107
วารสารสารสนเทศ Journal of Information ปที8 ฉบับที2 กรกฎาคม ธันวาคม 2550 ISSN 1513-7015 เจาของ โปรแกรมวิชาสารสนเทศศาสตรและบรรณารักษศาสตร รวมกับสํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ และ สํานักวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา วัตถุประสงค 1. เพื่อสงเสริม พัฒนา และเผยแพรผลงานวิชาการของโปรแกรมวิชาสารสนเทศศาสตรและบรรณารักษศาสตร 2. เพื่อสงเสริม พัฒนา และเผยแพรผลงานวิชาการของสํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ 3. เพื่อสงเสริม พัฒนา และเผยแพรผลงานวิชาการของสํานักวิจัยและพัฒนา 4. เพื่อเผยแพรเผยแพรงานวิชาการ และขอมูลสารสนเทศแกผูสนใจทั่วไป ที่ปรึกษา รองศาสตราจารย ดร.สุพล วุฒิเสน อธิการบดี รองศาสตราจารย ดร.เอื้อมพร เธียรหิรัญ รองอธิการบดี ผูชวยศาสตราจารยลินดา เกณฑมา คณบดีคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร กรรมการกลั่นกรอง รองศาสตราจารย ดร.ชุติมา สัจจานันท รองศาสตราจารย ดร.จุมพจน วนิชกุล รองศาสตราจารยฉวีวรรณ คูหาภินันท ดร.มะลิวัลย ประดิษฐธีระ บรรณาธิการ อาจารยประภาพรรณ หิรัญวัชรพฤกษ กองบรรณาธิการ อาจารยมนตฤดี วัชรประทีป อาจารยศิริกาญจน โพธิ์เขียว ผูชวยศาสตราจารยจิราภรณ หนูสวัสดิผูชวยศาสตราจารยชลลดา พงศพัฒนโยธิน อาจารยวรุณรัตน คนซื่อ ผศ. เผด็จ กาคํา อาจารยวิมล อุทานนท อาจารยอาภา วรรณฉวี ผูชวยศาสตราจารย ดร.อารีวรรณ เอี่ยมสะอาด ผูชวยศาสตราจารย ดร.เสาวนีย เรืองไชยศรี อาจารยวิมล สุเสวี อาจารย ดร.อัจฉรา แกวนอย บุคลากรสํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ สํานักวิจัยและพัฒนา และโปรแกรมวิชาสารสนเทศศาสตร และบรรณารักษศาสตร ออกแบบปกและจัดพิมพ อาจารยประภาพรรณ หิรัญวัชรพฤกษ & ศิริรัตน น้ําจันทร สถานที่ติดตอ : สํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา 1061 อิสรภาพ 15 แขวงหิรัญรูจี เขตธนบุรี กรุงเทพฯ 10600 โทร. 02-473-7000 ตอ 1700 กด 100 โทรสาร 02-466-4342

วารสารสารสนเทศarcbs.bsru.ac.th/web2009/aboutus/inforjo/inforjo8_2-50.pdf · บทบรรณาธิรกา วารสารสารสนเทศ

  • Upload
    others

  • View
    2

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

วารสารสารสนเทศ Journal of Information ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2550 ISSN 1513-7015

เจาของ โปรแกรมวิชาสารสนเทศศาสตรและบรรณารักษศาสตร รวมกับสํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ และ สํานักวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา

วัตถุประสงค 1. เพื่อสงเสริม พัฒนา และเผยแพรผลงานวิชาการของโปรแกรมวิชาสารสนเทศศาสตรและบรรณารักษศาสตร 2. เพื่อสงเสริม พัฒนา และเผยแพรผลงานวิชาการของสํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ 3. เพื่อสงเสริม พัฒนา และเผยแพรผลงานวิชาการของสํานักวิจัยและพฒันา 4. เพื่อเผยแพรเผยแพรงานวิชาการ และขอมลูสารสนเทศแกผูสนใจทั่วไป

ท่ีปรึกษา รองศาสตราจารย ดร.สุพล วุฒิเสน อธิการบด ี รองศาสตราจารย ดร.เอื้อมพร เธียรหิรัญ รองอธิการบด ี ผูชวยศาสตราจารยลินดา เกณฑมา คณบดีคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

กรรมการกลั่นกรอง รองศาสตราจารย ดร.ชุติมา สัจจานันท รองศาสตราจารย ดร.จุมพจน วนิชกลุ รองศาสตราจารยฉวีวรรณ คูหาภินันท ดร.มะลวิัลย ประดษิฐธีระ

บรรณาธิการ อาจารยประภาพรรณ หิรัญวัชรพฤกษ

กองบรรณาธิการ อาจารยมนตฤดี วัชรประทีป อาจารยศิริกาญจน โพธ์ิเขียว ผูชวยศาสตราจารยจิราภรณ หนูสวัสดิ์ ผูชวยศาสตราจารยชลลดา พงศพัฒนโยธิน อาจารยวรุณรัตน คนซื่อ ผศ. เผด็จ กาคํา อาจารยวิมล อุทานนท อาจารยอาภา วรรณฉว ี ผูชวยศาสตราจารย ดร.อารีวรรณ เอี่ยมสะอาด ผูชวยศาสตราจารย ดร.เสาวนีย เรืองไชยศรี อาจารยวิมล สุเสวี อาจารย ดร.อัจฉรา แกวนอย บุคลากรสํานกัวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ สํานักวิจัยและพฒันา และโปรแกรมวิชาสารสนเทศศาสตรและบรรณารักษศาสตร

ออกแบบปกและจัดพิมพ อาจารยประภาพรรณ หิรัญวัชรพฤกษ & ศิริรัตน น้ําจันทร

สถานที่ติดตอ : สํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวทิยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา

1061 อิสรภาพ 15 แขวงหิรัญรูจี เขตธนบุรี กรุงเทพฯ 10600

โทร. 02-473-7000 ตอ 1700 กด 100 โทรสาร 02-466-4342

สารบัญ ISSN 1513 - 7015 ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2550

บทบรรณาธิการ …………………………………………..

ประภาพรรณ หิรัญวัชรพฤกษ

บทความ

หนาวลมที่จี้หนาน... ผานเหมันตที่มาเกา ............................................... 1 กผศ. ชลลดา พงศพัฒนโยธิน

ศูนยสิรินธร มหาวิทยาลัยชนชาติกวางซี ................................................ 17 ประภาพรรณ หิรัญวัชรพฤกษ

หองสมุดมหาวิทยาลัยไทยในทศวรรษหนา .......................................... 23 ศิริกาญจน โพธิ์เขียว

การเขาสูตําแหนงทางวิชาการตามเกณฑใหมของ ก.พ.อ. …………..... 31 รศ. อนันต สกุลกิม

โครงการการจัดเสนทางวัดในเขตพื้นที่ฝงธนบุรีใหเปนแหลงทองเที่ยวแบบยั่งยืนในทองถิ่น …………..………………………………………

49

ผศ. วรรณวดี ชัยชาญกุล

CLASSROOM ADMINISTRATIVE INNOVATION WITH THE POPULARITY OF HIGHER EDUCATION FOR WORLD’S LOCAL UNIVERSITY: BANSOMDEJCHAOPRAYA RAJABHAT UNIVERSITY, THAILAND …....................................

59

ดร. พนอเนื่อง สุทัศน ณ อยุธยา

ผลของทรานเรสเวออะทอลและผลิตภัณฑจากองุนแดงตอการดูดซึมและอัลทราสตรักเจอรของตับของหนูเมาสและฤทธิ์การยับยั้งตอเซลลมะเร็งของคน..................................................................................

69

ดร. นภาพร แกวดวงดี

การออกแบบและพัฒนาการเรียนการสอนบนเว็บไซต เรื่อง การแสวงหาสารสนเทศ สําหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปที่6…………...

79

ฉันทนา สุคนธวิช

การเปรียบเทียบคาความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 และอํานาจการ ทดสอบของวิธีการเปรียบเทียบเชิงซอนที่ไมมีเง่ือนไขเกี่ยวกับ การ เทากันของคาความแปรปรวน สําหรับแผนการทดลองแบบสุมสมบูรณ.................................................................................................

99

ซิธิมาโวร บุญมา

คอลัมนประจํา ขาวสํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศและโปรแกรมวิชาสารสนเทศศาสตรและบรรณารักษศาสตร……………….…

115

ประภาพรรณ หิรัญวัชรพฤกษ ศิริรัตน น้ําจันทร

รสสุคนธ ไตรรงค

บทบรรณาธิการ

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม–ธันวาคม 2550) นี้จัดทําขึ้นมา โดยความ

รวมมือกันระหวางโปรแกรมวิชาสารสนเทศศาสตรและบรรณารักษศาสตร สํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ และสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา เพื่อเผยแพรผลงานดานวิชาการและประชาสัมพันธผลการปฏิบัติงานของทั้ง 3 หนวยงาน และเปนการประกันคุณภาพการทํางานอีกทางหนึ่ง

เนื้อหาภายในเลมประกอบดวย บทความจํานวน 9 บทความ ซ่ึงเปนบทความที่นําเสนอเนื้อหาสารสนเทศที่หลากหลายมากขึ้น ไมไดจํากัดวงเฉพาะสาขาบรรณารักษศาสตรและสารสนเทศศาสตรแตเพียงอยางเดียว ทั้งนี้เพื่อเปดโอกาสใหผูเขียนในสาขาวิชาอื่นๆ ไดมีแหลงเผยแพรผลงานทางวิชาการที่มีคุณคาตอสังคมอีกชองทางหนึ่งดวย นอกจากนั้นยังไดรวมบทความเกี่ยวกับงานวิจัย ของคณาจารยและนักศึกษา ซ่ึงแสดงใหเห็นศักยภาพดานการวิจัยของมหาวิทยาลัยอยางเดนชัด

ในนามของกองบรรณาธิการวารสารสารสนเทศ ขอขอบพระคุณผูเขียนบทความทุกทานที่ใหความอนุเคราะหสงผลงานมาลงวารสาร หากมีขอผิดพลาดประการใด กองบรรณาธิการยินดีรับฟงขอคิดเห็นที่เปนประโยชน เพื่อนํามาปรับปรุงแกไขใหดียิ่งขึ้นตอไป

ประภาพรรณ หิรัญวัชรพฤกษ กรกฎาคม 2550

เรียน คณาจารย และผูสนใจสงบทความทางวิชาการ ดวยกองบรรณาธิการวารสารสารสนเทศ ยินดีลงบทความทางวิชาการตางๆ ของทานคณาจารย หรือสมาชิกเพื่อเผยแพรความรูที่เปนประโยชนตอสาธารณชนทั่วไป ถาหากทานใดตองการเผยแพรบทความสามารถสงมาไดที่ สํานักวทิยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภฏับานสมเด็จเจาพระยา 1061 แขวงหิรัญรูจี เขตธนบุรี กรุงเทพฯ 10600 โทร. 02-4664342 โทรสาร 02-4664342 หรือ E-mail [email protected]

ศูนยขอมูลภาษาไทยสิรินธร มหาวิทยาลัยชนชาติกวางซี Princeness Sirindhorn Thai Information Center,

Guangxi University for Nationalities

ประภาพรรณ หิรัญวัชรพฤกษ *

มหาวิทยาลัยชนชาติกวางซีกอตั้งข้ึนเมื่อเดือนมีนาคม ปค.ศ.1952 เดิมเปนวิทยาเขตกวางซีของสถาบันชนชาติ ศูนยกลาง (ปจจุ บันชื่อมหาวิทยาลัยชนชาติศูนยกลาง) ตอมาเปลี่ยนชื่อเปนสถาบันชนชาติแหงมณฑลกวางซีในป ค.ศ.1953 เปลี่ยนอีกครั้งเปนสถาบันชนชาติกวางซีในปค.ศ.1958 และไดรับการอนุมัติจากกระทรวงศึกษาธิการยกระดับฐานะขึ้นเปนมหาวิทยาลัยชนชาติกวางซี เมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ ค.ศ.2006 เปนสถาบันอุดมศึกษาชนชาติท่ีไดรับการใหความสําคัญและการสนับสนุนเปนพิเศษในแผนการพัฒนาระยะ 5 ป ฉบับที่ 11 ของเขตปกครองตนเองชนชาติจวงกวางซีและไดดําเนินการพัฒนาภายใตความรวมมือระหวางคณะกรรมการชนชาติประเทศจีนกับรัฐบาล กวางซี มหาวิทยาลัยไดรับการใหสําคัญจากผูนําประเทศและพรรคฯ ในอดีต ฯพณฯ เหมา เจอ ตุง อดีตประธานาธิบดีจีน และฯพณฯ หู จิ่นทาว ประธานาธิบดีจีนไดใหความสําคัญโดยพบปะกับตัวแทนคณาจารยและนักศึกษาที่สอนหรือเรียนอยู ภายใตการบริหารอันมีประสิทธิภาพของมหาวิทยาลัยแหงนี้ไดประสบความสําเร็จอยางเดนชัด นับแตเริ่มการกอตั้งโดยเฉพาะหลังจากการปฎิรูปเปดประเทศ มหาวิทยาลัยไดรับรางวัลสถาบันอุดมศึกษาดีเดนดานการพัฒนาและไดรับรางวัลหนวยงานดีเดนดานการพัฒนาวัฒนธรรมประเทศจีน นอกจากนี้ยังไดรับรางวัลหนวยงานดีเดนดานการกระชับความสามัคคีชนชาติ จากคณะกรรมการชนชาติจีนถึง 2 ครั้ง และยังไดรับรางวัลหนวยงานดีเดนดานการกระชับความสามัคคีชนชาติจากรัฐบาลกวางซีหลายครั้ง มหาวิทยาลัยแหงนี้ไดผานการประเมินศักยภาพในการจัดการศึกษาระดับปริญญาตรีจากกระทรวงศึกษาธิการในป ค.ศ.1998 และไดรับเกรดดีในการประเมินศักยภาพจากกระทรวง ศึกษาธิการในปค.ศ.2003 *รองคณบดีฝายประกันคุณภาพและวิจัย, ประธานโปรแกรมวิชาสารสนเทศศาสตรและบรรณารักษศาสตร คณะ

มนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 18

มหาวิทยาลัยตั้งอยูฝงทะเลสาบเซียงซือหู ซึ่งเป ะเลสาบท่ีมีทิวทัศนสวยงามในนครหนานหนิง มีเนื้อท่ี .32 ตารางกิโลเมตร มีพื้นที่สีเขียวรอยละ 58.14 ของเนื้อท่ีท้ังหมด มูลคารวมของอุปกรณการเรียนการสอนมี 76.15 ลานหยวน หอสมุดมีหนังสือ1.16 ลานเลม มีเอกสารอิเล็กทรอนิกส 9.8 แสนเลม ปจจุบันมีคณะ 16 คณะ เปดสอนสาขาวิชาระดับปริญญาโท 42 สาขาวิชา ระดับปริญญาตรี 50 สาขาวิชา มีศูนยการจัดการศึกษาปริญญาตรีระดับชาติ 1 แหง มีสาขาวิชาสําคัญระดับเขต ปกครองตนเองฯ 2 สาขาวิชา มีหองทดลองสําคัญระดับเขตปกครองตนเองฯ นับตั้งแตมหาวิทยาลัยไดกอตั้งขึ้นมหาวิทยาลัยไดสรางบัณฑิตดาน1 หอง นอกจากนี้มหาวิทยาลัยยังไดรับการเลือกเปน 1 ใน 10 มหาวิทยาลัยที่สงเสริมการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศเพื่อนบาน สาขาวิชาตางๆ และผูบริหารที่เปนชนกลุมนอย จํานวนพอควรเปนศาสตราจารย ผูเชี่ยวชาญ นักวิจัย นักเขียน นักกวี และผูนําของพรรคฯ ทหาร เพื่อใหมหาวิทยาลัยพัฒนาไปสูอีกขั้นมหาวิทยาลัยไดยึดทฤษฎีของ ฯพณฯ เติ้ง เสี่ยว ผิงเปนทฤษฎีสําคัญในการวางแผนการพัฒนา และยึดตามวัตถุประสงคของการจัดการศึกษา เพื่อพัฒนาคุณภาพชนกลุมนอย และเขตชนกลุมนอย ดําเนินนโยบายดานการศึกษาและการพัฒนาชนกลุมนอยอยางทั่วทุกดาน เนนการจัดการศึกษาระดับปริญญาตรีเปนหลัก เนนการพัฒนาการจัดการศึกษาระดับปริญญาโทยึดลักษณะพิเศษของตนเปนพื้นฐาน เนนการสรางนวัตกรรมเปนพลังในการพัฒนา และเนนการผลิตบัณฑิตเปนหลัก แสดงใหเห็นถึงลักษณะทางชนชาติภูมิภาคและสากล เพิ่มพูนศักยภาพดานการสรางบัณฑิต การวิจัย และการบริการสังคม ยกระดับคุณภาพดานการจัดการเรียนการสอนใหสูงข้ึน อํานวยการสนับสนุนทั้งดานทรัพยากรมนุษยและปญญาใหแกการพัฒนาสังคม สรางสรรครูปแบบการจัดการศึกษาที่มีลักษณะถือการจัดการศึกษาระดับปริญญาตรีและปริญญาโทเปนหลักระบบการจัดการศึกษาตอการจัดการศึกษาระหวางประเทศและคณะตางๆ พัฒนาอยางกลมกลืนกัน เพื่อบรรลุเปาหมายใหมหาวิทยาลัยเปนมหาวิทยาลัยชนชาติท่ีมีลักษณะพิเศษทั้งดานชนชาติและภูมิภาค และมีช่ือเสียงท้ังในและตางประเทศ ในดานการพัฒนาทรัพยากรมนุษย ไดมีการเซ็นสัญญาความรวมมือกับมหาวิทยาลัยหรือสถาบันการวิจัยจากประเทศตางๆ เชน ประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศอังกฤษ นอกจากนี้ยังสงนักศึกษาไปเรียนยังประเทศตางๆ รวมท้ังประเทศไทยดวย การเปดสถาบันขงจื๊อข้ึนในประเทศไทย มีวัตถุประสงคเพื่อสรางความรวมมือระหวางมหาวิทยาลัยกับมหาวิทยาลัยในประเทศไทย เปนการเพิ่มพูนศักยภาพและพัฒนารูปแบบในการจัดการศึกษา หากตองการรายละเอียดสามารถติดตอผานทางเว็บไซทไดท่ี

นท1

http://www.gxun.edu.cn

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 19

ศูนยขอมูลภาษาไทยสิรินธร ศูนยขอมูลภาษาไทยสิรินธร มหาวิทยาลัยชนชาติกวางซ ีตั้งอยูบริเวณชั้น 1 ของอาคารที่มีสถาปตยกรรมทรงไทยประยุกต นอ ภายในอาคารยังมีโถงนิทรรศการ หองเรียน และหองประชุมดวย

กจากนี้

ศูนยขอมูลภาษาไทยสิรินธรเปนศูนยขอมูลท่ีเปดใหบริการสารสนเทศเฉพาะภาษาไทยเทานั้นโดยเปนแหลงขอมูลในการศึกษาคนควาเกี่ยวกับภาษาไทยและประเทศไทยแกนักศึกษาและบุคคลท่ัวไปที่มีความสนใจใฝรูขอมูลแกผูใชบริการเหลานี้ เพื่อเขามาศึกษาคนควาเพิ่มเติม โดยมีบรรณารักษสาวชาวจีนช่ือ”กุงจุน”เปนผูใหบริการ ([email protected]) ศูนยขอมูลนี้มีการนําระบบคอมพิวเตอรและบารโคดเขามาชวยในงานบริการยืม-คืนสารสนเทศ ซึ่งทางมหาวิทยาลัยเปนผูพัฒนาขึ้นมาจากโปรแกรม MS Access เพื่อใชในงานหองสมุดของมหาวิทยาลัย รูปแบบการจัดหมวดหมูทรัพยากรสารสนเทศใชระบบหอสมุดรัฐสภาอเมรกิัน (LC) โดยเนนบริการหนังสือในหมวดศาสนา, ประวัติศาสตร, สังคมศาสตร (B D F H) นอกจากนี้ยังใหบริการหนังสืออางอิง นวนิยาย เรื่องสั้น วารสาร และหนังสือพิมพภาษาไทยดวย และในเดือนมิถุนายน 2550 ท่ีผานมา ในนามรัฐบาลไทย โดยรัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงศึกษาธิการ เปนตัวแทนประเทศไทยมอบหนงัสือภาษาไทยแกศูนยขอมูลภาษาไทยสิรนิธร มหาวิทยาลยัชนชาติกวางซี (กวางส)ี ระหวางการเดินทางเพื่อรวมงานสัมมนาวิชาการและนิทรรศการดานการศึกษาไทย ณ นครหนานหนิง สาธารณรัฐประชาชนจีน โดยมี ศ.เหอ หลง ฉวน อธิการบดีมหาวิทยาลัยชนชาติกวางสีเปนผูรบัมอบ การสงมอบหนังสอืครั้งนี้ไมใชมีหมายความแคเพียงเอกสารเผยแพรความรูเกี่ยวกับประเทศไทย หรือความรวมมอืทางวิชาการที่มหาวิทยาลัยชนชาติกวางซีและสถาบันการศึกษาไทยมีตอกันเทานั้น แตยังแสดงถึงมติรภาพอันดียิง่ท่ีเขตปกครองตนเองกวางซีและประเทศไทยมีตอกันมายาวนาน ท้ังนี้ศูนยขอมูลภาษาไทยสิรินธร มีสวนอยางยิ่งในการกระชับความสัมพันธภาพใหแนนแฟนยิ่งข้ึน ซึ่งสมเดจ็พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีทรงตระหนักถึงความสําคัญของศูนยขอมูลภาษาไทยแหงนี้ และไดเสด็จฯ มาทรงเปดศูนยขอมูลภาษาไทยสิรินธรดวยพระองคเองเมือ่ป 2548 และไดพระราชทานหนังสือภาษาไทย และพระราชทรัพยสวนพระองคจํานวนกวา 1 ลานหยวนใหดวย พรอมทรงชื่นชมการสอนภาษาไทยของมหาวิทยาลัยดวย สําหรับหนังสือท่ีมอบใหในครั้งนี้สวนหนึ่งเปนหนังสือพระราชทานจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกมุาร ีซึ่งไดอัญเชิญมามอบใหและอีกสวนหนึ่งเปนหนงัสอืท่ีไดมาจากสํานักงานคณะกรรมการสงเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา(สกสค.)

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 20

นักศึกษาจีนเขาใชบริการหนังสือและวารสารภายใน

ศูนยขอมูล

บริการยืม-คืน

การจัดหมวดหมูหนังสอื จัดทําโดยสํานักหอสมุด

ของมหาวิทยาลัย และอธิบายการจัดหมวดหมูหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน

นวนิยายและเรือ่งสั้น กําหนดสัญลักษณพิเศษคือ หมวด I

สวนหนังสืออางอิงใชแถบสีเขียว

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 21

ชองทางการเขาใชโปรแกรมหองสมุดอัตโนมตัิ (ภาษาจีน) ในอนาคตจะมีการพัฒนาเปนภาษาอังกฤษดวย ผูใชบริการยืม-คืนหนังสือ ตองแสดงบัตรนักศึกษาประกอบ

* * * * * * * * * * * * * * * * * *

บรรณานุกรม “ไทยมอบหนังสือแกศูนยขอมูลสิรินธรเปนแหลงขอมูลประเทศไทย” หนังสือพิมพเสียงใตรายวัน,

[หนังสือพิมพอเิล็กทรอนิกส], 17 มิถุนายน 2550 : 7, จาก : http://www.siangtai.com/TH/ newsthai_detail.php?News_ID=6497

สรุปผลการศึกษาดูงานมหาวิทยาลัยชนชนติกวางซี. กรุงเทพฯ : คณาจารยคณะศึกษาดูงานในสาขา ประกาศนียบัตรวิชาชีพครู มหาวิทยาลัยราชภฏับานสมเด็จเจาพระยา, 2550.

หองสมุดมหาวิทยาลัยไทยในทศวรรษหนา : มิติใหมในการการเขาถึงขอมูล

ศิริกาญจน โพธิ์เขียว *

บทนํา

หองสมุดเปนสถานที่ที่มีบทบาทสําคัญ ในการจัดเก็บ รวบรวมและเผยแพรสารสนเทศทุกประเภท ไดแกสื่อสิ่งพิมพ สื่อโสตทัศน และสื่ออิเล็กทรอนิคสไปสูผูใชบริการ เพื่อใหผูใชบริการไดรับความรู รวมทั้งใหการศึกษาตอเนื่องตลอดชีวิต และการที่หองสมุดจะเปนแหลงการเรียนรูไดนั้น จะตองมีบทบาทหลักอยู 2 ประการ คือการเขาถึง และการนําเสนอวิธีการถายทอดความรูที่คุมคา คือจะตองรูวาผูใชบริการมีวัตถุประสงคอะไรในการใชหองสมุด

ในปจจุบันกระแสโลกาภิวัฒนเขามามีผลกระทบตอหองสมุด ทั้งนี้เกิดจากความเจริญกาวหนาทางเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารที่ขยายตัวมากขึ้น ผูใชบริการมีความตองการใชสารสนเทศอยางสะดวกสบาย และที่สําคัญหองสมุดมีขุมความรูมากมายมหาศาลที่จัดเก็บในรูปเลมสิ่งพิมพไมไดอีกตอไปแลว จึงจําเปนตองจัดเก็บในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส ดังนั้นการเขาถึงทรัพยากรสารสนเทศจึงเปนสิ่งจําเปน และสําคัญยิ่ง การใชเทคโนโลยีและการนํานวัตกรรมตางๆ เขามาใชในหองสมุดทําใหการเขาถึงทรัพยากรตางๆ กระทําไดงาย กวางขวาง และรวดเร็วขึ้น หองสมุดจึงกลายเปนองคกรใหมแหงการเรียนรูที่เขาใชไดอยางสะดวกสบาย พัฒนาการและแนวโนมท่ีสําคัญในนวัตกรรมหองสมุด แรงกานาทาน (Ranganathan) ไดกลาวถึง ปรัชญาในการปฏิบัติงานของวิชาชีพบรรณารักษไววา 1. Books are for use. หนังสือมีไวเพื่อใช 2. Every reader, his book. ผูอานทุกคนมีหนังสือที่ตองการ 3. Every book, its reader. หนังสือทุกเลมมีผูที่ตองการอาน 4. Save the time of the reader. ประหยัดเวลาของผูอาน 5. Library is a growing organization. หองสมุดเปนองคกรที่เติบโต

ตลอดเวลา จากปรัชญาหองสมุดดังกลาวสะทอนใหเห็นถึงบทบาทและหนาที่ในการปฏิบัติ งานของหองสมุด ที่ยังคงเนนความสะดวกสบายของผูใชบริการเปนหลัก โดยเฉพาะขอที่ 3 ที่เนนวาหนังสือทุกเลมในหองสมุดตองมีผูอาน ทําอยางไรจึงจะใหหนังสือทุกเลมในหองสมุดมีผูอาน นั่นหมายถึงหองสมุดตองทําใหผูใชบริการเขาถึงหนังสือทุกเลม หรือเรื่องทุกเรื่องที่ผูใชบริการตองการใหได

*ผูอํานวยการสํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ และอาจารยประจําโปรแกรมวิชาบรรณารักษศาสตรและสารนิเทศศาสตร คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 24

หองสมุดมีพัฒนาการมาเปนพันป ถานับจากการจัดระบบรายชื่อหนังสือเปนหมวดๆ ในยุคหองสมุดอเล็กซานเดรียแหงอียิปต ที่เรียกระบบนั้นวาบทบัญญัติแหงจักรวาล จนกระทั่งถึงยุคแหงการเปลี่ยนแปลงครั้งยิ่งใหญ เมื่อโยฮันน กูเต็นเบิรก ประดิษฐแทนพิมพขึ้นเปนครั้งแรกของโลกในค.ศ.1440 หนังสือคัมภีรเลมแรกจึงเกิดขึ้นในป ค.ศ.1450-1455 ถือเปนกําเนิดของการบันทึกขอมูลความรูลงบนกระดาษพิมพที่เรียกวาหนังสือ ตอมาการบริการหองสมุดที่เคยเปนช้ันปดมิดชิดและเปนหองสมุดสวนตัวของผูมั่งคั่ง ขยายเปนการบริการช้ันเปดและเริ่มมีที่นั่งสําหรับผูนั่งอาน จากหนังสือในหองสมุด พันกวาเลมกลายเปนลานเลม จะเห็นไดวาหองสมุดในอดีตเนนการสะสมความรู และการจัดหาทรัพยากรใหไดมากที่สุด ถือเปนแหลงสะสมความรูที่มขีนาดใหญ รวมถึงมีการจัดระบบหนังสือตางๆใหอยูบนชั้นอยางเรียบรอย และบรรณารักษเปนผูสรางสัญลักษณของหนังสือแตละเลมใหมีความแตกตางกัน โดยใหความสําคัญกับจํานวนของทรัพยากรที่เพิ่มขึ้น

จากค.ศ.1990 เปนตนมาจนกระทั่งถึงปจจุบัน เทคโนโลยีคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ตเริ่มแพรหลาย หองสมุดไดเผชิญหนากับคลื่นเทคโนโลยีมาแลว 2 ครั้ง โดยคลื่นลูกแรกในป ค.ศ. 1970 มีการนําคอมพิวเตอรเขามาชวยควบคุมในการจัดหา ทํารายการ และกิจกรรมตางๆ คลื่นลูกที่สองในป ค.ศ. 1990 มีการพัฒนาเครือขายคอมพิวเตอรซึ่งมีการขยายวงกวางโดยเฉพาะในมหาวิทยาลัย เครือขายตางๆ ชวยในการเขาถึงสารสนเทศไดไมวาจะอยูไกลแคไหน การไดรับขอมูลจากเครือขายอิเล็กทรอนิกสถือวาเปนขอมูลทุติยภูมิ ในปจจุบันเราสามารถเขาถึงเนื้อหาของบทความวารสารเต็มฉบับรวมทั้งตําราอิเล็กทรอนิกสไดแลว ผูอานสามารถอานและเขาถึงไดจากภายนอกหองสมุด กิจกรรมของหองสมุดที่ผานมาสงผลตอนวัตกรรมที่เกิดขึ้น เชนการเปลี่ยนแปลงหรือการพัฒนาเทคโนโลยีอยางตอเนื่อง คือนวัตกรรมของหองสมุดนั่นเอง แนวโนมของนวัตกรรมที่สําคัญอันดับแรกคือ ช้ันหนังสือจะมีผูใชนอยลง นั่นหมายถึงผูใชจะใชหนังสือที่เปนรูปเลมนอยลง แตจะใชหนังสืออิเล็กทรอนิกสมากขึ้น ซึ่งกิจกรรมของหองสมุดจะตองสงเสริมความตองการนี้ หองสมุดจะมีหนาที่เปนเพียงประตูผานไปสูขอมูลมากมายมหาศาลหรือเปนเพียงผูนําทางเทานั้น ผูใชจะมีพฤติกรรมการคนหาขอมูลดวยตนเองมากขึ้น หองสมุดจะตองใหบริการกับผูที่อยูหางไกล ผูใชจะเลือกใชทรัพยากรในขณะที่อยูที่บานหรือที่ทํางาน โดยอาศัยคอมพิวเตอรเปนเครื่องมือ ดังนั้นหองสมุดตองทําใหผูใชเขาถึงทรัพยากรอิเล็กทรอนิกสไดอยางสะดวก และงายดาย ไมวาจะอยูที่ใดก็ตาม แนวโนมของนวัตกรรมที่สําคัญตอมาคือ พฤติกรรมในการคนหาหนังสือในหองสมุดจะถูกเปลี่ยนไปอยางรวดเร็ว ในหองสมุดมหาวิทยาลัยหนาที่พ้ืนฐานคือสนับสนุนการศึกษาและ การวิจัย การศึกษาคือการถายทอดความรูจากครูไปสูนักเรียน หองสมุดมีหนาที่ในการจัดหาทรัพยากรตางๆ โดยการใชเทคโนโลยีในการแพรกระจายความรู การบริการของหองสมุดจะถูกทําใหกลมกลืนไปกับกระบวนการในการสอน แนวโนมของหองสมุดจะตองใหคําปรึกษาที่ถูกกฎหมายในการเปนแหลงสารสนเทศ ตองมีหนาที่ในการบูรณาการระหวางหนาที่หลักและความตองการของผูใช และเปลี่ยนรูปแบบการใหบริการคนหาหนังสือบนช้ัน มาอยูบนคอมพิวเตอรแทน แนวโนมของนวัตกรรมสุดทายคือความสัมพันธของขอมูลที่มีตอกันบนจอคอมพิวเตอร บรรณารักษตองสังเกตความเชื่อมตอของปญหาตางๆในการเขาถึงขอมูลที่มีอยูหลากหลาย จึงจําเปนตองมีการนําเสนอขอมูล

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 25

ในแตละเรื่องทั้งในรูปที่เปนขอมูลตัวอักษร กราฟฟก และขอมูลเชิงเปรียบเทียบดวย งานที่เคยปฏิบัติมาตองมีการบูรณาการใหเหมาะสมมากขึ้นเพื่อลดแรงกดดันจากสภาพแวดลอมซึ่งจะเกิดขึ้นในอนาคตดวย นอกจากนั้นนวัตกรรมดานโครงสรางของหนาที่หลักตางๆในหองสมุดควรตองมีการปรับเปลี่ยนโดยการจัดกิจกรรมเพื่อคนหารูปแบบของโครงสรางที่เหมาะสมของหองสมุดแตละแหง อยางไรก็ตามหองสมุดตองอยูในรูปแบบของความรวมมือกัน พัฒนารูปแบบการจัดหาขอมูล ซึ่งเปนความจําเปนของนวัตกรรมและมีการทดลองใหมๆเกิดขึ้นเพื่อทดแทนโครงสรางเดิมที่เคยทําในทุกๆสวนงานของหองสมุด โดยหองสมุดควรจะพยายามเปลี่ยนรูปแบบเปนสํานักพิมพที่ใหขอมูลเปนเอกสารทางอิเล็กทรอนิกส นวัตกรรมหองสมุด หองสมุดตองมีการพัฒนาไปมากกวาการพัฒนาในรูปแบบเดิมๆ โดยเฉพาะการพัฒนาดานเทคนิค กระบวนการ นวัตกรรม ตองการความคิดสรางสรรคเปนอยางมากรูปแบบของ การบริหารจัดการตองมีการเปลี่ยนแปลงไป ซึ่งขึ้นอยูกับสถานการณของแตละหองสมุดการ วิเคราะหกลยุทธที่เหมาะสมนาจะเปนสิ่งที่จําเปนที่จะกอใหเกิดกิจกรรมในรูปแบบใหมๆแตอยางไร ก็ตามกระบวนการของนวัตกรรมก็ไมไดเกิดขึ้นงายๆเนื่องจากหลายองคประกอบเชนความซับซอน ขององคกร หรือการมีหองสมุดสาขาหลายแหงแตมีการใหบริการที่แตกตางกัน จํานวนผูใชบริการ หรือการพัฒนาของเทคโนโลยีอยางรวดเร็ว เปนตน องคประกอบเหลานี้เปนสิ่งสําคัญที่จะตองมีการบริหารจัดการที่ดีอันจะนํามาสูกระบวนการจัดการนวัตกรรมที่เหมาะสม อุปสรรคสําคัญอันดับแรกของนวัตกรรมในหองสมุดคือ หองสมุดยังขาดความยืดหยุนในการบริหารจัดการองคการ เพราะมีกลุมงานตางๆ แยกชัดเจน ทําใหการปรับเปลี่ยนเปนไปไดยาก และทําใหบุคลากรไมสามารถที่จะไปทํางานในกลุมงานอื่นๆได องคประกอบที่สองคือบรรณารักษเปนนักอนุรักษนิยมโดยอาชีพ จากอุปสรรคดังกลาวทําใหนวัตกรรมไมใชสิ่งที่จะเกิดขึ้นงายๆในองคกรหองสมุด อยางไรก็ตามหองสมุดสวนใหญมักมีศูนยกลางของนวัตกรรมอยูที่กลุมงานไอที ซึ่งมักจะเปนลักษณะงานประจํา ดังนั้นฝายนี้ควรตองสรางโครงการหรือกิจกรรมใหมๆ มากกวาการทํางานประจํา ซึ่งจะตองถือเปนสิ่งสําคัญที่จะยึดถือปฏิบัติ บุคลากรในกลุมงานอื่นๆ นอกจากไอทียังมีความรูสึกไมเปนมิตรกับนวัตกรรมใหมๆ เพราะคิดวาเปนเรื่องของฝายไอทีมากกวา บุคลากรสวนใหญยังมีความขัดแยงทางความคิดระหวางความตองการนวัตกรรม และความตองการเปลี่ยนแปลงในเรื่องอื่นๆ ดังนั้นหนทางที่เหมาะสมคือกระบวนการนวัตกรรมตองถูกกําหนดไวในเปาหมาย และความรับผิดชอบของบุคลากรทุกคนในหองสมุด โดยใหบุคลากรกลุมงานไอทีเปนผูนําพาและสนับสนุน สิ่งสําคัญในการเขาถึง หนาที่หลักของหองสมุดมหาวิทยาลัย เพื่อสนับสนุนการศึกษา คนควา และการวิจัย ถาผูใชตองการขอมูลทางดานใด ผูใหบริการตองรูจักประยุกตความตองการของผูใช และสิ่งที่มีในหองสมุดเขาดวยกันใหได รวมทั้งสามารถวิเคราะหความตองการ และจัดหาขอมูลเพื่อเพิ่มมูลคาใหกับหองสมุดของตนเอง ในอดีตหองสมุดผูใชบริการมีความยากลําบากในการเขาถึงสารสนเทศโดยเฉพาะทางดานการศึกษา และวิจัย ถึงแมหองสมุดจะมีการจัดระบบที่ดีแลวก็ตาม คําศัพทตางๆที่ปรากฏในระบบเปนประโยชนตอบรรณารักษมากกวาผูใชบริการ

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 26

ดังนั้นในปจจุบันการคนหาขอมูล บรรณารักษควรจะชวยใหมันงายและเร็วขึ้น รวมถึงทําใหการเขาถึงทรัพยากรเปนไปตามที่ผูใชตองการดวย อยางไรก็ตามการเขาถึงขอมูลที่ตองการ บรรณารักษยังมีความจําเปนตองแนะนํา และเปนผูสอนการใชหองสมุดอันจะนําไปสูทรัพยากรที่ตองการได ซึ่งผูสอนตองมีความรูที่ดีมาก ที่ตองกลาวเชนนี้เพราะศูนยกลางของนวัตกรรมหองสมุดคือเนนการยกระดับของทรัพยากรใหสามารถเชื่อมตอไดโดยงายคือการเขาถึงทรัพยากรที่มากมายมหาศาลนั่นเอง และตองเขาถึงไดอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลดวย นโยบายของหองสมุดยุคใหมจะตองเนนการเขาถึงขอมูลโดยระบบอิเล็กทรอนิกส แตยังสามารถบอกรับตัวเลมไดอยู ซึ่งผูใชจะสามารถเขาถึงทรัพยากรทุกชนิดไดหมด แตทั้งนี้ขึ้นอยูกับงบประมาณของหองสมุดและกลุมของผูใชดวย ความคิดเหลานี้จะทําไดตองมีการบริหารจัดการที่ดีระหวางหองสมุดและสํานักพิมพ ซึ่งมีตัวแปรอยู 3 ตัวคือ ตัวแปรแรกคือ เขาถึงโดยไมมีคาใชจาย ตัวแปรตอมาคือมีการกําหนดกลุมผูใชตามสิทธิในการใช และตัวแปรสุดทายคือเมื่อตองการใหแสดงผลหรือแสดงขอมูลถึงจะจายคาบริการ ดังนั้นหองสมุดจึงจําเปนตองปรับเปลี่ยนใหอยูในรูปดิจิตอล ซึ่งหมายถึงการเขาถึงเนื้อหาของขอมูลโดยตรง ผานเว็บไซต มีประโยชนเพื่อเปนการอนุรักษความรู และขอมูลที่มีคุณคา ทําใหผูใชหลายคนเขาถึงขอมูลที่ตองการไดในเวลาเดียวกัน และทําใหผูใชเขาถึงเนื้อหาของขอมูลไดโดยตรง ซึ่งการเขาใชขอมูลในสํานักพิมพนั้นยังมีขอควรสังเกตของผูใชและบรรณารักษอยูหลายประเด็น เชน ความรวดเร็วในการรับสงขอมูล เอกสารที่ไดรับจะเปดเผยตอไดหรือไม หรือประสิทธิผลของการไดรับตัวเอกสารจะถูกตองหรือไม เปนตน การปรับเปลี่ยนหองสมุดใหเปนดิจิตอลนั้น สิ่งที่ตองคํานึงถึงคือ เอกสารตองมีความสมบูรณเทาที่จะเปนไปได การเขาถึงขอมูลน้ัน หองสมุดจําเปนตองรูจักผูใช และมีสัมพันธภาพที่ดี จะทําใหรูความตองการของผูใชซึ่งจะทําใหการบริการนาประทับใจ กอนอื่นตองดูวาอะไรที่จะเปนอุปสรรคตอการเขาถึงขอมูล

