13
รายงานการสัมมนาทางวนวัฒนวิทยา ครั้งที7 Proceedings of the 7 th Silvicultural Seminar 24 การผสมขามพันธุระหวางไมสะเดาไทยและสะเดาเทียม Interspecific hybridization of Azadirachta indica var siamensis and Azadirachta excelsa (Jack) Jacobs ประเสริฐ สอนสถาพรกุล 1 Prasert Sornsathapornkul จํ านงค กาญจนบุรางกูร 2 Chamnong Kanchanaburangura สุทัศน เลาสกุล 3 Suthat Lausakul สุจิตรา จางตระกูล 4 Suchitra Changtragoon ABSTRACT Thai neem (Azadirachta indica var siamensis) and tiem (Azadirachta excelsa) are of fast-growing species and possess similar morphological characteristics. Both species are considered multipurpose trees based on their various utilization. There is no report on natural hybridization between Thai neem and tiem due mainly to difference in distribution and flowering peroids. Therefore, artificial hybridization between these two species is challenging and may produce F 1 hybrid with heterosis/vigor, the genetic traits of which are inherited from the parental species. A study on interspecific hybridization between Thai neem and tiem was carried out using Thai neem gene bank plantation at Silviculture Research Centre No. 3, Kanchanaburi and tiem experimental plot at Hin-Lab Experimental Station, Kanchanaburi provincce. Thai neem at Kanchanaburi site normally flowers during February, which is similar to that of tiem. This results in approximately two-week overlapping in flowering period. Artificial hybridization was made by reciprocal approaches using five Thai neem clones and six tiem trees. The final fruit set of cross Thai neem by tiem appeared quite low (10.29%) with high fruit abortion rate up to 70% in the first week following controlled pollination, whereas that of the cross tiem by Thai neem averaged only 0.49% of final fruit set, which may cause by reproductive barriers. Developmental stages and maturation of the hybrid fruit resemble that of Thai neem and tiem, depending on the species used as female parent. Seed germination percentage averaged 95%. This preliminary study confirms possibility of interspecific hybridization between Thai neem and tiem based on identification using isoenzyme gene markers together with comparative morphological characteristics. The six-month-old hybrid seedlings possess intermediate characteristics between the parental species, especially leaves and bark. Growth of the hybrid seedlings tended to have better performance than those of the parental species, indicating that the hybrid may potentially be developed as promising tree species for future plantation. Keywords: Azadirachta indica var siamensis, Azadirachta excelsa, neem hybrid, isoenzyme 1 นักวิชาการปาไม 7สวนวนวัฒนวิจัย สํานักวิชาการปาไม กรมปาไม, E-mail : [email protected] 2 นักวิชาการปาไม 8ศูนยวนวัฒนวิจัยที3 จังหวัดกาญจนบุรี กรมปาไม 3 นักวิชาการปาไม 7สถานีทดลองปลูกพรรณไมหินลับ จังหวัดกาญจนบุรี กรมปาไม 4 นักวิชาการปาไม 8สวนวนวัฒนวิจัย สํานักวิชาการปาไม กรมปาไม

การผสมข ามพันธุ ระหว างไม สะเดาไทยและสะเดาเท ียมfrc.forest.ku.ac.th/frcdatabase/bulletin/Document/t3SS.pdfสุจิตรา

  • Upload
    others

  • View
    4

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: การผสมข ามพันธุ ระหว างไม สะเดาไทยและสะเดาเท ียมfrc.forest.ku.ac.th/frcdatabase/bulletin/Document/t3SS.pdfสุจิตรา

รายงานการสัมมนาทางวนวัฒนวิทยา คร้ังท่ี 7 Proceedings of the 7th Silvicultural Seminar

24

การผสมขามพันธุระหวางไมสะเดาไทยและสะเดาเทียมInterspecific hybridization of Azadirachta indica var siamensis

and Azadirachta excelsa (Jack) Jacobs

ประเสริฐ สอนสถาพรกุล1 Prasert Sornsathapornkul

จ ํานงค กาญจนบุรางกูร2 Chamnong Kanchanaburangura

สทุศัน เลาสกุล3 Suthat Lausakul

สจุิตรา จางตระกูล4 Suchitra Changtragoon

ABSTRACT

Thai neem (Azadirachta indica var siamensis) and tiem (Azadirachta excelsa) are of fast-growing species and possess similar morphological characteristics. Both species are considered multipurpose trees based on their various utilization. There is no report on natural hybridization between Thai neem and tiem due mainly to difference in distribution and flowering peroids. Therefore, artificial hybridization between these two species is challenging and may produce F1 hybrid with heterosis/vigor, the genetic traits of which are inherited from the parental species. A study on interspecific hybridization between Thai neem and tiem was carried out using Thai neem gene bank plantation at Silviculture Research Centre No. 3, Kanchanaburi and tiem experimental plot at Hin-Lab Experimental Station, Kanchanaburi provincce. Thai neem at Kanchanaburi site normally flowers during February, which is similar to that of tiem. This results in approximately two-week overlapping in flowering period. Artificial hybridization was made by reciprocal approaches using five Thai neem clones and six tiem trees. The final fruit set of cross Thai neem by tiem appeared quite low (10.29%) with high fruit abortion rate up to 70% in the first week following controlled pollination, whereas that of the cross tiem by Thai neem averaged only 0.49% of final fruit set, which may cause by reproductive barriers. Developmental stages and maturation of the hybrid fruit resemble that of Thai neem and tiem, depending on the species used as female parent. Seed germination percentage averaged 95%. This preliminary study confirms possibility of interspecific hybridization between Thai neem and tiem based on identification using isoenzyme gene markers together with comparative morphological characteristics. The six-month-old hybrid seedlings possess intermediate characteristics between the parental species, especially leaves and bark. Growth of the hybrid seedlings tended to have better performance than those of the parental species, indicating that the hybrid may potentially be developed as promising tree species for future plantation.

