88
ปัจจัยที่ส ่งผลต่อคุณภาพรายงานทางการเงินของวิสาหกิจขนาดกลางและ ขนาดย่อมในเขตกรุงเทพมหานคร FACTORS AFFECTING ON FINANCIAL REPORTING QUALITY OF SMALL AND MEDIUM ENTERPRISE IN BANGKOK อรรถพร ตันพิพัฒน์อารีย์ AUTTAPORN TANPIPATAREE การศึกษาค้นคว้าอิสระนี ้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร บัญชีมหาบัณฑิต คณะบัญชี มหาวิทยาลัยศรีปทุม ปีการศึกษา 2560 ลิขสิทธิ ์ของมหาวิทยาลัยศรีปทุม

FACTORS AFFECTING ON FINANCIAL REPORTING QUALITY OF …dspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/5662/1/อรรถ... · 2018. 11. 2. · iv สารบัญ (ต่อ) บทที่

  • Upload
    others

  • View
    1

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

  • ปัจจยัที่ส่งผลต่อคุณภาพรายงานทางการเงนิของวสิาหกจิขนาดกลางและ ขนาดย่อมในเขตกรุงเทพมหานคร

    FACTORS AFFECTING ON FINANCIAL REPORTING QUALITY OF SMALL AND MEDIUM ENTERPRISE IN BANGKOK

    อรรถพร ตนัพพิฒัน์อารีย์

    AUTTAPORN TANPIPATAREE

    การศึกษาค้นคว้าอสิระนีเ้ป็นส่วนหน่ึงของการศึกษาตามหลกัสูตร บัญชีมหาบัณฑติ คณะบัญชี

    มหาวทิยาลยัศรีปทุม ปีการศึกษา 2560

    ลขิสิทธ์ิของมหาวทิยาลยัศรีปทุม

  • FACTORS AFFECTING ON FINANCIAL REPORTING QUALITY OF

    SMALL AND MEDIUM ENTERPRISE IN BANGKOK

    AUTTAPORN TANPIPATAREE

    INDEPENDENT STUDY SUBMITTED IN PARTIAL FULFILLMENT OF THE REQUIREMENTS FOR THE DEGREE OF

    MASTER OF ACCOUNTANCY SCHOOL OF ACCOUNTANCY SRIPATUM UNIVERSITY ACADEMIC YEAR 2017

    COPYRIGHT OF SRIPATUM UNIVERSIT

  • ช่ือหัวข้อการศึกษาค้นคว้าอสิระ ปัจจยัท่ีส่งผลต่อคุณภาพรายงานทางการเงินของวสิาหกิจ ขนาดกลางและขนาดยอ่ม ในเขตกรุงเทพมหานคร ไทยในองคก์รธุรกิจ เขตกรุงเทพมหานคร

    FACTORS AFFECTING FINANCUAL REPORTING QUALITY OF SMALL AND MEDIUM ENTERPRISE BANGKOK

    นักศึกษา อรรถพร ตนัพิพฒัน์อารีย ์ รหสัประจ าตวั 60500936 หลกัสูตร บญัชีมหาบณัฑิต คณะ บญัชี อาจารย์ทีป่รึกษาการศึกษาค้นคว้าอสิระ ดร.พิเชษฐ ์โสภาพงษ ์

    คณะกรรมการสอบการศึกษาคน้ควา้อิสระ

    .........................................................................................ประธานกรรมการ (ผูช่้วยศาสตราจารย ์ดร.สมบูรณ์ สาระพดั)

    ..........................................................................................กรรมการ (ผูช่้วยศาสตราจารย ์ดร.ฐิตาภรณ์ สินจรูญศกัด์ิ)

    ..........................................................................................กรรมการ (ดร.พิเชษฐ ์ โสภาพงษ)์

    คณะบัญชี มหาวทิยาลยัศรีปทุม อนุมติัใหน้บัการศึกษาคน้ควา้อิสระ ฉบบัน้ีเป็นส่วนหน่ึงของ

    การศึกษาตามหลกัสูตรบญัชีมหาบณัฑิต

    คณบดีคณะบญัชี

    ...................................................................................... ( ผูช่้วยศาสตราจารย ์ดร.ฐิตาภรณ์ สินจรูญศกัด์ิ )

    วนัท่ี......................เดือน.............................พ.ศ...................

  • I

    ช่ือหัวข้อการศึกษาค้นคว้าอสิระ ปัจจยัท่ีส่งผลต่อคุณภาพรายงานทางการเงินของวสิาหกิจขนาดกลางและขนาดยอ่มในเขตกรุงเทพมหานคร

    ค าส าคัญ สภาพแวดลอ้มทางกฎหมาย, ปัจจยัทางธุรกิจ, การควบคุมคุณภาพของส านกังานตรวจสอบบญัชี, คุณภาพรายงานทางการเงิน

    นักศึกษา อรรถพร ตนัพิพฒัน์อารีย ์อาจารย์ทีป่รึกษาการศึกษาค้นคว้าอสิระ ดร.พิเชษฐ ์โสภาพงษ ์หลกัสูตร บญัชีมหาบณัฑิต คณะ บญัชี มหาวทิยาลยัศรีปทุม ปีการศึกษา 2560

    บทคดัย่อ

    การวิจยัคร้ังน้ีมีวตัถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจยัท่ีส่งผลต่อคุณภาพรายงานทางการเงินของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในกรุงเทพมหานครโดยใช้การวิจยัเชิงปริมาณใช้กลุ่มตวัอย่างเป็นผูส้อบบญัชีรับอนุญาตจ านวน 400 คน ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ส าเร็จรูปวิเคราะห์ค่าสถิติพื้นฐานและการวเิคราะห์ถดถอยพหุคูณ ผลการวิจยัพบว่าตวัแปรอิสระทั้ง 5 ตวัประกอบด้วย ปัจจยัสภาพแวดล้อมทางกฎหมาย ปัจจยัทางธุรกิจ ปัจจยัความเป็นอิสระของกลุ่มผูส้อบบญัชี ปัจจยัด้านคุณวุฒิในการท างาน และปัจจยัด้านการควบคุมคุณภาพของส านักงานตรวจสอบบญัชี มีความสัมพนัธ์กบั คุณภาพรายงานทางการเงินของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอ่มในกรุงเทพมหานครร้อยละ 82.7 (R=0.827) และตวัแปรอิสระทั้ง 5 สามารถอธิบายการเปล่ียนแปลง ระดบัคุณภาพรายงานทางการเงินของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอ่มในเขตกรุงเทพมหานคร ไดร้้อยละ 68.4 (R2 = 0.684) และจากการศึกษาพบว่าตวัแปรอิสระท่ีมีอิทธิผลต่อ คุณภาพรายงานทางการเงินของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในกรุงเทพมหานคร อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ ท่ีระดับ .04 โดย มี 3 ปัจจัยได้แก่ 1) สภาพแวดลอ้มทางกฎหมาย 2) ปัจจยัทางธุรกิจ และ 3) การควบคุมคุณภาพของส านกังานตรวจสอบบญัชี และปัจจยัท่ีมีอิทธิพลสูงท่ีสุด คือ การควบคุมคุณภาพของส านกังานตรวจสอบบญัชี รองลงมา คือ สภาพแวดลอ้มทางกฎหมาย และปัจจยัทางธุรกิจตามล าดบั

