการ

หมุนดวยความเร็วรอบเกินขณะเกิดลมกรรโชกแรง

ระบบสงกําลัง การสงกําลังจากใบกังหันตองผานระบบสงกําลัง เชน เฟองหรือ

ระบบไฮดรอลิก ท่ีทําหนาท่ีปรับเปลี่ยนและควบคุมความเร็วในการหมุน ระหวาง

เพลาแกนหมุนกับเพลาของเครื่องจักรตาง ๆ

หอคอยหรือเสา ทําหนาท่ียึดกังหันลมใหอยูในระดับท่ีตองการเพ่ือรับกระแสลมได

แรงและทุกทิศทาง หอคอยตองเปนโครงสรางท่ีแข็งแรงท่ีสามารถรับน้ําหนักและ

แรงสั่นสะเทือนจากตัวกังหันท่ีปะทะกับแรงลมได

5.2 พลังงานน้ํา พลังงานน้ําจะสามารถนํามาใชประโยชนไดก็ตอเม่ือทําการเก็บกักน้ําไว เพ่ือเปนการสะสมกําลัง โดย

การกอสรางเข่ือนหรือฝายปดลําน้ําท่ีมีระดับความสูงเปนพลังงานศักย และผันน้ําเขาทอไปยังเครื่องกังหัน

น้ําขับเครื่องกําเนิดไฟฟาพลังน้ํา ซ่ึงพลังงานน้ําจากเข่ือนก็เปนอีกทางเลือกหนึ่งของพลังงานทดแทน

ประเภทหนึ่ง ท่ีมีความนาสนใจในการศึกษาและนํามาใชเพ่ือทดแทนพลังงานประเภทอ่ืน ๆ สําหรับใน

ประเทศไทยมีพลังงานน้ําขนาดเล็กจํานวนมากท่ีมีศักยภาพในการผลิตไฟฟาเพียงพอสามารถนํามาใชใน

การผลิตเปนพลังงานหมุนเวียนและลดการใชพลังงานสิ้นเปลืองได

5.2.1 สถานภาพการผลิตไฟฟาจากพลังงานน้ําในประเทศไทย

ปจจุบันประเทศไทยมีกําลังการผลิตไฟฟาติดตั้งรวมท้ังสิ้นประมาณ 25,719 MW โดยแบง

ออกเปนกําลังผลิตจากเข่ือนขนาดใหญและขนาดกลางซ่ึงอยูในความดูแลของการไฟฟาฝายผลิตแหง

ประเทศไทยประมาณ 2,886 MW คิดเปนพลังงานไฟฟาท่ีผลิตไดเฉลี่ยปละ 4,184 ลาน kWh รวมท้ังสิ้น

16 โครงการ สวนกําลังการผลิตไฟฟาติดต้ังของเข่ือนขนาดเล็กซ่ึงอยูในความดูแลของการไฟฟาฝายผลิต

ประมาณ 37 MW และอยูความดูแลของกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงานอีกประมาณ 45.1

MW สวนท่ีเหลืออีก 8.1 MW อยูในความดูแลของการไฟฟาสวนภูมิภาค ในสวนของการศึกษาเชิง

เศรษฐศาสตรของโครงการผลิตไฟฟาพลังงานน้ําขนาดเล็กโดย (สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2550)

โดยไดประเมินศักยภาพของโรงไฟฟาพลังงานน้ําขนาดเล็กโดยจําแนกตามขนาดกําลังการผลิตไฟฟา

พลังงานน้ําของโครงการตางๆ ซ่ึงเปนไปตามคํานิยามของสหภาพยุโรป ดังนี้คือ

โรงไฟฟาขนาดจิ๋ว : < 0.1 MW

โรงไฟฟาขนาดเล็กมาก : 0.1 – 1 MW

โรงไฟฟาขนาดเล็ก : 1 – 15 MW

5.2.2 หลักการทํางานและองคประกอบหลักของโรงไฟฟาพลังน้ําขนาดเล็ก

หลักการผลิตไฟฟาพลังน้ําคือ เปลี่ยนพลังงานศักยของน้ําใหเปนพลังไฟฟา ทําไดโดยอาศัย

วิธีการสรางเข่ือนปดก้ันแมน้ําไวเปนอางเก็บน้ํา ใหมีระดับสูงจนมีปริมาณและแรงดันพอเพียงท่ีจะสงผาน

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 24: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

5-5

ทอน้ําไปหมุนกังหันน้ําและเครื่องกําเนิดไฟฟาซ่ึงอยูในโรงไฟฟาทายน้ําท่ีระดับต่ํากวาเพ่ือผลิตไฟฟา

องคประกอบหลักของโรงไฟฟาพลังน้ํามี 5 องคประกอบหลัก คือ

เข่ือนเก็บกักน้ํา (storage dam) เข่ือนเก็บกักน้ําถูกสรางเพ่ือปดก้ันแมน้ํา เพ่ือเก็บน้ําไวใน

อางเก็บน้ําเหนือเข่ือน เข่ือนเก็บกักน้ําจะตองมีปริมาณน้ําและระดับน้ําสูงเพียงพอเพ่ือใช

ในการผลิตไฟฟา

ทอสงน้ําเขาโรงไฟฟา (penstock) มีหนาท่ีรับน้ําจากอาคารรับน้ําและ สงตอไปยังเครื่อง

กังหันน้ําท่ีติดตั้งอยูในโรงไฟฟา

กังหันน้ํา (water turbine) เปนใบพัดท่ีรับแรงดันจากน้ํา ทําใหใบพัดหมุนรอบแกนเปลี่ยน

พลังงานจลนของน้ําใหเปนพลังงานกล

เครื่องกําเนิดไฟฟา (generator) มีหนาท่ีผลิตพลังงานไฟฟา โดยมีเพลาตอจากกังหันน้ํา

เม่ือกังหันหมุนเพลาเครื่องกําเนิดไฟฟาก็จะหมุน ทําใหเกิดการเปลี่ยนพลังงานกลใหเปน

พลังงานไฟฟา

หมอแปลงไฟฟา (transformer) มีหนาท่ีปรับแรงดันไฟฟาจากโรงไฟฟาพลังน้ําใหสูงข้ึน

เทากับแรงดันไฟฟาในสายสงรวม เพ่ือสงจายไปยังผูใชไฟฟา

5.2.3 ประเภทของโรงไฟฟาพลังน้ํา

การแบงประเภทโรงไฟฟาพลังน้ําในประเทศไทยสามารถจําแนกตามลักษณะดําเนินการ

สามารถแบงออกไดเปน 3 ประเภท คือ

1) โรงไฟฟาพลังน้ําแบบใชการผันน้ํา (Run-off–the-river scheme ) เปนโรงไฟฟาพลังน้ํา

ท่ีอาศัยการไหลของน้ําตามธรรมชาติโดยการผันน้ําแยกออกจากแมน้ําลําคลองไปตามระบบทอเพ่ือไปขับ

กังหันน้ําโดยตรง ขอดีของโรงไฟฟารูปแบบนี้ คือ มีราคาถูก ติดตั้งใกลชิดเพ่ือใชงานในหมูบานชนบท และ

เกิดผลกระทบดานสิ่งแวดลอมนอย แตมีขอเสีย คือ การไมใชระบบกักเก็บน้ําทําใหโรงไฟฟาไมสามารถผลิต

ไฟฟาไดตลอดท้ังป

รูปท่ี 5-3 การผลิตกําลังไฟฟาขนาดเล็กแบบ Run-off-the-river

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 25: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

5-6

2) โรงไฟฟาพลังน้ําแบบใชการกักเก็บน้ํา (Reservoir scheme) โรงไฟฟาแบบนี้จะสราง

เข่ือนขวางก้ันลําน้ํา ทําใหเกิดทะเลสาบขนาดใหญ เพ่ือเก็บกักน้ําในฤดูฝนไปใชในฤดูแลง ขอดีของโรงไฟฟา

รูปแบบนี้ คือ ชวยกักเก็บน้ําไวเพ่ือการชลประทานในฤดูแลงได ขอเสียคือ พ้ืนท่ีเหนืออางเก็บน้ําจะถูกน้ํา

ทวมเปนบริเวณกวาง กระทบตอชุมชนท่ีอาศัยอยูในพ้ืนท่ีโครงการ และทําใหเกิดตะไครน้ําผนังเข่ือน

สกปรก ตองเสียคาใชจายสูงในการทําความสะอาด

รูปท่ี 5-4 โรงไฟฟาพลังงานน้ําชนิดมีอางเก็บน้ํา

3) โรงไฟฟาพลังน้ําแบบสูบกลับ (Pumped storage scheme) เปนโรงไฟฟาท่ีมีเครื่องสูบ

น้ํา ซ่ึงสามารถสูบน้ําท่ีปลอยจากอางเก็บน้ําลงมาแลวสูบกลับข้ึนไปเก็บไวในอางเก็บน้ําในชวงเวลาท่ีมีความ

ตองการใชไฟฟาต่ํา(ชวงเท่ียงคืน) แลวปลอยน้ําจากอางเก็บน้ําเพ่ือใชผลิตกระแสไฟฟาในชวงเวลาท่ีมีความ

ตองการใชไฟฟาสูง(ชวงหัวคํ่า)

รูปท่ี 5-5 โรงไฟฟาพลังงานน้ําแบบสูบกลับ

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 26: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

5-7

5.3 พลังงานแกสชีวภาพ

แกสชีวภาพ (Biogas) คือ แกสท่ีเกิดข้ึนตามธรรมชาติจากการยอยสลายสารอินทรียโดยจุลินทรีย

ภายใตสภาวะท่ีปราศจากอากาศ แกสชีวภาพประกอบดวยแกสหลายชนิด สวนใหญเปนแกสมีเทน (CH4)

ประมาณ 50- 70 % และแกสคารบอนไดออกไซค (CO2) ประมาณ 30-50 % สวนท่ีเหลือเปนแกสชนิด

อ่ืนๆ เชน ไฮโดรเจน (H2) ไฮโดรเจนซัลไฟด (H2S) ออกซิเจน (O2) ไนโตรเจน (N2) และไอน้ํา แกสมีเทน

เปนแกสท่ีมีมากท่ีสุด มีคุณสมบัติไมมีสี ไมมีกลิ่นและติดไฟได เบากวาอากาศ แตท่ีมีกลิ่นเหม็นนั้นเกิดจาก

กาซไฮโดรเจนซัลไฟด (H2S) หรือ“กาซไขเนา” ซ่ึงมีองคประกอบดังตารางท่ี 3-1 โดยกระบวนการเกิดแกส

ชีวภาพแสดงไดดังสมการเคมีดังนี้

สารอินทรีย (Organic Matter) Bacteria CH4 + H2 + NH3 +H2S

ตารางท่ี 5-1 องคประกอบของแกสชีวภาพ

ชนิด ปริมาณ (%)

มีเทน 50-40

คารบอนไดออกไซด 30-50

อ่ืนๆ เชน โฮโดรเจน ออกซิเจน ไนโตรเจน

ไฮโดรเจนซัลไฟด และไอน้ํา

เล็กนอย

5.3.1 คุณสมบัติของแกสชีวภาพ

แกสชีวภาพเปนแกสท่ีมีองคประกอบสวนใหญเปนแกสมีเทนบริสุทธิ์ ซ่ึงแกสมีเทนบริสุทธิ์มี

น้ําหนักโมเลกุล 16.04 ละลายไดเล็กนอย ไมมีรส ไมมีสี ไมมีกลิ่น แกสมีเทน 1 ลูกบาศกเมตร ท่ีอุณหภูมิ

35 องศาเซลเซียส มีความหนาแนน 0.6346 กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร ใหคาความรอน 31.79 เมกกะจูล

(50.1 กิโลจูลตอกรัม) และแกสชีวภาพปริมาตร 1 ลูกบาศกเมตร ท่ีสภาวะมาตรฐาน (อุณหภูมิศูนยองศา

เซลเซียส ความดัน 1 บรรยากาศ ) ใหคาพลังงานความรอน 23.4 เมกกะจูล ( มีเทนรอยละ 65) พรอมท้ัง

แสดงคุณสมบัติอ่ืนๆดังตารางท่ี 3-2 ซ่ึงสามารถใชทดแทนแกสหุงตม (LPG) 0.46 กิโลกรัม น้ํามันเบนซิน

0.67 ลิตร น้ํามันดีเซล 0.60 ลิตร น้ํามันเตา 0.55 ลิตร หรือพลังงานไฟฟา 1.2-1.4 กิโลวัตตตอชั่วโมง

(ข้ึนอยูกับประสิทธิภาพของเครื่องกําเนิดไฟฟา)

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 27: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

5-8

ตารางท่ี 5-2 คุณสมบัติท่ัวไปของแกสชีวภาพ

คุณสมบัติ ปริมาณ

คาความรอน 23.4 MJ/m3 (ท่ีปริมาณมีเทน 65%)

ความเร็วเปลวไฟ 25 cm/s

อุณหภูมิเผาไหมในอากาศ 650 ๐C

อุณหภูมิจุดติดไฟ (CH4) 600 ๐C

คาความจุความรอน 1.6 kJ/m3-๐C

ความหนาแนน 1.15 kg/m3

5.3.2 ปจจัยท่ีมีผลตอการเกิดแกสชีวภาพ

การยอยสลายสารอินทรียและการผลิตกาซมีปจจัยตางๆ เก่ียวของดังตอไปนี้

361. อุณหภูมิ (Temperature) การยอยสลายสารอินทรียตองอยูในสภาพไมมีออกซิเจน เกิดข้ึน

ในชวงอุณหภูมิท่ีกวางมากตั้งแต 4-60 องศาเซลเซียส ข้ึนอยูกับชนิดของกลุมจุลินทรีย ในสภาพภูมิอากาศ

แบบประเทศไทยควรควบคุมใหอยูในชวง 30 – 35 ๐C

362. ความเปนกรด-ดาง (pH) ความเปนกรด-ดาง มีความสําคัญตอการหมักมาก ชวง pH ท่ี

เหมาะสมอยูท่ีระดับ 6.6-7.5 ถาต่ําเกินไปจะเปนอันตรายตอจุลินทรียท่ีสรางกาซมีเทน

363. สารอาหาร (Nutrients) สารอินทรียซ่ึงมีความเหมาะสมสําหรับการเจริญเติบโตของ

จุลินทรีย ควรมีอัตราสวนของ C : N และ C : P ท่ีเหมาะสม เทากับ 25 : 1 และ 20 : 1 ตามลําดับ

364. สารยับยั้งและสารพิษ (Inhibiting and Toxic materials) เชน กรดไขมันระเหยได

ไฮโดรเจน หรือแอมโมเนีย สามารถทําใหขบวนการยอยสลายในสภาพไรออกซิเจนหยุดชะงักได

365. สารอินทรียและลักษณะของสารอินทรียหรือวัตถุดิบท่ีใชหมัก36 ถาผานการยอยมากอน เชน

มูลสัตวจะเกิดกาซไดงายและมีปริมาณกาซมากกวา

366. ชนิดและแบบของบอกาซชีวภาพ (Biogas plant) บอกาซชีวภาพแบงตามลักษณะการ

ทํางาน ลักษณะของวัตถุดิบ และประสิทธิภาพการทํางานไดเปน 2 ชนิด ดังนี้

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 28: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

5-9

6.1 บอหมักชาหรือบอหมักของแข็ง โดยท่ัวไป มี 3 แบบหลัก คือ

(1) แบบยอดโดม ( fixed dome digester )

(2) แบบฝาครอบลอย ( floating drum digester ) หรือแบบอินเดีย (Indian

digester)

(3) แบบพลาสติกคลุมราง (plastic covered ditch) หรือแบบพลักโฟลว (plug flow

digester)

a) แบบยอดโดม (fixed dome digester) b) แบบฝาครอบลอย (floating drum digester)

c) แบบพลาสติกคลุมราง (plug flow digester)

รูปท่ี 5-6 บอหมักชาหรือบอหมักแข็ง

6.2 บอหมักเร็วหรือบอบําบัดน้ําเสีย แบงไดเปน 2 แบบหลัก คือ

(1) แบบบรรจุตัวกลางในสภาพไรออกซิเจน (Anaerobic filter) หรืออาจเรียกตามชื่อ

ยอวา แบบเอเอฟ (AF) ตัวกลางท่ีทําไดจากวัสดุมีหลายชนิด เชน กอนหิน กรวด พลาสติก เสนใย

สังเคราะห ไมไผตัดเปนทอน เปนตน ลักษณะของบอหมักเร็วนี้ จุลินทรียจะเจริญเติบโตและเพ่ิมจํานวน

ตามตัวกลางท่ีถูกตรึงอยูกับท่ี กาซจะถูกเก็บภายในพลาสติกท่ีคลุมอยูเหนือราง มักใชไมแผนทับเพ่ือปองกัน

แสงแดดและเพ่ิมความดันกาซ

(2) แบบยูเอเอสบี (UASB หรือ Upflow anaerobic sludge blanket) บอหมักเร็ว

แบบนี้ ใชตะกอนของสารอินทรีย (sludge) ท่ีเคลื่อนไหวภายในบอหมัก เปนตัวกลางใหจุลินทรียเกาะ

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 29: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

5-10

ลักษณะการทํางานเกิดข้ึนโดยการควบคุมความเร็วของน้ําเสียใหไหลเขาบอหมักจากดานลางข้ึนสูดานบน

ตะกอนสวนท่ีเบาจะลอยตัวไปพรอมกับน้ําเสียท่ีไหลลนออกนอกบอ ตะกอนสวนท่ีหนักจะจมลงกนบอ

a) Anaerobic Filter b) UASB

รูปท่ี 5-7 บอหมักเร็วหรือบอบําบัดน้ําเสีย

5.4 พลังงานแสงอาทิตย

พลังงานแสงอาทิตย ถือวาเปนอภิพลังงานโดยแท ซ่ึงความพยายามท่ีจะนําพลังงานแสงอาทิตยมาใช

ประโยชนจําเปนท่ีจะตองเริ่มตนเขาใจถึงแหลงกําเนิดพลังงาน คือ ดวงอาทิตย และเม่ือพลังงานแสงอาทิตย

เดินทางมาถึงโลกแลว ก็ตองเขาใจถึงการเปลี่ยนแปลงของพลังงานแสงอาทิตย เม่ือผานบรรยากาศของผิว

โลก เนื่องจากสภาพอากาศจะมีความแปรปรวนมาก ซ่ึงเปนผลจากความหลากหลายของลักษณะภูมิ

ประเทศท่ีประกอบกันเปนผิวโลก ความหลากหลายของภูมิอากาศ รวมถึงความหลากหลายของกิจกรรม

ของมนุษยท่ีสรางผลกระทบตอบรรยากาศโลก

5.4.1 เซลลแสงอาทิตย

เซลลแสงอาทิตยถูกสรางข้ึนมาครั้งแรกในป ค.ศ. 1954 (พ.ศ. 2497) โดย แชปปน (Chapin)

ฟูลเลอร (Fuller) และเพียสัน (Pearson) แหงเบลลเทลเลโฟน (Bell Telephon) โดยท้ัง 3 ทานนี้ได

คนพบเทคโนโลยีการสรางรอยตอ พี-เอ็น (P-N) แบบใหม โดยวิธีการแพรสารเขาไปในผลึกของซิลิกอน จน

ไดเซลลแสงอาทิตยอันแรกของโลก ซ่ึงมีประสิทธิภาพเพียง 6% ซ่ึงปจจุบันนี้ เซลลแสงอาทิตยไดถูก

พัฒนาข้ึนจนมีประสิทธิภาพสูงกวา 15% แลว ในระยะแรกเซลลแสงอาทิตยสวนใหญจะใชสําหรับโครงการ

ดานอวกาศ ดาวเทียมหรือยานอวกาศท่ีสงจากพ้ืนโลกไปโคจรในอวกาศ ก็ใชแผงเซลลแสงอาทิตยเปน

แหลงกําเนิดพลังไฟฟา ตอมาจึงไดมีการนําเอาแผงเซลลแสงอาทิตยมาใชบนพ้ืนโลกเชนในปจจุบันนี้ เซลล

แสงอาทิตยในยุคแรกๆ สวนใหญจะมีสีเทาดํา แตในปจจุบันนี้ไดมีการพัฒนาใหเซลลแสงอาทิตยมีสีตางๆ

กันไป เชน แดง น้ําเงิน เขียว ทอง เปนตน เพ่ือความสวยงาม (การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย, มปป)

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 30: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

5-11

5.4.2 ชนิดของเซลลแสงอาทิตย

เซลลแสงอาทิตยจะแบงออกเปน 2 กลุมใหญๆ คือ

- กลุมเซลลแสงอาทิตยท่ีทําจากสารก่ึงตัวนําประเภทซิลิคอน จะแบงตามลักษณะของผลึกท่ี

เกิดข้ึน คือ แบบท่ีเปน รูปผลึก (Crystal) และแบบท่ีไมเปนรูปผลึก (Amorphous) แบบท่ีเปนรูปผลึก จะ

แบงออกเปน2 ชนิด คือ ชนิดผลึกเด่ียวซิลิคอน (Single Crystalline Silicon Solar Cell) และ ชนิดผลึก

รวมซิลิคอน (Poly Crystalline Silicon Solar Cell) แบบท่ีไมเปนรูปผลึก คือ ชนิดฟลมบางอะมอรฟส

ซิลิคอน (Amorphous Silicon Solar Cell)

- กลุมเซลลแสงอาทิตยท่ีทําจากสารประกอบท่ีไมใชซิลิคอน ซ่ึงประเภทนี้ จะเปนเซลล

แสงอาทิตยท่ีมีประสิทธิภาพสูงถึง 25% ข้ึนไป แตมีราคาสูงมาก ไมนิยมนํามาใชบนพ้ืนโลก จึงใชงาน

สําหรับดาวเทียมและระบบรวมแสงเปนสวนใหญ แตการพัฒนาขบวนการผลิตสมัยใหมจะทําใหมีราคาถูก

ลง และนํามาใชมากข้ึนในอนาคต

5.4.3 สวนประกอบของเซลลแสงอาทิตย

แรงเคลื่อนไฟฟาท่ีผลิตข้ึนจากเซลลแสงอาทิตยเพียงเซลลเดียวจะมีคาต่ํามาก การนํามาใช

งานจะตองนําเซลลหลาย ๆ เซลล มาตอกันแบบอนุกรมเพ่ือเพ่ิมคาแรงเคลื่อนไฟฟาใหสูงข้ึน เซลลท่ีนํามา

ตอกันในจํานวนและขนาดท่ีเหมาะสมเรียกวา แผงเซลลแสง อาทิตย (Solar Module หรือ Solar Panel)

การทําเซลลแสงอาทิตยใหเปนแผงก็เพ่ือความสะดวกในการนําไปใชงาน ดานหนาของแผง

เซลล ประกอบดวย แผนกระจกท่ี มีสวนผสมของเหล็กต่ํา ซ่ึงมีคุณสมบัติในการยอมใหแสงผานไดดี และยัง

เปนเกราะปองกันแผนเซลลอีกดวย แผงเซลลจะตองมีการ ปองกันความชื้นท่ีดีมาก เพราะจะตองอยูกลาง

แดดกลางฝนเปนเวลายาวนาน ในการประกอบจะตองใชวัสดุท่ีมีความคงทนและปอง กันความชื้นท่ีดี เชน

ซิลิโคนและ อีวีเอ (Ethylene Vinyl Acetate) เปนตน เพ่ือเปนการปองกันแผนกระจกดานบนของแผง

เซลล จึงตองมีการทํากรอบดวยวัสดุท่ีมีความแข็งแรง แตบางครั้งก็ไมมีความจําเปน ถามีการเสริมความ

แข็งแรงของแผนกระจกใหเพียงพอ ซ่ึงก็สามารถทดแทนการทํากรอบไดเชนกัน ดังนั้นแผงเซลลจึงมี

ลักษณะเปนแผนเรียบ (laminate) ซ่ึงสะดวกในการติดตั้ง

รูปท่ี 5-8 สวนประกอบของเซลลแสงอาทิตย

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 31: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

5-12

5.4.4 หลักการทํางานของเซลลแสงอาทิตย

การทํางานของเซลลแสงอาทิตย เปนขบวนการเปลี่ยนพลังงานแสงเปนกระแสไฟฟาได

โดยตรง โดยเม่ือแสงซ่ึงเปนคลื่นแมเหล็กไฟฟาและมีพลังงานกระทบกับสารก่ึงตัวนํา จะเกิดการถายทอด

พลังงานระหวางกัน พลังงานจากแสงจะทําใหเกิดการเคลื่อนท่ีของกระแสไฟฟา (อิเลค็ตรอน) ข้ึนในสารก่ึง

ตัวนํา จึงสามารถตอกระแสไฟฟาดังกลาวไปใชงานได

รูปท่ี 5-9 หลักการทํางานของเซลลแสงอาทิตย

1) n - type ซิลิคอน ซ่ึงอยูดานหนาของเซลล คือ สารก่ึงตัวนําท่ีไดการโดปปงดวยสาร

ฟอสฟอรัส มีคุณสมบัติเปนตัวใหอิเล็กตรอนเม่ือรับพลังงานจากแสงอาทิตย p - type ซิลิคอน คือสารก่ึง

ตัวนําท่ีไดการโดปปงดวยสารโบรอน ทําใหโครงสรางของอะตอมสูญเสียอิเล็กตรอน (โฮล) เม่ือรับพลังงาน

จากแสงอาทิตยจะทําหนาท่ีเปนตัวรับอิเล็กตรอน เม่ือนําซิลิคอนท้ัง 2 ชนิด มาประกบตอกันดวย p - n

junction จึงทําใหเกิดเปน " เซลลแสงอาทิตย " ในสภาวะท่ียังไมมีแสงแดด n - type ซิลิคอนซ่ึงอยู

ดานหนาของเซลล สวนประกอบสวนใหญพรอมจะใหอิเล็กตรอน แตก็ยังมีโฮลปะปนอยูบางเล็กนอย

ดานหนาของ n - type จะมีแถบโลหะเรียกวา Front Electrode ทําหนาท่ีเปนตัวรับอิเล็กตรอน สวน p -

type ซิลิคอนซ่ึงอยูดานหลังของเซลล โครงสรางสวนใหญเปนโฮล แตยังคงมีอิเล็กตรอนปะปนบาง

เล็กนอย ดานหลังของ p - type ซิลิคอนจะมีแถบโลหะเรียกวา Back Electrode ทําหนาท่ีเปนตัวรวบรวม

โฮล

2) เม่ือมีแสงอาทิตยตกกระทบ แสงอาทิตยจะถายเทพลังงานใหกับอิเล็กตรอนและโฮล ทําให

เกิดการเคลื่อนไหว เม่ือพลังสูงพอท้ังอิเล็กตรอนและโฮลจะวิ่งเขาหาเพ่ือจับคูกัน อิเล็กตรอนจะวิ่งไปยังชั้น

n - type และโฮลจะวิ่งไปยังชั้น p type

3) อิเล็กตรอนวิ่งไปรวมกันท่ี Front Electrode และโฮลวิ่งไปรวมกันท่ี Back Electrode

เม่ือมีการตอวงจรไฟฟาจาก Front Electrode และ Back Elec trode ใหครบวงจร ก็จะเกิดกระแสไฟฟา

ข้ึน เนื่องจากท้ังอิเล็กตรอนและโฮลจะวิ่งเพ่ือจับคูกัน

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 32: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

5-13

5.5 พลังงานชีวมวล

14ชีวมวล(Biomass) คือ สารอินทรียท่ีเปนแหลงกักเก็บพลังงานจากธรรมชาติและสามารถนํามาใชผลิต

พลังงานได สารอินทรียเหลานี้ไดมาจากพืชและสัตวตางๆ เชน เศษไม ขยะ วัสดุเหลือใชทางการเกษตร

การใชงานชีวมวลเพ่ือทําใหไดพลังงานทําไดโดย นํามาเผาไหมเพ่ือนําพลังงานความรอนท่ีไดไปใชใน

กระบวนการผลิตไฟฟาทดแทนพลังงานจากฟอสซิล (เชน น้ํามัน) ซ่ึงมีอยูอยางจํากัดและอาจหมดลงได ชีว

มวลเลานี้ มีแหลงท่ีมาตางๆ กัน อาทิ พืชผลทางการเกษตร (agricultural crops) เศษวัสดุเหลือท้ิง

การเกษตร (agricultural residues) ไมและเศษไม (wood and wood residues) หรือของเหลือจากจาก

อุตสาหกรรมและชุมชน ตัวอยางเชน แกลบ ชานออย เศษไม กากปาลม กากมันสําปะหลัง ซังขาวโพด

กาบและกะลามะพราว เปนตน

14 พลังงานชีวมวล (Bio-energy) หมายถึง พลังงานท่ีไดจากชีวมวลชนิดตางๆ โดยกระบวนการแปรรูป

ชีวมวลไปเปนพลังงานรูปแบบตางๆ ในท่ีนี้ จะหมายถึงกระบวนการแปรรูปทางเคมี-ความรอน

ประกอบดวย 1) การเผาไหมโดยตรง(Direct Combustion) และ 2) การผลิตแกสชีวมวล (Gasification)

5.5.1 การเผาไหมโดยตรง (Direct Combustion)

ระบบการเผาไหมโดยตรงไดรับการพัฒนามาเปนเวลานานกวา 100 ป และในปจจุบันระบบ

การเผาไหมโดยตรงเพ่ือทํางานรวมกับเทคโนโลยีกังหันไอน้ําในการผลิตพลังงานจากชีวมวลเปนระบบท่ีมี

การใชมากท่ีสุดในโลก ซ่ึงสามารถจําแนกได 3 รูปแบบ คือ การเผาไหมในเตาเผาแบบตะกรับ (Stoker

Firing) การเผาไหมในเตาเผาฟลูอิไดซเบด (Fluidised Bed Combustion) และการเผาไหมในแบบลอยตัว

(Suspension Firing)

1) ระบบการเผาไหมแบบตะกรับ เปนระบบท่ีใชเครื่องจักรปอนเชื้อเพลิงแทนแรงงานคนโดย

มีกลไกท่ีไมซับซอนมากนัก มีราคาถูก และสามารถออกแบบใหใชไดกับเชื้อเพลิงแข็งหลายๆชนิด หลาย

ขนาด แตมีขอเสียคือระบบแบบตะกรับ มีขีดความสามารถในการผลิตไอน้ําต่ํา

รูปท่ี 5-10 ระบบการเผาไหมโดยตรงแบบตะกรับเลื่อน

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 33: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

5-14

2) ระบบการเผาไหมแบบฟลูอิไดซเบด คือเปนระบบท่ีอากาศจะเขาสูระบบทางดานลางและ

ไหลผานชั้นของเชื้อเพลิง เม่ือเพ่ิมอัตราความเร็วของอากาศถึงจุดหนึ่งเชื้อเพลิงจะลอยตัวข้ึนมีลักษณะ

คลายของไหล ซ่ึงเรียกวา สภาวะของ Fluidization โดยจะมีสารเฉ่ือย (Inert Material) เชนทราย หรือ

สารทําปฏิกิริยา (Reaction Material) เชน หินปูน เปนเบด เม่ือเริ่มติดเตาเบดจะไดรับความรอนจาก

ภายนอกจนอุณหภูมิถึงจุดติดไฟของเชื้อเพลิง ซ่ึงเชื้อเพลิงจะถูกปอนเขาสูเตาอยางสมํ่าเสมอ โดยมีเบดชวย