Keywords: Azadirachta indica var siamensis, Azadirachta excelsa, neem hybrid, isoenzyme

1 นักวิชาการปาไม 7ว สวนวนวัฒนวิจัย สํ านักวิชาการปาไม กรมปาไม, E-mail : [email protected] นักวิชาการปาไม 8ว ศูนยวนวัฒนวิจัยที่ 3 จังหวัดกาญจนบุรี กรมปาไม3 นักวิชาการปาไม 7ว สถานีทดลองปลูกพรรณไมหินลับ จังหวัดกาญจนบุรี กรมปาไม4 นักวิชาการปาไม 8ว สวนวนวัฒนวิจัย สํ านักวิชาการปาไม กรมปาไม

Page 2: การผสมข ามพันธุ ระหว างไม สะเดาไทยและสะเดาเท ียมfrc.forest.ku.ac.th/frcdatabase/bulletin/Document/t3SS.pdfสุจิตรา

รายงานการสัมมนาทางวนวัฒนวิทยา คร้ังท่ี 7 Proceedings of the 7th Silvicultural Seminar

25

บทคัดยอ

ไมสะเดาไทย (Azadirachta indica var siamensis) และสะเดาเทียม (Azadirachta excelsa) เปนพันธุไมโตเร็วที่มีลักษณะทางสัณฐานวิทยาคลายคลึงกัน และจัดเปนพันธุไมเอนกประสงคที่สามารถนํ าไปใชประโยชนนานัปการ การผสมขามพันธุระหวางไมสะเดาทั้งสองชนิดไมเกิดขึ้นโดยธรรมชาติ เนื่องจากมีชวงระยะเวลาการออกดอกและการกระจายพนัธุที่แตกตางกัน การศึกษาการผสมขามพันธุดังกลาวจึงเปนเร่ืองทาทาย และมุงหวังคุณลักษณะดีเดนบางประการของลูกผสม (F1 hybrid) ทีถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมมาจากไมสะเดาทั้งสองชนิด การศึกษาวิจัยดังกลาวดํ าเนินการที่ศูนยวนวัฒนวิจัยที่ 3 จังหวัดกาญจนบรีุ และสถานีทดลองปลูกพรรณไมหินลับ จังหวัดกาญจนบุรี ไมสะเดาไทยมีชวงระยะเวลาออกดอกสูงสุดในเดอืนกมุภาพันธ ในขณะที่ชวงการออกดอกของไมสะเดาเทียมที่ปลูกในบริเวณสถานีฯ เกิดขึ้นในชวงใกลเคียงกัน โดยมีชวงระยะการออกดอกซอนทับกันประมาณ 2 สัปดาห ดํ าเนินการผสมเกสรขามพันธุแบบสลับ (reciprocal) ระหวางแมไมสะเดาไทย จํ านวน 5 clone และไมสะเดาเทียมจํ านวน 6 ตน การสุกแกของผลลกูผสมโดยใชไมสะเดาไทยเปนตนแมมีอัตราที่คอนขางตํ่ ามาก (10.29%) โดยมีอัตราการรวงหลนของผลสูงถึง 70% ภายในชวงสัปดาหแรกหลังจากการผสมเกสร ในขณะที่การผสมขามพันธุโดยใชไมสะเดาเทยีมเปนตนแมมีการสุกแกของผลเพียง 0.49% เทานั้น ซึ่งแสดงใหเห็นถึงปจจัยขวางกั้นทางดานการสืบตอพันธุ (reproductive barriers) การพฒันาและการสุกแกของเมล็ดลูกผสมสะเดา มีลักษณะคลายคลงึกับของไมสะเดาไทยและสะเดาเทียม ขึ้นอยูกับพันธุไมสะเดาที่ใชเปนตนแม ความสามารถในการงอกของเมล็ดลูกผสมโดยเฉลี่ย 95% จากการตรวจสอบลักษณะทางพันธุกรรมโดยใช isoenzyme gene markers ควบคูกับลักษณะทางสัณฐานวิทยาของกลาไมลูกผสม สามารถยืนยันความสํ าเร็จการผสมขามพันธุระหวางไมสะเดาทั้งสองชนิด ลักษณะทางสัณฐานวิทยาของกลาไมที่อายุ 6 เดือน โดยเฉพาะสวนของใบและล ําตนมีลักษณะกํ้ าก่ึงระหวางไมสะเดาทั้งสองชนิด ลักษณะการเจริญเติบโตของกลาไมลูกผสมมีแนวโนมดกีวาตนสะเดาทั้งสองชนิด แสดงถึงศักยภาพบางประการของไมลูกผสมสะเดาที่สามารถพัฒนาไปเปนพันธุไมสํ าหรับการปลูกสรางสวนปาในอนาคต

ค ําน ํา

ไมสะเดาไทยและสะเดาเทียมเปนพันธุไมโตเร็วที่มีลักษณะทางสัณฐานวิทยาคลายคลึงกัน จัดอยูในวงศ Meliaceae พันธุไมทัง้สองชนิดสามารถนํ าไปใชประโยชนไดหลายประการ ตั้งแตการใชประโยชนไมแปรรปู อาหารและยารักษาโรค ตลอดจนใชเปนสารกํ าจัดและไลแมลง (บัณฑิต, 2526) ไมสะเดาเปนพันธุไมพ้ืนเมอืงที่ปลูกขึ้นไดงาย ทนแลง และสามารถปรับตัว และเจริญเติบโตไดดีในดินหลายประเภท (บุญฤทธิ์, 2526; สมิต และคณะ, 2536; กรมวิชาการเกษตร, 2538) ในขณะที่ไมสะเดาเทียมเปนพันธุไมทีเ่จรญิเติบโตไดดีในพื้นที่ที่มีความชื้นและปริมาณนํ้ าฝนสูงกวา (ธงชัย, 2536; Kijkar, 1995) เมล็ดและใบของไมทั้งสองชนิดสามารถนํ ามาสกัดสารประกอบที่เรียกวา Azadirachtin ซึง่สามารถนํ ามาใชเปนยากํ าจดัและไลแมลงบางชนิดได แตปริมาณความเขมขนของสารดังกลาว มีความแตกตางระหวางพันธุไมทั้ง

Page 3: การผสมข ามพันธุ ระหว างไม สะเดาไทยและสะเดาเท ียมfrc.forest.ku.ac.th/frcdatabase/bulletin/Document/t3SS.pdfสุจิตรา

