14
1 Thermodynamics Energy, Energy Transfer, and General Energy Analysis พลังงาน (Energy) มาจากรากศัพทภาษากรีกวา Energia พลังงานคือสิ่งทีสามารถทํางานได พลังงาน (Energy) การถายโอนของระบบปดจะอยูสองรูปแบบ คือ ความรอน (Heat) : ความแตกตางของ T งาน (Work) : แรงกระทํา ทําใหมีการเคลื่อนทีการถายโอนของระบบเปด: เพิ่มสวนของ Mass flow สัมพันธกับกฎขอที่หนึ่งโทโมไดนามิกส รูปแบบของพลังงาน (Form of energy) มีอยูหลายรูปแบบเชน พลังงานความ รอน พลังงานศักย พลังงานจลน พลังงาน ไฟฟา พลังงานกล พลังงานแมเหล็ก พลังงานเคมี และพลังงานนิวเคลียร รูปแบบของพลังงาน (Form of energy) การวิเคระหพลังงานทางเทอรโมไดนามิกส ระดับมหภาค(Macroscopic) คือวิเคราะหจาก การสังเกต การวัดคาดวยเครื่องมือ โดยมี จุดอางอิงภายนอก เชน KE, PE ระดับจุลภาค (Microscopic) คือวิเคราะหในระดับ โมเลกุล พลังงานที่เกิดขึ้นในระดับนีถือเปน พลังงานภายใน (Internal energy, U)

(Energy) Thermodynamics - eng.sut.ac.theng.sut.ac.th/me/meold/3_2551/425202/Chapter2.pdf · 1 Thermodynamics Energy, Energy Transfer, and General Energy Analysis พลังงาน

  • Upload
    ngonhi

  • View
    250

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: (Energy) Thermodynamics - eng.sut.ac.theng.sut.ac.th/me/meold/3_2551/425202/Chapter2.pdf · 1 Thermodynamics Energy, Energy Transfer, and General Energy Analysis พลังงาน

1

Thermodynamics Energy, Energy Transfer, and General Energy Analysis

พลังงาน (Energy)

มาจากรากศัพทภาษากรีกวา Energia

พลังงานคือสิ่งที่สามารถทํางานได

พลังงาน (Energy)

การถายโอนของระบบปดจะอยูสองรูปแบบ คือ

ความรอน (Heat) : ความแตกตางของ T

งาน (Work) : แรงกระทํา ทําใหมีการเคล่ือนที่

การถายโอนของระบบเปด: เพ่ิมสวนของ Mass flow

สัมพันธกับกฎขอที่หนึ่งโทโมไดนามิกส

รูปแบบของพลังงาน(Form of energy)

มีอยูหลายรูปแบบเชน พลังงานความรอน พลังงานศักย พลังงานจลน พลังงานไฟฟา พลังงานกล พลังงานแมเหล็ก พลังงานเคมี และพลังงานนิวเคลียร

รูปแบบของพลังงาน(Form of energy)

การวิเคระหพลังงานทางเทอรโมไดนามิกสระดับมหภาค(Macroscopic) คือวิเคราะหจากการสังเกต การวัดคาดวยเครื่องมือ โดยมีจุดอางอิงภายนอก เชน KE, PEระดับจุลภาค (Microscopic) คือวิเคราะหในระดับโมเลกุล พลังงานที่เกิดข้ึนในระดับน้ี ถือเปนพลังงานภายใน (Internal energy, U)

Page 2: (Energy) Thermodynamics - eng.sut.ac.theng.sut.ac.th/me/meold/3_2551/425202/Chapter2.pdf · 1 Thermodynamics Energy, Energy Transfer, and General Energy Analysis พลังงาน

2

พลังงานรวม (Total Energy)ผลรวมของพลังงานทั้งหมดแลวเรียกวาเปน พลังงานรวมของระบบ (total energy of a system, E)พลังงานรวมตอปริมาณสารหนึ่งหนวยมวลเรียกวาเปนพลังงานรวมของระบบตอหนึ่งหนวยมวล, e, โดยนิยามวา e = E / m

พลังงานจนล ( Kinetic Energy, KE )

2

21 mVKE =

พลังงานระดบัมหภาคอนัเนื่องมาจากผลของการ

เคลื่อนที่เมื่อเทียบกับแกนอางอิง

หรือในรูปของตอหนวยมวล

ke V=12

2

เมื่อ V คือ ความเร็วของระบบ

พลังงานศักย (potential energy, PE )