ในการถายเทความรอน โดยปกติเชื้อเพลิงจะถูกปอนเขาสูระบบในตําแหนงเหนือชั้นของทราย

รูปท่ี 5-11 ระบบการเผาไหมแบบฟลูอิดไดซเบด

3) ระบบการเผาไหมในแบบลอยตัว การเผาไหมเชื้อเพลิงของระบบนี้ใชหลักการเดียวกับการ

เผาไหมในเตาเผาเชื้อเพลิงบดละเอียด (Pulverized Fuel Combustor) ซ่ึงเปนเทคโนโลยีท่ีใชกับถานหิน

และเปนวิธีท่ีใชกันมากท่ีสุดในโรงไฟฟา การเผาไหมจะเกิดข้ึนในลักษณะท่ีเชื้อเพลิงถูกแขวนลอย ดังนั้น

ขนาดของเชื้อเพลิงท่ีถูกปอนเขาสูเตาจะตองมีขนาดเล็กสามารถแขวนลอยอยูไดในอากาศ อากาศสวนแรก

ท่ีถูกปอนเขาสูเตาจะถูกอุนกอนเพ่ือชวยในการอบแหงเชื้อเพลิง อากาศสวนท่ีสองจะถูกสงเขาสูเตาโดยตรง

เพ่ือชวยทําใหเกิดการเผาไหมท่ีสมบูรณ ข้ีเถาท่ีเกิดข้ึนจะถูกปลอยออกมากับไอเสีย

แกสรอนหรือความรอนท่ีไดจากระบบเผาไหมจะถูกนําไปใชในระบบผลิตพลังงาน (Power

Generation System) ซ่ึงโดยท่ัวไปแกสรอนท่ีไดจากระบบการเผาไหมโดยตรงจะผานไปยังหมอไอน้ํา

(Waste Heat Boiler) เพ่ือผลิตไอน้ํ าท่ีใช ในการเดินกังหันไอน้ํ าและผลิตเปนพลังงานไฟฟาตอไป

นอกจากนี้การผลิตพลังงานไฟฟาและความรอนรวมก็ยังสามารถทําได ซ่ึงแนวทางนี้นอกจากจะเปนการ

ตอบสนองตอความตองการในการใชไฟฟา และความรอนเพ่ือการผลิตน้ํารอนหรือการใชไอน้ําความดันสูง

แลว ยังเปนการเพ่ิมประสิทธิภาพโดยรวมของระบบอีกดวย โดยมีการใชประโยชนจากความรอนท่ีเหลือ

(Waste Heat) จากการใชผลิตไฟฟา ในปจจุบันเทคโนโลยีหมอไอน้ําท่ีใชเตาเผาแตละแบบขางตนจะมี

ประสิทธิภาพ (Boiler Efficiency) มากกวา 80% ข้ึนไป

ในระบบท่ีติดตั้งกังหันไอน้ําแบบ Back Pressure ไอน้ําความดันต่ําท่ีออกจากสวนทายของ

กังหันไอน้ํา ดังแสดงในรูปท่ี 3-12 (ก) โดยท่ัวไปมีความดันประมาณ 2 Bars และอุณหภูมิประมาณ

200°C สามารถนําไปใชประโยชนตอได เชน การทําน้ํารอน และระบบทําความรอนความเย็น เปนตน

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 34: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

5-15

สําหรับระบบท่ีติดตั้งกังหันไอน้ําแบบ Extraction Condensing ดังแสดงในรูปท่ี 3-12 (ข) ไอ

น้ําท่ีความดันสูงสามารถดึงออกมาใชไดท่ีสวนกลางของกังหันไอน้ํา ตัวอยางการใชเชน ในอุตสาหกรรมซ่ึง

ตองการใชไอน้ําท่ีความดันสูงเพ่ือใชในกระบวนการผลิตน้ําตาล

(ก) Back Pressure Steam Turbine (ข) Extraction Condensing Steam Turbine

รูปท่ี 5-12 การผลิตพลังงานไฟฟาและความรอนรวม

5.5.2 การผลิตแกสชีวมวล (Gasification)

การผลิตไฟฟาจากเชื้อเพลิงชีวมวลขนาดเล็ก นิยมใช เทคโนโลยีแกสแกสซิฟ เคชั่น

(Gasification Technology) อาศัยกระบวนการทาง Thermo-chemical ผลิตแกสเชื้อเพลิงคือ แกส

คารบอนมอนนอกไซด (CO) แกสไฮโดรเจน (H2) และ แกสมีเทน (CH4) ในปริมาณรอยละ 18-22 18-

22 และ 1-2 ตามลําดับ มีคาความรอนเฉลี่ย 4.5- 5.5 MJ/Nm3 สามารถใชเปนเชื้อเพลิงใหกับเครื่องยนต

สันดาปภายในผลิตกระแสไฟฟา เหมาะกับโรงไฟฟาขนาดเล็ก เทคโนโลยีแกสซิฟเคชั่น เปนเทคโนโลยีท่ีงาย

ไมซับซอน มีเสถียรภาพ และไดรับการยอมรับกันท่ัวโลกวาเปนเทคโนโลยีท่ีมีความปลอดภัย เพราะเปน

ระบบความดันต่ํา (Low Pressure) เหมาะสมสําหรับชุมชน

ในหัวขอนี้จะแสดงรายละเอียดของโรงไฟฟาชีวมวลขนาดเล็ก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

ซ่ึงมีสวนประกอบหลัก 3 สวนคือ 1) ชุดเตาผลิตแกสชีวมวล 2) ระบบทําความสะอาดแกสและ 3) อุปกรณ

ผลิตกระแสไฟฟา โดยแผนผัง ภาพรวม และสวนประกอบของโรงไฟฟาชีวมวลฯ แสดงไวในรูปท่ี 3-13 ถึง

รูปท่ี 3-14 ซ่ึงจากการทดสอบ พบวาเชื้อเพลิงชีวมวลทุกชนิดสามารถผลิตแกสเชื้อเพลิงได โดยมี

ประสิทธิภาพการผลิตไฟฟาของระบบ อยูในชวง 12-16 % เม่ือระบบทํางานท่ี 70% ของกําลังการผลิต ใน

กรณีดังกลาวปริมาณเชื้อเพลิงท่ีใช อยูในชวง 1.3-1.7 kg/kW

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 35: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

5-16

TOP COVER{ OPEN DURING OPERATION }

REACTOR

ASH EXTRACTION SYSTEM

CYCLONE

DIRECT COOLINGSYSTEM

COOLINGTOWER

PR. SANDBED FILTER

CENTRIF--UGALFILTER

ACTIVATED CARBON FILTER

WATER SUMP

SCRUBBER 1

FILTER

SCRUBBER 2

BLOWER

START UPFLARE

SECURITYFILTER1

SECURITYFILTER 2

ENGINEWATER LINE

PROCESS FLOW

GAS LINE

รูปท่ี 5-13 แผนผังกระบวนการของโรงไฟฟาชีวมวลขนาดเล็ก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 36: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

6-1

บทท่ี 6

ขอมูลการสํารวจศักยภาพพลังงานทดแทนท้ัง 5 ดาน

ในการศึกษาศักยภาพพลังงานทดแทนท้ัง 5 ดาน ประกอบไปดวย 1) พลังงานลม 2) พลังงาน

แสงอาทิตย 3) พลังงานน้ํา 4) พลังงานแกสชีวภาพ และ 5) พลังงานชีวมวล ของศูนยศึกษาการพัฒนาอัน

เนื่องมาจากพระราชดําริท้ัง 6 แหง โดยทําการประเมินจากขอมูลทุติยภูมิออกมาเปนคาพลังงาน ดังนี้

ตารางท่ี 6-1 การประเมินศักยภาพพลังงานทดแทน

ประเภทพลังงาน การประเมินศักยภาพ แหลงขอมูล

1) แสงอาทิตย แ ผ น ท่ี ศั ก ย ภ า พ พ ลั ง ง า น

แสงอาทิตยแสดงความเขมรังสีรวม

(MJ/m2-day)

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ

พลังงาน รวมกับหองปฏิบัติการวิจัย

พลังงานแสงอาทิตย ภาควิชาฟสิกส คณะ

วิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

2) ลม แผนท่ีศักยภาพพลังงานลม แสดง

ความ เร็ วลม เฉลี่ ย (m/s) และ

ความสมํ่าเสมอของกําลังลม (ท่ี

ระดับความสูง 20, 50, และ 100

m)

บัณฑิตวิทยาลัยรวมดานพลังงานและ

สิ่ ง แ ว ด ล อ ม , JGSEE ม ห าวิ ท ย าลั ย

เทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

3) น้ําขนาดเล็ก ขอมูลโครงการชลประทาน และ

ขอมูลพ้ืนท่ีลุมน้ําหลักประเทศไทย

พรอมท้ังศึกษาขอมูลเพ่ิมเติมจาก

ศูนยศึกษาฯ

กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและ

สหกรณ

4) แกสชีวภาพ พลังงานแกสชีวภาพจากมูลสัตว

(TJ) ซ่ึ ง ป ร ะ เมิ น จ า ก จํ า น ว น

ประชากรสัตวเลี้ยงในแตละพ้ืนท่ี

สํานักงานปศุสัตวอําเภอ กรมปศุสัตว

กระทรวงเกษตรและสหกรณ

5) ชีวมวล วัสดุเหลือใชทางการเกษตร (Ton)

ซ่ึ งป ระ เมิ น จ าก ป ริ ม าณ ก า ร

เพาะปลูกพืชเศรษฐกิจในแตละ

พ้ืนท่ี พรอมท้ังประเมินคาพลังงาน

สะสมของชีวมวล (TJ)

สํานักงานเกษตรอําเภอ กรมสงเสริม

การเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 37: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

6-2

ในการประเมินศักยภาพพลังงานทดแทนจะพิจารณารวมพ้ืนท่ีตําบลรอบศูนยศึกษาฯซ่ึงเปนพ้ืนท่ี

ดําเนินงานของศูนยศึกษาฯ ดังนี้

ตารางท่ี 6-2 พ้ืนท่ีตําบลสําหรับประเมินศักยภาพพลังงานทดแทน

ศูนยศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ พ้ืนท่ี

1.ศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอันเนื่องมาจากพระราชดําร ิ ต.เกาะขนุน

ต.บานซอง

ต.เขาหินซอน

6.1 ศักยภาพพลังงานลม

ในการประเมินศักยภาพพลังงานลม ไดใชขอมูลของบัณฑิตวิทยาลัยรวมดานพลังงานและสิ่งแวดลอม

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี ภายใตโครงการ “การประเมินศักยภาพแหลงพลังงานลมดวย

แบบจําลองทางคณิตศาสตรและการวิเคราะหดานภูมิศาสตรสารสนเทศ” ซ่ึงประกอบไปดวยขอมูลเฉลี่ย

รายปของความเร็วลม (m/s) ท่ีระดับความสูง 20 m, 50 m และ 100 m ซ่ึงเปนระดับความสูงของเครื่อง

กังหันลมท่ีนิยมใชกันในปจจุบัน และมีการผลิตขายในทองตลาด

ตารางท่ี 6-3 ศักยภาพพลังงานลมศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอันเนื่องมาจากพระราชดําริ

อําเภอ ตําบล ความเร็วลม/±ความสม่ําเสมอ

20 m 50 m 100 m

พนมสารคาม เกาะขนุน 5.30±2.92 5.85±3.08 6.45±3.42

พนมสารคาม บานซอง 5.38±3.08 5.92±3.17 6.50±3.33

พนมสารคาม เขาหินซอน 5.25±2.92 5.79±3.17 6.36±3.33

คาเฉลี่ย 5.31±2.97 5.85±3.14 6.44±3.36

6.2 ศักยภาพพลังงานแสงอาทิตย

ขอมูลศักยภาพพลังงานแสงอาทิตย ไดใชขอมูลทุติยภูมิท่ีไดจัดทําไวโดยกรมพัฒนาพลังงานทดแทน

และอนุรักษพลังงาน และภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยศิลปากร ซ่ึงเปนขอมูลความเขมรังสีตรงเฉลี่ยใน

ระดับอําเภอ ซ่ึงถูกจัดเก็บไวในหนวยพลังงานตอพ้ืนท่ี (MJ/m2-day)

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 38: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

6-3

ตารางท่ี 6-4 ศักยภาพพลังงานแสงอาทิตยศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอันเนื่องมาจากพระราชดําริ

อําเภอ ตําบล average of daily direct normal solar

radiation (MJ/m2-day)

คาความเขมรังสีตรงเฉลีย่ตอป

(MJ/m2-Y)

พนมสารคาม เกาะขนุน 12.25 4,469.53

พนมสารคาม บานซอง 12.25 4,469.53

พนมสารคาม เขาหินซอน 12.25 4,469.53

เฉลี่ย 12.25 4,469.53

6.3 ศักยภาพพลังงานน้ําขนาดเล็ก

ในการประเมินศักยภาพพลังงานน้ําขนาดเล็กพิจารณาขอมูลโครงการชลประทานในพ้ืนท่ีศูนยศึกษา

และขอมูลลุมน้ําหลักของประเทศไทย พรอมท้ังพิจารณาจากศักยภาพเชิงกําลัง ประกอบดวย อัตราการ

ไหลของน้ํา(Flow rate) และความสูงของน้ํา(Head) ซ่ึงนอกจากศักยภาพในเชิงของกําลังการผลิต

กระแสไฟฟาแลว ยังมีปจจัยดานอ่ืนๆท่ีมีความสําคัญ และจําเปนอยางยิ่งในการนํามาพิจารณาประกอบกับ

การประเมินศักยภาพพลังงานน้ํา โดยประกอบดวยประเด็นสําคัญๆ เชน ปริมาณความตองการใชน้ําใน

ปจจุบันและอนาคต ปริมาณน้ําในพ้ืนท่ีศึกษา สภาพพ้ืนท่ีรับน้ําและเก็บกักน้ํา และผลกระทบตอ

สิ่งแวดลอม

6.3.1 ขอมูลโครงการชลประทานในพ้ืนท่ีศูนยศึกษาฯ

จากการสืบคนขอมูลโครงการชลประทานซ่ึงอยูในบริเวณขอบเขตพ้ืนท่ีของศูนยศึกษาฯ ท้ัง 6

แหง โดยทําการสืบคนจากฐานขอมูลของกรมชลประทานท่ีไดจัดเก็บไว ประกอบไปดวย ชื่อโครงการ

ชลประทาน ประเภทโครงการ ขนาดโครงการ และความจุของน้ําชลประทาน เปนตน ซ่ึงนําเขาขอมูล

โครงการเฉพาะสวนท่ีอยูบริเวณใกลเคียงพ้ืนท่ีระดับตําบลท่ีศูนยศึกษาฯดูแลรับผิดชอบ เพ่ือประกอบการ

พิจารณาในเบื้องตน ดังนี้

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 39: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

6-4

ตารางท่ี 6-5 โครงการชลประทานในพ้ืนท่ีศูนยศึกษาฯเขาหินซอน

โครงการ จังหวัด อําเภอ ตําบล ประเภท ความจุ (ลาน m3)

ทาลาด** ฉะเชิงเทรา พนมสารคาม เกาะขนุน - -

ฝายบานหวยพลูและการขุดลอก* ฉะเชิงเทรา พนมสารคาม เกาะขนุน I -

อางสุงยายใจ* ฉะเชิงเทรา พนมสารคาม เกาะขนุน SI 0.56

อางหวยเจ็ก* ฉะเชิงเทรา พนมสารคาม เขาหินซอน SI 0.1

ทํานบหนองแสง - หนองปรือ* ฉะเชิงเทรา พนมสารคาม เขาหินซอน C -

อางหวยเจ็ก (หวยแยก 2)* ฉะเชิงเทรา พนมสารคาม เขาหินซอน SI 0.11

อางสํารองลุมนํ้าโจน 10* ฉะเชิงเทรา พนมสารคาม เขาหินซอน SI 0.05

จัดหาแหลงนํ้าสํารอง ลุมนํ้าโจน 9* ฉะเชิงเทรา พนมสารคาม เขาหินซอน C -

อางลุมนํ้าโจน 5* ฉะเชิงเทรา พนมสารคาม เขาหินซอน SI 0.6

อางสํารองลุมนํ้าโจน 8* ฉะเชิงเทรา พนมสารคาม เขาหินซอน SI 0.6

อางลุมนํ้าโจน 6* ฉะเชิงเทรา พนมสารคาม เขาหินซอน SI 0.25

ฝายบานหนองแสง* ฉะเชิงเทรา พนมสารคาม เขาหินซอน I -

อางบานหนองเตียน* ฉะเชิงเทรา พนมสารคาม เขาหินซอน SI 0.3

อางคลองปรือวาย* ฉะเชิงเทรา พนมสารคาม เขาหินซอน SI 0.12

อางหนองเหียง* ฉะเชิงเทรา พนมสารคาม เขาหินซอน SI 0.4

ที่มา : กรมชลประทาน (2555) ***โครงการชลประทานขนาดใหญ **โครงการชลประทานขนาดกลาง *โครงการชลประทานขนาดเล็ก S = การเก็บน้าํโดยเขือ่นหรืออางเก็บน้าํ C = การเก็บน้ําในลําคลองและทุง I = การทดน้ําและสงน้ํา (เหมืองฝาย) P = การสูบน้ํา D = การระบายน้าํ H = การไฟฟาพลังน้ํา F = การบรรเทาอุทกภยัและคันกั้นน้าํ

6.3.2 ขอมูลพ้ืนท่ีลุมน้ําหลักของประเทศไทย

นอกจากขอมูลโครงการชลประทานแลว ยังไดศึกษาขอมูลพ้ืนท่ีลุมน้ําหลักของประเทศไทย

25 ลุมน้ํา ซ่ึงเปนขอมูลพ้ืนท่ีรับน้ํา ประกอบดวย ขอมูลปริมาณพ้ืนท่ี ปริมาณน้ําทาเฉลี่ย ความจุ ความ

หนาแนนประชากร และพ้ืนท่ีชลประทาน โดยทําการพิกัดพ้ืนท่ีศูนยศึกษาท้ัง 6 แหง ลงบนแผนท่ีลุมน้ํา

ของประเทศไทย

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 40: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

6-5

รูปท่ี 6-1 แผนท่ีลุมน้ําหลักในประเทศไทย

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 41: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

6-6

ตารางท่ี 6-6 ขอมูลลุมน้ําหลักของประเทศไทย 25 แหง

รหัส

ชื่อลุมนํ้า

พ.ท.ลุมนํ้า

(ตร.กม.)

ปริมาณ

นํ้าทาเฉลีย่

(ลาน ลบ.ม.)

ความจุอาง

(ลาน ลบ.

ม.)

ความหนาแนน

ประชากร

(คน/ตร.กม.)

พท.

ชลประทาน

(ไร)

1 ลุมน้ําสาละวิน 17,920 8,570.70 24 25.16 188,948

2 ลุมนํ้าโขง 57,422 20,532.00 1,551 103.48 1,692,333

3 ลุมน้ํากก 7,895 5,279.30 30 63 520,767

4 ลุมน้ําชี 49,477 11,187.50 4,245 112 1,863,173

5 ลุมน้ํามูล 69,700 21,092.10 4,255 120 1,819,785

6 ลุมนํ้าแมปง 33,898 8,577.90 14,107 74.8 1,942,927

7 ลุมน้ําวัง 10,791 1,513.40 197 54.93 472,350

8 ลุมน้ํายม 23,616 3,650.80 98 72.92 994,205

9 ลุมน้ํานาน 34,330 11,017.40 9,619 67.78 1,780,637

10 ลุมน้ําเจาพระยา 20,125 4,925.00 33 211.06 5,731,375

11 ลุมน้ําสะแกกรัง 5,191 1,297.00 162 77.04 436,410

12 ลุมน้ําปาสัก 16,292 2,820.20 124 126.61 661,120

13 ลุมน้ําทาจีน 13,682 2,815.00 416 143 2,385,259

14 ลุมน้ําแมกลอง 30,837 7,973.00 26,690 48.51 3,400,000

15 ลุมน้ําปราจีนบุรี 10,481 5,267.50 57 89.5 733,862

16 ลุมนํ้าบางประกง 7,978 3,712.70 74 154.21 1,353,263

17 ลุมน้ําโตนเลสาป 4,150 6,266.20 96 45.54 123,720

18 ลุมนํ้าชายฝงทะเลตะวันออก 13,830 11,113.90 565 117.3 427,000

19 ลุมนํ้าเพชรบุร ี 5,603 1,379.00 760 69.8 562,688

20

ลุมน้ําชายฝงทะเล

ประจวบคีรีขันธ 6,745 629.3 537 74 327,015

21 ลุมนํ้าภาคใตฝงตะวันออก 26,353 23,270.00 5 118.07 1,780,481

22 ลุมน้ําตาป 12,225 12,977.80 5,665 74 245,970

23 ลุมน้ําทะเลสาปสงขลา 8,495 4,896.00 28 157.47 905,550

24 ลุมน้ําปตตาน ี 3,858 5,808.00 1,420 184.17 337,878

25 ลุมน้ําภาคใตฝงตะวันตก 21,172 24,894.40 20 77.05 339,273

จากการพิจารณาขอมูลโครงการชลประทานขางตน พบวาในแตละพ้ืนท่ีศูนยศึกษาฯ มีโครงการ

ชลประทานท่ีกอสรางแลวเสร็จและดําเนินการอยูแลว มีเพียงศูนยศึกษาการพัฒนาอาวคุงกระเบนอัน

เนื่องมาจากพระราชดําริ ซ่ึงไมพบขอมูลโครงการชลประทาน (มีเพียงโครงการชลประทานน้ําเค็มสําหรับ

พ้ืนท่ีทํานากุงท่ีดําเนินการโดยศูนยศึกษาฯเอง) ซ่ึงโครงการชลประทานสวนใหญเปนโครงการประเภทการ

เก็บน้ําโดยเข่ือนหรืออางเก็บน้ํา การทดน้ําและสงน้ําในระบบเปดไปยังพ้ืนท่ีชลประทาน และมีโครงการ

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 42: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

6-7

ชลประทานสวนนอยเปนโครงการประเภทการเก็บน้ําในลําคลองและทุง และการระบายน้ํา ซ่ึงโครงการ

ชลประทานดังกลาวมีการดําเนินงานและดูแลโดยกรมชลประทาน

นอกจากนั้นยังตองวิเคราะหและพิจารณาถึงขอมูลของแตละศูนยศึกษาฯท้ัง 6 แหง ประกอบกับ

ขอมูลพ้ืนท่ีลุมน้ําหลักในประเทศไทย ซ่ึงสามารถนํามาใชในการพิจารณาความเหมาะสมและศักยภาพ

เบื้องตนในดานตางๆ ประกอบดวย

ตารางท่ี 6-7 การวิเคราะหความเหมาะสมและศักยภาพพลังงานน้ําเบื้องตน

ศูนยศึกษาฯ วิเคราะห

เขาหินซอน

จ.ฉะเชิงเทรา

พ้ืนท่ีศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนฯ ตั้งอยูภายในพ้ืนท่ีลุมนํ้าบางประกงซึ่งมีพ้ืนท่ีลุมนํ้ารวม

7,978 ตร.กม. ปริมาณนํ้าทาเฉลี่ย 3,712.70 ลาน ลบ.ม. ความจุอาง 74 ลาน ลบ.ม. และมีพ้ืนท่ี

ชลประทานรวม 1,353,263 ไร ซึ่งถือวามีความตองการใชนํ้าชลประทานมากพอควร และบริเวณ

พ้ืนท่ีศูนยศึกษาจะมีอางเก็บนํ้าลุมนํ้าโจนซึ่งมีอยูหลายแหง และอางหวยเจก กระจายอยูตามพ้ืนท่ี

โดยรอบซึ่งมีปริมาณความจุอางเก็บนํ้าไมมาก ดังน้ัน นํ้าทาสวนใหญจําเปนตองสํารองไวใชอุปโภค

และทําเกษตรในพ้ืนท่ีศูนยศึกษา

6.4 ศักยภาพพลังงานแกสชีวภาพ

ในการประเมินศักยภาพพลังงานแกสชีวภาพจะใชขอมูลจํานวนสัตวซ่ึงไดจากการเขาสํารวจขอมูล

โดยไดความอนุเคราะหจากปศุสัตวอําเภอในพ้ืนท่ีศูนยศึกษา ซ่ึงความสามารถในการผลิตพลังงานแกส

ชีวภาพประเมินไดจากสัดสวนของมูลสัตวแตละประเภท อาทิ สุกร โค กระบือ ไกและเปด ซ่ึงเปนสัตว

เศรษฐกิจและมีการเลี้ยงกันอยางแพรหลาย เม่ือนํามาหมักในระบบแบบไรออกซิเจน สามารถคํานวณได

จากกระบวนการเปลี่ยนสภาพปริมาณของแข็งในรูปของมูลสัตวไปเปนสารอินทรียระเหยงายและเปลี่ยนไป

เปนแกสชีวภาพในข้ันสุดทาย จากนั้นคํานวณศักยภาพพลังงานจากปริมาณแกสชีวภาพรวมท้ังหมดของ

สัตวแตละประเภท ซ่ึงคํานวณไดจากสัดสวนมูลสัตวในหนวยน้ําหนักและการแปรสภาพไปเปนสารใน

ข้ันตอนตางๆ

ตารางท่ี 6-8 พารามิเตอรการประเมินศักยภาพพลังงานแกสชีวภาพ

ชนิด ปริมาณมูลสด1)

(กก./ตัว/วัน)

สัดสวนมลูสัตวท่ี

เก็บได

สัดสวนของ

ของแข็งระเหยงาย (%)

อัตราการผลิตแกสชีวภาพ

(ลบ.ม./กก.ของแข็งระเหยงาย)

โค 5.00 0.5 13.37 0.307

กระบือ 8.00 0.5 13.64 0.286

สุกร 1.20 0.8 24.84 0.217

ไก 0.03 0.8 22.34 0.242

เปด 0.03 0.4 17.44 0.310

1. กรมสงเสริมการเกษตร, คูมือการคํานวณขนาดของบอกาซชีวภาพทีจ่ะกอสราง 2. ประเมินโดยกรมพัฒนาและสงเสริมพลังงาน

3. ผลการทดลองจากหองทดลองกรมพฒันาและสงเสริมพลังงาน

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 43: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

6-8

ปริมาณสุกรในศูนยศึกษาฯเขาหินซอน จ.ฉะเชิงเทรา 147,936 ตัว

สัดสวนปริมาณมูลสดท่ีเกิดข้ึน 1.20 กก./ตัว/วัน

ดังนั้น มีปริมาณมูลสดของสุกรเกิดข้ึน 177.52 ตัน/วัน

สัดสวนมูลสัตวท่ีเก็บได 0.8

ดังนั้น มีปริมาณมูลสดของสุกรท่ีผลิตแกสชีวภาพได 177.52 x 0.8 ตัน/วัน

142.02 ตัน/วัน

สัดสวนของของแข็งระเหยงาย 24.84 %

ดังนั้น มีปริมาณของแข็งระเหยงาย 142.02 x 24.84% ตัน/วัน

35.28 ตัน/วัน

อัตราการเกิดแกสชีวภาพ 0.217 ลบ.ม./กก.

ดังนั้น มีปริมาณแกสชีวภาพ 0.217 x 35.28 x 1,000 ลบ.ม./วัน

7,655.76 ลบ.ม./วัน

2.79 ลานลบ.ม./ป

พลังงานตอหนวยลูกบาศกเมตรของแกสชีวภาพ 21 MJ/ลบ.ม.