ปจจัยสําคัญในการจัดบริการเพื่อเอื้อตอการเขาถึงขอมูลไดแก

1. เทคโนโลยีสารสนเทศ การพัฒนาในเรื่องของขอมูล ขาวสารจะถูกเปลี่ยนจากสิ่งพิมพไปเปนสื่ออิเล็กทรอนิกส มากขึ้น สวนในรูปของสิ่งพิมพจะกลายเปนทางเลือก นอกจากนี้รูปแบบของการเรียนการสอนก็จะปรับเปลี่ยนไปเปนรูปแบบอิเล็กทรอนิกสมากขึ้น บทบาทของหองสมุดก็จะตองปรับเปลี่ยนใหสอดคลองกับบริบทภายนอกที่เปลี่ยนไป เทคโนโลยีที่เอื้อตอการเขาถึงขอมูล มีดังนี้ 1.1 สืบคนงาย ผูใชตองการระบบที่ใชงานไดทันทีในการเปดใชเครื่อง (ไมมีรหัสใดๆในการใช) ไมสนใจรูปแบบ หรือโครงสรางของขอมูล สนใจขอมูลตนฉบับ ผูใชตองการคําตอบที่เกี่ยวของกับเรื่องที่ตองการเทานั้น 1.2 มีหนาโฮมเพจที่ใชงานงาย มีโปรแกรมที่ใชงานงายและผูใชเปรียบเสมือนบรรณารักษโดยตัวของเขาเอง โปรแกรมนั้นสามารถจัดการกับบทความและขอมูลงานวิจัยตางๆได และสามารถเชื่อมโยงไปยังหองสมุดอื่นๆได 1.3 ตองเปนระบบที่มีปฏิสัมพันธ ผูใชที่เปนนักวิจัยสวนใหญ ไมใชเปนแต เพียงผูบริโภคขอมูลเทานั้น บางครั้งตองการที่จะสงขอมูล หรือพูดคุยกับนักวิจัยคนอื่นๆ เพื่อใหขอเสนอแนะ หรือขอคิดเห็นดวย

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 27

2. บุคลากร บทบาทของบรรณารักษจะตองปรับเปลี่ยนจากผูที่เคยผลิตหรือจัดสรางฐานขอมูล ไปเปนผูที่มีหนาที่หลักในการใหบริการขอมูลแทน บรรณารักษพึงมีทักษะและคุณสมบัติที่สําคัญดังนี้ 2.1 ทักษะในการสอน สามารถสอน ถายทอดหรือแนะนําผูใชในการที่จะเขาถึงขอมูลที่ตองการ รวมทั้งอาจตองมีหนาที่ชวยเหลือผูใชในการรวบรวมขอมูลสําหรับการทําวิจัย วิทยานิพนธซึ่งตองใชความสามารถในการสืบคนขอมูลในเชิงลึกและซับซอน 2.2 ทักษะในการใหบริการ การใหบริการตอบคําถามที่เปนคําถามพื้นฐานเกี่ยวกับการสืบคนขอมูลในหองสมุดนั้นเปนเพียงหนาที่พ้ืนฐานเทานั้นซึ่งบรรณารักษ จะตองเปลี่ยนบทบาทจากบรรณารักษบริการตอบคําถามเปนบรรณารักษที่เช่ียวชาญเฉพาะสาขาวิชา และตองใหบริการดวยความสะดวก รวดเร็ว ทันเวลา และตรงตอความตองการของผูใช นอกจากนี้ยังตองเปนผูที่หมั่นเรียนรูตลอดเวลา 2.3 ทักษะทางเทคนิคที่เกี่ยวกับไอที เชน เทคโนโลยีการจัดทําดัชนี และฐานขอมูล การออกแบบเว็บไซต และโปรแกรมคอมพิวเตอรตางๆ เปนตน 2.4 ทักษะความเปนผูนํา ควรมีความสามารถในการบริหารจัดการที่ดีสามารถ ในการสรางบริการใหมๆอยูตลอดเวลา และปรับเปลี่ยนรูปแบบการทํางานเพื่อนําไปสูความสําเร็จขององคกรได

2.5 ทักษะเฉพาะตัว ตองเปนผูหมั่นเรียนรูตลอดเวลา มีความยืดหยุนใน การ ปฏิบัติงาน เปนผูต่ืนตัวอยูเสมอ เชน ในบางสถานการณผูใชตองการความชวยเหลือจากบรรณารักษ ดังนั้นบรรณารักษตองเตรียมตัวใหพรอมอยูเสมอที่จะเปนผูชวยเหลืออยางทันการณ

หองสมุดในอนาคต ในอดีตการเขาถึงขอมูลเปนการสื่อสารทางเดียว และมีมิติเดียว สิ่งเหลานี้แกไขไดดวยไอที การประยุกตใชเทคโนโลยีสมยัใหมเปนสิ่งที่ตองดําเนินตอไป ถึงอยางไรก็ตามมันยังคงเปนการสังเกตทางเดียว ในอนาคตการหยั่งรูในเชิงวิทยาศาสตรจะเชื่อมโยงกับผลสําเร็จในทางเทคโนโลยี ผูใชจะสามารถสืบคนขอมูล และทองเที่ยวไปยังช้ันหนังสือในรูปแบบหลากหลายมิติที่อยูในคอมพิวเตอร เนื้อหาที่พบจะเปรียบเสมือนสิ่งมีชีวิต และหองสมุดจะตองชวยเหลือผูใชบริการดวยวิธีการใหมๆ เครื่องมือหรือโปรแกรมในการสืบคนตองออกแบบใหสามารถตอบคําถามที่เฉพาะเจาะจงไดอยางเยี่ยมยอด การเพิ่มมูลคาของขอมูลโดยการนําทรัพยากรที่มีอยูมากมายมาอยูที่เดียวกันใหได บรรณารักษตองสามารถสรางสิ่งที่คลายกับสารานุกรมคือรวมแหลงความรูทั้งหมดใหเช่ือมโยงเขาดวยกันใหได ดังนั้นหองสมุดจึงเปนสารานุกรมที่มีหลายมิติ เทคโนโลยีสารสนเทศที่มีในหองสมุดจะชวยทําใหหองสมุดใกลชิดผูใชบริการมากขึ้น ไมวาจะเปนนักศึกษา อาจารย ระบบอัตโนมัติจะมีจํานวนนอยลง แตมีประสิทธิภาพมากขึ้นโดยเฉพาะในการขนสงขอมูล ซึ่งอาจกอใหเกิดชองวางระหวางการบริการและความคิดสรางสรรค โปรแกรมสืบคนขอมูลที่เกงจะนําขอมูลไปสูผูใชดวยความเร็วสูง การใชบริการของหองสมุดก็จะถูกกระทําใหงายขึ้น และเปนการบริการที่ตรงกับความตองการที่แทจริงของผูใช งานบริการในอนาคตจะลดลงกลับกลายเปนผูใชบริการจะสามารถคนหาขอมูลที่สอบถามผานจอคอมพิวเตอรเทานั้น บรรณารักษจะถกูอิทธิพลของคอมพิวเตอรเขามามีบทบาทบริการแทน

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 28

บรรณารักษ จอคอมพิวเตอรจะทําหนาที่ตอบคําถามแทน ซึ่งจะแตกตางไปจากเดิม ที่ผูใชบริการจะพบหนาบรรณารักษผูใหบริการ จากการวิเคราะหภาพในอนาคตของหองสมุดมหาวิทยาลัยในทศวรรษหนา มีองคประกอบสําคัญที่จะนําไปสูมิติใหมดังนี้ 1. การเขาถึง คือ หองสมุดจัดเปนสถานที่เพื่อการเรียนรูแบบตอเนื่องตลอดชีวิต ดังนั้นสิ่งที่ตองคิด และควรทําคือ เวลาที่ใหบริการตองมากกวาเวลาทําการของราชการ และความเชี่ยวชาญในการจัดการแหลงวิทยาการตาง ๆ ดวย เพื่อใหผูใชบริการสามารถชวยเหลือตนเองในการสืบคนขอมูลได รวมทั้งการนําเสนอที่ดึงดูดใจ 2. เทคโนโลยีสารสนเทศ หองสมุดควรคํานึงถึง โครงสรางพื้นฐาน สําหรับการเตรียมระบบที่ดีไวเพื่อการบริการอยางเต็มที่และคุมคา เพื่อใหผูใชบริการไดเขาถึงแหลงขอมูลขาวสารที่กวางไกล ดวยบริการออนไลน และระบบเครือขายระหวางประเทศ ในดานการใหบริการแกผูใช หองสมุดควรจัดทํา โฮมเพจ ของตน โดยจัดทําเปนตัวเลือกใหผูใชเขาระบบไดงาย และสามารถเชื่อมโยงไปยังหองสมุดทุกแหงที่อยูในเครือขายได 3. ความเช่ียวชาญ บรรณารักษจะตองมีความเชี่ยวชาญในการจัดการ และการสรางชุดความรู ตองทราบถึงประเภทของสิ่งพิมพตาง ๆ เพื่อจัดใหเหมาะสมกับผูรับบริการ ควรมีความเชี่ยวชาญในการเขาถึงแหลงวิทยาการหลากหลายชนิดและประเภทตาง ๆ ที่มีความแตกตางกันในการตอบคําถามทุกวิชา และทุกระดับ ตองมียุทธศาสตรในการคนหาที่มีประสิทธิภาพ และความเชี่ยวชาญที่เพิ่มขึ้นในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ หองสมุดจําเปนตองปรับเปลี่ยนบทบาทของตนเอง โดยศึกษาความตองการบริโภคของผูใชใหเพิ่มมากขึ้น หองสมุดทุกมุมโลกตองเปดกวางในเรื่องความกาวหนาของงานบริการ หองสมุดใดสามารถบริการใหผูใชไดรวดเร็ว สามารถนําเครื่องมือหรืออุปกรณที่ชวยใหบริการที่เร็วกวา ถือวาเปนหองสมุดที่ทันสมัยนําหนากวาหองสมุดอื่นๆ

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 29

สรุป หองสมุดในอนาคตจะเปนหองสมุดในลักษณะ Full Service ที่ผูใชบริการสามารถเลือกรับขอมูลขาวสารไดทุกรูปแบบไมวาขอมูลน้ันจะอยูในรูปสื่อสิ่งพิมพ สื่อโสตทัศน หรือสื่ออิเล็กทรอนิกส จากพัฒนาการของหองสมุดดั้งเดิมที่เนนการจัดทรัพยากรมาเปนการใชเทคโนโลยีจัดการทรัพยากร และการสืบคนที่รวดเร็วมาถึงการแปลงทรัพยากรใหอยูในรูปดิจิตอล ไปถึงการเชื่อมโยงกลุมขอมูลของหองสมุดตางๆที่เช่ือมโยงกันเหมือนเปน One Big Library สุดทายนี้หองสมุดมหาวิทยาลัยไทยในทศวรรษหนา จะมีขนาดเล็กลง และมีความพอเหมาะ มีเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ โดยมีการดําเนินการอยูบนพื้นฐานขุมความรู ที่มีมากกวา สื่อสิ่งพิมพ สื่อโสตทัศนและสื่ออิเล็กทรอนิกส ระยะทางการใหบริการจะหมดความหมาย มีกรอบการทํางานที่ปราศจากกําแพง และขุมความรูที่มีมากมายมหาศาล จะทําใหสังคมไทยกลายเปนสังคมแหงการเรียนรูอยางปราศจากขอจํากัดใดๆ

* * * * * * * * * * * * * * *

บรรณานุกรม

น้ําทิพย วิภาวิน. (2548). การบริหารหองสมุดยุคใหม. กรุงเทพฯ : เอสอาร พริ้นติ้ง แมสโปรดักส น้ําทิพย วิภาวิน. (2542). หองสมุดยุคใหมกับไอที. กรุงเทพฯ : sum publishing department วลัยลักขณ แสงวรรณกูล. (2548) “แนวโนมของหองสมุดมหาวิทยาลัยของไทยในอีก 10 ป

ขางหนา.” อินฟอรเมชั่น. 12, 1 (มกราคม-มิถุนายน) : 1-5. ศรีไพร ศักดิ์รุงพงศากุล. (2547). คอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม. กรุงเทพฯ : ทอป/แมคกรอ-ฮิล. สุขุม เฉลยทรัพย. (2547). วิสัยทัศนและแนวโนมของหองสมุดประเทศไทย ป 2553. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต (เอกสารประกอบการบรรยาย) หองสมุดในอนาคต. 2007. http://www.spu.ac/Englang/spu_news/thai/thai44/pic_915/9-15.htmlหองสมุดในอนาคต. 2007. http://www.unc.ac.th/lib/weblib/libfuture.htmlหองสมุดในอนาคต : ทําความรูจักกับหองสมุดเสมือนหรือ Virtual library. 2007 http://pioneer.netserv.chula.ac.th/~spoungpa/book2.htmlArms, William Y. 2000. Digital libraries. Cambridge, Mass : The MIT Press. Jordan, Matthew. 2007. Looking for a future library : How will digital technology and digital

culture change our libraries, and librarians? http://zine375.eserver.org/issue1/online3.htmlSavenije, Bas. 2000. The future of the library.

http://www.library.uu.nl/staff/savenije/publicaties/florence.html

การเขาสูตําแหนงทางวิชาการตามเกณฑใหมของ ก.พ.อ.

รศ. อนันต สกุลกิม* เนื่องจากตนเดือนมีนาคม พ.ศ. 2550 ไดมีประกาศ ก.พ.อ. เรื่องหลักเกณฑและวิธีการพิจารณาแตงตั้งบุคคลใหดํารงตําแหนงผูชวยศาสตราจารย รองศาสตราจารย และศาสตราจารย (ฉบับที่2) พ.ศ. 2550 โดยใหยกเลิกฉบับเดิมทิ้งและใชฉบับใหมแทน ทั้งนี้ต้ังแตวันถัดจากประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป (3 เมษายน พ.ศ. 2550) ประกาศฉบับนี้มีสาระแตกตางไปจากฉบับป 2549 คอนขางชัดเจนกวา และบางขอมีการเปลี่ยนแปลงไปจากของเดิมมาก ผมเห็นวาเปนประโยชนตอคณาจารยชาวคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีตลอดจนคณาจารยทั่วไปในมหาวิทยาลัย รวมทั้งคณาจารยที่สอนอยูในระดับอุดมศึกษาอื่นๆ จึงขอนํามาเผยแพรเลาสูกัน ทั้งนี้เพื่อใหคณาจารยรุนนองทั้งในมหาวิทยาลัยเราเอง และที่อยูรวมในวงวิชาการเดียวกันที่ต้ังใจจะเขาสูตําแหนงทางวิชาการไดเตรียมตัวทําผลงานจัดวางแผนในเรื่องการเผยแพรผลงาน หรือจัดเตรียมเอกสารประกอบการสอน เอกสารคําสอน และจัดเตรียมตัวในการสอน เพื่อการประเมินผลการสอนตามกระบวนการใหมไดอยางถูกตองเสียแตเนิ่นๆ ก.พ.อ. คืออะไร มีอํานาจหนาที่อยางไร ก.พ.อ. ยอมาจากคําวา คณะกรรมการขาราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา ซึ่งเดิมก็คือคณะกรรมการมหาวิทยาลัย (ก.ม.) ตอมาเมื่อป พ.ศ. 2547 มีการออกพระราชบัญญัติฉบับใหมโดยรวมมหาวิทยาลัยทุกแหงเขาเปนหนวยงานสังกัดเดียวกัน ซึ่งรวมทั้งมหาวิทยาลัยสงฆ มหาวิทยาลัยราชภัฏ และมหาวิทยาลัยราชมงคลทุกแหงดวย ดังนั้นจึงเกิดองคกรใหมตามพระราชบัญญัติ คือสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ส.ก.อ.) เปนฝายบริหาร และมีคณะกรรมการขาราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาเปนผูควบคุมดูแลโดยออกกฎเกณฑตางๆเปนแนวทางปฏิบัติ คณะกรรมการชุดนี้มีรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาเปนประธาน มีอํานาจในสวนที่เกี่ยวของกับการกําหนดตําแหนงทางวิชาการดังนี้

มาตรา 14 ก.พ.อ. มีอํานาจหนาที่ตอไปนี้ (3) กําหนดมาตรฐานการบริหารบุคคล วินัยและการรักษาวินัย การดําเนินการทางวินัย

การออกจากราชการ การอุทธรณและรองทุกข และการพิจารณาตําแหนงวิชาการ เพื่อใหสถาบันอุดมศึกษาใชเปนแนวทางดําเนินการเกี่ยวกับเรื่องดังกลาว คําจํากัดความของตําแหนงทางวิชาการ พระราชบัญญัติระเบียบขาราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ.2547 ในสวนที่เกี่ยวของกับตําแหนงทางวิชาการ * ภาควิชาวิทยาศาสตร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 32

มาตรา 28 การบรรจุบุคคลเขารับราชการเปนขาราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาและการแตงตั้งใหดํารงตําแหนง ใหอธิการบดีเปนผูสั่งบรรจุและแตงตั้ง เวนแตการแตงตั้งใหดํารงตําแหนงระดับ 10 และตําแหนงศาสตราจารย ใหรัฐมนตรีนําเสนอนายกรัฐมนตรีเพื่อนําความกราบบังคมทูลเพื่อทรงพระกรุณาโปรดเกลา

การแตงต้ังใหดํารงตําแหนงตามวรรคหนึ่งใหเปนไปตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่ ก.พ.อ. กําหนด

มาตรา 18 พระราชบัญญัติระเบียบขาราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2547 กําหนดวา ตําแหนงวิชาการ ทําหนาที่สอนและวิจัย หรือทําหนาที่วิจัยประกอบดวย

1. ศาสตราจารย 2. รองศาสตราจารย 3. ผูชวยศาสตราจารย 4. อาจารยหรือตําแหนงอื่นตามที่ ก.พ.อ. กําหนด จากมาตรา 18 ดังกลาวจะเห็นวา อาจารยเปนตําแหนงวิชาการดวย เพราะทําหนาที่สอนและวิจัย แตใน

ระดับอุดมศึกษาทั่วไปนั้น หากจะพูดถึงการเขาสูตําแหนงทางวิชาการแลว จะหมายถึงเฉพาะการเขาสูตําแหนงผูชวยศาสตราจารย รองศาสตราจารย และศาสตราจารยเทานั้น ซึ่งจะเห็นความขัดแยงกันกับพระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยราชภัฏที่กําหนดใหอาจารยเปนตําแหนงทางวิชาการดวย

พระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547ในสวนที่เกี่ยวของกับตําแหนงทางวิชาการ มาตรา 51 คณาจารยประจําในมหาวิทยาลัยมีตําแหนงทางวิชาการดังนี้ 1. ศาสตราจารย 2. รองศาสตราจารย 3. ผูชวยศาสตราจารย 4. อาจารย

มาตรา 52 คณาจารยพิเศษมีตําแหนงทางวิชาการดังนี้ 1. ศาสตราจารยพิเศษ 2. รองศาสตราจารยพิเศษ 3. ผูชวยศาสตราจารยพิเศษ 4. อาจารยพิเศษ มาตรา 53 ศาสตราจารยซึ่งมีความรูความสามารถและความชํานาญเปนพิเศษและพนจากตําแหนงไป

โดยไมมีความผิด สภามหาวิทยาลัยอาจแตงต้ังใหเปนศาสตราจารยเกียรติคุณในสาขาที่ผูนั้นมีความเชี่ยวชาญเพื่อเปนเกียรติยศได

จากพระราชบัญญัติทั้ง 2 ฉบับดังกลาว อาจารยที่ไมใชคณาจารยประจําแตทําหนาที่สอนและวิจัยในมหาวิทยาลัยและมีชั่วโมงสอนประจําในระดับอุดมศึกษาเหมือนคณาจารยประจําในมหาวิทยาลัย หรือเปนพนักงานมหาวิทยาลัย (มหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยาเรียกวาพนักงานราชการ) จึงสามารถเขาสูตําแหนงทางวิชาการไดเชนเดียวกับคณาจารยประจําทั่วไป แตตําแหนงทางวิชาการจะตองเปนไปตามมาตรา 52 ของพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ โดยใชกฎเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขของประกาศ ก.พ.อ. ฉบับนี้ ซึ่งสภา

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 33

มหาวิทยาลัยจะตองออกขอบังคับ หรือประกาศของมหาวิทยาลัย เพื่อใชบังคับกับการกําหนดตําแหนงทางวิชาการของคณาจารยประจํา และจะนําไปบังคับกับคณาจารยพิเศษโดยอนุโลม และปจจุบันนี้มหาวิทยาลัยบานสมเด็จของเราก็ไดออกประกาศมาแลว แตไมวาขอบังคับของมหาวิทยาลัยใด ก็จะไมแตกตางไปจากเกณฑมาตรฐานดังกลาว เพราะถูกควบคุมโดยประกาศ ก.พ.อ ฉบับนี้

เนื่องจาก ก.พ.อ. ไมมีอํานาจในการพิจารณาตําแหนงทางวิชาการในมหาวิทยาลัย เพราะตามกฎหมายเปนอํานาจของสภามหาวิทยาลัย แตมาตรา 14 ของพระราชบัญญัติระเบียบขาราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา ไดกําหนดอํานาจหนาที่ไวชัดเจน ดังนั้น ก.พ.อ. จึงไดออกกฎเกณฑ วิธีการและเงื่อนไข เพื่อใหมหาวิทยาลัยแตละแหงนําไปปฏิบัติเปนเกณฑมาตรฐานขั้นต่ํา วิธีการเขาสูตําแหนงทางวิชาการ

วิธีการแตงต้ังใหดํารงตําแหนงทางวิชาการสามารถกระทําได 2 วิธีคือ 1. โดยวิธีปกติ คือเปนไปตามมาตรฐานและคุณสมบัติกําหนดในประกาศ 2.โดยวิธีพิเศษ เชน อายุราชการยังไมครบตามคุณสมบัติที่กําหนด ตองการกําหนดเขาตําแหนงรอง

ศาสตราจารยโดยไมผานการเปนผูชวยศาสตราจารยมากอน หรือในกรณีที่ดํารงตําแหนงผูชวยศาสตราจารยอยูในสาขาหนึ่งแลว แตตองการเปลี่ยนสาขาผูเช่ียวชาญจากสาขาเดิม เชนจากสาขาวิชาวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม เปลี่ยนไปเปนสาขาชีววิทยา สาขาฟสิกสเปลี่ยนไปเปนสาขาเคมี สาขาชีววิทยาเปลี่ยนไปอุตสาหกรรมการทองเที่ยว ดังนี้เปนตน กรณีดังกลาวนี้แตงต้ังโดยวิธีพิเศษ คุณสมบัติเฉพาะตําแหนง

1. ตําแหนงผูชวยศาสตราจารย ตองมีคุณสมบัติดังนี้ 1. ปริญญาตรีหรือเทียบเทาตองดํารงตําแหนงอาจารยและไดปฏิบัติหนาที่ในตําแหนงดังกลาวมาแลวไมนอยกวา 9 ป 2. ปริญญาโทหรือเทียบเทาตองดํารงตําแหนงอาจารยและไดปฏิบัติหนาที่ในตําแหนงดังกลาวมาแลวไมนอยกวา 5 ป 3. ปริญญาเอกหรือเทียบเทาตองดํารงตําแหนงอาจารยและไดปฏิบัติหนาที่ดังกลาวมาแลวไมนอยกวา 2 ป

2. ตําแหนงรองศาสตราจารย ดํารงตําแหนงผูชวยศาสตราจารยและปฏิบัติหนาที่มาไมนอยกวา 3 ป 3. ตําแหนงศาสตราจารย ดํารงตําแหนงรองศาสตราจารยและปฏิบัติหนาที่มาไมนอยกวา 2 ป

ในกรณีของการกําหนดเขาสูตําแหนงผูชวยศาสตราจารยนั้น อาจไมเปนไปตามเงื่อนไขดังกลาวก็ได เชนอาจารยทานหนึ่งจบการศึกษาระดับปริญญาโท แตลาไปศึกษาตอระดับปริญญาเอก หลังจากกลับมาทําหนาที่สอนแลวใหนําเวลากอนไปศึกษาตอ กับเวลาที่กลับจากศึกษาตอและปฏิบัติหนาที่สอนมารวมกัน หากมีเวลาถึงเกณฑ ก็ไมตองรอถึง 5 ปดังนี้เปนตน

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 34

ในกรณีที่ยายมาจากที่อื่น (เชน อาจารย 3 นักวิชาการ) ในกรณีที่เคยสอนเปนอาจารยพิเศษในสถาบันระดับอุดมศึกษาที่ ก.พ.อ. รับรองมากอน ใหนําเวลาในขณะซึ่งเคยสอนมากอนที่จะเขามาในมหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยามารวมได โดยคิดเวลาใหเปนสามในสี่ของเวลาที่ปฏิบัติหนาที่สอนในมหาวิทยาลัย ตัวอยางเชน เคยสอนในระดับอุดมศึกษามากอน 1 ป จะคิดเวลาใหเทากับ 9 เดือน เปนตน แตรายวิชาที่สอนมากอนนั้นตองเทียบคาไดไมนอยกวา 2 หนวยกิต/ ทวิภาค ผลการสอน

1. ตําแหนงผูชวยศาสตราจารย มีช่ัวโมงสอนประจําวิชาใดวิชาหน่ึงที่กําหนดไวในหลักสูตรของมหาวิทยาลัย และมีความชํานาญ

ในการสอน ทั้งนี้ตองเสนอเอกสารประกอบการสอนที่ผลิตขึ้นตามภาระงานสอน ในกรณีที่ผูขอกําหนดตําแหนงไดทําการสอนหลายวิชา ซึ่งแตละวิชานั้นมีผูสอนรวมกันหลายคนจะตองเสนอเอกสารประกอบการสอนในทุกหัวขอที่ผูกําหนดตําแหนงเปนผูสอน ซึ่งตองมีคุณภาพดีและใชประกอบการสอนมาแลว โดยผานการประเมินจากคณะกรรมการกําหนดตําแหนงทางวิชาการ ตามหลักเกณฑและวิธีการที่กําหนดในขอบังคับของมหาวิทยาลัย

รูปแบบของเอกสารประกอบการสอนที่ใชในการเสนอขอ จะตองมีลักษณะดังนี้คือ เปนเอกสาร หรือสื่ออ่ืนๆที่เก่ียวของในวิชาที่ตนสอน ประกอบดวย แผนการสอน หัวขอบรรยาย (มีรายละเอียดประกอบพอสมควร) และอาจมีสิ่งตางๆดังตอไปนี้เพิ่มขึ้นอีกก็ได เชน รายชื่อบทความหรือหนังสืออานประกอบ บทเรียบเรียงคัดยอเอกสารที่เก่ียวเนื่อง แผนภูมิ (chart) แถบเสียง (tape) หรือภาพเลื่อน (slide) เปนตน

(ขอบังคับของมหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยากําหนดใหมีอนุกรรมการเปนผูประเมินการสอนรวมทั้งประเมินเอกสารประกอบการสอนดวย โดยกําหนดใหคณบดีแตละคณะเปนประธาน และมีกรรมการที่ดํารงตําแหนงทางวิชาการไมตํ่ากวาตําแหนงที่ย่ืนขอเปนกรรมการ 2 คน กรรมการชุดนี้จะแตงตั้งโดยคณะกรรมการพิจารณาตําแหนงทางวิชาการเปนครั้งๆไปและผลการประเมินจะตองอยูในระดับชํานาญในการสอน)

2. ตําแหนงรองศาสตราจารย มีช่ัวโมงสอนประจําวิชาใดวิชาหน่ึงที่กําหนดไวในหลักสูตรของมหาวิทยาลัย และมีความชํานาญ

พิเศษในการสอนทั้งนี้ตองเสนอเอกสารคําสอนที่ผลิตขึ้นตามภาระงานสอน ในกรณีที่ผูขอกําหนดตําแหนงไดทําการสอนหลายวิชา ซึ่งแตละวิชานั้นมีผูสอนรวมกันหลายคนจะตองเสนอเอกสารคําสอนในทุกหัวขอที่ผูกําหนดตําแหนงเปนผูสอน ซึ่งตองมีคุณภาพดีและใชประกอบการสอนมาแลว โดยผานการประเมิน จากคณะกรรมการกําหนดตําแหนงทางวิชาการ ตามหลักเกณฑและวิธีการที่กําหนดในขอบังคับของมหาวิทยาลัย

รูปแบบของเอกสารคําสอนที่ใชเสนอขอตองมีลักษณะดังนี้ เปนเอกสารรูปเลมหรือสื่ออ่ืนๆที่เก่ียวของในวิชาที่ตนสอน ประกอบดวยแผนการสอน หัวขอบรรยาย (มีรายละเอียดประกอบพอสมควร) และมีสิ่งตางๆตอไปน้ีเพิ่มขึ้น เชน รายชื่อบทความ หรือหนังสืออานประกอบ บทเรียบเรียงคัดยอเอกสารที่เก่ียวเน่ือง แผนภูมิ แถบเสียง ภาพเลื่อน ตัวอยางหรือกรณีศึกษาที่ใชประกอบการอธิบายภาพ แบบฝกปฏิบัติ รวมทั้งการอางอิง เพื่อขยายความที่มาของสาระขอมูลและบรรณานุกรมที่ทันสมัย

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 35

(ขอบังคับของมหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยาเหมือนกับผูชวยศาสตราจารยและผลการประเมินจะตองอยูในระดับมีความชํานาญพิเศษในการสอน)

3. ตําแหนงศาสตราจารย มีช่ัวโมงสอนประจําวิชาใดวิชาหนึ่งที่กําหนดไวในหลักสูตรมหาวิทยาลัยและมีความเชี่ยวชาญใน

การสอนโดยผานการประเมินจากคณะกรรมการกําหนดตําแหนงทางวิชาการตามหลักเกณฑและวิธีการที่กําหนดในขอบังคับของมหาวิทยาลัย

(ขอบังคับของมหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยาเหมือนกับผูชวยศาสตราจารย และรองศาสตราจารย แตกตางกันที่ในระดับศาสตราจารยไมตองมีเอกสารที่เก่ียวของกับการสอนเหมือนผูชวยศาสตราจารยหรือรองศาสตราจารย แตผลการประเมินจะตองไดระดับมีความเชี่ยวชาญในการสอน)

ผลงานทางวิชาการ

1. ตําแหนงผูชวยศาสตราจารย มีผลงานดังนี้ 1.1 มีงานวิจัยที่มีคุณภาพดี และไดรับการเผยแพรตามที่ ก.พ.อ.กําหนดหรือ 1.2 ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น (เชน วัคซีน สิ่งมีชีวิตใหมที่เกิดจากการตัดตอพันธุกรรม

เครื่องยนต และงานแปล ) ที่มีคุณภาพดี และ 1.3 งานแตง เรียบเรียง ตํารา หนังสือ หรือบทความทางวิชาการที่มีคุณภาพดีและไดรับการเผยแพร

ตามที่ ก.พ.อ.กําหนด (กลาวโดยสรุปคือตองมีผลงานขอ 1.1 และ 1.3 หรือ 1.2 และ 1.3)

2. ตําแหนงรองศาสตราจารย 2.1 มีงานวิจัยที่มีคุณภาพดีและไดรับการเผยแพรตามที่ ก.พ.อ. กําหนดหรือ 2.2 ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น (เชน วัคซีน สิ่งมีชีวิตใหมที่เกิดจากการตัดตอพันธุกรรม

เครื่องยนต และงานแปล ) ที่มีคุณภาพดี และ 2.3 งานแตง เรียบเรียง ตําราหรือหนังสือที่มีคุณภาพดี และไดรับการเผยแพรตามที่ ก.พ.อ. กําหนด (กลาวโดยสรุปคือตองมีผลงานขอ 1.1 และ 1.3 หรือ 1.2 และ 1.3) โปรดสังเกตวาบทความทางวิชาการไมสามารนํามาขอกําหนดตําแหนงทางวิชาการในระดับรอง

ศาสตราจารยได 3 . ตําแหนงศาสตราจารย

3.1 ตําแหนงศาสตราจารยวิธีท่ี 1 1. มีงานวิจัยที่มีคุณภาพดีมากและไดรับการเผยแพรตามที่ก.พ.อ.กําหนด หรือ 2. ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่นซึ่งมีคุณภาพดีมาก และ 3. ผลงานแตงตํารา หรือหนังสือ ซึ่งมีคุณภาพดีมากและไดรับการเผยแพรตามที่ก.พ.อ.กําหนด

3.2 ตําแหนงศาสตราจารยวิธีท่ี 2 1. มีงานวิจัยที่มีคุณภาพดีเดน และไดรับการเผยแพรตามที่ ก.พ.อ กําหนดหรือ 2. ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่นซึ่งมีคุณภาพดีเดน หรือ

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 36

3. ผลงานแตงตํารา หรือหนังสือ ซึ่งมีคุณภาพดีเดน และไดรับการเผยแพรตามที่ ก.พ.อ. กําหนด หมายเหตุ งานวิจัยที่นํามาขอกําหนดตําแหนงทุกระดับจะตองไมใชงานวิจัยที่เคยขอเพื่อรับปริญญาบัตรหรือประกาศนียบัตรใดๆ

จริยธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาการ การพิจารณากําหนดตําแหนงผูชวยศาสตราจารย รองศาสตราจารยและศาสตราจารยตองคํานึงถึง

จริยธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาการดังนี้ 1. ตองมีความซื่อสัตยทางวิชาการ ไมนําผลงานของผูอื่นมาเปนผลงานของตนและไมลอกเลียนผลงานของผูอื่น รวมทั้งไมนําผลงานของตนเองในเรื่องเดียวกันไปเผยแพรในวารสารวิชาการมากกวา 1 ฉบับในลักษณะที่จะทําใหเขาใจผิดวาเปนผลงานใหม 2. ตองใหเกียรติและอางถึงบุคคลหรือแหลงที่มาของขอมูลที่นํามาใชในผลงานทางวิชาการของตนเองและแสดงหลักฐานของการคนควา

3. ตองไมคํานึงถึงผลประโยชนทางวิชาการจนละเลยหรือละเมิดสิทธิสวนบุคคลของผูอื่นและสิทธิมนุษยชน 4. ผลงานทางวิชาการตองไดมาจากการศึกษาโดยใชหลักวิชาการเปนเกณฑ ไมมีอคติมาเกี่ยวของและ

เสนอผลงานตามความเปนจริง ไมจงใจเบี่ยงเบนผลการวิจัยโดยหวังผลประโยชนสวนตัว หรือตองการสรางความเสียหายแกผูอื่น และเสนอผลงานตามความเปนจริง ไมขยายขอคนพบโดยปราศจากการตรวจสอบยืนยันในทางวิชาการ

5. ตองนําผลงานไปใชประโยชนในทางที่ชอบธรรมและชอบดวยกฎหมาย คณะกรรมการพิจารณาตําแหนงทางวิชาการ

สภามหาวิทยาลัยเปนผูแตงต้ังประกอบดวย 1. ประธานกรรมการ จากกรรมการสภามหาวิทยาลัย 2. กรรมการ เปนผูทรงคุณวุฒิจากภายนอก ดํารงตําแหนงศาสตราจารย โดยทุกทานจะมี

รายช่ืออยูในบัญชีของ ก.พ.อ. (5-10 ทาน) 3. เลขานุการ แตงต้ังโดยสภามหาวิทยาลัยหรือตามขอบังคับแตละมหาวิทยาลัย

คณะกรรมการพิจารณาตําแหนงทางวิชาการของสภามหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา ประกอบดวยกรรมการ 9 ทานในสาขาที่มีการเปดสอนในมหาวิทยาลัยหรือสาขาใกลเคียง

1. ศาสตราจารย ดร. สายหยุด จําปาทอง (ผูทรงคุณวุฒิในสภา มบส.) ประธานกรรมการ 2. ศาสตราจารย ดร. สนิท อักษรแกว สาขาวนศาสตร คณะวนศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรกรรมการ 3. ศาสตราจารย ดร. สิริวัฒน วงษสิริ สาขาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กรรมการ 4. ศาสตราจารย ดร.วีรชาติ เปรมานนท สาขาดุริยางคศิลป คณะศิลปกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กรรมการ

5. ศาสตราจารย ดร. สมยศ สันติสมบัติ สาขาสังคมวิทยา คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม กรรมการ 6. ศาสตราจารย ดร.วัลลภา เทพหัสดิน ณ อยุธยา สาขาอุดมศึกษา คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กรรมการ

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 37

7. ศาสตราจารย ดร.สุจริต เพียรชอบ สาขามัธยมศึกษา คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กรรมการ 8. ศาสตราจารย นายแพทย พยงค จูฑา สาขาแพทยศาสตร คณะแพทยศาสตร ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล กรรมการ

9. ศาสตราจารย ดร.ชาติชาย ณ เชียงใหม สาขารัฐประศาสนศาสตร ผูอํานวยการ สถาบันสงเสริมการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี กรรมการ

10. ผูชวยศาสตราจารย ดร.วิโฬฎฐ วัฒนานิมิตกุล รองอธิการบดี เลขานุการ คณะกรรมการผูทรงคุณวุฒิเพื่อทําหนาที่ประเมินในสาขาวิชาแตละสาขา

คณะกรรมการพิจารณาตําแหนงทางวิชาการแตงตั้ง 1. ประธานกรรมการ จากคณะกรรมการพิจารณาตําแหนงทางวิชาการสภามหาวิทยาลัย (จาก

ผูทรงคุณวุฒิทั้ง 8 ทานในแตละสาขา) 2. กรรมการ เปนผูทรงคุณวุฒิจากภายนอก ดํารงตําแหนงทางวิชาการไมตํ่ากวาตําแหนงที่เสนอขอ

จํานวน 3 คน ทั้งนี้ตองเปนผูที่อยูในบัญชีรายช่ือ ซึ่งไดรับความเห็นชอบจาก ก.พ.อ. (ทั้ง 3 คือผูอานผลงานโดยตั้งจากบัญชีของ ก.พ.อ.) การพิจารณาตัดสินผลการประเมิน

ใหจัดการประชุมกรรมการประเมิน โดยในที่ประชุมจะตองมีกรรมการมาประชุมไมนอยกวากึ่งหนึ่ง การตัดสินใหใชเสียงขางมาก วิธีการนี้ใชสําหรับตําแหนง ผูชวยศาสตราจารย รองศาสตราจารย และศาสตราจารยที่ขอโดยวิธีที่ 1

ศาสตราจารยที่ขอโดยวิธีที่ 2 ตองต้ังกรรมการผูทรงคุณวุฒิจํานวน 5 คนการตัดสินใชเสียงขางมาก และใหดําเนินการเปนความลับทุกขั้นตอน

วิธีดําเนินการในมหาวิทยาลัย

แบงเปนขั้นตอนตามลําดับดังนี้ 1. คณะวิชาเสนอชื่อผูเขาสูตําแหนง ผูบังคับบัญชาชั้นตนและคณบดีรับรองคุณสมบัติ เบื้องตน (ตรวจสอบคุณสมบัติครบหรือไม) 2. คณะกรรมการพิจารณาตําแหนงทางวิชาการแตงตั้งอนุกรรมการเพื่อประเมินผลการสอนผูขอกําหนด

ตําแหนง (คณบดีแตละคณะเปนประธานโดยตําแหนง ตัวแทนสภาวิชาการที่สังกัดนอกคณะที่ผูเสนอขอตําแหนงและผูทรงคุณวุฒิในสาขาวิชาที่เสนอขอเปนกรรมการ)

3. คณะกรรมการพิจารณาตําแหนงทางวิชาการแตงตั้งประธานสาขาและกรรมการผูทรงคุณวุฒิประเมินผลงาน (reader) 3-5 ทานแลวแตวิธีการขอตําแหนง

4. คณะกรรมการผูทรงคุณวุฒิเสนอความเห็นเบื้องตน ตอคณะกรรมการพิจารณาตําแหนงทางวิชาการของมหาวิทยาลัย เห็นควรแตงตั้งหรือไมควร

5. ผลการพิจารณาจะนําเขาสูสภามหาวิทยาลัยเพื่อแตงตั้ง

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 38

6. อธิการบดีออกคําสั่งแตงต้ังและแจงให ก.พ.อ. ทราบภายใน 30 วันนับจากวันแตงต้ังพรอมสําเนาคําสั่งแตงตั้งกรรมการผูทรงคุณวุฒิและแบบคําขอ

7. หากผูเสนอขอกําหนดตําแหนงศาสตราจารย มหาวิทยาลัยจะตองนําผลการพิจารณาจากสภา มหาวิทยาลัยสง ก.พ.อ. พรอมทั้งแบบประวัติ สําเนาคําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการผูทรงคุณวุฒิ ผลการประเมิน ผลงานทางวิชาการ

8. รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษานําเสนอ นายกรัฐมนตรีเพื่อนําความกราบบังคมทูลเพื่อทรง โปรดเกลาฯ แตงต้ัง การแตงตั้งโดยวิธีพิเศษ

ใชในกรณีที่มีเหตุผลและความจําเปนในกรณีตอไปนี้ 1. ขามตําแหนง เชนเปนอาจารยมากอนและขอเปนรองศาสตราจารยเลย โดยไมผานการเปนผูชวย

ศาสตราจารยมากอน 2. ระยะเวลาไมครบ เชนเปนผูชวยศาสตราจารยเพียง 2 ปยังไมครบเวลา ขอกําหนดตําแหนงเปนรอง

ศาสตราจารย 3. เปลี่ยนสาขาผูเช่ียวชาญเชนจากสาขาชีววิทยาไปเปนสาขาอื่น

ตําแหนง ผูชวยศาสตราจารยและรองศาสตราจารยท่ีขอโดยวิธีพิเศษ 1. ดําเนินการเหมือนวิธีปกติ

2. ต้ังคณะกรรมการผูทรงคุณวุฒิจํานวน 5 คน 3. ผลการตัดสินในที่ประชุมจะตองผาน 4 ใน 5 และผลงานตองไดระดับดีมาก

ตําแหนงศาสตราจารยท่ีขอโดยวิธีพิเศษ 1. ดําเนินการเหมือนวิธีปกติแตทําไดเฉพาะวิธีที่ 1

2. ต้ังคณะกรรมการผูทรงคุณวุฒิจํานวน 5 คน 3. ผลการตัดสินในที่ประชุมจะตองผาน 4 ใน 5 ผลงานตองไดระดับดีเดน

การนําผลงานเดิมมาขอเปนผลงานใหม ในกรณีที่เคยขอกําหนดตําแหนงทางวิชาการในระดับตําแหนงและสาขาวิชาเดียวกันกับที่เคยขอกําหนดตําแหนงทางวิชาการมาแลว หากมีการนําผลงานทางวิชาการเดิมซึ่งเคยเสนอเพื่อขอกําหนดตําแหนงทางวิชาการเสนอใหมอีกครั้งหนึ่ง ใหคณะกรรมการผูทรงคุณวุฒิใชผลการพิจารณาผลงานทางวิชาการเดิมแตละชิ้นที่ผานการพิจาณามาแลวนั้นโดยไมตองพิจารณาผลงานทางวิชาการนั้นใหมอีก (ตัวอยางเชน อาจารย ก สงผลงาน 2 ช้ินคืองานวิจัยกับหนังสือ ผลการประเมินงานวิจัยไมผาน หนังสือผานระดับดี หากนําหนังสือเลมนี้มาขอกําหนดตําแหนงอีกจะนําผลการพิจารณาเดิมมาพิจารณาทันทีโดยไมมีการพิจารณาใหมอีก)