  • II

    กติตกิรรมประกาศ

    การศึกษาคน้ควา้อิสระฉบบัน้ี ส าเร็จลงได้ด้วยดี เน่ืองจากได้รับความกรุณาอย่างสูงจาก อาจารย ์ดร.พิเชษฐ์ โสภาพงษ์ อาจารยท่ี์ปรึกษาสารนิพนธ์ ท่ีไดส้ละเวลาอนัมีค่ามาให้ค าแนะน าปรึกษา ตลอดจนปรับปรุงแกไ้ขขอ้บกพร่องต่าง ๆ ดว้ยความเอาใจใส่อย่างดียิ่ง ผูว้ิจยัตระหนกัถึงความทุ่มเทและความตั้งใจของอาจารยแ์ละขอกราบขอบพระคุณเป็นอยา่งสูงไว ้ณ ท่ีน้ี ขอขอบพระคุณ อาจารยผ์ูส้อนทุกท่านของมหาวทิยาลยัศรีปทุม ท่ีไดม้อบความรู้แก่ขา้พเจา้ จนสามารถน ามาประยกุตใ์ชใ้นการท าวจิยัฉบบัน้ีไดเ้ป็นอยา่งดี ขอกราบขอบพระคุณบิดา มารดา ครอบครัวนุ่มประเสริฐท่ีให้โอกาสในการศึกษาและเป็นก าลงัใจท่ีดีให้แก่ขา้พเจา้เสมอมา ขอขอบพระคุณเพื่อนร่วมงานท่ีช่วยสนับสนุนและเป็นก าลงัใจเสมอมา ขอขอบคุณเพื่อนนักนิสิตร่วมรุ่นสาขาบญัชี มหาวิทยาลยัศรีปทุม ท่ีไดใ้ห้ความช่วยเหลือดา้นค าปรึกษา แนะน า ตลอดช่วงเวลาท่ีไดท้ าการศึกษา สุดท้ายน้ี ผูศึ้กษาหวงัเป็นอย่างยิ่งว่า การวิจยัคร้ังน้ีจะเป็นประโยชน์ไม่มากก็น้อยต่อผูท่ี้ตอ้งการศึกษาเก่ียวกบัประสิทธิภาพการปฏิบติังานดา้นการเงินและบญัชีและผูท่ี้ศึกษาคน้ควา้ต่อไป

    อรรถพร ตนัพิพฒัน์อารีย ์สิงหาคม 2561

  • III

    สารบัญ

    บทคัดย่อ I กติติกรรมประกาศ II สารบัญ III สารบัญตาราง VI สารบัญภาพ VIII บทที ่ หน้า

    1 บทน า 1 1. ความเป็นมาและความส าคญัของปัญหา 1 2. วตัถุประสงคใ์นการศึกษา 2 3. ขอบเขตของการวจิยั 2 4. กรอบแนวคิดในการวจิยั 3 5. สมมติฐานการวจิยั 4 6. ประโยชน์ท่ีคาดวา่จะไดรั้บ 4 7. นิยามศพัท ์ 4

    2 แนวคิดทฤษฎแีละงานวจัิยทีเ่กีย่วข้อง 6

    1. แนวคิด และทฤษฎีเก่ียวกบัสภาพแวดลอ้มทางกฎหมาย 6 2. แนวคิด และทฤษฎีเก่ียวกบัปัจจยัทางธุรกิจ 9 3. แนวคิด และทฤษฎีเก่ียวกบัความเป็นอิสระของกลุ่มผูส้อบบญัชี 10 4. แนวคิด และทฤษฎีเก่ียวกบัคุณวฒิุในการท างาน 12 5. แนวคิด และทฤษฎีเก่ียวกบัการควบคุมคุณภาพของส านกังานตรวจสอบบญัชี 13 6. แนวคิด และทฤษฎีเก่ียวกบัคุณภาพรายงานทางการเงิน 18 7. งานวจิยัท่ีเก่ียวขอ้ง 20

  • IV

    สารบัญ (ต่อ)

    บทที ่ หน้า

    3 ระเบียบวธีิวจัิย 23 1. รูปแบบการวจิยั 23 2. ประชากรและกลุ่มตวัอยา่ง 23 3. ตวัแปรท่ีใชใ้นการศึกษา 24 4. เคร่ืองมือการวจิยั 25 5. การทดสอบคุณภาพของเคร่ืองมือการวจิยั 27 6. การรวบรวมขอ้มูล 28 7. สถิติท่ีใชใ้นการวเิคราะห์ขอ้มูล 29

    4 บทวเิคราะห์ข้อมูล 32 1. การสรุปขอ้มูลส่วนบุคคล 32 2. ระดบัปัจจยัท่ีส่งผลต่อคุณภาพรายงานทางการเงินของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาด

    ยอ่มในเขตกรุงเทพมหานคร 35 2. ระดับคุณภาพรายงานทางการเงินของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในเขต

    กรุงเทพมหานคร 39 2. ผลการวเิคราะห์ขอ้มูลตามสมมติฐาน 41 3. ผลการวิเคราะห์ปัจจยัท่ีมีอิทธิพลต่อ คุณภาพรายงานทางการเงินของวิสาหกิจขนาดกลาง

    และขนาดยอ่มในเขตกรุงเทพมหานคร 42 5. สรุปผลการทดลองสมมติฐาน 44 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 50

    สรุปผลการศึกษา 50 อภิปรายผล 52 ขอ้เสนอแนะ 55 ขอ้เสนอแนะส าหรับการศึกษาคร้ังต่อไป 55

  • V

    สารบัญ (ต่อ)

    บทที ่ หน้า

    บรรณานุกรม 57 ภาคผนวก 61 ภาคผนวก ก 62 ภาคผนวก ข 71 ประวติัของผูว้จิยั 77

  • VI

    สารบัญตาราง

    ตารางที ่ หน้า

    ตารางที ่4.1 แสดงผลการวจิยัขอ้มูลทัว่ไปของผูต้อบแบบสอบถามดา้นเพศ 32 ตารางที ่4.2 แสดงผลการวจิยัขอ้มูลทัว่ไปของผูต้อบแบบสอบถามดา้นอาย ุ 33 ตารางที ่4.3 แสดงผลการวจิยัขอ้มูลทัว่ไปของผูต้อบแบบสอบถามดา้นระดบัการศึกษา 33 ตารางที ่4.4 แสดงผลการวจิยัขอ้มูลทัว่ไปของผูต้อบแบบสอบถามดา้นอายขุองกิจการ 33 ตารางที ่4.5 แสดงผลการวจิยัขอ้มูลทัว่ไปของผูต้อบแบบสอบถามดา้นลกัษณะของธุรกิจ 34 ตารางที ่4.6 แสดงผลการวจิยัขอ้มูลทัว่ไปของผูต้อบแบบสอบถามดา้นเงินลงทุนของกิจการ 35 ตารางที ่4.7 ค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานระดบัปัจจยัดา้นสภาพแวดลอ้มทางกฎหมาย

    35 ตารางที ่4.8 ค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานระดบัปัจจยัดา้นปัจจยัทางธุรกิจ 36 ตารางที ่4.9 ค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานระดบัปัจจยัดา้นความเป็นอิสระของกลุ่ม

    ผูส้อบบญัชี 37 ตารางที ่4.10 ค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานระดบัปัจจยัดา้นคุณวุฒิในการท างาน 38 ตารางที ่4.11 ค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานระดบัปัจจยัดา้นการควบคุมคุณภาพของส านกังาน

    ตรวจสอบบญัชี 38 ตารางที ่4.12 ค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานระดบัการควบคุมคุณภาพของส านกังาน

    ตรวจสอบบญัชี 39 ตารางที ่4.13 ผลการวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุคูณของปัจจยัท่ีส่งผลต่อคุณภาพรายงานทางการ

    เงินของวสิาหกิจขนาดกลางและขนาดยอ่มในเขตกรุงเทพมหานคร 42 ตารางที ่4.14 การตรวจสอบค่า collinearity ของตวัแปรอิสระ 43 ตารางที ่4.15 ผลการวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุคูณของปัจจยัท่ีส่งผลต่อคุณภาพรายงานทางการ

    เงินดา้นความเก่ียวขอ้งกบัการตดัสินใจ ของวสิาหกิจขนาดกลางและขนาดยอ่มในเขตกรุงเทพมหานคร 45

    ตารางที ่4.16 ผลการวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุคูณของปัจจยัท่ีส่งผลต่อคุณภาพรายงานทางการเงินดา้นความเป็นตวัแทนอนัเท่ียงธรรม ของวสิาหกิจขนาดกลางและขนาดยอ่มในเขตกรุงเทพมหานคร 46

  • VII

    สารบัญตาราง (ต่อ)

    ตารางที ่ หน้า

    ตารางที ่4.17 ผลการวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุคูณของปัจจยัท่ีส่งผลต่อคุณภาพรายงานทางการเงินดา้นความเขา้ใจกนัได ้ของวสิาหกิจขนาดกลางและขนาดยอ่มในเขตกรุงเทพมหานคร 47

    ตารางที ่4.18 ผลการวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุคูณของปัจจยัท่ีส่งผลต่อคุณภาพรายงานทางการเงินดา้นการเปรียบเทียบกนัได ้ของวสิาหกิจขนาดกลางและขนาดยอ่มในเขตกรุงเทพมหานคร 48