พลังงานท่ีไดจากแกสชีวภาพ 2.79 x 106 x 21 TJ/ป

58.68 TJ/ป

ตารางท่ี 6-9 ศักยภาพพลังงานแกสชีวภาพศูนยศึกษาฯเขาหินซอน ชนิดสัตว จํานวน

(Unit)

ปริมณมูลสด

(kg/unit-

day)

ปริมาณของแข็ง

ที่ระเหยได

(ton/year)

อัตราสวน

แกสชีวภาพ

(m3/kg-VS)

ปริมาณแกสชีวภาพ

ที่ผลิตได

(million m3/year)

พลังงาน

(TJ)

โค 2,329.00 5.00 284.14 0.31 0.0872 1.83

กระบือ 515.00 8.00 102.56 0.29 0.0293 0.62

สุกร 147,936.00 1.20 12,876.25 0.22 2.7941 58.68

ไก 5,391,622.00 0.03 10,551.32 0.24 2.5534 53.62

เปด - 0.03 - 0.31 - -

รวม 114.75

6.5 ศักยภาพพลังงานชีวมวล

ปริมาณชีวมวลท่ีใชในการประเมินศักยภาพพลังงานนั้น ไดใชขอมูลการเพาะปลูกท่ีไดมาจากการ

สํารวจในพ้ืนท่ีโดยไดรับความอนุเคราะหขอมูลจากเกษตรอําเภอในพ้ืนท่ี พรอมท้ังใชขอมูลการใชประโยชน

ท่ีดินจากกรมพัฒนาท่ีดิน ซ่ึงศักยภาพพลังงานชีวมวลสามารถคํานวณไดจากปริมาณพ้ืนท่ีปลูกของพืชแต

ละชนิด ซ่ึงจะมีชีวมวลท่ีหลงเหลืออยูหลังจากทําการเก็บเก่ียวแลวเสร็จ (การประเมินไดยกเวนชีวมวลเชิง

พาณิชยท่ีเกิดข้ึนในโรงงานอุตสาหกรรม เนื่องจากถูกใชประโยชนท้ังหมด เชน ชานออย แกลบ เศษไม

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 44: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

6-9

ยางพารา และยูคาลิปตัส เปนตน) โดยประเภทของชีวมวลท่ีเกิดข้ึนในแปลงปลูกนั้นจะมีความหลากหลาย

ตามแตละภูมิภาค อาทิ ภาคเหนือ จะมีปริมาณชีวมวลในรูปของฟางขาวและตอ/ซังขาวโพด ในสวนของ

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคกลาง จะมีปริมาณชีวมวลท่ีหลากหลายเพ่ิมข้ึน อาทิ ออย มันสําปะหลัง

และขาวฟาง เปนตน สําหรับในภาคใตท่ีมีปริมาณน้ําฝนสูงกวาภาคอ่ืน ๆ จะมีชีวมวลประเภททะลายปาลม

และทางปาลมสูง รวมท้ังปกไมยางพาราและลําตนปาลม แตอยางไรก็ดี ชีวมวลท่ีเกิดข้ึนจากพืชเหลานี้จะมี

รอบการเกิดท่ีสูงมากตอรอบการปลูก คือ 20-30 ป

ดังนั้น ชนิดชีวมวลท่ีจะนํามาพิจารณาจึงเลือกเฉพาะชีวมวลท่ีมีศักยภาพเปนปริมาณมาก และอยูใน

ประเภทท่ียังไมไดมีการนํามาใชอยางแพรหลาย และมีความเปนไปไดในการจัดเก็บรวบรวม เชน ฟางขาว,

ใบออย/ยอดออย, เหงามันสําปะหลัง, ทะลาย/ทางปาลมหรือมะพราว และเปลือก/ซังขาวโพด เปนตน ซ่ึง

ปริมาณชีวมวลท่ีเกิดข้ึนคิดจากสัดสวนปริมาณชีวมวล Crop residual ratio, CRR ตอผลผลิตเฉลี่ยของแต

ละพ้ืนท่ีศูนยศึกษาฯ

ตารางท่ี 6-10 พารามิเตอรการประเมินศักยภาพพลังงานชีวมวล

พืช ชีวมวล Crop residual ratio

(CRR)

LHV

(MJ/kg)

ขาว ฟางขาว 0.49c) 10.09

ขาวโพด ตน/ใบ 1.1b) 19.61

ซัง/เปลือก 0.37b) 16.32

มันสําปะหลัง เหงามันสําปะหลัง 0.12b) 8.19

ออย ยอด/ใบ 0.23a) 11.09

ปาลมนํ้ามัน ทะลายปาลม 0.2a) 7.08

ทางปาลม 0.38b) 6.55

มะพราว ทะลายมะพราว 0.049d) 15.4

ทางมะพราว 0.225d) 16

หมายเหตุ: a) สํานักงานพัฒนาการวิจยัการเกษตร c) มูลนิธิพลังงานเพื่อส่ิงแวดลอม

b) ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มทส. d) กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 45: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

6-10

ตารางท่ี 6-11 ผลผลิตเฉลี่ยของพืชแตละชนิดแยกตามพ้ืนท่ีศูนยศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ

ชนิดพืช ผลผลติเฉลีย่ (ตัน/ไร)

เขาหินซอน คุงกระเบน หวยฮองไคร พิกุลทอง ภูพาน หวยทราย

ขาว 0.68 0.42 0.83 0.35 0.37 0.71

มันสําปะหลัง 3.73 3.50 3.09 3.09 3.00 2.95

ปาลมนํ้ามัน 1.73 2.01 0.41 1.80 0.74 1.86

มะพราว 0.59 0.47 0.78 0.60 1.00 0.78

ขาวโพด 0.64 0.65 0.78 0.65 0.65 0.65

ออย 9.28 9.36 9.09 12.28 9.26 10.02

การประเมินศักยภาพพลังงานชีวมวลทําไดโดยการนําพ้ืนท่ีปลูกพืชในแตละศูนยศึกษาฯ มาคํานวณตาม

สัดสวนดังตารางขางตน สามารถแสดงตัวอยางวิธีการประเมินดังตัวอยางดังนี้

ปริมาณพ้ืนท่ีปลูกขาว 65,047.00 ไร

ปริมาณผลผลิตท่ีเกิดข้ึน 0.68 ตัน/ไร

ดังนั้น มีปริมาณผลผลิต 44,231.96 ตัน/ป

สัดสวนชีวมวลท่ีเกิดข้ึน (CRR) 0.49 ตัน/ตัน

ดังนั้น มีปริมาณชีวมวล (ฟางขาว) 21,673.66 ตัน/ป

คาความรอนของฟางขาว 10.09 MJ/kg

ดังนั้น ศักยภาพพลังงานจากฟางขาว 217.40 TJ/ป

ตารางท่ี 6-12 ศักยภาพพลังงานชีวมวลศูนยศึกษาฯเขาหินซอน

ชนิดพืช พื้นที่เพาะปลูก

(rai)

ผลผลิต

(ton/rai) ประเภทชีวมวล CRR

คาความรอน

(MJ/kg)

ชีวมวล

(ton)

พลังงาน

(TJ)

ขาว 65,047.00 0.68 ฟางขาว 0.49 10.09 21,546.17 217.40

มันสําปะหลัง 66,188.00 3.73 เหงามันสําปะหลัง 0.12 8.19 29,649.58 242.83

ปาลมน้ํามัน 280.00 1.73 ทะลายปาลม 0.20 7.08 96.88 0.69

280.00 1.73 ทางปาลม 0.38 6.55 184.07 1.21

รวม 51,476.70 462.12

6.6 สรุปศักยภาพพลังงานทดแทนของศูนยศึกษาฯ

จากการศึกษาและสํารวจศักยภาพพลังงานทดแทนของศูนยศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจาก

พระราชดําริท้ัง 6 แหง ทําใหทราบถึงศักยภาพพลังงานทดแทนท้ัง 5 ดาน ประกอบดวย พลังงาน

แสงอาทิตย พลังงานลม พลังงานน้ําขนาดเล็ก พลังงานแกสชีวภาพ และพลังงานชีวมวล ในรูปแบบของคา

พลังงานสะสมในหนวยจูล (Joule) จากผลการศึกษาพบวาศูนยศึกษาฯ มีศักยภาพพลังงานทดแทนในดาน

ตางๆท่ีสามารถนํามาแปรรูปเปนพลังงานพรอมใชได ยกเวนพลังงานน้ําขนาดเล็กซ่ึงอาจประเมินไดวาไมมี

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 46: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

6-11

ศักยภาพ เนื่องจากในแตละศูนยศึกษาฯไมมีแหลงน้ําธรรมชาติท่ีไหลผานพ้ืนท่ีตลอดท้ังป อีกท้ังพ้ืนท่ีศูนย

ศึกษาฯสวนใหญมีสภาพแหงแลงและจําเปนตองสํารองน้ําไวใชในการเกษตรกรรมและรักษาความชุมชื้น

ของปาไมเปนสําคัญ

ตารางท่ี 6-13 สรุปศักยภาพพลังงานทดแทนท้ัง 5 ดาน

ศูนยศึกษาฯ Wind_20 m

(m/s)

Solar

(MJ/m2)

Hydro

Biogas

(TJ)

Biomass

(TJ)

1.เขาหินซอน 5.31 4,469.54 - 114.75 462.12

อยางไรก็ตาม ศูนยศึกษาฯท้ัง 6 แหง ถือไดวาเปนพ้ืนท่ีซ่ึงมีศักยภาพพลังงานทดแทนดานตางๆ ไมวา

จะเปนพลังงานแสงอาทิตย พลังงานลม พลังงานแกสชีวภาพ และพลังงานชีวมวล ซ่ึงในการศึกษาแนว

ทางการพัฒนาพลังงานทดแทนเพ่ือสนับสนุนกิจกรรมของศูนยศึกษาฯนั้น นอกเหนือจากคาศักยภาพ

พลังงานแลว จําเปนตองพิจารณาถึงประเด็นอ่ืนๆรวมดวยเพ่ือใหเกิดความยั่งยืนของระบบผลิตพลังงาน

ทดแทน เชน ประเด็นดานเทคนิค ประเด็นดานความสอดคลอง และประเด็นดานสิ่งแวดลอม เปนตน ท้ังนี้

เพ่ือทําการประเมินถึงความเหมาะสมของการผลิตพลังงานทดแทนแตละประเภทของแตละพ้ืนท่ีศูนยศึกษา

ฯ ซ่ึงจะไดกลาวถึงตอไปในบทท่ี 8

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 47: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

7-1

บทท่ี 7

ขอมูลสํารวจการใชพลงังานของศูนยศึกษาฯ

การสํารวจขอมูลการใชพลังงานของศูนยศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ ซ่ึงประกอบ

ไปดวยการสํารวจขอมูลดานการใชพลังงานไฟฟาและเชื้อเพลิงในกิจกรรมตางๆของศูนยศึกษาฯเพ่ือเปน

ขอมูลเบื้องตนในการศึกษา โดยขอความอนุเคราะหขอมูลท่ี ศูนย ศึกษาฯรวบรวมและจัดเก็บไว

ประกอบดวยขอมูลคาไฟฟายอนหลัง และขอมูลการใชพลังงานเชื้อเพลิงยอนหลัง พรอมท้ังไดทําการสํารวจ

ระบบผลิตพลังงานทดแทนภายในศูนยศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ ดังนี้

7.1 ขอมูลการใชพลังงานไฟฟา

ศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอันเนื่องมาจากพระราชดําริ จ.ฉะเชิงเทรา

เดือน/ป ปริมาณการใชไฟฟา

หนวย(kWh) จํานวน (บาท)

มกราคม 2557 38,471.32 176,458.72

กุมภาพันธ 2557 40,299.32 185,925.64

มีนาคม 2557 52,147.51 235,469.71

เมษายน 2557 41,250.25 191,915.95

พฤษภาคม 2557 44,511.71 214,869.48

มิถุนายน 2557 48,971.41 226,567.28

กรกฎาคม 2557 46,108.00 219,777.90

สิงหาคม 2557 41,841.61 195,285.76

กันยายน 2557 44,151.74 206,260.79

ตุลาคม 2557 43,149.19 204,969.77

พฤศจิกายน 2557 40,625.68 191,755.38

ธันวาคม 2557 40,036.34 188,864.35

รวม 521,564.07 2,438,120.73

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 48: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

7-2

7.2 ขอมูลการใชพลังงานเช้ือเพลิง

ศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอันเนื่องมาจากพระราชดําริ จ.ฉะเชิงเทรา

เดือน/ป ปริมาณการใชเชื้อเพลิง

ดีเซล เบนซิน LPG/NGV จํานวนเงิน คาพลังงาน (MJ)

มกราคม 2557 5,095.52 - - 38,360.00 185,552.14

กุมภาพันธ 2557 5,596.03 300.00 - 61,058.00 214,135.59

มีนาคม 2557 6,558.13 500.00 - 64,124.00 256,075.23

เมษายน 2557 5,429.17 335.53 - 48,021.00 209,286.10

พฤษภาคม 2557 6,449.07 500.00 - 73,394.00 252,103.84

มิถุนายน 2557 5,644.87 200.00 - 41,600.00 212,461.59

กรกฎาคม 2557 5,485.68 400.00 - 44,338.00 213,569.72

สิงหาคม 2557 4,346.89 200.00 - 25,480.00 165,195.96

กันยายน 2557 5,778.40 800.00 - 72,076.00 238,039.05

ตุลาคม 2557 4,891.94 2,044.21 - 85,702.19 248,715.17

พฤศจิกายน 2557 3,873.82 1,565.41 - 62,569.00 195,110.01

ธันวาคม 2557 4,488.66 1,450.97 - 64,661.50 213,548.22

รวม 2,603,792.59

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 49: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

7-3

7.3 ขอมูลระบบผลิตพลังงานทดแทน

ในการดําเนินงานศูนยศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ ยืดถือหลักการท่ีวา การพัฒนา

ตองเปนไปตามข้ันตอน โดยท่ีจะตองทําใหชุมชนมีความเขมแข็งกอน แลวมีการพัฒนาตอไปใหประชาชน

สามารถพ่ึงตนเองได ขณะเดียวกันจะตองอนุรักษและพัฒนาทรัพยากรสิ่งแวดลอม สงเสริมความรูเทคนิค

วิชาการสมัยใหมพรอมๆกันไปดวย อยางไรก็ตามในการดําเนินงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดํารินั้น

จะตองคํานึงถึงสภาพแวดลอมทางภูมิศาสตรและสังคมวิทยาของแตละทองถ่ินทีมีความแตกตางกันดวย

เสมอ ซ่ึงในสวนของงานดานพลังงานทดแทน ศูนยศึกษาฯแตละแหงจะมีระบบผลิตพลังงานทดแทนเพ่ือ

การใชประโยชนและสนับสนุนกิจกรรมดานตางๆของศูนยศึกษาฯ โดยจากการลงสํารวจพ้ืนท่ีในสวนของ

ระบบผลิตพลังงานทดแทนรูปแบบตางๆจากการสนับสนุนของหนวยงานตางๆ มีดังนี้

ศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอันเนื่องมาจากพระราชดําริ

(1)

ระบบ : กังหันลมสูบน้ําเพ่ือการเกษตร จํานวน 3 ตัว

คุณลักษณะ : กังหันเสนผานศูนยกลาง 4.5 m , 12 ใบพัด,

ความสูง 12 m

อาย ุ : -

สถานภาพ : ใชงานได 1 ตัว

หนวยงานท่ี

ติดตั้ง/

สนับสนุน

: กรมพัฒนาและสงเสริมพลังงาน

(2)

ระบบ : Solar Cell สูบน้ํา จํานวน 2 ระบบ

คุณลักษณะ : 75 Watt x 20 แผง, 55 Watt x 19 แผง

อาย ุ : 16 ป (ติดตั้งป พ.ศ. 2542)

สถานภาพ : ชํารุด ใชการไมได

หนวยงานท่ี

ติดตั้ง/

สนับสนุน

: กรมพัฒนาและสงเสริมพลังงาน

กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลย ี

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 50: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

7-4

(3)

ระบบ : ชุดผลิตน้ํามันไบโอดีเซล

คุณลักษณะ : 80 liter / 2 วัน

อาย ุ : -

สถานภาพ : เลิกผลิต เนื่องจากไมมีวัตถุดิบและไมคุมทุน

หนวยงานท่ี

ติดตั้ง/

สนับสนุน

: กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน

(4)

ระบบ : กังหันลมผลิตไฟฟา จํานวน 3 ระบบ

คุณลักษณะ : 5 kW/ระบบ

อาย ุ : -

สถานภาพ : ชํารุด ใชการไมได ปจจุบันรื้อถอนออกแลว

หนวยงานท่ี

ติดตั้ง/

สนับสนุน

: กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน

(5)

ระบบ : เครื่องสกัดสารกําจัดศัตรูพืชพลังงานแสงอาทิตย

คุณลักษณะ : Size : 1.2 x 1.8 x 0.08 m, Collector Area :

2.0 m2

อาย ุ : -

สถานภาพ : ชํารุด ไมไดใชงาน

หนวยงานท่ี

ติดตั้ง/

สนับสนุน

: กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน

ปญหา-อุปสรรค และความตองการของศูนยศึกษาฯ

จากการสํารวจขอมูลดานระบบผลิตพลังงานทดแทนท่ีศูนยดําเนินการอยู พบวาแตละศูนยศึกษาฯมี

ระบบผลิตพลังงานทดแทนในรูปแบบคลายกัน เนื่องมาจากการไดรับการสนับสนุนจากหนวยงานภายนอก

ผานโครงการตางๆ และระบบผลิตพลังงานทดแทนอีกสวนหนึ่งเกิดจากการพัฒนาของศูนยศึกษาเอง ซ่ึง

ระบบผลิตพลังงานทดแทนสวนใหญจะมีขนาดเล็กและอยูในสภาพท่ีใชการไมได ซ่ึงจากการสอบถามขอมูล

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 51: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

7-5

จากเจาหนาท่ีศูนยศึกษาฯ ทําใหทราบถึงปญหา-อุปสรรคตางๆเก่ียวกับระบบผลิตพลังงานทดแทน รวมท้ัง

ความตองการในดานพลังงานทดแทน ดังนี้

1) ปญหา-อุปสรรค

การสนับสนุนระบบผลิตพลังงานทดแทนไมตรงกับศักยภาพท่ีมีอยูจริง

ระบบผลิตพลังงานทดแทนบางอยางมีความยุงยาก ซับซอนในดานเทคโนโลยี

ไมมีบุคลากรประจําท่ีมีความรูดานเทคโนโลยีพลังงานทดแทนเพียงพอ

ขาดการจัดเก็บและรวบรวมขอมูลทางดานเทคนิคของระบบผลิตพลังงานทดแทนท่ี

ไดรับการสนับสนุน

ขาดงบประมาณในการซอมบํารุง

ขาดการวางแผนการผลิต การใชงาน และการดูแลรักษา

ขาดการติดตามและดูแลจากหนวยงานสนับสนุนอยางตอเนื่องและจริงจัง

2) ความตองการของศูนยศึกษาฯ

ตองการระบบผลิตพลังงานทดแทนขนาดเล็ก ไมยุงยาก ซับซอน ราคาถูก

ระบบผลิตพลังงานทดแทนท่ีมีควรมีรูปแบบชัดเจน ชาวบานสามารถทําตามได

การสนับสนุนระบบผลิตพลังงานทดแทนตองมีการวางแผนการดําเนินงานระยะยาว

ตองการหนวยงานกลางในการประสานงาน เพ่ือการติดตาม ดูแล ใหคําปรึกษา และ

แกไขปญหาเบื้องตนของระบบผลิตพลังงานทดแทน

ตองการการดูแล ติดตาม ซอมแซมและบํารุงรักษาระบบท่ีชํารุดอยู

ศูนยศึกษาฯสวนใหญตองการระบบโซลารเซลลสูบน้ําและผลิตไฟฟา

3) แนวทางการแกไขปญหา

ควรมีการศึกษาศักยภาพพลังงานทดแทนของพ้ืนท่ีนั้นๆเพ่ือสนับสนุนดานพลังงาน

ทดแทนอยางเหมาะสม

ควรสนับสนุนระบบผลิตพลังงานทดแทนท่ีไมยุงยากและซับซอน หรือมีการอบรมและ

ใหความรูเรื่องระบบผลิตพลังงานทดแทนอยางจริงจังแกบุคลากร

ควรมีการจัดทําฐานขอมูลระบบผลิตพลังงานทดแทนท่ีสนับสนุนใหกับหนวยงานตางๆ

อยางละเอียด เพ่ือความสะดวกในการติดตาม

จัดทําแผนการดําเนินงานระบบผลิตพลังงานทดแทน การใชงาน บงประมาณ และการ

บํารุงรักษา ในระยะยาว

จัดใหมีหนวยงานกลางในพ้ืนท่ี เชน สํานักงานพลังงานจังหวัด เพ่ือประโยชนในการ

ติดตาม ดูแล แกไขปญหาเบื้องตน และประสานงานไปยังหนวยงานเจาของโครงการ

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 52: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

8-1

บทท่ี 8

การประเมินความเหมาะสมเทคโนโลยีพลังงานทดแทน

จากการศึกษาขอมูลและลงสํารวจพ้ืนท่ีศูนยศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริท้ัง 6

แหง ทําใหไดขอมูลพ้ืนฐานเบื้องตนเก่ียวกับศูนยศึกษาฯ เชน ประวัติความเปนมา วิสัยทัศนและพันธกิจ

พ้ืนท่ีดําเนินการ หนวยงานรับผิดชอบ การดําเนินงาน และแผนการบริหารจัดการในดานตางๆของศูนย ทํา

ใหทราบถึงธรรมชาติการทํางาน วิถีการใชชีวิตและการทํางานของบุคลากรภายในศูนยศึกษา อีกท้ังไดมี

การศึกษาศักยภาพของพลังงานทดแทนในพ้ืนท่ี อันประกอบดวย พลังงานลม แสงอาทิตย น้ํา แกสชีวภาพ

และชีวมวล ศึกษาขอมูลเก่ียวกับเทคโนโลยีการผลิตพลังงานทดแทนประเภทตางๆ ซ่ึงนําไปสูการประเมิน

ความเหมาะสมของการพัฒนาพลังงานทดแทนของในแตละพ้ืนท่ีศูนยศึกษาฯ วาในแตละพ้ืนท่ีศูนยศึกษาฯ

มีศักยภาพและความเหมาะสมกับการพัฒนาพลังงานทดแทนประเภทใดบาง

หลังจากทําการรวบรวมขอมูลท้ังขอมูลทุติยภูมิและขอมูลปฐมภูมิขางตนเรียบรอยแลว ลําดับ

ตอไปจะทําการวิเคราะหขอมูล เพ่ือประเมินศักยภาพของพลังงานทดแทนท่ีมีความเหมาะสมในแตละพ้ืนท่ี

ศูนยศึกษาฯ โดยพลังงานพลังงานทดแทนท่ีจะทําการประเมินประกอบดวย พลังงานลม แสงอาทิตย น้ํา

แกสชีวภาพ และชีวมวล โดยข้ันตอนในการประเมินแสดงดังรูปท่ี 8-1

รูปท่ี 8-1 ข้ันตอนการประเมินความเหมาะสม

ข้ันตอนการประเมิน

1.ศูนยศึกษาฯเขาหินซอน

2.ศูนยศึกษาฯอาวคุงกระเบน

3.ศูนยศึกษาฯหวยฮองไคร

4.ศูนยศึกษาฯพิกุลทอง

5.ศูนยศึกษาฯภูพาน

6.ศูนยศึกษาฯหวยทราย

พลังงานลม

พลังงานแสงอาทิตย

พลังงานนํ้า

พลังงานแกสชีวภาพ

พลังงานชีวมวล

การประเมิน

ประเด็นท่ี 1 : ดานเทคนิค

ประเด็นท่ี 2 : ดานความสอดคลอง

ประเด็นท่ี 3 : ดานสิ่งแวดลอม

ผลการประเมินความเหมาะสม

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 53: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

8-2

8.1 การประเมินความเหมาะสม

สําหรับการประเมินความเหมาะสมของเทคโนโลยีการผลิตพลังงานทดแทนในแตละพ้ืนท่ีศูนยศึกษาฯ

จะมีการกําหนดเกณฑโดยแบงออกเปน 3 ประเด็นหลัก คือ 1) ประเด็นดานเทคนิค 2) ประเด็นดานความ

สอดคลอง และ 3) ประเด็นดานสิ่งแวดลอม เพ่ือประกอบการพิจารณาความเหมาะสม ดังนี้

ประเด็นท่ี 1 : การประเมินดานเทคนิค (พลังงานทดแทนชนิดใดมีศักยภาพในเชิงเทคนิคในการ

ผลิตพลังงานในพ้ืนท่ีศูนยศึกษาได)

1.1 ศักยภาพพลังงานทดแทนในพ้ืนท่ี

1.2 มีเทคโนโลยีท่ีสามารถเปลี่ยนรูปพลังงานทดแทน อีกท้ังเทคโนโลยีดังกลาวตอง

ไดรับการยอมรับวาสามารถผลิตพลังงานไดจริง และมีผูประกอบการในประเทศไทยท่ีสามารถผลิตและ

ติดตั้งระบบดังกลาวได

1.3 เทคโนโลยใีนการเปลี่ยนรูปพลังงานทดแทน ตองเปนระบบท่ีงายตอการบํารุงรักษา

และเดินระบบ อีกท้ังไมยุงยาก ซับซอน และสามารถใชบุคลากรในศูนยศึกษาเปนผูดูแลได

ประเด็นท่ี 2 : การประเมินดานความสอดคลอง (พลังงานทดแทนชนิดใดมีความสอดคลองและ

เหมาะสมกับบริบทของศูนยศึกษาฯ)

2.1 ระบบผลิตพลังงานทดแทนตองมีความสอดคลองกับสภาพพ้ืนท่ี และธรรมชาติการ

ทํางานของศูนยศึกษาฯ

2.2 ระบบพลังงานทดแทนตองสอดคลองกับความตองการของศูนยศึกษาฯท้ังในแงของ

ปริมาณการใชไฟฟาเดิมและการยอมรับ

ประเด็นท่ี 3 : การประเมินดานส่ิงแวดลอม (ระบบผลิตพลังงานทดแทนตองไมทําใหเกิดผล

กระทบตอส่ิงแวดลอม)

3.1 ระบบผลิตพลังงานทดแทนตองไมสงผลกระทบตอสภาพแวดลอมทางกายภาพ

เบื้องตนท่ัวไป เชน การเปลี่ยนแปลงภูมิทัศน อากาศ ดิน น้ํา เปนตน

3.2 ระบบผลิตพลังงานทดแทนตองไมสงผลกระทบตอสิ่งมีชีวิต

3.3 ระบบผลิตพลงังานทดแทนตองไมสงผลกระทบตอความคุมคาการใชประโยชนของ

พ้ืนท่ีติดตั้งระบบและพ้ืนท่ีโดยรอบ เชน การคมนาคม การประมง การใชประโยชนท่ีดิน สาธารณูปโภค

การระบายน้ํา การจัดการของเสีย เปนตน

3.4 ระบบผลิตพลังงานทดแทนตองไมสงผลกระทบตอคุณภาพชีวิตของคนบริเวณ

ใกลเคียง เชน สภาพทางเศรษฐกิจ สังคม ประวัติศาสตร และโบราณคดี เปนตน

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 54: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

8-3

8.2 สรุปการประเมินความเหมาะสมของเทคโนโลยีพลังงานทดแทน

จากการพิจารณาขอมูลดานตางๆประกอบดวย ศักยภาพพลังงานทดแทน ขอมูลเบื้องตนของศูนย

ศึกษาฯ การสํารวจพ้ืนท่ี และสัมภาษณบุคลากรของศูนยศึกษาฯ เพ่ือวิเคราะหถึงความเหมาะสมของการ

ผลิตพลังงานทดแทนประเภทตางๆ ของในแตละศูนยศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริท้ัง 6

แหง โดยนอกจากจะพิจารณาจากคาศักยภาพพลังงานทดแทนในแตละพ้ืนท่ีแลว จําเปนตองพิจารณา

ประเด็นอ่ืนๆท่ีสําคัญดวย คือ 1) ประเด็นดานเทคนิค 2) ประเด็นดานความสอดคลอง และ 3) ประเด็น

ดานสิ่งแวดลอม ซ่ึงสามารถสรุปความเหมาะสมและขอจํากัด ไดดังตอไปนี้

ตารางท่ี 8-1 สรุปความเหมาะสมของประเภทพลังงานทดแทน

ประเภท ประเด็นสรุปและขอจํากัด ความเหมาะสม

แสงอาทิตย 1.ศักยภาพพลังงานแสงอาทิตยของแตละพ้ืนท่ีศูนยศึกษาฯมีคา

สูงและใกลเคียงกับคาเฉลี่ยของประเทศไทย

2.สามารถผลิตพลังงานไฟฟาดวยแผงโซลารเซลล

3.ขนาดกําลังผลิตข้ึนกับขนาดของพ้ืนท่ีติดตั้ง

4.เดินระบบงาย ใชงบประมาณและบุคลากรในการเดินระบบ

และบํารุงรักษานอย

5.ตรงกับความตองการของศูนยศึกษาฯ

เหมาะสม

ลม 1.คาเฉลี่ยความเร็วลมของแตละศูนยถือวามีคาอยูในระดับต่ํา

2.ความสมํ่าเสมอของกําลังลมต่ําทําใหกําลังผลิตไมแนนอน

3.เครื่องกังหันลมไมสามารถผลิตไฟฟาไดเต็มประสิทธิภาพ

(คาเฉลี่ยความเร็วลม นอยกวา rated wind speed)

4.ตองการการบํารุงรักษาคอนขางมาก

5.ไมตรงกับความตองการของศูนยศึกษาฯ

ไมเหมาะสม

น้ํา 1.พ้ืนท่ีศูนยศึกษาสวนใหญเปนพ้ืนท่ีขาดแคลนน้ํา

2.ไมมีแหลงน้ําธรรมชาติไหลผานพ้ืนท่ี

3.ศักยภาพพลังงานน้ําต่ํา

4.การใชน้ําตองคํานึงถึงการใชประโยชนดานเกษตรกรรมและ

การรักษาความชุมชื้นของพ้ืนท่ีปาไมเปนหลัก

ไมเหมาะสม

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 55: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

8-4

ตารางท่ี 8-1 สรุปความเหมาะสมของประเภทพลังงานทดแทน (ตอ)

แกสชีวภาพ 1.ศักยภาพพลังงานแกสชีวภาพจากมูลสัตวอยูในลักษณะ

กระจุกตัวอยูภายในฟารมขนาดใหญของเอกชน

2.มูลสัตวสวนใหญถูกนําไปเปนวัตถุดิบผลิตเปนปุยอินทรีย

3.ปญหาการรวบรวมและตนทุนวัตถุดิบ

4.การเดินระบบตองใชบุคลากรเฉพาะทางในการเดินระบบ

เครื่องจักรและระบบทางชีวภาพ

5.ศูนยศึกษาฯเหมาะสมกับระบบผลิตพลังงานจากแกสชีวภาพ

ขนาดเล็ก(ระดับครัวเรือน) เพ่ือเปนการสาธิตใหกับชาวบานใน

พ้ืนท่ีขยายผล

ไมเหมาะสม

ชีวมวล 1.ปญหาการรวบรวมและการแปรรูปเชื้อเพลิงชีวมวล

2.ความไมแนนอนของราคาเชื้อเพลิงชีวมวล

3.การเดินระบบตองใชบุคลากรเฉพาะทางในการเดินระบบ

4.มีตนทุนการบํารุงรักษาระบบคอนขางสูง

5.การขนสงวัตถุดิบอาจกอใหเกิดผลกระทบสิ่งแวดลอม

6.โรงไฟฟาชีวมวล(แกสซิฟเคชั่น)ขนาดเล็กกวา 500 kW ไม

คุมคาในการลงทุน

7.ไมตรงกับความตองการของศูนยศึกษาฯเนื่องจากกังวลเรื่อง

สิ่งแวดลอมและปริมาณเชื้อเพลิงในระยะยาว

ไมเหมาะสม

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 56: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

9-1

บทท่ี 9

การสํารวจออกแบบเบ้ืองตนและการวิเคราะหทางเศรษฐศาสตร

จากการศึกษาความเหมาะสมของเทคโนโลยีพลังงานทดแทน พบวาศูนยศึกษาการพัฒนาอัน

เนื่องมาจากพระราชดําริท้ัง 6 แหง เหมาะสมกับระบบผลิตพลังงานจากแสงอาทิตยโดยใชโซลารเซลล

เนื่องดวยเหตุผลหลายประการ คือ 1) ศักยภาพพลังงานแสงอาทิตยของแตละพ้ืนท่ีศูนยศึกษาฯมีคา

ใกลเคียงกับคาเฉลี่ยของประเทศ 2) สามารถผลิตพลังงานไฟฟาดวยแผงโซลารเซลล 3) ขนาดกําลังผลิต

สามารถเพ่ิมข้ึนไดโดยการเพ่ิมขนาดของพ้ืนท่ีติดตั้ง 4) การเดินระบบทําไดงาย ไมยุงยาก ใชงบประมาณ

และบุคลากรในการเดนิระบบและบํารุงรักษานอย และ 5) ตรงกับความตองการของศูนยศึกษาฯ ดังนั้น จึง

ไดทําการสํารวจออกแบบเบื้องตน พรอมท้ังทําการวิเคราะหทางเศรษฐศาสตร ของระบบผลิตพลังงาน

ไฟฟาจากโซลารเซลล ในแตละพ้ืนท่ีศูนยศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริท้ัง 6 แหง ดัง

รายละเอียดตอไปนี้

9.1 การศึกษาความเหมาะสมทางดานวิศวกรรม และเทคโนโลยีการผลิตไฟฟาจากเซลลแสงอาทิตย

ในการติดตั้งระบบผลิตพลังงานไฟฟาจากเซลลแสงอาทิตย จําเปนตองมีการศึกษาความเหมาะสมทาง

เทคนิคและวิศวกรรม ในดานตางๆ ประกอบดวย ชนิดแผงโซลารเซลล หลักการทํางานของระบบ รายการ

อุปกรณประกอบระบบ โครงสรางรองรับแผงโซลาเซลล และตําแหนงการติดตั้งแผงเซลล เพ่ือใหไดรูปแบบ

ท่ัวไปของระบบผลิตไฟฟาจากเซลลแสงอาทิตย ท้ังนี้ การติดตั้งระบบในขนาดตางๆสามารถทําไดโดยการ

เพ่ิมจํานวนชุดแผงโซลารเซลลไดตามขนาดกําลังผลิตท่ีตองการ

9.1.1 ชนิดแผงโซลารเซลล

การเลือกชนิดแผงโซลารเซลลสําหรับผลิตพลังงานไฟฟาในโครงการนี้ จะอางอิงขอมูลจาก

ศูนยวิจัยพลังงานและสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยทักษิณ (2556) ซ่ึงไดทําการจําลองสถานการณในการผลิต

กระแสไฟฟาจากเซลลแสงอาทิตย 6 ชนิด โดยใชโปรแกรม PVsyst และไดกําหนดใหระบบมีขนาดติดตั้ง

ประมาณ 100 kW ตอระบบ เพ่ือใชเปนขอมูลในการเลือกใชชนิดของเซลลแสงอาทิตยท่ีเหมาะสม ดังนี้

(1) แผงเซลลแสงอาทิตยชนิด Amorphus Silicon

(2) แผงเซลลแสงอาทิตยชนิด Mono Crystalline Silicon

(3) แผงเซลลแสงอาทิตยชนิด Poly Crystalline Silicon

(4) แผงเซลลแสงอาทิตยชนิด Cadmium Telluride

(5) แผงเซลลแสงอาทิตยชนิด Heterojunction with Intrinsic Thin Layer

(6) แผงเซลลแสงอาทิตยชนิด Copper Indium Selenide

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 57: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

9-2

ตารางท่ี 9-1 ผลการประเมินศักยภาพระบบผลิตไฟฟาดวยเซลลแสงอาทิตยแตละชนิด Module Types Symbol Power Installation