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 39

ความผิดเรื่องคุณธรรมและจรรยาบรรณ เนื่องจากการเสนอผลงานทางวิชาการเปนเรื่องของคุณธรรมและจริยธรรม จึงมีบทลงโทษตามความผิด

อันเกิดขึ้นแตละกรณีคือ 1. กรณีที่ตรวจพบวาผูขอกําหนดตําแหนงแจงผลการมีสวนรวมไมตรงความจริง (เชนตัวเองมีผลงานที่มีสวนรวมเพียงรอยละ 20 แตแจงวามีสวนรวมถึงรอยละ 50) ลอกเลียนผลงานของผูอื่น (เชนไปเอางานวิจัยหรือหนังสือหรือตําราผูอื่นมาเสนอ แตไมอางอิงถึงเจาของผลงานเลย) นําผลงานผูอื่นมาเปนผลงานตนเอง (เชนเอาผลงานผูอื่นมาเปลี่ยนปกใหม หรือพิมพใหมแลวใสช่ือของตนเอง ทําใหผูอื่นเขาใจวาเปนผลงานที่ตนเองทํา)

2. กรณีที่ไดรับการอนุมัติใหดํารงตําแหนงทางวิชาการไปแลว แตตรวจพบภายหลังวาทําผิดตามขอ 1

บทลงโทษ กรณีที่ 1 ใหสภามีมติงดการพิจารณาในครั้งนั้น ดําเนินการทางวินัยตามขอเท็จจริงและความรายแรงแหงการกระทําผิด และหามผูกระทําผิดเสนอขอเขาสูตําแหนงทางวิชาการไมนอยกวา 5 ป โดยนับจากวันที่สภามหาวิทยาลัยมีมติ กรณีที่ 2 ใหสภามหาวิทยาลัยมีมติถอดถอนตําแหนงที่ดํารงอยูเสีย หากเปนศาสตราจารย ใหเสนอความเห็นตอ ก.พ.อ. เพื่อนําความกราบบังคมทูลเพื่อทรงโปรดเกลาถอดถอน และใหดําเนินการทางวินัยตามขอเท็จจริงและความรายแรงและใหงดการเสนอขอเขาสูตําแหนงทางวิชาการไมนอยกวา 5 ปนับแตวันที่สภามหาวิทยาลัยมีมติหรือวันที่ทรงพิจารณาโปรดเกลาแลวแตกรณี คําจํากัดความของงานที่นํามาใชเสนอขอตําแหนงทางวิชาการและรูปแบบการเสนอ

1. เอกสารประกอบการสอน ผลงานทางวิชาการที่ใชประกอบการสอนวิชาใดวิชาหนึ่งตามหลักสูตรของสถาบันอุดมศึกษาที่

สะทอนใหเห็นเนื้อหาวิชาและวิธีการสอนอยางเปนระบบจัดเปนเครื่องมือสําคัญของผูสอนในการใชประกอบการสอน

2. เอกสารคําสอน ผลงานทางวิชาการที่ใชสอนวิชาใดวิชาหนึ่งตามหลักสูตรของสถาบันอุดมศึกษาที่สะทอนใหเห็นเนื้อหาวิชาและวิธีการสอนอยางเปนระบบ โดยอาจพัฒนาขึ้นจากเอกสารประกอบการสอนจนมีความสมบรูณกวาเอกสารประกอบการสอน จัดเปนเครื่องมือสําคัญของผูเรียนที่นําไปศึกษาดวยตนเอง หรือเพิ่มเติมขึ้นจากการเรียนในวิชานั้นๆ

3. บทความทางวิชาการ งานเขียนทางวิชาการซึ่งมีการกําหนดประเด็นที่ตองการอธิบายหรือวิเคราะหอยางชัดเจน ทั้งนี้มี

การวิเคราะหประเด็นดังกลาวตามหลักวิชาการจนสามารถสรุปผลการวิเคราะห อาจเปนการนําความรูจากแหลงตางๆมาประมวลรอยเรียงเพื่อวิเคราะหอยางเปนระบบ โดยที่ผูเขียนแสดงทัศนะทางวิชาการของตนไวอยางชัดเจนดวย

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 40

รูปแบบนําเสนอขอตอง เปนบทความที่ยาวไมมากนัก ประกอบดวยการนําความที่แสดงเหตุผลหรือที่มาของประเด็นที่ตองการอธิบายหรือวิเคราะห กระบวนการอธิบายหรือวิเคราะหและบทสรุป มีการอางอิงและบรรณานุกรมที่ครบถวนและสมบรูณ

4. ตํารา ผลงานทางวิชาการที่เรียบเรียงขึ้นอยางมีระบบครอบคลุมเน้ือหาสาระของวิชาหรือเปนสวนหนึ่ง

ของวิชา หรือของหลักสูตรก็ได ที่สะทอนใหเห็นถึงความสามารถในการถายทอดวิชาในระดับอุดมศึกษาในการเรียนการสอนในหลักสูตรระดับอุดมศึกษา เนื้อหาสาระของตําราตองมีความทันสมัยเมื่อพิจารณาถึงวันที่ผูขอยื่นเสนอขอตําแหนงทางวิชาการ ทั้งนี้ผูขอตองระบุวิชาที่เกี่ยวของในหลักสูตรที่ใชตําราเลมที่เสนอขอตําแหนงทางวิชาการนั้นดวย ผลงานทางวิชาการที่เปนตํารานี้อาจพัฒนาขึ้นจากเอกสารคําสอนจนถึงระดับที่มีความสมบรูณที่สุด ซึ่งผูอานอาจเปนบุคคลอื่นที่มิใชผูเรียนในวิชานั้น แตสามารถอานและทําความเขาใจในสาระของตํารานั้นดวยตนเองได โดยไมตองเขาศึกษาในวิชานั้น รูปแบบการเสนอตองเปนรูปเลมประกอบดวยคํานํา สารบัญ เนื้อเรื่อง การอธิบายหรือการวิเคราะห การสรุป การอางอิงและบรรณานุกรม ทั้งนี้อาจมีการอางอิงแหลงขอมูลที่ทันสมัยและครบถวนสมบรูณ 5. หนังสือ ผลงานทางวิชาการที่เรียบเรียงขึ้นโดยมีรากฐานทางวิชาการที่มั่นคงและใหทัศนะของผูเขียนที่สรางเสริมปญญาความคิด และสรางความแข็งแกรงทางวิชาการใหแกสาขาวิชาการนั้นๆและ/หรือสาขาวิชาที่เกี่ยวของ มีความตอเนื่องเช่ือมโยงในเนื้อหาและครอบคลุมโดยไมจําเปนตองสอดคลองหรือเปนไปตามขอกําหนดของหลักสูตรหรือของวิชาใดวิชาหนึ่งในหลักสูตร และไมจําเปนตองนําไปใชประกอบการเรียนการสอนในวิชาใดวิชาหนึ่ง ทั้งนี้เนื้อหาสาระของหนังสือตองมีความทันสมัยเมื่อพิจารณาถึงวันที่จัดพิมพ รูปแบบการนําเสนอตองเปนรูปเลมที่ประกอบดวยคํานํา สารบัญ เนื้อเรื่อง การวิเคราะห การสรุป การอางอิงและบรรณานุกรม ทั้งนี้อาจมีการอางอิงแหลงขอมูลที่ทันสมัยและครบถวนสมบรูณ การอธิบายสาระสําคัญที่มีความชัดเจน โดยอาจใชขอมูล แผนภาพ ตัวอยาง หรือกรณีศึกษาประกอบจนผูอานสามารถทําความเขาใจในสาระสําคัญนั้นโดยเบ็ดเสร็จ 6. งานวิจัย ผลงานทางวิชาการที่เปนงานศึกษาหรืองานคนควาอยางมีระบบดวยวิธีวิทยาการวิจัยที่เปนที่ยอมรับในสาขาวิชานั้นๆและมีวัตถุประสงคที่ชัดเจนเพื่อใหไดมาซึ่งขอมูลคําตอบหรือขอสรุปรวมที่จะนําไปสูความกาวหนาทางวิชาการหรือเอื้อตอการนําวิชาการนั้นไปประยุกต รูปแบบอาจจัดได 2 รูปแบบดังนี้ 6.1 รายงานการวิจัยที่มีความครบถวนสมบรูณและชัดเจนตลอดทั้งกระบวนการวิจัย อาทิเชน การกําหนดประเด็นปญหา วัตถุประสงค การทําวรรณกรรมปริทัศน สมมติฐาน การเก็บรวบรวมขอมูล การวิเคราะหขอมูล การประมวลผล สรุปผลและใหขอเสนอแนะ การอางอิงและอื่นๆ 6.2 บทความวิจัย ที่ประมวลสรุปกระบวนการวิจัยในผลงานวิจัยนั้นใหมีความกระชับและสั้น สําหรับการนําเสนอในการประชุมทางวิชาการหรือในวารสารทางวิชาการ

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 41

7. ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น ผลงานทางวิชาการอยางอื่นที่มิใชเอกสารประกอบการสอน เอกสารคําสอน บทความทางวิชาการ

หนังสือ ตํารา หรืองานวิจัย โดยปกติหมายถึงสิ่งประดิษฐหรืองานสรางสรรค อาทิ การประดิษฐเครื่องทุนแรง ผลงานการสรางสิ่งมีชีวิตพันธุใหม วัคซีน สิ่งกอสราง หรืองานดานศิลปะ หรือสารานุกรม รวมถึงงานแปลจากตัวงานตนแบบที่เปนงานวรรณกรรมหรืองานดานปรัชญาหรือประวัติศาสตรหรือวิทยาการสาขาอื่นบางสาขาที่มีความสําคัญและทรงคุณคาในสาขาวิชานั้นๆ ซึ่งเมื่อนํามาแปลแลวจะเปนการเสริมความกาวหนาทางวิชาการที่ประจักษชัดเปนการแปลจากภาษาตางประเทศ เปนภาษาไทย หรือจากภาษาไทยเปนภาษาตางประเทศ หรือแปลจากภาษาตางประเทศหนึ่งเปนภาษาตางประเทศอีกภาษาหนึ่ง ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่นที่เสนอจะตองประกอบดวยบทวิเคราะหที่อธิบายและชี้ใหเห็นวางานดังกลาวทําใหเกิดความกาวหนาทางวิชาการหรือเสริมสรางองคความรู หรือใหวิธีการที่จะเปนประโยชนตอสาขาวิชานั้น และแสดงถึงความสามารถในการบุกเบิกสาขาวิชานั้น สําหรับผลงานที่มุงเชิงปฏิบัติจะตองผานการพิสูจนหรือมีหลักฐานรายละเอียดตางๆประกอบแสดงใหเห็นคุณคาของผลงาน รูปแบบอาจจัดไดดังนี้

1. อาจจัดเพิ่มไดหลายรูปแบบทั้งที่เปนรูปเลมหรือการบันทึกเปนภาพยนตรหรือแถบเสียง 2. มีคําอธิบาย/ช้ีแจงโดยชัดเจนประกอบผลงานนั้น เพื่อช้ีใหเห็นวาเปนผลงานที่ทําใหเกิดการพัฒนา

และความกาวหนาทางวิชาการหรือเสริมสรางความรูหรือกอใหเกิดประโยชนตอสาขาวิชาหนึ่งๆหรือหลายสาขาวิชาไดอยางไร ในแงใด

3. กรณีผลงานที่เปนสิ่งประดิษฐหรือผลงานที่มุงในเชิงปฏิบัติจะตองผานการพิสูจนหรือแสดงหลักฐานเปนรายละเอียดใหครบถวนที่แสดงถึงคุณคาของผลงานนั้นดวย

8. งานแปล งานแปลเปนผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่นประเภทหนึ่ง ลักษณะการแปลอานจากขอ 7 การตีพิมพเผยแพรผลงานทางวิชาการตามวิธีการ ก.พ.อ.

1. เอกสารประกอบการสอน อาจเผยแพรโดยทําเปนรูปเลมดวยการพิมพหรือถายสําเนาเย็บเลมหรือเปนสื่ออื่นๆเชน ซีดีรอมที่ไดใชประกอบการสอนในหลักสูตรสถาบันอุดมศึกษามาแลว

ลักษณะคุณภาพใหอยูในดุลยพินิจของสถาบันอุดมศึกษาที่จะกําหนดเปนขอบังคับ 2. เอกสารคําสอน ลักษณะการเผยแพรจะตองทําเปนรูปเลมดวยการพิมพหรือถายสําเนาเย็บเลม หรือสื่อ

อื่นๆที่แสดงหลักฐานวาไดเผยแพรโดยใชเปนคําสอนใหแกผูเรียนในรายวิชานั้นๆมาแลว ลักษณะคุณภาพใหอยูในดุลยพินิจของสถาบันอุดมศึกษาที่จะกําหนดเปนขอบังคับ 3. บทความทางวิชาการ เผยแพรในลักษณะใดลักษณะหนึ่งดังนี้

3.1เผยแพรในรูปบทความทางวิชาการ ในวารสารทางวิชาการ วารสารทางวิชาการนี้อาจเผยแพรในรูปเลมสิ่งพิมพ หรือเปนสื่ออิเล็กทรอนิกส ที่มีการกําหนดการเผยแพรอยางแนนอน 3.2เผยแพรในหนังสือรวมบทความในรูปแบบอื่นที่มีการบรรณาธิการประเมินและตรวจสอบของบทความตางๆในหนังสือนั้นแลว

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 42

3.3 เผยแพรในหนังสือประมวลผลการประชุมทางวิชาการ (Proceeding) ของการประชุมทางวิชาการในระดับชาติ หรือนานาชาติ ที่มีการบรรณาธิการประเมิน และตรวจสอบคุณภาพของบทความตางๆที่นําเสนอนั้นแลว

เมื่อไดเผยแพรตามลักษณะขางตนและไดมีการพิจารณาประเมินคุณภาพของบทความวิชาการนั้นแลว การนําบทความทางวิชาการน้ันมาแกไขปรับปรุงหรือเพิ่มเติมสวนใดสวนหน่ึงเพื่อนํามาขอกําหนดตําแหนงทางวิชาการและใหมีการประเมินคุณภาพบทความทางวิชาการนั้นอีกครั้งหนึ่งจะกระทํามิได

4. ตํารา เผยแพรดวยวิธีการดังนี้ 4.1 จะตองไดรับการพิมพเปนรูปเลมจากโรงพิมพ หรือสํานักพิมพ หรือถายสําเนาเย็บเลม หรือทําในรูปแบบอื่นๆ 4.2. เผยแพรโดยสื่ออิเล็กทรอนิกสอื่นๆเชนซีดีรอม

ทั้งนี้ตองไดรับการตรวจสอบและรับรองการเผยแพรจากคณะกรรมการของสถาบันอุดมศึกษา คณะ และ/หรือสถาบันทางวิชาการที่เกี่ยวของกับสาขาวิชานั้น และตองใชในการเรียนการสอนมาแลวไมนอยกวาหนึ่งภาคการศึกษา

เมื่อไดมีการพิจารณาประเมินคุณภาพของตําราไปแลว การนําตํารานั้นไปแกไขปรับปรุงหรือเพิ่มเติมเนื้อหาในตําราเพื่อนํามาเสนอขอกําหนดตําแหนงทางวิชาการและใหมีการประเมินคุณภาพตํารานั้นอีกครั้งหนึ่งอาจจะกระทําได แตจะตองเผยแพรตํารานั้นใหมอีกครั้งหนึ่ง

5.หนังสือ เผยแพรดวยวิธีการดังนี้ 5.1 จะตองไดรับการพิมพเปนรูปเลมจากโรงพิมพ หรือสํานักพิมพ 5.2 เผยแพรโดยสื่ออิเล็กทรอนิกสอื่นๆเชนซีดีรอม

ทั้งนี้ตองไดรับการตรวจสอบและรับรองการเผยแพรจากคณะกรรมการของสถาบันอุดมศึกษา คณะ และ/หรือสถาบันทางวิชาการที่เกี่ยวของกับสาขาวิชานั้น และตองเผยแพรสูสาธารณชนมาแลวไมนอยกวาสี่เดือน

เมื่อไดมีการพิจารณาประเมินคุณภาพของหนังสือไปแลว การนําหนังสือนั้นไปแกไขปรับปรุงหรือเพ่ิมเติมเนื้อหาในหนังสือเพื่อนํามาเสนอขอกําหนดตําแหนงทางวิชาการและใหมีการประเมินคุณภาพหนังสือนั้นอีกครั้งหนึ่งอาจจะกระทําได แตจะตองทําการเผยแพรหนังสือนั้นใหมอีกครั้งหนึ่ง

6. งานวิจัย เผยแพรในลักษณะใดลักษณะหนึ่งดังนี้ 6.1 เผยแพรในรูปบทความวิจัยในวารสารทางวิชาการ วารสารทางวิชาการน้ีอาจเผยแพรในรูปเลม

สิ่งพิมพ หรือเปนสื่ออิเล็กทรอนิกสที่มีการกําหนดการเผยแพรอยางแนนอนชัดเจน 6.2 เผยแพรในหนังสือรวมบทความวิจัยในรูปแบบอื่นที่มีการบรรณาธิการประเมินและตรวจสอบ

คุณภาพ 6.3 นําเสนอเปนบทความวิจัยตอที่ประชุมทางวิชาการ ซึ่งภายหลังจากการประชุมทางวิชาการไดมี

การบรรณาธิการ และนําไปรวมเลมเผยแพรในหนังสือประมวลผลการประชุมทางวิชาการ (Proceeding) ของการประชุมทางวิชาการระดับชาติ หรือนานาชาติ

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 43

6.4 การเผยแพรรายงานการวิจัยฉบับสมบรูณ ที่มีรายละเอียดและความยาว ตองแสดงหลักฐานวาไดเผยแพรไปยังวงวิชาการและวิชาชีพในสาขาวิชานั้น และสาขาวิชาที่เกี่ยวของในประเทศและตางประเทศอยางกวางขวาง

เมื่อไดเผยแพรตามลักษณะขางตนและไดมีการพิจารณาประเมินคุณภาพของงานวิจัยนั้นแลว การนํางานวิจัยนั้นมาแกไขปรับปรุงหรือเพิ่มเติมสวนใดสวนหน่ึงเพื่อนํามาขอกําหนดตําแหนงทางวิชาการและใหมีการประเมินคุณภาพงานวิจัยนั้นอีกครั้งหนึ่งจะกระทํามิได

7. ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น เผยแพรดวยวิธีการดังนี้ 7.1 จะตองไดรับการพิมพเปนรูปเลมจากโรงพิมพ หรือสํานักพิมพ หรือถายสําเนาเย็บเลม หรือทํา

ในรูปแบบอื่นๆ 7.2 เผยแพรโดยสื่ออิเล็กทรอนิกสอื่นๆเชนซีดีรอม 7.3 เผยแพรโดยการจัดนิทรรศการ การจัดการแสดงหรือโดยมีการนําไปใชหรือประยุกตใชอยางแพรหลาย

ทั้งนี้ตองไดรับการตรวจสอบและรับรองการเผยแพรจากคณะกรรมการของสถาบันอุดมศึกษา คณะ และ/หรือสถาบันทางวิชาการที่เกี่ยวของกับสาขาวิชานั้น และตองเผยแพรสูสาธารณชนมาแลวไมนอยกวาสี่เดือน

8. งานแปล เผยแพรดวยวิธีการดังนี้ 8.1 จะตองไดรับการพิมพเปนรูปเลมจากโรงพิมพ หรือสํานักพิมพ

8.2 เผยแพรโดยสื่ออิเล็กทรอนิกสอื่นๆเชนซีดีรอม ทั้งนี้ตองไดรับการตรวจสอบและรับรองการเผยแพรจากคณะกรรมการของสถาบันอุดมศึกษา

คณะ และ/หรือสถาบันทางวิชาการที่เกี่ยวของกับสาขาวิชานั้น และตองเผยแพรสูสาธารณชนมาแลวไมนอยกวาสี่เดือน การเทียบระดับคุณภาพผลงานทางวิชาการ

1. บทความทางวิชาการ 1.ระดับดี เปนบทความทางวิชาการที่มีเนื้อหาสาระทางวิชาการถูกตองสมบรูณและทันสมัย มี

แนวคิดและการนําเสนอที่ชัดเจนเปนประโยชนตอวงวิชาการ 2.ระดับดีมาก ใชเกณฑเดียวกับระดับดี โดยมีขอกําหนดเพิ่มเติมดังนี้

1. มีการวิเคราะหและเสนอความรูหรือวิธีการที่ทันสมัยตอความกาวหนาทางวิชาการและเปนประโยชนตอวงวิชาการ สามารถนําไปอางอิงหรือนําไปปฏิบัติได

3.ระดับดีเดน ใชเกณฑเดียวกับระดับดีมาก โดยมีขอกําหนดเพิ่มเติมดังนี้ 1. มีลักษณะเปนงานบุกเบิกทางวิชาการและมีการสังเคราะหถึงระดับที่สรางองคความ รูใหมในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง

2. มีการกระตุนใหเกิดความคิดและคนควาตอเนื่องเปนที่เช่ือถือและยอมรับในวงวิชา การหรือวิชาชีพที่เกี่ยวของในระดับชาติและ/หรือนานาชาติ

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 44

2. ตํารา 1. ระดับดี เปนตําราที่มีเนื้อหาสาระทางวิชาการถูกตองสมบรูณและทันสมัย มีแนวคิดและการนําเสนอที่ชัดเจนเปนประโยชนตอการเรียนการสอนในระดับอุดมศึกษา 2. ระดับดีมาก ใชเกณฑเดียวกับระดับดีโดยมีขอกําหนดดานคุณภาพเพิ่มเติมดังนี้ 2.1 มีการวิเคราะหและเสนอความรู หรือวิธีการที่ทันสมัยตอความกาวหนาทางวิชาการและเปนประโยชนตอวงวิชาการ 2.2 มีการสอดแทรกความคิดริเริ่มและประสบการณ หรือผลงานวิจัยของผูเขียนที่เปนการแสดงใหเห็นถึง ความรูใหมที่เปนประโยชนตอการเรียนการสอน

2.3 สามารถนําไปใชอางอิงหรือนําไปปฏิบัติได 3. ระดับดีเดน ใชเกณฑเดียวกับระดับดีมาก โดยมีขอกําหนดดานคุณภาพเพิ่มเติมดังนี้ 3.1 มีลักษณะเปนงานบุกเบิกทางวิชาการ และมีการสังเคราะหจนถึงระดับที่สรางองคความรูใหมในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง 3.2 มีการกระตุนใหเกิดความคิดและคนควาตอเนื่อง 3.3 เปนที่เช่ือถือและยอมรับในวงวิชาการ หรือวิชาชีพที่เกี่ยวของ ในระดับชาติ/หรือนานาชาติ

3. หนังสือ 1. ระดับดี เปนหนังสือที่มีเนื้อหาสาระทางวิชาการถูกตองสมบรูณและทันสมัย มีแนวคิดและการนําเสนอที่ชัดเจนเปนประโยชนตอวงวิชาการ 2. ระดับดีมาก ใชเกณฑเดียวกับระดับดีโดยมีขอกําหนดดานคุณภาพเพิ่มเติมดังนี้ 2.1 มีการวิเคราะหและเสนอความรู หรือวิธีการที่ทันตอความกาวหนาทางวิชาการ และเปนประโยชนตอวงวิชาการ 2.2 มีการสอดแทรกความคิดริเริ่มและประสบการณ หรือผลงานวิจัยของผูเขียน ที่เปนการแสดงใหเห็นถึงความรูที่เปนประโยชนตอวงวิชาการ

2.3 สามารถนําไปใชอางอิงหรือนําไปปฏิบัติได 3. ระดับดีเดน ใชเกณฑเดียวกับระดับดีมาก โดยมีขอกําหนดดานคุณภาพเพิ่มเติมดังนี้ 3.1 มีลักษณะเปนงานบุกเบิกทางวิชาการและมีการสังเคราะหจนถึงระดับที่จะสรางองคความรูใหมในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง 3.2 มีการกระตุนใหเกิดความคิดและคนควาตอเนื่อง 3.3เปนที่เช่ือถือและยอมรับในวงวิชาการหรือวิชาชีพที่เกี่ยวของในระดับชาติและ/หรือนานาชาติ

4. งานวิจัย 1. ระดับดี เปนงานวิจัยที่มีกระบวนการวิจัยทุกขั้นตอนถูกตองเหมาะสมในระเบียบวีธีวิจัย ซึ่งแสดงใหเห็นถึงความกาวหนาทางวิชาการ หรือนําไปประยุกตได 2. ระดับดีมาก ใชเกณฑเดียวกับระดับดี โดยมีขอกําหนดดานคุณภาพเพิ่มเติมดังนี้

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 45

2.1 เปนผลงานที่แสดงถึงการวิเคราะหและนําเสนอผลเปนความรูใหมที่ลึกซึ่งกวางานเดิมที่เคยมีผูศึกษาแลว

2.2 เปนประโยชนดานวิชาการอยางกวางขวาง หรือสามารถนําไปประยุกตไดอยางแพรหลาย 3. ระดับดีเดน ใชเกณฑเดียวกับระดับดีมาก โดยมีขอกําหนดดานคุณภาพเพิ่มเติมดังนี้ 3.1 เปนงานบุกเบิกที่มีคายิ่ง และมีการสังเคราะหอยางลึกซึ้งจนทําใหเปนการสรางองคความรูใหมในเรื่องใดเรื่องหนึ่งทําใหเกิดความกาวหนาทางวิชาการอยางชัดเจน 3.2 เปนที่ยอมรับและไดรับการอางอิงถึงอยางกวางขวางในวงวิชาการ หรือวิชาชีพที่เกี่ยวของในระดับชาติและ/หรือระดับนานาชาติ

5. ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น 1.ระดับดี เปนผลงานใหมหรือเปนการนําสิ่งที่มีอยูแลวมาประยุกตดวยวิธีการใหมๆ และผลงานนั้นกอใหเกิดประโยชนในดานใดดานหนึ่ง 2. ระดับดีมาก ใชเกณฑเดียวกับระดับดี โดยมีขอกําหนดดานคุณภาพเพิ่มเติมดังตอไปน้ี 2.1 ไดรับการรับรองโดยองคกรทางวิชาการหรือหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของในสาขาที่เสนอหรือ 2.2 เปนผลงานที่สรางสรรค ตองเปนที่ยอมรับของผูเช่ียวชาญในสาขาวิชานั้นๆ 3. ระดับดีเดน ใชเกณฑเดียวกับระดับดีมาก และตองเปนที่ยอมรับโดยทั่วไปในวงวิชาการและ/หรือวงวิชาชีพทั้งในระดับชาติและ/หรือระดับนานาชาติ

6. งานแปล 1. ระดับดี เปนงานแปลที่แสดงใหเห็นถึงความเขาใจในตัวบท แบบแผนทางความคิดและ/หรือวัฒนธรรมตนกําเนิด และบงช้ีความสามารถในการสื่อความหมายไดอยางดี มีการศึกษาวิเคราะหและตีความทั้งตัวบทและบริบทของตัวงานในลักษณะที่เทียบไดกับงานวิจัย

มีการใหอรรถาอธิบายเชิงวิชาการในรูปแบบตางๆอันเหมาะทั้งระดับมหภาคและจุลภาค 2. ระดับดีมาก เปนงานแปลที่แสดงใหเห็นถึงความเขาใจอันลึกซึ้งในตัวบท แบบแผนทางความคิด

และ/หรือวัฒนธรรมตนกําเนิด และบงช้ีความสามารถในการสื่อความหมายในระดับสูงมาก มีการศึกษาวิเคราะหและตีความทั้งตัวบทและบริบทของตัวงานอยางละเอียดลึกซึ้งในลักษณะที่เทียบได

ดับงานวิจัยของผูสันทัดกรณี มีการใหอรรถาอธิบายเชิงวิชาการในรูปแบบตางๆอันเหมาะทั้งระดับมหภาคและจุลภาค 3. ระดับดีเดน ใหขอสรุปในดานของวิธีการแปล และทฤษฎีการแปล ใชเกณฑเดียวกันกับระดับดี

มาก โดยมีขอกําหนดดานคุณภาพเพิ่มเติมดังตอไปนี้ 3.1 เปนงานที่แปลมาจากตนแบบที่มีความสําคัญในระดับที่มีผลใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในทางวิชาการ 3.2 เปนงานที่แปลอยูในระดับที่พึงยึดถือเปนแบบฉบับได 3.3 มีการใหขอสรุปในดานของวิธีการแปล และทฤษฎีการแปล ที่มีลักษณะเปนการบุกเบิกทางวิชาการ

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 46

บทสรุป ต้ังแตวันที่ 3 เมษายน พ.ศ.2550 เปนตนไป ทุกคนที่เปนอาจารยมหาวิทยาลัยไมวาจะเปนมหาวิทยาลัย

ราชภัฏ มหาวิทยาลัยราชมงคล มหาวิทยาลัยเอกชน และมหาวิทยาลัยเดิมทั้งหมดตองใชกระบวนการเสนอกําหนดตําแหนงทางวิชาการในแบบและวิธีการใหมนี้เหมือนกันหมด หากมองอยางผิวเผินทุกคนจะคิดวายากมากกวาวิธีการเดิม แตหากมองอยางพินิจถวนถี่ ผมกลับมองวาเกณฑใหมนี้งายกวาเดิม เชนการกําหนดตําแหนงในระดับผูชวยศาสตราจารยนั้น เดิมนั้นเราตองทําเอกสารประกอบการสอนอยางดีมาก ดีเหมือนกับการทําตําราหรือหนังสือ เพราะตองสงออกไปเก็บเปนหลักฐานไวที่คณะอนุกรรมการกําหนดตําแหนงทางวิชาการของสถาบันราชภัฏ ซึ่งทําหนาที่แทนก.ค.และต้ังมาตรฐานไวสูงมาก นอกจากนี้ยังมีระดับอาจารย 3 เปนตัวเปรียบเทียบระดับอีกดวย ก.ค.ผูควบคุมดูแลจึงใชมาตรฐานใกลเคียงกัน ทําใหเราตองทําเอกสารชั้นเยี่ยม ตองใชเวลามากและสงกลับมาแกไขจนกวาจะไดมาตรฐานที่ตองการ แตตามเกณฑใหม เปนเพียงเอกสารที่ใชประกอบการสอน บทเรียนออนไลน หรือสื่อที่ใชประกอบการสอนบางประเภทก็สามารถใชไดแลว และเอกสารดังกลาวก็ไมไดสงออกไปตรวจภายนอกมหาวิทยาลัย เพราะเปนสวนหน่ึงของการประเมินผลการสอนเทานั้น ประการที่ 2 เดิมเราตองเขียนหนังสือ หรือตําราเลมใหญๆรวม 300 หนาหรือมากกวา เพื่อขอผลงานทางวิชาการ ผูที่เขียนตําราหรือหนังสือในระดับนี้ใชเวลามาก ทุกคนที่ผานการทําผลงานจะทราบดี แตเกณฑใหมนี้ เราสามารถเขียนบทความทางวิชาการทดแทนหนังสือหรือตําราไดเลย ซึ่งใชเวลาไมมาก เพียงแตรูจักการวิเคราะหและอางอิงใหเปน และตองลงเผยแพรในวารสารทางวิชาการกอนเสนอขอเทานั้น ที่คิดวายากจริงคืองานวิจัย แตหากเราวางแผนใหรัดกุมงานวิจัยจะออกมาดีและถูกตอง โดยเฉพาะการวิจัยตามแนวทางที่มหาวิทยาลัยกําหนดไวแลว และไมตองใชเวลามากมายมหาศาลเหมือนงานเขียนตําราหรือหนังสือ วิจัยไปดวยสอนไปดวยก็สามารถทําไดตลอดเวลา อีกประการหนึ่งตามเกณฑใหมนี้งานวิจัยของนิสิตและนักศึกษาหากไดรับการเผยแพรตามวิธีที่กลาวแลว ยังสามารถนํามาเปนสวนหน่ึงของงานวิจัยไดอีกดวย หรือหากเราไมถนัดงานวิจัย เกณฑใหมยังยอมใหงานแปลมาทดแทนงานวิจัยได งานแปลก็เหมาะกับผูที่มีทักษะทางภาษาดีแตไมชอบงานวิจัย ประการที่ 3 การตัดสินแบบเดิมในระดับผูชวยศาสตราจารยใชวิธีใหคะแนนรอยละ 60 ขึ้นไป และการตัดสินของกรรมการผูทรงคุณวุฒิตองผานเปนเอกฉันททั้ง 3 ทาน จัดวาเปนกติกาที่โหดมากทําใหเกิดปญหาตองตั้งผูทรงคุณวุฒิคนที่ 4 ทดแทนตลอดมา กระบวนการดําเนินงานก็เนิ่นชา แตวิธีการใหมเพียงแตผาน 2/3 เทานั้นไมจําเปนตองเปนเอกฉันทเพราะกติกาถูกกําหนดดวยจํานวนกรรมการที่เขาประชุมการตัดสินใชวิธีสอบถามผูทรงคุณวุฒิในที่ประชุมและฟงเสียงขางมาก เพียงผูทรงคุณวุฒิออกความเห็นวาระดับผลงานทางวิชาการอยูในระดับดี ดีมากหรือดีเดนเทานั้น ไมมีคะแนน กติกาใหมนี้จึงงายกวาเดิม ประการสุดทาย สามารถใชผลงานเดิมไดตัวอยางเชน ในระดับรองศาสตราจารยนั้นเดิมเราตองเสนอผลงาน 2 ช้ินออกไปประเมินนอกมหาวิทยาลัยคูกัน แตประเมินเปนผลงานรวม แตกติกาใหมเสนอผลงาน 2 ช้ิน เชนเดียวกันแตผลงานพิจารณาแยกสวน สวนดีคือผลงานชิ้นดีจะสามารถนํากลับมาใชไดอีกครั้ง ในอดีตที่ผานมาหากไมผานเกณฑเพียงช้ินเดียวถือวาการเสนอขอไมผานการพิจารณาทันที หากเอกสารช้ินนี้มีประโยชนตอเพื่อนในวงวิชาการเดียวกันคือทําหนาที่สอนหรือวิจัยในระดับอุดมศึกษา ผมขอใหชวยกันเผยแพรออกไป หวังเปนอยางยิ่งวาคณาจารยในคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีของเราจะเปนผูนําในดานการวิจัยและการทําผลงานทางวิชาการตอไปโดยไมหวาดหว่ันกับเกณฑมาตรฐานใหมนี้เลย

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 47

เอกสารอางอิง

ประกาศก.พ.อ. เรื่องหลักเกณฑและวิธีการพิจารณาแตงตั้งบุคคลใหดํารงตําแหนงผูชวยศาสตราจารย รองศาสตราจารยและศาสตราจารย พ.ศ. 2550. (2550). เอกสารโรเนียว, 1-45.

ประกาศก.พ.อ. เรื่องหลักเกณฑและวิธีการพิจารณาแตงตั้งบุคคลใหดํารงตําแหนงผูชวยศาสตราจารย รองศาสตราจารยและศาสตราจารย พ.ศ. 2549. (2549). เอกสารโรเนียว, 1-11.

พระราชบัญญัติระเบียบขาราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2547.(2547).ราชกิจจานุเบกษา เลม 121, (ตอนพิเศษ 70 ก), 33-55.

พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547.(2547).ราชกิจจานุเบกษา เลม121, (ตอนพิเศษ 23 ก), 1-24.

โครงการการจัดเสนทางวัดในเขตพื้นที่ฝงธนบุรี ใหเปนแหลงทองเที่ยวแบบยั่งยืนในทองถิ่น

The Dhonburi – Temple Traveling Management for Sustainable Traveling Resources in Locality

ผศ. วรรณวดี ชัยชาญกุล*

Abstracts The objective of this qualitative research is to promote Wat as cultural traveling resources and to be the model of Wat traveling project. There are four procedures as follows: Stage 1: Studying the Wat circumstances and contexts in Dhonburi district. Stage 2: Organizing the Wat - traveling route. Stage 3: Evaluating the people and the community’s participation. Stage 4: Publicizing the overall project to the community. According to the four procedures, the findings are 1) Within 15 sub-districts of Dhonburi, there are 218 temples where are varied in cultural diversity, historical and architectural values which worth in reserving as sustainable – traveling resources. 2) There are 9 selected temples due to the criteria: the 9 temples are not more than 3-kilometre far from Bansomdejchaopraya University, can be accessed by bus, by boat and walking, are located on the historical canal named Bangluang or Bangkokyai Klong, and are loyal temples and well-known from past to present. 3) The evaluation of the people and community’s participation is counted on abbots, assistant abbots, chiefs of community, monks and commune people meeting and interviewing that lead to the vivid cultural-traveling project of Thai unity and identification. 4) From the evaluation of the people who launched on 9 temple - traveling activity, the results are in high significance. This project is promoted by documents provided and Bansomdejchaopraya website which will be appropriate opportunity to manage the Dhonburi–temple for sustainable traveling resources in Locality in the future. บทนํา

โครงการการจัดเสนทางวัดในเขตพื้นที่ฝงธนบุรี ใหเปนแหลงทองเที่ยวแบบยั่งยืนใน ทองถิ่นนี้เปนหนึ่งในจํานวนชุดโครงการพัฒนาศักยภาพของคนในทองถิ่นในการบริหารจัดการการทองเที่ยวและเสนทางการทองเที่ยวอยางเปนระบบและยั่งยืน โดยมี ดร.โฉมยง โตะทอง เปน --------------------------- *ผูชวยศาสตราจารยระดับ 8 คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 50

หัวหนาชุดระดับประเทศ ผูวิจัยไดกําหนดความเปนมาและความสําคัญของการวิจัยเปน 3 ประเด็น ประเด็นแรกไดยึดแนวคิดการบริหารจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏใหเปนสถาบันอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาทองถิ่น ซึ่งอยูบนความคิดหลัก คือ การบริหารจัดการโดยใหประชาชนมีสวนรวม เพื่อใหเปนไปตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญมาตรา 76 และกฎหมายแมบทในการปฏิรูปการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 ที่บัญญัติในมาตรา 8 วา ใหสังคม มีสวนรวมในการศึกษา อีกทั้งตองบริหารจัดการโดยยึดหลักพื้นที่ – ภารกิจ – ความรวมมือ(AFP : Area-Function-Participation) มีการระดมสรรพกําลังทั้งดานความคิด สติปญญา และงบประมาณทั้งจากภาครัฐ เอกชน และประชาคมในการจัดการอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาทองถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยาและมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี เปนมหาวิทยาลัยราชภัฏกลุมรัตนโกสินทร ที่ต้ังอยูในเขตพื้นที่ฝงธนบุรี ทั้งสองมหาวิทยาลัยดังกลาว เปนที่ต้ังของ โครงการศูนยกรุงธนบุรีศึกษา ซึ่งเปนศูนยเผยแพรสารสนเทศ รวมสรรพความรูดานวัฒนธรรมของกรุงธนบุรี ในเขตพื้นที่ฝงธนบุรีจําแนกเปน 15 เขต ไดแก เขตคลองสาน จอมทอง ตลิ่งชัน ทวีวัฒนา ทุงครุ ธนบุรี บางกอกนอย บางกอกใหญ บางขุนเทียน บางแค บางบอน บางพลัด ภาษีเจริญ ราษฎรบูรณะและหนองแขม ประกอบดวยวัด จํานวน 238 แหง ซึ่งแตละแหงมีความหลากหลายทางวัฒนธรรม พรอมดวยคุณคาทางประวัติศาสตร ศิลปะ วัฒนธรรม โบราณสถาน โบราณวัตถุ ควรคาแกการอนุรักษ และพัฒนาใหเปนแหลงการทองเที่ยวแบบยั่งยืน ประเด็นที่สอง ผูวิจัยคํานึงถึงความสําคัญของจัดเสนทางวัดเพื่อเปนแหลงทองเที่ยวแบบยั่งยืน สําหรับการทองเที่ยวแบบยั่งยืนนั้นองคการทองเที่ยวโลก (WTO) ไดกําหนดหลักการและใหความหมายไวต้ังแต พ.ศ.2531 วา หมายถึง การพัฒนาการทองเที่ยวที่สามารถตอบสนองความตองการของนักทองเที่ยว และผูเปนเจาของทองถิ่นในปจจุบัน โดยมีการปกปอง และสงวนรักษาโอกาสตางๆ ของอนุชนรุนหลัง รวมถึงการจัดการทรัพยากรเพื่อตอบสนองความจําเปนทางเศรษฐกิจ สังคม ความงามทางสุนทรียภาพ และสามารถรักษาเอกลักษณทางวัฒนธรรมรวมทั้งระบบนิเวศตางๆ ดวย กลไกสําคัญในการพัฒนาวัด และ ศาสนสถานใหเปนแหลงทองเที่ยว และ ใหมีสวนรวมอยางเต็มที่ของทองถิ่น ในสาขาการทองเที่ยว ก็คือ การประสานความรวมมือ ระหวาง บาน วัด สถานศึกษา โดยสอดแทรกแนวคิดและวิธีปฏิบัติในการพัฒนาแบบยั่งยืนตอบุคลากรทองถิ่นทุกระดับ โดยเฉพาะ พระภิกษุสงฆซึ่งเปนผูดําเนินงานพระพุทธศาสนา ใหการศึกษา อบรมคุณธรรม เปนสื่อแหงบุญ ในขณะเดียวกันก็ตองปรับสภาพ จัดประโยชนเพื่อเขาสูยุคใหมของกระแสโลกที่เปลี่ยนไป (Paradigm Shift) ประเด็นที่ 3 ผูวิจัยตระหนักถึงความสําคัญของวัด เพราะถึงแมโลกจะเขาสูยุคเทคโนโลยี เลิศล้ําทางวัตถุเพียงไร พุทธศาสนิกชนก็ยังคงมีความเชื่อมั่นและยึดวัดเปนแหลงบุญในการหาที่พิงพักทางใจคนไทยใหความสําคัญกับวัด เพราะวัดยังธํารงไวซึ่งสัญลักษณ ขนบธรรมเนียมอันดีงาม เปนสิ่งยึดเหนี่ยวใหเกิดความสงบทางจิตใจ และเปนเสนหดึงดูดใจในการทองเที่ยวทางวัฒนธรรมไมเสื่อมคลาย

