22
การแก้ไขปัญหาน้ำท่วมในกรุงเทพมหานคร COMPANY NAME

Gen 121 Report

Embed Size (px)

DESCRIPTION

Gen 121 Report

Citation preview

Page 1: Gen 121 Report

การแก้ไขปัญหาน้ำท่วมในกรุงเทพมหานคร

COMPANY NAME

Page 2: Gen 121 Report

STATEMENT OF PROBLEM

เนื่องจากผู้คนในกรุงเทพมหานครนั้นได้ประสบพบเจอกับปัญหาน้ำท่วมแทบทุกปีจนแทบเป็นเรื่องปกติไปแล้วของคนในเมืองหลวงของประเทศไทยซึ่งปัญหาน้ำท่วมนี้ไดส่งผลกระทบอย่างมากในหลายด้านๆอย่างเช่น ปัญหาน้ำท่วมใหญ่ในปี พ.ศ. 2554 นั่นเองซึ่งทำให้เกิดความเสียหายอย่างหนักเช่น เกิดปัญหาการสัญจรของผู้คน ปัญหาด้านการท่องเที่ยว ปัญหาด้านธุรกิจ เป็นต้น ซึ่งกรุงเทพมหานครนั้นมีพื้นที่ส่วนใหญ่ต่ำกว่าระดับน้ำทะเลและต่ำกว่าระดับแม่น้ำเจ้าพระยาซึ่งระบบระบายน้ำของ กทม. นั้นมีขีดจำกัดที่ฝนตกปริมาน 60 มม. รวมถึงฝีมือมนุษย์ที่ทิ้งขยะทำให้การระบายน้ำนั้นมีประสิทธิภาพที่ต่ำลง ดังนั้นเราจึงควรแก้ปัญหานี้อย่างเร่งด่วนโดยการวางระบบการระบายน้ำใหม่และประชาชนทุกคนก็ต้องช่วยกันไม่ทิ้งขยะเพื่อไม่ให้ไปขัดต่อระบบการระบายน้ำใน กรุงเทพมหานคร

COMPANY NAME

Page 3: Gen 121 Report

Technical Approach

จากปัญหาอุทกภัยที่เกิดขึ้นในกรุงเทพมหานคร จะสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ลักษณะดังนี้

1. ปัญหาอุทกภัยที่เกิดจากน้ำฝนปริมาณมหาศาลจากภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย

2. ปัญหาน้ำท่วมขังในเขตตัวเมืองของกรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นผลจากการระบายที่ไม่ดี

การแก้ไขปัญหาอุกกภัยในลักษณะที่ 1

ปัญหาอุทกภัยที่เกิดจากน้ำฝนปริมาณมหาศาลที่มาจากทางภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เคลื่อนที่ลงสู่ภาคกลางตอนบนและใหลลงสู่ทะเลอ่าวไทย นั้นได้สร้างความเสียหายอย่างรุนแรงให้กับกรุงเทพและปริมณฑล ซึ่งมีสาเหตุหลัก 2 สาเหตุคือ น้ำฝนที่มากเกินไปจากพายุโหมกระหน่ำ และ การระบายน้ำที่ไม่เพียงพอในแม่น้ำเจ้าพระยารวมถึงในกรุงเทพมหานคร

จากที่เราทราบกันเป็นอย่างดีว่าการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศนั้นส่งผลเป็นอย่างยิ่งกับ ปริมาณฝนตกที่มากเกินไป ในหลากหลายส่วนของโลก ซึ่งเป็นปรากฏการ์ณทางธรรมชาติที่เกินกว่าการควบคุมของมนุษย์ แต่อย่างไรก็ตามเรามีความสามารถที่จะป้องกันปัญหาที่เกิดจากปริมาณน้ำที่มากเกินไป โดยการพัฒณาระบบระบายน้ำให้สามารถใช้งานได้ดีขึ้น การแก้ปัญหาอุทกภัยในลักษณะนี้ต้องอาศัยระบบการระบายน้ำทั้ง 3 ระบบในการพัฒณาระบบท่อระบายน้ำและทางน้ำใหล

ชนิด ระบบ ประสิทธิผลและการปฎิบัติจริง

1 ขุดรอกหรือช่องแคบคูคลองบนพื้นดิน บางพื้นที่ยังไม่สามารถใช้งานได้เต็มประสิทธิภาพ เช่น กรุงเทพมหานคร และยังมีค่าใช้จ่ายสูงที่ไม่จำเป็นในการเวียนคืนพื้นที่ ที่เป็นส่วนบุคคล

2 พัฒณาโครงสร้างภายในคลอง สามารถใช้ได้จริงในทางปฎิบัติ แต่ค่อนข้างจะไม่ได้ผลอันเนื่องมาจากความจุของท่อระบายน้ำที่จำกัด

3 ท่ออุโมงค์ยักษ์ มีประสิทธิภาพและสามารถใช้งานได้จริงในหลายพื้นที่โดยเฉพาะอย่างยิ่ง กรุงเทพมหานคร

COMPANY NAME

Page 4: Gen 121 Report

โดยที่ทั้ง 3 ระบบนี้ต้องทำงานร่วมกัน โดยที่ชนิดที่ 1 นั้นควรที่จะสร้างในต้นน้ำลำธาร หรือพื้นที่ชานเมืองในจังหวัดของภาคเหนือของกรุงเทพมหานคร นอกจากนี้ในชนิดที่ 2 ยังสามารถสร้างได้ในพื้นที่ชานเมืองและชุมชนเมือง และในส่วนของท่ออุโมงค์ยักษ์ซึ่งเป็นวิธีการที่ดี่ที่สุดและเป็นการแก้ไขปัญหาระยะยาว ด้วยเหตุนี้เราจึงขอนำเสนอ การสร้างอุโมงค์ระบายน้ำในลักษณะที่เป็นพื้นที่ใต้ดินที่สามารถใช้งานได้หลากหลาย (Multi-Service Flood Tunnel System, MUSTS)

Multi-Service Flood Tunnel System (MUSTS)

แ น ว คิ ด ข อ ง MUSTS นั้นจะต้องถกูสร้างใต้แนวถนนวงแหวนรอบนอกในทิศตะวันออกของกรุงเทพมหานคร จากอำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ถึงจังหวัดสมุทรปราการ รวมระยะทางประมาณ 100 กิโลเมตร ความกว้าง 24 เมตร ในระดับความลึกรวม 10 เมตร และใช้ระยะเวลาก่อสร้างประมาณ 3 ปี

เราสามารถสร้าง MUSTS โดยใช้วิ ธีการก่อสร้างแบบกำแพงไดอะแฟรม หรือวิธีการสร้างอุโมงแบบ Cut-and-Cover ใตถ้นนวงแหวนรอบนอกดา้นตะวนัออก นอกจากนี ้ยงัสามารถใชว้ธิกีารกอ่สรา้งแบบ Top-Down Construction ซึ่งเปน็วธิกีารเดยีวกนักบัที่ใชส้รา้งรถไฟฟา้มหานคร นี่กเ็ปน็อกีหนงึในหลากหลายวธิทีี่สามารถนำมาใชโ้ดยจะสรา้งผลกระทบตอ่ผู้ใชถ้นนวงแหวนรอบนอกระหวา่งการกอ่สรา้ง และการกอ่สรา้งทางใตด้นินี้ ยงัไมต่อ้งเสยีคา่เวนคนืพื้นที่เปน็จำนวนมากอกีดว้ย ซึ่งถอืวา่เปน็ผลด ี

Page 5: Gen 121 Report

อุโมงค์ MUSTS ยังออกแบบและก่อสร้างโครงสร้างใต้ดินที่มีพื้นสองชั้น ชั้นบนเป็นถนนสำหรับรถยนต์ขนาด 6 เลน ในสถาณการ์ณปกติหรือมีปริมาณน้ำส่วนเกินเล็กน้อย พื้นที่ชั้นบนจะถูกใช้เป็นถนน ส่วนพื้นที่ชั้นล่างจะถูกใช้เป็นทางระบายน้ำ และในสถาณการ์ณที่มีปริมาณน้ำส่วนเกินอยู่ในระดับกลาง พื้นที่ชั้นบนจะถูกใช้เป็นถนนสำหรับรถยนต์ ส่วนพื้นที่ชั้นล่างถูกใช้เป็นทางระบายน้ำ เพราะฉะนั้นชั้นล่างจะสามารภรองรับน้ำได้ 100,000 ลูกบาศ์กเมตรต่อกิโลเมตร สำหรับในสภาวะปริมาณน้ำส่วนเกินน้อยถึงปานกลาง และสำหรับสถาการ์ณที่มีปรืมาณน้ำส่วนเกินมาก หรือในสภาพวิกฤต ชั้นบนและชั้นล่างจะกลายเป็นทางระบายน้ำพร้อมกัน ซึ่งก็จะสามารถรองรับน้ำได้เพิ่มเป็น 2 เท่า

Page 6: Gen 121 Report

การบูรณาการ MUSTS เข้ากับระบบป้องกันชนิดอื่น

อุโมงค์ MUSTS จะเชื่อมต่อกัยระบบระบายน้ำชนิดที่ 1 และชนิดที่ 2 เพื่อเป็นการเชื่อมโยง

กับเครือข่ายคูคลองเดิมและขุดโองค์ใต้ดินขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 3-5 เมตรระหว่างคลองเสมือนเป็น MUSTS Bypass เพื่อระบายน้ำจากหลายๆ จุดเข้ามารวมไว้ที่อ่างเก็บน้ำหลักของ MUSTS ในช่วงที่มีปริมาณน้ำมากเกินความจำเป็น และยังสามารถช่วยในเรื่องของน้ำท่วมฉับพลันในกรุงเทพมหานครได้อีกด้วย

การเพิ่มประโยชน์ของ MUSTS

MUSTS นั้นถือว่าเป็นการใช้พื้นที่ใต้ดินขนาดมหาศาล แะยังสามารถระบายน้ำได้เป็นจำนวนมาก ดังนั้นการที่จะสมบัติบางอย่างเข้าไป เช่น การติดตั้งเครื่องปั่นไฟเข้าไปจึงเป็นเรื่องที่เป็นไปได้ จากการสร้างมูลค่าเพิ่มของกระแสน้ำที่ถูกทิ้งเปล่าลงสู่ทะเล มาผลิตกระแสไฟฟ้าจากพลังงานน้ำขนาด 400-600 เมกะวัตต์ โดยการเสริมสร้างอุโมงค์แนวดิ่ง (Power Generation Shaft) ในช่วงท้ายเพื่อนำไปหมุนเครื่องจักรผลิตไฟฟ้าในอุโมงค์

ข้อดีของระบบอุโมงค์ใต้ดินป้องกันน้ำท่วม MUSTS

• อุโมงค์ใต้ดินสามารถระบายน้ำได้ถึง 1500 ลุกบาศก์เมตรต่อวินาท ี• เหมาะกับสภาพทางกายภาพของกรุงเทพฯ ซึ่งพื้นผิวดินและเมืองเปลี่ยนไปแล้ว เต็มไปด้วย

ชุมชนและสิ่งปลูกสร้างแออัดขวางทางน้ำ • ระบบอุโมงค์ใต้ดินระบายน้ำสามารถกำหนดความลาดเอียงได้ตามต้องการ จึงมีประสิทธิภาพ

สูงกว่า Flood Way บนผิวดิน • ประหยัดการลงทุนโดยไม่ต้องเวนคืนที่ดิน • ปัญหาความขัดแย้งและอลหม่านในสังคมชุมชนระหว่างการระบายน้ำ • ระบบอุโมงค์ใต้ดินเชื่อมคูคลองและแก้มลิงเข้าเป็นระบบเดียวกันทำให้มีประสิทธิภาพในการ

จัดการน้ำ • เป็นทางลัดในการระบายน้ำตรงสู่ทะเลโดยไม่ต้องผ่านชุมชนหรือสิ่งกีดขวาง • เป็นการเตรียมรับมือและลดความเสียหายจากภัยพิบัติในปัจจุบันและอนาคต

ระบบ MUSTS 4 in 1

Page 7: Gen 121 Report

• ชั้นบนเป็นถนนใต้ดิน ขนาด 6 เลน รองรับการระบายความหนาแน่นของการจราจร • โครงสร้างชั้นล่างเป็นทางระบายน้ำหลากใต้ดินที่มีประสิทธิภาพ โดยไม่ต้องผ่านชุมชนและไม่

ต้องเสียเวลาและงบประมาณเวนคืนที่ดิน สามารถรองรับน้ำได้ 100,000 ลูกบาศ์กเมตรต่อกม. ส่วนในกรณีน้ำท่วมใหญ่จะปิดถนนชั้นบนให้กลายเป็นทางระบายน้ำท่วมเพียงอย่างเดียวจะสามารถรองรับน้ำได้เป็น 2 เท่า

• สามารถผลิตกระแสไฟฟ้าจากพลังน้ำ ขนาด 400 - 600 เมกะวัตต์ แล้วแต่ขนาดโครงการที่ต้องการ โดยการสร้างเสริมอุโมงค์แนวดิ่ง (Power Generation Shaft) ในช่วงท้าย

• ผันน้ำอุทกภัยผ่านอุโมงค์ไปยังพื้นที่แล้ง โดยเก็บในอ่างเก็บน้ำใต้ดิน (Reservoir) หรือแก้มลิง บำบัดและส่งจ่ายน้ำผ่านเครือข่ายอุโมงค์ย่อยไปยังพื้นที่ประสบภัยแล้งเพื่อใช้ประโยชน์ในการเกษตรและอื่นๆได้ โดยเราถือเอาน้ำจากอุทกภัยเป็นหนึ่งในแหล่งน้ำทั้งหมดที่จะใช้ประโยชน์หมุนเวียนได้ แทนการทิ้งเปล่าลงสู่ทะเล

การแก้ไขปัญหาอุกกภัยในลักษณะที่ 2

ปัญหาอุทกภุยที่เกิดจากปริมาณน้ำฝนที่โหมกระหน่ำเข้าสู่กรุงเทพมหานครก่อให้

เกิดปัญหาหารระบายน้ำไม่ทัน ซึ่งจะมีมาตรการหลักในการดำเนินการดังนี้

1. มาตรการใช้การก่อสร้าง (Structural Measures) ส่วนใหญ่ใช้ในพื้นที่ชุมชนหนาแน่สำหรับกรุงเทพมหานคร ซึ่งมีระดับพื้นดินบางแ่งต่ำกว่าระดับน้ำภายนอก ใช้ระบบป้องกันน้ำท่วมและระบบระบายน้ำแบบพื้นที่ปิดล้อม (Polder System) ซึ่งประกอบด้วย

1. การป้องกันน้ำภายนอกใหลเข้าพื้นที่ปิดล้อม

• ส่วนที่เป็นพื้นดินใช้คันกั้นน้ำในรูปของถนน

• ส่วนที่เป็นทางระบายน้ำใช้ประตูระบายน้ำเป็นตัวกั้น

2. การระบายน้ำออกจากพื้นที่ปิดล้อม

• ระบายน้ำออกโดยใช้เครื่องสูบน้ำ

3. การระบายน้ำในพื้นที่ปิดล้อม

• ระบบระบายน้ำใช้จากอาคารบ้านเรือน ถนน ซอยไปสู่ภายนอก โดยใช้ท่อระบายน้ำ

Page 8: Gen 121 Report

2. มาตรการที่ไม่ใช้สิ่งก่อสร้าง (Non-Structural Measures) ส่วนใหญ่ใช่ในพื้นที่ชุมชน

ใช้สำหรับป้องกันน้ำท่วมทั่วไป ประกอบด้วย

1. การควบคุมผังเมืองและการใช้ที่ดินเพื่อจัดให้มีที่ว่างรับน้ำ ชะลอ และกักเก็บ

2. การควบคุมอาคารให้อาคารที่อยู่ในพื้นที่น้ำท่วมมีความคงทนไม่เสียหายจากนํ้า

3. การประชาสัมพันธ์รายละเอียดน้ําท่วมให้ประชาชนทราบและเรียนรู้สถานการณ์ที่จะ เกิดขึ้นเพื่อการปฏิบัติการป้องกันตัวเอง เมื่อจําเป็นและให้ความร่วมมือกับหน่วยงาน รับผิดชอบ

4. ตั้งระบบพยากรณ์และแจ้งเตือนภัยน้ําท่วม เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติการและเตือน ประชาชน

5.  ตั้งหน่วยปฏิบัติการเร่งด่วน เพื่อปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาน้ําท่วมตลอดจน ช่วยเหลือประชาชน

6. ตั้งองค์กรอำนวยการและบริหารเพื่อให้หน่วยงานมีการปฎิบัติการอย่างถูกต้อง

Page 9: Gen 121 Report

แผนดำเนินงานโครงการเพื่อป้องกันน้ำท่วมและระบบนะบายน้ำ

1. งานก่อสร้างระบบป่องกันน้ำท่วมและรับบระบายน้ำ

1. โครงการแนวป้องกันน้ำท่วมริมแม่น้ำเจ้าพระยา คลองบางกอกน้อย และคลองมหาสวัส

2. โครงการตักหาพื้นที่รองรับและกักเก็บน้ำ (โครงการแก้มลิง)

2. งานบำรุงรักษาคลอง

1. การเปิดทางน้ำใหล

2. การขุดลอก คู คลอง และบึงรับน้ำ

3. การก่อสร้างทางเดินแะทางรถจักรยานและเขื่อน

3. งานบำรุงรักษาท่อระบายน้ำ

1. แผนการล้างทำความสะอาดท่อระบายทั้งหมดในกรุงเทพมหานคร

4. งานบำรุงรักษาระบบอาคารบังคับน้ำ

Page 10: Gen 121 Report

แนวป้องกันน้ําท่วมริมแม่น้ําเจ้าพระยาคลองบางกอกน้อยและคลองมหาสวัสด์ ิ

การป้องกันน้ำท่วมฉับพลันสามารถจัดการด้วยระบบ MUSTS แต่อย่างไรก็ตามยังมีปัญหาน้ำท่วมตามริมแม่น้ำเจ้าพระยาซึ่งเนื่องจากภาะเอ่อล้น แต่เป็นลักษณะการท่วมตามจังหวะของการขึ้นลงของแม่น้ำเจ้าพระยา, คลองบางกอกน้อยและ คลองมหาสวัสดิ์ มิใช่การท่วมขังของน้ำฝน เป็นปัญหาสำหรับชุมชนที่อยู่ในจามริมแม่น้ำเจ้าพระยาซึ่งมีอยู่ถึง 80,000 หลังคาเรือน

โครงการจัดหาพื้นที่รองรับและเก็บกักน้ํา (โครงการแก้มลิง)

การสร้างพื้นที่รองรับน้ำไว้

นอกจากเอาไว้เพื่อกักเก็ยน้ำแล้วยังสามารถใช้

เชื่อมต่อกับระบบ MUSTS เพื่อการระบายน้ำที่

มีประสิทธิภาพขึ้นมาก

Page 11: Gen 121 Report

Project Management

แผนงบประมาณโครงการ

แผนงบประมาณโครงการจะถูกแบ่งออกเป็น 2 ส่วนใหญ่

1. งบประมาณสำหรับ MUSTS

2. งบประมาณสำหรับระบบจัดการน้ำในจังหวัดกรุงเทพมหานคร

งบประมาณสำหรับ MUSTS

*อ้างอิงจากคณะกรรมการงานก่อสร้างใต้ดินและอุโมงค์

งบประมาณสำหรับการบริหารน้ำในกรุงเทพมหานคร

ได้มอบหมายให้สำนักจัดการระบายน้ำเป็นฝ่ายจัดการเสนองบประมาณ

โดยขั้นต้นให้งบประมาณไว้ไม่เกิน 1,000M บาท

รายการ จำนวน ราคา จำนวนเงิน (บาท)

สำหรับการประมูล 2 100,000 200,000

การก่อสร้าง MUSTS 1 200,000M* 200,000M

การตรวจสอบ 1 1M 1M

อื่นๆ 1 10,000M 10,000M

รวม 210,000M

Page 12: Gen 121 Report

ระยะเวลาในการดำเนินงาน

ระยะเวลาสำหรับดำเนินโครงการ MUSTS

*อ้างอิงจากคณะกรรมการงานก่อสร้างใต้ดินและอุโมงค์

ระยะเวลาในการบริหารน้ำในกรุงเทพมหานคร

ได้มอบหมายให้สำนักจัดการระบายน้ำเป็นฝ่ายจัดการเวลา โดยเบื้องต้นต้องการเสร็จภายใน 4 ปี

กิจกรรม ระยะเวลา(ปี) หมายเหตุ

ช่วงการประมูล 0.5 มกราคม-มิถุนายน พ.ศ. 2559

วางแผนและเตรียมการก่อสร้าง

1 กรกฏาคม พ.ศ.2559 – มิถุนายน พ.ศ. 2560

ช่วงดำเนินโครงการ 2* กรกฏาคม พ.ศ.2560 – มิถุนายน พ.ศ. 2562

ช่วงการตรวจสอบคุณภาพและทดลองใช้

0.5 กรกฏาคม – ธันวาคม พ.ศ. 2562

Page 13: Gen 121 Report

แผนงานปรับปรุงระบบระบายน้ำ

Page 14: Gen 121 Report
Page 15: Gen 121 Report

แผนเพิ่มประสิทธิภาพการป้องกันน้ำท่วมของกองบังคับน้ำ

Page 16: Gen 121 Report
Page 17: Gen 121 Report

Output/Outcome

1. ทำให้ระบบภายน้ำภายในกรุงเทพมหานครดีขึ้น

2. ช่วยเพิ่มความสามารถในการระบายน้ำของกรุงเทพมหานครและปริมณฑลเมื่อครั้งเกิดอุทกภัย

3. สามารถผลิตกระแสไฟฟ้าจากพลังงานน้ำได้จากเครื่องกำเนิดไฟฟ้าภายในอุโมงค์

4. สามารถใช้เป็นเส้นทางคมนาคมใต้ดินจากจังหวัดพระนครศรีอยุธยาถึงกรุงเทพมหานครและจังหวัดสมุทรปราการ

Page 18: Gen 121 Report
Page 19: Gen 121 Report
Page 20: Gen 121 Report
Page 21: Gen 121 Report
Page 22: Gen 121 Report