(kW)

PR System

Efficiency (%)

PV Modules

Area (m2)

Amorphus Silicon a-Si 100 80.6 5.67 1,423

Mono Crystalline Silicon m-Si 101 75.9 10.71 716

Poly Crystalline Silicon p-Si 101 76.6 10.80 716

Cadmium Telluride Cd Te 100 81.6 10.20 801

Heterojunction with Intrinsic Thin Layer HIT 100 77.5 12.91 601

Copper Indium Selenium CIS 100 80.4 10.47 768

ที่มา : ศูนยวิจัยพลังงานและส่ิงแวดลอม มหาวิทยาลัยทักษิณ (2556)

เม่ือทําการเปรียบเทียบพลังงานไฟฟาท่ีระบบเซลลแสงอาทิตยแตละชนิดผลิตได พบวา เทคโนโลยี

เซลลแสงอาทิตยท่ีสามารถผลิตไฟฟาไดสูงสุด คือ เซลลแสงอาทิตยชนิด CdTe รองลงมาคือ เซลล

แสงอาทิตยชนิด a-Si, CIS, HIT, p-Si, และ m-Si ตามลําดับ

สําหรับเซลลแสงอาทิตยชนิด CdTe ซ่ึงสามารถผลิตพลังงานไดสูงสุด แตพบวาเทคโนโลยีดังกลาว

นี้ ยังไมไดรับความนิยมในปจจุบันเนื่องจากมีความวิตกกังวลวาจะเกิดปญหาทางดานสิ่งแวดลอมในอนาคต

หากสารประกอบ CdTe ซ่ึงเปนสวนประกอบอยูในแผงเซลลเกิดรั่วไหล ปนเปอน หรือถูกกําจัดดวยวิธีการ

ท่ีไมเหมาะสม ซ่ึงสารแคทเมียมและเทลรูเลียมท่ีอยูในสภาพท่ีไมเสถียรจะเปนอันตรายกับมนุษยหากสาร

ดังกลาวเขาสูรางกาย สวนเทคโนโลยี CIS ซ่ึงสามารถผลิตไฟฟาไดสูงสุดรองลงมาจาก เซลลแสงอาทิตย

ชนิด CdTe พบวาปจจุบันประเทศไทยไดมีการนําแผงเซลลแสงอาทิตยชนิด CIS เขามาใชในการผลิตไฟฟา

บางแลว

สวนเทคโนโลยีเซลลแสงอาทิตยท่ีรูจัก กันดีและใชกันอยางกวางขวาง คือ เซลลแสงอาทิตยท่ีผลิต

มาจากซิลิคอน ประกอบดวย แผงเซลลแสงอาทิตยชนิด a-Si แผงเซลลแสงอาทิตยชนิด m-Si และแผง

เซลลแสงอาทิตยชนิด p-Si ซ่ึงเซลลแสงอาทิตยชนิด a-Si สามารถผลิตไฟฟาไดสูงสุดเม่ือติดตั้งกําลังการ

ผลิตไฟฟาเทากัน แตจะใชพ้ืนท่ีในการติดตั้งมากกวา ดังนั้นโครงการนี้จึงเลือกใชแผงเซลลชนิด Crystalline

Silicon ซ่ึงนาจะมีศักยภาพในดานตางๆดีกวาเม่ือเปรียบเทียบกับแผงเซลลชนิดอ่ืนๆ โดยเลือกใชแบบ

Poly Crystalline Silicon เนื่องจากมีขอดีเม่ือเทียบกับแบบ Mono Crystalline Silicon คือ ราคาถูกวา

และคงประสิทธิภาพไดดีกวาเม่ืออยูในสภาพท่ีมีอุณหภูมิสูงอยางประเทศไทย

9.1.2 ระบบผลิตไฟฟาดวยแผงโซลารเซลล

สําหรับระบบผลิตไฟฟาดวยเซลลแสงอาทิตย เพ่ือชดเชยการใชพลังงานไฟฟาของศูนยศึกษา

การพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ 6 แหง จะดําเนินการในรูปแบบเชื่อมตอเขากับระบบสายสงไฟฟา

ของการไฟฟาสวนภูมิภาคในพ้ืนท่ีศูนยศึกษาฯแตละแหง ซ่ึงระบบจะตองมีสวนประกอบหลักอันประกอบ

ไปดวย แผงเซลลอาทิตยพรอมโครงสรางรองรับ เครื่องแปลงกระแสไฟฟา ชุดอุปกรณควบคุม และอุปกรณ

รวมอ่ืนๆ โดยขนาดกําลังผลิตติดตั้งจะข้ึนอยูกับความตองการใชไฟฟาของศูนยศึกษาฯตามท่ีไดกลาวไวแลว

ขางตน

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 58: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

9-3

1) หลักการทํางานของระบบ

ระบบผลิตไฟฟาดวยเซลลแสงอาทิตยแบบเชื่อมตอเขาระบบสายสงของการไฟฟา มี

หลักการทํางาน ดังนี้ คือ เม่ือมีแสงอาทิตยตกกระทบบนแผงเซลลแสงอาทิตย จะทําให เกิดการ

กระแสไฟฟาไหลออกจากแผงเซลลแสงอาทิตย โดยไฟฟาท่ีออกมาเปนไฟฟากระแสตรงแรงดันไฟฟาต่ํา ซ่ึง

ตองแปลงกระแสไฟฟาจากไฟฟากระแสตรงเปนไฟฟากระแสสลับซ่ึงไฟฟากระแสสลับ ดวยเครื่องแปลง

กระแสไฟฟา (Inverter) และจะถูกสงผานหมอแปลงไฟฟาเพ่ือเพ่ิมแรงดันไฟฟาเพ่ือใหสามารถสงผานไปยัง

ระบบสายสงของการไฟฟาภายในพ้ืนท่ีศูนยศึกษาฯเพ่ือจายไฟฟาใหกับภาระทางไฟฟาตอไป

รูปท่ี 9-1 ผังการเชื่อมโยงระบบผลิตไฟฟาดวยพลังงานแสงอาทิตย

2) รูปแบบของระบบผลิตกระแสไฟฟาดวยเซลลแสงอาทิตย

ระบบผลิตไฟฟาดวยเซลลแสงอาทิตยแบบเชื่อมตอเขาระบบสายสงของการไฟฟาสวน

ภูมิภาคซ่ึงอยูในพ้ืนท่ีศูนยศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ จะเลือกใชแผงเซลลแสงอาทิตย

ชนิดชนิดผลึก (Crystalline) ขนาด 250 Watt นํามาประกอบรวมเปนชุดพรอมโครงสรางฐานรองรับ

จํานวนชุดละ 16 แผง คิดเปน 4 kW ตอชุด โดยติดตั้งชุดแผงเซลลแสงอาทิตยทํามุมเอียงประมาณ 10

องศา หันหนาไปทางทิศใต โดยเลือกติดตั้งบนพ้ืนท่ีโลงแจงท่ีไมมีเงาของตนไมหรืออาคารมาบดบังการรับ

แสงของเซลลแสงอาทิตย โดย ตารางท่ี 9-3 แสดงรายการชุดอุปกรณประกอบระบบผลิตไฟฟาจากพลังงาน

แสงอาทิตย

โครงสรางของระบบผลิตไฟฟาดวยเซลลแสงอาทิตยนั้นประกอบไปดวยโครงสราง 2 สวน

หลัก คือ ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็กซ่ึงฐานรากแตละตนจะตองมีการตอกเสาเข็มเพ่ือปองกันการทรุดตัว

สําหรับสวนของโครงสรางรองรับแผงเซลลแสงอาทิตยจะใชโครงสรางเหล็กชุบสังกะสีเพ่ือปองกันสนิม ซ่ึง

โครงสรางรองรับแผงเซลลแสงอาทิตยจะตองมีความแข็งแรงเพียงพอในการรับน้ําหนักแผงเซลลและแรงลม

โดยรูปแบบโครงสรางแสดงดังรูปท่ี 9-2 และรูปท่ี 9-3 แสดงชุดแผงเซลลแสงอาทิตยขนาด 4 kW

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 59: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

9-4

รูปท่ี 9-2 โครงสรางรองรับชุดแผงเซลลแสงอาทิตย

รูปท่ี 9-3 ภาพประกอบชุดแผงเซลลแสงอาทิตยขนาด 4 kW

9.2 การกําหนดขนาดกําลังผลิตติดตั้ง

ในการกําหนดขนาดกําลังผลิตติดตั้งระบบผลิตไฟฟาจากโซลารเซลล จะใชขอมูลความตองการ

กําลังไฟฟารายวัน(Diary Load Curve) ของศูนยศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ ซ่ึงสามารถ

นํามาพิจารณาเพ่ือกําหนดขนาดกําลังผลิตติดตั้งระบบผลิตพลังงานทดแทนจากแสงอาทิตยดวยโซลารเซลล

(Solar Cell) เนื่องจากความตองการกําลังไฟฟารายวัน(Diary Load Curve) คือ ขอมูลหรือเสนกราฟ

แสดงลักษณะการใชพลังงานไฟฟาและความตองการพลังงานไฟฟาสูงสุดในแตละชวงเวลาของวัน ดังนั้น

การพิจารณากําหนดขนาดกําลังผลิตติดต้ังจะตองออกแบบใหผลิตไฟฟาไดไมเกินความตองการกําลังไฟฟา

ในแตละชวงเวลา เพ่ือเปนการผลิตไฟฟาสําหรับทดแทนบางสวนหรือเปนการลดคาไฟฟาท่ีใชอยูเดิม

โดยการกําหนดขนาดกําลังผลิตติดต้ังจากกราฟความตองการกําลังไฟฟารายวัน จะพิจารณาจาก

ขอมูลความตองการกําลังไฟฟารายวัน (Diary Load) โดยคํานวณปริมาณการใชไฟฟาในหนวย kWh

ในชวงเวลาทําการ 08:00 น. – 16:30 น. (8 ชั่วโมง) ณ จุดท่ีโหลดใชกําลังไฟฟาต่ําสุดหรือตามความ

เหมาะสม ท้ังนี้เพ่ือปองกันไมใหเกิดการผลิตไฟฟาเกินกําลังความตองการในแตละวัน

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 60: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

9-5

ท่ีมา Load Curve / วิธีการ : ทําการวัดจริงดวยเครื่องวัดไฟฟา (Digital Multi Meter)

สถานท่ีใชโหลด : สํานักงานพัฒนาท่ีดิน (สํานักงานอํานวยการศูนยศึกษาการ

พัฒนาเขาหินซอนอันเนื่องมาจากพระราชดําริ)

รูปท่ี 9-4 ความตองการกําลังไฟฟารายวัน (ศูนยศึกษาฯเขาหินซอน จ.ฉะเชิงเทรา)

9.3 ผลการสํารวจออกแบบ

จากการประเมินขนาดกําลังผลิตติดต้ังของระบบผลิตพลังงานไฟฟาจากเซลลแสงอาทิตยของแตละ

ศูนยศึกษาฯ ซ่ึงจะเปนขอมูลสําหรับการกําหนดรูปแบบท่ีเหมาะสมของระบบท้ังในดานตําแหนงพ้ืนท่ี

สําหรับการติดตั้ง และอุปกรณประกอบระบบ

9.3.1 ศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอันเนื่องมาจากพระราชดําริ จ.ฉะเชิงเทรา

1) ตําแหนงพ้ืนท่ีศึกษา(สําหรับติดตั้งระบบ)

ศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอันเนื่องมาจากพระราชดําริ ต้ังอยู เลขท่ี 7 หมู 2 ต.เขา

หินซอน อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา พิกัดตําแหนงศูนยศึกษาฯ N13.747803, E101.505063 โดยใน

สวนของพ้ืนท่ีสําหรับศึกษาการติดตั้งโรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยของศูนยศึกษาฯเขาหินซอน จะเปนพ้ืนท่ี

วางอยูดานหลังอาคารอํานวยการศูนยฯ ซ่ึงเปนพ้ืนท่ีราบเรียบและเปดโลง ขนาดพ้ืนท่ีประมาณ 4 ไร

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 61: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

9-6

รูปท่ี 9-5 ภาพถายบริเวณพ้ืนท่ีศึกษา (ศูนยศึกษาฯเขาหินซอน)

รูปท่ี 9-6 ผังบริเวณโดยรอบพ้ืนท่ีศึกษาการติดตั้งโรงไฟฟา (ศูนยศึกษาฯเขาหินซอน)

2) รูปแบบระบบผลิตไฟฟาดวยเซลลแสงอาทิตยของศูนยศึกษาฯเขาหินซอน

ระบบผลิตไฟฟาดวยเซลลแสงอาทิตยของพ้ืนท่ีศูนยศึกษาฯเขาหินซอน จ.ฉะเชิงเทรา มี

ขนาดกําลังผลิตติดตั้ง 16 kW โดยใชแผงเซลลแสงอาทิตย ขนาด 250 W ชนิดผลึก Crystalline จํานวน

64 แผง โครงสรางรองรับแผง 4 ชุด เครื่องแปลงกระแสไฟฟาขนาด 20 kW 1 เครื่อง โดยใชพ้ืนท่ีในการ

ติดตั้งประมาณ 0.11 ไร

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 62: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

9-7

ตารางท่ี 9-2 ชุดอุปกรณประกอบระบบผลิตไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตย (ศูนยศึกษาฯเขาหินซอน)

รายการ ปริมาณ

1.กําลังผลิตติดตั้ง 16 kW

2.แผงโซลาเซลล PV module 250 Watt จํานวน 64 แผง

3.โครงสรางรองรับแผง 4 ชุด

4.เครื่องแปลงกระแสไฟฟา Inverter DC-AC 20 kWp จํานวน 1 เครื่อง

5.สายไฟฟาและอุปกรณไฟฟา 1 ชุด

รูปท่ี 9-7 รูปแบบระบบผลิตไฟฟาดวยเซลลแสงอาทิตย (ศูนยศึกษาฯเขาหินซอน)

9.4 การประเมินพลังงานไฟฟาท่ีผลิตได

ในการประเมินพลังงานไฟฟาท่ีผลิตไดจะประเมินจากขนาดกําลังผลิตติดตั้งของระบบ และคาพลังงาน

แสงอาทิตยในแตละพ้ืนท่ี พรอมท้ังคิดคาชดเชยการสูญเสียและประสิทธิภาพของระบบจากสมการ ดังนี้

โดย

Pcell = กําลังไฟฟาของเซลลแสงอาทิตย (กําลังผลิตติดตั้ง)

PL = ปริมาณไฟฟาท่ีผลิตได (Wh/day)

Q = พลังงานแสงอาทิตย (คาจากการประเมิน, Wh/m2-day)

A = คาชดเชยความสูญเสียของเซลลแสงอาทิตย 0.8

B = คาชดเชยการสูญเสียเชิงความรอน เทากับ 0.85

C = ประสิทธิภาพของอินเวิรตเตอร เทากับ 0.9

D = ความเขมแสงแดดปกติ เทากับ 1,000 W/m2

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 63: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

9-8

โดยคาพลังงานแสงอาทิตยไดจากคาเฉลี่ยความเขมแสงอาทิตยในแตละพ้ืนท่ี ดังนี้

ตารางท่ี 9-3 คาพลังงานไฟฟาจากแสงอาทิตย

ศูนยศึกษาฯ คาความเขมแสงอาทิตยเฉลี่ย คาพลังงานไฟฟาจากแสงอาทิตย

(MJ/m2-year) (MJ/m2-day) (Wh/m2-day)

เขาหินซอน 4,469.53 12.25 4,251.84 หมายเหตุ : - จํานวนวันตอป = 365 วัน - 3,600 J = 1 Wh - Power Factor = 0.8

ตารางท่ี 9-4 การประเมินพลังงานไฟฟาท่ีผลิตได

ลําดับ ศูนยศึกษาการพัฒนาฯ กําลังผลิตติดตั้ง ไฟฟาท่ีผลิตได

(kW) kWh/month kWh/year

1 เขาหินซอน จ.ฉะเชิงเทรา 16 1,496.65 17,959.76

9.5 การประเมินราคาของระบบผลิตไฟฟาและอุปกรณประกอบ

จากขอมูลผลการสํารวจออกแบบของแตละศูนยศึกษาฯสามารถนํามาประเมินราคาลงทุนเริ่มตนของ

ระบบผลิตพลังงานจากแสงอาทิตย โดยราคาของระบบผลิตไฟฟาดวยเซลลแสงอาทิตยท่ีเปนแบบเชื่อมตอ

เขาระบบสายสงของการไฟฟาจะใชขอมูลราคาเฉลี่ยจากบริษัทท่ีรับติดตั้งระบบผลิตพลังงานไฟฟาจากแผง

โซลารเซลล เพ่ือนําไปใชเปนเง่ือนไขในการวิเคราะหทางดานเศรษฐศาสตรของระบบตอไป ดังนี้

ตารางท่ี 9-5 ราคาของระบบผลิตไฟฟาดวยพลังงานแสงอาทิตย

รายการ เขาหินซอน

16 kW

แผงเซลลแสงอาทิตย (30 บาท/W) 480,000.00

เครื่องแปลงกระแสไฟฟา (7 บาท/W) 140,000.00

โครงสรางรองรับแผงเซลล (12 บาท/W) 192,000.00

สายไฟฟาและอุปกรณ (3 บาท/W) 48,000.00

คาแรงการตดิตั้งระบบ (3 บาท/W) 48,000.00

หองควบคุม (6,500 บาท/m2) 39,000.00

รวมราคาท้ังหมด 947,000.00

มูลคารวม VAT (7%) 66,290.00

รวมเงินลงทุนของระบบท้ังหมด 1,013,290.00

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 64: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

9-9

9.6 การวิเคราะหทางเศรษฐศาสตร

การวิเคราะหทางดานเศรษฐศาสตรของระบบผลิตไฟฟาดวยพลังงานแสงอาทิตย มีวัตถุประสงค เพ่ือ

ประเมินผลตอบแทนการลงทุนของการผลิตไฟฟาดวยระบบผลิตไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยแบบเชื่อมตอเขา

ระบบของการไฟฟาในพ้ืนท่ีศูนยศึกษาฯ เพ่ือผลิตไฟฟาทดแทนการใชไฟฟาของศูนยศึกษาฯ โดยพิจารณา

ในรูปแบบไมมีการทําสัญญาซ้ือขายไฟฟากับการไฟฟาสวนภูมิภาค ซ่ึงตัวแปรทางดานเศรษฐศาสตรท่ีใชใน

การประเมินประกอบดวย

(1) ผลตอบแทนทางดานการเงิน (Financial Internal Rate of Return, FIRR) คือ อัตรา

ผลตอบแทนท่ีไดรับจากโครงการ หรือหมายถึงอัตราดอกเบี้ยใดก็ตามท่ีใชเปนอัตราคิดลดซ่ึงมีผลทําให

มูลคาปจจุบันสุทธิมีคาเปนศูนย ซ่ึงเกณฑการตัดสินใจลงทุน คือ FIRR มีคามากกวาหรือเทากับอัตรา

ดอกเบี้ย

(2) การประเมินหาราคาตอหนวยไฟฟาท่ีระบบผลิตได (Cost of Energy, COE) คือ ตนทุนการ

ผลิตพลังงานไฟฟาตอหนวย โดยคํานวณจากผลรวมของ Net Present Cost, NPC เทียบกับ ผลรวมของ

Discounted Energy

(3) อัตราสวนผลตอบแทนตอเงินลงทุน (Benefit Cost Ratio, BCR) คือ อัตราสวนระหวางมูลคา

ปจจุบันของผลตอบแทนตลอดอายุโครงการกับมูลคาปจจุบันของตนทุนตลอดอายุโครงการ เกณฑการ

ตัดสินใจลงทุน คือ BCR ตองมีคามากกวา 1.00

(4) รายรับสุทธิตลอดอายุโครงการ (Net Present Value, NPV) คือ ผลรวมของผลตอบแทนสุทธิ

ท่ีไดปรับคาของเวลาแลว หรือ ผลรวมของมูลคาปจจุบันของผลตอบแทนลบดวยผลรวมของมูลคาปจจุบัน

ของตนทุนท่ีเกิดข้ึนตลอดอายุโครงการ

(5) คาใชจายตลอดอายุโครงการ (Life Cycle Cost, LCC) คือ ตนทุนตลอดอายุโครงการ เปน

การคํานวณตนทุนท้ังหมดตลอดอายุโครงการเปนมูลคาปจจุบัน (NPV) โดยใชตัวคูณลด (Discount

Factor) ซ่ึงตนทุนตลอดอายุประกอบดวย เงินลงทุน (Capital Cost) คาใชจายทางการเงิน (Financial

Cost) คาใชจายในการปฏิบัติการ (Operation Cost) คาใชจายในการบํารุงรักษา (Maintenance Cost)

รวมถึงคาใชจายในการกําจัดเม่ือหมดอายุ (Disposal Cost)

(6) ระยะเวลาการคืนทุน (Payback Period, PB) คือ ระยะเวลาท่ีจะไดรับทุนคืน สําหรับ

โครงการนี้จะใชวิธีการประเมินโดยคิดมูลคาปจจุบันของกระแสเงินสดรับและกระแสเงินสดจาย

เปรียบเทียบกัน (SNPV = PVกระแสเงินสดรับ – PVกระแสเงินสดจาย) โดยโครงการจะคืนทุนตอเม่ือคา

ผลรวมสะสมของ SNPV ในแตละปท่ีผานมามีคาเทากับ 0 (ศูนย)

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 65: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

9-10

การประเมินทางดานเศรษฐศาสตรของการผลิตไฟฟาดวยเซลลแสงอาทิตยในพ้ืนท่ีศูนยศึกษาฯ จะ

ประเมินภายใตเง่ือนไขและสมมุติฐานท่ีใชในการประเมินทางดานเศรษฐศาสตร ดังนี้

- ระบบผลิตไฟฟาขนาด 16 kW

- งบประมาณในการลงทุนเริ่มตน 1,013,290.00 บาท

- อัตราสวนลด (คาเฉลี่ยอัตราดอกเบี้ยธนาคารพาณิชย) 6.65%

- อายุการใชงานของเครื่องแปลงกระแสไฟฟา (inverter) 14 ป

- พลังงานไฟฟาท่ีระบบผลิตได 17,959.76 kWh/ป

- คิดอัตราการลดลงของประสิทธิภาพแผงเซลลแสงอาทิตยปละ 0.8%

- คิดอัตราการเดินระบบและซอมบํารุง (O&M) ปละ 1% ของเงินลงทุน

- อายุของระบบ 25 ป

- ราคาคาไฟฟาตอหนวย 4.67 บาท

- คิดอัตราการเพ่ิมข้ึนของคาไฟฟาตอหนวย ปละ 3%

- มูลคาซาก 5%

ตารางท่ี 9-6 ผลการประเมินความเปนไปไดทางการเงินและการลงทุนของศูนยศึกษาฯเขาหินซอน Investment Cost (Bath) 1,013,290.00

LCC (Life Cycle Cost) 1,192,036.03

NPV (Net Present Value) 202,896.60

Project FIRR 8.26%

COE (Cost of Energy) 5.91

BCR (Benefit Cost Ratio) 1.17

PB (Payback Period) 13 ป

รูปท่ี 9-8 ระยะเวลาคืนทุนของระบบ (ศูนยศึกษาฯเขาหินซอน)

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 66: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

9-11

ตารางท่ี 9-7 การประเมินทางดานเศรษฐศาสตร (ศูนยศึกษาฯเขาหินซอน จ.ฉะเชิงเทรา)

Discount Factor Annual Generation

6.65% (kWh)

0 1.000 - 1,013,290.00 1,013,290.00 1,013,290.00- - - 1,013,290.00 1,013,290.00- 1,013,290.00- 1,013,290.00-

1 0.938 17,959.76 83,872.06 83,872.06 10,132.90 - - 10,132.90 73,739.16 16,839.90 78,642.34 9,501.08 69,141.26 939,550.84- 944,148.74-

2 0.879 17,816.08 85,697.11 85,697.11 10,132.90 - - 10,132.90 75,564.21 15,663.56 75,343.27 8,908.65 66,434.62 863,986.63- 877,714.12-

3 0.824 17,673.55 87,561.88 87,561.88 10,132.90 - - 10,132.90 77,428.98 14,569.38 72,182.60 8,353.17 63,829.43 786,557.65- 813,884.69-

4 0.773 17,532.16 89,467.23 89,467.23 10,132.90 - - 10,132.90 79,334.33 13,551.64 69,154.52 7,832.32 61,322.20 707,223.32- 752,562.49-

5 0.725 17,391.90 91,414.04 91,414.04 10,132.90 - - 10,132.90 81,281.14 12,605.00 66,253.46 7,343.95 58,909.52 625,942.18- 693,652.97-

6 0.680 17,252.77 93,403.21 93,403.21 10,132.90 - - 10,132.90 83,270.31 11,724.48 63,474.11 6,886.03 56,588.08 542,671.88- 637,064.89-

7 0.637 17,114.75 95,435.66 95,435.66 10,132.90 - - 10,132.90 85,302.76 10,905.47 60,811.35 6,456.66 54,354.69 457,369.12- 582,710.19-

8 0.597 16,977.83 97,512.34 97,512.34 10,132.90 - - 10,132.90 87,379.44 10,143.67 58,260.30 6,054.06 52,206.23 369,989.68- 530,503.96-

9 0.560 16,842.00 99,634.21 99,634.21 10,132.90 - - 10,132.90 89,501.31 9,435.09 55,816.26 5,676.57 50,139.69 280,488.37- 480,364.27-

10 0.525 16,707.27 101,802.25 101,802.25 10,132.90 - - 10,132.90 91,669.35 8,776.01 53,474.75 5,322.62 48,152.13 188,819.03- 432,212.13-

11 0.493 16,573.61 104,017.46 104,017.46 10,132.90 - - 10,132.90 93,884.56 8,162.96 51,231.47 4,990.73 46,240.74 94,934.46- 385,971.40-

12 0.462 16,441.02 106,280.88 106,280.88 10,132.90 - - 10,132.90 96,147.98 7,592.74 49,082.29 4,679.54 44,402.75 1,213.52 341,568.65-

13 0.433 16,309.49 108,593.56 108,593.56 10,132.90 - - 10,132.90 98,460.66 7,062.35 47,023.28 4,387.76 42,635.52 99,674.18 298,933.13-

14 0.406 16,179.02 110,956.55 110,956.55 150,132.90 - - 150,132.90 39,176.35- 6,569.01 45,050.63 60,957.04 15,906.40- 60,497.83 314,839.53-

15 0.381 16,049.59 113,370.97 113,370.97 10,132.90 - - 10,132.90 103,238.07 6,110.14 43,160.75 3,857.63 39,303.11 163,735.90 275,536.42-

16 0.357 15,921.19 115,837.92 115,837.92 10,132.90 - - 10,132.90 105,705.02 5,683.32 41,350.14 3,617.10 37,733.04 269,440.92 237,803.37-

17 0.335 15,793.82 118,358.55 118,358.55 10,132.90 - - 10,132.90 108,225.65 5,286.31 39,615.49 3,391.56 36,223.93 377,666.57 201,579.44-

18 0.314 15,667.47 120,934.03 120,934.03 10,132.90 - - 10,132.90 110,801.13 4,917.04 37,953.61 3,180.08 34,773.53 488,467.70 166,805.91-

19 0.294 15,542.13 123,565.56 123,565.56 10,132.90 - - 10,132.90 113,432.66 4,573.56 36,361.44 2,981.79 33,379.65 601,900.36 133,426.26-

20 0.276 15,417.79 126,254.35 126,254.35 10,132.90 - - 10,132.90 116,121.45 4,254.07 34,836.07 2,795.87 32,040.20 718,021.81 101,386.06-

21 0.259 15,294.45 129,001.64 129,001.64 10,132.90 - - 10,132.90 118,868.74 3,956.91 33,374.69 2,621.54 30,753.15 836,890.55 70,632.91-

22 0.243 15,172.09 131,808.72 131,808.72 10,132.90 - - 10,132.90 121,675.82 3,680.50 31,974.61 2,458.07 29,516.53 958,566.36 41,116.38-

23 0.227 15,050.72 134,676.87 134,676.87 10,132.90 - - 10,132.90 124,543.97 3,423.40 30,633.26 2,304.80 28,328.46 1,083,110.34 12,787.92-

24 0.213 14,930.31 137,607.44 137,607.44 10,132.90 - - 10,132.90 127,474.54 3,184.26 29,348.19 2,161.09 27,187.10 1,210,584.88 14,399.18

25 0.200 14,810.87 812,130.00 140,601.78 952,731.78 10,132.90 - - 10,132.90 942,598.88 2,961.82 190,523.77 2,026.34 188,497.43 2,153,183.76 202,896.60

408,421.63 3,559,796.26 393,322.50 1,406,612.50 2,153,183.76 201,632.58 1,394,932.63 1,192,036.03 202,896.60 SUM

yearScrape Benefit Total Benefit

Cost

Initial Cost O&M Rent Area NPV (THB) AC.SNPV AC.NPV

Benefit

Tax Total CostSNPV

Discounted Energy

(kWh) NPB (THB) NPC (THB)

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 67: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

รายงานความกาวหนาฉบับที่ 2 : โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนุนกิจกรรม

ศูนยศึกษาการพัฒนาอันเนือ่งมาจากพระราชดําร ิ

9-12

จากการประเมินทางดานเศรษฐศาสตรของโครงการระบบผลิตไฟฟาจากเซลลแสงอาทิตย ทําใหได

คาตัวแปรทางดานเศรษฐศาสตรท่ีสําคัญซ่ึงสามารถใชในการพิจารณาการลงทุนของโครงการ ซ่ึงหาก

พิจารณาจากตัวเลขทางเศรษฐศาสตรดังกลาว ทําใหโครงการ มีความเหมาะสมท่ีจะทําการลงทุนทางดาน

การเงิน สังเกตไดจากคาอัตราสวนผลประโยชนตอตนทุน (BCR) ซ่ึงระบบท่ีนาลงทุนจะตองมีคามากกวา 1

และตัวแปรท่ีสําคัญอีกตัวหนึ่ง ท่ีใชบงบอกความนาลงทุน คือ คาผลตอบแทนทางดานการเงิน (FIRR) ซ่ึง

ตองมีคามากวาอัตราสวนลดท่ีใชในการประเมิน (สําหรับโครงการนี้ใช 6.65%) จากผลการประเมินพบวา

คา FIRR มีคามากกวาอัตราสวนลดท่ีใชในการประเมิน อีกท้ังหากพิจารณาระยะเวลาคืนทุน พบวา

โครงการมีระยะเวลาคืนทุน 13 ป ในขณะท่ีอายุโครงการ 25 ป

ตารางท่ี 9-8 สรปุผลการประเมินตัวเลขดานเศรษฐศาสตรของโครงการศูนยศึกษาฯท้ัง 6 แหง

ศูนยศึกษาฯ BCR FIRR PB

1.ศูนยศึกษาฯเขาหินซอน จ.ฉะเชิงเทรา 1.17 8.26 13 ป

นอกจากการแสดงผลการประเมินตัวเลขทางดานเศรษฐศาสตรแลว โครงการยังไดนําเสนอผลการ

ประหยัดในรูปแบบของปริมาณการใชไฟฟา (หนวยไฟฟา, kWh) และคาไฟฟา (บาท) เพ่ือใหเห็นถึงผลการ

ประหยัดหลังจากการติดตั้งระบบผลิตไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตย

ตารางท่ี 9-9 สรุปผลการประหยัดพลังงานไฟฟาเฉลี่ยรายเดือนหลังจากติดตั้งระบบ

ศูนยศึกษาฯ ขนาดของระบบ

(kW)

ไฟฟาท่ีผลติได

(หนวย/เดือน)