ดวยเหตุแหงความเปนมา และความสําคัญทั้ง 3 ประการดังกลาวขางตน ผูวิจัยยังมีจิตสํานึกผูกพันเปนสวนตัวในทองถิ่น กรุงธนบุรี เพราะเกิดและเติบโต ณ ตําบลบางยี่เรือ อําเภอธนบุรี จังหวัดธนบุรี ไดรับการศึกษาชั้นประถมและมัธยมศึกษาในเขตอําเภอภาษีเจริญ และเขตอําเภอคลองสาน ตามลําดับ จวบจนกระทั่งปจจุบันไดรับราชการ ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏ บานสมเด็จเจาพระยา อันเปนที่ต้ังของศูนยกรุงธนบุรีศึกษาดังกลาวแลวจึงเสมือนไดศึกษาคนควาวิจัย สรางและจรรโลงองคความรูในทองถิ่นบานเกิดอันเคยคุนศรัทธาใหเปนที่ประจักษถึงความหลากหลาย และความมีสีสันทางวัฒนธรรมยิ่งขึ้น

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 51

จากการศึกษาขอมูลวัดสําคัญในเขตทองถิ่นฝงธนบุรี จากการคํานึงถึงประโยชนของการจัดการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมแบบยั่งยืน และจากการยึดมั่นในความเปนมหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาทองถิ่น ผูวิจัยจึงเชื่อมั่นวาการจัดเสนทางวัดที่เลือกสรรแลวจะเปนขอมูลทางตรงในการเผยแพรความรูทางวัฒนธรรมในเขตฝงธนบุรี อีกทั้งการทองเที่ยวตามเสนทางวัดนี้ จะยกระดับคุณภาพการจัดการทองเที่ยว สงเสริมการประชาสัมพันธภาพลักษณการทองเที่ยวในชุมชน ในเขตทองถิ่นพุทธสถาน พัฒนาสิ่งแวดลอม วิถีชีวิต อันจะสงเสริมภาพลักษณการทองเที่ยวของสังคมทองถิ่น ของประเทศชาติอยางยั่งยืนตอไป วัตถุประสงคในการศึกษาวิจัย

1. เพื่อศึกษาบริบทของวัดในเขตพื้นที่ฝงธนบุรี 2. เพื่อศึกษาและตั้งเกณฑที่จะใชในการจัดระบบเสนทาง 3. เพื่อสรางและจัดระบบเสนทางวัดในเขตพื้นที่ฝงธนบุรี 4. เพื่อสงเสริมและเผยแพรวัดใหเปนแหลงทองเที่ยวทางวัฒนธรรมในทองถิ่น 5. เพื่อใหเปนโครงการตัวอยางตอเนื่องของโครงการการจัดเสนทางวัดตอไป

วิธีการวิจัย ผูวิจัยไดดําเนินการวิจัยเพื่อตอบสนองวัตถุประสงคดังกลาวตามขั้นตอน ดังนี้

1. ประชากรและกลุมตัวอยาง 2. ขั้นตอนการวิจัย

1) ขั้นการศึกษาบริบทของวัดในเขตพื้นที่ฝงธนบุรีเพื่อจัดรูปแบบเสนทางวัด 2) ขั้นการดําเนินการจัดระบบเสนทางวัดในเขตพื้นที่ฝงธนบุรี 3) ขั้นการประเมินการมีสวนรวมของชุมชนและประชาชนทองถิ่น 4) ขั้นการเผยแพรการวิจัยตอชุมชน

ประชากรและกลุมตัวอยาง ประชากร ประชากรที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ ไดแก วัดในเขตพื้นที่ฝงธนบุรี 11 เขต รวม 218 แหง คือ 1. เขตธนบุรี 25 แหง 2. เขตคลองสาน 8 แหง 3. เขตบางขุนเทียน 15 แหง 4. เขตจอมทอง 18 แหง 5. เขตบางกอกใหญ 13 แหง 6. เขตบางกอกนอย 30 แหง 7. เขตภาษีเจริญ 9 แหง 8. เขตหนองแขม – บางแค 32 แหง 9. เขตราษฎรบูรณะ 10 แหง

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 52

10. เขตบางพลัด 23 แหง 11. เขตตลิ่งชัน 32 แหง

กลุมตัวอยาง กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ ไดแก เสนทางวัด 1 เสนทาง จํานวน 9 วัด คือ วัดหงสรัตนาราม วัด

อรุณราชวรารามวรมหาวิหาร วัดราชคฤหวรวิหาร วัดอินทารามวรวิหาร วัดกัลยาณมิตรวรมหาวิหาร วัดระฆังโฆษิตารามวรมหาวิหาร วัดโมลีโลกยาราม วัดปากน้ํา วัดประยูรวงศาวาสวรวิหาร ซึ่งไดมาโดยการสุมแบบเจาะจง (Purposive Sampling) โดยมีเกณฑและขอบเขตในการคัดเลือกในประเด็นสําคัญ 3 ประการ ดังนี้

1. เปนวัดที่ต้ังอยูในเสนคูเมืองธนบุรี 2. เปนวัดที่มีเอกลักษณโดดเดนชัดเจน 3. เปนวัดในเสนทางสัญจรได 3 ทาง คือ ทางรถ ทางเรือ และ ทางเดินเทา

ขั้นตอนการวิจัย ผูวิจัยไดดําเนินการวิจัยตามขั้นตอน ดังนี้

1. ขั้นการศึกษาบริบทของวัดในเขตพื้นที่ฝงธนบุรีเพื่อจัดรูปแบบเสนทางวัด 1.1 ศึกษาขอมูลบริบทของวัดทุกแหงในเขตฝงธนบุรี โดยการคนควา วิเคราะหเอกสาร (Content

Analysis) จากแหลงขอมูลตาง ๆ 1.2 จัดต้ังเกณฑ รูปแบบความสําคัญ เสนทางวัดที่คัดเลือกแลว จํานวน 9 แหง มีหลักเกณฑ ดังนี้

- อยูในรัศมีของมหาวิทยาลัยราชภัฎบานสมเด็จเจาพระยา ไมเกิน 3 กิโลเมตร - เปนวัดที่สามารถเดินทางไดสะดวก ทั้งทางรถ ทางเดินเทา และทางเรือ โดยการวิจัยครั้งนี้

เนนทางเรือเปนหลัก เพราะสะดวกคลองตัว เปนเสนทางทองเที่ยวทางเรือที่ไดบรรยากาศธรรมชาติ และภูมิรูทางวัฒนธรรมไปพรอมกัน

- เปนวัดที่ต้ังอยูริมคลองสายประวัติศาสตร คือ คลองบางหลวง (คลองบางกอกใหญ) - เปนวัดหลวง มีความเกาแก และมีคุณคาทางประวัติศาสตร มีปฏิสัมพันธระหวางบุคคล

ในการสรางหรือบูรณะวัด ระหวางกษัตริยกับขุนนาง กับพระสงฆ และกับประชาชน - เปนวัดที่มีช่ือเสียงอยางตอเนื่องจากอดีตจนถึงปจจุบัน

2. ขั้นการดําเนินการจัดระบบเสนทางวัดในเขตพื้นที่ฝงธนบุรี 2.1 สรุปขอมูลจากการศึกษาบริบทของวัด เสนทางวัดในเขตพื้นที่ฝงธนบุรีตามเกณฑการคัดเลือก

ตรงตามวัตถุประสงค จํานวน 9 วัด ดังนี้ 2.1.1 วัดหงสรัตนาราม เขตบางกอกใหญ 2.1.2 วัดอรุณราชวราชวรารามวรมหาวิหาร เขตบางกอกใหญ 2.1.3 วัดราชคฤหวรวิหาร เขตธนบุรี 2.1.4 วัดอินทารามวรวิหาร เขตธนบุรี

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 53

2.1.5 วัดกัลยาณมิตรวรมหาวิหาร เขตธนบุรี 2.1.6 วัดระฆังโฆษิตารามวรมหาวิหาร เขตบางกอกนอย 2.1.7 วัดโมลีโลกยาราม เขตบางกอกใหญ 2.1.8 วัดปากน้ํา เขตภาษีเจริญ 2.1.9 วัดประยูรวงศาวาสวรวิหาร เขตธนบุรี

2.2 สํารวจเสนทางวัดทั้ง 9 วัด ผูวิจัยไดดําเนินการสํารวจเสนทางวัดทั้ง 9 วัด โดยทางเรือ อันเปนวัตถุประสงคหลักในการ

ดําเนินการจัดรูปแบบการทองเที่ยวในครั้งนี้ โดยการเชาเหมาเรือยนต เริ่มจุดลงเรือที่ทาน้ําวัดประดิษฐาราม หางจากมหาวิทยาลัยราชภัฎบานสมเด็จเจาพระยา ประมาณ 800 เมตร ไดดําเนินการสํารวจเสนทาง จํานวน 3 ครั้ง ๆ ละ ประมาณ 4 ช่ัวโมง

2.3 ดําเนินการแจงและขออนุญาตการจัดทําโครงการ ผูวิจัยไดดําเนินการทําหนังสือราชการ ถึงเจาอาวาสวัดในเสนทางการจัดการทองเทีย่ว เพื่อขอ

อนุญาตจัดทําโครงการวิจัย เรื่อง การจัดเสนทางวัดในเขตพื้นที่ฝงธนบุรีใหเปนแหลงทองเที่ยวแบบยั่งยืนในทองถิ่น

3. ขั้นการประเมินการมีสวนรวมของชุมชนและประชาชนทองถิ่น 3.1 ขอพบเจาอาวาส หรือตัวแทน (ไวยาวัจกร) ของวัด 3.2 สัมภาษณกลุมภาคี ไดแก กรรมการวัด ประชาชนที่อยูใกลเคียง พอคา แมคา ที่คาขายอยูรอบ

บริเวณวัด 3.3 จัดประชุมยอย ประกอบดวย ตัวแทนเจาอาวาส ไดแก รองเจาอาวาส กรรมการวัด (บางคน)

ประชาชนในเขตพื้นที่วัด 4. ขั้นการเผยแพรการวิจัยตอชุมชน

4.1 จัดทําหนังสือทองเที่ยวเสนทางวัด ฉบับทองถิ่น 4.2 เขียนรายงานสรุปฉบับสมบูรณ 4.3 เผยแพรประชาสัมพันธโครงการ

ผลการวิเคราะห สรุปและอภิปรายผลการวิจัย

ในการ วิเคราะหขอมูล สรุป อภิปรายผลโครงการวิจัย เรื่อง การจัดเสนทางวัดในเขตพื้นที่ฝงธนบุรีใหเปนแหลงทองเที่ยวแบบยั่งยืนในทองถิ่น ผูวิจัยไดนําเสนอ ขอสรุปและอภิปรายผลการวิจัยตามวัตถุประสงคการวิจัย นอกจากนี้ไดนําเสนอรายงานการประเมินผลของผูรวมกิจกรรมเสนทางวัด 1. บริบทของวัดในเขตพื้นที่ฝงธนบุรี

จากการศึกษารวบรวมขอมูล ณ ปจจุบัน พบวาพื้นที่ฝงธนบุรีจําแนกเปน 15 เขตไดแก เขตคลองสาน จอมทอง ตลิ่งชัน ทวีวัฒนา ทุงครุ ธนบุรี บางกอกนอย บางกอกใหญ บางขุนเทียน บางแค บางบอน บางพลัด ภาษีเจริญ ราษฎรบูรณะและหนองแขม ประกอบดวยวัด จํานวน 218 แหง ไดแก เขตธนบุรี 25 แหง เขตคลองสาน 8 แหง เขตบางขุนเทียน 15แหง เขตจอมทอง 18 แหง เขตบางกอกใหญ13 แหง เขตบางกอก

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 54

นอย 30 แหง เขตภาษีเจริญ 9 แหง เขตหนองแขม – บางแค 32 แหง เขตราษฎรบูรณะ 10 แหง เขตบางพลัด 23 แหง เขตตลิ่งชัน 32แหง ซึ่งแตละแหงมีความหลากหลายทางวัฒนธรรม พรอมดวยคุณคาทางประวัติศาสตร ศิลปะ วัฒนธรรม โบราณสถาน โบราณวัตถุ ควรคาแกการอนุรักษ และพัฒนาใหเปนแหลงการทองเที่ยวแบบยั่งยืนเขตธนบุรี นอกจากนี้วัดในเขตฝงธนบุรีเกือบทุกวัดไดปรับสภาพสิ่งแวดลอม เปนสถานที่ฝกอาชีพ เปนศูนยรวมผูคน ชุมชน เปนแหลงวิชาชีพ ไดแก หมอดู หมอยา หมอนวด ชางทั้งหลาย ตลอดถึงผูชํานาญในดานเกษตรกรรมสาขาตางๆ อีกทั้งในปจจุบันวัดไดรวมมือกับศูนยการศึกษานอกโรงเรียนเพื่อจัดเปนเปนศูนยใหการศึกษาระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษา ไดแกศนูยการศึกษานอกโรงเรียนวัดอมรินทราราม เขตบางกอกนอย และบางวัดไดรวมมือกับมหาวิทยาลัย ในการจัดศูนยการศึกษาระดับอุดมศึกษา ไดแก ศูนยการศึกษามหาวิทยาราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา ณ วัดจําปา เขตตลิ่งชัน เปนตน โดยเฉพาะอยางยิ่งบริบทของวัดในเขตฝงธนบุรียังคงสภาพสิ่งแวดลอมและการดําเนินชีวิตเปนธรรมชาติอยูมาก กลาวคือ ยังเปนที่เปนเรือก สวน ไรนา ดังนั้น วัดจึงยังมีสภาพรมรื่นเปนสโมสรชาวบาน เปนที่นัดประชุม แจงขาวราชการ เชน การคัดเลือกทหาร การเลือกต้ังตางๆ เปนตน ดังนั้น บริบทของความมีเอกลักษณของวัดในเขตพื้นที่ฝงธนบุรี เปนวัดในพระพุทธศาสนาของประเทศไทยที่ยังคงมีลักษณะเดนและมีความสําคัญดังกลาว จะลดความสําคัญลงบางก็เพียงในบางลักษณะ แตโดยรวมแลวยังจัดไดวา วัดยังธํารงไว ซึ่งสัญลักษณ ขนบธรรมเนียมอันดีงาม เปนสิ่งยึดเหนี่ยวใหเกิดความสงบทางจิตใจ และเปนเสนหดึงดูดใจในการทองเที่ยวทางวัฒนธรรมไมเสื่อมคลาย

2. ศึกษาและตั้งเกณฑท่ีจะใชในการจัดระบบเสนทางจากการศึกษาขอมูลบริบทของวัดใน เขตทองถิ่นฝงธนบุรี ผูวิจัยได ศึกษาคนควาขอมูลเพื่อจัดตั้งเกณฑ รูปแบบความสําคัญ เสนทางวัดที่คัดเลือกแลว ใหเหลือ จํานวน 9 แหง โดยมีขอกําหนดหลักเกณฑ ดังนี้คือ 1) วัดทั้ง 9 วัด ตองอยูในรัศมีของมหาวิทยาลัยราชภัฎบานสมเด็จเจาพระยา ไมเกิน 3 กิโลเมตร เนื่องจากผูวิจัยเปนอาจารย ณ มหาวิทยาลัยดังกลาว อีกทั้งในปจจุบันมหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยาเปนศูนยขอมูลทองถิ่นฝงธนบุรี และไดประสานกับมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรีในโครงการจัดต้ังศูนยธนบุรีศึกษา ดังนั้นการจัดเสนทางทองเที่ยวทางวัดเปนการประสาน และสงเสริมวัดและชุมชนที่อยูรายรอบมหาวิทยาลัยในรัศมี 3 กิโลเมตร เปนการยกระดับภูมิทัศนและชุมชนศึกษาอยางครบวงจรคือ บาน วัด สถานศึกษา 2) เปนวัดที่สามารถเดินทางไดสะดวก ทั้งทางรถ ทางเดินเทา และทางเรือ โดยการวจิัยครั้งนี้เนนทางเรือเปนหลัก เพราะสะดวกคลองตัว เปนเสนทางทองเที่ยวทางเรือที่ไดบรรยากาศธรรมชาติ และภูมิรู ทางวัฒนธรรมไปพรอมกัน อีกทั้งจุดเริ่มตนตั้งอยูมหาวิทยาลัยบานสมเด็จเจาพระยา ซึ่งใกลกับทาเรือของคลองบางหลวง ลงเรือไดที่ทาน้ําวัดประดิษฐาราม (วัดมอญ) และใกลกับแมน้ําเจาพระยา ลงเรือไดที่ ทาน้ําใกลวัดประยุรวงศาวาส เปนตน 3) เปนวัดที่ต้ังอยูริมคลองสายประวัติศาสตร คือ คลองบางหลวง(คลองบางกอกใหญ) จากการคนควาพบวาในนสมัยกรุงธนบุรี “คลองบางหลวง” หรือ “คลองบางกอกใหญ” เปนคลองที่มีความสําคัญอยางยิ่ง โดยปากคลองบางกอกใหญเคยเปนที่ต้ังพระราชวังหลวงของพระเจากรุงธนบุรีและปอมวิไชยประสิทธิ์ ตลอดสองฝงคลองก็เปนที่ต้ังบานเรือนของบรรดาขุนนางขาราชการผูใหญที่มีอาณาบริเวณกวางขวางสลับกับบานเรือนราษฎร ในปจจุบันบริเวณริมคลองบางกอกใหญยังไดถูกกรมศิลปากรขึ้นทะเบียนเพื่ออนุรักษไวเปนมรดกทางศิลปวัฒนธรรมของชาติดวย อาทิ พระราชวังเดิม ซึ่งเคยเปนพระราชวังหลวงของ สมเด็จพระเจาตากสินมหาราช สมัยกรุงธนบุรีเปนราชธานี ปอมวิไชยประสิทธิ์ ที่สรางขึ้นในสมัยสมเด็จพระนารายณมหาราช วัดอรุณราชวรา

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 55

รามฯ ซึ่งเปนวัดโบราณ เดิมช่ือวาวัดมะกอก วัดหงสรัตนาราม เปนวัดที่สรางในสมัยกรุงศรีอยุธยา โดยเศรษฐีชาวจีนช่ือหงส วัดสังขกระจายวรวิหาร วัดเครือวัลยวรวิหาร มัสยิดตนสน เปนตน (สายทิพย, 2544) 4) เปนวัดหลวง มีความเกาแก และมีคุณคาทางประวัติศาสตร มีปฏิสัมพันธระหวางบุคคลในการสรางหรือบูรณะวัด ระหวางกษัตริยกับขุนนาง กับพระสงฆ และกับประชาชน 5) เปนวัดที่มีช่ือเสียงอยางตอเนื่องจากอดีตจนถึงปจจุบัน ผูวิจัยอภิปรายผลไดวา เกณฑการคัดเลือกวัดทั้ง 9 วัดนี้ไมเปนอุปสรรคในการคัดเลือกวัดในการจัดเสนทางทองเที่ยวแตอยางใดโดยเฉพาะเกณฑในขอ4 ที่กลาววาตองเปนวัดหลวงที่มีสายใยเชื่อมโยงระหวางกษัตริย ขุนนาง ชาวบาน พระสงฆ ความจริงแลวมีวัดที่มีคุณลักษณะและคุณคาดังกลาวเกินจํานวน 9 วัดที่กําหนดไวมากมายหลายวัดทีเดียว สืบเนื่องจากเขตธนบุรีเปนเขตอุดมดวยวัด และสายน้ําคลองบางหลวงก็คือ คลองที่เปนที่ต้ังบานเรือนของเหลาขุนนางขาหลวงแตโบราณดังกลาวแลว อยางไรก็ตาม จากขอมูลจากการศึกษาบริบทของวัด และเกณฑทั้ง 5 ดังกลาว ผูวิจัยอภิปรายผลไดวาไดเสนทางวัดในเขตพื้นที่ฝงธนบุรีตามเกณฑการคัดเลือกตรงตามวัตถุประสงค จํานวน 9 วัด นอกจากนั้นยังตรงตามเกณฑองคประกอบดานพื้นที่ องคประกอบดานการจัดการ องคประกอบดานกิจกรรม และองคประกอบดานการมีสวนรวมของชุมชน เปนที่นาพอใจอยางยิ่ง เสนทางวัด 9 วัดไดแก 1) วัดหงสรัตนาราม เขตบางกอกใหญ 2) วัดอรุณราชวราชวรารามวรมหาวิหาร เขตบางกอกใหญ 3) วัดราชคฤหวรวิหาร เขตธนบุรี 4)วัดอินทารามวรวิหาร เขตธนบุรี 5) วัดกัลยาณมิตรวรมหาวิหาร เขตธนบุรี 6) วัดระฆังโฆษิตารามวรมหาวิหาร เขตบางกอกนอย 7) วัดโมลีโลกยาราม เขตบางกอกใหญ 8) วัดปากน้ํา เขตภาษีเจริญ และ 9)วัดประยูรวงศาวาสวรวิหาร เขตธนบุรี สามารถสรุปอภิปรายผลไดวาการจัดเสนทางวัดที่เลือกสรรแลวจะเปนขอมูลทางตรงในการเผยแพรความรูทางวัฒนธรรมในเขตฝงธนบุรี อีกทั้งการทองเที่ยวตามเสนทางวัดนี้ จะยกระดับคุณภาพการจัดการทองเที่ยว สงเสริมการประชาสัมพันธภาพลักษณการทองเที่ยวในชุมชน ในเขตทองถิ่นพุทธสถาน พัฒนาสิ่งแวดลอม วิถีชีวิต และสงเสริมภาพลักษณการทองเที่ยวของสังคมทองถิ่น ของประเทศชาติ

3. สรางและจัดระบบเสนทางวัดในเขตพื้นที่ฝงธนบุรี ผูวิจัยไดดําเนินการสํารวจเสนทางวัดทั้ง 9 วัด โดยทางเรือ อันเปนวัตถุประสงคหลักในการดําเนินการจัดรูปแบบการทองเที่ยวในครั้งนี้ โดยการเชาเหมาเรือยนต เริ่มจุดลงเรือที่ทาน้ําวัดประดิษฐารามหางจากมหาวิทยาลัยราชภัฎบานสมเด็จเจาพระยา ประมาณ 800 เมตร ไดดําเนินการสํารวจเสนทาง จํานวน 2 ครั้ง โดยจางเหมาเรือหางยาวในครั้งแรกเพื่อดูสถานที่ทั้ง 9 วัดตามเกณฑที่ไดกําหนดไวและเพื่อจับคํานวณเวลาตลอดเสนทาง ครั้งที่สองผูวิจัยและคณะฯไดดําเนินการทําหนังสือราชการ ถึงเจาอาวาสวัดในเสนทางการจัดการทองเที่ยว โดยขอพบเจาอาวาส หรือตัวแทน (ไวยาวัจกร) ของวัดไดแก วัดปากน้ํา วัดราชคฤหวรวิหาร วัดอินทารามวรวิหาร วัดกัลยาณมิตรวรมหาวิหาร (อีก 5 วัดดําเนินการจัดสงทางไปรษณีย) เพื่อขออนุญาตจัดทําโครงการวิจัย เรื่อง การจัดเสนทางวัดในเขตพื้นที่ฝงธนบุรีใหเปนแหลงทองเที่ยวแบบยั่งยืนในทองถิ่น ทั้งเจาอาวาสและตัวแทนวัดยินดี ใหความสนับสนุน โดยกลาววา ปกติจะมีทัวรมาลงอยูแลว ในการจัดเพิ่มเปนไหวพระทางเรือ 9 วัดเชนนี้จะเปนการเพิ่มสีสัน โดยเฉพาะในเขตธนบุรียังไมมีผูใดจัดไหวพระ 9 วัดเลย ในครั้งนี้ไดรับความอนุเคราะหจาก ผูชวยศาสตราจารยอุไรวรรณ ไทรชมพูและคณะ เลขานุการชุดโครงการการพัฒนาแหลงทองเที่ยว มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครในการสํารวจเสนทางและประเมินโครงการดวย สามารถอภิปรายผลไดวา การ

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 56

สํารวจเสนทางวัดและการขออนุญาตจัดดําเนินการดังกลาวเปนไปดวยความราบรื่นอยางยิ่ง สามารถลองเรือ ขึ้น-ลงตามกําหนดเวลาและระยะทาง อีกทั้ง เจาอาวาสและตัวแทนวัดยินดี ใหความสนับสนุนไมมีอุปสรรคใดๆ 4. สงเสริมและเผยแพรวัดใหเปนแหลงทองเท่ียวทางวัฒนธรรมในทองถิ่นเพื่อใหเปน โครงการตัวอยางตอเนื่องของโครงการการจัดเสนทางวัดตอไป จากการศึกษาพบวา ในการจัดโครงการทองเที่ยวเสนทางวัดนี้ อันประกอบดวยการจัดกิจกรรมเสนทางไหวพระ 9 วัด การประชาสัมพันธ และแจกเอกสาร การใหภาคีวัดมีสวนรวมในการพัฒนาชุมชนวัดและสิ่งแวดลอม จัดไดวา เปนกิจกรรมที่สําคัญอยางหนึ่งของการพัฒนาวัฒนธรรมไทย สุพิศวง ธรรมพันทา ( 2533) กลาวา การสรางสรรคทางวัฒนธรรม คือการจัดกิจกรรม หรือดําเนินการใหมีการริเริ่ม สรางสรรคเพื่อใหประชาชนไดมีโอกาสสัมผัสกับวัฒนธรรม ใหมีความรูความเขาใจ ความซาบซึ้ง และการประพฤติปฏิบัติที่เหมาะสมถูกตอง เชน การจัดการทองเที่ยวทางวัฒนธรรม ทําใหประชาชนไดรับบริการตางๆ เปนการขจัดหรือลดภาวะการขัดแยงระหวางกลุมวัฒนธรรม โดย การใหชุมชนไดมีความรู ความเขาใจ ความซาบซึ้งในวัฒนธรรมของกันและกัน ตลอดทั้งเปดโอกาสใหบุคคลมีสิทธิเสรีภาพในการประพฤติปฏิบัติวัฒนธรรมที่กลุมของตนไดเลือกสรรแลว นอกจากนั้นยังเปนการอนุรักษ ทํานุบํารุงและฟนฟูวัฒนธรรม ไดสั่งสมสืบทอดมาจากอดีต แมบางอยางอาจไมใชประโยชนในปจจุบันแลวก็ตาม เชน โบราณสถาน โบราณวัตถุ แหลงโบราณคดี และประวัติศาสตรใหคงอยูเพื่อประโยชนในการศึกษา คนควาหารองรอยของความเจริญทางวัฒนธรรมในอดีต ประเด็นสําคัญคือเปน การเสริมสรางเอกลักษณของชาติ คือการจัดกิจกรรมทองเที่ยววัดนี้ทําใหประชาชนมีสิ่งยึดเหนี่ยวทางจิตใจ มีความรูความเขาใจในลักษณะดีเดนของหมูคณะและสถาบันชาติ ศาสนา มหากษัตริย และชักนําใหประพฤติปฏิบัติอยางถูกตองสอดคลองกับลักษณะเดนอันเปนเอกลักษณของหมูคณะและของประเทศชาติ อยางไรก็ตาม ในการจัดกิจกรรมเพื่อใหดํารงอยูอยางตอเนื่อง ผูวิจัยไดดําเนินการโดยประเมินการมีสวนรวมของชุมชนและประชาชนทองถิ่น และเผยแพรการวิจัยตอชุมชน โดยการพบสัมภาษณภาคีทองถิ่น วางแผนการจัดการและเพิ่มขีดความสามารถทางการทองเที่ยว การจัดภูมิสถาปตย พัฒนาดานพื้นที่และความรวมมือของชาวบาน โดยจัดโครงการเปนมิตรกับสิ่งแวดลอมเพื่อการทองเที่ยวอยางยั่งยืนอันเปนโครงการเพิ่มเติมที่ทําใหชุมชนวัดปรับปรุงดูแลความสะอาด สามารถอภิปรายผลไดวา ชุมชนแตละวัดมีการปรับปรุง พัฒนา และใหความรวมมืออยางดียิ่ง ไดแก ชุมชนวัดอินทรารามวรวิหาร ชุมชนวัดหงสรัตนาราม ชุมชนวัดโมลีโลกยาราม นอกจากนั้นดําเนินการจัดเสนทางทองเที่ยวขึ้นในวันเสารที่ 13 พฤษภาคม 2549 โดยมีรายงานการประเมินการจัดกิจกรรมแบงเปน 2 ตอนดังนี้

ตอนที่ 1 ผูเขารวมกิจกรรมมีความพึงพอใจตอการจัดการทองเที่ยวเสนทางวัดในเขตพื้นที่ฝงธนบุรี ในระดับ มาก โดยเรียงลําดับจากคาเฉลี่ยมากไปนอย 3 อันดับแรก ไดแก ความเหมาะสมของการจัดอาหารกลางวันและอาหารวาง ความเหมาะสมของเวลาและระยะทาง ความพึงพอใจที่ไดรับจากบรรยากาศของชุมชนในวัด บริเวณวัด

ตอนที่ 2 ปญหา อุปสรรค และขอเสนอแนะ เรียงลําดับจากความถี่มากไปนอยตามลําดับ ดังนี้ 1) ควรจัดเวลาใหเชากวานี้ 2) ควรมีวิทยากรบรรยายมากกวา 1 คน 3) ควรมีเวลาของการเยี่ยมชมแตละวัดใหนานกวานี้ 4) ควรประชาสัมพันธใหมากกวานี้ 5) ควรรวมมือกับประชาชนชาวบานหรือการทองเที่ยวแหงประเทศไทย 6) ขอช่ืนชมกับการจัดทัวรแบบนี้ 7) เอกสารและของแจกประทับใจมาก

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 57

ผลการเปล่ียนแปลง หลังจากการปฏิบัติการโครงการวิจัยแบบมีสวนรวม (Participatory Action Research)

การวิจัยชุดโครงการ การจัดเสนทางวัดในเขตพื้นที่ฝงธนบุรีใหเปนแหลงทองเที่ยวแบบยั่งยืนในทองถิ่น ผูวิจัยไดศึกษาวิเคราะหขอมูลเพื่อประเมินผลตาม วัตถุประสงค และ คําถามการวิจัยนอกจากนี้ ไดวิเคราะหประสิทธิภาพของกระบวนการวิจัย กระบวนการแกปญหา ศักยภาพและระดับการมีสวนไดสวนเสียในพ้ืนที่ และขอนําเสนอผลการเปลี่ยนแปลงหลังการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีสวนรวม (Participatory Action Research) ที่เกิดขึ้นในพื้นที่การวิจัย ดังตอไปนี้ 1. ผูวิจัย และคณะวิจัย 1.1 ไดเรียนรูกระบวนการทําวิจัย เขาใจกระบวนการทําวิจัย การปฏิบัติการ การเขียนรายงาน การนําเสนองานวิจัย จากคําแนะนํา การติดตามประเมินผลของทานวิทยากรอยางสมบูรณแบบ ขึ้นอยูกับผูวิจัยที่จะเรียนรู ตอยอดตอไป 1.2 ไดมิตรภาพระหวางคณะนักวิจัยในโครงการ สมาชิกนักวิจัยตางสถาบัน ทําใหมีพันธมิตรในการเรียนรู ปฏิบัติการในโครงการงานวิจัยมากยิ่งขึ้น 1.3 ไดแนวทางในการประสานงานกับภาคีชุมชน โดยปรับกระบวนการและสรางกิจกรรม ในการพัฒนา เพื่อใหบรรลุตามเปาหมายการดําเนินงาน 2. ภาคีชุมชน 2.1 เกิดกระบวนการพัฒนาเปลี่ยนแปลงตามเปาหมาย กลาวคือ ชุมชนวัดหงสรัตนาราม ชุมชนวัดอรุณราชวราชวรารามวรมหาวิหาร ชุมชนวัดราชคฤหวรวิหาร ชุมชนวัดอินทารามวรวิหาร ชุมชนวัดกัลยาณมิตรวรมหาวิหาร ชุมชนวัดระฆังโฆษิตารามวรมหาวิหาร ชุมชนวัดโมลีโลกยาราม ชุมชนวัดปากน้ํา และชุมชนวัดประยูรวงศาวาสวรวิหาร มีความเต็มใจและมีความพรอมในการรวมมือจัดเสนทางวัดใหเปนแหลงทองเที่ยวในเขตพื้นที่ฝงธนบุรี ชุมชนในวัดและรอบวัด และภาคีของวัดแตละแหงเห็นดวยกับการพัฒนาจัดสิ่งแวดลอมในวัด และบริเวณรอบวัดเพื่อสนองโครงการทองเที่ยวเสนทางวัดแบบยั่งยืนในทองถิ่น 2.2 ภาคีชุมชนไดเรียนรู กอใหเกิดพฤติกรรมคาดหวังเพื่อพัฒนาชุมชน คือการอนุรักษและใชทรัพยากรอยางพอดี การลดการบริโภคที่มากเกินจําเปน และการลดของเสีย การรักษาและ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม 2.3 เกิดกระบวนการ การทองเที่ยวที่รองรับกิจกรรมทางเศรษฐกิจทองถิ่น การมีสวนรวมอยางเต็มที่ของทองถิ่น การปรึกษาหารือกันอยางสม่ําเสมอระหวางประชาชนทองถิ่น การแกปญหาและลดขอขัดแยงในผลประโยชนที่แตกตางกัน การฝกอบรมบุคลากรโดยสอดแทรกแนวคิดและวิธีปฏิบัติในการพัฒนาแบบยั่งยืนตอบุคลากรทองถิ่นทุกระดับ 3. ผูวิจัยกับชุมชน เกิดการพัฒนารวมมือในการบริหารจัดการอยางเห็นประโยชนที่จะเกิดขึ้นในชุมชนวัด รอบวัด ตลอดจนถึงเสนทางทองเที่ยววัดทุกแหง อีกทั้งสมาชิกในชุมชนไดขานรับ มีสวนรวมในการพัฒนาชุมชนอยางตอเนื่อง เกิดศูนยชุมชน ศูนยอบรมมัคคุเทศกของทองถิ่น อันจะทําใหโครงการจัดการทองเที่ยวเสนทางวัดในเขตฝงธนบุรีประสบผลสําเร็จสูการทองเที่ยวแบบยั่งยืนไดทั้งในปจจุบันและอนาคต

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 58

บรรณานุกรม “การวางแผนพัฒนาประเทศเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน”. (2005). เขาถึงไดใน: http://www.nectec.or.th/courseware/siamculture/travel/knowledge/travel04. กรมการศาสนา, กระทรวงศึกษาธิการ. (2547). วัดในกรุงเทพมหานคร. การทองเที่ยวแหงประเทศไทย กองวางแผนโครงการ. (2540). รายงานสรุปนโยบายการทองเที่ยวเชิงนิเวศ. กรุงเทพฯ : การทองเที่ยวแหงประเทศไทย. คณะสิ่งแวดลอมและทรัพยากรศาสตร. (2537). การศึกษาขีดความสามารถในการรองรับนักทองเท่ียวในพื้นที่เขต บริการและเขตนันทนาการของอุทธยานแหงชาติภูกระดึง จังหวัดเลย. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหิดล. จักรพงศ แทงทอง. (2542). การศึกษาศักยภาพของอุทธยานน้ําหนาว จังหวดัเพชรบูรณในการเปนแหลง ทองเท่ียวเชิงอนุรักษ. มหาวิทยาลัยขอนแกน. เพ็ญศรี เจริญวานิช และนิติพล ภูตะโชติ. (2541). การพัฒนาตลาดการทองเท่ียวเชิงนิเวศของภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ. เสนอตอมหาวิทยาลัยขอนแกน. พจนา เอื้องไพบูลย. (2546, กรกฎาคม-สิงหาคม). “การพัฒนาที่ยั่งยืน”. เศรษฐกิจและสังคม. 40(3) : 41-54. พระธรรมปฎก. (2540). การพัฒนาที่ย่ังยืน. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโกมล คีมทอง. ฟน ดอกบัว. (2534). พระพุทธศาสนากับคนไทย. กรุงเทพฯ: บูรพาสาสน. ลําไย หงสสิงห. (2541). การศึกษาศักยภาพของเขื่อนอุบลรัตนในการเปนแหลงทองเท่ียว. มหาวิทยาลัยขอนแกน. ศูนยเครือขายความรูวัฒนธรรม. (2547). ชลบุรี : มหาวิทยาลัยบูรพา. สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย. 2542. รายงานขั้นสุดทาย การ ดําเนินการเพื่อกําหนดนโยบายการทองเท่ียวเชิงนิเวศ. เสนอตอการทองเที่ยว แหงประเทศไทย. สายทิพย. (2544, กรกฎาคม). “บันทึกวัฒนธรรม: รําลึกคลองบางหลวง...สูปจจุบนัคลอง บางกอกใหญ”. หญิงไทย. 619, (26) สุพิศวง ธรรมพันทา. (2533). พื้นฐานวัฒนธรรมไทย. กรุงเทพฯ: บูรพาสาสน. เอนก นาวิกมูล. (2546). ถิ่นฐานบานชอง. กรุงเทพฯ: พิมพคํา. Eber, Shirley. (1993). Sustainable Development. Oxford.

CLASSROOM ADMINISTRATIVE INNOVATION WITH THE POPULARITY OF HIGHER EDUCATION FOR WORLD’S LOCAL

UNIVERSITY: BANSOMDEJCHAOPRAYA RAJABHAT

UNIVERSITY, THAILAND∗

Dr. Panornuang Sudasna Na Ayudhya Bansomdejchaopraya Rajabhat University, Thailand

Abstract Rajabhat Universities are a group of public universities located in every part of Thailand and students

are usually from the local areas. This results in the increasing of student numbers continually. Thus, the current challenge facing Rajabhat Universities is the high pressure to maintain the numbers of students and the educational quality at the same time. Since 2004, Bansomdejchaopraya Rajabhat University, which is one of the oldest Rajabhat University, has had the rapidly increasing student numbers, which are both in and outside-campus; whereas, the University has stilled kept up the low tuition fee in order to give the educational opportunity to students from local areas. Under this situation, the important factor to lead the University passing the difficulty is the effective administration. Bansomdejchaopraya Rajabhat University has been promoted as World’s Local University with the administration that enchances the clustering of teachers, staff, students, and also any resources. This paper presented the administrative innovation and the practical experience in Bansomdejchaopraya Rajabhat University, especially concerning classroom and teaching administration. The paper also discusses research results from the study of views of first year students concerning studying under the new classroom and teaching administration. The results of this study caused the impact in the realization and improvement in the classroom administration in the University. ดวยนโยบายของมหาวิทยาลัยราชภัฏมุงเนนการขยายโอกาสทางการศึกษาเพื่อสนองความตองการของทองถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จพระยาไดดําเนินนโยบายดังกลาวอยางตอเนื่อง โดยมีจํานวนนักศึกษาเพิ่มขึ้นอยางมากทุกป ในขณะที่ยังคงอัตราคาธรรมเนียมการศึกษาไว เพื่อคงรักษาคุณภาพการจัดการศึกษาดวยความจํากัดของทรัพยากรทางการศึกษา ทางมหาวิทยาลัยจึงไดนํานโยบายการบริหารช้ันเรียนแบบใหมมาใช โดยในงานวิจัยน้ีมีวัตถุประสงคเพื่อนําเสนอผลการศึกษาประสิทธิผลของนโยบายดังกลาว โดยการสํารวจความคิดเห็นของนักศึกษาที่เรียนในรายวิชาดังกลาว รวมทั้งขอเสนอแนะ ที่นํามาซึ่งการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน ∗ Paper presented in the 12th International Conference on Education, “Changing Contours of Education: Future Trends” , Organised by Sultan Hassanal Bolkiah Institute of Education, Universiti Brunei Darussalam, Brunei Darussalam, 21-24 May 2007.

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 60

Introduction

The Thai government realizes that the people are the center of development so all Thai people should be encouraged to participate in higher education. Dealing with an ever-increasing demand for higher education has turned many countries, including Thailand to face a challenge of their time in the recent time. There is the growing number of educationally-apt population ensued by the everwhelming inclinations to university studies. As a result admission capacity of university grew drastically. In this section, I get to introduce Rajabhat Universities and Bansomdejchaopraya Rajabhat University. Rajabhat Universities are Rajabhat University system, which is a group of public universities in Thailand. They were formerly developed from “Teacher’s college” following the Royal Command in 2004. Rajabhat Universities are the educational institutes for local development with the objectives of providing education for everyone. Bansomdejchaopraya Rajabhat University (BSRU) is one of the oldest Rajabhat Universities in Thailand. The University was originally established in 1896 and aims at improving the quality of life of the local people. BSRU seeks to increase the educational qualifications of working people, as well as expanding educational opportunities for secondary school graduates and certificate graduates. BSRU has established both undergraduate education and on-going post graduate education with it's mission to develop the community, conduct research activities, serve the public, provide appropriate technology, conserve arts and culture, promote teachers' qualifications and produce qualified teachers as a human resource for the country. BSRU officially has all the honours of other State universities to provide education from kindergarten up to doctoral degree level. Additionally, the University provides the education for local people around Thailand with more than 20 academic centers. Since 2004, in order to provide the people with increased educational opportunities at university level following the governmnet policy, the number of students in both inside and outside campus of Bansomdejchaopraya Rajabhat University has had continually increased, whereas, the University tried to keep up the low tuition fee. With the expansion of students, limited budget, facilities constraints, this is the challenge to keep the educational quality. One of the important contributing factor is the university administration that enchances the clustering of teachers, staff, students, and also any resources.