รายงานการสัมมนาทางวนวัฒนวิทยา คร้ังท่ี 7 Proceedings of the 7th Silvicultural Seminar

26

สองชนิด (ขวัญชัย, 2540 และ 2542; ไพโรจน, 2544) โดยทั่วไปแลวไมสะเดาเทียมมีลักษณะลํ าตนที่เปลาตรง เจริญเติบโตเร็วกวาไมสะเดาไทย (ไพโรจน, 2544) แตอยางไรก็ตามเมื่อนํ าไมสะเดาเทียมที่เจรญิเตบิโตไดดใีนทองที่ภาคใตซึ่งมีความชื้นสูงกวา ไปปลูกยังภูมิภาคอื่นๆ ของประเทศที่มีความชื้นตํ่ ากวา ไมสะเดาเทียมมีการเจริญเติบโตไมดีเทาที่ควรนัก เมือ่เปรียบเทียบกับไมสะเดาไทยที่สามารถทนแลงไดดีกวา

การผสมขามพันธุ (hybridization) ระหวางพันธุไมสองชนิดในสกุลเดียวกันหรือตางกัน เปนแนวทางหนึ่ง ในการปรับปรุงพันธุไม นอกเหนอืไปจากการปรับปรุงสายพันธุของพันธุไมชนิดเดียวกัน โดยทั่วไปแลว ลูกผสม (hybrids) มักจะมีคุณลักษณะดีเดนบางประการที่ถายทอดลักษณะทางพันธุกรรมมาจากพันธุไมทั้งสองชนิด (heterosis/vigor) ตัวอยางเชน ไมลูกผสมระหวางกระถินเทพา (Acacia mangium) และกระถินณรงค (Acacia auriculiformis) (Kijkar, 1992) หรือไมลูกผสมสกุลยูคาลิปตัส (Potts and Gore, 2000) ซึง่พบวามลัีกษณะการเจริญเติบโตและความสามารถในการปรับตัวเขากับสภาพพื้นที่ดีกวาตนพอแมเดิม

ไมมรีายงานการผสมขามพนัธุโดยธรรมชาต ิ (natural hybridization) ของพนัธุไมสะเดาทัง้สองชนดิ เนือ่งมาจากไมสะเดาไทยและสะเดาเทยีมมกีารกระจายพนัธุโดยธรรมชาต ิ และชวงระยะเวลาการออกดอกทีแ่ตกตางกัน แตมคีวามเปนไปไดสูงทีพั่นธุไมทัง้สองชนดิสามารถผสมขามกนัได เนือ่งจากเปนพนัธุทีจ่ดัอยูในสกลุ (Genus) เดยีวกนั และมลัีกษณะโครงสรางและการพฒันาของดอก รวมถงึระบบการผสมพนัธุ (breeding system) ทีค่ลายคลงึกัน (ประเสรฐิ และคณะ, 2543; อํ านวยพร และ เพชร,ี 2536; อํ านวยพร และคณะ, 2538)

การศกึษาวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงคหลัก เพ่ือศึกษาแนวทางและวิธีการ รวมถึงปจจัยทางการสืบตอพันธุในการผสมขามพันธุระหวางไมสะเดาไทยและสะเดาเทียม เพ่ือผลิตลูกผสมสะเดา (Azadirachtahybrid) ทีอ่าจจะมีคุณลักษณะบางประการดีกวาไมสะเดาพันธุพอแมทั้งสองชนิด สามารถใชเปนพันธุไมทางเลือกสํ าหรับการปลูกสรางสวนปาเชิงเศรษฐกิจในอนาคต

อุปกรณและวิธีการ

วิธีการศึกษา

1. ด ําเนนิการส ํารวจและคัดเลือกหมายตนไมสะเดาไทย จากแปลงปลูกรวบรวมไมสะเดาไทย ณศูนยวนวฒันวจิยัที ่ 3 อํ าเภอทามวง จังหวัดกาญจนบุรี จํ านวนอยางนอย 10 clones โดยแตละ cloneประกอบดวยแมไมที่มีลักษณะพันธุกรรมเดียวกันจํ านวน 3-5 ตน สํ าหรับไมสะเดาเทียมคัดเลือกตนจากแปลงทดลองปลูกไมสะเดาเทียมจากสถานีทดลองปลูกพรรณไมหินลับ อํ าเภอบอพลอย จังหวัดกาญจนบุรีจ ํานวนอยางนอย 10 ตน

2. ท ําการหมายชอดอกระยะตางๆ โดยเนนการพัฒนาของชอดอกในระยะที่ดอกตูมกอนจะบาน(floral bud stage) ประมาณ 4-5 วัน โดยหมายจํ านวนกิ่งที่ออกดอกอยางนอย 10 ก่ิงตอแมไม

Page 4: การผสมข ามพันธุ ระหว างไม สะเดาไทยและสะเดาเท ียมfrc.forest.ku.ac.th/frcdatabase/bulletin/Document/t3SS.pdfสุจิตรา

รายงานการสัมมนาทางวนวัฒนวิทยา คร้ังท่ี 7 Proceedings of the 7th Silvicultural Seminar

27

3. ด ําเนนิการผสมขามพันธุระหวางไมสะเดาทั้งสองชนิดผสมแบบสลับ (reciprocal) โดยใชทั้งไมสะเดาไทยและสะเดาเทียมเปนตนแมตามแผนผังการผสมขามพันธุ ดังตอไปนี้ (Figure 1)

A. A. excelsa as pollen donor

A. excelsa (donor)A. indica var siamensis(receiver) 1** 2 4 5 6

5 * X X10 X X X15 X X X35 X X71 X X X

B. A. indica var siamensis as pollen donor

A. indica var siamensis (donor)A. excelsa(receiver) 5 * 10 15 35 71 72

2 ** X X4 X X5 X X X

Note: * , clone number for A. indica var siamensis ** , tree number for A. excelsa

Figure 1. Diagram showing reciprocal cross-pollination between Azadirachta indica var siamensisand A. excelsa.

สํ าหรับการถายละอองเรณูขามพันธุ ดํ าเนินการโดยคัดเลือกและหมายชอดอกจากตนสะเดาไทยหรือสะเดาเทยีมที่ไดคัดเลือกไว ประกอบดวยดอกตูมเต็มที่กอนบาน 1 วัน จํ านวนประมาณ 10 ชอดอกตอโคลนหรอืตอตน ในการผสมขามพันธุใหดํ าเนินการกํ าจัดสวนของเกสรตัวผู (emasculation) ทุกดอกของตนแม แลวคลุมดวยถุงพลาสติกเซลโลเฟน เพ่ือปองกันการปนเปอนจากละอองเรณูที่ไมตองการ(contamination) เมือ่ดอกบานเต็มที่ ใหนํ าสวนของเกสรตัวผูจากดอกของตนพอมาดํ าเนินการถายละอองเรณ ูโดยนํ าสวนของอับละอองเรณูที่แตกแลวมาแตะสวนยอดเกสรตัวเมีย (stigma) การคัดเลือกเกสรตัวผูของตนพอทีต่องการมาผสมเกสร ใหดํ าเนินการตามแผนผังดังกลาวขางตน หลังจากการถายละอองเรณูแลวใหคลุมชอดอกตนแมดวยถุงพลาสติกกลับคืนเชนเดิม เปนเวลาอยางนอย 3 วัน หรือจนกระทั่งยอดเกสรตัวเมียเหี่ยวแหงไป

Page 5: การผสมข ามพันธุ ระหว างไม สะเดาไทยและสะเดาเท ียมfrc.forest.ku.ac.th/frcdatabase/bulletin/Document/t3SS.pdfสุจิตรา

รายงานการสัมมนาทางวนวัฒนวิทยา คร้ังท่ี 7 Proceedings of the 7th Silvicultural Seminar

28

4. ในชวงระยะการพัฒนาของผลลูกผสมสะเดาทั้งสองแบบ ดํ าเนินการศึกษาและเก็บขอมูลเก่ียวกับการเจริญพัฒนาและชีพลักษณของผลลูกผสม (ผลทีเ่กิดจากการควบคุมการผสมขาม) โดยศึกษาเปรียบเทียบกับการพัฒนาของผลของไมสะเดาไทยและสะเดาเทียมที่เจริญพัฒนามาจากดอกที่ไดรับการผสมเกสรแบบเปด (open-pollination) นอกจากนี้ใหตรวจนับจํ านวนผลลูกผสมทุกๆ 1 สัปดาห ตั้งแตเร่ิมตดิผลจนกระทั่งผลสุกแกเต็มที่ เพ่ือคํ านวณเปอรเซ็นตการติดผลและการรวงหลนของผลลูกผสม

5. ด ําเนนิการเก็บผลลูกผสมที่สุกแกเต็มที่จากตนสะเดาไทยและสะเดาเทียม เพ่ือตรวจสอบการงอกและเพาะเปนกลาไมในเรือนเพาะชํ า เพ่ือศึกษาลักษณะที่ผันแปรของกลาไมลูกผสมสะเดาของทั้ง 2ชนดิ โดยเปรียบเทียบกับกลาไมสะเดาไทยและสะเดาเทียม

6. ศกึษาเปรียบเทียบการเจริญเติบโต และอัตราการรอดตายในสภาพเรือนเพาะชํ าของกลาไมลูกผสมสะเดาและกลาไมสะเดาไทยและสะเดาเทียม โดยตรวจวัดความสูง เสนผาศูนยกลางระดับคอราก

7. ด ําเนนิการตรวจสอบและวินิจฉัยลักษณะพันธุกรรมของกลาไมลูกผสมไมสะเดา เมื่อมีอายุไดประมาณ 6 เดือน เพ่ือตรวจพิสูจนศกัยภาพของการผสมขามพันธุของไมสะเดาทั้งสองชนิด โดยการประยุกตใช isoenzyme gene markers โดยใชระบบเอนไซม (enzyme system) ทีใ่ชในการตรวจวินิจฉัยไมสะเดาไทยตามการศึกษาโดยสุจิตรา และคณะ (2536)

ผลและวิจารณ

การเจริญพัฒนาของผลลูกผสมระหวางไมสะเดาไทยและสะเดาเทียม

ไมสะเดาไทย (Azadirachta indica var siamensis) ซึง่ปลูกในแปลงรวบรวมพันธุไม (gene bank)ที่ ศูนยวนวฒันวจิยัที ่3 อํ าเภอทามวง จังหวัดกาญจนบุรี จํ านวนทั้งส้ิน 31 โคลน พบวาสวนใหญเร่ิมออกดอกตัง้แตปลายเดือนธันวาคมจนถึงกุมภาพันธ (ประเสริฐ และคณะ, 2543) ในขณะที่ไมสะเดาเทียมที่เจริญเติบโตในเขตทองที่จังหวัดภาคใตโดยทั่วไปมีชวงออกดอกระหวางเดือนกุมภาพันธถึงมีนาคม (อํ านวยพร และ เพชร,ี 2536; อํ านวยพร และคณะ, 2538) แตอยางไรก็ตามไมสะเดาเทียมจากถิ่นกํ าเนิด (provenance) จงัหวดัตรงั เมื่อนํ ามาปลูกที่สถานีทดลองปลูกพรรณไมหินลับ อํ าเภอบอพลอย จังหวัดกาญจนบรีุ พบวามีชวงการออกดอกเร็วขึ้น ตั้งแตปลายเดือนมกราคมจนถึงกลางเดือนมีนาคม ทํ าใหไมสะเดาทัง้สองชนิดดังกลาวในพื้นที่จังหวัดกาญจนบุรี มีชวงระยะดอกบานเต็มที่ (anthesis period) ซอนทับกัน (overlapping) ประมาณ 2 สัปดาห

จากการทดลองผสมขามพันธุ (Interspecific hybridization) ระหวางไมสะเดาไทยและสะเดาเทียมแบบสลับ (reciprocal) พบวาจํ านวนผลสุกแก (mature fruit) ของลูกผสมสะเดา (Azadirachta hybrid) มีคาแตกตางกัน (Figure 2) โดยมีคารอยละ 10.29 สํ าหรับลูกผสมที่ใชไมสะเดาไทยเปนตนแม และมีคารอยละ 0.49 สํ าหรับลูกผสมที่ใชไมสะเดาเทียมเปนตนแม อยางไรก็ตามรูปแบบการรวงหลนของผลที่กํ าลังพัฒนา (fruit abortion) ของลกูผสมสะเดาทั้งสองแบบ พบวามีลักษณะคลายคลึงกันมาก กลาวคือ

Page 6: การผสมข ามพันธุ ระหว างไม สะเดาไทยและสะเดาเท ียมfrc.forest.ku.ac.th/frcdatabase/bulletin/Document/t3SS.pdfสุจิตรา

รายงานการสัมมนาทางวนวัฒนวิทยา คร้ังท่ี 7 Proceedings of the 7th Silvicultural Seminar

29

0

20

40

60

80

100

10 Feb

23 Feb

9 Mar

30 Mar

28 Apr

14 Apr

12 May

(10.29%) / n=370(0.49%) / n=203

A. indica var siammensis x A. excelsaA. excelsa x A. indica var siammensis

อัตราการรวงหลนของผลเกิดขึ้นสูงมากในชวง 2 สัปดาหแรกหลังจากที่ดอกไดรับการผสมเกสร และหลังจากสปัดาหทีส่องไปแลว พบวาจํ านวนผลที่กํ าลังพัฒนามีคาคอนขางคงที่ จนกระทั่งถึงชวงสุกแก (fruitmaturation) (Figure 2)

Figure 2. Comparative fruit abortion between the hybrid (A. indica var siamensis and A. excelsa) and the parental species throughout the course of development following controlled pollination.

อัตราการรวงหลนของผลลูกผสมทั้งสองแบบมีลักษณะคลายกับที่พบในไมสะเดาไทยจากแปลงทดลองเดียวกัน (ประเสริฐ และคณะ, 2543) และในไมสกุล acacia (Tybirk, 1993) ผลไมสะเดาไทยถึงแมวาจะไดจากการผสมเกสรระหวางโคลน (intraspecific hybridization) พบวามีการรวงหลนผลสูงในชวง2 สัปดาหแรกเชนกัน และมีจํ านวนผลสุกแกเฉล่ียรอยละ 14.7 (ประเสริฐ และคณะ, 2543) ซึ่งใกลเคียงกับอตัราการรวงหลนของผลลูกผสมสะเดาทั้งสองแบบ สาเหตุของการรวงหลนของผลที่กํ าลังพัฒนา มีสาเหตุหลักมาจากปจจัยภายในพืชเอง (internal factor) โดยเฉพาะอยางย่ิงการแกงแยงธาตุอาหารภายในตนพืช (resource competetion) (Stepheson, 1981) ในกรณีของการพัฒนาผลลูกผสมสะเดา ซึ่งมีจํ านวนผลสกุแกตํ ่ากวาผลไมสะเดาไทย อาจมีสาเหตุหลักสวนหนึ่ง มาจากปจจัยภายในตนพืชและสวนหนึ่งเกิดขึ้นจากปจจัยขวางกั้นการสืบตอพันธุ (reproductive barriers) ซึง่เกิดขึ้นจากการผสมขามพันธุ (นพพร2543; Richard, 1986) อยางไรก็ตามในกรณีของลูกผสมสะเดาที่เก็บจากไมสะเดาเทียม ซึ่งมีอัตราการตดิผลตํ ่ามาก หรือแทบไมมีการติดผลเลย อาจจะมีสาเหตุหลักมาจากปจจัยขวางกั้นการสืบตอพันธุเกิดขึ้นในชวงกอนการกอตัวของคัพภะ (pre-zygotic period) ซึง่จดัเปนกลไกทางพันธุกรรมที่มีความสลับซับ

Fruit set percentage

Page 7: การผสมข ามพันธุ ระหว างไม สะเดาไทยและสะเดาเท ียมfrc.forest.ku.ac.th/frcdatabase/bulletin/Document/t3SS.pdfสุจิตรา

รายงานการสัมมนาทางวนวัฒนวิทยา คร้ังท่ี 7 Proceedings of the 7th Silvicultural Seminar

30

ซอนสงผลใหเกิดความลมเหลวของขบวนการสืบตอพันธุที่สํ าคัญ ไดแก ละอองเรณูไมงอก หรือหลอดละอองเรณูหยุดการพัฒนา รวมถึงความลมเหลวของการปฏิสนธิ (นพพร 2543; Richard, 1986) ในกรณีของไมลูกผสมสกุล Eucalyptus บางชนิด พบวา E. nitens สามารถผสมขามพันธุกับ E. globulus ไดโดยใช E. nitens เปนตนแม แตการผสมขามพันธุโดยใช E. globulus เปนตนแม ไมประสบผลสํ าเร็จ เนื่องมาจากดอกของ E. nitens มขีนาดเลก็กวามาก หลอดละอองเรณูไมสามารถงอกไปถึงไขออนได (Potts andGore, 2000) ซึง่ในกรณดีงักลาวคลายคลึงกับที่พบในการผสมขามพันธุไมสกุลสะเดาในการศึกษาครั้งนี้การใชตนสะเดาเทียมเปนตนแม อัตราการติดผลลูกผสมมีคาตํ่ ามาก อาจเนื่องมาจากดอกสะเดาเทียมมีขนาดใหญกวาของสะเดาไทยเชนกัน ควรมีการศึกษาทดลองโดยการตัดปลายกานเกสรตัวเมียของสะเดาเทยีมและใชสารเรงการงอกของละอองเรณูไมสะเดาไทย ดังที่ไดทดลองในพืชเกษตรบางชนิด (นพพร,2543)

ชีพลักษณการพัฒนาของผลลูกผสมสะเดาทั้งสองแบบ มีลักษณะแตกตางกัน ขึ้นอยูกับพันธุไมสะเดาที่ใชเปนตนแม (Figure 3) ในกรณขีองผลลูกผสมสะเดาที่เก็บจากไมสะเดาไทยมีชวงระยะการพัฒนาของผลประมาณ 2 เดือน (กลางเดอืนกุมภาพันธถึงกลางเดือนเมษายน) โดยมีชวงสุกแกประมาณกลางเดอืนเมษายน ซึ่งใกลเคียงกับระยะการพัฒนาของผลไมสะเดาไทย (ประเสริฐ และคณะ, 2543)สํ าหรับผลลูกผสมที่เก็บจากไมสะเดาเทียมมีลักษณะชีพลักษณผันแปรมากกวา โดยมีชวงระยะการพัฒนาของผลจนสุกแกเต็มที่ประมาณ 3 เดือนครึ่ง (กลางเดอืนกุมภาพันธถึงปลายเดือนพฤษภาคม โดยมีชวงสุกแกประมาณปลายเดือนพฤษภาคม ซึ่งนานกวาของไมสะเดาเทียม 1-2 สัปดาห (Figure 3) ลักษณะผลสุกแกของลกูผสมสะเดาทั้งสองแบบและไมสะเดาทั้งสองชนิดมีลักษณะคลายคลึงกัน โดยเมื่อสุกแกจะมีสีเขียวอมเหลือง

Note: Fruiting phenology of A. indica var siamensis and A. excelsa is estimated starting from peak flowering andflower anthesis period around mid-February and from open-pollination.

Figure 3. Comparative fruiting phenology between the two hybrids (A. indica var siamensis andA. excelsa) and the parental species throughout the course of development.

The hybrid (A. indica var siamensis x A. excelsa

The hybrid (A. excelsa x A. indica var siamensis)

A. indica var siamensis

A. excelsa

February March April May

Time of fruit development

Page 8: การผสมข ามพันธุ ระหว างไม สะเดาไทยและสะเดาเท ียมfrc.forest.ku.ac.th/frcdatabase/bulletin/Document/t3SS.pdfสุจิตรา

รายงานการสัมมนาทางวนวัฒนวิทยา คร้ังท่ี 7 Proceedings of the 7th Silvicultural Seminar

31

ความผันแปรของลูกผสมสะเดา

จากการศกึษาทดลองในครั้งนี้ สามารถเก็บไดเฉพาะเมล็ดลูกผสมที่ไดจากไมสะเดาไทยเทานั้น ในขณะทีเ่มลด็ลกูผสมจากไมสะเดาเทียมมีจํ านวนนอยมาก และเมล็ดไมสมบูรณไมงอก ซึ่งในที่นี้จะกลาวถึงเฉพาะเมลด็ลกูผสมสะเดาโดยใชสะเดาไทยเปนตนแมเทานั้น เมล็ดลูกผสมไมสะเดาที่ผลิตไดจํ านวนทั้งส้ิน37 เมลด็ มีเปอรเซ็นตการงอกโดยเฉลี่ย 95% และรูปแบบการงอกของเมล็ดคลายคลึงกับไมสะเดาไทย

จากการศึกษาเปรียบเทียบลักษณะทางสัณฐานวิทยาของกลาไมลูกผสมและพันธุไมสะเดาพอแม พบวากลาไมลูกผสมที่อายุ 1 เดือน มีลักษณะกํ้ าก่ึง (intermediate) ระหวางไมสะเดาไทยและสะเดาเทียมและลักษณะดงักลาว เห็นไดอยางชัดเจนมากยิ่งขึ้นเมื่อกลาไมมีอายุมากขึ้น ในการตรวจพิสูจนกลาไมลูกผสมอาย ุ 6 เดือน พบวาลักษณะสัณฐานวิทยาของใบ เชน การเรียงตัวของใบยอย และลักษณะรูปทรงใบยอย และลักษณะของเปลือกลํ าตน สามารถใชเปนเกณฑในการบงช้ีลักษณะของลูกผสมระหวางไมสะเดาไทยและสะเดาเทียม (Table 1 และ Figure 4) ลักษณะทางสัณฐานวิทยาที่ก้ํ าก่ึงดังกลาว คลายคลึงกับที่พบในลกูผสมของพันธุไมปาชนิดอื่นๆ ที่ไดศึกษามา เชน ลูกผสมไมสกุล acacia (Kijkar, 1992) หรือในไมสกุล Eucalyptus (Potts and Gore, 2000) ซึง่ลักษณะดังกลาวแสดงใหเห็นถึงลักษณะทางพันธุกรรมบางประการของตนพันธุพอแมที่สามารถถายทอดไปยังลูกผสม

Table 1. Summarized comparative characteristics between the hybrid (A. indica var siamensis x A.excelsa) and the parental species

Comparative characteristics A. indica var siamensis The hybrid A. excelsa

Fruiting phenologyPeriod of fruit development 2 months 2 months 3 monthsMaturation period Mid April Mid April Mid MayMature fruit color Yellowish green Yellowish green Yellowish green

Seedling (six months old)Phyllotaxy Alternate Slightly alternate OppositeLeaf shape/margin Ovate-lanceolate/serrate Ovate to ovate-oblong/partly serrate Oblong/entireBark Rough Rough Somewhat smooth

การศกึษาการผสมขามพันธุระหวางไมสะเดาไทยและสะเดาเทียมในครั้งนี้ สามารถยืนยันไดชัดเจนมากขึน้ จากการตรวจสอบลักษณะพันธุกรรมลูกผสมสะเดา โดยการประยุกตใช isoenzyme gene markersจากการทดสอบโดยใชระบบเอนไซม (enzyme system) 4 ชนิด คือ 6-PGDH, IDH, GOT และ PGIอยางไรก็ตาม พบวาเอนไซม IDH สามารถตรวจสอบลักษณะพันธุกรรมของกลาไมลูกผสมสะเดาเมื่ออายุ

Page 9: การผสมข ามพันธุ ระหว างไม สะเดาไทยและสะเดาเท ียมfrc.forest.ku.ac.th/frcdatabase/bulletin/Document/t3SS.pdfสุจิตรา

รายงานการสัมมนาทางวนวัฒนวิทยา คร้ังท่ี 7 Proceedings of the 7th Silvicultural Seminar

32

6 เดือน ไดชัดเจนมากที่สุด (Figure 5) กลาไมทั้งหมดที่ไดจากการควบคุมการผสมเกสรขามพันธุในการทดลองครัง้นี้ พบวาเปนลูกผสมทั้งหมด แตลักษณะความผันแปรทางพันธุกรรมระหวางกลาไมลูกผสมนั้นขึ้นอยูกับลกัษณะทางพันธุกรรมของตนสะเดาไทยและสะเดาเทียมที่ใชเปนตนพอหรือแม

การเจริญเติบโตของกลาไมลูกผสมสะเดา

จากการทดลองศึกษาการเจริญเติบโตของกลาไมลูกผสมสะเดาเบื้องตนภายในเรือนเพาะชํ า โดยการตรวจวดัความสูงและเสนผาศูนยกลางคอรากของกลาไมลูกผสมที่ผลิตไดจํ านวน 35 ตน พบวาการเจรญิเตบิโตของกลาไมลูกผสมสะเดามีความแตกตางจากกลาไมสะเดาไทยและสะเดาเทียม กลาไมลูกผสมทีอ่าย ุ 3 เดือน มีความสูงเฉล่ีย 70.1 ซม. และขนาดเสนผาศูนยกลางคอราก 0.65 ซม. และท่ีอายุ 6เดือน มีความสูงเฉล่ีย 95.2 ซม. และขนาดเสนผาศูนยกลางคอราก 1.52 ซม. ซึ่งทั้งสองช้ันอายุ มีแนวโนมการเจริญเติบโตดีกวาไมสะเดาไทยและสะเดาเทียม (Table 2) และมอัีตราการรอดตายของกลาไมโดยเฉล่ียสูงถึง 100%

Table 2. Comparative growth performance of the seedlings between the hybrid (A. indica varsiamensis x A. excelsa) and the parental species.

Height/Diameter (cm)Seedling ageA. indica var siamensis The hybrid A. excelsa

3 months 42.1/0.54 70.1/0.65 38.2/0.526 months 59.4/1.04 95.2/1.52 54.6/0.97

Number of seedlings (n) 70 35 70

การศกึษาเบือ้งตนดังกลาว แสดงใหเห็นถึงศักยภาพดีเดนบางประการทางดานการเจริญเติบโตของกลาไมลูกผสมสะเดาที่จะสามารถพัฒนาไปเปนพันธุไมชนิดหนึ่ง เพ่ือใชในการปลูกสรางสวนปา เนื่องจากมีลักษณะฐานพันธุกรรม (genetic base) ทีก่วางขึ้น เมื่อเทียบกับพันธุไมสะเดาไทยและสะเดาเทียม มีแนวโนมสามารถปรับตัวใหเขากับสภาพแวดลอมที่หลากหลายกวา อยางไรก็ตามในการศึกษาวิจัยตอไปควรมุงเนนถึงการเพิ่มสายพันธุลูกผสมและศึกษาศักยภาพการเจริญเติบโตของกลาไมลูกผสมสะเดาในภาคสนาม เพ่ือการคัดเลือกสายพันธุลูกผสมที่มีลักษณะดีย่ิงขึ้น ใชเปนแมไมในการขยายพันธุผลิตกลาไมลูกผสมพันธุดีตอไป

Page 10: การผสมข ามพันธุ ระหว างไม สะเดาไทยและสะเดาเท ียมfrc.forest.ku.ac.th/frcdatabase/bulletin/Document/t3SS.pdfสุจิตรา

รายงานการสัมมนาทางวนวัฒนวิทยา คร้ังท่ี 7 Proceedings of the 7th Silvicultural Seminar

Fig

B

A. Leaf

A. indica var siamensis the hybrid A. excelsa

A. in

A. i

ure 4

. Ba

A. excelsa

dica var siamensis

ndica var siamensis

. Comparative morphological cvar siamensis x A. excelsa)

rk

the hybrid

the hybrid

the hybrid

haracteristics of theand the parental spe

A. indica var siamensis

33

A. excelsa

A. excelsa

seedlings between the hybrid (A. indicacies.

Page 11: การผสมข ามพันธุ ระหว างไม สะเดาไทยและสะเดาเท ียมfrc.forest.ku.ac.th/frcdatabase/bulletin/Document/t3SS.pdfสุจิตรา

รายงานการสัมมนาทางวนวัฒนวิทยา คร้ังท่ี 7 Proceedings of the 7th Silvicultural Seminar

34

Fig

1.

2.

3.

IDH

A. indica var 1 5

A. excelsa

ure 5. Identification of the hybrid (A. indica vgene markers

ไมสะเดาไทยสามารถผสมขามพันธุกับไมสะเดาเทสะเดาไทยเปนตนแมมีอัตราการสุกแกของผลโดยการผสมขามพันธุมีความเปนไปไดนอยมาก (0.ตอพันธุ

ชวงระยะการพัฒนาและการสุกแกของผลที่เกิดจสะเดาไทยและสะเดาเทยีม ซึง่ขึน้อยูกับพนัธุไมสะเ

กลาไมลูกผสมสะเดามีลักษณะทางสัณฐานวิทยาบระหวางไมสะเดาไทยและสะเดาเทียม และการเจแนวโนมดีกวาตนสะเดาไทยและสะเดาเทียม

siamensis

The hybrid

5/4x1

5/4x6

10/2x

10/2x2

a

ียเฉ4

าร

10/2x6

r siamen

สรุป

ม แตมลี่ย 10.2

9%) ทั้ง

ากการผสาทีใ่ชเปน

งประการ ิญเติบโตข

15/5x5

sis x A

ีอัตราก9% ในี้อาจ

มขามตนแม

โดองกล

35x4

. exce

ารติดผนขณะทเนื่องมา

มีลักษณ

ยเฉพาะาไมลูกผ

35x

Note: clone

lsa) by using

ลคอนขางตํ่ าี่ใชไมสะเดาเจากอุปสรรค

ะคลายคลึง

สวนของใบแสมจนถึงระย

71/4x4

no. x tree no.

isoenzyme

ในกรณีใชไมทียมเปนตนแมขวางกั้นการสืบ

กับของพันธุไม

ละเปลือกก้ํ าก่ึงะ 6 เดือนมี

Page 12: การผสมข ามพันธุ ระหว างไม สะเดาไทยและสะเดาเท ียมfrc.forest.ku.ac.th/frcdatabase/bulletin/Document/t3SS.pdfสุจิตรา

รายงานการสัมมนาทางวนวัฒนวิทยา คร้ังท่ี 7 Proceedings of the 7th Silvicultural Seminar

35

ค ําขอบคุณ

คณะผูวิจัยขอขอบคุณ คุณวิเชียร สุมนัตกลุ และคุณบัณฑิต โพธิ์นอย สวนวนวัฒนวิจัย สํ านักวชิาการปาไม ที่กรุณาใหคํ าปรึกษาและแนะแนวการดํ าเนินงานวิจัย คุณจตุพร มงัคลารัตน หัวหนาสถานีเมลด็พนัธุไมปาทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี และคุณสุดารัตน วิสุทธิเทพกุล สวนวนวัฒนวิจัย สํ านักวิชาการปาไม ใหความชวยเหลือในการเก็บขอมูลภาคสนาม

เอกสารอางอิง

ไพโรจน ชัยเลิศพงษา. 2544. พันธุไมสะเดา (Azadirachta spp.) เอกสารทางวิชาการ สวนวนวัฒนวิจัย,สํ านักวิชาการปาไม, กรมปาไม. กรุงเทพฯ. 133 หนา.

กรมวิชาการเกษตร. 2538. สะเดาไทย พืชปองกันและกํ าจัดแมลงจากธรรมชาติ. เอกสารทางวิชาการ กองวตัถุมีพิษการเกษตร, กรมวิชาการเกษตร, กระทรวงเกษตรและสหกรณ. กรุงเทพฯ. 16 หนา.

ขวัญชัย สมบัติศริิ. 2540. สะเดา มิติใหมของการปองกันและกํ าจัดแมลง. สํ านักพิมพ ป. สัมพันธุ.กรุงเทพฯ. 215 หนา.

. 2542. หลักการและวิธีการใชสะเดาปองกันและกํ าจัดแมลงศัตรูพืข. เอกสารเผยแพรทางวชิาการ, ฉบับที่ 1. โครงการเกษตรกูชาติ, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. กรุงเทพฯ. 32 หนา.

ธงชัย เปาอินทร. 2536. ไมสะเดาเทียม. บริษัทบพิธการพิมพ. กรุงเทพฯ. 120 หนา.

นพพร สายัมพล. 2543. เทคนิคการปรับปรุงพันธุพืช. สํ านักพิมพมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. กรุงเทพฯ.261 หนา.

บณัฑิต คํ ารักษ. 2526. สะเดาไทยพืชสารพัดประโยชน. ขาวสารการเกษตร ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.12: 4-9.

บุญฤทธิ์ ภูริยากร. 2526. ไมสะเดาไทย. เอกสารเผยแพรทางวิชาการปาไม สวนวนวัฒนวิจัย, กรมปาไม.

ประเสริฐ สอนสถาพรกุล, สุทัศน เลาสกุล, จํ านงค กาญจนบุรางกูร และ วิเชียร สุมันตกุล. 2543. ระบบผสมพนัธุของไมสะเดาไทย. วารสารวิชาการปาไม 2(2): 66-83.

สมิต บุญเสริมสุข, ไพโรจน ชัยเลิศพงศา และ สุทัศน จูงพงศ. 2536. ไมสะเดาเทียม, น. 168-183. ในเอกสารสงเสริมการปลูกไมปา. ฝายวนวฒันวิจัย, กองบํ ารุง, กรมปาไม, กระทรวงเกษตรและสหกรณ.

Page 13: การผสมข ามพันธุ ระหว างไม สะเดาไทยและสะเดาเท ียมfrc.forest.ku.ac.th/frcdatabase/bulletin/Document/t3SS.pdfสุจิตรา

รายงานการสัมมนาทางวนวัฒนวิทยา คร้ังท่ี 7 Proceedings of the 7th Silvicultural Seminar

36

สุจติรา จางตระกูล, บุญชุบ บุญทวี และ A.E. Szmidt. 2536. การประยุกตใช isoenzyme gene markersเพ่ือการวินิจฉัย clones จาก plus trees ใน grafted clone bank ของไมสะเดาไทย, น. 20-30. ในรายงานการประชุมวิชาการปาไม ประจํ าป 2536, 20-24 ธันวาคม 2536. โรงแรมมารวยการเดนกรุงเทพฯ.

อํ านวยพร ชลดํ ารงคกุล และ เพชรี เซงซิ้ม. 2536. การศึกษาแมลงตอมชอดอกของไมเทียม, น. 97-104. ใน รายงานการประชุมวิชาการปาไม ประจํ าป 2536. กรุงเทพฯ.

อํ านวยพร ชลดํ ารงคกุล, สุดารัตน วิสุทธิเทพกุล และ พงศธร บรรณโสภิษฐ. 2538. เรณูและการผสมเกสรของไมสะเดาเทียม, น. 11-25. ใน เอกสารสมทบการประชุมการปาไมแหงชาติ ประจํ าป2538. กรุงเทพฯ.

Kijkar, S. 1992. Vegetative propagation of Acacia mangium x. Acacia auriculiformis. AFTSC,Saraburi, Thailand. 19 p.

Kijkar, S. 1995. Azadirachta excelsa (Hack) Jacobs : a lesser known species. AFTSC, Saraburi,Thailand. 33 p.

Potts, B. and P. Gore P. 2000. Reproductive biology and controlled pollination of Eucalyptus: areview, pp. 1-68. In Symposium on Hybrid Breeding and Genetics. 12 April 2000. Nousa,Australia.

Richard, A.B. 1986. Plant breeding system. Chapman and Hall, New York. 529 p.

Stephenson, A.G. 1981. Flower and fruit abortion: proximate causes and ultimate functions. AnnualReview of Ecology and Systematic 12: 253-279.

Tybirk, K. 1993. Pollination, breeding system and seed abortion in some African acacias. BotanicalJournal of the Linnean Society. 122: 107-137.