คาไฟฟาเฉลี่ย

(บาท/หนวย)

ผลประหยดั

(บาท/เดือน)

1.เขาหินซอน 16 1,496.65 4.67 6,989.34

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 68: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

10-1

บทท่ี 10

การศึกษาผลกระทบทางสิ่งแวดลอมและชุมชนเบ้ืองตน

จากการศึกษา สํารวจและออกแบบเบื้องตนของโครงการระบบผลิตพลังงานจากเซลลแสงอาทิตย

ในศูนยศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริท้ัง 6 แหง ซ่ึงลักษณะของโครงการจะเปนการติดตั้ง

ระบบผลิตไฟฟาดวยเซลลแสงอาทิตย เพ่ือผลิตกระแสไฟฟาเพ่ือใชภายในศูนยศึกษาฯ โดยพ้ืนท่ีโครงการท่ี

ทําการศึกษาจะใชพ้ืนท่ีซ่ึงอยูภายในศูนยศึกษาฯซ่ึงเปนสวนราชการ ซ่ึงในความเปนจริง กอนท่ีจะทําการ

ติดต้ังระบบผลิตไฟฟาดวยเซลลแสงอาทิตยนั้น ควรท่ีจะมีการศึกษาผลกระทบดานสิ่งแวดลอมเบื้องตน

เพ่ือเปนการทํานาย และประเมินผลกระทบทางดานสิ่งแวดลอมจากโครงการ เพ่ือเปนการปองกัน

ผลกระทบทางดานสิ่งแวดลอมท่ีอาจจะเกิดข้ึนกอนท่ีจะมีการดําเนินโครงการจริง ท้ังนี้เพ่ือเปนการลด

ผลกระทบและปญหาตางๆท่ีอาจเกิดข้ึนจากการดําเนินโครงการ อีกท้ังยังเปนตัวชวยในการวางแผนสําหรับ

การดําเนินโครงการจริงได

อยางไรก็ตาม การศึกษานี้เปนเพียงการศึกษาเบื้องตน หากจะมีการดําเนินโครงการจริงในอนาคต

ควรมีการลงพ้ืนท่ีสํารวจขอมูลเพ่ิมเติม พรอมท้ังสํารวจและประเมินดานความสอดคลองและความคิดเห็น

ของศูนยศึกษาฯอยางละเอียดอีกครั้ง

10.1 การประเมินผลกระทบทางดานส่ิงแวดลอมของระบบผลิตไฟฟาดวยเซลลแสงอาทิตย

10.1.1 การประเมินคุณภาพส่ิงแวดลอม และคาดการณผลกระทบจากโครงการ

1) คุณภาพอากาศ

โครงการระบบผลิตไฟฟาดวยเซลลแสงอาทิตย ไมมีผลกระทบทางดานคุณภาพอากาศ

2) การจัดการขยะ

ในระยะการกอสรางอาจมีขยะเกิดข้ึนจากเศษวัสดุเหลือท้ิงจากการกอสราง เศษขยะมูล

ฝอยท่ีเกิดจากการดําเนินชีวิตประจําวันของคนงานกอสราง แตสําหรับในชวงระยะเวลาดําเนินโครงการ

ระบบผลิตไฟฟาดวยเซลลแสงอาทิตย ไมมีผลกระทบทางดานของขยะ เนื่องจากโครงการจะระบบใชการ

เชื่อมตอกับระบบสายสงของการไฟฟาสวนภูมิภาค (กฟภ.) โดยตรง ดังนั้นจึงไมมีการใชแบตเตอรี่เพ่ือประจุ

พลังงานและทําใหไมมีการเกิดขยะอันตรายจากแบตเตอรี่ อีกท้ังการผลิตพลังงานจากเซลลแสงอาทิตยไมมี

การเคลื่อนยายหรือขนสงเชื้อเพลิงในชวงระยะเวลาการผลิต ดังนั้นจึงไมมีขยะเกิดข้ึน

อยางไรก็ตาม แมวาโครงการผลิตพลังงานไฟฟาจากเซลลแสงอาทิตยท่ีผานมาอาจไมมี

ผลกระทบทางดานขยะ แตหากโครงการเหลานี้ยุติลง อาจเนื่องจากแผงเซลลเสื่อมสภาพหรือหมดอายุ

โครงการก็ตาม ดังนั้น จําเปนตองพิจารณาในเรื่องของการกําจัดแผงเซลลท่ีไมใชแลวจํานวนมากนี้อยาง

ถูกตองและเหมาะสม

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 69: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

10-2

3) ทรัพยากรดิน

ในชวงระยะเวลาดําเนินโครงการอาจมีการปรับพ้ืนท่ีเพ่ือการติดต้ังระบบ ซ่ึงอาจมีการ

การขุดดินและถมดิน ทําใหโครงสรางของดินเปลี่ยนแปลงไป และเกิดการชะลางพังทลายของหนาดินได ซ่ึง

ทําใหสภาพทางกายภาพของดินเปลี่ยนแปลงไป จึงอาจมีผลตอการใชประโยชนท่ีดิน เชน การเกษตรกรรม

เปนตน แตสําหรับโครงการของศูนยศึกษาฯท้ัง 6 แหง จะเลือกใชพ้ืนท่ีซ่ึงยังไมไดใชประโยชนเต็มท่ี ดังนั้น

จึงไมกอใหเกิดผลกระทบมากนัก แตหลังการกอสรางแลวเสร็จจะกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงโครงสรางของ

ดินอยางถาวรกลายเปนพ้ืนท่ีท่ีไดพัฒนาแลวตามแผนงานของโครงการ

4) ระดับเสียง

ระบบผลิตพลังงานไฟฟาจากเซลลแสงอาทิตยไมกอใหเกิดผลกระทบทางดานเสียง

ในชวงดําเนินโครงการ แตอาจกอใหเกิดเสียงดังในชวงระยะเวลาการกอสราง ซ่ึงมาจากการทํางานของ

เครื่องจักรขนาดใหญ เชน รถตัก เครื่องบดอัดดิน เครื่องผสมคอนกรีต โดยจะเกิดข้ึนเปนครั้งคราว และอยู

ในระยะตนของงานกอสรางเทานั้น จึงถือไดวาไมสงผลกระทบหรือสงผลกระทบนอยมาก

5) ปริมาณการจราจร

ในระยะกอสรางอาจจะมีปญหาดานการจราจรบริเวณพ้ืนท่ีโครงการ เนื่องจากมีการ

ขนสงวัสดุอุปกรณสําหรับการกอสราง และอาจมีการปรับปรุงถนนเพ่ือความสะดวกในการขนสง ซ่ึงจะมี

ผลกระทบตอการจราจรในบริเวณโครงการบางเล็กนอย แตหลังจากโครงการกอสรางแลวเสร็จ จะไมมี

ผลกระทบทางดานปริมาณการจราจรแตอยางใด

6) ฝุนละออง

ชวงเวลาของการกอสรางโครงการอาจเกิดฝุนละอองระกวนข้ึนได โดยจะเกิดในชวงของ

การปรับพ้ืนท่ีและการขนสงอุปกรณ

10.1.2 มาตรการและแนวทางปองกันผลกระทบดานส่ิงแวดลอม

1) การจัดการขยะ

ทําการคัดแยกประเภทขยะมูลฝอยและของเสียโดยจดัเตรียมภาชนะรองรับตามประเภท

ของของเสีย เชน ขยะเปยกท่ีเปนเศษอาหารหรือวัสดุท่ียอยสลายได หรือ ขยะท่ีมากับวัสดุอุปกรณสําหรับ

การติดตั้งระบบซ่ึงอาจเปนกระดาษ พลาสติก หรือไม เพ่ือใหงายตอการนําไปกําจัดไดอยางถูกตองและ

เหมาะสม

ในสวนของแผงเซลลจํานวนมากท่ีเลิกใชงานในโครงการแลว (เสื่อมสภาพหรือหมดอายุ

โครงการ) ในปจจุบันสามารถจัดการไดหลายวิธี เชน 1) การกําจัดท้ิงดวยวิธีการฝงกลบอยางถูกหลัก

สุขาภิบาล หรือการเผาทําลายในเตาเผาเฉพาะ หรือการสงไปกําจัดกับหนวยงานตาง ๆ ตามกฎหมายวา

ดวยโรงงาน และ 2) การนํากลับมาใชใหม ซ่ึงตามประกาศของสํานักงานคณะกรรมการกํากับกิจการ

พลังงาน เก่ียวกับเรื่อง “มาตรการปองกัน แกไข และติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดลอมสําหรับผู

ประกอบกิจการผลิตไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยจากเทคโนโลยีแผงโฟโตโวลเทอิก” โดยใหปฏิบัติตาม

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 70: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

10-3

ประมวลหลักปฏิบัติ (Code of Practice, CoP) ซ่ึงแนะนําใหพิจารณาเลือกใชวิธีการกําจัดแผงเซลลแสง

ทิตยท่ีหมดอายุโครงการแลวดวยวิธีการนํากลับมาใชใหม (Recycling Method) เปนอันดับแรก

วิธีการนํากลับมาใชใหมสามารถทําไดโดย การสงตอแผงเซลลท่ีหมดอายุโครงการให

กลับบริษัทผูผลิตแผงเซลล ซ่ึงบริษัทเหลานี้จะมีเทคโนโลยีและกระบวนการในการกําจัดแผงเซลลหมดอายุ

เพ่ือแปรสภาพแผงเซลลใหกลับมาเปนวัตถุดิบในการนํามาผลิตเปนแผงเซลลใหมได

2) ระดับเสียง

ผลกระทบเรื่องเสียงท่ีอาจเกิดเสียงดังบางในระยะกอสรางจากการทํางานของเครื่องจักร

นั้น ทางโครงการสามารถลดผลกระทบดังกลาวท่ีจะเกิดกับเจาหนาท่ีและบุคลากรภายในศูนยฯ โดยทําการ

แจงแผนชวงเวลาในการทํางานโดยเครื่องจักรซ่ึงทําใหเกิดเสียงดังใหกับหนวยงานภายในศูนยฯรับทราบ

เพ่ือเปนการเตรียมการหรือวางแผนการปฏิบัติงานบางอยางเพ่ือลีกเลี่ยงผลกระทบดังกลาว

3) ปริมาณการจราจร

ปญหาการจราจรท่ีเกิดในระยะกอสรางสามารถปองกันแกไขไดโดย การกําหนด

ชวงเวลาในการขนสงวัสดุอุปกรณไมใหอยูในชวงเวลาเรงดวนของการจราจร เชน ตอนเชา หรือตอนเย็น

4) การจัดการฝุนละออง

ฝุนละอองท่ีอาจจะเกิดข้ึนในชวงเวลาของการกอสรางโครงการ โดยจะเกิดในชวงของ

การปรับพ้ืนท่ีและการขนสงอุปกรณ ซ่ึงสามารถแกปญหาโดยการฉีดพนน้ําในพ้ืนท่ีโครงการเพ่ือเปนการลด

ฝุนละอองไมใหเกิดการฟุงกระจายรบกวนบริเวณพ้ืนท่ีรอบโครงการ

10.2 การศึกษาผลกระทบดานชุมชน

เนื่องจากโครงการนี้เปนการติดตั้งระบบผลิตพลังงานภายในหนวยงานของศูนยศึกษาการพัฒนาอัน

เนื่องมาจากพระราชดํา ซ่ึงเปนพ้ืนท่ีสวนราชการและมีอาณาเขตท่ีแนนอน ดังนั้น ผลกระทบตางๆท่ีอาจจะ

เกิดข้ึนจะกระทบโดยตรงกับเจาหนาท่ีและบุคลากรภายในศูนยศึกษาฯ ซ่ึงอาจมีผลกระทบทางออมกับ

ชุมชนภายนอก ดังนี้

1) ระยะกอสราง : อาจกอใหเกิดการจางแรงงานในทองถ่ินเพ่ือการกอสรางโครงการ ทําใหเกิด

อาชีพ รายได และเศรษฐกิจโดยรวมของชุมชนในทองถ่ินท่ีดีข้ึน

2) ระยะดําเนินการ : สงเสริมใหเกิดการพัฒนาในหลายๆดาน เชน การจางงาน ในชวงระยะเวลา

ดําเนินโครงการจําเปนตองมีการบํารุงรักษาระบบ อีกท้ังยังสงผลตอการมีรายไดเพ่ิมข้ึนของชุมชนบริเวณ

ใกลเคียงศูนยศึกษาฯจากการบริการนักทองเท่ียวหรือผูมาศึกษาดูงาน เนื่องจากศูนยศึกษาฯมีภารกิจหลัก

ในการเปนแหลงเรียนรูเดิมอยูแลว ดังนั้น หากมีโครงการกอสรางในลักษณะนี้เกิดข้ึน อาจสงผลใหมีจํานวน

นักทองเท่ียวหรือผูศึกษาดูงานเพ่ิมข้ึน อีกท้ังยังเปนแหลงเรียนรูใหมในดานพลังงานทดแทนจากแสงอาทิตย

อีกดวย

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 71: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

11-1

บทท่ี 11

แนวทางการอนุรักษพลังงานในศูนยศึกษาการพัฒนาอันเน่ืองมาจากพระราชดําร ิ

จากพระราชดําริของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงตระหนักเปนอยางดีถึงปญหาพ้ืนท่ีใน

ภูมิภาคตางๆ จึงไดทรงพระราชทานพระราชดําริใหจัดตั้งศูนยศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ

ข้ึน โดยใหตั้งอยูในพ้ืนท่ีท่ีดินมีปญหาใหการพัฒนาพ้ืนท่ีใหเปนตัวอยาง เพ่ือแกปญหาตามแตละพ้ืนท่ี จึง

เกิดการรวมกันของหนวยงานราชการตางๆท่ีมีความเชี่ยวชาญเฉพาะดานในการแกปญหาดังกลาว ทําให

เกิดเปนศูนยสํานักงาน หองปฏิบัติการ หองแสดงนิทรรศการ หองประชุมสัมมนา สถานท่ีเรียนรูและสาธิต

พรอมท้ังมีเครื่องมือ อุปกรณ และสิ่งอํานวยความสะดวกตางๆ ซ่ึงจําเปนตองมีการใชพลังงานท้ังในรูปของ

พลังงานไฟฟาหรือน้ํามันเชื้อเพลิงในปริมาณมากอยางหลีกเลี่ยงไมได

ดังกลาว จึงไดมีการสํารวจพ้ืนท่ี อาคาร และการใชพลังงานภายในศูนยศึกษาฯท้ัง 6 แหง เพ่ือทํา

การสํารวจตรวจนับอุปกรณไฟฟาท่ีใชในสํานักงานหรืออาคารปฏิบัติการตางๆท่ีมีการใชงานเปนประจํา คือ

หลอดไฟสองสวาง และเครื่องปรับอากาศ เพ่ือทําการวิเคราะหและหามาตรการในการประหยัดพลังงาน

ของศูนยศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ ดังนี้

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 72: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

11-2

11.1 ศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอันเนื่องมาจากพระราชดําริ

11.1.1 ขอมูลท่ัวไปและลักษณะของอาคาร

ชื่ออาคาร : ศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอันเนื่องมาจากพระราชดําริ

สถานท่ีตั้งอาคาร : เลขท่ี 7หมู 2 ตําบลเขาหินซอน อําเภอพนมสารคาม จังหวัด

ฉะเชิงเทรา

โทรศัพท : 081-410-4040

ลักษณะการใชงาน : ราชการ

เวลาทําการของอาคาร : ตั้งแต 8.00 น. ถึง 16.00 น. คิดเปน 8 ชม./วัน 300 วัน/ป

ชื่อผูบริหาร : นายอนุวัชร โพธินาม

ตําแหนง : ผูอํานวยการศูนยศึกษาฯเขาหินซอน

โทรศัพท : 038-554982-3

ชื่อผูประสานงาน : นายรัฐ เกาวนันทน

ตําแหนง : นักวิชาการเกษตรชํานาญการ

โทรศัพท : 081-925-3518

ดําเนินการตั้งแตป : ป พ.ศ. 2524

พ้ืนท่ีใชสอยรวม : 7,469.00 ตารางเมตร

พ้ืนท่ีปรับอากาศรวม : 3,187.00 ตารางเมตร

พ้ืนท่ีจอดรถ : 0.00 ตารางเมตร

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 73: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

11-3

11.1.2 ลักษณะอาคาร

จากการสํารวจแนวทางการอนุรักษพลังงานในศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอัน

เนื่องมาจากพระราชดําริ พบวามีอาคารภายในศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอันเนื่องมาจาก

พระราชดําริท้ังสิ้น 22 อาคาร ดังนี้

ตารางท่ี 11-1 ลักษณะอาคารภายในศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอันเนื่องมาจากพระราชดําริ

ช่ืออาคาร

จํานวน

ช้ัน

(ช้ัน)

ความสูง

แตละช้ัน

(ม.)

พ้ืนท่ี

จอดรถ

(ตรม.)

พ้ืนท่ีใชสอย

รวม

(ตรม.)

พ้ืนท่ี

ปรับอากาศ

(ตรม.)

อาย ุ

อาคาร

(ป)

1. กองอํานวยการช้ันบน 2 3 0.00 212.00 132.00 34

2. กองอํานวยการช้ันลาง 2 3 198.00 140.00 33

3. ปศุสัตว(สํานักงาน) 1 3 96.00 72.00 33

4. หองประชุมพอเพียง(หองประชุม) 1 3 288.00 128.00 33

5. หองประชุมพอเพียง(หองพัก) 1 3 408.00 320.00 33

6. ท่ีพักผูอบรม ช้ันลาง ช้ันบน 2 3 784.00 536.00 33

7. โรงอาหาร 1 3 525.00 425.00 33

8. งานวิเคราะหดิน 1 3 152.00 128.00 33

9. เครื่องจักรกล 1 4 752.00 24.00 33

10. ประสานงานศูนยฯ ตึกอบรม 1 3 248.00 160.00 33

11. ประสานงานศูนยฯ โรงจอดรถ 1 5 400.00 0.00 33

12. หัตถกรรมพ้ืนบาน 1 3 360.00 0.00 33

13. ประมง สํานักงาน 1 3 272.00 48.00 33

14. งานกรมสงเสริม 1 3 140.00 0.00 33

15. งานกรมวิชาการเกษตร 1 3 184.00 104.00 33

16. อาคารท่ีพัก งานกรมสงเสริม ช้ันลาง 1 3 424.00 270.00 33

17. อาคารท่ีพัก งานกรมสงเสริม ช้ันบน 1 3 352.00 256.00 33

18. โรงอาหารท่ีพัก งานกรมสงเสริม 1 4 360.00 0.00 33

19. งานเพาะชํากลาไม สํานักงาน 1 3 430.00 60.00 33

20. สวนพฤกษาศาสตร 1 3 272.00 208.00 33

21. อาคารอบสมุนไพร 2 3 304.00 128.00 33

22. โรงสีพระราชทาน 1 5 308.00 48.00 33

รวม 7,469.00 3,187.00

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 74: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

11-4

11.1.3 ลักษณะการใชพลังงานในอาคาร

การใชพลังงานไฟฟา

พลังงานไฟฟาท่ีใช 521,564.08 กิโลวัตต ชั่วโมง/ป

คิดเปนคาใชจายดานพลังงาน 2,438,120.73 บาท/ป

คาความตองการกําลังไฟฟาสูงสุด กิโลวัตต

ขนาดหมอแปลงรวม กิโลโวลตแอมแปร

คาพิกัดแรงดันไฟฟา โวลต

ดัชนีการใชพลังงานไฟฟา 69.83 กิโลวัตต-ชั่วโมง/ตาราง/ป

ราคาพลังงานไฟฟาเฉลี่ย 4.67 บาท/กิโลวัตต-ชั่วโมง

จากการตรวจวิเคราะห ทางอาคารศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอันเนื่องมาจากพระราชดําริ มี

การใชพลังงานไฟฟา แยกตามระบบหลักๆ คิดเปนสัดสวนดังนี้

ระบบปรับอากาศ ใชไฟฟาประมาณ 61.44 %

ระบบแสงสวาง ใชไฟฟาประมาณ 19.83 %

ระบบอ่ืนๆ ใชไฟฟาประมาณ 18.73 %

11.1.4 กราฟแสดงลักษณะการใชไฟฟาของอาคาร

รูปท่ี 11-1 กราฟแสดงลักษณะการใชไฟฟาของอาคาร(เขาหินซอน)

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 75: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

11-5

11.1.5 การใชพลังงานไฟฟาในระบบปรับอากาศ

การใชพลังงานไฟฟาในระบบปรับอากาศของอาคาร ประกอบไปดวยเครื่องปรบัอากาศ

ดังตอไปนี้

ตารางท่ี 11-2 การใชพลังงานไฟฟาในระบบปรับอากาศของศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอัน

เนื่องมาจากพระราชดําริ

ลําดับ

ขนาดเคร่ือง

ปรับอากาศ

(BTU/hr)

ชนิดเคร่ือง

ปรับอากาศ

อายกุารใชงาน (ป) จํานวน

(เคร่ือง)

รวม

(BTU/hr) <3 3-5 5-6 6-7 7-8 8-10 >10

1 12,000 Split Type - 10 - - - 2 - 12 144,000

2 13,000 Split Type 3 - - - - - - 3 39,000

3 13,900 Split Type - 2 - - - - - 2 27,800

4 16,000 Split Type 1 - - - - - - 1 16,000

5 18,000 Split Type 3 22 - - - 1 1 27 486,000

6 24,000 Split Type 9 - - - 1 - 1 11 264,000

7 24,500 Split Type - 1 - - - - - 1 24,500

8 25,000 Split Type - 4 - - 1 - - 5 125,000

9 25,400 Split Type - 1 - - - - - 1 25,400

10 26,000 Split Type - - - - 9 - - 9 234,000

11 30,000 Split Type - - - - 2 - - 2 60,000

12 30,300 Split Type - - - - 6 - - 6 181,800

13 30,500 Split Type - 1 - - - - - 1 30,500

14 33,500 Split Type - - - - 6 - - 6 201,000

15 35,000 Split Type - - - - 7 - -

16 36,000 Split Type - 2 - - 3 1 -

17 37,000 Split Type - - - - 3 - -

18 37,400 Split Type - 1 - - - - -

19 39,000 Split Type - - - - 7 - -

20 52,000 Split Type - - - - 4 - -

21 60,000 Split Type - - - - 6 - -

22 61,400 Split Type - - - - 2 - -

รวม 16 44 - - 57 4 2 87 1,859,000

พ้ืนท่ีปรับอากาศ 3,187.00 ตารางเมตร

พ้ืนท่ีปรับอากาศชั้นบนสุด 3,187.00 ตารางเมตร

กําลังการติดตั้งตอพ้ืนท่ีปรับอากาศ 583.31 บีทียู-ชั่วโมง/ตารางเมตร

พลังงานไฟฟาท่ีใช 320,448.24 กิโลวัตต-ชั่วโมง/ป

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 76: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

11-6

11.1.6 การใชพลังงานไฟฟาในระบบแสงสวาง

การใชพลังงานไฟฟาในระบบแสงสวางของอาคาร ประกอบไปดวยอุปกรณไฟฟา ดังตอไปนี้

ตารางท่ี 11-3 การใชพลังงานไฟฟาในระบบแสงสวางของศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอันเนื่องมาจาก

พระราชดําริ

ลําดับ ชนิดหลอด

ขนาด จํานวน กําลังไฟฟา กําลังสูญเสีย กําลังไฟฟา

หลอด หลอด บัลลาสต รวม

(วัตต) (หลอด) (วัตต) (วัตต) (วัตต)

1 ฟลูออเรสเซนต 18 105 1,890.00 1,050.00 2,940.00

2 ฟลูออเรสเซนต 32 31 992.00 310.00 1,302.00

3 ฟลูออเรสเซนต 36 870 31,320.00 8,700.00 40,020.00

4 หลอดตะเกียบ 11 137 1,507.00 1,370.00 2,877.00

5 หลอดตะเกียบ 14 275 3850 2750 6600

6 หลอดแสงจนัทร 400 3 1200 30 1230

7 หลอดแสงจนัทร 500 5 2500 50 2550

8 หลอดไส 5 36 180 360 540

9 หลอดไส 25 85 2125 850 2975

รวม 61,034.00

พ้ืนท่ีใชงาน 7,469.00 ตร.ม

กําลังการติดตั้งตอพ้ืนท่ีใชงาน 8.17 วัตต/ตร.ม

พลังงานไฟฟาท่ีใช 103,433.10 กิโลวัตต-ชั่วโมง/ป

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 77: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

11-7

11.1.7 ขอเสนอแนะและแนวทางการลดคาใชจายดานพลังงาน มาตรการดานระบบปรับ

อากาศ

1) มาตรการการบํารุงรักษาเครื่องปรับอากาศ

จากการสํารวจพบวา ภายในหนวยงานมีการใชงานเครื่องปรับอากาศ และควรลาง

เครื่องปรับอากาศ เปนประจํา ความเห็นโดยท่ัวไปแลวเม่ือใชงานเครื่องปรับอากาศไดสักระยะหนึ่งจะมีฝุน

เกาะท่ีแผนกรอง-อากาศและชุดคอนเดนซ่ิง ซ่ึงฝุนท่ีเกาะจะทําหนาท่ีเปนฉนวนความรอนทําใหการถายเท

ความรอนของระบบแยลงทําใหประสิทธิภาพของเครื่องปรับอากาศลดลงจึงจําเปนตองมีการบํารุงรักษาโดย

การทําความสะอาดทุก 6 เดือน เพ่ือทําใหเครื่องปรับอากาศทํางานท่ีประสิทธิภาพสูงข้ึน

การลงทุน

ลงทุนลางเครื่องปรับอากาศ คิดเปนเงิน = 61,500.00 บาท

ผลประหยัดเม่ือทํามาตรการนี้สามารถพลังงานไฟฟาท่ีประหยัดได = 26,005.52 kWh/ป

คิดเปนคาไฟฟาท่ีประหยัดได = 121,445.77 บาท/ป

ระยะเวลาคืนทุน = 0.51 ป

2) มาตรการการใชเครื่องปรับอากาศประสิทธิภาพสูง

จากการสํารวจพบวา ภายในอาคารมีการใชเครื่องปรับอากาศท่ีท่ีมีอายุเกิน 10 ป ซ่ึงมี

สภาพเกาและไมสามารถทําความเย็นไดตามตองการความเห็นเปลี่ยนใชเครื่องปรับอากาศประสิทธิภาพสูง

(เบอร 5) ทดแทนเครื่องปรับอากาศชุดเดิม

การลงทุน

ลงเปลี่ยนเครื่องปรับอากาศประสิทธิภาพสูง คิดเปนเงิน = 49,800.00 บาทผล

ประหยัดเม่ือทํามาตรการนี้สามารถพลังงานไฟฟาท่ีประหยัดได = 913.50 kWh/ป

คิดเปนคาไฟฟาท่ีประหยัดได = 4,266.05 บาท/ป

ระยะเวลาคืนทุน = 11.67 ป

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 78: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

11-8

11.1.8 ขอเสนอแนะและแนวทางการลดคาใชจายดานพลังงานมาตรการดานระบบแสงสวาง

1) มาตรการ การเปลี่ยนชนิดบัลลาสต

ทางหนวยงานมีการใชบัลลาสตแบบแกนเหล็กธรรมดาสําหรับหลอดฟลูออเรสเซนต

ความเห็นเปลี่ยนชนิดบัลลาสตเปนบัลลาสตแบบแกนเหล็กชนิดความสูญเสียต่ํา (Low Watt Loss)

การลงทุน

ลงทุนติดตั้งบัลลาสตแบบแกนเหล็กชนิดความสูญเสียต่ํา(Low Watt Loss) = 3,915.00 บาท

ผลประหยัดเม่ือทํามาตรการนี้สามารถพลังงานไฟฟาท่ีประหยัดได = 143.04 kWh/ป

คิดเปนคาไฟฟาท่ีประหยัดได = 667.99 บาท/ป

ระยะเวลาคืนทุน = 5.86 ป

11.1.9 แผนการปรับปรุงการอนุรักษพลังงาน

สืบเนื่องจากการท่ีจะมีการดําเนินการปรับปรุงอุปกรณ เพ่ือการประหยัดพลังงานตามโครง

การอนุรักษพลังงานในอาคารของรัฐ จากการสํารวจและวิเคราะหอยางละเอียดแลว สามารถประเมิน

ศักยภาพการประหยัดพลังงาน เงินทุนระยะเวลาคืนทุน สรุปแยกสําหรับแตละมาตรการ

ตารางท่ี 11-4 สรุปแผนการปรับปรุงการอนุรักษพลังงานของศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอัน

เนื่องมาจากพระราชดําริ

รายการ

รวมเปนเงิน คาพลังงาน ระยะเวลา

ลงทุน ทีประหยัด คืนทุน

(บาท) (บาท/ป) (ป)

1.มาตรการดานระบบปรับอากาศ

1.1 การบํารุงรักษาเครื่องปรับอากาศ 61,500.00 121,445.77 0.51

1.2 การใชเครื่องปรับอากาศประสิทธิภาพสูง 49,800.00 4,266.05 11.67

รวมมาตรการดานระบบปรับอากาศ 111,300.00 125,711.81 0.89

2.มาตรการดานระบบแสงสวาง

2.1 การเปลีย่นชนิดบัลลาสต 3,915.00 667.99 5.86

รวมมาตรการดานระบบแสงสวาง 3,915.00 667.99 5.86

รวมทุกมาตรการ

115,215.00 126,379.80 0.91

รวมเงินทุน แตละมาตรการ 115,215.00 บาท

อัตราภาษีมูลคาเพ่ิม 7% 8,065.05 บาท

รวมเปนเงินลงทุนท้ังสิ้น 123,280.05 บาท

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 79: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

12-1

บทท่ี 12

การจัดประชุมช้ีแจงผลการศึกษา

เพ่ือใหการดําเนินงาน “โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและ

อนุรักษพลังงานเพ่ือสนับสนุนกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ” เปนไปอยาง

สมบูรณยิ่งข้ึน จึงไดจัดกิจกรรมสัมมนากลุมยอยใหกับศูนยศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริท้ัง

6 แหง เพ่ือเปนการชี้แจงผลการดําเนินโครงการและระดมความคิดเห็นเก่ียวกับโครงการ พรอมท้ัง

แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ดังรายละเอียดตอไปนี ้

ตารางท่ี 12-1 รายละเอียดการจัดกิจกรรมสัมมนากลุมยอย

การสัมมนากลุมยอย (Focus Group)

“โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนย

ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ”

วัตถุประสงค 1. เพ่ือช้ีแจงผลการดําเนินโครงการ

2. เพ่ือสรางความรูความเขาใจเก่ียวกับการผลิตพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน

3. เพ่ือแลกเปลี่ยนและระดมความคิดเห็นเก่ียวกับโครงการ

กลุมเปาหมาย 1. ผูบริหารศูนยศึกษาการพัฒนาอันเน่ืองมาจากพระราชดําร ิ

2. เจาหนาท่ีผูรับผิดชอบดานพลังงานทดแทนของศูนยศึกษาฯ

3. บุคลากรหรือผูมสีวนเก่ียวของในกิจกรรมของศูนยศึกษาฯ

รายละเอียดหัวขอสัมมนา หัวขอท่ี 1 วัตถุประสงคของโครงการและขอบเขตการดําเนินงาน

หัวขอท่ี 2 เทคโนโลยีพลังงานทดแทนและการอนุรักษพลังงาน

หัวขอท่ี 3 ผลการดําเนินโครงการ “แนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและแนว

ทางการอนุรักษพลังงาน”

หัวขอท่ี 4 การแลกเปลี่ยนและระดมความคดิเห็นเก่ียวกับโครงการ

ผลท่ีคาดวาจะไดรับ 1. ผูเขารวมสัมมนาจะไดรับขอมูลและความเขาใจเก่ียวกับการดําเนินโครงการและผล

การดําเนินโครงการ

2. ผูเขารวมสัมมนาจะไดแสดงความคิดเห็นหรือขอเสนอแนะเก่ียวกับโครงการ

สถานท่ีจัดสัมมนา 1. ศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอันเน่ืองมาจากพระราชดําริ จ.ฉะเชิงเทรา

2. ศูนยศึกษาการพัฒนาอาวคุงกระเบนอันเน่ืองมาจากพระราชดําริ จ.จันทบุรี

3. ศูนยศึกษาการพัฒนาหวยทรายอันเน่ืองมาจากพระราชดําริ จ.เพชรบุรี

4. ศูนยศึกษาการพัฒนาหวยฮองไครอันเน่ืองมาจากพระราชดําริ จ.เชียงใหม

5. ศูนยศึกษาการพัฒนาภูพานอันเน่ืองมาจากพระราชดําริ จ.สกลนคร

6. ศูนยศึกษาการพัฒนาพิกุลทองอันเน่ืองมาจากพระราชดําริ จ.นราธิวาส

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 80: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

12-2

ในการจัดสัมมนากลุมยอย เพ่ือชี้แจงผลการศึกษาใหกับศูนยศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจาก

พระราชดําริท้ัง 6 แหง ไดทําการจัดประชุมจํานวน 6 ครั้ง โดยจดัประชุมแยกตามศูนยศึกษาฯ ซ่ึงผูเขารวม

ประชุมในแตละครั้งประกอบไปดวย ผูอํานวยการศูนยศึกษาฯ หัวหนากลุมงาน เจาหนาท่ี ตามแตท่ีทาง

ศูนยศึกษาฯเห็นสมควร

ตารางท่ี 12-2 แผนการจัดสัมมนากลุมยอยเพ่ือประชุมชี้แจงผลการศึกษา

ลําดับ ศูนยศึกษาฯ วันท่ี

1 ศูนยศึกษาการพัฒนาภูพานอันเน่ืองมาจากพระราชดําริ จ.สกลนคร อังคารท่ี 2 กุมภาพันธ 2559

2 ศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอันเน่ืองมาจากพระราชดําริ จ.ฉะเชิงเทรา พฤหัสท่ี 4 กุมภาพันธ 2559

3 ศูนยศึกษาการพัฒนาหวยทรายอันเน่ืองมาจากพระราชดําร ิจ.เพชรบุร ี จันทรท่ี 8 กุมภาพันธ 2559

4 ศูนยศึกษาการพัฒนาพิกุลทองอันเน่ืองมาจากพระราชดําร ิจ.นราธิวาส พุธท่ี 10 กุมภาพันธ 2559

5 ศูนยศึกษาการพัฒนาอาวคุงกระเบนอันเน่ืองมาจากพระราชดําริ จ.จันทบุรี ศุกรท่ี 12 กุมภาพันธ 2559

6 ศูนยศึกษาการพัฒนาหวยฮองไครอันเน่ืองมาจากพระราชดําริ จ.เชียงใหม จันทรท่ี 15 กุมภาพันธ 2559

ตารางท่ี 12-3 กําหนดการกิจกรรมประชุมชี้แจงผลการศึกษา

เวลา กิจกรรม

08:30 – 09:00 ลงทะเบียน

09:00 – 10:45 บรรยายสรุปผลการศึกษาของโครงการ

- ศักยภาพพลังงานทดแทนในพ้ืนท่ีศูนยศึกษาฯ

- แนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนในพ้ืนท่ีศูนยศึกษาฯ

- แนวทางการอนุรักษพลังงานในพ้ืนท่ีศูนยศึกษาฯ

10:45 – 11:00 รับประทานอาหารวาง

11:00 – 12:00 ระดมความคิดเห็น

12:00 – 13:00 รับประทานอาหารกลางวัน

การประชุมช้ีแจงผลการศึกษา (ศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอันเนื่องมาจากพระราชดําริ)

การประชุมชี้แจงผลการศึกษา ณ ศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอันเนื่องมาจากพระราชดําริ จ.