    ตารางที ่4.19 ผลการวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุคูณของปัจจยัท่ีส่งผลต่อคุณภาพรายงานทางการเงินดา้นความทนัต่อเวลา ของวสิาหกิจขนาดกลางและขนาดยอ่มในเขตกรุงเทพมหานคร 49

  • VIII

    สารบัญภาพ

    ภาพท่ี หนา้

    ภาพประกอบที ่1 กรอบแนวคิดในการวจิยั 3 ภาพประกอบที ่2 ผลของการทดสอบดว้ยการวเิคราะห์เชิงพหุคูณ 44

  • บทที ่1

    บทน า

    ความเป็นมาและความส าคญัของปัญหา

    สภาพการแข่งขนัท่ีทวคีวามรุนแรงในทุกวนัน้ี มีการเปล่ียนแปลงท่ีเร็วข้ึนในตลาดโลก องคก์รจึงตอ้งเกิดการพฒันาประสิทธิภาพการท างานให้มีประสิทธิภาพมากข้ึนกวา่เดิม โดยเฉพาะการเป็นองค์กรท่ีมีขีดสมรรถนะสูง เพื่อท่ีจะท าให้สามารถเกิดประสิทธิภาพในการแข่งขนัสูงข้ึน โดยองคก์รจะเน้นในดา้นพฒันาบุคลากรในองคก์รเป็นหลัก โดยอาศยันวตักรรมท่ีส่งเสริมให้เกิดประสิทธิภาพในการปฏิบติังาน เพราะการท างานในองค์กรนั้นไม่มีใครสามารถท างานได้อย่างส าเร็จไดด้ว้ยตวัคนๆ เดียว การท างานจะตอ้งมีการร่วมมือกบับุคลากรคนอ่ืนในองคก์รไม่วา่จะเป็นการร่วมมือกบัผูบ้ริหาร ผูน้ ากลุ่ม หรือบุคคลในกลุ่ม ซ่ึงเป็นพื้นฐานท่ีส าคญัในการน าไปพฒันาองคก์ารใหเ้ป็นเลิศ (ธนกร กรวชัรเจริญ, 2555) ผูส้อบบญัชีเป็นกลไกท่ีส าคญักลไกหน่ึงท่ีจะช่วยให้ผูใ้ชง้บการเงินมีความมัน่ใจในขอ้มูลทางการเงินท่ีวิเคราะห์มากยิ่งข้ึน ดงันั้น คุณภาพรายงานทางการเงินจึงมีความส าคญัเป็นอย่างยิ่งส าหรับผูใ้ชง้บการเงิน ผูใ้ชบ้ริการส านกังานสอบบญัชีจึงมีการเลือกใชบ้ริการส านกังานสอบบญัชีท่ีมีคุณภาพการสอบบญัชีท่ีดีเพื่อให้งบการเงินมีความน่าเช่ือถือต่อผูใ้ชง้บการเงินในการตดัสินใจเชิงเศรษฐกิจ (Lawrence et al., 2011) ซ่ึงในประเทศไทยท่ีผ่านมาสภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์ได้น ามาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 220 (TSA 220) เร่ือง การควบคุมคุณภาพการตรวจสอบงบการเงิน และมาตรฐานการควบคุมคุณภาพ ฉบับท่ี 1 (TSQC 1) เร่ือง การควบคุมคุณภาพสาหรับส านกังานท่ีให้บริการดา้นการตรวจสอบและการสอบทานงบการเงิน และงานให้ความเช่ือมัน่อ่ืนตลอดจนบริการเก่ียวเน่ือง มาบงัคบัใช้เพื่อตอ้งการท าให้ส านักงานสอบบญัชีมีคุณภาพและมีกระบวนการตรวจสอบท่ีเป็นมาตรฐานมากยิ่งข้ึน ซ่ึงมาตรฐานการสอบบญัชีทั้งสองท าใหดู้เหมือนวา่ คุณภาพการสอบบญัชีของส านกังานสอบบญัชีและผูส้อบบญัชีในประเทศไทยไม่วา่จะเป็น Big 4 และ Non-Big 4 ในช่วงหลายปีท่ีผา่นมาน่าจะมีคุณภาพการสอบบญัชีท่ีดีเหมือนกนั ซ่ึงท่ีผ่านมา อรกานต์ (2554) และ กนกอร และคณะ (2556) ได้ศึกษาคุณภาพการสอบบญัชีของส านกังานสอบบญัชีทั้งสองประเภท พบวา่ คุณภาพการสอบบญัชีของทั้งสองไม่มีความแตกต่างกนั

  • 2

    อยา่งไรก็ตาม ยงัไม่มีงานวิจยัใดไดท้ าการส ารวจคุณภาพการสอบบญัชีดงักล่าวให้เป็นหลกัฐานเชิงประจกัษ์โดยเฉพาะในมุมมองของผูใ้ช้บริการ หลงัจากท่ีมีการควบคุมคุณภาพการสอบบญัชีโดยมาตรฐานต่างๆ ตามท่ีกล่าวมาขา้งตน้

    จึงเห็นไดว้่าในการประกอบธุรกิจไม่วา่จะในรูปแบบใดก็ตาม รายงานทางการเงินถือเป็นเคร่ืองมือส าคญัของนกัลงทุนท่ีจะน าขอ้มูลต่างๆ มาเพื่อใชใ้นการวเิคราะห์น าไปสู่การตดัสินใจการลงทุน ถึงแมว้า่บุคคลทัว่ไปจะไม่ค่อยสนใจรายงานทางการเงินมากนกั แต่ถา้หากมีข่าวเสียหายเกิดข้ึนกับบริษทัเก่ียวกับการรายงานทางการเงินท่ีผิดพลาด หรือเกิดการทุจริตจากการตกแต่งงงบการเงิน ก็อาจเป็นผลเสียกบัตวับริษทัได้ บุคคลทัว่ไปเหล่านั้นเองก็จะไม่สนับสนุนหรือบริโภคผลิตภณัฑ์ต่างๆของบริษทัเหล่านั้นได ้การท่ีรายงานทางการเงินหรืองบการเงินไดถู้กตรวจสอบจากผูส้อบบญัชีรับอนุญาตอย่างอิสระ ท าให้ความน่าเช่ือถือของรายงานทางการเงินนั้นได้รับความน่าเช่ือถือมากยิ่งข้ึน งานวิจยัน้ีจึงสนใจในเร่ืองปัจจยัท่ีส่งผลต่อคุณภาพรายงานทางการเงินของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในเขตกรุงเทพมหานคร ท่ีจะน าไปสู่รายงานทางการเงินท่ีมีคุณภาพจะส่งผลให้การปฏิบัติงานขององค์กรมีประสิทธิภาพ รวมทั้ ง-ก่อให้เกิดประโยชน์ทั้ง-ทางตรงและทางออ้มแก่บุคคลต่างๆ ท่ีเก่ียวขอ้ง

    วตัถุประสงค์ของการศึกษา

    งานวิจยัคร้ังน้ีมีวตัถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจยัท่ีส่งผลต่อคุณภาพรายงานทางการเงินของวสิาหกิจขนาดกลางและขนาดยอ่มในเขตกรุงเทพมหานคร

    ขอบเขตของการวจิัย

    การวิจยัเก่ียวกบัปัจจยัท่ีส่งผลต่อคุณภาพรายงานทางการเงินของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอ่มในเขตกรุงเทพมหานคร ผูว้จิยัไดก้ าหนดขอบเขตของการวจิยั ดงัน้ี

    1. ขอบเขตด้านเน้ือหา การวิจยัคร้ังน้ี ผูว้ิจยัมุ่งเน้นศึกษา ปัจจยัท่ีส่งผลต่อคุณภาพรายงานทางการเงินของ

    วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในเขตกรุงเทพมหานคร ซ่ึงประกอบดว้ย สภาพแวดลอ้มทางกฎหมาย ปัจจยัทางธุรกิจ ความเป็นอิสระของกลุ่มผูส้อบบัญชี คุณวุฒิในการท างาน และการควบคุมคุณภาพของส านกังานตรวจสอบบญัชี