พลังงานซึง่ระบบเกี่ยวของกับผลของระดับความสูง

ในสนามแรงโนมถวง

PE = mgzหรือในรูปของตอหนวยมวล

pe = gzg คือ ความเรงเนื่องจากแรงโนมถวง z คือ ความสูงของจุดศนูยกลางมวลจากจดุอางอิง

พลังงานอ่ืนๆ

การศึกษาเบื้องตนจะไมพิจารณาผลกระทบ

ของแรงอ่ืนๆที่อาจมีตอระบบเชน

แรงโนมถวง

แรงจากสนามแมเหล็ก แรงจากกระแสไฟฟา แรงตึงผิวของของไหล

พลังงานภายใน

พลังงานในระดับจลุภาคซ่ึงข้ึนอยูกับโครงสรางของโมเลกุลของระบบและระดบัของการเคลื่อนไหวของโมเลกุลทางดานวิศวกรรมจะรวม พลังงาน ระดับโมเลกุลทุกรูปแบบ เขาดวยกันท้ังหมดแลวเรียกวาพลังงานภายใน (Internal Energy,U)

Internal Energy

เปนผลรวมของระดับ Microscopic ท้ังหมด

Page 3: (Energy) Thermodynamics - eng.sut.ac.theng.sut.ac.th/me/meold/3_2551/425202/Chapter2.pdf · 1 Thermodynamics Energy, Energy Transfer, and General Energy Analysis พลังงาน

3

พลังงานรวมของระบบ

หากไมนําผลของแรงอื่นๆมาพิจารณา จะไดวาพลังงานรวมของระบบจะประกอบดวย

พลังงานจลน พลังงานศักย ซึ่งเปนพลังงานในระดับมหภาคพลังงานภายใน ซึ่งเปนผลรวมของพลังงานในระดับจุลภาคทั้งหมด

พลังงานรวมของระบบ

ดังน้ันจะไดวาพลังงานรวมของระบบมีคาเทากับ

E U KE PE= + +

e u ke pe= + +

หรือในรูปตอหนวยมวล

ระบบหยุดนิ่ง (Stationary Systems)

ระบบปดสวนใหญจะการเคลื่อนที่ของมวล

นอยมาก

สามารถประมาณไดวาพลงังานศักยและ

พลังงานจลนจะมีการเปลีย่นแปลงนอยมาก

ระบบที่ไมมกีารเปลี่ยนแปลงพลังงานใน

ระดับมหภาคหรือมีนอยมากจะเรียก ระบบหยุดนิง่

พลังงานรวมของระบบหยุดน่ิงพลังงานรวมของระบบหยุดนิ่งที่เปลี่ยนแปลงไปจะสามารถประมาณวาเปน

ดังนั้นสําหรับในชั้นนี้หากวาไมมีการบงไวเปนกรณีพิเศษอื่นใหถือวาระบบปดที่กลาวถึงเปนระบบหยุดนิ่งทั้งหมด

UE Δ≅Δ

Mass and Volume Flow Rate

Mass Flow Rate หมายถึงปริมาณมวลสารของของไหลที่ไหลผานพ้ืนที่หนาตัดที่กําหนดให ภายในหนึ่งหนวยเวลา

Volume Flow Rate หมายถึงปริมาตรของของไหลที่ไหลผานพ้ืนที่หนาตัดที่กําหนดให ภายในหนึ่งหนวยเวลา

Mass and Volume Flow Rate

Avg

Avg

AV

AVm

=∨

=∨= ρρ

Page 4: (Energy) Thermodynamics - eng.sut.ac.theng.sut.ac.th/me/meold/3_2551/425202/Chapter2.pdf · 1 Thermodynamics Energy, Energy Transfer, and General Energy Analysis พลังงาน

4

Mechanical energy

เปนพลังงานที่ไดจากการแปลงคาจากงานทางกลโดยอุปกรณทางกล เชน เทอรไบน ปม

เทอรไบน ถายเทพลังงานทางกลจากของไหลในรูปของ Pressure drop

ปม มอเตอรถายเทพลังงานใหกับของไหลในรูปของ Pressure rise

การถายเทพลังงานในรูปของความรอน

พลังงานในระบบปดสามารถถายเทใหกับสิ่งแวดลอมไดในรูปของ ความรอน (Heat) และงาน (Work)

การถายเทพลังงานในรูปของความรอน

ความรอนเปนพลังงานรูปหนึ่งที่ถายเทระหวางระบบกับระบบอื่นหรือระหวางระบบกับสิ่งแวดลอมการถายเทความรอนระหวางวัตถุสองชิ้นใดๆจะเกิดข้ึนไดก็ตอเม่ือวัตถุทั้งสองนั้นมีอุณหภูมิแตกตางกัน

การถายเทพลังงานในรูปของความรอน

การถายความรอนจากระบบไปยังส่ิงแวดลอม ตองผานขอบเขตของระบบเทานั้นเมื่อพลังงานนั้นไดเดินทางขามขอบเขตไปแลวจะถือวาพลังงานนั้นไดเปลี่ยนรูปไปเปนพลังงานรูปอ่ืนไมใชความรอนอีกตอไป

การถายเทพลังงานในรูปของความรอน

ระบบที่ไมมีการถายเทความรอนเลย จะเรียกวา Adiabatic system

การที่จะทําใหเกิดกระบวนการเชนน้ีคือ• การหุมฉนวนระบบอยางดี• ระบบและสิ่งแวดลอมมีอุณหภูมิ

เทากัน

มิติ-หนวยของความรอน

ความรอนมมีติิของพลงังาน มีหนวยเปน kJ

นิยมใชสัญลักษณ Q12

หรือ Q แทนปรมิาณความรอนที่ถายเทขณะเกิดกระบวนการจากสภาวะที่ 1 ไปสูสภาวะที่ 2

ปริมาณความรอนที่ถายเทตอหนวยมวลจะใช

สัญลักษณ q โดย q = Q/m

Page 5: (Energy) Thermodynamics - eng.sut.ac.theng.sut.ac.th/me/meold/3_2551/425202/Chapter2.pdf · 1 Thermodynamics Energy, Energy Transfer, and General Energy Analysis พลังงาน

5

อัตราการถายเทความรอน

อัตราการถายเทความรอน คือปริมาณความรอนที่ถายเทตอหนึ่งหนวยเวลา

มีหนวยเปน kJ/s หรือ kW

tqq

tQQ

Δ=

Δ=

ความรอน

กลไกลการถายเทความรอนมีดวยกัน 3 แบบConduction เปนการถายเทพลังงานระหวาง อนุนาคกับอนุภาคConvection เปนการถายเทพลังงานระหวาง ผิวหนาของแข็งกับของไหลที่เคล่ือนที่Radiation เปนการถายเทพลังงานเน่ืองจากการแผรังสีของคลื่นแมเหล็กไฟฟา หรือโปรตรอน

ความรอนทางเทอรโมไดนามิกส

ความรอนทางเทอรโมไดนามิกสจะหมายถึงพลังงานที่ถายเทระหวางระบบกับสิ่งแวดลอมโดยมสีาเหตุมาจากความแตกตางของอุณหภูมิ

คุณสมบัติของความรอน

ความรอนเปนปรากฏการณท่ีเกิดข้ึนท่ีขอบเขต (boundary phenomena)

ความรอนจึงไมสามารถกําหนดสภาวะของระบบได หรือกลาวอีกอยางหน่ึงก็คือความรอนไมเปนคุณสมบัติของระบบ

การกําหนดเครื่องหมาย

ความรอนนั้นเปนคาท่ีบอกถึงปริมาณเพียง

อยางเดียวเทานั้น

ทิศทางของการถายเทความรอนนั้นมี

ความสําคัญเพราะเปนเครื่องบงชี้แหลงนั้นมี

พลังงานเพิ่มขึ้นหรือลดลง

เคร่ืองหมายของความรอน

ความรอนที่ถายเทสูระบบเปนบวก

ความรอนที่ถายเทออกจากระบบเปนลบ

Q > 0 Q < 0SYSTEM

Page 6: (Energy) Thermodynamics - eng.sut.ac.theng.sut.ac.th/me/meold/3_2551/425202/Chapter2.pdf · 1 Thermodynamics Energy, Energy Transfer, and General Energy Analysis พลังงาน

6

งาน (Work)

งานเปนพลังงานรูปหนึ่ง

พลังงานที่ถายเทระหวางระบบกับสิ่งแวดลอมโดยมีสาเหตุที่ไมใชความแตกตางของอุณหภูมิจะถือวาเปนพลังงานในรูปของงาน

เทอรโมไดนามิกสถือวาหากพลังงานที่ขามขอบเขตไมใชความรอนพลังงานนั้นเปนงาน

หนวยของงาน

งานมีหนวยเปน kJ

W12หรือ W จะหมายถึงงานระหวางการเกิด

กระบวนการจากสภาวะที่ 1ไป สภาวะที่ 2

งานตอหนวยมวลจะเปน w =W/m

กําลังงาน

สวนอัตราการทํางานหรืองานที่เกิดข้ึนเทียบตอหนึ่งหนวยเวลา เรียกวากําลังงาน (power)มีหนวยเปน kJ/s หรือ kW

W dWdt

=

การกําหนดเครื่องหมายของงาน

งานจะกําหนดแตขนาดงานที่ไดรับจากระบบจะเปนบวก งานที่ระบบไดรับจะเปนลบ

W < 0 W > 0SYSTEM

ขอยกเวน

แทนท่ีจะใชเคร่ืองหมายบวก-ลบบงทิศทางของงานหรือความรอน อาจใช subscript “in” หรือ “out” ก็ไดเชนความรอนท่ีถายเทออกจากระบบ 5 kJ จะเขียนเปน Q = -5 kJ หรือ Qout = 5 kJ ก็ได สําหรับงานก็เชนเดียวกัน

การเปรียบเทียบ ความรอน กับ งาน

ตางก็เปนปรากฏการณท่ีเกิดข้ึนขณะท่ีกําลังมีการขามขอบเขตเทานั้น

ตางก็เปนปรากฏการณชั่วขณะไมไดอยูในระบบอยางถาวร เมื่อขามขอบเขตไปแลวก็จะเปลี่ยนเปนพลังงานรูปอ่ืน

Page 7: (Energy) Thermodynamics - eng.sut.ac.theng.sut.ac.th/me/meold/3_2551/425202/Chapter2.pdf · 1 Thermodynamics Energy, Energy Transfer, and General Energy Analysis พลังงาน

7

การเปรียบเทียบ ความรอน กับ งาน

ตางก็เปน path function คือขนาดจะขึ้นอยูกับเสนทาง (path) ในขณะเกิดกระบวนการ ต้ังแตสภาพเริ่มตนจนถึงสภาพสุดทายตางก็ข้ึนอยูกับกระบวนการไมใชสภาวะท้ังสองไมใชคุณสมบัติของระบบ

Path Function

path function คือปริมาณนั้นจะขึ้นอยูกับลักษณะของการเปลี่ยนแปลงของระบบ

เปน inexact differential

ใชสัญลักษณ δ แสดงอนุพันธ เชนอนุพันธของความรอนและงานใช δQ และ δW

ตัวอยาง path function

การตมน้ําใหเดือดในกาตมน้ําเมื่อปดฝากาใหสนิทและเปดฝากาท้ิงไว

ใชปริมาณความรอนไมเทากันสองกระบวนการนี้แมวาจุดเริ่มตนและจุดสิ้นสุดจะเหมือนกันแตปริมาณความรอนท่ีใชจะแตกตางกัน

Point Function

คุณสมบัติของระบบจะเปน point function

อนุพันธของคุณสมบัติจะแสดงดวย exact differential

ใชสัญลักษณ d เชน dT, dV

Path and Point Function ตัวอยาง

1.เผาเทียนในหองที่หุมฉนวนอยางดี มี Heat transfer เกิดข้ึน ?, Internal energy เปล่ียน?

2. นึ่งมันฝรั่งในเตาอบที่ติดฉนวนอยางดี

3. และ 4. เตาอบที่กําหนดขอบเขตของระบบตางกัน

Page 8: (Energy) Thermodynamics - eng.sut.ac.theng.sut.ac.th/me/meold/3_2551/425202/Chapter2.pdf · 1 Thermodynamics Energy, Energy Transfer, and General Energy Analysis พลังงาน

8

งานในรูปแบบตางๆ

งานหรือพลังงานที่เราพบเห็นอยูในชีวิตประจําวันน้ันมีอยูมากมายหลายรูปแบบ

สําหรับในสวนนี้จะกลาวถึงงานในรูปแบบตางๆเฉพาะที่เกี่ยวของกับการศึกษาเทอรโมไดนามิกสเทาน้ัน

พลังงานไฟฟา

การเคลื่อนที่ของประจุจํานวน N coulombs เคลื่อนที่ผานสนามที่มีความตางศักดิ์ V

จะทําใหเกิดงานเนื่องจากกระแสไฟฟา

We = VN

กําลังจากกระแสไฟฟา

การเคลื่อนท่ีของประจุตอหนวยเวลาทําใหเกิดกระแส I

I = N/t

กําลังท่ีใชในการเคลื่อนท่ีจะเปน

Pe = IV

Electrical Work

พลังงานกล

แรง F กระทําใหวัตถุเคล่ือนที่ไปเปนระยะทาง S งาน W จากการกระทําของแรงเปน

W = FS

พลังงานกล

แรง F กระทําใหวัตถุเคลื่อนที่ไปเปนระยะทาง S

If there are no movement, no work is done.

Page 9: (Energy) Thermodynamics - eng.sut.ac.theng.sut.ac.th/me/meold/3_2551/425202/Chapter2.pdf · 1 Thermodynamics Energy, Energy Transfer, and General Energy Analysis พลังงาน

9

พลังงานกล

งานจะเกิดข้ึนไดระหวางระบบกับสิ่งแวดลอมตองมี 2อยางคือ

แรง F กระทําที่ขอบเขตของระบบ ขอบเขตระบบจึงเกิดการเคลื่อนที่

Shaft Work

( )

TnW

nTrnrTFsW

sh

sh

π

ππ

2

22

=

=⎟⎠⎞

⎜⎝⎛==

พลังงานท่ีสงถาย ดวยการหมุนของเพลา จะเรียกกันวา Shaft work

Shaft Work

( ) ( )

( )hporkWmN

kJs

mN

TnWsh

1128.831000

160min1200

min140002

2

=

⎟⎠⎞

⎜⎝⎛

•⎟⎠⎞

⎜⎝⎛•⎟

⎠⎞

⎜⎝⎛=

=

π

π

งานจากสปริง

สปริงเชิงเสนมีคาคงที่สปริงเทากับ k อยูในสภาพสมดุลหากมีแรงมากระทํา dF ทําใหสปริงเกิดการยืดหรือหดตัวเปนระยะ dx จะไดความสัมพนัธวา

dF = k dx

พลังงานจากสปริง

ถาเปนสปริงเชิงเสน k เปนคาคงที่

F = kx

พลังงานท่ีเกิดการสะสมในสปริงจะเปน

U = kx2 / 2

พลังงานจากสปริง

จาก F = kx

แรงเพิ่มขึ้น 2 เทา จะไดวา

X2 = 2X1

Page 10: (Energy) Thermodynamics - eng.sut.ac.theng.sut.ac.th/me/meold/3_2551/425202/Chapter2.pdf · 1 Thermodynamics Energy, Energy Transfer, and General Energy Analysis พลังงาน

10

Elastic solid bar

AdxFdxW nelastic ∫ ∫==2

1

2

1

σ

Stretching of a liquid film

lengthunit per force tension surface is ;2

22

1

2

1

2

1

n

sssurface

bdxdA

bdxdAFdxW

σ

σσ

=

=== ∫∫ ∫

งานจากการเปลี่ยนระดับ งานจากการเปลี่ยนการความเร็วของวัตถุ

กฎขอที่หนึ่งของเทอรโมไดนามิกส

กฎขอท่ีหนึ่งของเทอรโมไดนามิกสก็คือ กฎการอนุรักษพลังงาน

พลังงานเปนสิ่งซึ่งไมสามารถทําใหเพิ่มข้ึน

หรือทําลายใหหมดไปไดจะทําไดก็เพียงแค

เปลี่ยนรูปของมันเทานั้น

การเปลี่ยนรูปพลังงาน

Page 11: (Energy) Thermodynamics - eng.sut.ac.theng.sut.ac.th/me/meold/3_2551/425202/Chapter2.pdf · 1 Thermodynamics Energy, Energy Transfer, and General Energy Analysis พลังงาน

11

ความรอนและพลังงานรวม

เมื่อระบบไดรับความรอนพลังงานรวมของ

ระบบตองเพิ่มข้ึน

หากไมมีการนําพลังงานนี้ไปเปลี่ยนเปนงาน

ปริมาณความรอนที่ใหตองเทากับ

Q = ΔE เมื่อ W = 0

การเปลี่ยนแปลงพลังงาน

เม่ือไมมีงาน การเปลี่ยนแปลงพลังงานของระบบตองเทากับการถายเทความรอน

การเปลี่ยนแปลงพลังงาน

เม่ือไมมีงาน การเปลี่ยนแปลงพลังงานของระบบตองเทากับการถายเทความรอน

การเปลี่ยนแปลงพลังงาน

เม่ือไมมีการถายเทความรอน การเปลี่ยนแปลงพลังงานของระบบตองเทากับงาน

ΔE = W when Q = 0

การสมดุลพลังงาน

การเปลี่ยนแปลงพลังงานของระบบจะเทากับความ

แตกตางของพลังงานที่เขาและออกจากระบบ

systemoutin EEE Δ=−

การเปลี่ยนแปลงพลังงานรวมของระบบ

การเปลี่ยนแปลงของพลังงานรวมของระบบ คือผลตางของพลังงานรวมในสภาวะสุดทาย

ท่ีพิจารณา กับ พลังงานรวมในสภาวะเริ่มตนการพิจารณา

ΔEsystem=Efinal-Einitial = E2 – E1

Page 12: (Energy) Thermodynamics - eng.sut.ac.theng.sut.ac.th/me/meold/3_2551/425202/Chapter2.pdf · 1 Thermodynamics Energy, Energy Transfer, and General Energy Analysis พลังงาน

12

พลังงานรวม

พลังงานรวมของระบบ ประกอบดวย พลังงานภายใน พลังงานจลน พลังงานศักย ดังนั้น ΔE = ΔU + ΔKE + ΔPE

( )

( )( )12

21

22

12

21

zzmgPE

VVmKE

uumU

−=Δ

−=Δ

−=Δ

Note: u1 และ u2 เปนสมบัติหาไดจากตารางคุณสมบัติ

พลังงานรวมของระบบหยุดนิ่ง

พลังงานรวมของระบบหยุดน่ิง มีการเปล่ียนแปลงพลังงานจลน และ พลังงานศักยนอยมาก ดังน้ัน

UE Δ≅Δ

กลไกของการถายโอนพลังงาน

การถายเทความรอน (Heat Transport)

การถายโอนงาน (Work Transfer)

การขนสงพลังงาน (Mass Transport)

Mechanism of Energy Transfer

( ) ( ) ( ) systemoutmassinmassoutinoutinoutin EEEWWQQEE Δ=−+−+−=− ,,

ตัวอยาง : Cooling of hot fluid in tank

( ) ( ) 12 UUUWWQQE outinoutinsystem −=Δ=−+−=Δ

ตัวอยาง : Acceleration of air by fan

Wsh = 20W of electric powerMass flow rate = 0.5 kg/s

Vout = 6.3 m/s

Page 13: (Energy) Thermodynamics - eng.sut.ac.theng.sut.ac.th/me/meold/3_2551/425202/Chapter2.pdf · 1 Thermodynamics Energy, Energy Transfer, and General Energy Analysis พลังงาน

13

ตัวอยาง : Heating effect of fan

To = 25 ๐CWsh = 200W of electric consumesU = 6W/m2๐C, over all heat transfer coeff., A = 30 m2

หา Tin ; กําหนดให Q=UA(Ti-To)

Energy Conversion Efficiency

ประสิทธิภาพ บอกถึงความสามารถในการเปลี่ยน input ที่จาํเปนใหเปน output ที่ตองการ

Input RequiredOutput DesiredePerformanc =

Efficiency of a water heater

ประสิทธิภาพ Water heater คืออัตราสวนของพลังงานทีส่งออกกับ

พลังงานที่ปอนใหกับ water heater

Heating value of fuel

Heating value คือจํานวนความรอนท่ีปลดปลอยออกมาจากเช้ือเพลิง จากการที่เผาไหมเช้ือเพลิงอยางสมบูรณ ณ อุณหภมูิหอง และสารผลิตภัณฑถูกทําใหเย็นท่ีอุณหภมูิหองเชนกนั

Heating value of fuel

Lower Heating value : น้ําในสารผลิตภัณฑมีสถานะเปนไอ Higher heating value : น้ําในสารผลิตภัณฑถูกควบแนนกลายเปนของเหลว

ผลตางของคาทั้งสองจะเทากับคาความรอนแฝงของการกลายเปนไอ (Heat vaporization) ของน้ํา

Efficiency

Page 14: (Energy) Thermodynamics - eng.sut.ac.theng.sut.ac.th/me/meold/3_2551/425202/Chapter2.pdf · 1 Thermodynamics Energy, Energy Transfer, and General Energy Analysis พลังงาน

14

Efficiency Efficiency

Total Efficiency

Example and Problems