ฉะเชิงเทรา วันท่ี 4 กุมภาพันธ 2559 ผู เขารวมการประชุมประกอบไปดวย นายอนุวัชร โพธินาม

ผูอํานวยการศูนยศึกษาฯ หัวหนากลุมงาน และเจาหนาท่ี ซ่ึงหลังจากการบรรยายสรุปชี้แจงผลการศึกษา

แลว พบวา ทางศูนยศึกษาฯมีความเห็นสอดคลองกับผลการศึกษาและเห็นวาผลการศึกษาจะมีประโยชนใน

การสนับสนุนกิจกรรมของศูนยศึกษาฯไดเปนอยางดี พรอมท้ังมีประเด็นซักถามตางๆเก่ียวกับการผลิต

พลังงานทดแทน และมีขอเสนอแนะสําหรับโครงการ ดังนี้

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 81: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

12-3

1) ควรมีการสนับสนุนการอบรมเรื่อง การบํารุงรักษาเครื่องปรับอากาศ เชน การลางแอร ใหกับ

เจาหนาท่ีของศูนยศึกษาฯ

2) ตองการระบบสูบน้ําพลังงานแสงอาทิตยเพ่ือการเกษตรกรรม

3) ควรจัดใหมีการอบรมเรื่องการซอมแซมระบบผลิตพลังงานจาก Solar Cell และระบบผลิต

พลังงานอ่ืนๆ เนื่องจากทางศูนยศึกษาฯมีอุปกรณเหลานี้อยู แตชํารุดและใชการไมได

4) อยากใหมีการสงเสริมระบบผลิตพลังงานไฟฟาจากเซลลแสงอาทิตยเกิดเปนโครงการนํารอง

5) อยากไดขอมูลเก่ียวกับวิธีปฏิบัติสําหรับการอนุรักษพลังงานในสํานักงาน เชน การเปด-ปด

เครื่องปรับอากาศ อยางถูกตองเพ่ือการประหยัดพลังงาน

รูปท่ี 12-1 ภาพบรรยากาศการประชุมชี้แจงผลการศึกษา (ศูนยศึกษาฯเขาหินซอน)

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 82: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

13-1

บทท่ี 13

สรุปและขอเสนอแนะ

13.1 ขอมูลศูนยศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ

13.1.1 ขอมูลท่ัวไปศูนยศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ไดพระราชทานพระราชดําริใหจัดตั้ง “ศูนยศึกษาการพัฒนา

อัน เนื่ อ งม าจ ากพ ระราช ดํ า ริ” ข้ึ น โด ย มี แน ว คิ ด ท่ี สํ า คัญ คื อ “ ศู น ย ศึ กษ าและ พั ฒ น า”

(Research&Development) และนําผลการศึกษาท่ีประสบผลสําเร็จมาเปน “ตัวอยางแหงความสําเร็จ”

ในลักษณะ“พิพิธภัณฑธรรมชาติท่ีมีชีวิต” สําหรับใหผู ท่ีสนใจเขามาศึกษาดูงานจากการปฏิบัติจริง เปน

ตัวอยางของการบริหารงานแบบบูรณาการในลักษณะ “รวมศูนย” ในการผสานความรวมมือรวมใจกันของ

หนวยงานราชการในการทํางานเพ่ือบริการประชาชน และเปน “ระบบการบริการเบ็ดเสร็จท่ีจุดเดียว” ท่ี

ประชาชนสามารถเขามาเรียนรูและขอรับบริการไดเบ็ดเสร็จในแหงเดียวกัน

ศูนยศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ มีจํานวน ๖ แหง กระจายอยูทุกภูมิภาค

ของประเทศ ซ่ึงมีลักษณะปญหาท่ีแตกตางกัน จึงมีเนื้องานท่ีเห็นเปนรูปธรรมแตกตางกันไปตามสภาพ

แวดลอมดวยศูนยศึกษาการพัฒนาฯ เหลานี้จะชวยเสริมสรางการเรียนรูแกประชาชนในพ้ืนท่ีไดอยาง

เหมาะสม โดยมีรูปแบบและภารกิจและสอดคลองกับสภาพปญหา ศักยภาพ และความตองการของในพ้ืนท่ี

ดังนี้ โดยศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอพนมสารคาม จังหวัด

ฉะเชิงเทรา : ภารกิจหลัก คือการศึกษา การปรับปรุงและการฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติ อันไดแก ดิน นา ป

าไมท่ีเสื่อมโทรมใหสามารถกลับมาใชทําการเกษตรได เปนตัวอยางแหงความสําเร็จในเรื่อง “ปาหาย นาแห

ง ดินเลวก็พัฒนาได”

13.1.2 การใชพลังงานของศูนยศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ

การใชพลังงานของศูนยศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริท้ัง 6 แหง ซ่ึงประกอบ

ไปดวยการใชพลังงานไฟฟาและเชื้อเพลิงในกิจกรรมตางๆของศูนยศึกษาฯ มีดังนี้

ตารางท่ี 13-1 ปริมาณการใชพลังงานไฟฟา

หนวยงาน หนวย (kWh) คาไฟฟา (บาท)

1) ศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนฯ 521,564.07 2,438,120.73

ตารางท่ี 13-2 ปริมาณการใชพลังงานเชื้อเพลิง

ศูนยศึกษาฯ พลังงาน (MJ/ป)

1) ศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนฯ 2,603,792.59

ศูนยความเปนเลิศทางดานชวีมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 83: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

13-2

13.2 ศักยภาพและความเหมาะสมของพลังงานทดแทน

13.2.1 ศักยภาพพลังงานทดแทน

ศักยภาพพลังงานทดแทนท้ัง 5 ดาน ประกอบไปดวย 1) พลังงานลม 2) พลังงาน

แสงอาทิตย 3) พลังงานน้ํา 4) พลังงานแกสชีวภาพ และ 5) พลังงานชีวมวล ของศูนยศึกษาการพัฒนาอัน

เนื่องมาจากพระราชดําริท้ัง 6 แหง โดยทําการประเมินจากขอมูลทุติยภูมิออกมาเปนคาพลังงาน ดังตาราง

ท่ี 13-3 ซ่ึงจากผลการศึกษาพบวา ศูนยศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริท้ัง 6 แหง มีศักยภาพ

ในการผลิตพลังงานจากแหลงพลังงานหมุนเวียนได แตตองคํานึงถึงความเหมาะสมในดานตางๆเปนสําคัญ

ดวย เชน ขนาดกําลังผลิต รูปแบบของระบบ ความตองการพลังงาน และบริบทของศูนยศึกษาฯ เปนตน

ตารางท่ี 13-3 สรุปศักยภาพพลังงานทดแทน

ศูนยศึกษาฯ Wind_20 m

(m/s)

Solar

(MJ/m2)

Hydro

Biogas

(TJ)

Biomass

(TJ)

1.เขาหินซอน 5.31 4,469.54 - 114.75 462.12

13.2.2 สรุปการประเมินความเหมาะสม

จากการพิจารณาขอมูลดานตางๆประกอบดวย ศักยภาพพลังงานทดแทน ขอมูลเบื้องตน

ของศูนยศึกษาฯ การสํารวจพ้ืนท่ี และสัมภาษณบุคลากรของศูนยศึกษาฯ เพ่ือวิเคราะหถึงความเหมาะสม

ของการผลิตพลังงานทดแทนประเภทตางๆ ของในแตละศูนยศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ

ท้ัง 6 แหง โดยพิจารณาจากประเด็นหลัก 3 ประเด็น คือ 1) ประเด็นดานเทคนิค 2) ประเด็นดานความ

สอดคลอง และ 3) ประเด็นดานสิ่งแวดลอม สามารถสรุปความเหมาะสมและขอจํากัด ดังนี้

ตารางท่ี 13-4 สรุปความเหมาะสมของประเภทพลังงานทดแทน

ประเภท ประเด็นสรุปและขอจํากัด ความเหมาะสม

แสงอาทิตย 1.ศักยภาพพลังงานแสงอาทิตยของแตละพ้ืนท่ีศูนยศึกษาฯมีคา

สูงใกลเคียงกับคาเฉลี่ยของประเทศ

2.สามารถผลิตพลังงานไฟฟาดวยแผงโซลารเซลล

3.ขนาดกําลังผลิตข้ึนกับขนาดของพ้ืนท่ีติดตั้ง

4.เดินระบบงาย ใชงบประมาณและบุคลากรในการเดินระบบ

และบํารุงรักษานอย และตรงกับความตองการของศูนยศึกษาฯ

เหมาะสม

ศูนยความเปนเลิศทางดานชวีมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 84: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

13-3

ตารางท่ี 13-4 สรุปความเหมาะสมของประเภทพลังงานทดแทน (ตอ)

ลม 1.คาเฉลี่ยความเร็วลมของแตละศูนยถือวามีคาอยูในระดับต่ํา

2.ความสมํ่าเสมอของกําลังลมต่ําทําใหกําลังผลิตไมแนนอน

3.เครื่องกังหันลมไมสามารถผลิตไฟฟาไดเต็มประสิทธิภาพ

(คาเฉลี่ยความเร็วลม นอยกวา rated wind speed)

4.ตองการการบํารุงรักษาคอนขางมาก

5.ไมตรงกับความตองการของศูนยศึกษาฯ

ไมเหมาะสม

น้ํา 1.พ้ืนท่ีศูนยศึกษาสวนใหญเปนพ้ืนท่ีขาดแคลนน้ํา

2.ไมมีแหลงน้ําธรรมชาติไหลผานพ้ืนท่ี

3.ศักยภาพพลังงานน้ําต่ํา

4.การใชน้ําตองคํานึงถึงการใชประโยชนดานเกษตรกรรมและ

การรักษาความชุมชื้นของพ้ืนท่ีปาไมเปนหลัก

ไมเหมาะสม

แกสชีวภาพ 1.ศักยภาพพลังงานแกสชีวภาพจากมูลสัตวอยูในลักษณะ

กระจุกตัวอยูภายในฟารมขนาดใหญของเอกชน

2.มูลสัตวสวนใหญถูกนําไปเปนวัตถุดิบผลิตเปนปุยอินทรีย

3.ปญหาการรวบรวมและตนทุนวัตถุดิบ

4.การเดินระบบตองใชบุคลากรเฉพาะทางในการเดินระบบ

เครื่องจักรและระบบทางชีวภาพ

5.ศูนยศึกษาฯเหมาะสมกับระบบผลิตพลังงานจากแกสชีวภาพ

ขนาดเล็ก(ระดับครัวเรือน) เพ่ือเปนการสาธิตใหกับชาวบานใน

พ้ืนท่ีขยายผล

ไมเหมาะสม

ชีวมวล 1.ปญหาการรวบรวมและการแปรรูปเชื้อเพลิงชีวมวล

2.ความไมแนนอนของราคาเชื้อเพลิงชีวมวล

3.การเดินระบบตองใชบุคลากรเฉพาะทางในการเดินระบบ

4.มีตนทุนการบํารุงรักษาระบบคอนขางสูง

5.การขนสงวัตถุดิบอาจกอใหเกิดผลกระทบสิ่งแวดลอม

6.โรงไฟฟาชีวมวล(แกสซิฟเคชั่น)ขนาดเล็กกวา 500 kW ไม

คุมคาในการลงทุน

7.ไมตรงกับความตองการของศูนยศึกษาฯเนื่องจากกังวลเรื่อง

สิ่งแวดลอมและปริมาณเชื้อเพลิงในระยะยาว

ไมเหมาะสม

ศูนยความเปนเลิศทางดานชวีมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 85: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

13-4

13.3 แนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทน

จากผลการศึกษาความเหมาะสมของเทคโนโลยีพลังงานทดแทน พบวาแนวทางการพัฒนาพลังงาน

ทดแทนของศูนยศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริท้ัง 6 แหง มีความเหมาะสมกับระบบผลิต

พลังงานจากแสงอาทิตยโดยใชโซลารเซลล เนื่องดวยเหตุผลหลายประการ คือ

1) ศักยภาพพลังงานแสงอาทิตยของแตละพ้ืนท่ีศูนยศึกษาฯมีคาใกลเคียงกับคาเฉลี่ยของประเทศ

2) สามารถผลิตพลังงานไฟฟาดวยแผงโซลารเซลล

3) ขนาดกําลังผลิตสามารถเพ่ิมข้ึนไดโดยการเพ่ิมขนาดของพ้ืนท่ีติดตั้ง

4) การเดินระบบ ไมยุงยาก ใชงบประมาณและบุคลากรในการเดินระบบและบํารุงรักษานอย

5) ตรงกับความตองการของศูนยศึกษาฯ

13.3.1 ระบบผลิตไฟฟาจากโซลารเซลล

ระบบการผลิตพลังงานจากโซลารเซลล กําหนดขนาดกําลังผลิตติดตั้งจากความตองการใช

พลังงานไฟฟาในแตละศูนยศึกษาฯ โดยวัตถุประสงค เพ่ือชดเชยการใชพลังงานไฟฟาบางสวน(ลดคาไฟฟา)

ของศูนยศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ 6 แหง ซ่ึงดําเนินการในรูปแบบเชื่อมตอเขากับระบบ

สายสงไฟฟาของการไฟฟาสวนภูมิภาคในพ้ืนท่ีศูนยศึกษาฯ ระบบจะตองมีสวนประกอบหลักอันประกอบไป

ดวย แผงเซลลอาทิตยพรอมโครงสรางรองรับ เครื่องแปลงกระแสไฟฟา ชุดอุปกรณควบคุม และอุปกรณ

รวมอ่ืนๆ

ตารางท่ี 13-5 สรุปขอมูลระบบผลิตไฟฟาจากโซลารเซลลของศูนยศึกษาฯ

ศูนยศึกษาฯ กําลังผลิตติดตั้ง

(kW)

ราคาระบบ

(บาท)

พ้ืนท่ีติดตั้ง

(ไร)

1) เขาหินซอน 16 1,013,290.00 0.11

13.3.2 สรุปผลการวิเคราะหทางเศรษฐศาสตร

การประเมินทางดานเศรษฐศาสตรของโครงการระบบผลิตไฟฟาจากเซลลแสงอาทิตยของ

ศูนยศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริท้ัง 6 แหง ทําใหไดคาตัวแปรทางดานเศรษฐศาสตรท่ี

สําคัญซ่ึงสามารถใชในการพิจารณาการลงทุนของโครงการ ซ่ึงหากพิจารณาจากตัวเลขทางเศรษฐศาสตร

ดังกลาว ทําใหโครงการท้ัง 6 แหง มีความเหมาะสมท่ีจะทําการลงทุนทางดานการเงิน สังเกตไดจากคา

อัตราสวนผลประโยชนตอตนทุน (BCR) ซ่ึงระบบท่ีนาลงทุนจะตองมีคามากกวา 1 และตัวแปรท่ีสําคัญอีก

ตัวหนึ่ง ท่ีใชบงบอกความนาลงทุน คือ คาผลตอบแทนทางดานการเงิน (FIRR) ซ่ึงตองมีคามากวาอัตรา

สวนลดท่ีใชในการประเมิน (สําหรับโครงการนี้ใช 6.65%) จากผลการประเมินพบวาคา FIRR มีคามากกวา

อัตราสวนลดท่ีใชในการประเมิน อีกท้ังหากพิจารณาระยะเวลาคืนทุน พบวาโครงการมีระยะเวลาคืนทุนอยู

ในชวง 13 ป ในขณะท่ีอายุโครงการ 25 ป

ศูนยความเปนเลิศทางดานชวีมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 86: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

13-5

ตารางท่ี 13-6 สรุปผลการประเมินตัวเลขดานเศรษฐศาสตรของโครงการศูนยศึกษาฯท้ัง 6 แหง

ศูนยศึกษาฯ BCR FIRR PB

1.ศูนยศึกษาฯเขาหินซอน จ.ฉะเชิงเทรา 1.17 8.26 13 ป

13.3.3 สรุปการประเมินผลกระทบดานส่ิงแวดลอมและชุมชน

ผลกระทบท่ีเกิดข้ึนทางดานสิ่งแวดลอมของระบบผลิตไฟฟาดวยเซลลแสงอาทิตยของศูนย

ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริท้ัง 6 แหง ซ่ึงไดทําการประเมินคุณภาพสิ่งแวดลอมและ

คาดการณผลกระทบจากโครงการ ในดานตางๆ ประกอบดวย คุณภาพอากาศ การจัดการขยะ ทรัพยากร

ดิน ระดับเสียง ปริมาณการจราจร ฝุนละออง และผลกระทบตอชุมชน ในดานเศรษฐกิจและสังคม และ

ดานแหลงทองเท่ียว ซ่ึงพบวาโครงการระบบผลิตไฟฟาดวยเซลลแสงอาทิตย มีผลกระทบตอสิ่งแวดลอม

นอยมาก มีเพียงผลกระทบในดานขยะซ่ึงอาจเกิดข้ึนหลังจากโครงการหมดอายุ คือ ชุดแผงเซลลจํานวน

มากท่ีชํารุดหรือหมดอายุการใชงาน ซ่ึงสามารถจัดการได 2 วิธี คือ การกําจัดท้ิงตามหลักสุขาภิบาล และ

การนํากลับมาใชใหม โดยหนวยงานหรือบริษัทเอกชนตามกฎหมายวาดวยโรงงาน

ในสวนของผลกระทบตอชุมชน เนื่องจากโครงการนี้เปนการติดตั้งระบบผลิตพลังงาน

ภายในหนวยงานของศูนยศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดํา ซ่ึงเปนพ้ืนท่ีสวนราชการและมีอาณา

เขตท่ีแนนอน ดังนั้น ผลกระทบตางๆท่ีอาจจะเกิดข้ึนจะกระทบโดยตรงกับเจาหนาท่ีและบุคลากรภายใน

ศูนยศึกษาฯ ซ่ึงอาจมีผลกระทบทางออมกับชุมชนภายนอก ดังนี้คือ

1) ระยะกอสราง : อาจกอใหเกิดการจางแรงงานในทองถ่ินเพ่ือการกอสรางโครงการ ทําให

เกิดอาชีพ รายได และเศรษฐกิจโดยรวมของชุมชนในทองถ่ินท่ีดีข้ึน

2) ระยะดําเนินการ : สงเสริมใหเกิดการพัฒนาในหลายๆดาน เชน การจางงาน ในชวง

ระยะเวลาดําเนินโครงการจําเปนตองมีการบํารุงรักษาระบบ อีกท้ังยังสงผลตอการมีรายไดเพ่ิมข้ึนของ

ชุมชนบริเวณใกลเคียงศูนยศึกษาฯจากการบริการนักทองเท่ียวหรือผูมาศึกษาดูงาน อีกท้ังยังเปนแหลง

เรียนรูใหมในดานพลังงานทดแทนจากแสงอาทิตย

ศูนยความเปนเลิศทางดานชวีมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 87: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

13-6

13.4 แนวทางการอนรุักษพลังงาน

จากการลงสํารวจพ้ืนท่ี และการใชพลังงานภายในศูนยศึกษาฯ พบวาปจจุบันศูนยศึกษาฯไดมีการ

ดําเนินการตามมาตรการพ้ืนฐานในการอนุรักษพลังงานอยูแลว ดวยการเปด-ปด อุปกรณไฟฟาตามเวลา

หรือเม่ือไมมีการใชงาน เชน การปดไฟสองสวางและเครื่องปรับอากาศในชวงพักเท่ียง เปนตน แตเนื่องจาก

บางกิจกรรมไมสามารถดําเนินการตามมาตรการนี้ไดเนื่องจากมีความจําเปนในการใชงาน เชน มีการจัด

ประชุม การศึกษาดูงานจากบุคคลภายนอก และการจัดนิทรรศการตางๆ เปนตน

ดังนั้น จึงไดแนวทางในการอนุรักษพลังงาน โดยทําการสํารวจตรวจนับอุปกรณไฟฟาท่ีใชใน

สํานักงานหรืออาคารปฏิบั ติการต างๆ ท่ี มีการใช งาน เปนประจํา คือ หลอดไฟสองสวาง และ

เครื่องปรับอากาศ เพ่ือทําการวิเคราะหและหามาตรการในการประหยัดพลังงานของศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ ดังนี้

ตารางท่ี 13-7 สรุปมาตรการการอนุรักษพลังงาน

ศูนยศึกษาฯ

การเสนอแนะมาตรการ

งบลงทุน

(บาท)

ระบบปรับอากาศ ระบบแสงสวาง

บํารุงรักษา เปลี่ยน

เครื่องปรับอากาศ เปลี่ยนบัลลาสต ใชโคมสะทอนแสง

1.เขาหินซอน √ √ √ 123,280.05

ท้ังนี้ ทางโครงการไดจัดทําแบบแผนผังตําแหนงของอุปกรณไฟฟาซ่ึงอยูตามอาคารตางๆในศูนย

ศึกษาฯดวย เพ่ืองายตอการติดตามและดําเนินการตามมาตรการได (ตามแนบในภาคผนวก ก)

ศูนยความเปนเลิศทางดานชวีมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 88: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

13-7

13.5 ขอเสนอแนะ

1) ควรมีโครงการติดตามและบํารุงรักษาระบบผลิตพลังงานทดแทนท่ีศูนยศึกษาฯไดรับสนับสนุน

จากหนวยงานตางๆ ใหใชงานไดตามปกติ เพ่ือเปนประโยชนตอกิจกรรมตางๆของศูนยศึกษาฯตอไป

2) ควรมีโครงการสนับสนุนดานองคความรูใหกับศูนยศึกษาฯ ท้ังดานเทคโนโลยีพลังงานทดแทน

และดานการอนุรักษพลังงาน เชน การจัดฝกอบรม เปนตน

3) ควรมีการสนับสนุนในดานบุคลากรของกระทรวงพลังงาน เพ่ือทําหนาท่ีประสานงาน ติดตาม

และชวยเหลือดานตางๆใหกับศูนยศึกษาฯในเรื่องท่ีเก่ียวของกับพลังงาน

4) จากผลการศึกษาแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนของศูนยศึกษาฯ 6 แหง พบวามีความ

สอดคลองและตรงกับความตองการของศูนยศึกษาฯ ดังนั้น หากมีโครงการสนับสนุนระบบผลิตพลังงาน

ไฟฟาจากโซลารเซลลเกิดข้ึนจริง จะเปนประโยชนตอศูนยศึกษาฯในหลายๆดาน อีกท้ังเปนการสนับสนุน

นโยบายดานพลังงานทดแทนอีกดวย

5) หากในอนาคตมีการสงเสริมโครงการผลิตไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตยเพ่ือทดแทนการใชไฟฟา

บางสวนเกิดข้ึนจริง ควรมีการติดตั้งระบบแสดงผล (Monitoring) เพ่ิมเติม เพ่ือเปนการสาธิตใหกับ

บุคคลากรหรือผูสนใจท่ัวไป

6) นอกจากการผลิตพลังงานไฟฟาจากแสงอาทิตย ศูนยศึกษาฯท้ัง 6 แหง ถือวามีศักยภาพพลังงาน

ทดแทนดานอ่ืนๆอยูพอสมควรตามแตละพ้ืนท่ี จึงควรมีการศึกษาตอยอดและสงเสริมระบบผลิตพลังงาน

ทดแทนในรูปแบบและขนาดตางๆซ่ึงเหมาะสมและสอดคลองกับบริบทของศูนยศึกษาฯ

ศูนยความเปนเลิศทางดานชวีมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 89: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

14-1

บทท่ี 14

เอกสารอางอิง

เกษมสันต มโนมัยพิบูลย และคณะ (2550).การประเมินศักยภาพแหลงพลังงานลมดวยแบบจําลองทาง

คณิตศาสตรและการวิเคราะหดานภูมิศาสตรสารสนเทศ.งานวิจัย บัณฑิตวิทยาลัยรวมดานพลังงาน

และสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี.

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน. 2549. โครงการศึกษาศักยภาพพลังงานลมเฉพาะแหลง.

งานวิจัยกระทรวงพลังงาน.

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน. 2554. รายงานพลังงานทดแทนของประเทศไทย 2554.

29 หนา

การไฟฟ าฝายผลิตแห งประเทศไทย. มปป. พลั งงานลม. ไฟฟ าจากพลังงานลม. แหลงท่ีมา :

http://www2.egat.co.th/re/egat_wind/pdf_wind/wind_energy.pdf, 20 พ ฤ ศ จิ ก า ย น

2555.

การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย. มปป. เทคโนโลยีเซลลแสงอาทิตย.การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศ

ไทย: http://www2.egat.co.th/re/solarcell/solarcell.htm : 20 ธันวาคม 2555.

เกษมศักดิ์ กีรติเลิศบุญ(2533).การออกแบบระบบแสงสวางโดยใชแสงอาทิตย.วิทยานิพนธปริญญาโท

วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต วิศวกรรมไฟฟา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

ก ร ม พั ฒ น า พ ลั ง ง า น ท ด แ ท น แ ล ะ อ นุ รั ก ษ พ ลั ง ง า น ก ร ะ ท ร ว ง พ ลั ง ง า น .สื บ ค น จ า ก

http://www.dede.go.th/dede/index.php?id=174 วันท่ี 22 พฤษศจิกายน 2555

จอมภพ แววศักดิ์ (2551). การประเมินศักยภาพของพลังงานลมเฉพาะพ้ืนท่ีตามแนวชายฝงทะเลทาง

ภาคใตของประเทศไทย. งานวิจัย มหาวิทยาลัยทักษิณ.

ชิดชนก นุตาคม (2541). การประเมินผลโครงการโรงไฟฟาพลังน้ําขนาดเล็ก : กรณีศึกษาโรงไฟฟาพลังน้ํา

ขนาดเล็กแมยะ อําเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม.วิทยานิพนธปริญญาโท วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต

เศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

ช า ย ชี ว ะ เก ตุ แ ล ะ ช น า นั ญ บั ว เ ขี ย ว . ม ป ป . ก า ร ผ ลิ ต ไฟ ฟ า โด ย เซ ล ล แ ส งอ า ทิ ต ย .

http://www.eppo.go.th/vrs/VRS49-09-Solar.html : 20 ธันวาคม 2555.

นระ คมนามูล. 2546. เทคโนโลยีพลังงานหมุนเวียน การพัฒนาไฟฟาพลังน้ําขนาดเล็ก. พิมพครั้งท่ี 1.

สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย, กรุงเทพฯ.

นิพนธ เกตุจอย และอชิตพล ศศิธรานุวัฒน. 2547. เทคโนโลยีพลังงานลม. วารสารมหาวิทยาลัยนเรศวร.

12(2) . 57-73.

ศูนยวิจัยพลังงานและสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยทักษิณ. รายงานฉบับสมบูรณ โครงการศึกษาความเปนไป

ไดและความเหมาะสมของโครงการโรงไฟฟาพลังงานทดแทน อ.จะนะ จ.สงขลา. 195 หนา.

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 90: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

14-2

มูลนิธิพลังงานเพ่ือสิ่งแวดลอม สืบคนจาก http://www.efe.or.th/home/php?ds=preview&back

=content&mid=cMS293gtBdrFxPi&doc= ZjFWf9yYQT04Asgk วันท่ี 22 พฤษศจิกายน

2555

มูลนิธิพลังงานเพ่ือสิ่งแวดลอม. (2549). พลังงานชีวมวล. พิมพครั้งท่ี 1. กรุงเทพฯ : มูลนิธิพลังงานเพ่ือ

สิ่งแวดลอม.