    2. ขอบเขตด้านประชากรและกลุ่มตัวอย่าง

  • 3

    ผูว้ิจยัไดก้ าหนดขอบเขตดา้นประชากรและกลุ่มตวัอยา่ง ผูใ้ห้ขอ้มูลในการวิจยัคร้ังน้ี ผูส้อบบญัชีรับอนุญาตในเขตกรุงเทพมหานคร ซ่ึงจากขอ้มูลของสภาวิชาชีพบญัชี ในพระบรมราชูปถมัภ ์มีผูส้อบบญัชีท่ีไดรั้บความเห็นชอบจากสภาวิชาชีพบญัชี ในพระบรมราชูปถมัภ ์ณ วนัท่ี 8 มีนาคม 2561 พบว่า ในกรุงเทพมหานคร มีผูส้อบบัญชีรับอนุญาต จ านวน 1,009 คน (สภาวชิาชีพบญัชี ในพระบรมราชูปถมัภ,์ 2561)

    3. ขอบเขตด้านเวลา การวิจยัคร้ังน้ี ผูว้ิจยัด าเนินการศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และวรรณกรรมท่ีเก่ียวขอ้งกบั

    ปัจจยัที่ส่งผลต่อคุณภาพรายงานทางการเงินของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอ่มในเขตกรุงเทพมหานคร ตั้งแต่ เดือนมีนาคม 2561 ถึงเดือน มิถุนายน 2561

    กรอบแนวคดิในการวจิัย

    ในการศึกษาเร่ือง ปัจจยัท่ีส่งผลต่อคุณภาพรายงานทางการเงินของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอ่มในเขตกรุงเทพมหานคร ผูศึ้กษาไดก้ าหนดกรอบแนวคิดในการท าวจิยั ดงัน้ี

    ตัวแปลอสิระ ตัวแปลตาม

    ภาพประกอบที ่1.1 กรอบแนวคิดการวิจยั

    1. ปัจจยัดา้นสภาพแวดลอ้มทางกฎหมาย คุณภาพรายงานทางการเงิน 1. ความเก่ียวขอ้งกบัการตดัสินใจ 2. ความเป็นตวัแทนอนัเท่ียงธรรม 3. ความเขา้ใจกนัได ้ 4. การเปรียบเทียบกนัได ้ 5. ความทนัต่อเวลา

    2. ปัจจยัดา้นธุรกิจ 3. ปัจจยัดา้นความเป็นอิสระของกลุ่มผูส้อบ

    บญัชี 4. ปัจจยัดา้นคุณวฒิุในการท างาน 5. ปัจจยัดา้นการควบคุมคุณภาพของ

    ส ำนกังำนตรวจสอบบญัชี

  • 4

    สมมติฐานการวจิัย

    งานวจิยัคร้ังน้ีมีสมมติฐานการวจิยัดงัน้ี สมมติฐานท่ี 1 ปัจจยัดา้นสภาพแวดลอ้มทางกฎหมายส่งผลต่อคุณภาพรายงานทางการเงินของวสิาหกิจขนาดกลางและขนาดยอ่มในเขตกรุงเทพมหานคร สมมติฐานท่ี 2 ปัจจยัทางธุรกิจส่งผลต่อคุณภาพรายงานทางการเงินของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอ่มในเขตกรุงเทพมหานคร สมมติฐานท่ี 3 ปัจจยัด้านความเป็นอิสระของกลุ่มผูส้อบบญัชีส่งผลต่อคุณภาพรายงานทางการเงินของวสิาหกิจขนาดกลางและขนาดยอ่มในเขตกรุงเทพมหานคร สมมติฐานท่ี 4 ปัจจยัด้านคุณวุฒิในการท างานส่งผลต่อคุณภาพรายงานทางการเงินของวสิาหกิจขนาดกลางและขนาดยอ่มในเขตกรุงเทพมหานคร สมมติฐานท่ี 5 ปัจจยัด้านการควบคุมคุณภาพของส านักงานตรวจสอบบัญชีส่งผลต่อคุณภาพรายงานทางการเงินของวสิาหกิจขนาดกลางและขนาดยอ่มในเขตกรุงเทพมหานคร

    ประโยชน์ทีค่าดว่าจะได้รับ

    ไดท้ราบถึงปัจจยัท่ีส่งผลต่อคุณภาพรายงานทางการเงินของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอ่มในเขตกรุงเทพมหานคร

    นิยามศัพท์

    1. สภาพแวดล้อมทางกฎหมาย หมายถึง การรายงานทางการเงินเป็นไปตามมาตรฐานท่ีกฎหมายก าหนดและมีความสอดคลอ้งกนัทั้งในดา้นของกฎหมายการเงินและมาตรฐานของระบบตรวจสอบมีความชัดเจนไม่คลุมเครือรวมทั้ งมีความเข้มงวดในการลงโทษต่อการการกระท าความผดิ 2. ปัจจยัทางธุรกิจ หมายถึง ผูบ้ริหารมีความเข้าใจเก่ียวกับกฎหมายและมาตรฐานทางการเงินและมีความตั้งใจท่ีจะเผยแพร่รายงานทางการเงินอย่างสุจริตรวมทั้งภายในองค์กรมีระบบควบคุมคุณภาพการรายงานทางเงินอยา่งมีประสิทธิภาพแมว้า่ขอ้มูลรายงานทางการเงินจะมีความซบัซอ้นหรือเขา้ใจยากเพียงใด 3. ความเป็นอิสระของกลุ่มผูส้อบบญัชี หมายถึง ผูส้อบบญัชีมีทศันคติท่ีเป็นกลางไม่มีผลประโยชน์ซับซ้อนกบัองค์กรลูกคา้มีความเป็นอิสระไม่ถูกกดดนัจากผูป้ระกอบการรวมทั้งมี

  • 5

    อิสระในการรวบรวมและประเมินหลกัฐานการสอบบญัชีท่ีไดรั้บรวมทั้งสามารถท่ีจะเปิดเผยหรือเผยแพร่ขอ้มูลต่อบุคคลภายนอกไดอ้ยา่งเตม็ท่ี 4. คุณวฒิุในการท างาน หมายถึง ผูส้อบบญัชีมีความรู้พื้นฐานในวชิาเอกดา้นการบญัชี การตรวจสอบการเงินและภาษีอากรและผูส้อบบญัชีมีการพฒันาความรู้รวมทั้งมีประสบการณ์ดา้นการสอบบญัชี 5. ความเป็นอิสระของกลุ่มผูส้อบบญัชี หมายถึง คุณภาพของส านักงานตรวจตรวจสอบบญัชีก่อนการตรวจสอบทั้งนั้นส านกังานตรวจสอบบญัชีมีขั้นตอนการควบคุมคุณภาพท่ีน่าเช่ือถือรวมทั้งมีหน่วยงานก ากับดูแลด้านคุณภาพการตรวจสอบบญัชีโดยรวมและใส่ใจ ยอมรับความตอ้งการ และขอ้เสนอแนะของลูกคา้ 6. คุณภาพรายงานทางการเงิน หมายถึง คุณสมบติัท่ีท าใหข้อ้มูลทางการเงินมีประโยชน์ต่อผูใ้ช้รายงานทางการเงินในลกัษณะเชิงคุณภาพพื้นฐาน และลกัษณะเชิงคุณภาพเสริมของรายงานทางการเงิน ประกอบดว้ย ความเก่ียวขอ้งกบัการตดัสินใจ ความเป็นตวัแทนอนัเท่ียงธรรม ความเขา้ใจกนัได ้การเปรียบเทียบกนัได ้และความทนัต่อเวลา

  • บทที ่2

    แนวคดิ ทฤษฎ ีและงานวจิัยทีเ่กีย่วข้อง ในการศึกษาวิจยัเร่ือง ปัจจยัท่ีส่งผลต่อคุณภาพรายงานทางการเงินของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอ่ม ผูว้จิยัไดศึ้กษาคน้ควา้แนวความคิด ทฤษฎี และงานวิจยัท่ีเก่ียวขอ้ง เพื่อใชเ้ป็นแนวทางในการวจิยัดงัต่อไปน้ี แนวคิด และทฤษฎีเก่ียวกบัสภาพแวดลอ้มทางกฎหมาย แนวคิด และทฤษฎีเก่ียวกบัปัจจยัทางธุรกิจ แนวคิด และทฤษฎีเก่ียวกบัความเป็นอิสระของกลุ่มผูส้อบบญัชี แนวคิด และทฤษฎีเก่ียวกบัคุณวฒิุในการท างาน แนวคิด และทฤษฎีเก่ียวกบัการควบคุมคุณภาพของส านกังานตรวจสอบบญัชี แนวคิด และทฤษฎีเก่ียวกบัคุณภาพรายงานทางการเงิน งานวจิยัท่ีเก่ียวขอ้ง

    แนวคดิ และทฤษฎเีกีย่วกบัสภาพแวดล้อมทางกฎหมาย

    กฎหมายเป็นขอ้ก าหนดพฤติกรรมของมนุษย ์จึงเป็นส่ิงท่ีเก่ียวขอ้งกบัชีวติมนุษยต์ั้งแต่เกินจนตาย กฎหมายเป็นส่ิงท่ีเกิดข้ึนมาจากความคิดหรือความเช่ือของมนุษยเ์ป็นพื้นฐานขอ้ก าหนดใดจะเป็นกฎหมายจึงได้มีแนวความคิดของนักปราชญ์กฎหมายในหลายๆ ยุคให้ความหมายของกฎหมายไว ้ ความคิดเห็นของนกัปราชญ์กฎหมายน้ีมีหลากหลายส านกัและมีแนวความคิดต่าง ๆ กันตามวิวฒันาการของสังคม ส านักความคิดท่ีส าคัญและยงัคงน ามายึดถือเป็นหลักในเร่ืองความหมายของกฎหมายจนถึงปัจจุบนัมีอยูส่องส านกั ไดแ้ก่ ส านกัความคิดกฎหมายธรรมชาติ และส านกัความคิดกฎหมายฝ่ายบา้นเมือง (คณะกรรมการวชิาชีพบญัชีดา้นการศึกษาและเทคโนโลยกีารบญัชี สภาวชิาชีพบญัชี, 2550) การท่ีจะรู้ว่าขอ้ก าหนดใดเป็นกฎหมายนั้น เม่ือนักบญัชีพิจารณาจากความหมายท่ีส านักความคิดกฎหมายต่างๆ ได้ให้ไว ้ย่อมท าให้เห็นว่ากฎหมายนั้นแบ่งออกเป็นสองลักษณะ คือ กฎหมายตามเน้ือความ และ กฎหมายตามแบบพิธี กฎหมายทั้งสองลกัษณะแยกพิจารณาได้ดงัน้ี (ชมช่ืน มณัยารมย,์ 2554)

  • 7

    1. กฎหมายตามเน้ือความ กฎหมายตามเน้ือความหมายถึงกฎหมายท่ีพิจารณาจากเน้ือหาของข้อก าหนดมี

    องค์ประกอบครบถว้นของการเป็นกฎหมายดงันั้นกฎหมายท่ีจะเป็นกฎหมายตามเน้ือความตอ้งมีองคป์ระกอบดงัน้ี คือ

    1.1. กฎหมายตอ้งเป็นค าสั่งหรือขอ้บงัคบั 1.2 กฎหมายตอ้งเป็นค าสั่งหรือขอ้บงัคบัท่ีมาจากรัฎฐาธิปัตย ์1.3 กฎหมายตอ้งเป็นค าสั่งหรือขอ้บงัคบัท่ีใชไ้ดท้ัว่ไป 1.4 กฎหมายบญัญติัข้ึนเพื่อใหบุ้คคลปฏิบติัตาม 1.5 กฎหมายตอ้งมีสภาพบงัคบั

    2. กฎหมายตามแบบพิธี กฎหมายตามแบบพิธีหมายถึงกฎหมายท่ีออกมาโดยวิธีบญัญติัตามกระบวนการออก

    กฎหมาย เช่น ออกกฎหมายโดยผ่านรัฐสภา หรือกฎหมายท่ีรัฐบาลหรือองค์กรฝ่ายปกครองมีอ านาจออกเอง กฎหมายเหล่าน้ี ได้แก่ รัฐธรรมนูญ ประมวลกฎหมาย พระราชบญัญติั พระราชก าหนด พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง เทศบญัญติั ขอ้บงัคบั ขอ้บญัญติั เป็นตน้

    กฎหมายตามแบบพิธี เป็นกฎหมายท่ีมีเน้ือหาตามลกัษณะของกฎหมายตามเน้ือความหรือไม่ก็ได้จะมีก าหนดสภาพบงัคบัไวห้รือไม่ก็ได ้ แต่ก็เป็นกฎหมายดว้ยการผ่านกระบวนการออกกฎหมาย เช่น “พระราชบญัญติังบประมาณประจ าปี” เป็นกฎหมายท่ีออกโดยผ่านรัฐสภาจดัเป็นกฎหมายตามแบบพิธี ซ่ึงไม่มีลกัษณะเป็นกฎหมายตามเน้ือความแต่ประการใด เพราะไม่ใช่กฎขอ้บงัคบัท่ีก าหนดความประพฤติของบุคคล และไม่มีสภาพบงัคบัหรือก าหนดบทลงโทษไว ้แต่ก็ถือว่าเป็นกฎหมาย ขณะท่ี “พระราชบญัญติัประกนัสังคม” ก็เป็นกฎหมายท่ีออกโดยผ่านรัฐสภาซ่ึงจดัเป็นกฎหมายตามแบบพิธี แต่มีสภาพบงัคบัแก่ผูท่ี้ไม่ปฏิบติัตามดงัลกัษณะของกฎหมายตามเน้ือความอยูด่ว้ย เป็นตน้

    กฎหมายว่าดว้ยการบญัชีฉบบัปัจจุบนั คือ ประกาศของคณะปฏิวติั ฉบบัท่ี 285 ไดใ้ช ้บงัคบัมาตั้งแต่ปี 2515 จนถึงปัจจุบนัเป็นเวลากว่า 27 ปี จึงมีหลักการเก่ียวกับการท าบญัชีหลายประการ ท่ียงัไม่สอดคล้องกบัความก้าวหน้าทางการบญัชี และไม่สอดคล้องกบัสถานการณ์ทางเศรษฐกิจการคา้ ท่ีเปล่ียนแปลงไป รวมทั้งเพื่อให้มีการจดัท าบญัชีและงบการเงินให้เป็นไปตามความเป็นจริงไดม้าตรฐาน การบญัชี และสอดคล้องกบัหลกัปฏิบติัสากล ซ่ึงจะท าให้กิจการและบุคคลภายนอกไดใ้ช้ขอ้มูลทางการ บญัชีเพื่อประกอบการตดัสินใจทางธุรกิจไดอ้ย่างมัน่ใจ กรมพฒันาธุรกิจการคา้ กระทรวงพาณิชย ์ไดด้ าเนินการเสนอแกไ้ขปรับปรุงกฎหมายวา่ดว้ยการ บญัชีมาเป็นล าดบันบัแต่ปี พ.ศ. 2534 เป็นตน้มา จนถึงปัจจุบนักฎหมายดงักล่าว ไดผ้่านความเห็นชอบ

  • 8

    ของ รัฐสภาแล้ว เม่ือวนัท่ี 15 มีนาคม 2543 และน าลงประกาศในราชกิจจานุเบกษา เม่ือวนัท่ี 12 พฤษภาคม 2543 ซ่ึงจะมีผลบงัคบัใช้ตั้งแต่วนัท่ี 10 สิงหาคม 2543 เป็นตน้ไป (กรมพฒันาธุรกิจการคา้, 2560)

    สาระส าคญัของกฎหมาย (กรมพฒันาธุรกิจการคา้, 2560) 1. แก้ไขหลักการจากเดิมท่ีก าหนดให้ธุรกิจทั้ งนิติบุคคลและบุคคลธรรมดาท่ีประกอบธุรกิจ ตามประเภทท่ีรัฐมนตรีประกาศก าหนดตอ้งจดัท าบญัชี เป็นก าหนดให้เฉพาะนิติบุคคลทั้งท่ีจดทะเบียน ตามกฎหมายไทยและต่างประเทศท่ีประกอบธุรกิจในประเทศไทยและกิจการร่วมคา้ตามประมวลรัษฎากร เป็นผูมี้หนา้ท่ีจดัท าบญัชี ส่วนบุคคลธรรมดาและหา้งหุน้ส่วนท่ีไม่ไดจ้ดทะเบียนจะตอ้งจดัท าบญัชีต่อเม่ือรัฐมนตรี โดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษาใหเ้ป็นผูมี้หนา้ท่ีจดัท าบญัชี 2. ก าหนดใหผู้ท้ าบญัชีตอ้งเขา้มามีส่วนรับผดิชอบในการจดัท าบญัชีของธุรกิจโดยแบ่งแยก หนา้ท่ีและความรับผดิชอบระหวา่งผูท้ าบญัชีและผูมี้หนา้ท่ีจดัท าบญัชีใหช้ดัเจน 3. ก าหนดให้อธิบดีมีอ านาจก าหนดคุณสมบติัและเง่ือนไขของการเป็นผูท้ าบญัชีรวมทั้งก าหนดขอ้ยกเวน้ให้ผูมี้ หน้าท่ีจดัท าบญัชี หรือผูท้ าบญัชีไม่ตอ้งปฏิบติัตามมาตรฐานการบญัชีในเร่ืองใดเร่ืองหน่ึง หรือส่วนใดส่วนหน่ึง 4. ก าหนดยกเวน้ให้งบการเงินของผูมี้หน้าท่ีจดัท าบัญชีท่ีเป็นห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน ท่ีมี ทุน สินทรัพยห์รือรายได ้ไม่เกินท่ีก าหนดในกฎกระทรวงไม่ตอ้งไดรั้บตรวจสอบโดยผูส้อบบญัชี 5. ลดภาระของธุรกิจในการจดัเก็บบญัชีและเอกสารประกอบการลงบญัชีจาก 10 ปี เหลือ 5 ปีและในกรณีจ าเป็น อธิบดีโดยความเห็นชอบของรัฐมนตรี ขยายระยะเวลาจดัเก็บไดแ้ต่ตอ้งไม่เกิน 7 ปี 6. ปรับปรุงข้อก าหนดต่าง ๆ ให้สอดคล้องกับระบบการจัดท าบัญชีด้วยคอมพิวเตอร์ เช่น การเก็บรักษาบญัชีการลง รายการในบญัชี เป็นตน้ 7. ปรับปรุงบทก าหนดโทษให้เหมาะสม ครอบคลุมถึงผูมี้หน้าท่ีจดัท าบญัชี ผูท้ าบญัชี และ ผูท่ี้เก่ียวขอ้งและให ้อธิบดีหรือผูซ่ึ้งอธิบดีมอบหมายมีอ านาจเปรียบเทียบปรับไดส้ าหรับความผิดท่ีมี โทษปรับเพียงอยา่งเดียว หรือมีโทษจ าคุกไม่เกินหน่ึงเดือน เพื่อลดขั้นตอนปฏิบติัและสะดวกต่อ ผูป้ระกอบธุรกิจ 8. ก าหนดบทเฉพาะกาล ยกเวน้ให้ผูท่ี้ประกอบอาชีพเป็นผูท้ าบญัชีอยูก่่อนแลว้ แต่ไม่มีคุณสมบติัตามท่ีอธิบดี ก าหนด สามารถประกอบอาชีพต่อไปไดห้ากไดป้ระกอบอาชีพอยูก่่อนแลว้ ไม่นอ้ยกวา่ 5 ปีโดยให้แจง้ต่อ กรมพฒันาธุรกิจการคา้ พร้อมทั้งเขา้อบรมและส าเร็จการอบรม

  • 9

    ตามหลกัเกณฑ์และระยะเวลาท่ีก าหนดก็จะสามารถ ท าบญัชีต่อไปไดอี้ก 8 ปี นบัตั้งแต่ พ.ร.บ.น้ีใช้บงัคบั

    แนวคดิ และทฤษฎเีกีย่วกบัปัจจัยทางธุรกจิ

    การด าเนินธุรกิจตอ้งอาศยัปัจจยัหลายอยา่งรวมกนั จึงจะเกิดกิจกรรมในการประกอบธุรกิจจะขาดปัจจยัใดปัจจยัหน่ึงไม่ได ้โดยทัว่ไปปัจจยัพื้นฐานในการด าเนินธุรกิจมี 4 ประการ (4M) ไดแ้ก่ (โชคชยั อาษาสนา, 2544)

    1. คน (Man) ถือว่าเป็นปัจจยัท่ีส าคัญท่ีสุดเพราะธุรกิจต่างๆ เกิดข้ึนได้ต้องอาศัยความคิดของคน มีคนเป็นผู ้ด าเนินการหรือเป็นผูจ้ ัดการ จึงจะท าให้เกิดกิจกรรมทางธุรกิจหลายรูปแบบ ซ่ึงในวงจรธุรกิจมีคนหลายระดับหลายรูปแบบทั้ งระดับผูบ้ริหารผูใ้ช้แรงงานร่วมกันด าเนินการจึงจะท าใหป้ระสบความส าเร็จในการประกอบธุรกิจ

    2. เงิน (Money) เงินทุนเป็นปัจจยัในการด าเนินธุรกิจท่ีต้องน ามาใช้ในการลงทุนเพื่อให้เกิดการประกอบธุรกิจ โดยธุรกิจแต่ละประเภทใชป้ริมาณเงินทุนท่ีแตกต่างกนั ธุรกิจขนาดใหญ่ย่อมใช้เงินทุนสูงกว่าธุรกิจขนาดเล็ก ดงันั้นผูป้ระกอบธุรกิจจึงตอ้งมีการวางแผนในการใช้เงินทุนและการจดัหาเงินทุนอยา่งมีประสิทธิภาพ เพื่อท าให้การด าเนินธุรกิจไม่ประสบปัญหาดา้นเงินทุนและก่อใหเ้กิดผลตอบแทนสูงสุดคุม้กบัเงินท่ีน ามาลงทุน

    3. ว ัสดุหรือวตัถุดิบ (Material) ในการผลิตสินค้าต้องอาศัยวตัถุดิบในการผลิตค่อนข้างมากผูบ้ริหารจึงต้องรู้จกัการบริหารวตัถุดิบให้มีประสิทธิภาพ เพื่อให้เกิดต้นทุนด้านวตัถุดิบต ่าสุด อนัจะส่งผลใหธุ้รกิจมีผลก าไรสูงสุดตามมา

    4. วิธีปฏิบัติงาน (Method) เป็นวิธีการในการปฏิบัติงานในแต่ละขั้นตอนของการด าเนินธุรกิจ ซ่ึงต้องมีการวางแผนและควบคุมเพื่อให้การปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพ เกิดความคล่องตวัสอดคลอ้งกบัสภาพแวดลอ้มทั้งภายในและภายนอกกิจการเป้าหมายในการจดัท าธุรกิจของผูป้ระกอบธุรกิจ คือ ความตอ้งการใหไ้ดม้าซ่ึงผลก าไรมากท่ีสุด (Maximized Profits)

    ดงันั้นจะตอ้งมุ่งเนน้ ความส าคญัไปท่ีกลุ่มเป้าหมายวา่เป็นใคร การผลิตสินคา้ท่ีจะท าให้ผูบ้ริโภคพอใจนั้นจะตอ้งค านึงถึงวา่จะผลิตอยา่งไร และตอ้งหาปัจจยัต่าง ๆ มาประกอบจึงจะท าการผลิตสินคา้หรือบริการได ้นกัวชิาการไดก้ าหนดข้ึนมาในอดีต มีองคป์ระกอบ 4 M’s แต่ปัจจุบนัยงัไม่เพียงพอส าหรับการประกอบการจึงมีเพิ่มข้ึนเป็น 6 M’s หรืออาจจะมากกว่าน้ีก็ได้ ได้แก่ (ศิริวรรณ เสรีรัตน์และคณะ, 2552)

    1. Money หมายถึง เงินลงทุน ซ่ึงแหล่งเงินทุนนั้นจะไดม้าจาก 2 แหล่ง คือ จากเจา้ของและจากการกูย้มื

    https://www.gotoknow.org/user/chokchai_edadm/profile

  • 10

    2. Manpower หมายถึง แรงงานคน ท่ีจะน าไปใชใ้นการผลิตสินคา้และบริการ 3. Materials หมายถึงวสัดุ อุปกรณ์ วตัถุดิบ เคร่ืองมือ เคร่ืองจกัรต่างๆ 4. Management หมายถึง การจดัการ การวางนโยบายหรือการวางแผนงานในดา้นการ

    ใชปั้จจยัการผลิตใหเ้หมาะสม 5. Marketing หมายถึง การด าเนินการด้านการตลาดในการจดัจ าหน่ายสินค้าและ

    บริการท่ีผลิตข้ึนมา ใหก้บักลุ่มผูบ้ริโภคท่ีเป็นเป้าหมาย 6. Method หมายถึง การก าหนดหลักเกณฑ์ หรือระเบียบ วิธีการต่างๆ ในการ

    ด าเนินงานใหเ้ป็นไปตามขั้นตอนท่ีดีท่ีสุดเพื่อความมีประสิทธิภาพและธุรกิจจะไดป้ระสบผลส าเร็จ

    แนวคดิ และทฤษฎเีกีย่วกบัความเป็นอสิระของกลุ่มผู้สอบบัญชี

    ความเป็นอิสระ เป็นหลกัการพื้นฐานท่ีส าคญัประการหน่ึงท่ีผูป้ระกอบวิชาชีพบญัชีตอ้งปฏิบติั โดยท่ีขอ้บงัคบัสภาวิชาชีพบญัชี (ฉบบัท่ี 19) เร่ือง จรรยาบรรณของผูป้ระกอบวิชาชีพบญัชี พ.ศ. 2553 ไดก้ าหนดหลกัการพื้นฐานไวท้ั้งหมด 6 หมวด ขอ้ก าหนดเก่ียวกบัความเป็นอิสระ ถูกจดัอยู่ในหมวดท่ี 2 ความโปร่งใส ความเป็นอิสระ ความเท่ียงธรรม และความซ่ือสัตยสุ์จริต จะเห็นวา่ในหลกัการพื้นฐานน้ีมีขอ้ก าหนดยอ่ย ทั้งหมด 4 ขอ้ คือ 1) ความโปร่งใส 2) ความเป็นอิสระ 3) ความเท่ียงธรรม และ 4) ความซ่ือสัตยสุ์จริต ผูเ้ขียนเห็นวา่ ขอ้ก าหนดท่ีมกัเป็นประเด็นในการพิจารณาก็คือ ในเร่ืองของความเป็นอิสระ ดงันั้นในท่ีน้ี จะกล่าวเฉพาะเร่ืองความเป็นอิสระ กรณีตัวอย่าง รวมถึงปัญหาอุปสรรคและมาตรการป้องกันมิให้ผิดจรรยาบรรณในข้อก าหนดน้ี ขอ้ก าหนด มี 2 ขอ้ ดงัต่อไปน้ี (สภาวชิาชีพบญัชี, 2560)

    ขอ้ก าหนดข้อ 1 ผูส้อบบัญชีต้องใช้ดุลยพินิจและปฏิบัติงานอย่างเป็นอิสระภายใต้กรอบวชิาชีพบญัชี

    การใชดุ้ลยพินิจอยา่งเป็นอิสระนั้นแมว้า่ผูส้อบบญัชีจะไม่อยูภ่ายใตอิ้ทธิพลของบุคคลอ่ืนหรือไม่มีผลประโยชน์ใดๆ แต่ผูส้อบบญัชีก็อาจขาดความเป็นอิสระในการใช้ดุลยพินิจไดอ้นัเน่ืองมาจากอาจไดรั้บผลกระทบในกรณีท่ีมีบุคคล หน่วยงาน หรือกิจการท่ีเก่ียวขอ้งกบัผูส้อบบญัชีอยู่ภายใต้อิทธิพลของบุคคลอ่ืนหรือได้รับผลประโยชน์จากการประกอบวิชาชีพ จะเห็นว่า ในขอ้ก าหนดน้ี ให้พิจารณาถึงบุคคล หน่วยงานหรือกิจการท่ีเก่ียวขอ้งกบัผูส้อบบญัชี ท่ีอาจมีผลท าให้ผูส้อบบญัชีขาดความเป็นอิสระได ้ซ่ึงบุคคล หน่วยงานหรือกิจการท่ีเก่ียวขอ้งกบัผูส้อบบญัชี นั้นมีหลายกรณี ได้แก่ ก) องค์กรหรือส านักงานสอบบญัชีท่ี ผูส้อบบญัชีปฏิบติังาน ข) ผูถื้อหุ้นหรือหุ้นส่วนในองค์กร ค) คู่สมรสและบุคคลท่ีอยู่ภายใตก้ารอุปการะของผูส้อบบญัชี ง) คู่สมรสและบุคคลท่ีอยู่ภายใตก้ารอุปการะของผูถื้อหุ้นหรือหุ้นส่วนในองค์กร จ) บุตร บิดามารดา ท่ีไม่ไดอ้ยู่

  • 11

    ภายใตก้ารอุปการะของผูส้อบบญัชี หรือผูถื้อหุ้นหรือหุ้นส่วนในองค์กร ฉ) ผูช่้วยปฏิบติังานท่ีมีส่วนส าคญัต่อการใชดุ้ลยพินิจในการปฏิบติังาน ช) บริษทัใหญ่ บริษทัยอ่ย บริษทัร่วมและเครือข่ายขององค์กร ซ) กิจการท่ีมีอ านาจควบคุมองค์กร หรือถูกควบคุมโดยองค์กร หรืออยู่ภายใต้การควบคุมเดียวกนักบัองค์กร ไม่ว่าจะโดยทางตรงหรือทางออ้ม ฌ) กิจการท่ีอยู่ภายใตอิ้ทธิพลอย่างเป็นสาระส าคญัขององค์กร และ ญ) กิจการท่ีผูส้อบบญัชีและหรือบุคคลตาม (ก) (ข) (ค) (ง) และ (จ) มีอ านาจควบคุมหรือมีอิทธิพลอยา่งเป็นสาระส าคญัไม่วา่จะโดยทางตรงหรือทางออ้ม

    ขอ้ก าหนดขอ้ท่ี 2 ผูส้อบบญัชีตอ้งไม่ปฏิบติังานท่ีตนขาดความเป็นอิสระภายใตก้รอบวชิาชีพบญัชีขอ้ก าหนดขอ้น้ีมีประเด็นพิจารณา 2 ขอ้ คือ

    1) ในกรณีท่ีผูส้อบบญัชีเห็นว่ามีความสัมพนัธ์หรือมีสถานการณ์ใดท่ีจะกระทบต่อความเป็นอิสระในการปฏิบติังานท าใหไ้ม่สามารถปฏิบติังานใหเ้ป็นไปตามมาตรฐานของวชิาชีพได ้ผูส้อบบญัชีตอ้งใช้วิจารณญาณในการรับงาน หรือถอนตวัจากการให้บริการ หยุดการให้บริการ หรือหามาตรการอ่ืนๆ เพื่อขจดัหรือลดผลกระทบใหอ้ยูใ่นระดบัท่ียอมรับได ้

    2) ในกรณีท่ีผูส้อบบญัชีเห็นวา่มีความสัมพนัธ์หรือสถานการณ์ใดท่ีอาจจะกระทบต่อความเป็นอิสระในการปฏิบติังาน ผูส้อบบญัชีควรประเมินผลกระทบและหามาตรการในการขจดัหรือลดผลกระทบดงักล่าวให้อยู่ในระดบัท่ียอมรับได้ เช่น การปฏิเสธท่ีจะรับงาน การไม่รับท าบญัชีและสอบบญัชีให้กับลูกค้ารายเดียวกัน การจดัให้มีนโยบายการควบคุมคุณภาพงาน โดยก าหนดให้มีการเปิดเผยส่วนได้เสียหรือความสัมพนัธ์ระหว่างผูส้อบบญัชีหรือผูท่ี้เก่ียวขอ้งกับผูส้อบบญัชี กบักิจการท่ีรับสอบบญัชี เป็นตน้ การส่ือสารนโยบาย กระบวนการท างาน ตลอดจนการปลูกฝังจรรยาบรรณดา้นความเป็นอิสระใหก้บัพนกังานในองคก์ร เป็นตน้

    อุษณา ภทัรมนตรี (2552) ไดอ้ธิบายวา่ ความเป็นอิสระของนกัตรวจสอบบญัชีนั้น จะท าให้ผูต้รวจสอบสามารถวางแผนการตรวจสอบและใช้วิธีการต่างๆ ในการตรวจสอบ รวมทั้งตรวจสอบไดอ้ยา่งพอเพียง รายงานผลการตรวจสอบไดต้รงตามความเป็นจริงโดยไม่ถูกบิดเบือน ซ่ึงความเป็นอิสระน้ีตอ้งเป็นท่ีประจกัษต่์อพนกังาน เจา้หน้าท่ีทุกคนในองคก์รวา่ผูต้รวจสอบไม่มีส่วนได้ส่วนเสียในงานตรวจสอบขององค์กรนั้นๆ ความเป็นอิสระของผูต้รวจสอบวดัได้จากเสรีภาพในการปฏิบติังานตรวจสอบท่ีเป็นกลาง ปราศจากอคติ มีความเป็นอิสระในการเขา้ถึง และสอบถามเจา้หนา้ท่ีเก่ียวกบัเร่ืองการตรวจสอบซ่ึงสอดคลอ้งกบัความเป็นจริง โดยประกอบดว้ย

    1) ความเป็นอิสระในโครงสร้างองค์กร หมายถึง ผูต้รวจสอบต้องรายงานตรงต่อ ผูบ้ริหารระดับสูงในองค์กรท่ีจะเอ้ืออ านวยให้กิจกรรมการตรวจสอบสามารถด าเนินตามความรับผดิชอบไดอ้ยา่งเตม็ท่ี

  • 12

    2) ความเป็นอิสระส่วนบุคคล หมายถึง ผูต้รวจสอบควรมีทัศนคติท่ีเป็นกลาง ไม่ล าเอียง และหลีกเล่ียงการมีผลประโยชน์ขดัแยง้ เน่ืองจากความเป็นอิสระส่วนบุคคลและการแสดงความคิดเห็นท่ีเป็นกลาง เป็นเหตุผลสนบัสนุน โดยปราศจากอคติ หรือความล าเลียง

    3) การเปิดเผยการเสียความเป็นอิสระ หมายถึง การท่ีผูต้รวจสอบเกิดการเสียความเป็นอิสระหรือความเท่ียงธรรม ไม่ว่าจากขอ้เท็จจริงหรือจากส่ิงท่ีปรากฏ ควรเปิดเผยเร่ืองดงักล่าวต่อคณะบุคคลท่ีเก่ียวขอ้งเหมาะสม โดยลกัษณะการเปิดเผยควรข้ึนอยูก่บักรณีความเสียความเป็นอิสระนั้นๆ

    แนวคดิ และทฤษฎเีกีย่วกบัคุณวุฒิในการท างาน

    Wooten (2003) กล่าววา่ ทรัพยากรมนุษยข์องส านกังานสอบบญัชีท่ีมีคุณภาพดีนั้นอาจเกิดจากการท่ีส านักงานสอบบญัชีมีทีมงานตรวจสอบท่ีมีความรู้เก่ียวกับวิชาชีพท่ีก้าวหน้าเป็นปัจจุบนั มีความสามารถและมีความเช่ียวชาญในการปฏิบติังานทางวิชาชีพเป็นอย่างดี ซ่ึงการท่ีทรัพยากรมนุษยข์องส านกังานจะมีคุณภาพดีนั้นส่วนหน่ึงยอ่มข้ึนอยู่กบักระบวนการจา้งงานและการฝึกอบรมท่ีมีประสิทธิภาพของส านักงานสอบบญัชี รวมทั้งกระบวนการการควบคุมคุณภาพงานสอบบญัชี ส านักงานสอบบญัชีท่ีมีระบบการควบคุมคุณภาพงานสอบบญัชีและมีกระบวนการปฏิบติังานตรวจสอบท่ีเขม้งวดและเหมาะสมจะสามารถช่วยลดความเส่ียงจากการตรวจสอบให้นอ้ยลงได ้แต่ปัจจยัหน่ึงท่ีส านกังานต่างๆ ไม่สามารถปฏิเสธไดเ้ลยวา่มีความส าคญัเป็นอยา่งยิ่งและตอ้งใชเ้วลาอยา่งมากในการสั่งสมประสบการณ์ของพนกังานนั้นคือ ประสบการณ์การตรวจสอบในอุตสาหกรรมท่ีธุรกิจของลูกคา้ด าเนินงานอยู ่การท่ีส านกังานสอบบญัชีมีลูกคา้ซ่ึงด าเนินงานอยูใ่นอุตสาหกรรมประเภทเดียวกนัเป็นจ านวนมาก จะช่วยให้ผูส้อบบญัชีมีความเขา้ใจอยา่งลึกซ้ึงในการระบุความเส่ียงของบริษทัซ่ึงด าเนินงานอยู่ในอุตสาหกรรมดังกล่าว นอกจากน้ี Ghosh & Moon (2005) อธิบายวา่ คุณภาพการตรวจสอบบญัชีท่ีรับรู้อาจวดัไดจ้าก คุณวฒิุในการท างาน กล่าวคือ ถา้ผูส้อบบญัชีอยูก่บัลูกคา้เป็นระยะเวลานานเพียงพอ จะท าให้ผูส้อบบญัชีมีความรู้ในกิจการลูกคา้ มีความเขา้ใจ และระบุความเส่ียงไดดี้ข้ึน

    Lennox (1999) กล่าววา่ ประสบการณ์การตรวจสอบในบริษทัลูกคา้ ทีมงานตรวจสอบท่ีท าการตรวจสอบงบการเงินของบริษทัลูกค้าเป็นระยะเวลานานมีแนวโน้มท่ีจะมีความรู้ความเขา้ใจอยา่งดีในกระบวนการด าเนินธุรกิจของบริษทัลูกคา้และทราบถึงจุดแข็งและจุดอ่อนในระบบการบญัชีของบริษทัลูกคา้ ซ่ึงจะช่วยให้ผูส้อบบญัชีสามารถระบุถึงจุดท่ีมีความเส่ียงสูงและจุดท่ีเคยเกิดขอ้ผิดพลาดซ่ึงได้ตรวจพบในปีก่อนๆ เพื่อจะได้ให้ความใส่ใจในจุดดงักล่าวเป็นพิเศษ และวางแผนการตรวจสอบไดอ้ย่างเหมาะสม ซ่ึงมีผลการวิจยัท่ีพบวา่ ประสบการณ์การตรวจสอบใน

  • 13

    บริษทัลูกคา้ของผูส้อบบญัชี ผูเ้ป็นหุ้นส่วน (Partner) และผูจ้ดัการ (Manager) มีความสัมพนัธ์กบัคุณภาพของงานสอบบญัชี

    แนวคดิ และทฤษฎเีกีย่วกบัการควบคุมคุณภาพของส านักงานตรวจสอบบัญชี

    ตลาดหลกัทรัพยแ์ห่งประเทศไทย (2561)กล่าวถึงเร่ืองของการควบคุมคุณภาพของส านกังานตรวจสอบบญัชี ท่ีเก่ียวขอ้งกบัขนาดของบริษทัตรวจสอบบญัชี ส าหรับในประเทศไทย บริษทัท่ีอยู่ในตลาดหลกัทรัพยแ์ห่งประเทศไทย จะตอ้งมีการตรวจสอบบญัชีจากผูส้อบบญัชีรับอนุญาตท่ีไดรั้บความเห็นชอบจากส านกังานคณะกรรมการก ากบัหลกัทรัพยแ์ละตลาดหลกัทรัพย ์(ส านกังาน กลต.) ท่ีไดมี้การก าหนดความเป็นนานาชาติของส านกังานสอบบญัชี ท่ีมีผูส้อบบญัชีท่ีสามารถตรวจสอบและรับรองงบการเงินของบริษทัในตลาดหลกัทรัพยแ์ห่งประเทศไทย จ านวน 27 ส านกังาน แบ่งแยกออกเป็น 2 กลุ่ม คือ ส านกังานสอบบญัชีขนาดใหญ่ (Big 4) และมีช่ือเสียงในระดบันานาชาติจะมีจ านวน 4 ส านกังาน ท่ีมีการเช่ือมโยงกบัส านกังานตรวจสอบบญัชีนานาชาติ และมีผูส้อบบญัชีรับอนุญาตตั้งแต่ 5 คนข้ึนไป ส่วนท่ีเหลือจะเป็นส านกังานสอบบญัชีขนาดเล็ก ท่ีมีผูส้อบบญัชีไม่น้อยกว่า 5 คน ซ่ึงการมีผูส้อบบญัชีรับอนุญาตท่ีสามารถรับรองงบการเงินของบริษทัท่ีอยูใ่นตลาดหลกัทรัพยแ์ห่งประเทศไทยเป็นเกณฑ์ในการจดักลุ่มของส านกังานสอบบญัชีประเทศไทย

    Krishnan (2003) และ Becker et al. (1998) อธิบายวา่ ส านกังานสอบบญัชีขนาดใหญ่นั้นมีคุณภาพงานสอบบญัชีสูงกว่าส านก