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 61

0

5000

10000

15000

20000

25000

2002y 2003y 2004y 2005y 2006y

Academic Year

Num

ber

Total Number Enrolment Figure 1: The Total Number and the Enrolment of Inside and Outside Campus Bachelor Degree’s Students (2002-2006) Innovative Classroom Administration Presently, in the first year, students of Bansomdejchaopraya Rajabhat University must receive instruction in 8 fundamental subjects for 30 credits. For these courses, teaching system comprises large-group lectures combined with co-teach course mode. These 8 fundamental subjects are from specific departments or disciplines. The disciplines of Thai language, English language, Philosophy, Arts, Sociology, Psychology, Technology, and Sciences are introduced during this year. The first year also introduces the “TRENDS” Model method of instruction (as presented in Figure 2). The interdisciplinary teaching focused around this teaching model. Students in the second and the third years continue the specific courses and the elective courses of their program. Finally, Students in the fourth year have to complete the field exercises, field works with either private or public, or NGOs organizations. The students are required to write a thesis for his/her field work using the “TRENDS” Model.

T Transmitting of International Knowledge R Research/Recovery of Data E Experiment in Local Situation N Newly Appropriate Knowledge D Distribution of Knowledge for Development S Service to Society

Figure 2: Applying TRENDS Model in Teaching

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 62

Aim The main aim of this research is to evaluate the classroom administration using large-group lectures combined with co-teach course mode among the first year students in order to provide staff with sufficient data to improve the quality of teaching system and provide the university with relevant information to inform future policy or strategy. Method Population and Sample Selection All first-year students studied in the fundamental courses formed the population of the study. These 8 fundamental subjects are presented as follow.

1. Thai for Communication and Information Retrieval 2. English for Communication and Information Retrieval 3. English for Communication and Study Skills 4. Thai Living 5. Global Society and Living 6. Human being and Environment 7. Aesthetic Appreciation 8. Meaning of Life

Participants The participants in the study were totally 800 first year students. There were divided as 100 students for each fundamental subject. The 100 students in each fundamental subject were randomly selected including both genders, 17-20 yrs-of-age. The students were from all 4 faculties of university, Faculty of Humanities and Social Science, Science and Technology, Education, and Management. Data Collection The study method involves data collection by questionnaire. The questionnaire consists of 3 Parts presented below. Part 1: Personal Information concerning Gender, Faculty, and Birthplace Part 2: Students were asked to express opinion in five point rating scale. The 11 questions fall into two dimensions:

I. Teaching, learning and assessment II. Overall evaluation

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 63

I Teaching, learning and assessment

1. I received the course outline and understood it clearly. 2. Teacher explained teaching and learning methods clearly. 3. Classroom environment stimulated my study. 4. Teaching facilities were available and effective. 5. The teaching activities stimulated my study. 6. The teaching document was useful and helped me to develop my study. 7. I received the assignment from teachers. 8. I understood the assessment requirement early in the class. 9. The assessment method was appropriated.

II Overall evaluation 10. The teaching of this subject was effective. 11. The course was valuable to my daily life.

The opinion was indicated by a five point rating scale, and was defined in this questionnaire as: 4-highest appropriated; 3-high appropriated, -2-moderate appropriated, 1-less appropriated, and 0-in appropriated. Part 3: Open question concerning the suggestion and general opinion. Data Analysis The quantitative approach was used to investigate the research questions. Descriptive statistics were used to analyze student opinions.

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 64

Results In this section, the research result in the issues of the characteristics of participants in each subjects are presented in Table 1 and the analysis of rating scale using mean are presented in Table 2.

Subjects Characteristics Percent Thai for Communication and Information Retrieval (TCI)

Gender

Male 72 Female 28 Faculty

Humanities & Social Science 52 Science & Technology 16 Education 14 Management 18 Birthplace

Bangkok 59 Others

41

English for Communication and Information Retrieval (ECI)

Gender

Male 44 Female 56 Faculty

Humanities & Social Science 14 Science & Technology 35 Education 30 Management 21 Birthplace

Bangkok 54 Others

46

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 65

Subjects Characteristics Percent English for Communication and Study Skills (ECS) Gender

Male 46 Female 54 Faculty

Humanities & Social Science 29 Science & Technology 8 Education 21 Management 42 Birthplace

Bangkok 42 Others 58 Global Society and Living (GSL) Gender

Male 40 Female 60 Faculty

Humanities & Social Science 30 Science & Technology 34 Education 8 Management 28 Birthplace

Bangkok 45 Others 55 Thai Living (TL) Gender

Male 44 Female 56 Faculty

Humanities &Social Science 22 Technology& Sciences 16 Education 30 Management 32 Birthplace

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 66

Subjects Characteristics Percent

Bangkok 48 Others 52 Global Society and Living (GSL) Gender

Male 40 Female 60 Faculty

Humanities &Social Science 30 Science & Technology 34 Education 8 Management 28 Birthplace

Bangkok 45 Others 55 Human being and Environment (HE) Gender

Male 52 Female 48 Faculty

Humanities& Social Science 30 Science & Technology 25 Education 17 Management 28 Birthplace

Bangkok 44 Others 56 Aesthetic Appreciation (AA) Gender

Male 39 Female 61 Faculty

Humanities &Social Science 20 Science & Technology 25

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 67

Subjects Characteristics Percent Education 21 Management 34 Birthplace

Bangkok 59 Others 41 Meaning of Life (ML) Gender

Male 45 Female 55 Faculty

Science & Technology 30 Humanities & Social Science 32 Education 20 Management 18 Birthplace

Bangkok 47 Others 53

Table 1: Characteristics of Student Participants Subjects Item

TCI ECI ECS GSL TL GSL HE AA ML 1 4 4 4 4 4 4 4 4 4 2 4 4 4 4 4 4 4 4 4 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 4 3 3 3 3 3 3 3 3 3 5 3 1 1 3 3 3 3 3 2 6 4 4 4 4 4 4 4 4 4 7 3 3 3 3 3 3 3 3 3 8 3 3 3 3 3 3 3 3 3 9 4 1 1 4 4 4 4 4 4 10 4 1 1 4 4 4 4 4 4 11 3 3 3 3 3 3 3 3 3

4-highest appropriated; 3-high appropriated, -2-moderate appropriated, 1-less appropriated, and 0-in appropriated.

Table 2: Comparative Students Opinions in Separate Subject in Each Item

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 68

As presented in Table 2, it is remarkable that in English for Communication and Information Retrieval (ECI) and English for Communication and Study Skills (ECS), the items concerning the stimulation of teaching activities, the appropriateness of assessment method and the effective of teaching were obtained lowest satisfied as compared to the other subjects. So, it is important to note that current classroom administration model of BSRU may be ineffective in some subjects as English subject which requires specialize professor in teaching.

Findings of Open Question All participants were asked to express their views concerning the effective of co- teaching. Their suggestions are as following: 1. Some teachers could not explain the lesson clearly. 2. The teachers should use more teaching materials, especially in the difficult lesson. 3. The teachers should provide more learning activities outside the classroom. Conclusions and Discussion

This study was intended to be the beginning step of searching for new educational administration strategies. It would be beneficial to those looking for effective strategies in teaching a large number of students with limited budget, facilities and constraints. With the research result, the improvement in large classroom teaching with co-tech model was improved with the strategies as cooperative teaching planning, teacher training, collaborated developing teaching plan and materials, etc.

References Kasertsart University (1997). A research report on higher education in Thailand: Crisis and alternative. (in

Thai). Bangkok: Kasertsart University Press. Wuthisen, S. (1985). The community-based pre and in-service educational personnel of the educational

network for rural development. Bangkok: ACEID-UNESCO ___________(1995). Innovative approaches for solving problems of youth in rural area: case studying

Thailand. Paper presented in an International Conference, UNESCO, Bangkok, December.

EFFECTS OF TRANS-RESVERATROL AND RED GRAPE PRODUCTS ON ABSORPTION AND LIVER

ULTRASTRUCTURES OF MICE AND CYTOTOXICITY IN HUMAN CANCER CELL LINES

ผลของทรานเรสเวออะทอลและผลิตภัณฑจากองุนแดงตอการดูดซมึ และอัลทราสตรักเจอรของตับของหนูเมาสและฤทธิ์การยับยั้งตอ

เซลลมะเร็งของคน

Dr. Napaporn Kaewdoungdee * Abstract Trans-resveratrol and red grape products have been known to be antioxidants and anticarcinogens. The present study investigated the total phenolic compound (TPC) contents of Zinfandel grape products, wine, juice and pomace, from the Suranaree University of Technology farm. The effects of grape products and trans-resveratrol on absorption of TPC in vivo, ultrastructure of mouse liver tissue, cytotoxicity and apoptotic induction on human cancer cell lines were investigated. The TPC content of ethanolic grape pomace extract (4,407.33±13.65 mg/L) was significantly higher than those of red wine (3,613.00±15.13 mg/L) and grape juice (1,102.67±21.96 mg/ml). After single oral administration, the highest absorptions of TPC content in plasma of ICR mice were 0.22±0.01 g/L at 12 h, and 0.22±0.01 g/L at 6 h post administration of juice and ethanolic grape pomace extract, respectively. In contrast, the recoveries of trans-resveratrol absorptions as analyzed by capillary electrophoresis were not detected in the plasmas of both trans-resveratrol and trans-resveratrol-spiked wine treated groups. Exposure of ICR mice to grape proucts and trans-resveratrol daily for six months reduced ultrastructural pathologic of hepatocytes, included minimal glycogen, fat accumulation, and organelle abnormality, compared to their corresponding vehicle controls. Trans-resveratrol and ethanolic grape pomace extract exhibited cytotoxic effects on pancreatic Panc 2.03 and cholangiocarcinoma SNU 1079 cells in a dose dependent manner assessed by MTS assay. * Dept. of Biology, Faculty of Science and Technology, Bansomdejchaopraya Rajabhat University

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 70

The cytotoxic activity was mediated via apoptosis as demonstrated by DAPI and decreased pro-caspase 3 and Bcl-2 protein expressions. These data suggest a possible mechanism of cytotoxicity in both cancer cell lines, at least in part, through the regulation of apoptosis-related proteins. Keywords: Trans-resveratrol/Ultrastructure/Cytotoxicity/Apoptosis/Cancer บทคัดยอ

ทรานเรสเวออะทอลและสารสกัดจากองุนแดงเปนสารตานอนุมูลอิสระและสารตานมะเร็ง การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค เพื่อตรวจหาปริมาณของสารประกอบฟนอลิกของผลิตภัณฑองุนแดงสายพันธุซินฟาน- เดลจากฟารมของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ซึ่งไดแก ไวน น้ําองุนและสารสกัด เอทานอลจากกากองุนและศึกษาผลของผลิตภัณฑองุน และสารทรานเรสเวออะทอลตอการดูดซึมของสารประกอบฟนอลิก และอัลทราสตรักเจอรของเนื้อเยื่อตับหนูเมาส ความเปนพิษ การยับยั้งวัฎจักรเซลล และการชักนําใหเกิดการตายแบบอะพอพโตซิสของเซลลมะเร็งของคนจากการตรวจหาปริมาณของสารประกอบฟนอลิกในผลิตภัณฑองุน พบวา สารประกอบฟนอลิกที่พบในสารสกัด เอทานอลจากกากองุน (4,407.33±13.65 มิลลิกรัมตอลิตร) มีปริมาณสูงกวาไวนแดง (3,613.00±15.13 มิลลิกรัมตอลิตร) และน้ําองุน (1,102.67±21.96 มิลลิกรัมตอลิตร) อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ หลังจากการปอนดวยน้ําองุนและสารสกัดเอทานอลจากกากองุนหนึ่งครั้ง พบการดูดซึมสูงสุดในพลาสมาของหนูเมาส ICR ที่ชวงเวลา 12 ช่ัวโมงเทากับ 0.22±0.01 กรัมตอลิตร และชวงเวลา 6 ช่ัวโมงเทากับ 0.22±0.01 กรัมตอลิตร ตามลําดับ แตการวิเคราะหหาปริมาณการดูดซึมของทรานเรสเวออะทอลในพลาสมาของหนูเมาส ICR โดยวิธี capillary electrophoresis ไมพบระดับของ ทรานเรสเวออทอลในพลาสมาของหนูเมาสทั้งในกลุมที่ไดรับทรานเรสเวออะทอลและ ทรานเรสเวออะทอลรวมกับไวน

การใหผลิตภัณฑองุนและทรานเรสเวออะทอลกับหนูเมาส ICR ทุกวัน ครบ 6 เดือน มีผลตอพยาธิวิทยาระดับอัลทราสตรักเจอรของเซลลตับตํ่า เมื่อเทียบกับกลุมควบคุมโดยพิจารณาจากการสะสมของไขมันและไกลโคเจน และความผิดปกติของออรแกเนลลในเซลลตับ ความเปนพิษของทรานเรสเวออะทอลและสารสกัดเอทานอลจากกากองุนตอเซลลมะเร็งตับออน Panc 2.03 และเซลลมะเร็งตับ SNU 1079 ขึ้นกับความเขมขนของสาร เมื่อทดสอบโดยวิธี MTS ขอมูลจากการวิจัยครั้งนี้เสนอแนะวากลไกที่ชักนําใหเกิดการตายในเซลลมะเร็งทั้งสองชนิดอาจจะเกิดผานทางการควบคุมของโปรตีนที่เกี่ยวของกับการชักนําใหเกิดการตายแบบอะพอพโตซิสของเซลลมะเร็งของคน Principle and important of the study

The use of synthetic antioxidants in food industry is severely restricted to both application and level. Hence there is a wide interest to natural antioxidants extracted from plants. Several polyphenol compounds extracted from plants possess antioxidant activity, and the research on polyphenols occurring in plants has attracted considerable interest due to the numerous and health-beneficial effects, such as antimutagenic, anticarcinogenic,

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 71

antiatherogenic, etc. Recently, a wide variety of polyphenolic compounds and non-flavonoids have been found mainly in vegetables and fruits especially in grapes and their derivatives (Frankel et al., 1993). One of the mian phytochemicals which is found in red grapes (Vitis vinifera) is trans-resveratrol. The beneficial effects of trans-resveratrol consumption include suppression of lipid peroxidation and eicosanoid synthesis, inhibition of platelet aggregation, anti-inflammatory, and vasorelaxant activities. Trans-resveratrol also has anticancer activities by affecting cell signaling pathway, modulating transcription factors, gene induction, regulation of enzyme activities and protein interactions in several in vivo and in vitro study. Cholangiocarcinoma is the highest incident primary liver cancer in the Northeast of Thailand (Vatanasapt et al., 1993) and is still a major health problem of people in this area. Pancreatic cancer is known as a cancer with poor prognosis. This malignant tumor is highly fatal and poor prognosis because there is no method for early detection and lack of effective treatments. Failure to Surgical resection of pancreatic cancer is available only in 15-20 % of all patients, while medical approaches, such as chemotherapy or radiation, have no cure. Induce apoptosis is a major factor limiting the efficacy of common treatment for cancer: surgical treatment, chemotherapy and radiotherapy (Dive, 1997). The resistance of pancreatic cancer and cholangiocarcinoma to chemotherapeutic agents is one of the serious problems in clinical situations. Therefore, suppression of apoptosis may be a feature of tumor promotion by chemical carcinogens. Indeed, many chemopreventive agents may act through the induction of apoptosis as a mechanism of anticarcinogenic action. Though there is enormous amount of data supporting trans-resveratrol’s and certain grape products such as wine and juice possess anticancer effects in vitro and in vivo, there is not much data on the chemopreventive and therapeutic effects of grape promace especially those that prepared from Zinfandel red grapes. In addition, to the best of the author’s knowledge, no studies of cytotoxic acitivities of trans-resveratrol and grape products against human cholangiocarcinoma SNU 1079 and pancreactic Panc 2.03 cells are conducted. Since both cholangiocarcinoma and pancreatic cancers are very poor prognosis, resistant to the available chemotherapeutic agents and hence represent the serious problems in clinical treatment, the present study aimed to explore the therapeutic potential of trans-resveratrol and certain grape products against two human cholangiocarcinoma and pancreatic cancer cell lines, SNU 1079 and pancreactic Panc 2.03 cells, respectively. In initial phase of the study, the total phenolic contents of the products of red grapes grown at Suranaree University of Technology (SUT) farm and trans-resveratrol absorption in mice were determined. Then the chemopreventive effect of the products of red grapes on ultrastructural changes of liver tissue in mice was investigated. The last part of the study was to assess the cytotoxic and antiproliferative effects of trans-resveratrol and grape products on SNU 1079 and Panc 2.03 cells. The alteration of singaling protein factors in apoptotic pathway as the molecular mechanism of cytotoxicity on the cancer cell lines was also explored. Objectives of the study

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 72

The main objectives of this investigation are as follows : 1. To investigate the total phenolic content of red grapes products (red win, grape juice and grape

pomace) and absorption of commercial trans-resveratrol and grape products in ICR mice. 2. To observe the effect of prolonged administration of commercial trans-resveratrol and red grape

products on ultrastructural change of liver tissue in ICR mice. 3. To find cytotoxicity of commercial trans-resveratrol and red grapes products against selected

human cancer cells in vitro. Expected results

The anticipated outcomes from this study should: 1. Provide the basic toxicological data of medicinal plant, red grapes products, which are putatively beneficial for safety application. 2. Provide information on chemopreventive effects of trans-resveratrol and red grapes products which can be used in the future as pharmacological data for the clinical treatment. 3. Understanding the primary mechanism of their anti-cancer activity. 4. Enhance the development of medicine practice from grape products in cancer therapy. Materials

1. Plant : Zinfandel red grape (Vitis vinifera) was grown on Suranaree University of Technology (SUT) Farm, Nakhon Ratchasima province. 2. Animals : Male Institute cancer research (ICR) mice 6-8 week olds, were obtained from National Laboratory Animal Center, Salaya, Nakhon Pathom, Thailand and from Institutional Animal Care Building at Suranaree University of Technology, Nakhon Ratchasima. Mice were quarantined for at least one week prior to the experiment. 3. Human cancer cell lines : Two selected cancer cell lines: SNU 1079 human cholangiocarcinoma and Panc 2.03 human pancreatic adenocarcinoma were used in cytotoxicity and apoptotic studies.

SNU 1079 (Seoul National University 1079) was developed from intrahepatic bile ducts of a Koren cancer patients since 1982. Panc 2.03 was kindly provided by Dr. E.M. Jaffee from The Sol Goldman Pancreatic Cancer Research Center, Johns Hopkins University (Baltimore, MD)

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 73

The two cell lines were cultured in RPMI 1640. media (Gibco, Grand Island, NY) supplemented with 10% heated-inactivated fetal bovine serum (FBS), 100 Unit/ml penicillin, 100 μg/ml streptomycin. All cell lines were maintained at 37°C with 5% CO2 in humidified air and subculture weekly. In the apoptosis experiment low serum media (RPMI 1640 containing 1% FBS with similar supplements was used).

4. Chemicals & instrument : All chemicals in this study were at least analytical grade. 5. Instruments :

Methods 1. Preparation of Zinfandel red grape extracts : Zinfandel red grapes were harvested from SUT

farm. The preparation of grape juice and grape pomace were performed at SUT. Red wine was obtained from SUT farm and was used directly from the bottle. Total phenolic content and alcohol percentage were

determined prior storage at 4°C until use. 2. Determination of total phenolic compound content (TPC) : Total phenolic compounds (TPC) of red wine, grape juice and pomace were determined by a modified Folin Ciocalteu’s method (Swain and Hills, 1959; Matthaus, 2002) and results were expressed as as milligrams (mg) of gallic acid equivalents (GAE) per liter.

3. Absorption of total phenolic compounds and trans-resveratrol in vivo : Twenty four ICR mice (6-8 weeks, 25-27 gram body weight) in each dose group were oral gavaged with 0.5 ml of vehicle, grape juice or ethanolic grape pomace extract. All mice were administered once and then each group was sacrificed at each specific time point. After administration, blood plasma samples were collected. The time points for blood collection were at 0, 15, 30, 60 minutes and at a period of 3, 6, 12, and 24 h post treatment. The TPC contents

of plasma at each time point were analyzed by Folin- Ciocalteu’s reagent as described in 2. For in vivo study absorption of trans-resveratrol , Mice were oral administered with 0.5 ml of trans-resveratrol, red wine spiked with trans-resveratrol, or 12% v/v ethanol to obtain 20 mg/kg of trans-resveratrol, 20 mg/kg of trans-resveratrol

Capillary electrophoresis Agilent Technologies model G1600AX

Agilent Technologies Deutschland GmbH, Waldbronn, Germany

CO2 incubator BellcoGlass. Inc., USA ELISA plate reader BIORAD laboratories, Hecules, CA, USA FACScalibur cell analyzer Becton Dickinson FACSCaliburTM Flowcytometry

system, NJ, USA. Mini Trans-Blot® Electrophoretic Transfer Cell BIORAD laboratories, Hecules, CA, USA Rotary evaporator with vacuum &water bath Bosch, Co.,USA. Transmission electron microscope Philips CM10, Japan Transmission electron microscope Philips CM10, Japan Wallac Model 1420 Multilabel Counter Wallac, Michigan, USA

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 74

spiked red wine, and the vehicle control, respectively. Then blood plasma was taken by centrifugation at 1500 ×

g for 20 minutes at 4°C and held at 4°C or -20°C in freezer until use. The analysis of trans-resveratrol level in mice plasma was analyzed solely by Capillary Electrophoresis (CE) (Agilent Technologies Deutschland GmbH, Waldbronn, Germany) with a diode-array detector.

4. Effects of grape products and trans-resveratrol on ultrastructural changes of liver tissues : ICR mice were daily exposed in the morning through oral gavage for six months. All animals were manually restrained and dosed with 0.5 ml per mouse of grape products; juice, ethanolic grape pomace, red wine, or commercial trans-resveratrol, and their respective vehicle controls (12% v/v ethanol, 10% DMSO, water). Every two months liver tissues were taken in order to study of ultrastructural examination under the standard techniques for Transmission electron microscope (TEM) (Bozzola and Russell, 1999).

5. In vitro cytotoxicity studies: The normal human fibroblast, SNU 1079 and Panc 2.03 cell were cultured in RPMI 1640 medium supplemented with 10% heat-inactivated fetal bovine serum (FBS), 100 Unit/ml penicillin and 100 μg/ml streptomycin. All cell lines were maintained at 37°C in 5% CO2 humidified incubator and were subcultured weekly. The MTS assay was used in this study to indirectly determine cytotoxic effects of ethanolic grape pomace extract and trans-resveratrol on normal human fibroblast, SNU 1079 and Panc 2.03 cells. Cells (1x104 cells/ml) were diluted with RPMI 1640 complete medium and seeded in a 96-well microtiter plates in the volume of 200 μl/well and incubated at 37°C in a 5% CO2 humidified incubator. After incubation, media was removed, 100 μl of trans-resveratrol or ethanolic grape pomace extract was added to each well in triplicates to obtain the final concentrations of 2.5, 5, 10 or 20 μg/ml of trans-resveratrol or 50, 100, 200 or 400 μg/ml of ethanolic grape pomace extract. Cells treated with final concentration of 0.1% DMSO in complete RPMI 1640 media containing 1% FBS were used as a vehicle control. After 48 hour incubation, 20 μl of 3-(4,5-dimethyldiazol-2-yl)-2,5-diphenyltetrazolium bromide (MTS reagent) was added to each well. The absorbance (OD) of each well was measured at 490 nm using ELISA plate reader (Wallac Model 1420 Multilabel counter, michigan, USA). Percentage of cell viability was calculated using a formula below. IC50 value was expressed as concentration of extract in microgram per milliter that caused a 50% growth inhibition comparing with controls.

% cell viability = OD ( test sample )-OD( medium ) x 1 OD (DMSO control)–OD (medium)

00

Variable : Independent variable : Human cancer cell lines; SNU 1079 and Panc 2.03 cells Dependent variable : concentration of trans-resveratrol and grape products, time point

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 75

Statistic analysis Statistic analysis was performed on commercial computerized statistic software, Sigma Stat® 2.0 and

Sigma plot® 5.0, and data were expressesed as mean ± SD. Student’s test (unpaired) and Duncan’s Multiple Range Test (DMRT) were used to compare the total phenolic compound contents between grape products and treated control. Results

1. The total phenolic content (TPC) The determination of TPC content from grape products was measured by Folin-Ciocalteau’s phenol

reagent as modified from the method of Matthaus (2002). The amount of TPC in ethanolic grape pomace extract (4,407.33±13.65 mg/L) was higher than red wine (3,613.00±15.13 mg/L) and juice (1,102.67±21.96 mg/L). They were significant differences (p < 0.01).

2. Absorption of TPC content in vivo TPC concentrations in mice plasma treated with juice, ethanolic grape pomace extract or vehicle control at 0,

15, 30, 60 min, 3, 6, 12 and 24 h. The result showed that TPC had been promptly absorbed in plasma. It was found that the highest absorption of TPC content of juice and ethanolic grape pomace extract were 0.2152±0.01 g/L at 12 h, and 0.2157±0.01 g/L at 6 h, respectively. TPC concentrations were detected by Folin-Ciocalteu’s method.

3. Absorption of trans-resveratrol in vivo

A

B

The amount of trans-resveratrol in mice plasma was determined by CE. The presence of trans-resveratrol in samples was confirmed by comparing the migration time and absorption spectra that were obtained from samples and standard trans-resveratrol. However, no peak of trans-resveratrol was observed in all of the spiked samples (Fig 1).

Figure 1 Electropherogram of sample plasma (diluted with buffer 1:10) from mice treated with trans-

resveratrol (A), trans-resveratrol (16 mg/L) spiked plasma (B). Electrophoretic separation was performed with a

diode-array detector using an Agilent Technologies. The capillary was an uncoated fused silica of 50 μm i.d. Electrophoretic analyses were performed in 40 mM sodium tetraborate, 20 % acetonitrile, pH 9.32, at 25 kV,

25°C. Samples were injected by hydrodynamic 0.5 p.s.i. for 5s. The detection wavelength was 220 nm.

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 76

4. Effect on Ultrastructural pathologic changes study The results were shown in table 1 and Fig 2.

Table 1 Ultrastructural pathologic characteristic of hepatocytes from mice treated with grape products and trans-resveratrol during different period of time post administration.

Ultrastructural pathologic characteristic of hepatocytes 2 months 4 months 6 months

Treatment

1 2 1 2 1 2 Normal control - - - - - -

10 % DMSO ++ ++ +++ +++ +++ +++ 12 % Ethanol ++ ++ +++ +++ ++++ ++++

Grape juice - - - - - - Ethanolic grape pomace extract + + ++ ++ ++ ++ Wine + + ++ ++ ++ +++ Trans-resveratrol + + ++ ++ ++ ++

++++= most change, +++ = mild change ++ = less change, - = normal

A B

E L

C

E

D L

Figure 2 Electronmicrograph of mice hepatocytes treated with test compounds: vehicle control, grape

products and trans-resveratrol for up to 6 months. Photographs show juice (A, B) and trans-resveratrol (C, D) during 2 and 6 months post administration under TEM. L= lipid droplet, ER=endoplasmic reticulum.

L

5. In vitro Cytotoxicity studies Cytotoxic effect of trans-resveratrol and ethanolic grape pomace on SNU 1079 and Panc 2.03 cell lines was measured by MTS cell proliferation assay. Cells were treated with different concentrations of trans-resveratrol or ethanolic grape pomace for 48 hours. The results were shown as in Fig 3.

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 77

0

20

40

60

80

100

120

VH 10 50 100 200 400 800

% C

ell v

iabi

lity

Panc2.03SNU1079

Ethanolic grape pomace extract

0

20

40

60

80

100

120

VH 2.5 5 10 20 40 80

. SNU

Trans-resveratrol conc (μg/mL)

100 %C

ell vi

abilit

y

Panc 2

Figure 3 Cytotoxic effect of trans-resveratrol and ethanolic grape pomace extract on SNU 1079 and Panc

2.03 cell lines. Each value represents the means±S.E. of three independent experiments. Pronounced cytotoxic activity was observed on SNU 1079 and Panc 2.03 cells with IC50 values. Conclusion This study demonstrates that the use of red grape products and trans-resveratrol possess anticancer and antiproliferative activities. The characterization of grape products is depended on the concentrations of total phenolic compound (TPC) contents and activities. The TPC contents of ethanolic grape pomace extract, red wine and juice measured by Folin Ciocalteu’s method are 4,407.33±13.65, 3,613.00±15.13 and 1,102.67±21.96 mg/L, respectively. Using capillary electrophoresis, the recoveries of trans-resveratrol absorption are not found in plasma when compared with standard by CE because the amount of its recovery might be lower than LOD of capillary electrophoresis. Trans-resveratrol and grape product treatment caused ultrastructural changes of liver cell morphology including glycogen, fat accumulation and organelle abnormality. The study also suggests that trans-resveratrol and ethanolic grape pomace extract exhibit the potent cytotoxic and apoptotic activities towards cancer cells. This study demonstrated that trans-resveratrol and ethanolic grape pomace extract exhibited cytotoxic effect on Panc 2.03 and SNU 1079 cell lines in a dose dependent manner as assessed by MTS assay and could also induce the apoptosis signaling pathway in Panc 2.03 and SNU 1079 cells by the regulation of apoptosis related proteins. Therefore, trans-resveratrol and ethanolic grape pomace extract possess antiproliferative properties towards cancer cells and could be promising anticarcinogens. Further explanation in the development of both compounds as chemopreventive agents should be highly warranty.

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 78

Acknowledgement This study was supported in part by grant from Bansomdejchaopraya Rajabhat University, and I

would like to thank Asst. Prof. Dr. Benjamart Chitsomboon, Asst. Prof. Dr. Chariya Hahnvajanawong and Prof. Dr. Kovit Pattanapanyasat for allowing me to use their laboratory facilities to conduct my research.

References Bozzola, J.J., and Russell, L.D. (1999). Electron microscopy: Principle and techniques for biologist. Boston:

Jones and Bartlett. Dive, C. (1997). Avoidance of apoptosis as a mechanism of drug resistance. Journal of Internal Medicine

740: 139-45. Frankel, E.N., Waterhouse, A.L., and Kinsella, J.E. (1993). Inhibition of human LDL oxidation by resveratrol.

Lancet 341: 1103-4. Hotz, M.A., Traganos, F., and Darzynkiewicz, Z. (1992). Changes in nuclear chromatin related to apoptosis or

necrosis induced by the DNA topoisomerase II inhibitor fostriecin in MOLT-4 and HL-60 cells are revealed by altered DNA sensitivity to denaturation. Experimental Cell Research 201: 184-91.

Matthaus, B. (2002). Antioxidant activity of extracts obtained from residues of different oilseeds. Journal of Agricultural and Food Chemistry 50: 3444-52.

Pawley, J.B. (1995). Handbook of Biological Confocal Microscopy (2nd Edition). New York : Plenum. Swain, T., and Hills, W.E. (1959). The phenolics contents of prunus domestica I. The quantitative analysis of

phenolics constituents. Journal of the Science of Food Agriculture 10: 63-8. Vatanasapt, V., Kosuwon, W., and Pengsa, P. (1993). Unit cost analysis in a university hospital: an example

from Srinagarind Hospital, Khon Kaen. Journal of Medical Association of Thailand 76: 647-53.

การออกแบบและพัฒนาการเรียนการสอนบนเว็บไซต เร่ือง การแสวงหาสารสนเทศ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6

THE DESIGN AND DEVELOPMENT OF WEB-BASED INSTRUCTION : THE INFORMATION SEEKING FOR GRADE 6 STUDENTS.

ฉันทนา สุคนธวิช *

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา

ในยุคปจจุบันนี้เปนยุคที่สารสนเทศไดเขามามีบทบาทในชีวิตประจําวันของทุก ๆ คนอยางเห็นไดชัด ขอมูลขาวสารถือเปนปจจัยสําคัญยิ่งตอการดําเนินกิจการตาง ๆ ผูที่มีโอกาสเขาถึงขอมูลไดเร็วกวาก็จะไดเปรียบผูอื่น ซึ่งความเจริญกาวหนาของวิทยาการดานการสื่อสารโทรคมนาคมและเทคโนโลยีสารสนเทศรวมทั้งระบบเครือขายคอมพิวเตอรที่เรียกวา “อินเทอรเน็ต” ทําใหสังคมเปนสังคมแหงขาวสารขอมูล โลกถูกหลอมเปนหนึ่งเดียวอยางไรพรมแดน ขณะเดียวกันกิจกรรมทุกดานไมวา เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม การเมือง การศึกษา และสิ่งแวดลอมถูกเชื่อมโยงใหเขาถึงซึ่งกันและกัน

การเรียนการสอนบนเว็บไซต (Web – Based Instruction) เปนการจัดสภาพแวดลอม การเรียนการสอนที่ประยุกตใชคุณลักษณะของอินเทอรเน็ต โดยนําทรัพยากรที่มีอยูในเวิลดไวดเว็บ (World Wide Web) มาเปนสื่อกลางเพื่อสงเสริมสนับสนุนใหเกิดการเรียนรู (Khan , 1997; 35 - 39) ในรูปแบบตาง ๆ ไมวาจะเปนแหลงขอมูล อางอิง เอกสารประกอบการเรียน บทเรียนสําเร็จรูป หรือแมกระทั่งหลักสูตรวิชา เนื่องจากเวิลดไวดเว็บเปนบริการบทอินเทอรเน็ตที่มีแหลงขอมูลอยูมากมายและหลายรูปแบบ ทั้งตัวอักษร ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว หรือเสียง โดยอาศัยคุณลักษณะของการเชื่อมโยงหลายมิติ (Hyperlink) ทั้งในรูปแบบของขอความหลายมิติ (Hypertext) หรือสื่อหลายมิติ (Hypermedia) เพื่อเช่ือมโยงแหลงขอมูลที่เกี่ยวของไวดวยกัน การเรียนการสอนผานเว็บจึงจัดเปนรูปแบบการนําอินเทอรเน็ตมาใชในการจัดการศึกษารูปแบบหนึ่งที่มีประโยชนมาก เพราะเปนการนําประโยชนของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการคนควาขอมูลในการเรียนรูดวยตนเอง เปนการสนองตอบแนวคิดในการจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ

วัตถุประสงคของการวิจัย

1. เพ่ือออกแบบและพัฒนาบทเรียนการสอนบนเว็บไซตเรื่อง การแสวงหาสารสนเทศ สําหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปที่ 6 ที่มีประสิทธิภาพ

* นักศึกษาปริญญาโทสาขาวิชาบรรณารักษศาสตรและสารสนเทศศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 80

2 . เ พื่ อ ศึ ก ษ า ผ ลสั ม ฤทธิ์ ท า ง ก า ร เ รี ย น ก อ น แ ล ะหลั ง ก า ร เ รี ย น ด ว ย บท เ รี ย น ก า รสอน บนเว็บไซต เรื่อง การแสวงหาสารสนเทศ สําหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปที่ 6

3. เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอบทเรียนการสอนบนเว็บไซตเรื่อง การแสวงหาสารสนเทศ สําหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปที่ 6 ขอบเขตการวิจัย

ประชากรและกลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย การวิจัยครั้งนี้เปนการออกแบบและพัฒนาบทเรียนการสอนบนเว็บไซตและศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

โดยใชการสอนบนเว็บไซตเรื่อง การแสวงหาสารสนเทศ หลักสูตรขั้นพื้นฐาน ชวงช้ันที่ 2 ระดับช้ันประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนบางมด (ตันเปาววิทยาคาร) ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2549 มีขอบเขตการวิจัย ดังนี้

ประชากรที่ใชในการวิจัย ประชากรที่ใชศึกษาวิจัยครั้งนี้ เปนนักเรียนชวงช้ันที่ 2 ระดับช้ันประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนบางมด

(ตันเปาววิทยาคาร) ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2549 จํานวน 4 หองเรียน มีนักเรียนรวม 180 คน กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย

กลุ มตั วอย า งที่ ใช ในการวิ จั ยครั้ งนี้ เปนนั ก เ รี ยน ช้ันประถมศึ กษาปที่ 6 โรง เ รี ยนบางมด ( ตัน เปาว วิทยาคาร ) สํ านั กงาน เขตทุ งครุ กรุ ง เทพมหานคร ภาค เรี ยนที่ 2 ปการศึ กษา 2 5 4 9 จํานวน 102 คน โดยการสุมแบบเจาะจง ทดลองโดยการสอนบนเว็บไซตเปนรายบุคคล เพื่อหาประสิทธิภาพและเพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนและหลังการเรียน ตัวแปรที่ศึกษา

1. ตัวแปรตนหรือตัวแปรอิสระ (Independent Variable) ไดแก บทเรียนการสอนบนเว็บไซต เรื่อง การแสวงหาสารสนเทศ สําหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปที่ 6

2. ตัวแปรตาม (Dependent Variable) ไดแก 2.1 ประสิทธิภาพของบทเรียนการสอนบนเว็บไซต 2.2 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยการเรียนจากบทเรียนการสอนบนเว็บไซต 2.3 ความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอบทเรียนการสอนบนเว็บไซต

ระยะเวลาในการทดลอง ระยะเวลาที่ใชในการทดลอง ผูวิจัยใชระยะเวลาในการทดลองในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2549 ระหวาง

วันที่ 14 ธันวาคม 2549 ถึงวันที่ 11 มกราคม 2550 ใชเวลา 16 วัน วันละ 1 ช่ัวโมง รวม 16 ช่ัวโมง เนื้อหาที่ใชในการทดลอง

บทเรียนการสอนบนเว็บไซตที่พัฒนาขึ้นนี้ จากหลักสูตรแกนกลางและหลักสูตรสถานศึกษาโดยนํามาตรฐานสาระอางอิงหลักสูตรกลุมสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี ช้ันประถมศึกษาปที่ 6 เนื้อหาในการทดลองครั้งนี้ เปนเนื้อหาเรื่อง การแสวงหาสารสนเทศ สําหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปที่ 6 แบงเนื้อหาเปน 5 หนวยการเรียนรู ดังนี้

หนวยการเรียนรูที่ 1 สารสนเทศและการรูสารสนเทศ หนวยการเรียนรูที่ 2 หองสมุดและแหลงสารสนเทศอื่น ๆ

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 81

หนวยการเรียนรูที่ 3 ทรัพยากรสารสนเทศ หนวยการเรียนรูที่ 4 การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ หนวยการเรียนรูที่ 5 เครื่องมือและการสืบคนสารสนเทศ

โปรแกรมที่ใชการออกแบบและพัฒนาเว็บไซต 1. Macromedia Dreamweaver 2. Adobe Photoshop 3. Swish 4. Ulead Gif Animation สมมติฐานของการวิจัย

1. บท เ รี ย น ก า ร ส อนบน เ ว็ บ ไ ซ ต เ รื่ อ ง ก า ร แ ส ว งห า ส า ร สน เ ท ศ สํ า ห รั บ นั ก เ รี ย น ช้ันประถมศึกษาปที่ 6 มีประสิทธิภาพเทากับหรือมากกวา 80/80

2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนกอนและหลังการเรียนที่เรียนดวยบทเรียนการสอนบนเว็บไซตเรื่อง การแสวงหาสารเทศ ช้ันประถมศึกษาปที่ 6 หลังเรียนสูงกวากอนเรียน นิยามศัพทเฉพาะ การออกแบบและพัฒนา หมายถึง การสรางบทเรียนการเรียนการสอนบนเว็บไซต โดยออกแบบรูปแบบ จัดทําเนื้อหาสาระและแบบทดสอบ เพื่อนําไปปฏิบัติจริงใหบรรลุตามจุดประสงค

การเรียนการสอนบนเว็บไซต ( Web Based Instruction: WBI)หมายถึง การจัดการเรียน การสอนที่ใชเว็บไซตเปนสื่อการสอน โดยเปนแหลงเก็บเนื้อหาบทเรียน ตามหลักสูตรและมีการประยุกตใชวิธีการสอนหลากหลายรูปแบบ เพื่อสนับสนุนการเรียนการสอนโดยอาศัยคุณลักษณะของการเชื่อมโยงสื่อหลายมิติ มีการนําเทคโนโลยีมัลติมีเดียและเครื่องมือตาง ๆ ของเวิลดไวดเว็บ (World Wide Web: WWW) มาเปนแหลงทรัพยากรการเรียนรูเพิ่มเติม ซึ่งเปนการนําระบบเครือขายอินเทอรเน็ตมาใชประโยชนในการจัดสภาพแวดลอมที่เอื้อและสนับสนุนตอการเรียนการสอน เครือขายอินเทอรเน็ต หมายถึง เทคโนโลยีสําหรับการติดตอสื่อสาร ทั้งขาวสาร ขอความ ภาพ เสียงและอื่นๆ โดยผานระบบเครือขายคอมพิวเตอรที่มีผูใชงานกระจายกันอยูทั่วโลก ใชสําหรับติดตอทางดานการศึกษา ธุรกิจ การคา การลงทุน ตลอดจนถึงขอมูลที่ใหความบันเทิง ใหความรู ซึ่งทุกคนสามารถที่จะเขามาใชบริการเครือขายนี้ไดจากทุกมุมโลก เพียงแตมีเครื่องคอมพิวเตอรและอุปกรณในการเชื่อมตอ เวิลด ไวด เว็บ (World Wide Web: WWW) หมายถึง ระบบสื่อสารขอมูลผานเว็บไซตที่มีการสืบคนในลักษณะของใยแมงมุม โดยการเชื่อมโยงไปยังเอกสารหนาอื่นๆ ที่เกี่ยวของ และโอนยายขอมูลจากแหลงขอมูลและขอมูลเหลานี้มีทั้งเปนอักษรขอความ เสียง ภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหว การเรียนรูผานสื่ออิเล็กทรอนิกส อีเลิรนนิง (E-Learning) หมายถึง การเรียนรูบนฐานเทคโนโลยี (Technology-based Learning) ซึ่งครอบคลุมวิธีการเรียนรูหลากหลายรูปแบบ อาทิ การเรียนรูบนคอมพิวเตอร (Computer based Learning) การเรียนรูผานเว็บไซต (Web Based Learning) หองเรียนเสมือนจริง (Virtual

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 82

Classrooms) และความรวมมือดิจิทัล (Digital Collaboration) เปนตน ผูเรียนสามารถเรียนรูผานสื่ออิเล็กทรอนิกส (Electronic Media) ทุกประเภท อาทิ อินเทอรเน็ต (Internet) เอ็กซทราเน็ต (Extranet) การถายทอดผานดาวเทียม (Satellite Broadcast) แถบบันทึกเสียงและวิดีทัศน (Audio/Video Tape) โทรทัศนที่สามารถโตตอบกันได (Interactive TV) และซีดีรอม (CD-ROM)

นักเรียน หมายถึง นักเรียนช้ันประถมศึกษาปที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2549 โรงเรียนบางมด (ตันเปาววิทยาคาร) สํานักงานเขตทุงครุ กรุงเทพมหานคร การหาประสิทธิภาพของเว็บเพจ หมายถึง การประเมินดานกายภาพ การจัดรูปแบบการเลือกใชสี ตัวอักษร และประเมินดานในการใชเว็บเพจ การเชื่อมโยงขอมูลและความเร็วของเว็บเพจ โดยกําหนดเกณฑการมีประสิทธิภาพของเว็บเพจ จากการนําผลจากแบบประเมินประสิทธิภาพของเว็บเพจมาวิเคราะหชวงของคะแนนเฉลี่ยอยูที่ระดับ 3.50 ขึ้นไป ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนบนเว็บไซตหมายถึง คะแนนที่ไดจากการทําแบบทดสอบหลังสิ้นสุดการทดลองโดยใชแบบทดสอบเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ผูวิจัยสรางขึ้นบนเว็บไซต เรื่อง การแสวงหาสารสนเทศ สําหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนบางมด(ตันเปาววิทยาคาร) สํานักงานเขตทุงครุ กรุงเทพมหานคร ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2549 ความคิดเห็นที่มีตอการเรียนการสอนบนเว็บไซต หมายถึง ความรูสึก ความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการเรียนดวยบทเรียนการเรียนการสอนบนเว็บไซตเรื่อง การแสวงหาสารสนเทศ เมื่อเรียนจบแลว เชน ความสนใจ ความชอบ ความพอใจ บทเรียนการเรียนการสอนบนเว็บไซต ที่ผูวิจัยสรางขึ้น วัดดวยแบบสอบถามความคิดเห็นที่ผูวิจัยสรางขึ้น แบบมาตรประมาณคา (Rating Scale) ประสิทธิภาพของบทเรียนการสอนบนเว็บไซต หมายถึง ประสิทธิภาพของกระบวนการตอประสิทธิภาพของผลลัพธที่เกิดจากการใชบทเรียน บนเว็บไซตในการเปนสื่อและเครื่องมือชวยสอนที่ไดตามเกณฑมาตรฐาน 80/80 (เสาวนีย สิกขาบัณฑิต, 2528 : 57)

80 ตัวแรก หมายถึง คะแนนเฉลี่ยของผูเรียนทั้งหมด ที่ไดจากการทําแบบทดสอบยอยในตัวบทเรียนแตละหนวยทั้งหมดรวมคิดเปนรอยละ 80

80 ตัวหลั ง หมายถึ ง คะแนนเฉลี่ ยของผู เ รี ยนทั้ งหมด ที่ ได จากการทํ าแบบทดสอบหลัง การเรียนคิดเปนรอยละ 80

สารสนเทศตามหลักสูตรกลุมสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี หมายถึง ขอมูลที่มี ความหมายซึ่งสามารถนําไปใชประโยชนได สารสนเทศจึงเปนขอมูลที่ผานการประมวลผลหรือการจัดการดวยวิธีการที่เหมาะสม และถูกตอง เพื่อใหไดสารสนเทศตรงตามตองการของผูใช อยูในรูปแบบที่ใชได การแสวงหาสารสนเทศ หมายถึง วิธีการและกิจกรรมที่มุงใหผูเรียนไดแสวงหาขอมูลสารสนเทศ ความรูตาง ๆ เกี่ยวกับเรื่องหรือเนื้อหานั้น ๆ กิจกรรมที่ผูเรียนกระทําเพื่อหาขอมูลขาวสารที่จะตอบสนองความตองการของตน เรื่อง การแสวงหาสารสนเทศ สําหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปที่ 6 แบงเนื้อหาเปน 5 หนวยการเรียนรู ดังนี้ หนวยการเรียนรูที่ 1 สารสนเทศและการรูสารสนเทศ มีสาระการเรียนรูดังนี้

1.1 ความหมายของสารสนเทศ 1.2 ความสําคัญของสารสนเทศ

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 83

1.3 ความหมายของการรูสารสนเทศ 1.4 ความสําคัญของการรูสารสนเทศ 1.5 คุณธรรมและจริยธรรมในการใชสารสนเทศ 1.6 มารยาทในการใชแหลงสารสนเทศ

หนวยการเรียนรูที่ 2 หองสมุดและแหลงสารสนเทศ มีสาระการเรียนรูดังนี้ 2.1 ความหมายของหองสมุด 2.2 ความสําคัญของหองสมุด 2.3 วัตถุประสงคของหองสมุด 2.4 ประเภทของหองสมุด 2.5 แหลงสารสนเทศอื่น ๆ

หนวยการเรียนรูที่ 3 ทรัพยากรสารสนเทศ มีสาระการเรียนรูดังนี้ 3.1 ความหมายของทรัพยากรสารสนเทศ 3.2 ประเภททรัพยากรสารสนเทศ 3.3 หนังสืออางอิง

3.3.1 ความหมายของหนังสืออางอิง 3.3.2 ลักษณะของหนังสืออางอิง 3.3.3 ประเภทของหนังสืออางอิง

หนวยการเรียนรูที่ 4 การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ มีสาระการเรียนรูดังนี้ 4.1 ความหมายและประโยชนของระบบการจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ

4.1.1 การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ 4.1.2 ความหมายของการจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศหรือการจัดหมู 4.1.3 วัตถุประสงคของการจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ 4.1.4 ประโยชนของการจัดเก็บทรพัยากรสารสนเทศ

4.2 ระบบการจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ 4.2.1 ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน 4.2.2 ระบทศนิยมดิวอี้

4.3 เลขเรียกหนังสือ 4.4 การจัดเรียงหนังสือบนชั้น 4.5 การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศอื่น ๆ

หนวยการเรียนรูที่ 5 เครื่องมือและการสืบคนสารสนเทศ มีสาระการเรียนรูดังนี้ 5.1 ความหมายของเครื่องมือสืบคนสารสนเทศ 5.2 ความสําคัญของเครื่องมือสืบคนสารสนเทศ 5.3 ประเภทของเครื่องมือสืบคนสารสนเทศ

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 84

5.3.1 สืบคนสารสนเทศดวยระบบมือ 5.3.1.1 บัตรรายการ 5.3.1.2 บัตรดรรชนีวารสาร

5.3.2 สืบคนสารสนเทศดวยระบบคอมพิวเตอร 5.3.2.1 ระบบโอแพก 5.3.2.2 ระบบอินเทอรเน็ต 5.3.2.3 ฐานขอมูลออนไลน

ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับจากการวิจัย

1. ไดบทเรียนการสอนบนเว็บไซตเรื่อง การแสวงหาสารสนเทศ สําหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปที่ 6 ที่มีประสิทธิภาพและนักเรียนสามารถศึกษาดวยตนเอง

2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการสอนบนเว็บไซต เรื่อง การแสวงหาสารสนเทศ สําหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปที่ 6 สูงขึ้น

3. ทราบความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอบทเรียนการสอนบนเว็บไซต ซึ่งสงผลตอการเรียนเรื่อง การแสวงหาสารสนเทศ สําหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปที่ 6

4. นําระบบอิน เทอร เน็ตและเทคโนโลยีคอมพิว เตอรมาใชประโยชน ในการจัดการ เรี ยน การสอนมากขึ้น ทําใหเกิดนวัตกรรมใหม ๆ ในสถานศึกษา

5. เ ป น แนวท า งสํ า ห รั บ ผู ส อน ในก า รออกแบบก า รสร า ง แล ะก า รพัฒน าสื่ อ ก า ร เ รี ย น การสอนประเภทสื่อการสอนบนเว็บไซตหรือบนเรียนบนเว็บไซตในเรื่องอื่น ๆ ตอไป

วิธีดําเนินการวิจัย

การวิจัยครั้งนี้ เปนการวิจัยเชิงทดลอง (Experimental Research) เพื่อการออกแบบและพัฒนาการเ รี ย น ก า รสอนบน เ ว็ บ ไ ซต เ รื่ อ ง ก า ร แส ว งห าส า รสน เ ท ศ สํ า ห รั บ นั ก เ รี ย น ช้ั นป ร ะ ถมศึ ก ษ า ปที่ 6

การสรางเครื่องมือท่ีใชในการวิจัย

1. การสรางบทเรียนการสอนบนเว็บไซต เรื่ อง การแสวงหาสารสนเทศ สําหรับนักเรียน ช้ันประถมศึกษาปที่ 6 ที่มีประสิทธิภาพ โดยใชทฤษฎีดังนี้

* ทฤษฎีตามกระบวนการเรียนการสอนของกาเย 9 ขั้น * แนวคิดทฤษฎีการแสวงหาสารสนเทศ

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 85

รูปแบบบทเรียนการเรียนการสอนบนเว็บไซต Login เขาสูเว็บไซต คือ http://www.bmasmartschool.com/bangmod/

Main Menu

• รายการหลัก แบบทดสอบกอนเรียน (40 ขอ)

• หนวยที่ 1 สารสนเทศและการรูสารสนเทศ หนวยที่ 2 หองสมุดและแหลงสารสนเทศ

• หนวยที่ 3 ทรัพยากรสารสนเทศ หนวยที่ 4 การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ

• หนวยที่ 5 เครื่องมือและการสืบคนสารสนเทศ แบบทดสอบหลังเรียน (40 ขอ)

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 86

Sub Menu

• เกี่ยวกับผูพัฒนา

• Link ที่นาสนใจ

• ติดตอสื่อสาร

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 87

การสรางเครื่องมือท่ีใชในการวิจัยและการวิเคราะหขอมูล

วัตถุประสงค เคร่ืองมือท่ีใชในการวิจัย สถิติท่ีใช ผลการวิเคราะห 1. เพื่อออกแบบและพัฒนาบทเรียนการสอนบนเว็บไซตเร่ือง ก า ร แ ส ว ง ห าสารสนเทศ สําหรับนั ก เ รี ย น ชั้ นประถมศึกษาปที่ 6 ที่มีประสิทธิภาพ

1.การสรางบทเรียนการสอนบนเวบ็ไซตเรื่อง การแสวงหาสารสนเทศสําหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปที่ 6 1.1 ประเมินคาความเหมาะสมของ ส่ือบทเรียนการสอนบนเว็บไซตจากผูเชี่ยวชาญ 7 ทาน เปนแบบสอบถาม ประเมินคา 5 ระดบั คือ 5 = มากที่สุด 4 = มาก 3 = ปานกลาง 2 = ไมเห็นดวย 1 = ไมเห็นดวยอยางมาก ประกอบดวย ดานเนื้อหา (สวนนํา สวนเนื้อหา สวนแบบฝกหัด ) ดานเทคนิค ดานกราฟก

คาเฉลี่ย

( X )

ไดคาเฉลี่ยเทากบั 4.19 ซ่ึงมีคาประเมินอยูในเกณฑดี มีความเหมาะสมทั้งดานเนื้อหา ดานกราฟกออกแบบและดานเทคนิคในการนําเสนอ

การสรางเครื่องมือท่ีใชในการวิจัยและการวิเคราะหขอมูล

วัตถุประสงค เคร่ืองมือท่ีใชในการวิจัย สถิติท่ีใช ผลการวิเคราะห 1.2 วิเคราะหแบบประเมินบทเรียน การสอนบนเว็บไซตจากผูเชี่ยวชาญ 7 ทาน เปนแบบสอบถามประมาณคา 5 ระดับ คือ 5 = มากที่สุด 4 = มาก 3 = ปานกลาง 2 = ไมเห็นดวย 1 = ไมเห็นดวยอยางมาก ประกอบดวย ดานเนือ้หา (สวนนํา สวนเนือ้หา สวนแบบฝกหัด ) ดานเทคนคิ ดานกราฟก

คาเฉลี่ย

( X )

ผูเชี่ยวชาญ 7 ทาน มีความคิดเห็นตอ การประเมินบทเรยีน การสอนบนเว็บไซต โดยรวมอยูในระดับดี

( X = 4.11)

1.3 หาคาดัชนปีระสทิธิภาพของ บทเรียนการสอนบนเว็บไซต (E.I.) จากการทดลอง 3 กลุม 1. การทดลองแบบ 1 : 1 จํานวน 3 คน 2. การทดลองกลุมยอย จาํนวน 9 คน 3. การทดลองภาคสนาม จํานวน 10 คน

ดัชนีประสิทธิผล(E.I.)

ดัชนีประสิทธิผล ของบทเรียนการสอน บนเว็บไซต มีคา เทากับ 0.77 นักเรียนมีความรูเพิ่มขึ้น 0.64 , 0.68 , 0.77

1. เพื่อออกแบบและพัฒนาบทเรียนการสอนบนเว็บไซตเร่ือง ก า ร แ ส ว ง ห าสารสนเทศ สําหรับนั ก เ รี ย น ชั้ นประถมศึกษาปที่ 6 ที่มีประสิทธิภาพ

1.4 หาประสทิธิภาพของบทเรียนการสอนบนเว็บไซตตามเกณฑมาตรฐาน 80 / 80

รอยละ คาเฉลี่ย SD

คะแนนจากแบบทดสอบยอยหลังบทเรียน 5 หนวย การเรียนรู คิดเปนรอยละ 81.76 คะแนนจากแบบทดสอบหลังเรียน 40 ขอ คิดเปนรอยละ 86.30 สรุป 81.76/86.30

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 88

2. เพือ่ศึกษาผลสัมฤทธิท์าง การเรียนกอนและหลังการเรียนดวยบทเรียนการสอนบนเว็บไซต เรื่อง การแสวงหาสารสนเทศ สําหรับนักเรียนชัน้ ป.6

2. สรางแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนกอนเรียน – หลังเรียน จํานวน 40 ขอ เปนแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก 2.1 นําแบบทดสอบไปปรึกษาผูเชีย่วชาญ 7 ทาน เพื่อประเมินความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา ( IOC) 3 ระดับ คือ +1 , 0 , -1

( IOC)

แบบทดสอบวดัผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ใชไดทุกขอ

การสรางเครื่องมือท่ีใชในการวิจัยและการวิเคราะหขอมูล

วัตถุประสงค เคร่ืองมือท่ีใชในการวิจัย สถิติท่ีใช ผลการวิเคราะห 2.2 หาคาความยากงาย P = RH+RL

NH+NL ระดับความยากงายระหวาง 0.27 – 0.88 คือคาดัชนีความยากงาย (p) มีคาเฉลี่ย 0.78

2.3 หาคาอํานาจจาํแนก r = RH-RL NH

คาอํานาจจําแนกระหวาง 0.27 – 0.40 คือ คาอํานาจจําแนก (r) มีคาเฉลี่ยเทากับ 0.36

2. เพือ่ศกึษาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนกอนและหลงัการเรียนดวยบทเรียนการสอนบนเว็บไซต เรื่อง การแสวงหาสารสนเทศ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6

2.4 หาคาสัมประสิทธ์ิความเชื่อมั่น KR 21 มีคาสัมประสิทธ์ิ ความเชื่อมั่น เทากับ 0.78

3. เพือ่ศกึษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอบทเรียนการสอนบนเว็บไซตเรื่อง การแสวงหาสารสนเทศ สําหรับนักเรียนชัน้ประถมศึกษาปที่ 6

แบบสอบถามความคิดเห็นของผูเรยีนที่มีตอบทเรียนการสอนบนเว็บไซต - เปนแบบสอบถามประมาณคา 5 ระดับ คือ 5 = มากที่สุด 4 = มาก 3 = ปานกลาง 2 = นอย 1 = นอยที่สุด

- คาเฉลี่ย - สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

พบวาระดบัความคิดเห็นผูเรียนที่เรียนดวยบทเรียนการสอนบทเว็บไซต จาํนวน 10 ขอรายการ ระดับ ความคิดเห็นโดยรวมอยูในระดบัเห็นดวยมาก

( X = 4.60)

การดําเนินการทดลองและเก็บรวบรวมขอมูล ผูวิจัยเก็บรวบรวมขอมูลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดวยตนเอง โดยมีขั้นตอน ดังนี้

1. ดําเนินการทดสอบกอนเรียน (Pretest) กอนเรียน 1 สัปดาห โดยใชแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง การแสวงหาสารสนเทศ สําหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปที่ 6 ที่ผูวิจัยสรางขึ้น จํานวน 40 ขอ ไปทดสอบกอนเรียนกับกลุมตัวอยางคือ นักเรียนช้ันประถมศึกษาปที่ 6 จํานวน 102 คน โรงเรียนบางมด (ตันเปาววิทยาคาร) เขตทุงครุ กรุงเทพมหานคร เพื่อวัดพื้นฐานความรู และตรวจกระดาษคําตอบ โดยใชสถิติคา รอยละ คาเฉลี่ยและคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 89

2. ดําเนินการทดลองโดยใหกลุมตัวอยางคือ นักเรียนช้ันประถมศึกษาปที่ 6 จํานวน 102 คน โรงเรียนบางมด (ตันเปาววิทยาคาร) เขตทุงครุ กรุงเทพมหานคร ทดลองเรียนโดยใชบทเรียนการสอนบนเว็บไซตเรื่อง การแสวงหาสารสนเทศ สําหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปที่ 6 จํานวน 16 ช่ัวโมง โดยเรียนวันละ 1 ช่ัวโมง โดยแบงเนื้อหาได 5 หนวยการเรียนรู คือ หนวยการเรียนรูที่ 1 สารสนเทศและการรูสารสนเทศ หนวยการเรียนรูที่ 2 หองสมุดและแหลงสารสนเทศ หนวยการเรียนรูที่ 3 ทรัพยากรสารสนเทศ หนวยการเรียนรูที่ 4 การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ หนวยการเรียนรูที่ 5 เครื่องมือและการสืบคนสารสนเทศ แตละหนวยการเรียนรูมีแบบทดสอบยอยหลังเรียน นักเรียนทําแบบทดสอบยอยทีละหนวยการเรียนรู รวมคะแนนทั้งหมด 65 คะแนน ครูบันทึกผลและใชสถิติ รอยละ คาเฉลี่ย

3. เ มื่ อ เ รี ยน เ รื่ อ ง ก า รแสวงห าส า รสน เทศ สํ าหรั บนั ก เ รี ย น ช้ั นประถมศึ กษ าป ที่ 6 จบบทเรียนแลวจึงดําเนินการทดสอบหลังเรียน (Posttest) โดยใชแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง การแสวงหาสารสนเทศ สําหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปที่ 6 ที่ผูวิจัยสรางขึ้น จํานวน 40 ขอ ไปทดสอบกับกลุมตัวอยาง โดยใชสถิติคา รอยละ คาเฉลี่ยและคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เพื่อนําขอมูลที่ไดมาวิเคราะหขอมูล เพื่อหาประสิทธิภาพของบทเรียนการสอนบนเว็บไซตที่พัฒนาขึ้น

4. นํ า แบบสอบถามคว ามคิ ด เห็ นของผู เ รี ยนที่ มี ต อบท เ รี ยนก ารสอนบน เ ว็ บ ไซต เ รื่ อ ง การแสวงหาสารสนเทศ สําหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปที่ 6 และรวบรวมขอมูล โดยใชสถิติ คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับความคิดเห็น สรุปผลการวิจัย ผลการวิจัยครั้งนี้ พบวา

1. บทเรียนการสอนบนเว็บไซตเรื่อง การแสวงหาสารสนเทศ สําหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปที่ 6 มีคาความเหมาะสมของสื่อการสอนที่ตรวจสอบโดยผูเช่ียวชาญ 7 ทาน มีคาเทากับ 4.19 ซึ่งอยูในเกณฑดี อีกทั้งยังผานการทดสอบดัชนีประสิทธิผลซึ่งไดผลตามที่กําหนดไว คือ ไดคาดัชนีประสิทธิผล (E.I.) เทากับ 0.77 ซึ่งมากกวาเกณฑที่กําหนดไว คือ 0.50 แสดงใหเห็นวาหลังจากการทดสอบใชบทเรียนการสอนบนเว็บไซตแลว นักเรียนมีความกาวหนาทางการเรียนจากเดิม 77% ทั้งนี้เนื่องจากวิธีการการออกแบบและสรางบทเรียนการสอนบนเว็บไซต ไดทําตามแผนและลําดับขั้นตอนที่กําหนดไว พรอมทั้งไดรับขอเสนอแนะจากคณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ และผู เ ช่ี ยวชาญทั้ ง 7 ท าน อีกทั้ งการหาประสิทธิภาพของสื่ อบท เรี ยนการสอนทั้ ง 3 กลุม คือ กลุม 1: 1 กลุมยอยและภาคสนาม และไดรับความรวมมืออยางดีจากนักเรียนที่ไดต้ังใจเรียน จนเปนผลทําใหบทเรียนการสอนบนเว็บไซตมีประสิทธิภาพตามเกณฑที่กําหนด

2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรูจากบทเรียนการสอนบนเว็บไซตเรื่อง การแสวงหาสารสนเทศ สําหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปที่ 6 ที่ผูวิจัยสรางขึ้นมีประสิทธิภาพตามเกณฑมาตรฐาน 80/80 ซึ่งผลการทดลองครั้งนี้ พบวาประสิทธิภาพของบทเรียนการสอนบนเว็บไซตนี้ มีคาเทากับ 81.76 / 86.30 เปนไปตามเกณฑที่ต้ังไว และ

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 90

พบวานักเรียนที่เรียนดวยบทเรียนการสอนบนเว็บไซตเรื่อง การแสวงหาสารสนเทศ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหลังเรียนสูงกวากอนเรียน คือ คาเฉลี่ยหลังเรียนเทากับ 34.52 คาเฉลี่ยกอนเรียนเทากับ 16.32

3. ผลก า รประ เ มิ น ค ว ามคิ ด เ ห็ น ขอ งผู เ รี ย นที่ มี ต อ บท เ รี ย นก า รสอนบน เ ว็ บ ไซต เ รื่ อ ง การแสวงหาสารสนเทศ สําหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปที่ 6 พบวา บทเรียนการสอนบนเว็บไซต โดยสวนรวมอยูในระดับเห็นดวยมากทุกขอ มีคาเฉลี่ยเทากับ 4.60

สรุปไดวา บทเรียนการสอนบนเว็บไซตเรื่อง การแสวงหาสารสนเทศ สําหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปที่ 6 ที่พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพตามเกณฑ สามารถนําไปใชงานในการเรียนการสอนไดเปนอยางดี เนื่องจากประสิทธิภาพของบทเรียนการสอนบนเว็บไซตเปนไปตามเกณฑที่ต้ังไว 80/80 นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรูจากบทเรียนการสอนบนเว็บไซตหลังเรียนสูงกวากอนเรียน และผลการประเมินความคิดเห็นของผูเรียนที่มีตอบทเรียนการสอนบนเว็บไซตอยูในระดับเห็นดวยมากทุกขอ

อภิปรายผลการวิจัย จากการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการสอนบนเว็บไซตเรื่อง การแสวงหาสารสนเทศ สําหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปที่ 6 โดยใชการสอนบนเว็บไซต สําหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนบางมด(ตันเปาววิทยาคาร) อภิปรายผลการวิจัยไดดังนี้

1. บทเรียนการสอนบนเว็บไซตเรื่อง การแสวงหาสารสนเทศ สําหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปที่ 6 มีประสิทธิภาพตามเกณฑที่ต้ังไว คือมีคาดัชนีประสิทธิผล (E.I.) ต้ังแต 0.50 ขึ้นไป ผลการหาประสิทธิภาพของบทเรียนบนเว็บต ไดคาดัชนีประสิทธิผลเทากับ 0.77 แสดงใหเห็นวาหลังจากการทดสอบใชบทเรียนการสอนบนเว็บไซตเปนสื่อการสอนแลว นักเรียนมีความกาวหนาทางการเรียนจากเดิม 77 เปอรเซ็นต ทั้งนี้เนื่องจากวิธีการการออกแบบและสรางบทเรียนการสอนบนเว็บไซตไดทําตามแผนและลําดับขั้นตอนที่กําหนดไว พรอมทั้งไดรับขอเสนอแนะจากคณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธและผูเช่ียวชาญทั้ง 7 ทาน อีกทั้งการหาประสิทธิภาพของสื่อบทเรียนการสอนทั้ง 3 ขั้นตอน คือ การทดสอบหนึ่งตอหนึ่ง การทดสอบกลุมยอย และการทดสอบภาคสนาม และไดรับความรวมมือเปนอยางดีจากนักเรียนที่ไดต้ังใจเรียน จนเปนผลทําใหบทเรียนการสอนบนเว็บไซตมีประสิทธิภาพตามเกณฑที่กําหนดไว

ประสิทธิภาพบทเรียนการสอนบนเว็บไซต เรื่ อง การแสวงหาสารสนเทศ สําหรับนักเรียน ช้ันประถมศึกษาปที่ 6 ที่ผูวิจัยสรางขึ้นมีประสิทธิภาพ 81.76 / 8.30 สูงกวาเกณฑที่กําหนด 80/80 และเปนไปตามสมมติฐานที่ต้ังไว เมื่อพิจารณาคาคะแนนเฉลี่ยของการทําแบบทดสอบรวมหลังบทเรียนของหนวยการเรียนรูทั้ง 5 หนวยการเรียนรู พบวาแบบทดสอบยอยของบทเรียน มีคาเฉลี่ยรอยละ 81.76 เมื่อเปรียบเทียบกับคาเฉลี่ยคาคะแนนเฉลี่ยของการทําแบบทดสอบรวมหลังบทเรียน มีคาเฉลี่ยรอยละ 86.30

1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง การแสวงหาสารสนเทศ สําหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปที่ 6โรงเรียนบางมด (ตันเปาววิทยาคาร) ปรากฏวาประสิทธิภาพของบทเรียน เมื่อคิดจากคะแนนเฉลี่ยของการทําแบบทดสอบยอยหลังเรียนและแบบทดสอบรวมหลังบทเรียน มีประสิทธิภาพ 81.76 / 86.30 ซึ่งสูงกวาเกณฑที่กําหนดไวคือ 80/80 พบวาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกวากอนเรียน คือ 86.30/40.81 ทั้งนี้เนื่องจากลักษณะการสอนบนเว็บไซตเปนวิธีการสอนที่ชวยใหผูเรียนไดเรียนรูตามอัธยาศัยดวยตนเอง และเรียนรูตามความสามารถของแตละบุคคล ผูเรียนจะเรียนผานระบบเครือขายคอมพิวเตอรที่เช่ือมโยงถึงกัน (Internet) สามารถ

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 91

กําหนดเวลาเรียน สถานที่เรียนดวยตนเอง ขึ้นอยูกับความพรอมของผูเรียนและสามารถติดตอสื่อสาร สนทนา อภิปรายกับผูเรียนดวยกัน หรือกับอาจารยก็ได โดยใชรูปแบบการบริการหลากหลายที่มีอยูในระบบอินเทอรเน็ต อีกทั้งสามารถสืบเสาะคนหาความรูเพิ่มเติมจากเครือขายอินเทอรเน็ตที่ผูวิจัยไดออกแบบเชื่อมโยงไว มีการลอกเลียนลักษณะของหองเรียนปกติมาใชในการออกแบบการเรียนการสอน ผูสอนและผูเรียนมีปฏิสัมพันธกันเสมือนอยูในหองเรียน (Virtual Classroom) โดยที่หองเรียนจะถูกแทนดวยเว็บเพจหองเรียน หนังสือและเนื้อหาจะถูกแทนดวยเว็บเพจเนื้อหา การพูดคุย การสนทนา การตอบขอซักถาม การทําการบาน และการอภิปรายจะใชสื่อสารกันดวยจดหมายอิเล็กทรอนิกส กระดานขาว และโปรแกรมสนทนาในรูปแบบการสอนบนเว็บไซต 3 . ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห ค ว า ม คิ ด เ ห็ น ข อ ง ผู เ รี ย น ที่ มี ต อ บ ท เ รี ย น ก า ร ส อ นบน เ ว็ บ ไ ซ ต เ รื่ อ ง การแสวงหาสารสนเทศสําหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปที่ 6 พบวา ความคิดเห็นของผูเรียนโดยรวมอยูในระดับเห็นดวยมาก เทากับ 4.60 แสดงวาผูเรียน ชอบ พอใจและทัศนคติที่ดีตอการเรียนดวยบทเรียนการสอนบนเว็บไซต ขอเสนอแนะ จ า ก ก า ร ที่ ผู วิ จั ย ไ ด ทํ า ก า ร ศึ ก ษ า ผ ล สั ม ฤ ท ธิ์ ท า ง ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อนบน เ ว็ บ ไ ซ ต เ รื่ อ ง การแสวงหาสารสนเทศ สําหรับนักเรียนประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนบางมด(ตันเปาววิทยาคาร) สํานักงานเขตทุงครุ กรุงเทพมหานคร ที่เรียนโดยใชการสอนบนเว็บไซต ผูวิจัยมีขอเสนอแนะ ดังนี้

1. ขอเสนอแนะจากการวิจัย 1. การผลิตสื่อบทเรียนการสอนบนเว็บไซต ควรนําเสนอในรูปแบบของสื่อผสมมัลติมีเดียมาประกอบมากขึ้น เพื่อกระตุนความสนใจและแรงจูงใจของผูเรียน 2. การจัดการเรียนการสอนบนเว็บไซต ตองคํานึงถึงองคประกอบ ดังตอไปนี้ 2.1 ความพรอมของเครื่องมอื อุปกรณและระบบเครือขายอินเทอรเน็ต 2 . 2 ผู สอนต องมีก ารจั ดทํ าแผนการจั ดการ เรี ยนรู การจั ด เตรี ยม เนื้ อหา สื่อการเรียนการสอนลวงหนาและอัพเดรดใหทันสมัยอยูเสมอ เพื่อใหผูเรียนสามารถเขามาศึกษาคนควาไดอยางตอเนื่อง 2.3 ผูสอนตองพัฒนาทักษะการสรางเว็บเพจ ใหตรงตามความสนใจของผูเรียนมากที่สุด เพื่อกระตุนใหผูเรียนมีความตองการเขามาศึกษาคนควาไดอยางตอเนื่อง 2.4 ทักษะการใชอินเทอรเน็ตของผูเรียนและผูสอน เพื่อที่จะสามารถรูจักวิธีการใชอินเทอรเน็ต การสงไปรษณียอิเล็กทรอนิกส การสนทนาผานหองทําการบาน หองสนทนาและการคนหาขอมูล 2 . 5 ผู เ รี ยนจะต อ งมี คว ามกระตื อ รื อ ร น มี คว ามรั บผิ ดชอบและใฝ รู ใ น การวางแผนการศึกษา เรียนรูดวยตนเอง การวิเคราะหและสังเคราะหขอมูลเพื่อทราบผลความกาวหนาทางการเรียน

2. ขอเสนอแนะในการวิจัยคร้ังตอไป 1. ควรมีการออกแบบและศึกษาเปรียบเทียบรูปแบบของสื่อการสอนบนเว็บไซตดวยโปรแกรมอื่น ๆ

เชน โปรแกรมประเภท Presentation ที่สลับซับซอนมากขึ้น เพื่อเปนมาตรฐานในการสรางสรรคแบบการเรียนการสอนบนเว็บไซตในอนาคตไดอยางมีประสิทธิภาพ

2. ควรมีการพัฒนาบทเรียนบนเว็บไซตในเนื้อหาหรือวิชาอื่น ๆ เพื่อใชเปนสื่อชวยในการพัฒนาการเรียนการสอน

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 92

3. ควรมีการวิจัยเพื่อพัฒนาเนื้อหาวิชาในระดับอื่น ๆ ผานทางอินเทอรเน็ต เพื่อเพิ่มชองทางการเรียนรู หรือบทบาทของเนื้อหาจากการเรียนในหองเรียนปกติและเปนการสงเสริมใหนักเรียน นิสิต นักศึกษา มีความสนใจในการเรียนรูดวยตนเอง

4. ควรมีการศึกษาวุฒิภาวะของผูเรียน มีผลตอการเรียนโดยผานเว็บไซตหรือไม 5. ควรมีการจัดอบรมครูผูสอนในการพัฒนาสื่อการสอนบนเว็บไซตเพราะสื่อการสอนประเภท

อินเทอรเน็ตเปนสื่อที่เขาถึงไดงาย นักเรียนสามารถเรียนรูไดทุกเวลาที่ตองการไมวาจะเปนสถานที่ใด ***************************

บรรณานุกรม

กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. “พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542” วิทยาจารย. 98 (5)สิงหาคม , 2542) ; 16. กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. สาระและมาตรฐานการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี

ใน หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. กรุงเทพฯ : กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ, 2544.

กานดา พูนลาภทวี. การประเมินผลการศึกษา. กรุงเทพฯ : สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ, 2528. กิดานันท มลิทอง. เทคโนโลยีรวมสมัย. พิมพครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ : เอดิสันเพรสโพรดักส, 2536. กิดานันท มลิทอง. อธิบายศัพทคอมพิวเตอร อินเทอรเน็ต มัลติมีเดีย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพจุฬาลงกรณ

มหาวิทยาลัย, 2539. กิตติมา บุนนาค. ผลการใชการสอนบนเว็บ เร่ืองทฤษฎีสื่อสารมวลชน (MC111). วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต

สาขาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยรามคําแหง, 2546. เกรียงศักดิ์ เจรญิวงศศักดิ์. “e-learning ยุทธศาสตรการเรียนรูในอนาคต”. [ออนไลน].

เขาถึงไดจาก : http://www.eschool.su.ac.th/admin/articleadm.php?no=2&code=y 254 จันทนา เตชะทัตตานนท. การพัฒนาบทเรียนเร่ืองรางกายของเรา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ผานทาง

อินเทอรเน็ต. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2546.

ใจทิพย ณ สงขลา. “การสอนผานเครือขายเวิลดไวด็เว็บ”. วารสารครุศาสตร. 3 (มีนาคม 242) : 18-28. ฉลองชัย สุรวัฒนบูรณ. 2528. การเลือกและการใชสื่อการสอน. ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา,

คณะศึกษาศาสตร, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. ฉัตรศิริ ปยะพิมลสิทธิ์. “ทฤษฏีการวัดและการทดสอบ” [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.watpon.com./testtheory1.pdf 2548.เฉลียว พันธุสีดา. หองสมุดโรงเรียน. กรุงเทพฯ : คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร,

2543. ชัชวาลย วงษประเสริฐ. บริการสารนิเทศ. กรุงเทพฯ : สาขาวิชาสารนิเทศ คณะนิเทศศาสตร มหาวิทยาลัยรังสิต,

2537.

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 93

ชัยยงค พรหมวงศ. เอกสารการสอนชุดวิชา 20301 เทคโนโลยีและการสื่อสารการศึกษา. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช, 2523.

ชัยยงค พรหมวงศ, สมเชาวน เนตรประเสริฐและคณะ. ระบบสื่อการสอน. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2520.

ณัฐกร สงคราม. อิทธิพลแบบการคิดและโครงสรางของโปรแกรมการเรียนการสอนผานเว็บที่มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาพื้นฐานคอมพิวเตอรเพื่อการศึกษาของนิสิต ระดับปริญญาตรี คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. วิทยานิพนธ ปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาโสตทัศนศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2543.

ถนอมพร เลาหจรัสแสง. “การสอนบนเว็บ (Web based Instruction) นวัตกรรมคุณภาพการเรียนการสอน” [ออนไลน].

เขาถึงไดจาก : http://www.Thaicai.con/articles/wbi2.html2544.ถนอมพร เลาหจรัสแสง. “อินเทอรเน็ตเครือขายเพื่อการศึกษา” วารสารครุศาสตร 26, 2 (2541):

55-66. ทวีศักดิ์ เสนาณรงค. การวัดและประเมินการศึกษา. กรุงเทพฯ : กระทรวงศึกษาธิการ, 2536. เนาวรัตน เปรมปรีดิ์. การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนวิชากลุมสรางเสริมประสบการณชีวิตเรื่อง “จังหวัด

ของเรา” สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 3. ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิตมหาวิทยาลัยบูรพา, 2541. บุปผชาติ ทัฬหิกรณ. เวิลดไวดเว็บ เคร่ืองมือในการสรางองคความรู : การประชุมทางวิชาการวิทยาศาสตรและ

เทคโนโลยีเร่ืองการเรียนการสอนวิทยาศาสตรท่ีเนนนักเรียนเปนศูนยกลาง. กรุงเทพฯ : สมาคมวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการศึกษาไทย, 2541.

บุปผชาติ ทัฬหิกรณ. เอกสารประกอบการอภิปรายเร่ือง E-Learning ไมไกลเกินฝน. การประชุมทางวิชาการ ครั้งที่ 39 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร จัดโดยคณะวิศวกรรมศาสตรและคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2544

ปทีป เมธาคุณวุฒิ. ขอเสนอแนะในการจัดการเรียนการสอนทางไกล โดยใชการเรียนการสอนแบบเว็บเบสด. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2540.

ประคอง กรรณสูตร. สถิติเพื่อการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2538.

ประภาศรี ศักดิ์ศรีชัยสกุล. การนําเสนอรูปแบบการเรียนการสอนผานเว็บวิชาภาษาไทยตามกระบวนการสอนของกาเย สําหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนตนที่มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาภาษาไทยต่ํา. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีการศึกษา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2544.

แผนพัฒนาการศึกษาแหงชาติ ฉบับที่ 8 พ.ศ. 2540 - 2544. [ออนไลน] เขาถึงไดจาก : http://www.onec.go.th/plan/8/p12.htm 2548.

พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน (2525) กรุงเทพฯ : สํานักพิมพอักษรเจริญทัศน. พรอนันต เอี่ยมขจรชัย. ความพึงพอใจตอเว็บชวยสอนเรื่อง บริการของศูนยบรรณสารและสื่อการศึกษา.

วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาบรรณารักษศาสตรและสารนิเทศศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2545.

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 94

พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ : พริกหวานกราฟฟค, 2548.

ไพฑูรย สีฟา. การพัฒนาระบบการเรียนการสอนผานเครือขายคอมพิวเตอรเพื่อโรงเรียนไทย. กรุงเทพฯ : วิทยานิพนธปริญญาเอก, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2544.

ภาสกร เรืองรอง. ICT การเรียนการสอนบนระบบเครือขายและการพัฒนา. พิษณุโลก : มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2548.

มาลี นิสสัยสุข. เอกสารคําสอนรายวิชาหลักการสอน รหัส 2142305. ภาคหลักสูตรและการสอน คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยรัตนโกสินทร วิทยาลัยครูสวนสุนันทา, 2535.

แมนมาส ชวลิต. “บทบาทของหองสมุดในยุคขาวสาร”. วารสารหองสมุด. 28 (1) (มกราคม – มีนาคม. 2527) ; 14 – 19. มูนิเราะ ผดุง. การนําเสนอรูปแบบการสอนบนเว็บวิชาภาษาไทย ตามการจัดกระบวนการเรียนความรู ความ

เขาใจของกรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีการศึกษา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2545.

ยืน ภูวรวรรณและสมชาย นําประเสริฐชัย. ไอซีทีเพื่อการศึกษาไทย. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2546. ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน,

2523. ลวน สายยศและอังคณา สายยศ. เทคนิคการวัดผลการเรียนรู. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ :

สุวีริยาสาสน, 2543. ลัดดา อะยะวงศ. หลักการวิจัยเบื้องตน. พิมพครั้งที่ 5. ขอนแกน : มหาวิทยาลัยขอนแกน, 2533. วรางคณา หอมจันทร. ผลของโปรแกรมการสอนผานเว็บแบบเปดและปดและระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนที่มีตอ

สัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ ของนักเรียนมัธยมศึกษาปท่ี 2. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาโสตทัศนศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2542.

วราภรณ ผองสุวรรณ. การพัฒนาบทเรียนผานเว็บไซตเร่ือง “เทคโนโลยีสารสนเทศและการบริหาร”วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2547.

วาทินี สรรพวัฒน. การนําเสนอรูปแบบการเรียนการสอนบนเว็บ วิชาวิทยาศาสตรท่ีใชหลักการเรียนรูแบบคนพบดวยการทดลอง สําหรับนักศึกษาสถาบันราชภัฏ. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาครุศาสตร (โสตทัศนศึกษา) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2545.

วิชุดา รัตนเพียร. “การเรียนการสอนผานเว็บ: ทางเลือกใหมของเทคโนโลยีการศึกษาไทย” วารสารครุศาสตร 27, 4 (2542) : 29.

วีรวุฒิ ฉกะนันท. การพัฒนาเว็บเพจในการนําเสนอสารสนเทศ เร่ือง อุตสาหกรรมแปรรูปอาหารขนาดกลางและขนาดยอม ในชุดพัฒนาสังคม ตามแนวพระราชดําริ ศูนยการศึกษาแนวพระราชดําริ. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2543.

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 95

วุฒิชัย พิลึก. ลักษณะของตัวเชื่อมโยงท่ีมีผลตอการเลือกการเชื่อมโยงในเว็บการศึกษาของนักเรียน ระดับประถมศึกษาที่มีแบบการคิดตางกัน. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาโสตทัศนศึกษา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2544.

ศรีศักดิ์ จามรมาน. “การใชคอมพิวเตอรในการศึกษา” ในเอกสารประกอบการสัมมนาทางวิชาการ เรื่อง การนําคอมพิวเตอรมาใชในโรงเรียนเอกชน. กรุงเทพฯ : สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชนรวมกับสมาคมสมาพันธการศึกษาเอกชนแหงประเทศไทย, 2532.

ศุภชัย สุขะนินทรและ กรกนก วงศพานิช. เปดโลก e-learning การเรียนการสอนบนอินเทอรเน็ต. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2545.

ศูนยการศึกษาตอเนื่องแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ตนแบบคัมภีรสรางงาน Website ดวยตนเอง. กรุงเทพ ฯ : โรงพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2544.

สถาบันราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา คณะครุศาสตร. เอกสารประกอบการเรียน วิชา 1042103 การประเมินผลการเรียน. กรุงเทพฯ : สถาบันราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา, 2536.

สมบูรณ สุริยวงศ, สมจิตรา เรืองศรีและเพ็ญศรี เศรษฐวงศ. ระเบียบวิธีวิจัยทางการศึกษา. กรุงเทพฯ : ศูนยสงเสริมวิชาการ, 2544.

สรรรัชต หอไพศาล. การพัฒนาระบบการเรียนการสอนผานเว็บวิชาศึกษาท่ัวไป เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนรูของผูเรียน. วิทยานิพนธปริญญาดุษฎีบณัฑิต สาขาครุศาสตร (อุดมศึกษา) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2544.

สุกัญญา กุลนิติ. หองสมุดและสารนิเทศเพื่อการศึกษาคนควา. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร, 2549. สุรางค โควตระกูล. จิตวิทยาการศึกษา. พิมพครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย,

2541. สุราษฏร พรหมจันทร. การวัดผลการศึกษา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ,

2530. เสาวนีย สิกขาบัณฑิต. การเรียนการสอนรายบุคคล. พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : สถาบันพระจอมเกลาพระนคร

เหนือ, 2525. เสาวนีย สิกขาบัณฑิต. เทคโนโลยีทางการศึกษา. กรุงเทพฯ : สถาบันพระจอมเกลาพระนครเหนือ, 2528. อรรถพล กิจปราชญ. การพัฒนาบทเรียนโปรแกรมผานเครือขายอินทราเน็ต เร่ืองสวนประกอบของคอมพิวเตอร.

วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาวิทยาศาสตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง, 2545.

อนันต ศรีโสภา. การวัดผลการศึกษา. พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, 2525. อํานวย เลิศชยันตี. การทดสอบและการวัดผลทางการศึกษา. กรุงเทพฯ : อํานวยการพิมพ, 2533. อุทัย วรรณกุล. ความตองการสารนิเทศของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 5 ในจังหวัดแพร.

ปริญญานิพนธ การศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร, 2539.

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 96

Blackie, Edna and John M. Smith. “ Student Information Needs and Library Education”, Education Libraries Bulletin. 24, 16 -23 : Autumn, 1981.

Camplese, C. and K. Camplese. 1998. Web – Based Education. [On-Line]. Available : http://www.higherweb.com/497/, June 15, 2003.

Casey jean M. Teacher Net : Student Teacher Travel the Information Highway . [CD- Rom] Silver Platter File : Eric Item : EJ 500403, 1994. Christopher, J. Malone and Christopher, R. Bilder. Statistic Course Web Sites: Beyond syllabus.html.

[Online]. Clark, G. 1996. Glossary of CBT/WBT Terms. Available:http://www.clark.net/pub/nractive/ Colleen, Jones. (1996) Designing Web – Based instruction : Research and rationale.

http:/ccwf.cc.utexas.edu/jonesc/research/empapre.html Day, Tina Maree. (1996) The Effect of World Wide Web instruction and Traditional Instruction

amd learning styles on achievement and changes in student attitudes. In a technical writing in Agri – communication course. Abstract from ProQuest File : Dissertation Abstracts Item : 11382467

Doherty, A. “The Internet : Destined to Become a Passive Surfing Technology?”. Education Technology. 38, (Sept – Oct 1998.) : 61 -63.

Dorman, W. Choosing the right e – Learning solution for your organization. [Online]. Driscoll, M. Web – based Training. San Francisco : Jossey – Bass/Pfeiffer, 1998. Goodman, R.I. Fletcher, K.A and Schneider, E.W. The Effectiveness Index as a Comparative

Measure in media Product Evaluations in Educational Technology. 20,9 (1980) : 30-34. Kay, M. and Julie, P. The learning curve : the evolving use of on – line learning tools in practical legal training programs. Practical Legal Training Unit. University of Wollongong. [Online]. Available : http://ausweb.scu.edu.au/aw04/papers/refereed/maxwell/paper.html 2003.

Hannum, W. 1998. Web based instruction lessons. [On-line]. Available: // www.soe.unc. edu/edci 111/8-89/index WBI2.HTM, june 30, 2003.

Kevin, K. Designing e-Learning User Interfaces Part 1 : Assisting User Memory. [Online]. Available : http://www.e-learningguru.com/articles/art4_2.htm 2004.

Khan, B. Web-Based Instruction(WBI) : What is it and why is it? Englewood Cliffs, NJ : Educational Technology Publication, 1997.

Krawchuk, C.A. Pictorial Graphic Organizers, Navigation and Hypermedia: Converging Constructivist and CognitiveTheories. Doctoral Dissertation, West Virginia University. Dissertation Abstracts International. 57,7 (January 1996.) : 48.

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 97

Kristen, E. Children, Australian Sign Language and the Web. School of Multimedia System. Monash University, Berwick, 3806. [Online]. Available : http://ausweb.scu.edu.au/aw04/papers/refereed/ellis/paper.html 2003.

Laanpere, M. Defining Web-Based Instruction. [Online]. Available : http://viru.tpu.ee/WBCD/defin.htm 1997.

Laroe R John. Moving to a Virtual Curriculum. [CD- Rom] Silver Platter File : Eric Item : ED 387102, 1995.

Learn Frame Inc. Glossary of e-Learning Terms. [Online]. Available : http://www.learnframe.com/aboutelearning/glossary.asp. 2001.

Mcgreal, R. The Internet : a Learning Environment. Teaching and Learning at a Distance : What It Takes to Effectively Design, Deliver and Evaluate Programs. 1997.

Malone and Bilder. Statistics Course Web Sites: Beyond syllabus.html. [Online]. Available : http://www.amstat.org/publications/jse/v9n2/malone.html 2001.

Parson, R. An Investigation into Instruction Avaiable on the World Wide Web. [Online]. Available : http://www.osie.on.ca/~rparson/out1d.htm 1997. Pollack, C. And Master, R. “Using Internet Technologies to Enhance Training.”

Performance Improvement. 36, 2(February 1997.X : 28-31. Philip Ducastal and Se Spanh. (1997). Desigh for based learning. Potter, D.J. Evaluation Methods Used in Web – Based Instruction and Online Course, Timing the Electronic Frontier.[Online]. Available :

http://www.geocities.com/mayekinw/mr_prachy/evalution_wbi.html 1998. Randolph M.J. Cognitive Modeling. Colby College. [Online]. Available :

http://www.cs.colby.edu/~rjones/courses/cs319/fall2002/lectures/9-24.html 2002. Relan, A., and Gillani, B. Web-Based Information and the Traditional Classroom : Similarities and Differences. In Badrul H. Khan(Ed.) Web-based instruction. Englewood Cliffs, NJ : Eductional Technologies Publictions. 1997. Roger T., David W.J. An overview of cooperative learning. Creativity and Collaborative Learning; Brookes

Press. Baltimore. [Online]. Available : http://www.co-operation.org/pages/overviewpaper.html 1994.

Kurtus, R. Providing E - Learning Solutions. [Online]. Available : http://www.ronkurtus.com/kurtech/elearning.htm 2000.

Slavin, R.E. Cooperative Learning : Theory, Research and Practice. Boston : Allyn & Bacon. [Online]. Available : http://www.cdli.ca/~achafe/maj_index.html 1995.

Soward, S.W. “Save the Time of the Surface Eavluating Web Site for Users.” Library Hi Tech. 15,3(1997.) : 4.

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 98

Taro Yamane. Statistic : Introductory Analysis. New York. Harper and Row Publication. 1973 : 125.

Well John G Anderson and Daniel K. Teachers Stages of Coneern Towards Internet. Integration : [CD- Rom] Silver Platter File : Eric Item : ED 385854, 1995.

Wu, Kuang-Ming. The Development and assessment of a prototype descriptive statistics course segment on the world wide web ( Web – Based Instruction). Education Curiculum and Instruction (0727). University of Pittsburgh, 1998.

Yuan, Steve. Introduction of Web – Based Instruction. 1995 [On – line]. Available from : http://dragon.ep.usm.edu/ yuen/home.htm

การเปรียบเทียบคาความคลาดเคลือ่นแบบที่ 1 และอาํนาจการทดสอบ ของวิธีการเปรียบเทียบเชิงซอนที่ไมมีเงื่อนไขเกี่ยวกับการเทากัน ของคาความแปรปรวน สําหรับแผนการทดลองแบบสุมสมบูรณ

Comparisons of Type I Error Rates and Power of the test in Multiple Comparison Procedures at Equal Variances not Assumed for

Completely Randomized Design.

ซิธิมาโวร บุญมา *

บทคัดยอ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อเปรียบเทียบอัตราความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 และอํานาจการทดสอบของวิธีการเปรียบเทียบเชิงซอน 4 วิธี ในแผนการทดลองแบบสุมสมบูรณ ที่ 0.05=α ภายใตการแจกแจงปกติของประชากร และประชากรทั้ง k กลุม ไมมีเงื่อนไขเกี่ยวกับการเทากันของคาความแปรปรวน ซึ่งพิจารณาเปรียบเทียบทั้งกรณีกลุมตัวอยางมีขนาดเทากันและไมเทากันตั้งแต 3 ถึง 8 กลุม ผลการวิจัยพบวา การควบคุมความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 กรณีกลุมตัวอยางมีขนาดเทากัน เมื่อ 3k = ทั้ง 4 วิธี ไดแก วิธี Tamhane’ s T2, Dunnett’s T3, Games-Howell และ Dunnett’s C สามารถควบคุมไดทุกกรณี เมื่อ k เพิ่มขึ้น

4k = ทั้ง 4 วิธี สามารถควบคุมไดเฉพาะกรณีกลุมตัวอยางขนาดเล็ก เมื่อ 5k = วิธี Dunnett’ s C เพียงวิธีเดียวเทานั้นที่สามารถควบคุมไดเฉพาะกรณีกลุมตัวอยางขนาดเล็ก และตั้งแต 6k = ถึง 8k = ทั้ง 4 วิธี ไมสามารถควบคุมไดตามเกณฑที่กําหนดทุกกรณี สําหรับกรณีกลุมตัวอยางมีขนาดไมเทากัน เมื่อ 3k = ทั้ง 4 วิธี สามารถควบคุมไดทุกกรณี เมื่อ k เพิ่มขึ้น 4k = ทั้ง 4 วิธี สามารถควบคุมไดเฉพาะกรณีกลุมตัวอยางขนาดเล็ก และตั้งแต 5k = ถึง 8k = ทั้ง 4 วิธี ไมสามารถควบคุมไดตามเกณฑที่กําหนดทุกกรณี ทั้งนี้ทุกวิธีการทดสอบที่นํามาคํานวณหาอํานาจการทดสอบจะมีอํานาจการทดสอบเพิ่มขึ้นตามขนาดกลุมตัวอยาง และพบวา กรณีกลุมตัวอยางมีขนาดเทากันและไมเทากัน เมื่อ 3k = วิธี Games-Howell มีอํานาจการทดสอบสูงสุดทุกกรณี * ผูชวยนักวิจัย ศูนยเครือขาย สมศ. จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 100

Abstract The purposes of this research were to compare type I error rates and power of the test in completely randomized design for 4 statistics in multiple comparison procedures at equal variances not assumed, when each population had equal variances not assumed and normally distributed using =α 0.05. Sample sizes of concern were to be equal and unequal. Each category, data were simulated for

3 to 8 groups. The findings were summarized as follows: When the sample sizes were equal, 3 groups, 4 methods, Tamhane’s T2, Dunnett’s T3, Games-Howell, and Dunnett’s C can control the type I error rates in every cases. When k increased, 4 groups, 4 methods can control the type I error rates in the only small sample size case. When 5 groups, 1 method, Dunnett’s C, can control the type I error rates in the only small sample size case. For 6 to 8 groups, 4 methods cannot control the type I error rates in every cases. For unequal sample size cases, 3 groups, 4 methods can control the type I error rates in every cases and k increased, 4 groups, 4 methods can control the type I error rates in the only small sample size case. For 5 to 8 groups, 4 methods cannot control the type I error rates in every cases. In every procedures, power of the test would be increased according to the sizes of sample. For 3 groups, Games-Howell method gave the highest power of the test in every cases. ความสําคัญและความเปนมาของปญหา นักสถิติหลายทานไดพัฒนาคิดคนหาวิธีการเปรียบเทียบเชิงซอนหรือการเปรียบเทียบพหุคูณไวหลากหลายวิธี ซึ่ง Kirk (1995) ไดรวบรวมไวในหนังสือ Experimental Design: Procedures for the Behavioral Sciences แบงเปน 2 กลุมใหญ คือ กลุมแรก เปนกลุมวิธีการเปรียบเทียบพหุคูณที่เปนไปตามขอตกลงเบื้องตนของคาสถิติที่วา ความแปรปรวนไมแตกตางกัน (Homogeneous Variances) วิธีการเปรียบเทียบพหุคูณในกลุมนี้มีหลายวิธี แบงไดเปนการเปรียบเทียบแบบวางแผนลวงหนา (Planned Contrast) เชน Dunnett’ s test และ Holm’ s test และการเปรียบเทียบภายหลัง (Post Hoc Contrast) เชน Tukey’ s test, Fisher-Hayter test และ Scheffe’ s test เปนตน สวนกลุมที่สอง คือ กลุมวิธีการเปรียบเทียบพหุคูณที่ไมเปนไปตามขอตกลงเบื้องตนของคาสถิติ คือ ความแปรปรวนตางกัน (Heterogeneous Variances) วิธีการเปรียบเทียบพหุคูณในกลุมนี้มีหลายวิธี แบงไดเปนการเปรียบเทียบแบบวางแผนลวงหนา (Planned Contrast) เชน Dunnett’ s test with modifications และ Holm’ s test with Welch degrees of freedom และการเปรียบเทียบภายหลัง (Post Hoc Contrast) เชน Dunnett’ s T3 test, Dunnett’ s C test, Games-Howell test และ Brown-Forsythe test การเปรียบเทียบภายหลัง เปนการวิเคราะหขอมูลภายหลังจากการทดสอบดวยสถิติทดสอบเอฟแลว เพื่อหาผลสรุปวาการเปรียบเทียบคาเฉลี่ยของกลุมตัวอยางที่ใหทรีทเมนตตางกันนั้นเปนผลมาจากทรีทเมนตใด และทรีทเมนตใดบางที่แตกตางกับทรีทเมนตอื่นอยางมีนัยสําคัญ ดังนั้นการวิเคราะหเปรียบเทียบนี้จึง

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 101

ขึ้นอยูกับการทดสอบดวยสถิติทดสอบเอฟ ถาการทดสอบดวยสถิติทดสอบเอฟไมแสดงนัยสําคัญแลวไมจําเปนตองวิเคราะหเปรียบเทียบภายหลัง แตในกรณีที่การทดสอบดวยสถิติทดสอบเอฟมีนัยสําคัญจําเปนจะตองใชวิธีการวิเคราะหเปรียบเทียบภายหลัง ซึ่งมีหลายวิธีอยูในโปรแกรม SPSS for Windows จากการศึกษางานวิจัยที่ผานมายังไมปรากฏผลงานวิจัยที่ศึกษาเปรียบเทียบคาความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 และอํานาจการทดสอบของวิธีการเปรียบเทียบเชิงซอนที่ไมมีเงื่อนไขเกี่ยวกับการเทากันของคาความแปรปรวนที่เปน Pairwise Test 4 วิธี ไดแก วิธี Tamhane’ s T2, Dunnett’ s T3, Games-Howell และ Dunnett’ s C ในแผนการทดลองแบบสุมสมบูรณ ผูวิจัยจึงมีความสนใจที่จะทําการศึกษาเรื่องนี้ เนื่องจากการเลือกใชสถิติทดสอบที่เปนการทดสอบภายหลังนี้มีการนําไปประยุกตใชในงานวิจัยจํานวนมาก ผูวิจัยจึงเล็งเห็นความสําคัญที่จะทําการศึกษาเปรียบเทียบคาความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 และอํานาจการทดสอบของวิธีการเปรียบเทียบเชิงซอนที่ไมมีเงื่อนไขเกี่ยวกับการเทากันของคาความแปรปรวน สําหรับแผนการทดลองแบบสุมสมบูรณ เพื่อเปนแนวทางใหผูวิจัยทางสังคมศาสตรไดใชเปนเกณฑตัดสินใจในการเลือกวิธีการเปรียบเทียบเชิงซอนที่อยูในโปรแกรมการวิเคราะหขอมูล SPSS for Windows ภายใตสถานการณตางๆ ไดอยางเหมาะสม วัตถุประสงคของการวิจัย 1. เพื่อเปรียบเทียบอัตราความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 และอํานาจการทดสอบของวิธีการเปรียบเทียบเชิงซอนในกลุมการเปรียบเทียบภายหลัง (Post Hoc Contrast) ที่เปน Pairwise Test 4 วิธี ไดแก วิธี Tamhane’ s T2, Dunnett’ s T3, Games-Howell และ Dunnett’ s C ภายใตการแจกแจงปกติของประชากร และประชากรทั้ง k กลุม ไมมีเงื่อนไขเกี่ยวกับการเทากันของคาความแปรปรวน (Equal Variances not Assumed) เมื่อกลุมตัวอยางมีขนาดเทากัน จะทําการเปรียบเทียบกลุมตัวอยาง 3 ขนาด ไดแก กลุมตัวอยางขนาดเล็ก 10)(n = กลุมตัวอยางขนาดกลาง และกลุมตัวอยางขนาดใหญ 30)(n = 60)(n = และมีทรีทเมนตต้ังแต 3, 4, 5, 6, 7 และ 8 กลุม 2. เพื่อเปรียบเทียบอัตราความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 และอํานาจการทดสอบของวิธีการเปรียบเทียบเชิงซอนในกลุมการเปรียบเทียบภายหลัง (Post Hoc Contrast) ที่เปน Pairwise Test 4 วิธี ไดแก วิธี Tamhane’ s T2, Dunnett’ s T3, Games-Howell และ Dunnett’ s C ภายใตการแจกแจงปกติของประชากร และประชากรทั้ง k กลุม ไมมีเงื่อนไขเกี่ยวกับการเทากันของคาความแปรปรวน (Equal Variances not Assumed) เมื่อกลุมตัวอยางมีขนาดไมเทากัน จะทําการเปรียบเทียบกลุมตัวอยาง 3 ขนาด ไดแก กลุมตัวอยางขนาดเล็ก (เพิ่มขึ้นจาก 10 ครั้งละ 2) กลุมตัวอยางขนาดกลาง (เพิ่มขึ้นจาก 30 ครั้งละ 4) และกลุมตัวอยางขนาดใหญ (เพิ่มขึ้นจาก 60 ครั้งละ 10) และมีทรีทเมนตต้ังแต 3, 4, 5, 6, 7 และ 8 กลุม ขอบเขตของการวิจัย 1. ตัวแปรที่ใชในการวิจัย 1.1 ตัวแปรตน ไดแก วิธีการทดสอบ จํานวนกลุมตัวอยางและขนาดกลุมตัวอยาง

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 102

1.2 ตัวแปรตาม ไดแก อัตราความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 และอํานาจการทดสอบ 2. กําหนดใหทรีทเมนตเปนปจจัยกําหนด (Fixed Effect) 3. ระดับนัยสําคัญที่ใช คือ 0.05 4. ระดับทรีทเมนตที่ใชในการทดลองตั้งแต 3, 4, 5, 6, 7 และ 8 กลุม 5. ทําการทดสอบวิธีการเปรียบเทียบเชิงซอน เมื่อทราบวาประชากร k กลุม ไมมีเงื่อนไขเกี่ยวกับการเทากันของคาความแปรปรวน ที่เปน Pairwise Test 4 วิธี ไดแก วิธี Tamhane’ s T2, Dunnett’ s T3, Games-Howell และ Dunnett’ s C 6. ใชแผนการทดลองแบบสุมสมบูรณทั้งกรณีกลุมตัวอยางมีขนาดเทากันและไมเทากัน โดยกําหนดใหกรณีกลุมตัวอยางมีขนาดเทากัน มีกลุมตัวอยาง 3 ขนาด คือ 10, 30 และ 60 ซึ่งผูวิจัยกําหนดใหขนาดกลุมตัวอยางดังกลาวเปนตัวแทนของกลุมตัวอยางขนาดเล็ก ขนาดกลางและขนาดใหญตามลําดับ และกําหนดใหกรณีกลุมตัวอยางมีขนาดไมเทากัน มีจํานวนตัวอยางเพิ่มขึ้นจาก 10 ครั้งละ 2 ในกลุมตัวอยางขนาดเล็ก เพิ่มขึ้นจาก 30 ครั้งละ 4 ในกลุมตัวอยางขนาดกลาง และเพิ่มขึ้นจาก 60 ครั้งละ 10 ในกลุมตัวอยางขนาดใหญ เมื่อกําหนดพารามิเตอร 500=μ และอัตราสวนความแปรปรวนของประชากรไมเทากัน 7. ทําการเปรียบเทียบอัตราความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 และอํานาจการทดสอบของวิธีการเปรียบเทียบเชิงซอน ในกรณีที่ประชากรทั้ง k กลุม ไมมีเงื่อนไขเกี่ยวกับการเทากันของคาความแปรปรวน และสุมมาจากประชากรที่เปนอิสระตอกันทั้งภายในกลุมและระหวางกลุม 8. การตัดสินใจในการทดสอบจะใชเกณฑของ Bradley ที่วา ถาอัตราความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 เกิดขึ้นอยูในชวง 0.025 ถึง 0.075 แสดงวา สามารถควบคุมความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 ได และจะทําการคํานวณหาอํานาจการทดสอบของวิธีการเปรียบเทียบเชิงซอนหลังจากผานการควบคุมความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 ซึ่งการวิจัยในครั้งนี้จะทําการจําลองขอมูล โดยใชเทคนิคมอนติคารโล ซิมูเลช่ัน (Monte Carlo Simulation Technique) ดวยโปรแกรม MATLAB 7.0 กับเครื่องคอมพิวเตอร PC ซึ่งแตละกรณีจะทําซ้ํา 10,000 ครั้ง ประโยชนของการวิจัย เปนแนวทางใหนักวิจัยทางสังคมศาสตรใชเปนเกณฑตัดสินใจในการเลือกวิธีการเปรียบเทียบเชิงซอนที่ไมมีเงื่อนไขเกี่ยวกับการเทากันของคาความแปรปรวนในกลุมการเปรียบเทียบภายหลัง (Post Hoc Contrast) ที่เปน Pairwise Test 4 วิธี ไดแก วิธี Tamhane’ s T2, Dunnett’ s T3, Games-Howell และ Dunnett’ s C ที่อยูในโปรแกรม SPSS for Windows ภายใตสถานการณตาง ๆ ไดอยางเหมาะสม วิธีดําเนินการวิจัย การวิจัยนี้เปนการวิจัยเชิงทดลอง จําลองขอมูลดวยเครื่องคอมพิวเตอร PC ใชเทคนิคมอนติคารโล ซิมูเลช่ัน ทําการทดลองซ้ํา 10,000 ครั้ง ดวยโปรแกรม MATLAB 7.0 โดยมีรายละเอียดแผนการดําเนินงานและขั้นตอนการวิจัยดังนี้

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 103

แผนการดําเนินงาน กําหนดสถานการณตางๆ สําหรับการเปรียบเทียบอัตราความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 และอํานาจการทดสอบของวิธีการเปรียบเทียบเชิงซอนที่ไมมีเงื่อนไขเกี่ยวกับการเทากันของคาความแปรปรวน โดยสรางประชากรที่มีการแจกแจงแบบปกติในแผนการทดลองแบบสุมสมบูรณที่กําหนดใหมีทรีท-เมนตต้ังแต 3, 4, 5, 6, 7 และ 8 กลุมตามลําดับ สําหรับขนาดของกลุมตัวอยางจะแบงเปน 3 ขนาด คือ กลุมตัวอยางขนาดเล็ก กลุมตัวอยางขนาดกลางและกลุมตัวอยางขนาดใหญ ซึ่งผูวิจัยกําหนดใหการทดลองมี 2 กรณี คือ กรณีกลุมตัวอยางมีขนาดเทากันและกรณีกลุมตัวอยางมีขนาดไมเทากัน ซึ่งตามปกติในงานวิจัยที่ใชการซิมูเลช่ัน จะแบงขอมูลเปนขนาดตางๆ ไมเทากัน ดังนั้นในการวิจัยครั้งนี้ผูวิจัยจึงกําหนดใหมีกลุมตัวอยาง 3 ขนาด โดยกําหนดใหกรณีกลุมตัวอยางมีขนาดเทากัน จะมีกลุมตัวอยางขนาดเล็กเทากับ 10 กลุมตัวอยางขนาดกลางเทากับ 30 และกลุมตัวอยางขนาดใหญเทากับ 60 สําหรับกรณีกลุมตัวอยางมีขนาดไมเทากัน ในกลุมตัวอยางขนาดเล็กจะมีจํานวนตัวอยางเพิ่มขึ้นจาก 10 ครั้งละ 2 ในกลุมตัวอยางขนาดกลางจะมีจํานวนตัวอยางเพิ่มขึ้นจาก 30 ครั้งละ 4 และในกลุมตัวอยางขนาดใหญจะมีจํานวนตัวอยางเพิ่มขึ้นจาก 60 ครั้งละ 10 โดยใชระดับนัยสําคัญ 0.05=α เมื่อกําหนดพารามิเตอร 500=μ และอัตราสวนความแปรปรวนของประชากรไมเทากัน การสรุปอัตราความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 ในแบบการทดลองตางๆ ทําโดยการทําการทดลองซ้ํา 10,000 ครั้ง ดวยชุดตัวเลขสุมที่สรางขึ้น แลวนับจํานวนครั้งที่ผลการทดสอบปฏิเสธสมมติฐานศูนย ซึ่งพิจารณาโดยใชเกณฑของ Bradley ผลการทดสอบที่แสดงวาสามารถควบคุมอัตราความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 ไดจะตองอยูในชวง 0.025 ถึง 0.075 ดังนี้

0.050.0750.025 =<< α;nH

เมื่อ H คือ จํานวนครั้งที่ปฏิเสธสมมติฐานศูนย คือ จํานวนครั้งที่ทดสอบ n เมื่อพบวาแบบการทดลองใดสามารถควบคุมอัตราความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 ไดตามเกณฑที่กําหนด จะทําการคํานวณหาอํานาจการทดสอบของสถิติทดสอบดังกลาว โดยการเพิ่มขนาดอิทธิพลเขาไปในระดับทรีทเมนตของแผนการทดลอง เพื่อทําใหอิทธิพลในระดับทรีทเมนตแตกตางกัน และเพื่อดูความไวของตัวสถิติที่นํามาทดสอบ โดยกําหนดขนาดการเพิ่มอิทธิพลทรีทเมนตเปน 2 แบบ คือ แบบ A (เพิ่ม 0.1) และแบบ B (เพิ่ม 0.5) การสรุปผลจะดูคาอํานาจการทดสอบ เมื่อทําการทดลองซ้ํา 10,000 ครั้ง ดวยชุดตัวเลขสุม แลวนับจํานวนครั้งที่ยอมรับสมมติฐานศูนย โดยคํานวณหาอํานาจการทดสอบดังนี้

Power of the test 0.051 =−= α;nx

เมื่อ x คือ จํานวนครั้งที่ยอมรับสมมติฐานศูนย คือ จํานวนครั้งที่ทดสอบ n

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 104

ขั้นตอนในการวิจัย 1. สรางขอมูลใหเปนไปตามแผนการทดลองแบบสุมสมบูรณตามแบบการทดลองในระดับ ทรีทเมนตที่กําหนด ดังสมการ ijjijX εαμ ++= โดยสรางขอมูลจากตัวเลขสุม ที่มีการแจกแจงแบบปกติ

เมื่อกําหนดพารามิเตอร 500=μ และอัตราสวนความแปรปรวนของประชากรไมเทากัน 2. คํานวณการเปรียบเทียบเชิงซอนที่ไมมีเงื่อนไขเกี่ยวกับการเทากันของคาความแปรปรวน ที่เปน Pairwise Test ทั้ง 4 วิธี 3. ทําการทดสอบความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 ในแตละกรณีของวิธีการเปรียบเทียบเชิงซอนที่ไมมีเงื่อนไขเกี่ยวกับการเทากันของคาความแปรปรวน ที่ 0.05=α โดยทําการทดลองซ้ํา 10,000 ครั้ง 4. พิจารณาอัตราความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 โดยใชเกณฑของ Bradley ที่วา ถาอัตราความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 ที่เกิดขึ้นอยูในชวง 0.025 ถึง 0.075 แสดงวาวิธีการเปรียบเทียบเชิงซอนดังกลาวสามารถควบคุมความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 ได 5. หาอํานาจการทดสอบของวิธีการเปรียบเทียบเชิงซอนที่ไมมีเงื่อนไขเกี่ยวกับการเทากันของคาความแปรปรวน ที่สามารถควบคุมความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 ได โดยการเพิ่มอิทธิพลทรีทเมนตตามแบบที่กําหนด แลวทําการทดลองซ้ํา 10,000 ครั้ง ในแตละขนาดการทดลอง 6. เปลี่ยนขนาดตัวอยางในระดับทรีทเมนตนั้นๆ จนครบทุกขนาดตามที่กําหนด 7. เปลี่ยนระดับทรีทเมนตจนครบทุกระดับตามที่กําหนด 8. สรุปผลการทดลอง ผลการวิจัย 1. การควบคุมคาความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 ผูวิจัยไดสรุปผลการวิจัยการควบคุมคาความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 ของวิธีการเปรียบเทียบเชิงซอนที่ไมมีเงื่อนไขเกี่ยวกับการเทากันของคาความแปรปรวนเปน 2 กรณี คือ กรณีกลุมตัวอยางมีขนาดเทากันและกรณีกลุมตัวอยางมีขนาดไมเทากันดังตอไปนี้ 1.1 กรณีกลุมตัวอยางมีขนาดเทากัน จากการทดสอบคาความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 ของวิธีการเปรียบเทียบเชิงซอนที่ไมมีเงื่อนไขเกี่ยวกับการเทากันของคาความแปรปรวน กรณีกลุมตัวอยางมีขนาดเทากัน สรุปไดดังตารางที่ 1

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 105

ตารางที่ 1 เปรียบเทียบอัตราความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 จากการทดลองโดยใชวิธีการทดสอบ 4 วิธี กรณีกลุมตัวอยางมีขนาดเทากัน

จํานวน ขนาด อัตราความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 ของวิธีการทดสอบ กลุมตัวอยาง กลุมตัวอยาง T2 T3 GH C อัตราสวนความแปรปรวนเปน 1:2:3

เล็ก 0.0373 0.0380 0.0419 0.0313 k = 3 กลาง 0.0505 0.0506 0.0540 0.0502

ใหญ 0.0541 0.0574 0.0582 0.0561 อัตราสวนความแปรปรวนเปน 1:2:3:4

เล็ก 0.0558 0.0577 0.0650 0.0491 k = 4 กลาง 0.0781a 0.0784a 0.0862a 0.0793a

ใหญ 0.0837a 0.0894a 0.0911a 0.0880a

อัตราสวนความแปรปรวนเปน 1:2:3:4:5 เล็ก 0.0789a 0.0827a 0.0968a 0.0703

k = 5 กลาง 0.1138a 0.1146a 0.1262a 0.1170a

ใหญ 0.1229a 0.1314a 0.1339a 0.1297a

อัตราสวนความแปรปรวนเปน 1:2:3:4:5:6 เล็ก 0.1059a 0.1125a 0.1310a 0.0973a

k = 6 กลาง 0.1568a 0.1584a 0.1741a 0.1616a

ใหญ 0.1658a 0.1771a 0.1802a 0.1752a

อัตราสวนความแปรปรวนเปน 1:2:3:4:5:6:7 เล็ก 0.1402a 0.1502a 0.1749a 0.1295a

k = 7 กลาง 0.2049a 0.2065a 0.2267a 0.2115a

ใหญ 0.2164a 0.2319a 0.2352a 0.2283a

อัตราสวนความแปรปรวนเปน 1:2:3:4:5:6:7:8 เล็ก 0.1727a 0.1853a 0.2174a 0.1615a

k = 8 กลาง 0.2456a 0.2542a 0.2517a 0.2600a

ใหญ 0.2748a 0.2944a 0.2995a 0.2899a

หมายเหตุ a หมายถึง อัตราความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 สูงกวาเกณฑที่กําหนด จากตารางที่ 1 พบวา การเปรียบเทียบอัตราความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 ของวิธีการเปรียบเทียบเชิงซอนที่ไมมีเง่ือนไขเกี่ยวกับการเทากันของคาความแปรปรวน กรณีกลุมตัวอยางมีขนาดเทากัน เมื่อกําหนดพารามิเตอร 500=μ วิธีการทดสอบทั้ง 4 วิธี ไดแก วิธี Tamhane’ s T2, Dunnett’ s T3, Games-

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 106

Howell และ Dunnett’ s C จะมีคาความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 เพิ่มขึ้นเมื่อจํานวนและขนาดกลุมตัวอยางเพิ่มขึ้น เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบอัตราความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 ของวิธีการเปรียบเทียบเชิงซอนที่ไมมีเงื่อนไขเกี่ยวกับการเทากันของคาความแปรปรวนในภาพรวมทั้งหมดของการทดลองสามารถสรุปไดดังนี้ เมื่อ 3k = อัตราสวนความแปรปรวนเปน 1:2:3 วิธีการทดสอบทั้ง 4 วิธี ไดแก วิธี Tamhane’ s T2, Dunnett’ s T3, Games-Howell และ Dunnett’ s C สามารถควบคุมความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 ไดตามเกณฑที่กําหนดทุกขนาดกลุมตัวอยาง เมื่อ 4k = อัตราสวนความแปรปรวนเปน 1:2:3:4 วิธีการทดสอบทั้ง 4 วิธี ไดแก วิธี Tamhane’ s T2, Dunnett’ s T3, Games-Howell และ Dunnett’ s C สามารถควบคุมความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 ไดตามเกณฑที่กําหนดเฉพาะกรณีกลุมตัวอยางขนาดเล็กเทานั้น สวนกรณีกลุมตัวอยางขนาดกลางและขนาดใหญ ไมสามารถควบคุมความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 ไดตามเกณฑที่กําหนด โดยใหอัตราความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 สูงกวาเกณฑที่กําหนด เมื่อ 5k = อัตราสวนความแปรปรวนเปน 1:2:3:4:5 เมื่อกลุมตัวอยางขนาดเล็ก มีวิธีการทดสอบเพียง 1 วิธี ไดแก วิธี Dunnett’ s C สามารถควบคุมความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 ไดตามเกณฑที่กําหนด สวนอีก 3 วิธี ไดแก วิธี Tamhane’ s T2, Dunnett’ s T3 และ Games-Howell ไมสามารถควบคุมความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 ไดตามเกณฑที่กําหนด โดยใหอัตราความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 สูงกวาเกณฑที่กําหนด เมื่อกลุมตัวอยางขนาดกลางและขนาดใหญนั้น วิธีการทดสอบทั้ง 4 วิธี ไดแก วิธี Tamhane’ s T2, Dunnett’ s T3, Games-Howell และ Dunnett’ s C ไมสามารถควบคุมความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 ไดตามเกณฑที่กําหนด โดยใหอัตราความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 สูงกวาเกณฑที่กําหนด เมื่อ k เพ่ิมขึ้นตั้งแต 6k = อัตราสวนความแปรปรวนเปน 1:2:3:4:5:6 ถึง 8k = อัตราสวนความแปรปรวนเปน 1:2:3:4:5:6:7:8 วิธีการทดสอบทั้ง 4 วิธี ไดแก วิธี Tamhane’ s T2, Dunnett’ s T3, Games-Howell และ Dunnett’ s C ไมสามารถควบคุมความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 ไดตามเกณฑที่กําหนด โดยใหอัตราความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 สูงกวาเกณฑที่กําหนดทุกขนาดกลุมตัวอยาง 1.2 กรณีกลุมตัวอยางมีขนาดไมเทากัน จากการทดสอบคาความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 ของวิธีการเปรียบเทียบเชิงซอนที่ไมมีเงื่อนไขเกี่ยวกับการเทากันของคาความแปรปรวน กรณีกลุมตัวอยางมีขนาดไมเทากัน สรุปไดดังตารางที่ 2

จากตารางที่ 2 พบวา การเปรียบเทียบอัตราความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 ของวิธีการเปรียบเทียบเชิงซอนที่ไมมีเงื่อนไขเกี่ยวกับการเทากันของคาความแปรปรวน กรณีกลุมตัวอยางมีขนาดไมเทากัน เมื่อกําหนดพารามิเตอร 500=μ วิธีการทดสอบทั้ง 4 วิธี ไดแก วิธี Tamhane’ s T2, Dunnett’ s T3, Games-Howell และ Dunnett’ s C จะมีคาความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 เพิ่มขึ้นเมื่อจํานวนและขนาดกลุมตัวอยางเพิ่มขึ้น เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบอัตราความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 ของวิธีการเปรียบเทียบเชิงซอนที่ไมมีเงื่อนไขเกี่ยวกับการเทากันของคาความแปรปรวนในภาพรวมทั้งหมดของการทดลองสามารถสรุปไดดังนี้

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 107

ตารางที่ 2 เปรียบเทียบอัตราความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 จากการทดลองโดยใชวิธีการทดสอบ 4 วิธี กรณีกลุมตัวอยางมีขนาดไมเทากัน

จํานวน ขนาด อัตราความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 ของวิธีการทดสอบ กลุมตัวอยาง กลุมตัวอยาง T2 T3 GH C อัตราสวนความแปรปรวนเปน 1:2:3

เล็ก 0.0406 0.0411 0.0452 0.0345 k = 3 กลาง 0.0489 0.0520 0.0526 0.0487

ใหญ 0.0540 0.0539 0.0573 0.0532 อัตราสวนความแปรปรวนเปน 1:2:3:4

เล็ก 0.0623 0.0633 0.0704 0.0554 k = 4 กลาง 0.0785a 0.0858a 0.0856a 0.0801a

ใหญ 0.0854a 0.0855a 0.0925a 0.0855a

อัตราสวนความแปรปรวนเปน 1:2:3:4:5 เล็ก 0.0938a 0.0961a 0.1069a 0.0868a

k = 5 กลาง 0.1119a 0.1230a 0.1231a 0.1148a

ใหญ 0.1239a 0.1239a 0.1329a 0.1242a

อัตราสวนความแปรปรวนเปน 1:2:3:4:5:6 เล็ก 0.1282a 0.1308a 0.1476a 0.1208a

k = 6 กลาง 0.1530a 0.1682a 0.1689a 0.1591a

ใหญ 0.1667a 0.1663a 0.1792a 0.1680a

อัตราสวนความแปรปรวนเปน 1:2:3:4:5:6:7 เล็ก 0.1705a 0.1735a 0.1959a 0.1618a

k = 7 กลาง 0.2037a 0.2231a 0.2236a 0.2113a

ใหญ 0.2225a 0.2222a 0.2377a 0.2246a

อัตราสวนความแปรปรวนเปน 1:2:3:4:5:6:7:8 เล็ก 0.2172a 0.2213a 0.2463a 0.2074a

k = 8 กลาง 0.2545a 0.2771a 0.2787a 0.2640a

ใหญ 0.2763a 0.2752a 0.2950a 0.2821a

หมายเหตุ a หมายถึง อัตราความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 สูงกวาเกณฑที่กําหนด เมื่อ 3k = อัตราสวนความแปรปรวนเปน 1:2:3 วิธีการทดสอบทั้ง 4 วิธี ไดแก วิธี Tamhane’ s T2, Dunnett’ s T3, Games-Howell และ Dunnett’ s C สามารถควบคุมความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 ไดตามเกณฑที่กําหนดทุกขนาดกลุมตัวอยาง

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 108

เมื่อ 4k = อัตราสวนความแปรปรวนเปน 1:2:3:4 วิธีการทดสอบทั้ง 4 วิธี ไดแก วิธี Tamhane’ s T2, Dunnett’ s T3, Games-Howell และ Dunnett’ s C สามารถควบคุมความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 ไดตามเกณฑที่กําหนดเฉพาะกรณีกลุมตัวอยางขนาดเล็กเทานั้น สวนกรณีกลุมตัวอยางขนาดกลางและขนาดใหญ ไมสามารถควบคุมความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 ไดตามเกณฑที่กําหนด โดยใหอัตราความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 สูงกวาเกณฑที่กําหนด เมื่อ k เพิ่มขึ้นตั้งแต 5k = อัตราสวนความแปรปรวนเปน 1:2:3:4:5 ถึง 8k = อัตราสวนความแปรปรวนเปน 1:2:3:4:5:6:7:8 วิธีการทดสอบทั้ง 4 วิธี ไดแก วิธี Tamhane’ s T2, Dunnett’ s T3, Games-Howell และ Dunnett’ s C ไมสามารถควบคุมความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 ไดตามเกณฑที่กําหนด โดยใหอัตราความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 สูงกวาเกณฑที่กําหนดทุกขนาดกลุมตัวอยาง 2. การเปรียบเทียบอํานาจการทดสอบ วิธีการเปรียบเทียบเชิงซอนที่ไมมีเงื่อนไขเกี่ยวกับการเทากันของคาความแปรปรวนที่นํามาคํานวณหาอํานาจการทดสอบนั้น เปนวิธีที่สามารถควบคุมอัตราความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 ไดตามเกณฑที่กําหนด โดยผูวิจัยไดเพิ่มอิทธิพลทรีทเมนตในแผนการทดลอง เพื่อทําใหอิทธิพลในระดับทรีท-เมนตแตกตางกัน 2 แบบ คือ แบบ A (เพ่ิม 0.1) และแบบ B (เพิ่ม 0.5) 2.1 กรณีกลุมตัวอยางมีขนาดเทากัน จากผลการวิเคราะหอํานาจการทดสอบของวิธีการเปรียบเทียบเชิงซอนที่ไมมีเงื่อนไขเกี่ยวกับการเทากันของคาความแปรปรวน ที่ผานเกณฑการควบคุมคาความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 กรณีกลุมตัวอยางมีขนาดเทากัน เมื่อเพิ่มอิทธิพลทรีทเมนตแบบ A และแบบ B สรุปไดดังตารางที่ 3

จากตารางที่ 3 พบวา การเพิ่มอิทธิพลทรีทเมนตแบบ A และแบบ B จะใหคาอํานาจการทดสอบตางกัน โดยการเพิ่มอิทธิพลทรีทเมนตแบบ B จะทําใหคาอํานาจการทดสอบมากกวาการเพิ่มอิทธิพล ทรีทเมนตแบบ A ทุกวิธีการทดสอบ เมื่อพิจารณาที่จํานวนกลุมตัวอยางและขนาดกลุมตัวอยางในการทดสอบ พบวา เมื่อกลุมตัวอยางมีขนาดใหญขึ้น คาอํานาจการทดสอบจะสูงขึ้น แตเมื่อจํานวนกลุมตัวอยางยิ่งเพิ่มขึ้น พบวา ทุกขนาดกลุมตัวอยางเปนแบบการทดลองที่ไมผานเกณฑการควบคุมอัตราความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 เมื่อพิจารณาวิธีการทดสอบที่มีอํานาจการทดสอบสูงสุดในการเพิ่มอิทธิพลทรีทเมนตแบบ A และแบบ B สามารถสรุปในภาพรวมไดดังนี้ เมื่อ 3k = อัตราสวนความแปรปรวนเปน 1:2:3 วิธีการทดสอบของ Games-Howell มีอํานาจการทดสอบสูงสุดทุกขนาดกลุมตัวอยาง ทั้งกรณีที่เพ่ิมอิทธิพลทรีทเมนตแบบ A และแบบ B เมื่อ 4k = อัตราสวนความแปรปรวนเปน 1:2:3:4 วิธีการทดสอบของ Games-Howell มีอํานาจการทดสอบสูงสุดเฉพาะกรณีกลุมตัวอยางขนาดเล็ก เมื่อเพิ่มอิทธิพลทรีทเมนตแบบ A และแบบ B ทั้งนี้วิธีการทดสอบทั้ง 4 วิธี ไดแก วิธี Tamhane’ s T2, Dunnett’ s T3, Games-Howell และ Dunnett’ s C ไมมีการเปรียบเทียบอํานาจการทดสอบกรณีกลุมตัวอยางขนาดกลางและขนาดใหญ เมื่อเพิ่มอิทธิพล ทรีทเมนตแบบ A และแบบ B เนื่องจากเปนแบบการทดลองที่ไมผานเกณฑการควบคุมอัตราความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 เมื่อ 5k = อัตราสวนความแปรปรวนเปน 1:2:3:4:5 กลุมตัวอยางขนาดเล็ก ทั้งกรณีที่เพิ่มอิทธิพลทรีทเมนตแบบ A และแบบ B วิธีการทดสอบของ Dunnett’ s C เพียงวิธีเดียวเทานั้นที่มีอํานาจการทดสอบสูง ทั้งนี้

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 109

ตารางที่ 3 เปรียบเทียบอํานาจการทดสอบของวิธีการทดสอบ 4 วิธี กรณีกลุมตัวอยางมีขนาดเทากัน

เมื่อเพิ่มอิทธิพลทรีทเมนตแบบ A และแบบ B

อํานาจการทดสอบ เมื่อเพิ่มอิทธิพลทรีทเมนตแบบ A เมื่อเพิ่มอิทธิพลทรีทเมนตแบบ B

จํานวน กลุม

ตัวอยาง

ขนาดกลุม

ตัวอยาง T2 T3 GH C T2 T3 GH C อัตราสวนความแปรปรวนเปน 1:2:3

เล็ก 0.0510 0.0519 0.0573 0.0435 0.1445 0.1465 0.1581 0.1292 k = 3 กลาง 0.0826 0.0828 0.0887 0.0824 0.3424 0.3428 0.3542 0.3418

ใหญ 0.1027 0.1077 0.1084 0.1061 0.5302 0.5395 0.5410 0.5362 อัตราสวนความแปรปรวนเปน 1:2:3:4

เล็ก 0.0742 0.0768 0.0873 0.0663 0.2200 0.2256 0.2488 0.2038 k = 4 กลาง - - - - - - - -

ใหญ - - - - - - - - อัตราสวนความแปรปรวนเปน 1:2:3:4:5

เล็ก - - - 0.0944 - - - 0.2932 k = 5 กลาง - - - - - - - -

ใหญ - - - - - - - - อัตราสวนความแปรปรวนเปน 1:2:3:4:5:6

เล็ก - - - - - - - - k = 6 กลาง - - - - - - - -

ใหญ - - - - - - - -

อัตราสวนความแปรปรวนเปน 1:2:3:4:5:6:7 เล็ก - - - - - - - -

k = 7 กลาง - - - - - - - - ใหญ - - - - - - - -

อัตราสวนความแปรปรวนเปน 1:2:3:4:5:6:7:8 เล็ก - - - - - - - -

k = 8 กลาง - - - - - - - - ใหญ - - - - - - - -

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 110

วิธีการทดสอบทั้ง 4 วิธี ไดแก วิธี Tamhane’ s T2, Dunnett’ s T3, Games-Howell และDunnett’ s C ไมมีการเปรียบเทียบอํานาจการทดสอบกรณีกลุมตัวอยางขนาดกลางและขนาดใหญ เมื่อเพิ่มอิทธิพลทรีทเมนตแบบ A และแบบ B เนื่องจากเปนแบบการทดลองที่ไมผานเกณฑการควบคุมอัตราความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 เมื่อ k เพิ่มขึ้นตั้งแต 6k = อัตราสวนความแปรปรวนเปน 1:2:3:4:5:6 ถึง 8k = อัตราสวนความแปรปรวนเปน 1:2:3:4:5:6:7:8 วิธีการทดสอบทั้ง 4 วิธี ไดแก วิธี Tamhane’ s T2, Dunnett’ s T3, Games-Howell และ Dunnett’ s C ไมมีการเปรียบเทียบอํานาจการทดสอบทุกขนาดกลุมตัวอยาง เมื่อเพิ่มอิทธิพลทรีทเมนตแบบ A และแบบ B เนื่องจากเปนแบบการทดลองที่ไมผานเกณฑการควบคุมอัตราความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 2.2 กรณีกลุมตัวอยางมีขนาดไมเทากัน จากผลการวิเคราะหอํานาจการทดสอบของวิธีการเปรียบเทียบเชิงซอนที่ไมมีเงื่อนไขเกี่ยวกับการเทากันของคาความแปรปรวน ที่ผานเกณฑการควบคุมคาความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 กรณีกลุมตัวอยางมีขนาดไมเทากัน เมื่อเพิ่มอิทธิพลทรีทเมนตแบบ A และแบบ B สรุปไดดังตารางที่ 4

จากตารางที่ 4 พบวา การเพิ่มอิทธิพลทรีทเมนตแบบ A และแบบ B จะใหคาอํานาจการทดสอบตางกัน โดยการเพิ่มอิทธิพลทรีทเมนตแบบ B จะทําใหคาอํานาจการทดสอบมากกวาการเพิ่มอิทธิพล ทรีทเมนตแบบ A ทุกวิธีการทดสอบ เมื่อพิจารณาที่จํานวนกลุมตัวอยางและขนาดกลุมตัวอยางในการทดสอบ พบวา เมื่อกลุมตัวอยางมีขนาดใหญขึ้น คาอํานาจการทดสอบจะสูงขึ้น แตเมื่อจํานวนกลุมตัวอยางยิ่งเพิ่มขึ้น พบวา ทุกขนาดกลุมตัวอยางเปนแบบการทดลองที่ไมผานเกณฑการควบคุมอัตราความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 เมื่อพิจารณาวิธีการทดสอบที่มีอํานาจการทดสอบสูงสุดในการเพิ่มอิทธิพลทรีทเมนตแบบ A และแบบ B สามารถสรุปในภาพรวมไดดังนี้ เมื่อ 3k = อัตราสวนความแปรปรวนเปน 1:2:3 วิธีการทดสอบของ Games-Howell มีอํานาจการทดสอบสูงสุดทุกขนาดกลุมตัวอยาง ทั้งกรณีที่เพ่ิมอิทธิพลทรีทเมนตแบบ A และแบบ B เมื่อ 4k = อัตราสวนความแปรปรวนเปน 1:2:3:4 วิธีการทดสอบของ Games-Howell มีอํานาจการทดสอบสูงสุดเฉพาะกรณีกลุมตัวอยางขนาดเล็ก เมื่อเพิ่มอิทธิพลทรีทเมนตแบบ A และแบบ B ทั้งนี้วิธีการทดสอบทั้ง 4 วิธี ไดแก วิธี Tamhane’ s T2, Dunnett’ s T3, Games-Howell และ Dunnett’ s C ไมมีการเปรียบเทียบอํานาจการทดสอบกรณีกลุมตัวอยางขนาดกลางและขนาดใหญ เมื่อเพิ่มอิทธิพล ทรีทเมนตแบบ A และแบบ B เนื่องจากเปนแบบการทดลองที่ไมผานเกณฑการควบคุมอัตราความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1

เมื่อ k เพ่ิมขึ้นตั้งแต 5k = อัตราสวนความแปรปรวนเปน 1:2:3:4:5 ถึง 8k = อัตราสวนความแปรปรวนเปน 1:2:3:4:5:6:7:8 วิธีการทดสอบทั้ง 4 วิธี ไดแก วิธี Tamhane’ s T2, Dunnett’ s T3, Games-Howell และ Dunnett’ s C ไมมีการเปรียบเทียบอํานาจการทดสอบทุกขนาดกลุมตัวอยาง เมื่อเพิ่มอิทธิพลทรีทเมนตแบบ A และแบบ B เนื่องจากเปนแบบการทดลองที่ไมผานเกณฑการควบคุมอัตราความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 111

ตารางที่ 4 เปรียบเทียบอํานาจการทดสอบของวิธีการทดสอบ 4 วิธี กรณีกลุมตัวอยางมีขนาดไมเทากัน เมื่อเพิ่มอิทธิพลทรีทเมนตแบบ A และแบบ B

อํานาจการทดสอบ เมื่อเพิ่มอิทธิพลทรีทเมนตแบบ A เมื่อเพิ่มอิทธิพลทรีทเมนตแบบ B

จํานวน กลุม

ตัวอยาง

ขนาดกลุม

ตัวอยาง T2 T3 GH C T2 T3 GH C อัตราสวนความแปรปรวนเปน 1:2:3

เล็ก 0.0558 0.0568 0.0611 0.0490 0.1792 0.1816 0.1914 0.1630 k = 3 กลาง 0.0794 0.0843 0.0850 0.0793 0.3860 0.3955 0.3979 0.3853

ใหญ 0.1101 0.1099 0.1159 0.1090 0.5929 0.5926 0.6038 0.5903 อัตราสวนความแปรปรวนเปน 1:2:3:4

เล็ก 0.0870 0.0887 0.0984 0.0791 0.3005 0.3041 0.3258 0.2793 k = 4 กลาง - - - - - - - -

ใหญ - - - - - - - - อัตราสวนความแปรปรวนเปน 1:2:3:4:5

เล็ก - - - - - - - - k = 5 กลาง - - - - - - - -

ใหญ - - - - - - - - อัตราสวนความแปรปรวนเปน 1:2:3:4:5:6

เล็ก - - - - - - - - k = 6 กลาง - - - - - - - -

ใหญ - - - - - - - - อัตราสวนความแปรปรวนเปน 1:2:3:4:5:6:7

เล็ก - - - - - - - - k = 7 กลาง - - - - - - - -

ใหญ - - - - - - - - อัตราสวนความแปรปรวนเปน 1:2:3:4:5:6:7:8

เล็ก - - - - - - - - k = 8 กลาง - - - - - - - -

ใหญ - - - - - - - -

อภิปรายผลการวิจัย ในการศึกษาอัตราความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 จากการทดลองโดยใชวิธีการทดสอบทั้ง 4 วิธี กรณีกลุมตัวอยางมีขนาดเทากันและไมเทากันนั้น พบวา เมื่อ 3k = อัตราสวนความแปรปรวนเปน 1:2:3 เมื่อ k เพิ่มขึ้นเปน 4k = อัตราสวนความแปรปรวนเปน 1:2:3:4 ถึง 8k = อัตราสวนความแปรปรวนเปน

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 112

1:2:3:4:5:6:7:8 จะมีอัตราความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 เพิ่มสูงขึ้นเมื่อขนาดกลุมตัวอยางใหญขึ้น นั่นคือ กลุมตัวอยางขนาดกลางจะมีอัตราความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 สูงกวากลุมตัวอยางขนาดเล็ก และกลุมตัวอยางขนาดใหญจะมีอัตราความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 สูงกวากลุมตัวอยางขนาดกลางและขนาดเล็ก ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของ ปุณยนุช พินชู (2548) ที่ไดเปรียบเทียบอัตราความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 ของวิธีการเปรียบเทียบคาเฉลี่ยรายคู 14 วิธี ไดแก วิธี LSD, Tukey’ s HSD, Bonferroni, Tukey’ s b, Sidak, Duncan, Scheffe’ s, Hochberg’ s GT2, R-E-G-WF, Gabriel, R-E-G-WQ, Waller-Duncan, S-N-K และ Dunnett ซึ่งเปนวิธีการเปรียบเทียบเชิงซอนในกลุมที่มีเง่ือนไขความแปรปรวนของขอมูลทุกชุดเทากัน และมีการแจกแจงแบบปกติ โดยการจําลองขอมูลดวยเทคนิคมอนติคารโล ซิมูเลช่ัน ทําการทดลองซ้ํา 10,000 ครั้ง พบวา เมื่อขนาดกลุมตัวอยางใหญขึ้นจะมีอัตราความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 สูงขึ้นตามขนาดกลุมตัวอยางเชนเดียวกัน ซึ่งจะเห็นไดวาการเปรียบเทียบเชิงซอนที่มีเง่ือนไขความแปรปรวนของขอมูลทุกชุดเทากันหรือการเปรียบเทียบเชิงซอนที่ไมมีเง่ือนไขเกี่ยวกับการเทากันของคาความแปรปรวนก็ตาม อัตราความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 ที่ไดจากการทดลองจะมีคาสูงขึ้นเมื่อกลุมตัวอยางมีขนาดใหญขึ้น แตงานวิจัยนี้จะไมสอดคลองกับงานวิจัยของ ปุณยนุช พินชู (2548) เมื่อจํานวนกลุมตัวอยางในการทดลอง k เพิ่มขึ้น การเปรียบเทียบเชิงซอนที่ไมมีเง่ือนไขเกี่ยวกับการเทากันของคาความแปรปรวน จะใหอัตราความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 สูงขึ้นเมื่อจํานวนกลุมตัวอยางเพิ่มขึ้น แตการเปรียบเทียบเชิงซอนที่มีเงื่อนไขความแปรปรวนของขอมูลทุกชุดเทากันนั้น จะมี 12 วิธี ไดแก วิธี Tukey’ s HSD, Bonferroni, Tukey’ s b, Sidak, Duncan, Scheffe’ s, Hochberg’ s GT2, R-E-G-WF, Gabriel, R-E-G-WQ, S-N-K และ Dunnett ใหอัตราความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 ลดลงเมื่อจํานวนกลุมตัวอยางเพิ่มขึ้น และมี 2 วิธี ไดแก วิธี LSD และ Waller-Duncan ที่อัตราความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 ไมเปลี่ยนแปลงตามจํานวนกลุมตัวอยางที่เพิ่มขึ้น ทั้งกรณีกลุมตัวอยางมีขนาดเทากันและไมเทากัน ทั้ง 4 วิธีนี้ไมเหมาะที่จะนําไปใชในสถานการณที่กลุมตัวอยางมีขนาดเทากันและไมเทากัน เมื่อจํานวนกลุมตัวอยางมากขึ้น อันเนื่องจากใหอัตราความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 สูงกวาเกณฑที่กําหนด สวนหน่ึงเปนเพราะความแปรปรวนของประชากรตางกัน ทําใหอัตราความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 ของสถิติทดสอบดังกลาวสูงขึ้น และเมื่อความแปรปรวนของประชากรตางกันมากขึ้น อัตราความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 จะยิ่งสูงขึ้นดวย เมื่อพิจารณาที่ความไวของวิธีการทดสอบที่นํามาคํานวณหาอํานาจการทดสอบ พบวา ทุกวิธีการเปรียบเทียบเชิงซอนที่ไมมีเงื่อนไขเกี่ยวกับการเทากันของคาความแปรปรวน จะมีอํานาจการทดสอบเพิ่มขึ้นตามขนาดกลุมตัวอยาง ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของ ปุณยนุช พินชู (2548) คือ การเพิ่มอิทธิพลทรีทเมนตแบบ B จะทําใหมีคาอํานาจการทดสอบมากกวาการเพิ่มอิทธิพลทรีทเมนตแบบ A ทุกการทดสอบ และพบวา วิธี Games-Howell มีอํานาจการทดสอบสูงสุดทุกกรณี ทั้งในสถานการณที่มีกลุมตัวอยางขนาดเล็ก ขนาดกลางและขนาดใหญ กรณีกลุมตัวอยางมีขนาดเทากันและไมเทากัน เมื่อ 3k = อัตราสวนความแปรปรวนเปน 1:2:3 เมื่อเพิ่มอิทธิพลทรีทเมนตแบบ A และแบบ B ซึ่งจากผลการวิจัยนี้พบวา สอดคลองกับเอกสารของ Kirk (1982) เมื่อความแปรปรวนของประชากรไมเทากัน วิธี Games-Howell มีอํานาจการทดสอบมากกวาวิธี Dunnett’ s C และสอดคลองกับผลสรุปของ Games, Keselman และ Rogan (1981) เก่ียวกับวิธีการเปรียบเทียบเชิงซอนของ Games-Howell, Dunnett’ s T3 และ Tamhane’ s T2 ซึ่งเปนแบบที่ใชการประมาณคาความแปรปรวนของการเปรียบเทียบดวยวิธีของ Behrens-Fisher ที่วา วิธีการทดสอบทั้ง 3 วิธีนี้ สามารถ

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 113

ควบคุมความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 ไดดีกวาการเปรียบเทียบเชิงซอนแบบที่ใช MSW (mean square within groups) เปนตัวประมาณคาความแปรปรวนของการเปรียบเทียบ เชน วิธีของ Gabriel ซึ่งแมวาควบคุมความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 ได เมื่อความแปรปรวนของประชากรเทากัน แตวิธีนี้จะไมแกรงตอการฝาฝนขอตกลงเบื้องตนดานความเปนเอกพันธของความแปรปรวน ดังนั้นสําหรับงานวิจัยที่ตองใชวิธีการเปรียบเทียบเชิงซอนเมื่อความแปรปรวนของประชากรไมเทากัน ควรเลือกใชวิธีการเปรียบเทียบเชิงซอนแบบที่ใชการประมาณคาความแปรปรวนของการเปรียบเทียบดวยวิธีของ Behrens-Fisher เชน Games-Howell, Dunnett’ s T3 และ Tamhane’ s T2 ซึ่งสามารถควบคุมความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 ไดดีกวา ขอเสนอแนะ ก. ขอเสนอแนะเพื่อการเลือกใชสถิติทดสอบของวิธีการเปรียบเทียบเชิงซอนที่ไมมีเงื่อนไขเกี่ยวกับการเทากันของคาความแปรปรวน การเลือกใชสถิติทดสอบของวิธีการเปรียบเทียบเชิงซอนที่ไมมีเงื่อนไขเกี่ยวกับการเทากันของคาความแปรปรวน 4 วิธี ไดแก วิธี Tamhane’ s T2, Dunnett’ s T3, Games-Howell และ Dunnett’ s C ผูวิจัยขอเสนอแนะวา ในการตัดสินใจเลือกใชสถิติทดสอบตัวใดนั้น ควรพิจารณาจากวิธีที่สามารถควบคุมความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 ไดตามเกณฑที่กําหนดของ Bradley ณ ระดับนัยสําคัญที่ระบุ ผลสรุปของการวิจัยครั้งนี้ช้ีใหเห็นวา งานวิจัยที่ตองการเลือกใชวิธีการเปรียบเทียบเชิงซอนที่ไมมีเงื่อนไขเกี่ยวกับการเทากันของคาความแปรปรวนในกลุมการเปรียบเทียบภายหลัง (Post Hoc Contrast) ที่เปน Pairwise Test 4 วิธี กรณกีลุมตัวอยางมีขนาดเทากันและไมเทากันเปนดังนี้ กรณีกลุมตัวอยางมีขนาดเทากัน เมื่อ 3k = อัตราสวนความแปรปรวนเปน 1:2:3 วิธีการทดสอบทั้ง 4 วิธี ไดแก วิธี Tamhane’ s T2, Dunnett’ s T3, Games-Howell และ Dunnett’ s C สามารถนําไปใชไดทุกวิธีในทุกกรณี เนื่องจากสามารถควบคุมความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 ไดตามเกณฑที่กําหนด ดังนั้นวิธีการทดสอบทั้ง 4 วิธี จึงเหมาะที่จะนําไปใชทั้งในสถานการณที่มีกลุมตัวอยางขนาดเล็ก ขนาดกลางและขนาดใหญ เมื่อ 4k = อัตราสวนความแปรปรวนเปน 1:2:3:4 วิธีการทดสอบทั้ง 4 วิธี ไดแก วิธี Tamhane’ s T2, Dunnett’ s T3, Games-Howell และ Dunnett’ s C สามารถนําไปใชไดทุกวิธีในบางกรณีเทานั้น เนื่องจากสามารถควบคุมความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 ไดตามเกณฑที่กําหนดเฉพาะในกรณีที่มีกลุมตัวอยางขนาดเล็ก ดังนั้นวิธีการทดสอบทั้ง 4 วิธี จึงเหมาะที่จะนําไปใชในสถานการณที่มีกลุมตัวอยางขนาดเล็กเทานั้น เมื่อ 5k = อัตราสวนความแปรปรวนเปน 1:2:3:4:5 วิธีการทดสอบของ Dunnett’ s C เปนวิธีที่ควรนําไปใชมากที่สุด ในจํานวนวิธีการเปรียบเทียบเชิงซอนที่ไมมีเงื่อนไขเกี่ยวกับการเทากันของคาความแปรปรวน 4 วิธี ทั้งนี้วิธีการทดสอบของ Dunnett’ s C สามารถควบคุมความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 ไดดีกวาอีก 3 วิธี เฉพาะในกรณีที่มีกลุมตัวอยางขนาดเล็ก เมื่อ 6k = อัตราสวนความแปรปรวนเปน 1:2:3:4:5:6 ถึง 8k = อัตราสวนความแปรปรวนเปน 1:2:3:4:5:6:7:8 วิธีการทดสอบทั้ง 4 วิธี ไดแก วิธี Tamhane’ s T2, Dunnett’ s T3, Games-Howell และ

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 114

Dunnett’ s C ไมสามารถควบคุมความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 ไดตามเกณฑที่กําหนด โดยใหอัตราความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 สูงกวาเกณฑที่กําหนดทุกกรณี ทั้งในสถานการณที่มีกลุมตัวอยางขนาดเล็ก ขนาดกลางและขนาดใหญ ดังนั้นวิธีการทดสอบทั้ง 4 วิธี จึงไมเหมาะที่จะนําไปใชเมื่อจํานวนกลุมตัวอยางมากขึ้น กรณีกลุมตัวอยางมีขนาดไมเทากัน เมื่อ 3k = อัตราสวนความแปรปรวนเปน 1:2:3 วิธีการทดสอบทั้ง 4 วิธี ไดแก วิธี Tamhane’ s T2, Dunnett’ s T3, Games-Howell และ Dunnett’ s C สามารถนําไปใชไดทุกวิธีในทุกกรณี เนื่องจากสามารถควบคุมความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 ไดตามเกณฑที่กําหนด ดังนั้นวิธีการทดสอบทั้ง 4 วิธี จึงเหมาะที่จะนําไปใชทั้งในสถานการณที่มีกลุมตัวอยางขนาดเล็ก ขนาดกลางและขนาดใหญ เมื่อ 4k = อัตราสวนความแปรปรวนเปน 1:2:3:4 วิธีการทดสอบทั้ง 4 วิธี ไดแก วิธี Tamhane’ s T2, Dunnett’ s T3, Games-Howell และ Dunnett’ s C สามารถนําไปใชไดทุกวิธีในบางกรณีเทานั้น เนื่องจากสามารถควบคุมความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 ไดตามเกณฑที่กําหนดเฉพาะในกรณีที่มีกลุมตัวอยางขนาดเล็ก ดังนั้นวิธีการทดสอบทั้ง 4 วิธี จึงเหมาะที่จะนําไปใชในสถานการณที่มีกลุมตัวอยางขนาดเล็กเทานั้น เมื่อ 5k = อัตราสวนความแปรปรวนเปน 1:2:3:4:5 ถึง 8k = อัตราสวนความแปรปรวนเปน 1:2:3:4:5:6:7:8 วิธีการทดสอบทั้ง 4 วิธี ไดแก วิธี Tamhane’ s T2, Dunnett’ s T3, Games-Howell และ Dunnett’ s C ไมสามารถควบคุมความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 ไดตามเกณฑที่กําหนด โดยใหอัตราความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 สูงกวาเกณฑที่กําหนดทุกกรณี ทั้งในสถานการณที่มีกลุมตัวอยางขนาดเล็ก ขนาดกลางและขนาดใหญ ดังนั้นวิธีการทดสอบทั้ง 4 วิธี จึงไมเหมาะที่จะนําไปใชเมื่อจํานวนกลุมตัวอยางมากขึ้น ข. ขอเสนอแนะเพื่อการวิจัยครั้งตอไป 1. ควรศึกษาเพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการควบคุมความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 และอํานาจการทดสอบของวิธีการเปรียบเทียบเชิงซอนที่ไมมีเงื่อนไขเกี่ยวกับการเทากันของคาความแปรปรวนภายใตการแจกแจงแบบตางๆ ของประชากร ที่ไมใชการแจกแจงแบบปกติ 2. ควรศึกษาเพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการควบคุมความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 และอํานาจการทดสอบของวิธีการเปรียบเทียบเชิงซอนที่ไมมีเง่ือนไขเกี่ยวกับการเทากันของคาความแปรปรวนในแผนการทดลองแบบอื่นๆ ที่ไมใชแผนการทดลองแบบสุมสมบูรณ 3. ควรศึกษาเพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการควบคุมความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 และอํานาจการทดสอบของวิธีการเปรียบเทียบเชิงซอนที่ไมมีเงื่อนไขเกี่ยวกับการเทากันของคาความแปรปรวนกับสถิตินอนพาราเมตริก

คอลัมนประจํา ขาวสํานกัวทิยบริการและเทคโนโลยสีารสนเทศ และโปรแกรมวิชาสารสนเทศศาสตรและบรรณารักษศาสตร

ศิริรัตน น้ําจันทร*

ท่ี วั น เ ข า อ บ ร ม /กิจกรรม

ผูเขารับการอบรม/กิจกรรม หลักสูตร/กิจกรรม หนวยงานที่จัด

1 16 มีนาคม 2550 1. อ.เผด็จ กาคํา 2. อ.วรุณรัตน คนซื่อ 3. นางศิริรัตน น้ําจันทร 4. นางสาวสุมาลา เสียงเย็น

สัมมนา เรื่อง ระบบการจัดการความรูในองคการ : กรณีศึกษา

มหาวิทยาลัยบูรพา จังหวัดชลบุรี

2 23-25 เมษายน 2550 1. อ.วรุณรัตน คนซื่อ 2. นางสาววราภรณ พุมรอด 3. นายวัฒนา ทองรักษา

สัมมนา เรื่อง การบริหารงานพัสดุ

อาคารเฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา

3 24 เมษายน 2550 1. นายสัญญา ธีระเดชอุปถัมภ ประชุมวางแผนและพัฒนาระบบ สหบรรณานุกรม (Union Catalog)

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

4 25-27 เมษายน 2550 1. นายสัญญา ธีระเดชอุปถัมภ 2. นางสาวชุมภู เมืองคลี่

ประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง MARC21 สําหรับลงรายการหนังสือ วารสารในระบบ สหบรรณานุกรม (Union Catalog)

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

5 28 เมษายน 2550 1. นายเดชอาคม คดเกี้ยว 2. นายเจษรินทร ลักษณะวิมล

อบรม เรื่อง สุดยอดเครื่องมือสรางเว็บ Xoops

มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ศูนยรางน้ํา

*บรรณารักษ สํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 116

ท่ี วั น เ ข า อ บ ร ม /กิจกรรม

ผูเขารับการอบรม/กิจกรรม หลักสูตร/กิจกรรม หนวยงานที่จัด

6 16-18 พฤษภาคม 2550

1. อ.ศิริกาญจนโพธิ์เขียว 2. ผศ.เผด็จ กาคํา 3. อ.วิมล อุทานนท 4. อ.สุชาครีย กอเกียรติตระกูล 5. อ.วรุณรัตน คนซื่อ 6. นายสัญญา ธีระเดชอุปถัมภ 7. นายเดชอาคม คดเกี้ยว 8. นายดิษพงษ วงศยะรา 9. นายวัฒนา ทองรักษา 10. นางศิริรัตน นํ้าจันทร 11. นางประไพศรี ศรีเนตร 12. นางสาวชุมภู เมืองคลี่ 13. นางสาวเครือวัลย ไกรเทพ 14. นางสาวรสสุคนธ ไตรรงค 15. นางสาววิภารัตน ช่ืนบานเย็น 16. นาวสาวสุภาภรณ เสียงเย็น 17. นางสาวสุมาลา เสียงเย็น 18. นางสาววราภรณ พุมรอด

19. นายเจษรินทร ลักษณะวิมล

ประชุมสัมมนา เรื่อง "งานประกันคุณภาพ" ตลอดจนศึกษาดูงาน

ณ จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดขอนแกน และจังหวัดหนองคาย

7 23 -25 พฤษภาคม 2550

คณาจารยโปรแกรมวิชาสารสนเทศศาสตรและบรรณารักษศาสตร และผูสนใจ

ไปศึกษาดูงาน ณ ประเทศบรูไนดารุสซาลาม Brunei Darussalam

8 7-8 มิถุนายน 2550 1. นางสาวรสสุคนธ ไตรรงค 2. นางสาวเครือวัลย ไกรเทพ

สัมมนาโครงการ เรื่อง รูลึกเรื่องระบบการคนคืนสารสนเทศ Get to Know more : Information Retrieval (IR)

สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ จังหวัดปทุมธานี

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 117

ท่ี วั น เ ข า อ บ ร ม /กิจกรรม

ผูเขารับการอบรม/กิจกรรม หลักสูตร/กิจกรรม หนวยงานที่จัด

9 14 มิถุนายน 2550 1. นางศิริรัตน น้ําจันทร 2. นายเจษรินทร ลักษณะวิมล

โครงการสัมมนาทางวิชาการ เรื่อง “ภาพลักษณหองสมุดยุคใหม...สรางสัมพันธภาพและความพึงพอใจใหผูใชบริการ”

อาคาร 9 อิมแพ็ค เมืองทองธานี จังหวัดนนทบุรี

10 25 มิถุนายน 2550 1. อ.ศิริกาญจน โพธิ์เขียว 2. อ.วรุณรัตน คนซื่อ

สัมมนา เรื่อง “มิติใหมของงานหองสมุด: การตลาด & ความรับผิดชอบตอสังคม”

หอประชุม ศาสตราจารยสังเวียน อินทรวิชัยอาคารตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

11 27-28 มิถุนายน 2550

1. นายสัญญา ธีระเดชอุปถัมภ สัมมนา เรื่อง การดําเนินกิจกรรมบนระบบเครือขายสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา ครั้งที่ 17

อาคารสารนิเทศ 50 ป มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตบางเขน กรุงเทพฯ

12 27-30 มิถุนายน 2550

1. ผศ.เผด็จ กาคํา 2. อ.วิมล อุทานนท

สัมมนา เรื่อง การดําเนินกิจกรรมบนระบบเครือขายสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา ครั้งที่ 17

อาคารสารนิเทศ 50 ป มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตบางเขน กรุงเทพฯ

13 30 มิถุนายน 2550- 1 กรกฎาคม 2550

1. ผศ.เผด็จ กาคํา 2. อ.วรุณรัตน คนซื่อ 3. นางสาววราภรณ พุมรอด

อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดวางระบบควบคุมภายในและการจัดทํารายงานการควบคุมภายใน มรภ.บานสมเด็จเจาพระยา

อาคารเฉลิมพระเกียรติ 50 พรรษาวชิราลงกรณ มหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 118

ท่ี วั น เ ข า อ บ ร ม /กิจกรรม

ผูเขารับการอบรม/กิจกรรม หลักสูตร/กิจกรรม หนวยงานที่จัด

14 26-27 กรกฎาคม 2550

1. อ.ศิริกาญจน โพธิ์เขียว 2. อ.วิมล อุทานนท 3. นางสาวโบว แซเจียม

ประชุมวิชาการประจําปศูนยบริการสารสนเทศทางเทคโนโลยี (TIAC) ครั้งที่ 6 เรื่อง มองเทคโนโลยีผาน TIAC

อาคารวิจัยโยธี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ เขตราชเทวี กรุงเทพฯ

15 9-10 สิงหาคม 2550 1. อ.วิมล อุทานนท สัมมนาวิชาการระดับชาติดาน อีเลิรนนิง ป 2550 โดยโครงการมหาวิทยาลัยไซเบอรไทย (TUC: National e-Learning Conference 2007)

อาคาร 9 อิมแพค เมืองทองธานี

16 9-10 สิงหาคม 2550 1. อ.ประภาพรรณ หิรัญวัชรพฤกษ

สัมมนาชมรมหองสมุดเฉพาะประจําป 2550 เรื่อง ชองทางเพิ่มมูลคาหองสมุดยุคเศรษฐกิจพอเพียง

หองประชุมศาสตราจารยสังเวียน อินทรวิชัย อาคารตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ช้ัน 3

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 119

ขาวกิจกรรมและบริการสังคม โปรแกรมวิชาสารสนเทศศาสตรและบรรณารักษศาสตร

บริการวิชาการสูสังคม

นิสิตโปรแกรมวิชาบรรณารักษศาสตรฯ รวมกับโปรแกรมวิชาสารสนเทศศาสตรฯ มหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จ เจ าพระยา ชวยงานพ ัฒนาและปร ับปร ุงห อ งสม ุด ณ โรง เ ร ียนว ัดม ังกรกมลาวาส กรุงเทพมหานคร ทั้งนี้ไดจัดกิจกรรมดังกลาวในระหวางวันที่ 7 ก.ค.-16 ก.ย.50

ขาวประชุม - อบรม – สัมมนา – ศึกษาดูงาน คณาจารยโปรแกรมวิชาสารสนเทศศาสตรและบรรณารักษศาสตรและผูสนใจทั่วไป ไดศึกษาดูงานหองสมุด มหาวิทยาลัย... พิพิธภัณฑทางเทคโนโลยี และพิพิธภัณฑ... ณ ประเทศบรูไน ระหวางวันที่ 23-25 พฤษภาคม 2550

อ.ประภาพรรณ หิรัญวัชรพฤกษ เขารวมฟงการสัมมนาชมรมหองสมุดเฉพาะประจําป 2550 เรื่อง ชองทางเพิ่มมูลคาหองสมุดยุคเศรษฐกิจพอเพียง ในวันที่ 9 สิงหาคม 2550 ณ หองประชุมศาสตราจารยสังเวียน อินทรวิชัย อาคารตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ช้ัน 3

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 120

คอลัมประจํา

บรรณนทิัศนหนงัสือใหม

รสสุคนธ ไตรรงค*

โรวี, อลัน เจ. (2550). การตัดสินใจทางธุรกิจ. กรุงเทพฯ : เอ็กซเปอรเน็ท. การตัดสินใจทางธุรกิจ. ความสําเร็จของผูบริหารเปนผลมาจาการ

ความสามารถในการตัดสิน การตัดสินใจที่ชาญฉลาดนั้นอาจนําคุณและองคกรมุงหนาไปสูความสําเร็จ ในขณะที่การตัดสินใจที่ผิดพลาดก็อาจกลายเปนอุปสรรคสําคัญที่มาขัดขวางการปฏิบัติงานของคุณและองคกรหนังสือเลมนี้จึงไดรวบรวมและนําเสนอ 5 กระบวนการตัดสินใจอันทรงประสิทธิผล ซึ่งจะชวยคุณปรับปรุงทักษะการตัดสินใจของคุณ และชวยใหคุณหลีกเลี่ยงหลุมพรางที่จะนําคุณไปสูผลลัพธอันเลวรายในการ

ปฏิบัติงาน โดยมีสาระสําคัญดังนี้ • เทคนิคการตัดสินใจอันทรงประสิทธิผล • วิธีคัดเลือกบุคลากรที่เหมาะสมเพื่อเขามามีสวนรวมในการตัดสินใจ • การลดความเสี่ยง • การเลือก “ทางเลือก” ที่ดีที่สุด

บัญชร ชวาลศิลป. (2550). กวาจะเปนนายพล (กาวแรก). กรุงเทพฯ : มติชน.

กวาจะเปนนายพล (กาวแรก). บนเสนทางแหงความเปนทหาร ถึงวันนี้อาจกลาวไดวา ผมกาวเดินมาถึงจุดอันเปนความใฝฝนของ ผูคนในอาชีพนี้แลว ชอชัยพฤกษและดาวทองบนบา เครื่องหมายนายพลทหารบกแหงกองทัพไทย เมื่อพูด ถึงเสนทางเดินของชีวิตแลว อยาวาแตทหารเลย ทุกผูคนลวนผานประสบการณที่แตกตางหลากหลายกันไป และใครก็มิอาจตีราคาเสนทางชีวิตของแตละคนวาใครเหนือกวาใครได เพราะทุกเสนทางยอมมีคุณคาเฉพาะ ของตัวเองเสมอ เชนนี้ ทุกชีวิตจึงมีเรื่องราวที่นาสนใจ

ทั้งสิ้น ผมจึงคิดใครนําเสนทางเดินของชีวิตตัวเอง มาเลาขานตอผูคนบาง หวังวาคงไดรับอนุญาต

* งานสงเสริมการเรียนรู สํานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 121

เอ็นอารเอฟ เฟาวนเดชั่น, รีเสิรชแอนดเอ็ดดูเคชั่น. (2550).คูมือนักขาย. กรุงเทพฯ : เอ็กซเปอรเน็ท.

คูมือนักขาย.“คูมือนักขาย” เลมนี้จะแบงออกเปน 3 สวน ต้ังแต การคนหาความตองการของลูกคา เพื่อที่จะได นําเสนอสินคาไดตรงกับความตองการของลูกคามากที่สุด การสรางการขายและความภักดีจากลูกคา เพื่อใหลูกคากลับมาซื้อสินคากับ คุณอีกในครั้งตอๆ ไป และ การปดการขาย ซึ่งเปนขั้นตอนที่สําคัญที่สุดของการขาย โดยหนังสือเลมนี้มี

รูปแบบการนําเสนอที่สามารถ เขาใจไดงาย ดวยแนวคิด ตัวอยาง และแบบฝกหัด ที่จะทําใหคุณสนุกไปพรอมกับการเรียนรู ซึ่งเหมาะอยางยิ่งสําหรับการศึกษาดวย ตนเอง ในขณะเดียวกันก็อาจนําไปประยุกตใชในการฝกอบรมพิเศษสําหรับทีมงานขายไดอีกดวย ซึ่งเมื่อคุณอาน “คูมือนักขาย” เลม นี้จบ และไดทําแบบฝกหัดที่เสนอไวใหแลว คุณ ก็สามารถที่จะนําความรูที่ไดไปประยุกตใชกับประสบการณในการทํางานไดเปนอยางดี เพื่อเปนใบเบิกทางไปสูผลตอบแทนที่คุมคาและประสบความสําเร็จในอาชีพงานขายไดดังตองการ

ชูชาติ ชุมสนิท. (2550). มหารัตนพิมพวงศ คําฉันท : ตํานานพระแกวมรกต. ฉบับสมบูรณ. กรุงเทพฯ : มติชน.

มหารัตนพิมพวงศ คําฉันท : ตํานานพระแกวมรกต. ตํานานพระแกวมรกตฉบับสมบูรณ ซึ่งแตงโดยอาจารยชูชาติ ชุมสนิท เปนงานรวมยุครวมสมัยที่ควร ยกยองเปนตัวแทนของคนยุคนี้ วายังมีกวีแตงฉันทเปนเลมดวย "กวีโวหาร" แทจริง มีการเลือกใชฉันทไดเหมาะ เจาะ สอดคลองกับอารมณและเนื้อหาของตอนนั้นๆ แตที่สําคัญคือใชคําไมเกอเขิน ไม "คลั่งบาลี" จนอานไมรูเรื่อง แตเปนคําสามัญ อานเขาใจดีและงายๆ สบายมาก นับเปนงานกวีนิพนธเลมสําคัญและมีคามาก

วารสารสารสนเทศ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2550 หนา 122

การชําระเงิน [ ] ต๋ัวแลกเงิน จํานวน 200 บาท [ ] ธนาณัติ จํานวน 200 บาท

ใบสมัครสมาชิกวารสารสารสนเทศ [ ] สมัครใหม [ ] ตออายุสมาชิก [ ] หนวยงาน [ ] บุคคล

ชื่อ....................................................สกุล.............................................................. หนวยงาน..............................................................................................................

ท่ีอยู.............................................................................. แขวง/ตําบล.................................................................. เขต/อําเภอ ................................................................... จังหวัด......................................................................... รหัสไปรษณีย..............................................................

สั่งจายในนาม สํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ

มหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา (ปณฝ. วงเวียนใหญ 10602)

1061 อิสรภาพ 15 แขวงหิรัญรูจี เขตธนบุรี กรุงเทพฯ 10600

จัดสงที่ ศิริรัตน น้ําจันทร สํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ

มหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา

1061 อิสรภาพ 15 แขวงหิรัญรูจี เขตธนบุรี กรุงเทพฯ 10600

หมายเลขติดตอ โทร. 02-473-7000 ตอ 1700 กด 100 โทรสาร 02-466-4342