วีรชัย อาจหาญ และคณะ (2547).การพัฒนาเครื่องอัดแทงชีวมวลสําหรับใชผลิตถานชีวภาพ.งานวิจัย

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

วรีชัย อาจหาญ, นิวัฒน คงกะพ้ี, กฤษกร รับสมบัติ, ทิพยสุภินทร หินซุย, ปภัส ชนะโรค, ณัฐพงษ ประภา

การ, สาวิตรี คําหอม, สุภัทร หนูแยม, พจนาลัย ชาวหวยหมาก, ชัยชนะ เลิศศรีสกุล, ศรัลย ปาน

ศรีพงษ, ชิงชัย วิริยะบัญชา, สมิต บุญเสริมสุข และจิราวัฒน วงษมาศจันทร (2551). โรงไฟฟา

ตนแบบชีวมวลขนาดเล็กสําหรับชุมชนแบบครบวงจร. รายงานการวิจัย.ภารกิจโครงการและ

ประสานงานวิจัย สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ.

วีรชัย อาจหาญ และคณะ (2553). การศึกษาแนวทางบริหารจัดการเชื้อเพลิงชีวมวลเพ่ือใชเปนพลังงาน

ทดแทน (ระดับชมุชน). รายงานวิจัยสํานักงานนโยบายและแผนพลงังาน.

สํานักพัฒนาพลังงานแสงอาทิตย. มปป. เทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย. กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและ

อนุรักษพลังงาน. http://www.dede.go.th/dede/index.php?option=com_content&view=

article&id=889&Itemid=56&lang=th : 20 ธันวาคม 2555.

เสริม จันทรฉาย. 2549. การศึกษาศักยภาพการผลิตไฟฟาดวยพลังงานแสงอาทิตยระบบความรอนใน

ประเทศไทย. รายงานวิจัย หองปฏิบัติการวิจัยพลังงานแสงอาทิตย ภาควิชาฟสิกส คณะ

วิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร.

อ นุ ต ร จํ า ล อ ง กุ ล .2 5 5 2 .ก า ร แ ผ รั ง สี จ า ก ด ว งอ า ทิ ต ย .ไท ย แ ล น ด อิ น ดั ส ต รี้ ด อ ท ค อ ม .

http://www.thailandindustry.com/guru/view.php?id=8946&section=9&rcount=Y : 20

ธันวาคม 2555.

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 91: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

ก-1

ภาคผนวก ก

แบบแผนผังเครื่องใชไฟฟาภายในอาคารศูนยศึกษาฯเขาหินซอน จ.ฉะเชิงเทรา

ตารางแสดงสัญลักษณท่ีใชในการสํารวจ

โคมไฟฟาฟลูออเรสเซนต (Fluorescent Lamp, FL) 1 หลอด

โคมไฟฟาฟลูออเรสเซนต (Fluorescent Lamp, FL) 2 หลอด

โคมไฟฟาฟลูออเรสเซนต (Fluorescent Lamp, FL) 3 หลอด

โคมไฟฟาฟลูออเรสเซนตชนิดวงแหวน (Fluorescent Circular Lamp, FC)

โคมไฟฟาคอมแพคฟลูออเรสเซนต (Compact Fluorescent Lamp, CFL)

โคมไฟฟาหลอดไส (Incandescent Lamp, STAN)

โคมไฟฟาหลอด LED (LED Lamp, LED)

A : ลักษณะการติดตั้งโคมไฟฟา B : ชนิดบัลลาสต

C : ลักษณะโคมไฟฟา D : ลักษณะการติดตั้ง

สัญลักษณ (SYMBOL)

ลักษณะการตดิตั้ง ชนิดฝาครอบ

S ติดลอย O เปดโลง

H ติดแขวน G ตะแกรง

R ฝงฝา W สีขาวขุน

W ติดผนัง P พรีสเมติก

ชนิดบัลลาสต ลักษณะโคมไฟฟา

M Magnetic REF โคมไฟติดตั้ง Reflector

L Low Watt Loss NON โคมไฟไมตดิตั้ง Reflector

E Electronics

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 92: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

ก-2

1. กองอํานวยการชั้นบน

A) สูง 3 เมตร

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

35,500 BTU/HR

5 m

4 m

CFLx1x14WR-

OREF

CFLx1x14WR-

OREF

CFLx1x14WR-

OREF

1 m

3 m

B

A

C

A

CFLx1x14WS-

OREF

CFLx1x14WR-

OREF

CFLx1x14WR-

OREF

CFLx1x14WR-

OREF

CFLx1x14WR-

OREF

CFLx1x14WR-

OREF

CFLx1x14WR-

OREF

CFLx1x14WS-

OREF

CFLx1x14WS-

OREF

CFLx1x14WS-

OREF

CFLx1x14WS-

OREF

พัดลม

เพดาน

4 m

3 m6 m

1 m

3 m

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 93: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

ก-3

1. กองอํานวยการชั้นบน

B) สูง 3 เมตร

FL-T8x2x36WRL

W

REF

FL-T8x2x36WRL

W

REF

FL-T8x2x36WRL

W

REF

พัดลม

เพดาน

FL-T8x2x36WRL

W

REF

FL-T8x2x36WRL

W

REF

FL-T8x2x36WRL

W

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

35,500 BTU/HR

35,500 BTU/HR

COM COM

COM

FL-T8x2x36WR

L

G

REFFL-T8x2x36WR

L

G

REF

CFLx1x14WR-

OREF

CFLx1x14WR-

OREF

35,500 BTU/HR

COM

FL-T8x2x36WR

L

W

REF

ตู้ เย็น

8.6 คิว

FL-T8x2x36WRL

G

REF

FL-T8x2x36WRL

G

REF

FL-T8x2x36WRL

G

REF

FL-T8x2x36WRL

G

REF

FL-T8x2x36WRL

G

REF

4 m 1 m

18,000 BTU/HR

5 m1.5 m

1.5 m5 m

3 m3 m

1.5 m

CFLx1x14WR-

OREF

CFLx1x14WR-

OREF

CFLx1x14WR-

OREF

พัดลม

เพดาน

พัดลม

เพดาน

B

A

C

A

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 94: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

ก-4

1. กองอํานวยการชั้นบน

C สูง 3 เมตร

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

35,500 BTU/HR

35,500 BTU/HR

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

35,500 BTU/HR

FL-T8x2x36WRL

G

REF

FL-T8x2x36WRL

G

REF

FL-T8x2x36WRL

G

REF

พัดลม

เพดาน

4 m1 m

8 m8 m

3 m

CFLx1x14WR-

OREF

CFLx1x14WR-

OREF

CFLx1x14WR-

OREF

หลอดไฟทุกชดุถอด

หลอดออก 1 หลอด

หลอดไฟทุกชดุถอด

หลอดออก 1 หลอด

B

A

C

A

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 95: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

ก-5

2. กองอํานวยการชั้นลาง

A) สูง 3 เมตร

4 m

3 m

2.5

m FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x1x36WSL

OREF

FL-T8x1x36WSL

OREF

FL-T8x1x36WSL

OREF

FL-T8x1x36WSL

OREF

FL-T8x1x36WSL

OREF

FL-T8x1x36WSL

OREF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

35,500 BTU/HR

5 m

4 m

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

35,500 BTU/HR

COM X 4

FL-T8x1x36WSL

OREF

FL-T8x1x36WSL

OREF

FL-T8x1x36WSL

OREF

FL-T8x1x36WSL

OREF

B

A

C

A

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 96: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

ก-6

2. กองอํานวยการชั้นลาง

B) สูง 3 เมตร

B

A

C

A

FL-T8x2x36WRL

G

REF

FL-T8x2x36WRL

G

REF

FL-T8x2x36WRL

G

REF

พัดลม

เพดาน

FL-T8x2x36WRL

G

REF

FL-T8x2x36WRL

G

REF

FL-T8x2x36WRL

G

REF

4 m 1 m

33,500 BTU/HR

5 m

3 m

3 m

พัดลม

เพดาน

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x1x36WSL

OREF

FL-T8x1x36WSL

OREF

FL-T8x1x36WSL

OREF

FL-T8x1x36WSL

OREF

FL-T8x1x36WSL

OREF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

33,500 BTU/HR

COM COM

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 97: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

ก-7

2 กองอํานวยการชั้นลาง

C) สูง 3 เมตร

B

A

C

A

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

35,500 BTU/HR

35,500 BTU/HR

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

35,500 BTU/HR

FL-T8x2x36WRL

G

REF

FL-T8x2x36WRL

G

REF

FL-T8x2x36WRL

G

REF

พัดลม

เพดาน

4 m1 m8 m

8 m3 m

CFLx1x14WR-

OREF

CFLx1x14WR-

OREF

CFLx1x14WR-

OREF

หลอดไฟทุกชดุถอด

หลอดออก 1 หลอด

หลอดไฟทุกชดุถอด

หลอดออก 1 หลอด

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 98: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

ก-8

3. งานปศุสัตว

สํานักงาน

FL-T8x2x36WRL

G

REF

FL-T8x2x36WRL

G

REF

FL-T8x2x36WRL

G

REF

FL-T8x2x36WRL

G

REF

FL-T8x2x36WRL

G

REF

FL-T8x2x36WRL

G

REF

FL-T8x2x36WRL

G

REF

FL-T8x2x36WRL

G

REF

FL-T8x2x36WRL

G

REF

FL-T8x2x36WRL

G

REF

FL-T8x2x36WRL

G

REF

FL-T8x2x36WRL

G

REF

FL-T8x2x36WRL

G

REF

FL-T8x2x36WRL

G

REF

FL-T8x2x36WRL

G

REF

FL-T8x2x36WRL

G

REF

FL-T8x2x36WRL

G

REF

FL-T8x2x36WRL

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

CFLx1x14WR-

ONON

CFLx1x14WR-

ONON

FL-T8x2x36WSL

G

REF

FL-T8x2x36WSL

G

REF

24,500 BTU/HR

25,000 BTU/HR16,000 BTU/HR

COM COM ตู้ เย็น

4 m

4 m

7 m

4 m

2 m

2 m

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 99: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

ก-9

แผนผังอาคารกลุมงานปศุสัตว

สํานกังาน

เลี �ยงนกกระจอกเทศ

CFLx1x14WH-

ONON

STANx1x25WH-

ONON

X 6

X 2

บ้านพกั

เลี �ยงหมู

ฟักใข่

STANx1x25WH-

ONON

X 18

CFLx1x14WH-

ONON

X 2

FL-T8x1x36WSL

ONON

X 2

ตู้ เย็น

8 คิวX 1

เลี �ยงเป็ด

STANx1x25WH-

ONON

X 9

CFLx1x14WH-

ONON

X 2

เลี �ยงไก่

STANx1x25WH-

ONON

X 6

เลี �ยงห่าน

STANx1x25WH-

ONON

X 9

เล้าไก่

CFLx1x14WH-

ONON

X 2คอกววั

CFLx1x14WH-

ONON

X 2

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 100: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

ก-10

4. หองประชุมพอเพียง (หองประชุม)

CFLx1x14WR-

OREF

CFLx1x14WR-

OREF

FC-T9x1x32WSM

ONO

N

FC-T9x1x32WSM

ONO

N

FC-T9x1x32WSM

ONO

N

AIR

AIR

FC-T9x1x32WSM

ONON

CFLx1x14WR-

OREF

CFLx1x14WR-

OREF

CFLx1x14WR-

OREF

CFLx1x14WR-

OREF

CFLx1x14WR-

OREF

CFLx1x14WR-

OREF

CFLx1x14WR-

OREF

CFLx1x14WR-

OREF

CFLx1x14WR-

OREF

CFLx1x14WR-

OREF

FC-T9x1x32WSM

ONO

N

FC-T9x1x32WSM

ONO

N

FC-T9x1x32WSM

ONO

N

AIR

AIR

CFLx1x14WR-

OREF

CFLx1x14WR-

OREF

CFLx1x14WR-

OREF

CFLx1x14WR-

OREF

FC-T9x1x32WSM

ONO

N

FC-T9x1x32WSM

ONO

N

FC-T9x1x32WSM

ONO

N

AIR

AIR

CFLx1x14WR-

OREF

CFLx1x14WR-

OREF

CFLx1x14WR-

OREF

CFLx1x14WR-

OREF

FC-T9x1x32WSM

ONO

N

FC-T9x1x32WSM

ONO

N

FC-T9x1x32WSM

ONO

N

AIR

AIR

CFLx1x14WR-

OREF

CFLx1x14WR-

OREF

CFLx1x14WR-

OREF

CFLx1x14WR-

OREF

CFLx1x14WR-

OREF

CFLx1x14WR-

OREF

CFLx1x14WR-

OREF

CFLx1x14WR-

OREF

CFLx1x14WR-

OREF

CFLx1x14WR-

OREF

CFLx1x14WR-

OREF

CFLx1x14WR-

OREF

FC-T9x1x32WSM

ONON

CFLx1x14WR-

OREF

Air Compressor

รวม 4 ตวั ตัวละ 30,300 BTU/HR

เปิดเดือนละ 2 ครั �ง ครั �งละ 8 ชั�วโมง

16 m

28 m

4 m4 m

2 m2 m

2 m

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 101: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

ก-11

5. หองประชุมพอเพียง (หองพัก)

หองพัก ชั้นลาง A)

A

B

FL-T8x1x18WSL

WNON

FL-T8x1x18WSL

WNON

STANx1x25WR-

OREF

STANx1x25WR-

OREF

STANx1x25WR-

OREF

CFLx1x14WR-

OREF

CFLx1x14WR-

OREF

18,000 BTU/HR

ตู้ เย็น

2.1 คิว

25,300 BTU/HR

FL-T8x2x36WSL

W

NON

FL-T8x2x36WSL

W

NON

FL-T8x2x36WSL

W

NON

CFLx1x14WR-

OREF

25,300 BTU/HR

FL-T8x2x36WSL

W

NON

FL-T8x2x36WSL

W

NON

FL-T8x2x36WSL

W

NON

CFLx1x14WR-

OREF

FL-T8x2x36WS

L

W

NON

20

4 m2 m4 m

FL-T8x1x18WSL

WNON

FL-T8x1x18WSL

WNON

STANx1x25WR-

OREF

STANx1x25WR-

OREF

STANx1x25WR-

OREF

CFLx1x14WR-

OREF

CFLx1x14WR-

OREF

18,000 BTU/HR

ตู้ เย็น

2.1 คิว

4 m

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 102: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

ก-12

5. หองประชุมพอเพียง (หองพัก)

หองพัก ชั้นลาง B)

A

B

FL-T8x2x36WS

L

W

NON

FL-T8x2x36WS

L

W

NON

FL-T8x2x36WS

L

W

NON

FL-T8x2x36WS

L

W

NON

FL-T8x2x36WS

L

W

NON

FL-T8x2x36WS

L

W

NON

FL-T8x2x36WS

L

W

NON

FL-T8x2x36WS

L

W

NON

FL-T8x2x36WS

L

W

NON

FL-T8x2x36WS

L

W

NON

FL-T8x2x36WS

L

W

NON

30,300 BTU/HR30,300 BTU/HR

61,400 BTU/HR61,400 BTU/HR

FL-T8x2x36WS

L

W

NON

4 m

8 m

16 m

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 103: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

ก-13

5. หองประชุมพอเพียง(หองพัก)

หองพัก ชั้นบน A)

A

B

CFLx1x14WR-

OREF

4 m2 m

4 m

20 m

FL-T8x1x18WSL

WNON

FL-T8x1x18WSL

WNON

STANx1x25WR-

OREF

STANx1x25WR-

OREF

STANx1x25WR-

OREF

CFLx1x14WR-

OREF

CFLx1x14WR-

OREF

18,000 BTU/HR

ตู้ เย็น

2.1 คิว

4 m

FL-T8x1x18WSL

WNON

FL-T8x1x18WSL

WNON

STANx1x25WR-

OREF

STANx1x25WR-

OREF

STANx1x25WR-

OREF

CFLx1x14WR-

OREF

CFLx1x14WR-

OREF

18,000 BTU/HR

ตู้ เย็น

2.1 คิว

4 m

FL-T8x1x18WSL

WNON

FL-T8x1x18WSL

WNON

STANx1x25WR-

OREF

STANx1x25WR-

OREF

STANx1x25WR-

OREF

CFLx1x14WR-

OREF

CFLx1x14WR-

OREF

18,000 BTU/HR

ตู้ เย็น

2.1 คิว

4 m

FL-T8x1x18WSL

WNON

FL-T8x1x18WSL

WNON

STANx1x25WR-

OREF

STANx1x25WR-

OREF

STANx1x25WR-

OREF

CFLx1x14WR-

OREF

CFLx1x14WR-

OREF

18,000 BTU/HR

ตู้ เย็น

2.1 คิว

4 m

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 104: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

ก-14

5. หองประชุมพอเพียง(หองพัก)

หองพัก ชั้นบน B)

A

B

16 m

4 m2 m

FL-T8x1x18WSL

WNON

FL-T8x1x18WSL

WNON

STANx1x25WR-

OREF

STANx1x25WR-

OREF

STANx1x25WR-

OREF

CFLx1x14WR-

OREF

CFLx1x14WR-

OREF

18,000 BTU/HR

ตู้ เย็น

2.1 คิว

4 m

FL-T8x1x18WSL

WNON

FL-T8x1x18WSL

WNON

STANx1x25WR-

OREF

STANx1x25WR-

OREF

STANx1x25WR-

OREF

CFLx1x14WR-

OREF

CFLx1x14WR-

OREF

18,000 BTU/HR

ตู้ เย็น

2.1 คิว

4 m

FL-T8x1x18WSL

WNON

FL-T8x1x18WSL

WNON

STANx1x25WR-

OREF

STANx1x25WR-

OREF

STANx1x25WR-

OREF

CFLx1x14WR-

OREF

CFLx1x14WR-

OREF

18,000 BTU/HR

ตู้ เย็น

2.1 คิว

4 m

FL-T8x1x18WSL

WNON

FL-T8x1x18WSL

WNON

STANx1x25WR-

OREF

STANx1x25WR-

OREF

STANx1x25WR-

OREF

CFLx1x14WR-

OREF

CFLx1x14WR-

OREF

18,000 BTU/HR

ตู้ เย็น

2.1 คิว

4 m

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 105: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

ก-15

6. ท่ีพักผูอบรม

ชั้นลาง A)

บันใด

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

12,000 BTU/HR

FL-T8x2x18WSL

O

NON

FL-T8x2x18WSL

O

NON

FL-T8x2x18WSL

O

NON

12,000 BTU/HR

FL-T8x2x18WS

L

O

NONพัดลม

เพดาน

FL-T8x2x18WS

L

O

NON

FL-T8x2x18WS

L

O

NON

FL-T8x2x18WS

L

O

NON

FL-T8x2x18WS

L

O

NON

พัดลม

เพดาน

36,000 BTU/HR

4 m

6 m

4 m4 m

4 m4 m

A

B

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 106: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

ก-16

6 ท่ีพักผูอบรม

ชั้นลาง B)

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x2x36WR

L

G

REF

FL-T8x1x36WSE

ONON

FL-T8x1x36WSE

ONON

CFLx1x14WR-

OREF

CFLx1x14WR-

OREF

CFLx1x14WR-

OREF

CFLx1x14WR-

OREF

24,000 BTU/HR24,000 BTU/HR

24,000 BTU/HR24,000 BTU/HR

FL-T8x1x36WSE

ONON

FL-T8x1x36WSE

ONON

FL-T8x1x36WSE

OREF

FL-T8x1x36WSE

OREF

FL-T8x1x36WSE

OREF

FL-T8x1x36WSE

OREF

FL-T8x1x36WSE

ONO

N

FL-T8x1x36WSE

ONO

N

ตู้ เย็น

พัดลม

เพดาน

202 m

4 m

3 m 3 m 6 m

A

B

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 107: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

ก-17

6. ท่ีพักผูอบรม

ชั้นบน A)

บันใด

36,000 BTU/HR

FL-T8x2x18WS

L

O

NON

พัดลม

เพดาน

FL-T8x2x18WS

L

O

NON

FL-T8x2x18WS

L

O

NON

FL-T8x2x18WS

L

O

NONพัดลม

เพดาน

FC-T9x1x32WSM

ONON

FC-T9x1x32WSM

ONON

FC-T9x1x32WSM

ONON

4 m8 m

4 m

6 m

ตู้ เย็น

A

B

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 108: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

ก-18

6. ท่ีพักผูอบรม

ชั้นบน B)

FL-T8x2x36WRL

G

REF

FL-T8x2x36WRL

G

NON

FL-T8x2x36WRL

G

REF

FL-T8x2x36WRL

G

REF

FL-T8x2x36WRL

G

REF

FL-T8x2x36WRL

G

REF

FL-T8x2x36WRL

G

REF

FL-T8x2x36WRL

G

REF

FL-T8x2x36WRL

G

REF

FL-T8x2x36WRL

G

REF

FL-T8x2x36WRL

G

REF

FL-T8x2x36WRL

G

REF

FL-T8x2x36WRL

G

REF

FL-T8x2x36WRL

G

REF

FL-T8x2x36WRL

G

REF

FL-T8x2x36WRL

G

REF

FL-T8x2x36WRL

G

REF

FL-T8x2x36WRL

G

REF

CFLx1x14WR-

OREF

CFLx1x14WR-

OREF

CFLx1x14WR-

OREF

CFLx1x14WR-

OREF

24,000 BTU/HR24,000 BTU/HR

24,000 BTU/HR24,000 BTU/HR

CFLx1x14WR-

OREF

CFLx1x14WR-

OREF

พัดลม

เพดาน

พัดลม

เพดาน

พัดลม

เพดาน

พัดลม

เพดาน

พัดลม

เพดาน

พัดลม

เพดาน

พัดลม

เพดาน

พัดลม

เพดาน

พัดลม

เพดาน

พัดลม

เพดาน

พัดลม

เพดาน

พัดลม

เพดาน

22 m

6 m 6 m

4 m

A

B

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 109: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

ก-19

7. โรงอาหาร

CFLx

1x14

WR -

ORE

FFL-T8x2x36WS

L

G

REF

FL-T8x2x36WS

L

G

REF

FL-T8x2x36WS

L

G

REF

FL-T8x2x36WS

L

G

REF

FL-T8x2x36WS

L

G

REF

FL-T8x2x36WS

L

G

REF

FL-T8x2x36WS

L

G

REF

FL-T8x2x36WS

L

G

REF

FL-T8x2x36WS

L

G

REF

FL-T8x2x36WS

L

G

REF

FL-T8x2x36WS

L

G

REF

FL-T8x2x36WS

L

G

REF

FL-T8x2x36WS

L

G

REF

FL-T8x2x36WS

L

G

REF

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

STAN

x1x5

00W

H -O

REF

STAN

x1x5

00W

H -O

REF

STAN

x1x5

00W

H -O

REF

STAN

x1x5

00W

H -O

REF

STAN

x1x5

00W

H -O

REF

FL-T

8x2x

36W

R L

G

REF

FL-T

8x2x

36W

R L

G

REF

FL-T

8x2x

36W

R L

G

REF

FL-T

8x2x

36W

R L

G

REF

พัดลม

เพดา

พัดลม

เพดา

พัดลม

เพดา

พัดลม

เพดา

52,000 BTU/HR

52,000 BTU/HR

52,000 BTU/HR

52,000 BTU/HR

18,0

00 B

TU/H

R

CFLx

1x14

WW -

ORE

F

CFLx

1x14

WW -

ORE

F

CFLx

1x14

WW -

ORE

F

CFLx

1x14

WW -

ORE

F

CFLx

1x14

WW -

ORE

F

CFLx

1x14

WW -

ORE

F

CFLx

1x14

WW -

ORE

F

CFLx

1x14

WW -

ORE

F

CFLx

1x14

WW -

ORE

F

CFLx

1x14

WW -

ORE

F

CFLx

1x14

WW -

ORE

F

CFLx

1x14

WW -

ORE

F

CFLx

1x14

WW -

ORE

F

CFLx

1x14

WW -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

FC-T

9x1x

32W

S MO

NON

FC-T

9x1x

32W

S MO

NON

5 m

5 m

10 m 5 m

5 m

5 m

2.5 m

20 m

20 m

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 110: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

ก-20

8. งานวิเคราะหดิน

FL-T

8x1x

36W

S LO

NON

FL-T

8x1x

36W

S LO

NON

FL-T

8x1x

36W

S LO

NON

FL-T

8x1x

18W

S LO

REF

FC-T

9x1x

32W

S MO

NON

FC-T

9x1x

32W

S MO

NON

FL-T

8x1x

36W

S LO

NON

FL-T

8x1x

36W

S LO

NON

FL-T

8x1x

36W

S LO

NON

FL-T

8x1x

36W

S LO

NON

FL-T

8x1x

36W

S LO

NON

FL-T

8x1x

36W

S LO

NON

FL-T

8x1x

36W

S LO

NON

FL-T

8x1x

36W

S LO

NON

FL-T

8x1x

36W

S LO

NON

12,0

00 B

TU/H

R

36,0

00 B

TU/H

R36

,000

BTU

/HR

36,0

00 B

TU/H

R24

,000

BTU

/HR

12,0

00 B

TU/H

R

FL-T

8x2x

36W

S L

G

REF

FL-T

8x1x

36W

S LW

NON

4 m

4 m

8 m

4 m

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 111: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

ก-21

9. เครื่องจักรกล

FL-T8x1x36WSL

ONON

FL-T8x1x36WSL

GREF

6 m

6 m4 m

FL-T8x1x18WSL

OREF

FL-T8x1x18WSL

OREF

FL-T8x1x36WSL

GREF

6 m

6 m

FL-T8x1x18WSL

OREF

FL-T8x1x18WSL

OREF

FL-T8x1x18WSL

OREF

FL-T8x1x18WSL

OREF

FL-T8x1x36WSL

GREF

6 m

6 m

FL-T8x1x18WSL

ONON

FL-T8x1x18WSL

ONO

N

FL-T8x1x18WSL

ONO

N

FL-T8x1x18WSL

ONON

FL-T8x1x36WSL

GREF

18,000 BTU/HR

สูง 3.5 m

4 m

4 m

โรงจอดรถ 3

โรงจอดรถ 2

โรงจอดรถ 1

สํานักงาน

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 112: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

ก-22

10. ประสานงานศูนยฯ ตึกอบรม

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

60,0

00 B

TU/H

R

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

F 60,0

00 B

TU/H

R

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

30,000 BTU/HR30,000 BTU/HR

FL-T8x2x18WR

L

G

REF

FL-T

8x2x

36W

R L

G

REF

FL-T

8x2x

36W

R L

G

REF

FL-T

8x2x

36W

R L

G

REF

FL-T

8x2x

36W

R L

G

REFFL-T8x2x18WR

L

G

REF

FL-T8x2x18WR

L

G

REF

FL-T8x2x18WR

L

G

REF

FL-T

8x2x

36W

R L

G

REF

FL-T

8x2x

36W

R L

G

REF

FL-T

8x2x

36W

R L

G

REF

FL-T

8x2x

36W

R L

G

REF

FL-T

8x1x

36W

S LO

REF

FL-T

8x1x

36W

S LO

REF

FL-T

8x1x

36W

S LO

REF

FL-T

8x1x

36W

S LO

REF

FL-T

8x1x

36W

S LO

REF

60,0

00 B

TU/H

R

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

60,0

00 B

TU/H

R

FL-T

8x1x

36W

S LO

REF

FL-T

8x1x

36W

S LO

REF

FL-T

8x1x

36W

S LO

REF

FL-T

8x1x

36W

S LO

REF

FL-T

8x1x

36W

S LO

REF

60,0

00 B

TU/H

R

60,0

00 B

TU/H

R

FL-T

8x1x

36W

S LO

REF

FL-T

8x1x

36W

S LO

REF

FL-T

8x1x

36W

S LO

REF

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

10 m 6 m

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 113: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

ก-23

11. ประสานงานศูนยฯ โรงจอดรถ

FL-T8x1x36WSL

ONON

FL-T8x1x36WSL

ONON

FL-T8x1x36WSL

ONON

FL-T8x1x36WSL

ONON

FL-T8x1x36WSL

ONON

FL-T8x1x36WSL

ONON

FL-T8x1x36WSL

ONON

FL-T8x1x36WSL

ONON

FL-T8x1x36WSL

ONON

FL-T8x1x36WSL

ONON

FL-T8x1x36WSL

ONON

FL-T8x1x36WSL

ONON

FL-T8x1x36WSL

ONON

FL-T8x1x36WSL

ONON

FL-T8x1x36WSL

ONON

FL-T8x1x36WSL

ONON

FL-T8x1x36WSL

ONON

FL-T8x1x36WSL

ONON

FL-T8x1x36WSL

ONON

FL-T8x1x36WSL

ONON

20 m

20 m

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 114: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

ก-24

12. หัตถกรรมพ้ืนบาน

อาคารหัตถกรรม

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

FFC-T

9x1x

32W

S MW

NON CF

Lx1x

14W

R -O

REF

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

FFC-T

9x1x

32W

S MW

NON

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

FFC-T

9x1x

32W

S MW

NON CF

Lx1x

14W

R -O

REF

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

FFC-T

9x1x

32W

S MW

NON

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

FFC-T

9x1x

32W

S MW

NON CF

Lx1x

14W

R -O

REF

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

FFC-T

9x1x

32W

S MW

NON

FL-T8x1x36WSL

ONON

FL-T8x1x36WSL

ONON

FL-T8x1x18WSL

ONON

FL-T8x1x18WSL

ONON

FL-T8x1x18WSL

ONON

FL-T8x1x18WSL

ONON

FL-T8x1x18WSL

ONON

FL-T

8x1x

18W

S LO

NON

FL-T

8x1x

18W

S LO

NON

8 m

6 m

6 m

3.5 m 3.5 m

4 m

4 m

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 115: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

ก-25

12. หัตถกรรมพ้ืนบาน

แผนผังโดยรวม

ตีเหล็ก

หตัถกรรม

งานถักทอ

ปรัญญาชาวบ้าน

แปลงสาธิตยุ้งฉาง

CFLx1x14WW-

WNON

X 6

STANx1x25WH-

OREF

X 1

FL-T8x1x18WSL

ONON X 1

FL-T8x1x18WSL

ONON X 1

CFLx1x14WW-

WNON

X 1

FL-T8x1x18WSL

ONON X 3

FL-T8x1x18WSL

ONON X 1

FL-T8x1x18WSL

OREF X 1

FL-T8x1x36WSL

ONON X 1

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 116: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

ก-26

13. ประมง

สํานักงาน

FL-T8x2x36WS

L

G

NON

FL-T8x2x36WS

L

G

NON

FL-T8x2x36WS

L

G

NON

FL-T8x2x36WS

L

G

NON

FL-T8x2x36WS

L

G

NON พัดลม

ติดผน

ัง

FL-T8x2x36WS

L

G

NON

FL-T8x2x36WS

L

G

NON

FL-T8x2x36WS

L

G

NON พัดลม

ติดผน

ัง

FL-T8x1x36WSL

ONON

FC-T

9x1x

32W

S MO

NON

FC-T

9x1x

32W

S MO

NON

FL-T

8x1x

36W

S LO

NON

36,000 BTU/HR

พัดลม

ติดผน

ัง

COM

COM

COM

4 m

8 m

8 m

2 m

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 117: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

ก-27

13. ประมง

แผนผังโดยรวม

สํานกังาน

เพาะเลี �ยง

เลี �ยงไรแดง

เลี �ยงกบ

ปลาสวยงาม

FL-T8x1x36WSL

ONON

X 4

ปั �ม 3 HP 220 V

FL-T8x1x36WSL

ONON

X 1

FL-T8x1x18WSL

ONON

X 2

ปั �ม 5 HP 220 V

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 118: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

ก-28

14. งานกรมสงเสริม

FL-T8x1x36W

SLO

REF

FL-T8x1x18WSL

OREF

FL-T8x1x18WSL

OREF

FL-T8x1x36WSL

OREF

FL-T8x1x36WSL

OREF

FL-T8x1x36WSL

ONO

N

FL-T8x1x36WSL

ONO

N

FL-T8x1x18WSL

OREF

ตู้ เย็น

FL-T8x1x36WSL

ONON

5 m

5 m

5 m

4 m

10 m

พัดลม

เพดาน

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 119: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

ก-29

15. งานกรมวิชาการเกษตร

สํานักงาน

FL-T

8x1x

36W

S LO

NON

พัดลม

เพดา

นFL

-T8x

1x36

WS L

ONO

NFL

-T8x

1x18

WS L

ONO

Nพัด

ลม

เพดา

นFL

-T8x

1x18

WS L

ONO

N

พัดลม

เพดา

FL-T

8x1x

18W

S LO

REF

FL-T

8x1x

36W

S LO

NON

พัดลม

เพดา

COM

FL-T

8x1x

36W

S LO

NON

พัดลม

เพดา

COM

8 m

8 m

4 m

25,4

00 B

TU/H

R

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 120: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

ก-30

15 งานกรมวิชาการเกษตร

ตึกอบรม

พัดลม

ติดผน

ัง

FL-T

8x1x

36W

S LO

NON

FL-T8x2x36WS

L

G

NON พัดลม

ติดผน

ัง

พัดลม

ติดผน

ัง

FL-T

8x1x

36W

S LO

NON

FL-T8x2x36WS

L

G

NON

พัดลม

ติดผน

ัง

FL-T

8x1x

36W

S LO

NON

FL-T8x2x36WS

L

G

NON พัดลม

ติดผน

ัง

25,000 BTU/HR 25,000 BTU/HRพัดลม

ติดผน

ัง

พัดลม

ติดผน

ัง

12 m

6 m

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 121: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

ก-31

16. อาคารท่ีพัก งานกรมสงเสริม ชั้นลาง

ชั้นลาง A)

FL-T8x2x36WS

L

W

NON

FL-T8x2x36WS

L

W

NON

FL-T8x2x36WS

L

W

NON

พัดลม

เพดา

พัดลม

เพดา

พัดลม

เพดา

FL-T8x2x36WS

L

W

NON

FL-T8x2x36WS

L

W

NON

FL-T8x2x36WS

L

W

NON

FL-T8x2x36WS

L

W

NON

FL-T8x2x36WS

L

W

NON

FL-T8x2x36WS

L

W

NON

พัดลม

เพดา

พัดลม

เพดา

พัดลม

เพดา

FL-T8x2x36WS

L

W

NON

FL-T8x2x36WS

L

W

NON

FL-T8x2x36WS

L

W

NON

พัดลม

เพดา

พัดลม

เพดา

พัดลม

เพดา

พัดลม

เพดา

พัดลม

เพดา

พัดลม

เพดา

FL-T8x2x36WS

L

W

NON

FL-T8x2x36WS

L

W

NON

FL-T8x2x36WS

L

W

NON

พัดลม

เพดา

พัดลม

เพดา

พัดลม

เพดา

FL-T8x2x36WS

L

W

NON

FL-T8x2x36WS

L

W

NON

FL-T8x2x36WS

L

W

NON

FL-T8x2x36WS

L

W

NON

FL-T8x2x36WS

L

W

NON

FL-T8x2x36WS

L

W

NON

พัดลม

เพดา

พัดลม

เพดา

พัดลม

เพดา

39,0

00 B

TU/H

R

39,0

00 B

TU/H

R

39,0

00 B

TU/H

R

39,0

00 B

TU/H

R

20 m

8 m

A

B

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 122: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

ก-32

16. อาคารท่ีพัก งานกรมสงเสริม ชั้นลาง

ชั้นลาง B)

FL-T8x2x36WS

L

W

NON

FL-T8x2x36WS

L

W

NON

FL-T8x2x36WS

L

W

NON

FL-T8x2x36WS

L

W

NON

FL-T8x2x36WS

L

W

NON

FL-T8x2x36WS

L

W

NON

FL-T8x2x36WS

L

W

NON

FL-T8x2x36WS

L

W

NON

FL-T8x2x36WS

L

W

NON

FL-T8x2x36WS

L

W

NON

FL-T8x2x36WS

L

W

NON

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

พัดลม

เพดา

12,0

00 B

TU/H

R

ตู้เย็น

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

COM

COM

COM

COM

ตู้เย็น

30,5

00 B

TU/H

R12

,000

BTU

/HR

FL-T8x2x36WS

L

W

NON

FL-T

8x1x

36W

S LO

NON

FL-T

8x1x

36W

S LO

NON

FL-T

8x1x

36W

S LO

NON

5 m

4 m

8 m

12 m

A

B

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 123: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

ก-33

17. อาคารท่ีพัก งานกรมสงเสริม ชั้นบน

ชั้นบน A)

\

FL-T8x2x36WS

L

W

NON

FL-T8x2x36WS

L

W

NON

FL-T8x2x36WS

L

W

NON

FL-T8x2x36WS

L

W

NON

FL-T8x2x36WS

L

W

NON

FL-T8x2x36WS

L

W

NON

39,0

00 B

TU/H

R

FL-T8x2x36WS

L

W

NON

FL-T8x2x36WS

L

W

NON

FL-T8x2x36WS

L

W

NON

พัดลม

เพดา

พัดลม

เพดา

พัดลม

เพดา

พัดลม

เพดา

พัดลม

เพดา

พัดลม

เพดา

พัดลม

เพดา

พัดลม

เพดา

พัดลม

เพดา

FL-T8x2x36WS

L

W

NON

FL-T8x2x36WS

L

W

NON

FL-T8x2x36WS

L

W

NON

FL-T8x2x36WS

L

W

NON

FL-T8x2x36WS

L

W

NON

FL-T8x2x36WS

L

W

NON

39,0

00 B

TU/H

R

FL-T8x2x36WS

L

W

NON

FL-T8x2x36WS

L

W

NON

FL-T8x2x36WS

L

W

NON

พัดลม

เพดา

พัดลม

เพดา

พัดลม

เพดา

พัดลม

เพดา

พัดลม

เพดา

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

8 m

8 m

4 m

4 m

A

B

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 124: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

ก-34

17. อาคารท่ีพัก งานกรมสงเสริม ชั้นบน

ชั้นบน B)

FL-T8x2x36WS

L

W

NON

FL-T8x2x36WS

L

W

NON

FL-T8x2x36WS

L

W

NON

FL-T8x2x36WS

L

W

NON

FL-T8x2x36WS

L

W

NON

FL-T8x2x36WS

L

W

NON

FL-T8x2x36WS

L

W

NON

FL-T8x2x36WS

L

W

NON

39,0

00 B

TU/H

R

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

12,000 BTU/HR12,000 BTU/HR

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

CFLx

1x14

WR -

ORE

F

25,6

00 B

TU/H

R25

,600

BTU

/HR

FL-T8x2x36WS

L

W

NON

FL-T8x2x36WS

L

W

NON

FL-T8x2x36WS

L

W

NON

FL-T8x2x36WS

L

W

NON

พัดลม

เพดา

พัดลม

เพดา

พัดลม

เพดา

พัดลม

เพดา

FL-T8x2x36WS

L

W

NON

FL-T8x2x36WS

L

W

NON

FL-T8x2x36WS

L

W

NON

พัดลม

เพดา

พัดลม

เพดา

พัดลม

เพดา

พัดลม

เพดา

4 m

8 m

12 m

8 m

A

B

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 125: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

ก-35

18. โรงอาหารท่ีพัก งานกรมสงเสริม

พัดลม

ติดผน

ัง

พัดลม

ติดผน

ัง

พัดลม

ติดผน

ัง

พัดลม

ติดผน

ัง

พัดลม

ติดผน

ัง

พัดลม

ติดผน

ัง

พัดลม

ติดผน

ัง

พัดลม

ติดผน

ัง

STAN

x1x4

00W

H -O

REF

พัดลม

ติดผน

ัง

พัดลม

ติดผน

ัง

พัดลม

ติดผน

ัง

พัดลม

ติดผน

ัง

FL-T8x2x36WS

L

O

NONตู้เย็น

พัดลม

ติดผน

ัง

พัดลม

ติดผน

ัง

พัดลม

ติดผน

ัง

พัดลม

ติดผน

ัง

STAN

x1x4

00W

H -O

REF

STAN

x1x4

00W

H -O

REF

FL-T8x2x36WS

L

O

NON

FL-T8x2x36WS

L

O

NON

12 m

30 m

3 m

3 m

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 126: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

ก-36

19. งานเพาะชํากลาไม สํานักงาน

FC-T9x1x32WSM

ONON

FC-T9x1x32WSM

ONON

พัดลม

เพดาน

FL-T8x1x36WSL

ONON

FL-T8x1x36WSL

ONON

FL-T8x1x36WSL

ONO

N

24,000 BTU/HR

COM COM

FL-T8x1x36WSL

ONON

FL-T8x1x36WSL

ONON

FL-T8x1x36WSL

ONO

N

18,000 BTU/HR

FL-T8x1x18WSL

ONON

8 m

20 m

6 m

5 m

FL-T8x1x18WSL

ONO

N

CFLx1x14WH-

ONON

FL-T8x1x36WSL

ONON

FL-T8x1x36WSL

ONON

FL-T8x1x36WSL

ONON

FL-T8x1x36WSL

ONON

CFLx1x14WH-

ONON

CFLx1x14WH-

ONON

6 m

5 m

สํานักงาน

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 127: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

ก-37

20. สวนพฤกษาศาสตร

FL-T8x1x18WSL

WNON

FL-T8x1x36WSL

GREF

FL-T8x1x36WSL

GREF

FL-T8x1x36WSL

GREF

FL-T8x1x36WSL

GREF

FL-T8x1x36WSL

GREF

FL-T8x1x36WSL

GREF

FL-T8x1x36WSL

GREF

13,900 BTU/HR 13,900 BTU/HR12,000 BTU/HR

FL-T8x1x36WSL

GREF

12,000 BTU/HR

FL-T8x1x36WSL

GREF

FL-T8x1x36WSL

GREF

FL-T8x1x36WSL

GREF

FL-T8x1x36WSL

GREF

12,000 BTU/HR 12,000 BTU/HR

FL-T8x1x36WSL

GREF

FL-T8x1x36WSL

GREF

12,000 BTU/HR

FL-T8x1x36WSL

GREF

12,000 BTU/HR

FL-T8x1x36WSL

GREF

12,000 BTU/HR 12,000 BTU/HR

FL-T8x1x18WSL

WNON

FL-T8x1x18WSL

WNON

FL-T8x1x18WSL

WNON

FL-T8x1x18WSL

WNON

FL-T8x1x18WSL

WNON

FL-T8x1x18WSL

WNON

FL-T8x1x18WSL

WNON

FL-T8x1x18WSL

WNON

FL-T8x1x18WSL

WNON

FL-T8x1x18WSL

WNON

FL-T8x1x36WSL

GREF

FL-T8x1x36WSL

GREF

FL-T8x1x36WSL

GREF

FL-T8x1x36WSL

GREF

FL-T8x3x36WRL

G

REF

FL-T8x3x36WRL

G

REF

FL-T8x3x36WRL

G

REF

4 m

10 m

4 m

4 m

8 m

4 m

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 128: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

ก-38

21. อาคารอบสมุนไพร

ชั้นลาง

FL-T8x2x36WSL

G

REF

FL-T8x2x36WSL

G

REF

CFLx1x14WR-

OREF

CFLx1x14WR-

OREF

CFLx1x14WR-

OREF

CFLx1x14WR-

OREF

CFLx1x14WR-

OREF

FL-T8x2x36WSL

G

REF

FL-T8x2x36WS

L

G

REF

พัดลม

ติดผนัง

FL-T8x2x36WS

L

G

REF

พัดลม

ติดผนัง

FL-T8x2x36WSL

G

REF

FL-T8x2x36WSL

G

REF

FL-T8x2x36WS

L

G

REF

FL-T8x2x36WS

L

G

REF

FL-T8x2x36WS

L

G

REF

FL-T8x2x36WS

L

G

REF

FL-T8x2x36WSL

G

REF

FL-T8x2x36WSL

G

REF

FL-T8x2x36WS

L

G

REF

FL-T8x2x36WS

L

G

REF

FL-T8x2x36WS

L

G

REF

FL-T8x2x36WS

L

G

REF

FL-T8x1x18WWL

WNO

N

FL-T8x1x18WWL

WNO

N

8 m

8 m

4 m

6 m

ชั้นบน FL-T8x2x36W

SL

G

REF

FL-T8x2x36WSL

G

REF

FL-T8x2x36WS

L

G

REF

FL-T8x2x36WS

L

G

REF

FL-T8x2x36WSL

G

REF

FL-T8x2x36WSL

G

REF

FL-T8x2x36WS

L

G

REF

FL-T8x2x36WS

L

G

REF

FL-T8x2x36WSL

G

REF

FL-T8x2x36WSL

G

REF

FL-T8x2x36WSL

G

REF

FL-T8x2x36WSL

G

REF

FL-T8x2x36WSL

G

REF

FL-T8x2x36WSL

G

REF

FL-T8x2x36WSL

G

REF

FL-T8x2x36WSL

G

REF

FL-T8x2x36WSL

G

REF

FL-T8x2x36WSL

G

REF

12,000 BTU/HR12,000 BTU/HR 12,000 BTU/HR 12,000 BTU/HR

8 m

8 m

8 m

8 m

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 129: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

ก-39

22. โรงส ี

โรงสีพระราชทาน

FL-T8x2x36WH

L

G

REF

FL-T8x2x36WH

L

G

REF

FL-T8x2x36WH

L

G

REF

FL-T8x2x36WH

L

G

REF

FL-T8x2x36WH

L

G

REF

FL-T8x2x36WH

L

G

REF

FL-T8x2x36WH

L

G

REF

FL-T8x2x36WH

L

G

REF

FL-T

8x1x

36W

H LO

REF

FL-T

8x1x

36W

H LO

REF

10 m

20 m

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 130: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

ก-40

22. โรงส ี

โรงสีชุมชน

FL-T8x1x36WHL

ONON

FL-T8x1x36WHL

ONON

FL-T8x1x36WHL

ONON

FL-T8x1x36WHL

ONON

FL-T8x1x36WHL

ONON

FL-T8x1x36WHL

ONON

FL-T8x1x36WHL

ONON

FL-T8x1x36WHL

ONON

FL-T

8x1x

36W

H LO

REF

FL-T

8x1x

36W

H LO

REF

FL-T

8x1x

36W

H LO

REF

FL-T

8x1x

36W

H LO

REF

10 m

16 m

STAN

x1x3

2WR -

ORE

F

STAN

x1x3

2WR -

ORE

F

สหกรณ

CFLx1x14WR-

OREF

CFLx1x14WR-

OREF

FL-T8x1x18WSL

ONON

พัดลม

เพดาน

37,400 BTU/HR

8 m

COM COM

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 131: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

ข-1

ภาคผนวก ข

แนวทางการดําเนินการเก่ียวกับการประกอบกิจการพลังงาน

ระบบผลิตพลังงานท่ีไดศึกษาออกแบบสําหรับทดแทนการใชไฟฟาบางสวน เพ่ือเปนการสนับสนุน

กิจกรรมของศูนยศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริท้ัง 6 แหงนี้ ใชเทคโนโลยีโฟโตโวเทอิค

(Photo Voltaic) สําหรับผลิตไฟฟาซ่ึงมีขนาดกําลังผลิตไมเกิน 100 kW โดยติดตั้งบนพ้ืนท่ีซ่ึงเปนสวน

ราชการของศูนยศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ

สําหรับการประกอบกิจการผลิตไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตยโดยใชเทคโนโลยีโซลารเซลล (Solar

Cell) หรือ โฟโตโวเทอิค (Photo Voltaic, PV) เพ่ือทดแทนการใชไฟฟาบางสวนในศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ 6 แหง มีแนวทางและข้ันตอนการดําเนินงานซ่ึงมีความเก่ียวของกับระเบียบ

ขอบังคับหรือกฎหมายตางๆ เชน การประกอบกิจการพลังงาน, โรงงาน, การควบคุมอาคาร, การไฟฟา

และสิ่งแวดลอม ดังนั้น การดําเนินการท่ีเก่ียวกับการประกอบกิจการพลังงานจึงตองดําเนินการใหอยู

ภายใตระเบียบ ขอบังคับ และกฎหมาย อยางถูกตอง ดังตอไปนี้

รูปท่ี 1 เง่ือนไขและขอกําหนดในการผลิตพลังงานไฟฟาจากแสงอาทิตย

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 132: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

ข-2

1. ใบอนุญาตการประกอบกิจการไฟฟา

การพิจารณาในเรื่องการขอรับใบอนุญาตการประกอบกิจการไฟฟา ไดศึกษาจากความในพระราชกฤษฏี

กากําหนดประเภท ขนาด และลักษณะของกิจการพลังงานท่ีไดรับการยกเวนไมตองขอรับใบอนุญาตการ

ประกอบกิจการพลังงาน พ.ศ. 2552 (ออกตามพระราชบัญญัติการประกอบกิจการพลังงาน พ.ศ. 2550)

กําหนดใหกิจการไฟฟาท่ีไดรับการยกเวนไมตองขอรับใบอนุญาตประกอบกิจการพลังงานกับ กกพ. มีดังนี้

1) กิจการผลิตไฟฟาท่ีมีกําลังการผลิตรวมของแตละแหลงผลิตต่ํากวา 1,000 กิโลโวลตแอมแปร

2) กิจการระบบจําหนายไฟฟาท่ีผูประกอบการกิจการผลิตไฟฟาตาม ขอ 1) นําไฟฟาท่ีไดจากการ

ผลิตไปใชในกิจการของตนเอง

3) กิจการจําหนายไฟฟาท่ีมีขนาดการจําหนายไฟฟาต่ํากวา 1,000 กิโลโวลตแอมแปร โดยผาน

ระบบจําหนายไฟฟา

4) กิจการศูนยควบคุมระบบไฟฟา ซ่ึงโดยปกติไมมีหนาท่ีสั่งการดานการผลิตไฟฟาโดยตรง

ท้ังนี้ กิจการไฟฟาท่ีไดรับการยกเวนไมตองขอรับใบอนุญาตประกอบกิจการไฟฟา ตองแจงขอมูล

การประกอบกิจการไฟฟาใหสํานักงานทราบตามประกาศ กกพ. เรื่องการกําหนดใหกิจการพลังงานท่ีไดรับ

การยกเวนไมตองขอรับใบอนุญาตเปนกิจการท่ีตองแจง พ.ศ. 2551

ดังนั้น การประกอบกิจการพลังงานเพ่ือผลิตไฟฟาจากเทคโนโลยีโฟโตโวเทอิคของศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ ซ่ึงมีขนาดไมเกิน 1,000 กิโลโวลตแอมแปร จึงไมตองดําเนินการขอใบอนุญาต

ประกอบกิจการพลังงานกับ กกพ. แตจะตองดําเนินการแจงขอมูลให กกพ. ทราบตามแบบฟอรมแบบแจง

การประกอบกิจการพลังงานท่ีไดรับการยกเวนไมตองขอรับใบอนุญาต (สกพ-ย)

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 133: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

ข-3

แบบฟอรมแบบแจงการประกอบกิจการพลังงานท่ีไดรับการยกเวนไมตองขอรับใบอนุญาต (สกพ-ย)

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 134: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

ข-4

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 135: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

ข-5

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 136: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

ข-6

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 137: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

ข-7

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 138: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

ข-8

2. ใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน

สําหรับการดําเนินการเก่ียวกับเรื่องการขอใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงานนั้น ไดพิจารณาจากความ

ในกฏกระทรวง ฉบับท่ี 23 (พ.ศ. 2557) ซ่ึงออกตามความในพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 กําหนดให

ยกเลิกความในลําดับท่ี 88 แหงบัญชีทายกฏกระทรวง (พ.ศ. 2535) ออกตามความในพระราชบัญญัติ

โรงงาน พ.ศ. 2535 ซ่ึงแกไขเพ่ิมเติมโดยกฎกระทรวง ฉบับท่ี 17 (พ.ศ. 2549) ออกตามความใน

พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 โดยใหใชความตอไปนี้แทน “โรงงานผลิตพลังงานไฟฟาอยางใดอยาง

หนึ่ง หรือหลายอยาง ดังตอไปนี้ (1) การผลิตพลังงานไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตย ยกเวนท่ีติดตั้งบน

หลังคา ดาดฟา หรือสวนหนึ่งสวนใดบนอาคาร ซ่ึงบุคคลอาจเขาอยูหรือใชสอยได โดยมีขนาดกําลังการผลิต

ติดตั้งสูงสุดรวมกันของแผงเซลลแสงอาทิตยไมเกิน 1,000 กิโลวัตต (2) การผลิตพลังงานไฟฟาจากพลังงาน

ความรอน (3) การผลิตพลังานไฟฟาจากพลังงานน้ํา (4) การผลิตพลังานไฟฟาจากพลังงานลม”

ดังกลาว สามารถตีความไดวา การผลิตไฟฟาจากแสงอาทิตยดวยแผงโซลารเซลล ซ่ึงติดตั้งบนหลังคา

ดาดฟา หรือสวนหนึ่งสวนใดบนอาคาร โดยมีขนาดกําลังผลิตติดตั้งสูงสุดรวมกันไมเกิน 1,000 กิโลวัตต ไม

ถือเปนโรงงาน และไมตองขอใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน ดังนั้น ระบบผลิตไฟฟาจากเทคโนโลยีโฟ

โตโวเทอิคของศูนยศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริท่ีไดออกแบบไวเปนการติดตั้งบนพ้ืนดิน จึง

ไมเขาขายไดรับการยกเวน และตองดําเนินการขอใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน(ร.ง.4) ตามแบบฟอรม

ร.ง.3 ของกรมโรงงานอุตสาหกรรม

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 139: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

ข-9

แบบฟอรม ร.ง.3

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 140: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

ข-10

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 141: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

ข-11

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 142: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

ข-12

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 143: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

ข-13

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 144: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

ข-14

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 145: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

ข-15

3. ใบอนุญาตกอสราง ดัดแปลงอาคาร รื้อถอนอาคาร

ในสวนของกฎหมายท่ีเก่ียวของกับการควบคุมอาคาร ไดทําการศึกษาจาก “คูมือการใชอนุญาตปลูก

สรางอาคารเพ่ือประกอบกิจการพลังงาน” ซ่ึงจัดทําโดย ฝายใบอนุญาต สํานักงานคณะกรรมการกํากับ

กิจการพลังงาน ซ่ึงกําหนดวาสําหรับระบบผลิตพลังงานไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตย ท่ีทําการติดตั้งชุด

แผงเซลลบนพ้ืนดิน (Ground Mounting) หากมีการกอสรางอาคารควบคุมการผลิตหรืออาคารติดตั้ง

อุปกรณควบคุม จําตองดําเนินการขออนุญาตกอสรางอาคารตามกฎหมายวาดวยการควบคุมอาคาร แตใน

สวนของโครงสรางแผงโซลารเซลลถือเปนสิ่งปลูกสรางในสถานประกอบกิจการพลังงานท่ีไมเขาขายเปน

“อาคาร”ตามนิยามในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 ซ่ึงไมตองขออนุญาตกอสรางอาคารหรือ

ดัดแปลงอาคาร

ดังนั้น ระบบผลิตไฟฟาจากเทคโนโลยีโฟโตโวเทอิคของศูนยศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจาก

พระราชดําริท่ีไดออกแบบไวเปนการติดตั้งบนพ้ืนดิน จึงไมจําเปนตองขออนุญาตกอสรางอาคารหรือ

ดัดแปลงอาคาร หากแตมีการกอสรางอาคารควบคุมการผลิต ซ่ึงตองกรอกขอมูลเพ่ือขอรับใบอนุญาต

กอสรางอาคาร (อ.1) ตามแบบฟอรม ข.1

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 146: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

ข-16

แบบฟอรม ข.1 (คําขออนุญาตกอสรางอาคาร ดังแปลงอาคาร หรือรื้อถอนอาคาร)

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 147: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

ข-17

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 148: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

ข-18

4. ใบอนุญาตผลิตพลังงานควบคุม

สําหรับขอกําหนดในการขอรับใบอนุญาตผลิตพลังงานควบคุม (พค.๒) มีดังนี้

4.1 ผูท่ีจะตองยื่นขอรับใบอนุญาตผลิตพลังงานควบคุม (พค.๒) กับกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและ

อนุรักษพลังงาน ไดแก ผูท่ีมีการผลิตและใชพลังงานไฟฟาตามลักษณะ ดังตอไปนี้

1) ผูท่ีมีการผลิตไฟฟาซ่ึงมีขนาดการผลิตรวมของแตละแหลงผลิตตั้งแต 200 กิโลโวลตแอมแปร

ข้ึนไป เพ่ือใชสํารองฉุกเฉิน (Emergency Backup Generation) หรือเพ่ือใชในสถานประกอบการของ

ตนเองโดยไมไดเชื่อมตอกับระบบโครงขายไฟฟา (Stand Alone)

2) ผูท่ีมีการผลิตไฟฟาซ่ึงมีขนาดการผลิตรวมของแตละแหลงผลิตตั้งแต 200 กิโลโวลตแอมแปร

ถึง 999 กิโลโวลตแอมแปร ท่ีเชื่อมตอกับระบบโครงขายไฟฟาเพ่ือใชในสถานประกอบการของตนเองหรือ

เพ่ือการจําหนาย

4.2 ผูท่ีจะตองยื่นขอรับใบอนุญาตผลิตพลังงานควบคุม (พค.๒) กับสํานักงานคณะกรรมการกํากับ

กิจการพลังงาน ไดแก ผูท่ีมีการผลิตและใชพลังงานไฟฟาตามลักษณะ ดังตอไปนี้

1) ผูผลิตพลังงานไฟฟาท่ีมีขนาดกําลังผลิตรวมทุกแหลงผลิตตั้งแต 1,000 กิโลโวลตแอมแปรข้ึน

ไปและเชื่อมตอกับระบบโครงขายไฟฟาเพ่ือใชในสถานประกอบการของตนเองหรือเพ่ือการจําหนาย

ดังนั้น ระบบผลิตไฟฟาจากเทคโนโลยีโฟโตโวเทอิคของศูนยศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจาก

พระราชดําริท่ีไดออกแบบไวเปนการติดตั้งบนพ้ืนดิน และมีขนาดไมเกิน 200 kW จึงไมตองยื่นขอรับ

ใบอนุญาตผลิตพลังงานควบคุม

5. การขออนญุาตขนานระบบผลิตไฟฟากับการไฟฟา

เนื่องจาก ระบบผลิตพลังงานท่ีไดศึกษาออกแบบสําหรับทดแทนการใชไฟฟาบางสวน เพ่ือเปนการ

สนับสนุนกิจกรรมของศูนยศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริท้ัง 6 แหงนี้ ซ่ึงใชเทคโนโลยีโฟโต

โวเทอิค (Photo Voltaic) และตองเชื่อมโยงเขากับระบบสายสงการไฟฟา (On Grid System) จึง

จําเปนตองมีการขออนุญาตขนานเครื่องกําเนิดไฟฟาเขากับระบบสายสงของการไฟฟาในพ้ืนท่ี โดยใชแบบ

คํารอง “แบบคําขอเดินเครื่องกําเนิดไฟฟาขนานกับระบบไฟฟาของการไฟฟาสวนภูมิภาค”

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 149: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

ข-19

แบบคําขอเดินเครื่องกําเนิดไฟฟาขนานกับระบบไฟฟาของการไฟฟาสวนภูมิภาค

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 150: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

ข-20

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 151: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

ข-21

6. การจัดทํารายงานดานส่ิงแวดลอมและความปลอดภัย

สําหรับการประกอบกิจการพลังงานเพ่ือผลิตไฟฟาจากเทคโนโลยีโฟโตโวเทอิคของศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ ซ่ึงมีขนาดไมเกิน 1,000 กิโลโวลตแอมแปร ซ่ึงไมตองดําเนินการขอใบอนุญาต

ประกอบกิจการพลังงานกับ กกพ. ตามพระราชกฤษฏีกากําหนดประเภท ขนาด และลักษณะของกิจการ

พลังงานท่ีไดรับการยกเวนไมตองขอรับใบอนุญาตการประกอบกิจการพลังงาน พ.ศ. 2552 (ออกตาม

พระราชบัญญัติการประกอบกิจการพลังงาน พ.ศ. 2550) แตจะตองดําเนินการแจงขอมูลให กกพ. ทราบ

ตามแบบฟอรมแบบแจงการประกอบกิจการพลังงานท่ีไดรับการยกเวนไมตองขอรับใบอนุญาต (สกพ-ย) ซ่ึง

ในสวนท่ี 3 ของแบบฟอรม หัวขอเอกสารหลักฐานประกอบ กําหนดไววาจะตองสงรายการตรวจสอบ

มาตรการดานการออกแบบติดตั้งตามประมวลหลักการปฏิบัติ (Code of Practice) ตามแบบฟอรม (สกพ-

CoP-PV)

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 152: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

ข-22

รายการตรวจสอบมาตรการดานการออกแบบติดตั้งตามประมวลหลักการปฏิบัติ (COP)

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 153: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

ข-23

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 154: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

ข-24

2. สรุปการดําเนินการประกอบกิจการพลังงาน

สําหรับโครงการผลิตไฟฟาจากแผงโซลารเซลล เพ่ือทดแทนการใชไฟฟาบางสวนของศูนยศึกษาการ

พัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ 6 แหง ซ่ึงมีขนาดกําลังการผลิตอยูระหวาง 16 – 64 kW ถือเปนขนาด

กําลังการผลิตท่ีเล็กมาก แตอยางไรก็ตามการผลิตพลังงานทดแทนเพ่ือใชเองหรือเพ่ือขาย ถือวาเขาขายการ

ประกอบกิจการพลังงานซ่ึงตองดําเนินการตามขอกําหนดและระเบียบตามกฏหมายตางๆอยางถูกตอง และ

สามารถสรุปการดําเนินการตางๆไดดังนี้

รายการ การดําเนินการ หมายเหตุ/

เอกสารท่ีเกี่ยวของ ดําเนินการ ไมตองดําเนินการ

1.ใบอนุญาตประกอบกิจการไฟฟา √ แจง กกพ.ทราบ/สกพ-ย

2.ใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน √ รง.3

3.ใบอนุญาตกอสราง ดัดแปลง รื้อถอนอาคาร √ ยกเวนมีอาคารควบคุม/

แบบ ข.1

4.ใบอนุญาตผลิตพลังงานควบคุม √ -

5.ขอขนานระบบผลิตไฟฟากับการไฟฟา √ แ บ บ คํ า ข อ เดิ น เค รื่ อ ง

กํ า เนิ ด ไฟ ฟ าข น าน กั บ

ระบบไฟฟาของ กฟภ.

6.รายงานดานสิ่งแวดลอมและความปลอดภัย √ ทํารายการตรวจสอบฯ/

สกพ-CoP-PV

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 155: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

ค-1

ภาคผนวก ค

ใบลงทะเบียนการประชุมช้ีแจงผลการศึกษา

ศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอันเนื่องมาจากพระราชดําริ จ.ฉะเชิงเทรา

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 156: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

ค-2

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

Page 157: รายงานฉบับสมบูรณe-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11139ฉบับ...อ นเน องมาจากพระราชด าร (ฉบ บศ นย

โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกัษพลังงานเพ่ือสนับสนนุกิจกรรมศูนยศึกษาการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (ฉบับศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอนัเนื่องมาจากพระราชดําร ิจ.ฉะเชิงเทรา)

ค-3

ศูนยความเปนเลิศทางดานชีวมวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี