32
1 สุณีรัตน์ เอีÉยมละมัย คณะสัตวแพทยศาสตร์ ม .ขอนแก่น KVAC 2016: 25 มีนาคม 2559 How to Improve Productivity in Thai Dairy Farms เพิÉมประสิทธิภาพการผลิตในฟาร์มโคนมไทย: ทําอย่างไร ลดวันท้องว่างในโคนม และ ผลิตนมคุณภาพดี รศ.สพ.ญ.ดร.สุณีรัตน์ เอีÉยมละมัย คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

How to Improve Productivity in Thai Dairy Farms เพิม ... · 2016. 3. 31. · อย่างไรก็ตาม ... สืบพันธุ์ และต้องให้การจัดการรักษาแก้ไขให้เร็ว

  • Upload
    others

  • View
    0

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: How to Improve Productivity in Thai Dairy Farms เพิม ... · 2016. 3. 31. · อย่างไรก็ตาม ... สืบพันธุ์ และต้องให้การจัดการรักษาแก้ไขให้เร็ว

1

สุณีร ัตน์ เอี ยมละมัย คณะสัตวแพทยศาสตร์ ม.ขอนแก่น KVAC 2016: 25 มีนาคม 2559

How to Improve Productivity in Thai Dairy Farms

เพิมประสิทธิภาพการผลิตในฟาร์มโคนมไทย: ทําอย่างไร

ลดวันท้องว่างในโคนม

และ

ผลิตนมคุณภาพดี

รศ.สพ.ญ.ดร.สุณีร ัตน์ เอี ยมละมัย

คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

Page 2: How to Improve Productivity in Thai Dairy Farms เพิม ... · 2016. 3. 31. · อย่างไรก็ตาม ... สืบพันธุ์ และต้องให้การจัดการรักษาแก้ไขให้เร็ว

2

สุณีร ัตน์ เอี ยมละมัย คณะสัตวแพทยศาสตร์ ม.ขอนแก่น KVAC 2016: 25 มีนาคม 2559

ลดวันท้องว่างในโคนมเพิมกําไรให้ฟาร์ม

รศ.สพ.ญ.ดร.สุณีร ัตน์ เอี ยมละมัย

คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

เป้าหมายการผลิตในฟาร์มโคนม ทีสําคัญคือ ผลิตนํานมคุณภาพดี เซลล์โซ

มาติก ไม่เกิน 500,000 เซลล/์มล. มีเปอร์เซ็นตเ์นือนม (%Total solids) มากกว่า 12.0

เปอร์เซ็นต์ไขมัน (%Fat) มากกว่า 3.35 เปอรเ์ซ็นต์โปรตีน (Protein) มากกว่า 3.0

ตลอดเวลา และมีประสิทธิภาพทางการสืบพันธุ์ดี แม่โคผสมติดตั งท้องได้ภายใน 85

(100) ว ันหลังคลอด โคสาวคลอดลูกตัวแรกอายุไม่เกิน 27 เดือน

ด้านการสืบพันธุ ์หากทําให้โคผสมติดตั งท้องได้ภายใน 85 (100) ว ันหลังคลอด จะเกิด

ความคุ้มค่ามากทีสุดในการทําฟาร์ม แต่ในความเป็นจริงโคนมในประเทศไทยมีว ันท้องว่างยาว

มาก รายงานค่าเฉลียในพืนทีต่างๆ พบว่ามีว ันท้องว่างเฉลียประมาณ 140-200 ว ัน ขึนกับมีการ

จัดการดีเพียงใด ด้วยสาเหตุหลายแบบ เช่น แม่โคผอมมากหลังคลอด การเตรียมโคระยะก่อน

และหลังคลอดไม่เหมาะสมทั งอาหารและการดูแลสุขภาพ บางฟาร์มเจ้าของมีความเข้าใจไม่

ถูกต้อง จึงตั งใจไม่ผสมเร็วหลังคลอดด้วยกลัวผสมติดยาก หากท้องเร็วผลผลิตนํานมจะลดลง

การจัดการโคให้กลับมาเป็นสัดหลังคลอดได้เร็ว เป็นหัวใจสําคัญในการเพิม

ประสิทธิภาพการสืบพันธุ์ จะส่งผลให้เพิมการผลิตและลดต้นทุนได้ โดยในประทศไทยทีร้อนชืน

หากจัดการเวลาการได้ผสมพันธุไ์ด้เวลาเหมาะสมในระยะทีอากาศไม่ร้อนชืนมาก เช่นในช่วงฤดู

หนาวทีมีความเครียดจากความร้อนชืนตํา (THI < 75) จะมีโอกาสผสมติดได้สูง (50-60%)

อย่างไรก็ตาม การเตรียมโคระยะก่อนและหลังคลอดเพือให้มีความพร้อม มดลูกเข้าอูเ่ร็ว แม่โค

จะกลับมามีวงรอบการเป็นสัดได้เองภายใน 30-45 ว ัน หลังคลอด และจัดการให้ได้ร ับการผสม

ติดตั งท้องเร็วทีสุดหลังคลอด ด้วยเป้าหมายการผสมติดในโคนมหลังคลอด (Calving to

conception interval) ไม่ควรเกิน 85 หลังคลอด (โคทุกตัวในฝูง มีค่าเฉลียวันท้องว่าง

(Days open) ไม่เกิน 100 วัน) นอกจากนีโคสาวทุกตัวควรได้ร ับการผสมและให้ลูกตัวแรก

ภายใน 27 เดือน จะถือเป็นความคุ้มค่าในการจัดการฟาร์ม และไม่เสียโอกาสการได้ผลผลิตจาก

โคนม

การทีร ังไข่กลับมาทํางานช้าและแม่โคแสดงการเป็นสัดช้าหลังคลอด จะมีผลลดอัตรา

การผสมติดและการตั งท้อง มีผลทําให้ระยะห่างการตกลูก (Calving interval) ยาวขึน

(เป้าหมายการผลิตในโค คือได้ลูกปีละตัวหรือระยะห่างการตกลูก 365 วัน) โคทีมีป ั ญหา

ไม่แสดงการเป็นสัดภายใน 60 ว ันหลังคลอด มีโอกาสถูกคัดออกจากฝูงได้มากกว่าโคทีแสดง

การเป็นสัดในเวลากําหนด ดงันั นการทําให้โคมีการตกไข่แสดงการเป็นสัดหลังคลอดได้เร็ว จะ

Page 3: How to Improve Productivity in Thai Dairy Farms เพิม ... · 2016. 3. 31. · อย่างไรก็ตาม ... สืบพันธุ์ และต้องให้การจัดการรักษาแก้ไขให้เร็ว

3

สุณีร ัตน์ เอี ยมละมัย คณะสัตวแพทยศาสตร์ ม.ขอนแก่น KVAC 2016: 25 มีนาคม 2559

ช่วยลดความสูญเสียได้มาก การมีโคไม่แสดงการเป็นสัดหรือเป็นสัดเงียบหลังคลอด

(postpartum anoestrus) ในฝูง แสดงผลจากป ั ญหาไดห้ลายด้าน การเตรียมแม่โคระยะก่อน

คลอดและหลังคลอด โดยเฉพาะอาหารทใีหต้้องเพียงพอเหมาะสม และมกีารจัดการให้แม่โคมี

สุขภาพทดีี ไม่มีป ั ญหาสุขภาพในระยะคลอดและหลังคลอด การจัดการลดผลกระทบจากอากาศ

สิงแวดล้อมทีทําให้โคเครียด จะช่วยลดป ั ญหาท้องว่างยาว ดังนั นแม่โคทุกตัวทีไม่แสดงการเป็น

สัดหลังคลอด ต้องมีการตรวจสุขภาพและระบบสืบพันธุ์ และต้องให้การจัดการรักษาแก้ไขให้เร็ว

ทีสุด เพือใหก้ลับมามีความพร้อมในการผสมพันธุ์หลังคลอดเร็วทีสุด

รูปแสดง ระดับฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนตามวงรอบการเป็นสัดในโคหลังคลอดถึงผสมติดตั ง

ท้องและคลอดในท้องถัดไป โคปกติมีการตกไข่แสดงการเป็นสัดหลังคลอดใน 30 ว ัน และควร

ผสมให้ติดภายใน 85 ว ันหลังคลอดแม่โคตั งท้องประมาณ 280 ว ัน จะทําให้สามารถให้ลูกได้

ปีละตัว (One calf in one year)

ทีมา: Peters and Ball, 1995

Page 4: How to Improve Productivity in Thai Dairy Farms เพิม ... · 2016. 3. 31. · อย่างไรก็ตาม ... สืบพันธุ์ และต้องให้การจัดการรักษาแก้ไขให้เร็ว

4

สุณีร ัตน์ เอี ยมละมัย คณะสัตวแพทยศาสตร์ ม.ขอนแก่น KVAC 2016: 25 มีนาคม 2559

ปัจจัยทีมีผลกระทบต่อการไม่เป็นสัดหลังคลอด (Risk factors for a prolonged

postpartum anoestrus interval)

การไม่พบการเป็นสัดหลังคลอดในโค ส่วนใหญ่มาจากการทีไม่มีการตกไข่ด้วยการเจริญ

ของฟอลลิเคิลหรือไข่พัฒนาน้อยมาก (ขนาดฟอลลิเคิลน้อยกว่า 8 มม.) มักพบได้มากในแม่โคที

ได้ร ับอาหารไม่เพียงพอ คะแนนรูปร่าง (Body condition scoring) ทีลดลงอย่างมากหลังคลอด

(คะแนนรูปร่างก่อนคลอด 4.00/5.00 หลังคลอดลดน้อยกว่า 2.00/5.00) พบว่าระดับฮอร์โมนที

ทําให้ตกไข่ แอลเอช (LH) ตํามาก เนืองจากระดับเอสโตรเจนตําไม่เพียงพอในการกระตุ้นให้เกิด

การหลั งแอลเอชในระดับสูงพอทีจะทําให้เกิดการตกไข่ได้ ป ั จจัยทีมีผลต่อการไม่เป็นสัดและไม่

ตกไขห่ลังคลอด มีสาเหตุหลักมาจากการได้ร ับอาหารระยะก่อนและหลังคลอดมากทีสุด และมี

ป ั จจัยอืนๆ ทีมีส่วนร่วม ทําให้การเป็นสัดช้าหลังคลอดและผสมไม่ติด เช่น อิทธิพลฤดูกาล อายุ

โค การเคยให้ลูกมาหลายตัว การให้ผลผลิตนํานม และโรคทางระบบสืบพันธุ์

1. ผลของอาหารต่อการสืบพันธุ์ในโค (Influence of nutrition upon reproduction)

เป็นทีทราบดีว่าการจัดการอาหารแม่โคระยะก่อนและหลังคลอดมีความสําคัญ และมีผล

ต่อการทํางานของระบบสืบพันธุ์และสุขภาพโค ความสัมพันธ์ระหว่างอาหารต่อระบบสืบพันธุ์

เป็นเรืองทีมีความสําคัญมาก และเป็นเรืองทตี้องทําความเข้าใจและในหลายกรณีไม่สามารถ

อธิบายความสัมพันธ์ได้มากนกั เช่น ป ั ญหาการไม่เป็นสัดเนืองจากการไม่ตกไข่ (anovulatory

anoestrus) ทีเป็นทีทราบกันดีว่ามีความเกียวกับการขาดอาหารและขาดสารอาหาร (macro-

and micro-nutrients) นอกจากนีความบกพร่องของกลไกทางสรีรวิทยา ทีมีความสัมพันธ์

เกียวข้องกับขบวนการเมตาบอลิซึมของร่างกายและการทํางานของระบบสืบพันธุ์ ความสัมพันธ์

ของอาหารพลังงานและโปรตีนมีผลต่อการสืบพันธุ์ อัตราการตั งท้อง และป ั จจัยต่างๆ ทีมีผลทํา

ให้ความสมบูรณ์พันธุ์บกพร่อง เช่นภาวะทีมีไขมันในตับสูง (fatty liver syndrome) กล่าว

โดยรวมแล้วผลจากอาหารกระทบต่อการระบบสืบพันธุ์จ ัดเป็น 3 แบบคือ

1. ป ั ญหาทีเกียวข้องกับการทํางานของต่อมใต้สมองในการสร้างฮอร์โมน

2. ป ั ญหาทีเกียวข้องกับการทํางานของรังไข่

3. ป ั ญหาทีเกียวข้องกับการตกไข่ การปฏิสนธิ การเจริญเติบโตของตัวอ่อน

และการเจริญของลูกในท้อง

โดยป ั ญหาทั ง 3 จะส่งผลให้โคนมเกิดป ั ญหาการผสมไม่ติด (infertility) อันเป็นผล

เสียหายอย่างมากต่อผลผลิตโดยรวมของแม่โคในฟาร์ม

Page 5: How to Improve Productivity in Thai Dairy Farms เพิม ... · 2016. 3. 31. · อย่างไรก็ตาม ... สืบพันธุ์ และต้องให้การจัดการรักษาแก้ไขให้เร็ว

5

สุณีร ัตน์ เอี ยมละมัย คณะสัตวแพทยศาสตร์ ม.ขอนแก่น KVAC 2016: 25 มีนาคม 2559

ข้อควรคํานึงถึงเมือประเมินอาหารทีได้ร ับต่อความไม่สมบูรณ์พันธุ์ในโค (Investigation

of nutritional factors as a course of infertility)

เป็นการยากทีจะวินิจฉัยว่าป ั ญหาความสมบูรณ์พันธุ์มาจากป ั ญหาของอาหารด้วย เมือ

เกิดป ั ญหาขึนมักเกิดขึนหลังจากทีโคมีป ั ญหาการมีสภาวะอาหารไม่สมดุลมาแล้ว การตรวจ

อัตราการตั งท้อง ตรวจระดับโปรตีนจากนํานมถังรวมฟาร์มจะช่วยบ่งชีผลของการจัดการว่าเป็น

ผลจากอาหารได ้

การปรับปรุงเพิมคุณภาพของอาหารเป็นสิงทีไม่งา่ย ด้วยข้อจํากัดของการมีว ัตถุดิบ

อาหารในแต่ละฤดูกาล แต่ละพืนที แต่ละปีทีต่างกันไป เมือผสมอาหารตามสูตรอาหารทีปรับใน

แต่ละครั ง ในโคทีมีป ั ญหาความสมบูรณ์พันธุ์ทีเกิดจากภาวะอาหารไม่สมดุลหรือไม่เพียงพอ มัก

เกิดจากสาเหตุต่อไปน ี

1. ประเมินคุณค่าอาหารสูงกว่าคุณค่าจริงของอาหารทีได้ร ับ ทั งอาหารข้นและ

อาหารหยาบ

2. การประเมินการกินได้ของโคสูงกว่าทีโคกินได้จริง ขึนกับวิธีการจัดการ การให้

อาหารในโคทีอาจให้รายตัวไม่ได้

3. ให้สูตรอาหารทีมีส ัดส่วนอาหารข้นมากเกินไปทําให้ โคกินอาหารหยาบได้

น้อย ทําให้มีผลต่อการหมักของกระเพาะและมผีลต่อจุลินทรีย์ทีย่อยอาหาร เกิดภาวะกรดใน

กระเพาะส่งผลต่อการเกิดกีบอักเสบ

4. มีการให้อาหารข้นน้อยกว่าทีโคควรได้ ทั งการให้อาหารแบบรายตัวด้วยมือ

หรือการให้อาหารโดยเครืองให้อาหารอัตโนมัติ ทําให้โคได้ร ับโภชนะไม่เพียงพอ

ดังนั นจึงมีความจําเป็นต้องคํานวณ ความต้องการของอาหารในโคเพือการมีชีวิตอยู่และ

การให้ผลผลิตทีถูกต้อง ตลอดจนมีการให้แร่ธาตุก้อนเพือโคได้เลยีเองความต้องการ การวัด

นําหนักโคโดยใช้สายวัด และการให้คะแนนความสมบูรณ์ร่างกายโคเป็นประจํา จะช่วยในการ

ประเมินว่าโคได้ร ับอาหารเพียงพอและได้สมดุลดีหรือไม่

การวิเคราะห์ค่าชีวเคมีทางเมตาบอลิซึม (Metabolic profiles) เพือประเมินการ

ได้ร ับอาหาร

การตรวจค่าทางเคมใีนร่างกายโคทีแสดงถึงเมตาบอลิซึมในโค (metabotic profile

tests) เพือใช้ชีว ัดสภาวะทางการเปลียนแปลงเมตาบิลิซึมของโคในฝูง จะช่วยบ่งชีว่าอาหารที

ได้ร ับเหมาะสมเพียงใด โดยควรใช้ร่วมกับองค์ประกอบอืนๆ ไม่ควรใช้ผลการตรวจเลือดเพียง

ครั งเดียว มาบ่งชีสภาวะการใช้อาหารและสุขภาพในโคในระดับฝูงทีเกียวข้องกับความสมบูรณ์

พันธุ ์

ค่าชีวเคมทีางเมตาบอลิซึม ทีควรทําการตรวจเพือประเมินความสมดุลพลังงานใน

โคทีกําลังให้นม คือ การตรวจค่าทางเคมีในเลือด เช่น กลูโคส ยูเรีย (blood urea nitrogen;

Page 6: How to Improve Productivity in Thai Dairy Farms เพิม ... · 2016. 3. 31. · อย่างไรก็ตาม ... สืบพันธุ์ และต้องให้การจัดการรักษาแก้ไขให้เร็ว

6

สุณีร ัตน์ เอี ยมละมัย คณะสัตวแพทยศาสตร์ ม.ขอนแก่น KVAC 2016: 25 มีนาคม 2559

BUN) อัลบูมินต่อโกลบูลิน นีฟา (NEFA) เบต้าไฮดรอกซีบิวเทอเรท และ ไบล์เอซิด (bile acids)

เหล่านีใช้เป็นตัวชีว ัดได้

การมีระดับกลูโคสในเลือดตํา ประกอบกับการสูญเสียนําหนักตัวมากในช่วงทีผสม

พันธุ์ จะมีผลให้อัตราการตั งท้องตําลง มีรายงานว่าระดับกลูโคสทีตํากว่า 30 มิลลิกร ัมต่อ

เดซิลิตร มีความสัมพันธ์กับความสมบูรณ์พันธุ์ทีลดลง (ค่าปกติ 60-100 มิลลิกร ัมต่อเดซิลิตร)

ในการวัดสมดุลพลังงานโดยใชก้ารตรวจระดับนีฟา ใชใ้นการบ่งชีถึงการสลายไขมัน อย่างไรก็

ตามการตรวจค่าเบต้าไฮดรอกซีบิวเทอเรท ตรวจได้ง่ายกว่ากว่า นีฟา ทีต้องดูแลตัวอย่างทีเก็บ

ได้ก่อนนํามาวิเคราะห์อย่างระมัดระว ัง ซึงจะพบว่าเบต้าไฮดรอกซีบิวเทอเรทมีค่าสูงในโคหลัง

คลอดในระยะแรก (ค่าปกติไม่เกิน 1,200 ไมโครโมลต่อลิตร) หากมีระดับสูงกว่าค่าปกติแสดงถึง

การขาดพลังงานหรือสมดุลพลังงานเป็นลบ (Negative energy balance) ส่วนระดับยูเรียแสดง

ถึงการใช้อาหารโปรตีนโดยเฉพาะโปรตีนทีย่อยสลายได้ในกระเพาะหมัก (ระดับปกติ 10-25

มิลลิกร ัมต่อเดซิลิตร) ไม่ควรมีระดับสูงหรือตํากว่าระดับปกติ นอกจากนีมีรายงานวิจ ัยทีกล่าวว่า

การเปลียนแปลงของโปรตีนและไขมันในนํานม เป็นดัชนีทีใช้บ่งชีการเปลียนแปลงของอาหารที

มีผลกระทบต่อสมดุลพลังงานของแม่โคได ้ เช่น ค่าเปอร์เซนต์ไขมันนมต่อโปรตีนนมมากกว่า

1.25 แสดงถึงโคมีภาวะคีโตซิส หากค่าเปอร์เซ็นต์ไขมันนมต่อโปรตีนนมน้อยกว่า 1.00 แสดงว่า

โคมีภาวะกรดในกระเพาะ ดงันั นองค์ประกอบนํานมควรนํามาใช้ประกอบการประเมินการได้ร ับ

อาหาร และสุขภาพของแม่โคด้วย

ควรให้ความสําคัญและทําการประเมินให้คะแนนรูปร่าง (Body condition

scoring; BCS) เป็นประจํา ด้วยมีความสัมผัสต่อความสมบูรณ์พันธุ์ การผสมติด และนํามา

ช่วยประกอบการจัดการเพิมความสมบรูณ์พันธุ์และลดความเสียงต่อโรคต่างๆ ทีเกิดจากความ

ไม่สมดุลของอาหารในฟาร์มได้ ในโคแต่ละตัวคะแนนความสมบูรณ์ของร่างกายจะมีการ

เปลียนแปลงตามระยะต่างๆ ของระยะการให้นํานม การรอคลอด อายุการท้อง เกณฑ์ปกติทีควร

เป็นคือ

ในโครีดนม

โคระยะพักรีดนมรอคลอด 3.50 - 3.75

โคหลังคลอด - ให้นม 60 ว ัน 2.50 - 3.25

โคให้นม 60-120 ว ันหลังคลอด 2.50 - 3.00

โคให้นม 121-210 ว ัน 2.75 - 3.25

โคให้นม > 210 ว ัน 3.00 - 3.50

ในโคสาว

อายุ 6 เดือน 2.75 – 3.00

อายุผสมพร้อมพันธุ ์ 2.25 – 3.00

Page 7: How to Improve Productivity in Thai Dairy Farms เพิม ... · 2016. 3. 31. · อย่างไรก็ตาม ... สืบพันธุ์ และต้องให้การจัดการรักษาแก้ไขให้เร็ว

7

สุณีร ัตน์ เอี ยมละมัย คณะสัตวแพทยศาสตร์ ม.ขอนแก่น KVAC 2016: 25 มีนาคม 2559

ระยะก่อนคลอด 3.25 – 3.75

(ระบบให้คะแนนรูปร่าง 1-5 ทีมา: Brand et al., 1997)

2. อิทธิพลของฤดูกาล (Influence of season)

การทํางานของระบบสืบพันธุ์ลดลงในภาวะอากาศร้อนชืนสูง ในช่วงอากาศเย็นโคจะ

ผสมติดได้สูงกว่าช่วงอากาศร้อน ช่วงทีโคอยู่ในภาวะเครียดจากความร้อนชืนสูง (THI สูงกว่า

80) ประสิทธิภาพทางการสืบพันธุ์จะลดลงมาก ในประเทศไทยมีรายงานผลของภาวะเครียดจาก

ความร้อนชืนในหลายพืนที ให้ผลศึกษาคล้ายกัน เช่น อัตราการผสมติดตั งท้องในฤดูร้อนชืน

ประมาณร้อยละ 20-30 ส่วนในฤดูหนาว อัตราการผสมติดตั งท้องประมาณร้อยละ 45-60 ดงันั น

ควรจัดการฟาร์มให้โคอยู่สบาย มีร่มเงาเพียงพอ และลดความร้อน เช่น พัดลม เพิมนําฝอย ช่วย

การระบายความร้อน (โคจะอยู่สบายใน THI น้อยกว่า 75)

3. ปัญหาทางระบบสืบพันธุ์ในระยะคลอดมีผลต่อการเป็นสัดหลังคลอด (Influence

of periparturient diseases)

หากโคมีป ั ญหา คลอดยาก มดลูกอักเสบ รกค้าง หลังคลอด จะทําให้กระทบต่อการ

กลับมาเป็นสัดและผสมติดหลังคลอด รวมถึงหากแม่โคมีป ั ญหา ไข้นํานม เต้านมอักเสบ ขาเจ็บ

คีโตซิส ในระยะเดือนแรกหลังคลอด ก็มีผลต่อระยะท้องว่างหลังคลอดได้มาก ดังนั นต้องควบคุม

ป้ องกันไม่ให้แม่โคมีป ั ญหาเหล่านีในระยะคลอดและหลังคลอด

นอกจากนี อายุโคทีมากขึน และโคทีให้ผลผลิตสูง มีผลให้การกลับสัดหลังคลอดช้าลง

อย่างไรก็ตามหากพยายามจัดการอาหารให้เพียงพอเหมาะสมในระยะก่อนและหลังคลอด จะทํา

ให้โคกลับเป็นสัดได้เร็วขึน

การลดระยะการกลับมาเป็นสัดหลังคลอด

การจัดการให้แม่โคกลับมาเป็นสัดผสมติดได้เร็วหลังคลอด สามารถทําได้โดย การ

จัดการอาหารระยะก่อนและหลังคลอดใหเ้พียงพอเหมาะสม การจัดการฟาร์มและสิงแวดล้อมให้

โคอยู่สบาย ไมไ่ด้ร ับกระทบกับความเครียดจากความร้อนชนืมาก ควบคุมป้ องกันโรคและป ั ญหา

ทีจะพบในระยะคลอดและหลังคลอด (ระยะ 30 ว ันก่อนคลอด ถงึระยะ 70 ว ันหลังคลอด) ดังทีได้

กล่าวมาแล้ว นอกจากนีแล้วการใช้ฮอร์โมน เพือกระตุ้นให้ร ังไข่กลับมาทํางานหลังคลอด เกิด

การไข่ตก รวมถึงช่วยให้คอร์ป ั สลูเทียมทํางานได้ดี สามารถช่วยลดวันท้องว่างในโคได้ มี

วิธีการใช้ฮอร์โมนรักษาในโคทีไม่เป็นสัดหลังคลอดหลายแบบ ในประเทศไทยมีการใช้

ฮอร์โมนมากพอควร แต่พบว่ามีการใช้ฮอร์โมน โดยไม่เข้าใจการทํางานของฮอร์โมน ไม่

Page 8: How to Improve Productivity in Thai Dairy Farms เพิม ... · 2016. 3. 31. · อย่างไรก็ตาม ... สืบพันธุ์ และต้องให้การจัดการรักษาแก้ไขให้เร็ว

8

สุณีร ัตน์ เอี ยมละมัย คณะสัตวแพทยศาสตร์ ม.ขอนแก่น KVAC 2016: 25 มีนาคม 2559

มีการล้วงตรวจระบบสืบพันธุ์โคให้ทราบปัญหาจริง ใช้ฮอร์โมนในแม่โคทีผอมมาก

คะแนนรูปร่างทีตํากว่า 2.50/5.00 จะตอบสนองต่อฮอร์โมนได้ไม่ดี นอกจากนีด้วย

ฮอร์โมนหาได้ง่ายซือขายทั วไปไม่ต้องผ่านข้อแนะนําการใช้จากนายสัตวแพทย์ จึงถูกใช้

แก้ปัญหาไม่ตรงสาเหตุ ทําให้การใช้ฮอร์โมนไม่ได้ผลตามทีควร ในการช่วยให้โคกลับมา

เป็นสัดหลังคลอดและผสมติดได้

การควบคมุการเป็นสัด (Control of Oestrous Cycle)

ควรทําความเข้าใจการเป็นสัดในโคและเข้าใจการทํางานของฮอร์โมนการสืบพันธุ ์โคที

มีวงรอบการเป็นสัดได้ตลอด (polyoestrus or polycyclic animals) ในสัตว์ทีย ังเล็กจะไม่แสดง

ลักษณะการยอมรับการผสมพันธุ์ ต่อมาเมือระบบสืบพันธุ์เริมทํางาน มีพฤติกรรมการแสดงออก

ทางเพศและยอมรับการผสมพันธุ์เรียกว่าว ัยเจริญพันธุ์ (puberty) ในโคอายุทีถึงว ัยเจริญพันธุ์

ประมาณ 7-18 เดือน (โดยเฉลียประมาณ 10 เดือน) ขึนกับการเลียงดู ความสมบูรณ์ร่างกาย

การได้ร ับอาหารทีเพียงพอเหมาสม

ระยะก่อนการเป็นสัด (Pro-oesturs) คือว ันที 20 ถึงว ันเป็นสัด ระยะเป็นสัด (Oestrus) คือ

นับเป็นวันที 1 ของวงรอบการเป็นสัด โดยทั วไปโคจะแสดงการเป็นสัดให้เห็นนาน 2-30 ชม.

(เฉลีย 15-18 ชม.) โดยอิทธิพลของฮอร์โมนเอสโตรเจนทีสร้างจากฟอลลิเคิลทีเจริญเติบโตในรัง

ไข่ในช่วงเป็นสัด ระยะหลังการเป็นสัด (Metoestrus) คือ ว ันที 1-3 ของวงรอบการเป็นสัด

เป็นระยะทีผ่านการเป็นสัดไปแล้ว ไข่ตกออกจากฟอลลิเคิลแล้ว ระยะไม่เป็นสัดในวงรอบ

(Dioestrus) คือว ันที 4-19 ของวงรอบการเป็นสัด เป็นระยะทีมีคอร์ป ั สลูเทียมเจริญ มดลูก

พร้อมรับการตั งท้องมีระดับโปรเจสเตอโรน (progesterone) สูง คอมดลูกปิดมีเมือกเหนียวปิด

อยู่ เยือเมือกช่องคลอดค่อนข้างซีด

ทําความเข้าใจการทํางานของฮอร์โมนของระบบสืบพันธุ์ ให้ดี ก่อนการเลือกใช้ฮอร์โมน

Page 9: How to Improve Productivity in Thai Dairy Farms เพิม ... · 2016. 3. 31. · อย่างไรก็ตาม ... สืบพันธุ์ และต้องให้การจัดการรักษาแก้ไขให้เร็ว

9

สุณีร ัตน์ เอี ยมละมัย คณะสัตวแพทยศาสตร์ ม.ขอนแก่น KVAC 2016: 25 มีนาคม 2559

รูปแสดง การทํางานสัมพันธ์กันของฮอร์โมนในเพศเมีย ในส่วนสมองไฮโปธาลามัส พิทูอิตารี

และรังไข่ ลูกศรเส้นทึบแสดงการกระตุ้นการทํางาน ลูกศรเส้นปะแสดงการยับยั ง

การทํางาน

ทีมา: Hafez and Hafez, 2000

Page 10: How to Improve Productivity in Thai Dairy Farms เพิม ... · 2016. 3. 31. · อย่างไรก็ตาม ... สืบพันธุ์ และต้องให้การจัดการรักษาแก้ไขให้เร็ว

10

สุณีร ัตน์ เอี ยมละมัย คณะสัตวแพทยศาสตร์ ม.ขอนแก่น KVAC 2016: 25 มีนาคม 2559

ตารางที 1 โครงสร้างและหน้าทีของฮอร์โมนทางการสืบพันธุ์ทีสร้างจากต่อมพิทูอิตารี

ฮอร์โมน โครงสร้าง / แหล่งทีสร้าง หน้าทีหลัก

เอฟเอสเอช(FSH; follicle

stimulating hormone)

ไกลโคโปรตีน / ต่อมพิทูอิตา

รีส่วนหน้า (gonadotropes)

กระตุ้นการเจริญของฟอลลิเคิลในเพศ

เมีย และการสร้างอสุจิในเพศผู้

แอลเอช (LH; luteinizing

hormone)

ไกลโคโปรตีน / ต่อมพิทูอิตา

รีส่วนหน้า (gonadotropes)

กระตุ้นการตกไข่และการสร้างเซลล์

ลูเทียลในฟอลลิเคิลให้เจริญเป็นคอร์

ป ั สลูเทียมในเพศเมีย กระตุ้นการสร้าง

ฮอร์โมนเทสโทสเตอโรนในเพศผู้

โปรแลกติน (prolactin) โปรตีน / ต่อมพิทูอิตารีส่วน

หน้า (mammatropes)

กระตุ้นการสร้างนํานม และพฤติกรรม

การเป็นแม่

ออกซิโตซิน (oxytocin) โปรตีน / สร้างจากไฮโปธา

ลามัส เก็บไว้ทีต่อมพิทูอิตารี

ส่วนหลัง

กระตุ้นการบีบตัวของมดลูกทีท้องใน

ระยะคลอดและกระตุ้นการหลั งนํานม

ทีมา: Hafez and Hafez, 2000

ตารางที 2 โครงสร้างและหน้าทีของฮอร์โมนทีสร้างจากอวัยวะสืบพันธุ์

ฮอร์โมน โครงสร้าง / แหล่งทีมา หน้าทีหลัก

เอสโตรเจน สเตียรอยด์ 18 คาร์บอน /

หลั งจากเซลล์ทีก้าชั นใน

ของฟอลลิเคิลในรังไข่

ทําให้แสดงพฤติกรรมทางเพศ มี

ล ักษณะของเพศเมีย และกระตุ้นการ

เจริญของร่างกาย

โปรเจสเตอโรน สเตียรอยด์ 21 คาร์บอน /

หลั งจากคอร์ป ั สลูเทียมใน

รังไข ่

ทํางานร่วมกับเอสโตรเจน ในการ

แสดงพฤติกรรมการเป็นสัด เตรียม

ระบบสืบพันธุ์รองรับการตั งท้อง

เทสโทสเตอโรน สเตียรอยด์ 19 คาร์บอน /

หลั งจากเซลล์เลดิกใน

อัณฑะ

การแสดงพฤติกรรมทางเพศ

ขบวนการผลิตอสุจิ การมีล ักษณะเพศ

ผู้ การเจริญเติบโตของร่างกาย การ

พัฒนาของต่อมสร้างนําเลียงอสุจิ

รีลาซิน โปลีเปปไทด์ มีสองซับยู

นิตคืออัลฟาและเบต้า /

หลั งจากคอร์ป ั สลูเทียม

การคลายตัวของคอมดลูกในระยะใกล้

คลอด

Page 11: How to Improve Productivity in Thai Dairy Farms เพิม ... · 2016. 3. 31. · อย่างไรก็ตาม ... สืบพันธุ์ และต้องให้การจัดการรักษาแก้ไขให้เร็ว

11

สุณีร ัตน์ เอี ยมละมัย คณะสัตวแพทยศาสตร์ ม.ขอนแก่น KVAC 2016: 25 มีนาคม 2559

ตารางที 2 โครงสร้างและหน้าทีของฮอร์โมนทีสร้างจากอวัยวะสืบพันธุ์ (ต่อ)

ฮอร์โมน โครงสร้าง / แหล่งทีมา หน้าทีหลัก

โปรสตาแกลนดินเอฟทูอัลฟา กรดไขมันไม่อิมตัวมี 20

คาร์บอน / หลั งจากเซลล์

ในร่างกายเกือบทุกส่วน

และมดลูก

การบีบตัวของมดลูก ช่วยการเดินทาง

ของอสจุิในระบบสืบพันธุ์เพศเมีย และ

การบีบตัวของมดลูกในขณะคลอด ทํา

ให้เกิดการสลายคอร์ป ั สลูเทียม

แอคติวิน โปรตีน / พบในของเหลว

ในฟอลลิเคิลในเพศเมีย

และพบในของเหลวในเร

เตเทสทีสในเพศผู ้

กระตุ้นการหลั งฮอร์โมนเอฟเอสเอช

อินฮิบิน โปรตีน / พบในเซลล์แก

รนนูโลซาในเพศเมีย และ

ในเซลล์เซอตอไลในเพศผู้

ย ับย ั งการหลั งฮอร์โมนเอฟเอสเอช

ฟอลลิสเตติน โปรตีน / พบในของเหลว

ในฟอลลิเคิลในเพศเมีย

ปรับเปลียนการหลั งของฮอร์โมนเอฟ

เอสเอช

ทีมา: Hafez and Hafez, 2000

รูปแสดง ระดับฮอร์โมนเอฟเอสเอช แอลเอช เอสโตรเจน และ โปรเจสเตอโรนในวงรอบการ

เป็นสัดในโค

ทีมา: Hoard's Dairyman, 1990

Page 12: How to Improve Productivity in Thai Dairy Farms เพิม ... · 2016. 3. 31. · อย่างไรก็ตาม ... สืบพันธุ์ และต้องให้การจัดการรักษาแก้ไขให้เร็ว

12

สุณีร ัตน์ เอี ยมละมัย คณะสัตวแพทยศาสตร์ ม.ขอนแก่น KVAC 2016: 25 มีนาคม 2559

ความพร้อมผสมพันธุ์ หลังคลอด

เวลาผสมติดสูงขึน

วันหลังคลอด

ความพร้อมระบบสืบพันธุ์

รูปแสดง ประสิทธิภาพของการสืบพันธุ์ และการกลับเข้าสู่ภาวะปกติของมดลูกในแม่โค

หลังคลอด ประมาณ 45 ว ันหลังคลอดพร้อมผสมพันธุ์ได้

ทีมา: Hoard's Dairyman, 1990

การควบคุมวงรอบการเป็นสัด หรือการควบคุมการตกไข ่ หรือการเหนียวนําการเป็นสัด

คือ การทําให้โคหนึงตัวหรือหลายๆ ตัว แสดงการเป็นสัดในเวลาทีกําหนดไว้หรือในเวลาที

ต้องการ เพือให้สะดวกในการจัดการการผสมพันธุ์ โดยเฉพาะเมือใช้การผสมเทียมในการ

ขยายพันธุ์ในฟาร์มโดยเฉพาะฟารม์ขนาดใหญ่ หรือขนาดกลางทีต้องการให้โคเป็นสัดในเวลา

ใกล้เคียงกัน เพือให้สะดวกในการผสมเทียมในเวลาใกล้เคียงกัน สามารถวางแผนจัดการดูแล

การคลอด การเตรียมอาหารแม่โค และจัดการดูแลลูกโคทีคลอดในเวลาใกล้เคียงกัน ทําให้การ

ควบคุมวงรอบการเป็นสัดเป็นทางเลือกในการจัดการฟาร์ม เพือเพิมประสิทธิภาพการผลิตที

ให้ผลชัดเจน อย่างไรก็ตามในประเทศไทยฟาร์มโคนมมีขนาดกลางเป็นส่วนใหญ่ การใช้

ฮอร์โมนจะเป็นการร ักษาหรือแก้ปัญหารายตัวโค มากกว่าการเหนียวนําให้เป็นสัดพร้อม

กันหลายตัว

ประโยชน์ของการควบคุมวงรอบการเป็นสัดหรือการเหนียวนําการเป็นสดัในโคมีดังนีคือ

1. จัดกลุ่มแม่โคทีจะเป็นสัดไว้ด้วยกันในวันเวลาทีคาดหมายไว้ เพือทําให้การผสม

เทียม เพือการถ่ายฝากคัพภะ (embryo transfer) หรือช่วยในการเตรียมสัตว์เพือใช้ในงาน

ทดลองต่างๆ ทําได้สะดวกขึน

Page 13: How to Improve Productivity in Thai Dairy Farms เพิม ... · 2016. 3. 31. · อย่างไรก็ตาม ... สืบพันธุ์ และต้องให้การจัดการรักษาแก้ไขให้เร็ว

13

สุณีร ัตน์ เอี ยมละมัย คณะสัตวแพทยศาสตร์ ม.ขอนแก่น KVAC 2016: 25 มีนาคม 2559

2. ลดแรงงานและเวลาทีต้องใช้ในการตรวจการเป็นสัดตลอดเวลาในทุกว ัน ทําให้

ช่วงเวลาทีต้องใจใส่ต่อการตรวจการเป็นสัดและทําการผสมเทียมในฝูง มีช่วงเวลาทีแน่นอนขึน

และแคบขึน

3. สามารถปรับจัดรอบการเป็นสัดเพือให้โคผสมติดได้เร็วขึนในช่วงฤดูผสมหรือใน

การผลิตโคสาวท้องเพือการส่งขายโคจํานวนมาก

4. ช่วยให้การผสมเทียมทําได้สะดวก

5. ลดความผิดพลาดในการตรวจการเป็นสัดโดยคนเลียง

6. เหมาะในการจัดการฟาร์มขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ และฟาร์มทีมีการจัดการใน

โคฝูงแบบเลียงในแปลงหญ้า เช่น โคเนือ

อย่างไรก็ตามรายงานการใช้ฮอร์โมนเพือควบคุมวงจรการเป็นสัดในโคมีหลายแบบ แต่

ละโปรแกรมจะให้ผลสําเร็จต่างกันไปตามสถานการณ์ การจัดการฟาร์ม และการเลียงดูโคในแต่

ละท้องที ในประเทศไทยมักใช้ฮอร์โมน เพือการเหนียวนําให้โคเป็นสัดเพือทําการผสม

เทียม และใช้ในการแก้ปัญหารายตัวโค ในกรณีทีโคไม่แสดงการเป็นสัด หรือโคทีผสม

หลายครั งไม่ติด ป ั จจัยสําคัญทีทําให้โปรแกรมการควบคุมวงจรการเป็นสัดโดยใช้ฮอร์โมนไม่

ประสบผลสําเร็จ คือสภาพความสมบูรณ์ของแม่โคไม่ดีพอ การจัดการด้านอาหารในแม่โคไม่

เพียงพอ การทีมีเวลาช่วงพักหลังคลอดสั นไป การตรวจการเป็นสัดไม่แม่นยํา การผสมเทียมใน

เวลาไม่เหมาะสม ภาวะเครียดจากความร้อนชืน มีโรคทางการสืบพันธุ์แอบแฝง เหล่านีจะส่งผล

ใหก้ารตอบสนองต่อการเหนียวนําการเป็นสัดไม่ได้ผลดี ดังนั นก่อนทีจะเริมใช้โปรแกรมฮอร์โมน

ใดๆ เพือใช้ควบคุมวงจรการเป็นสัดจะต้องพิจารณาความพร้อมในแต่ละฝูงโค 3 ข้อคือ

1. สภาพการจัดการฝูงโคทั วไปดี โคถึงว ัยเจริญพันธุ์มีนําหนักอัตราการ

เจริญเติบโตและสุขภาพดี ในแม่โคหลงัคลอดแล้ว 45-60 ว ันจึงให้เริมใช้ฮอร์โมนมาช่วยจัด

วงรอบการเป็นสัด

2. สภาพการจัดการด้านอาหารเพียงพอตามความต้องการของแม่โค ในระยะ

ต่างๆ ของระยะการรีดนม ทั งส ัดส่วนระดับโปรตีน พลังงาน วิตามิน และแร่ธาตุทีสําคัญ

3. ต้องมีระบบการบันทึกโครายตัวในฟาร์มทีดี

ทีสําคัญทีสดุคือ ผู้นําฮอร์โมนมาใช้จะต้องอธิบายให้เจ้าของโคเข้าใจว่าฟาร์มจะต้องมี

ความพร้อมในการรองรับการจัดการฝูง โดยเฉพาะการจัดการการผสมเทียมในฟาร์ม เพือทําให้

การเหนียวนําการเป็นสัดได้ผลดีทียอมรับได้ ด้วยฮอร์โมนทีใช้มีราคาค่อนข้างสูง การเหนียวนํา

ให้เป็นสัดนีจะไม่ได้ช่วยแก้ป ั ญหาการเลียงดูในสภาพอาหารไม่เพียงพอ โคในฝูงมีการติดเชือ

โรคทางการสืบพันธุ์ทีส่งผลต่อความสมบูรณ์พันธุ์ คุณภาพนําเชือแช่แข็งพ่อโคทีใช้ผสมมี

Page 14: How to Improve Productivity in Thai Dairy Farms เพิม ... · 2016. 3. 31. · อย่างไรก็ตาม ... สืบพันธุ์ และต้องให้การจัดการรักษาแก้ไขให้เร็ว

14

สุณีร ัตน์ เอี ยมละมัย คณะสัตวแพทยศาสตร์ ม.ขอนแก่น KVAC 2016: 25 มีนาคม 2559

คุณภาพตํา เทคนิคการผสมเทียมทีไม่ถูกต้องและไม่สะอาด การไม่มีกําลังคนทําการตรวจสัด

การขาดคอกหรือซองเพือการบงัคับสัตว์หรือแยกฝูงโค การไม่มีระบบบันทึกข้อมูลโคทีดีใน

ฟาร์มหรือการให้หมายเลขโคทีไม่มีระบบแน่นอนยากต่อการติดตามโคแต่ละตัวในฝูง สิงเหล่านี

จะทําให้ผลการใช้ฮอร์โมนมาควบคุมวงรอบการเป็นสัดไม่ได้ผลเป็นทีน่าพอใจ หรือไม่

คุ ้มกับการลงทุน

หลักการและวิธีการควบคุมวงรอบการเป็นสัด

การควบคุมวงรอบการเป็นสัด ขึนกับการจัดการฮอร์โมนทีมีการเปลียนแปลงในวงรอบ

การเป็นสัดปกติ เช่นการควบคุมการเจริญของฟอลลิเคิลทีจะตกไข่ในโคทีมีวงรอบการเป็นสัด

โดยมีขบวนการหลักคือ ขบวนการสลายคอร์ป ั สลูเทียมหรือขบวนการลดการหลั งของฮอร์โมนโป

รเจสเตอโรน ซึงในธรรมชาติขบวนการนีจะเกิดขึนในวันที 17 และ 18 ของวงรอบการเป็นสัด

ดังนั นการทําให้ระดับของโปรเจสเตอโรนลดลง สามารถทําได้โดยการจัดการจากภายนอกตัวโค

ได้สองทางคือ

1. การเหนียวนําให้เกิดการสลายคอร์ป ั สลูเทียม โดยการให้สารทีสลายเซลล์

ลูเทียลหรือคอร์ป ั สลูเทียม เช่น สารโปรสตาแกลนดินเอฟทูอัลฟา (PGF2)

2. การเลียนแบบการทํางานของคอร์ป ั สลูเทียม โดยการให้โปรเจสเตอโรน

(Progentagens) ติดต่อกันหลายวันแล้วหยุดให้

1. การควบคุมวงรอบการเป็นสัดโดยการสลายคอร์ปัสลูเทียม (Induction of

luteolysis)

สารทีมีสามารถสลายเซลล์ลูเทียลในคอร์ป ั สลูเทียมได้คือ โปรสตาแกลนดินเอฟทูอัลฟา

ทีมีท ั งแบบสกัดจากธรรมชาติและแบบสังเคราะห์ (exogenous PGF2 or its analogues) โดย

การฉีดให้ในระยะกลางของวงรอบการเป็นสัด (mid-luteal phase) มีผลทําให้เกิดการสลายของ

คอร์ป ั สลูเทียม แล้วส่งผลให้ระดับฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนลดลงอย่างรวดเร็ว ภายใน 24-48 ชม.

(เฉลีย 30 ชม.) หลังการให ้ และมีการเพิมขึนของระดับฮอร์โมนโกนาโดโทรฟิน (FSH) และ

เอสโตรเจน (oestradiol -17) ต่อมามีผลให้ระดับฮอร์โมนแอลเอชสูงขึนในระดับก่อนการตกไข่

และเกิดการตกไข่ตามมา

Page 15: How to Improve Productivity in Thai Dairy Farms เพิม ... · 2016. 3. 31. · อย่างไรก็ตาม ... สืบพันธุ์ และต้องให้การจัดการรักษาแก้ไขให้เร็ว

15

สุณีร ัตน์ เอี ยมละมัย คณะสัตวแพทยศาสตร์ ม.ขอนแก่น KVAC 2016: 25 มีนาคม 2559

การใช้ฮอร์โมนโปรสตาแกลนดินเอฟทอูัลฟา (PGF2)

นับแต่มีการพบคุณสมบัติในการสลายคอร์ป ั สลูเทียมของโปรสตาแกลนดินเอฟทูอัลฟา

สารตัวนีถูกนํามาใช้อย่างแพร่หลายในการช่วยการจัดการฝูงโคเนือ โคนม ทั งโคสาวและแม่โค

สารกลุ่มโปรสตาแกลนดินเอฟทูอัลฟา จะใช้ได้ผลดีในช่วงทีโคมีคอร์ป ั สลูเทียมทีอยู่ในอายุ

เหมาะสมทีตอบสนองต่อโปรสตาแกลนดินเอฟทูอัลฟา (ช่วงว ันที 5-17 ของรอบการเป็นสัด

ว ันที 8-15 อาจดีกว่าด้วยมั นใจว่าคอร์ป ั สลูเทียมเจริญสมบูรณ์พร้อมต่อการสลายด้วยสาร

PGF2) และจะมีผลให้ระดับโปรเจสเตอโรนลดตําลง เกิดการเป็นสัดและตกไข่ตามมาใน 3-6

ว ันหลังได้ร ับโปรสตาแกลนดินเอฟทูอัลฟา

ผลิตภัณฑ์โปรสตาแกลนดินเอฟทูอัลฟา

ผลิตภัณฑ์สารโปรสตาแกรนดินทีใช้ในป ั จจุบัน มีหลายตัวผลิตจากหลายบริษัท เช่น

โปรสตาแกลนดินจากธรรมชาติ เช่น

Lutalyse (Dinoprost Tromethamine) ขนาดทีใช้ 25 มิลลิกร ัมต่อตัว (5

มิลลิลิตร) ฉีดเข้ากล้ามเนือ

โปรสตาแกลนดินสังเคราะห์ (synthetic prostaglandin analogue) เช่น

กลุ่ม Cloprostenol Sodium เช่น Estrumate ขนาดทีใช้ 0.5 มิลลิกร ัมต่อตัว

(2 มิลลิลิตร) ฉีดเข้ากล้ามเนือ

รูปแสดง ระดับของฮอร์โมนโปรสตาแกลนดินเอฟทูอัลฟาทีหลั งจากมดลูกโคสาว ระยะปลาย

ของวงรอบการเป็นสัดมีระดับและความถีสูง ในขณะทีระดับฮอร์โมนโปรเจสเตอ

โรนลดตําลงทันท ี

ทีมา: Kindahl et al., 1976

Page 16: How to Improve Productivity in Thai Dairy Farms เพิม ... · 2016. 3. 31. · อย่างไรก็ตาม ... สืบพันธุ์ และต้องให้การจัดการรักษาแก้ไขให้เร็ว

16

สุณีร ัตน์ เอี ยมละมัย คณะสัตวแพทยศาสตร์ ม.ขอนแก่น KVAC 2016: 25 มีนาคม 2559

2. การควบคุมวงรอบการเป็นสัดโดยการใช้ฮอร์โมนโปรเจสเตอโรน (Use of

progestagens)

วิธีการทีสองในการควบคุมวงรอบการเป็นสัดในโคคือ การเลียนแบบการทํางานของคอร์

ป ั สลูเทียมโดยการให้โปรเจสเตอโรนจากภายนอก ซึงในธรรมชาติระดับโปรเจสเตอโรนทีสูงจะ

กดการหลั งฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองและทําให้ฟอลลิเคิลไม่เจริญจนถึงตกไข่ได้ เมือหยุดการให้

ฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนจะมีการหลั งฮอร์โมนเอฟเอสเอชจากต่อมใต้สมอง มีการเจริญเต็มทีของ

ฟอลลิเคิลมีการหลั งของฮอร์โมนแอลเอชในระดับสูงและเกิดการตกไข่ตามมา เมือ 30 ปีก่อนเริม

มีการนําฮอร์โมนโปรเจสเตอโรน หรือสารสังเคราะห์โปรเจสเตอโรนมาใช้เพือควบคุมการเป็นสัด

เช่น CAP, MAP, MGA โดยการให้กินในช่วงทียาวมาก 14 ถึง 20 หรือถึง 25 ว ันติดต่อกัน

ผลตอบสนองการเป็นสัดไม่ดีนัก อัตราการผสมติดตั งท้องตํามาก อาจเป็นผลมาจากการกําหนด

ขนาดยาในอาหารทีไม่แน่นอนและทําได้ลําบาก การดูดซึมทางระบบอาหารสู่กระแสเลือดสู่

อว ัยวะเป้ าหมายไม่ดีพอ รวมทั งผลตกค้างในนํานมเป็นสิงทีไม่ต้องการ การให้โดยการฉีดต้อง

ทําบ่อย ๆ และติดต่อกันนาน อัตราการดูดซึมไม่แน่นอน ทําให้มีการพัฒนารูปแบบการใช้โป

รเจสเตอโรนเพือใช้เหนียวนําการเป็นสัดให้ดีขึน โดยจะมีการให้เอสโตรเจนร่วมด้วยเพือช่วยใน

การสลายคอร์ป ั สลูเทียมทีมีอยู่ในรังไข่

ในป ั จจุบันมีใช้หลายรูปแบบ เช่น แบบเป็นเกลียวหรือเป็นห่วงสอดในช่องคลอดโค

(PRID และ CIDR) และแบบเป็นแท่งฝ ั งใต้ผิวหนังบริเวณหลังใบหู (Norgestomet เช่น

Synchomate-B; SMB และ Crestar) โดยมีหลักการคือ แท่งหรือเกลียวนีมีฮอร์โมนโปรเจส

เตอโรนอยู ่ จะมีการหลั งโปรเจสเตอโรนออกมาสมําเสมอในระดับสูงตลอดเวลาทีฝ ั งหรืดสอดอยู่

ในโค โดยจะทําหน้าทีคล้าย “คอร์ป ั สลูเทียมเทียม” ด้วยระดับโปรเจสเตอโรนทีสูงตลอดเวลานี

จะมีผลไปห้ามการหลั งของฮอร์โมนแอลเอชมีผลทําให้ไม่มีการตกไข่และยับยั งการเจริญเติบโต

ของฟอลลิเคิล ส่วนเอสโตรเจนทฉีีดให้ในวันทีใส่แท่งโปรเจสเตอโรนเพือทําให้คอร์ป ั สลูเทียมจริง

ทีมีอยู่ในรังไข่ฝ ่ อไป เมือถอดเอาแท่งโปรเจสเตอโรนนีออก ต่อมใต้สมองส่วนหน้าจะหลั ง

ฮอร์โมนทีถูกย ับยั งเมือมีโปรเจสเตอโรนฝ ั งอยู่ จะทําให้โคกลับมาเป็นสัดใน 24-36 ชม. หลังการ

ถอด พบว่าการใช้วิธีนมีีผลให้อัตราการเหนียวนําให้เป็นสัดพร้อมกันสูงและอัตราการผสมติดดี

เป็นทีพอใจ มีการทดลองระยะเวลาทีให้ฮอร์โมนโปรเจสเตอโรน พบว่าการให้ในระยะยาว

(18-21 วัน) ให้ผลในการตั งท้องทีตํา ส่วนการให้ในระยะเวลาทีสั น (7-12 วัน) ให้ผลใน

การตั งท้องทีสูงกว่าและยอมรับได้

Page 17: How to Improve Productivity in Thai Dairy Farms เพิม ... · 2016. 3. 31. · อย่างไรก็ตาม ... สืบพันธุ์ และต้องให้การจัดการรักษาแก้ไขให้เร็ว

17

สุณีร ัตน์ เอี ยมละมัย คณะสัตวแพทยศาสตร์ ม.ขอนแก่น KVAC 2016: 25 มีนาคม 2559

รูปแบบการใช้ฮอร์โมนโปรเจสเตอโรน

โปรเจสเตอโรนชนิดสอดช่องคลอด ทีนิยมใช้คือซิเดอร์ (controlled internal drug

release device; CIDR) มีล ักษณะเป็นขดงอรูปตัวยู ซิเดอร์สอดไว้ในช่องคลอด ข้อเสียของ

การใชค้ืออาจเกิดช่องคลอดอักเสบ หรือหลุดหายไปเมือโคอยู่รวมฝูงใหญ่

รูปแสดง ระดับโปรเจสเตอโรนในขณะใช้โปรเจสเตอโรนชนิดสอดช่องคลอด PRID หรือ CIDR

ระยะเวลานาน 7-10 วัน เมือเอาออกแม ่โคจะเป็นสัดมีวงรอบการเป็นสัดปกติ

ทีมา : Peters and Ball, 1995

รูป โปรเจสเตอรโรนชนิดชนิดสอดช่องคลอดชือซิเดอร ์(CIDR;

controlled internal drug release device)

ทีมา : Noakes, 1997

Page 18: How to Improve Productivity in Thai Dairy Farms เพิม ... · 2016. 3. 31. · อย่างไรก็ตาม ... สืบพันธุ์ และต้องให้การจัดการรักษาแก้ไขให้เร็ว

18

สุณีร ัตน์ เอี ยมละมัย คณะสัตวแพทยศาสตร์ ม.ขอนแก่น KVAC 2016: 25 มีนาคม 2559

3. การใช้ฮอร์โมนหลายตัวร่วมกันเพือควบคุมวงจรการเป็นสัด

ในป ั จจุบันมีการแนะนําโปรแกรมให้โปรสตาแกลนดินเอฟทูอัลฟา ร่วมกับฮอร์โมนจีเอน

อาร์เอชทีเรียกชือโปรแกรมว่า ออฟซินค์ (Ovsynch) ซึงเป็นโปรแกรมทีใช้มากในโคนม โดยให้

จีเอนอาร์เอชก่อน และต่อมาอีก 7 ว ันให้โปรสตาแกลนดินเอฟทูอัลฟา และต่อมาอีก 50-60 ชม.

ให้จีเอนอาร์เอช ครั งทีสอง แล้วทําการผสมเทียมที 17-24 ชม. ต่อมา ด้วยเหตุผลคือเมือเริม

โปรแกรมเหนียวนําการเป็นสัดจะไม่ทราบว่าโคอยู่ในระยะวันใดของวงรอบการเป็นสัด การให้จี

เอนอาร์เอชในครั งแรกในระยะทีมีคอร์ป ั สลูเทียมทํางาน (luteal phase) อาจทําให้เกิดการเจริญ

ของฟอลลิเคิลและตกไข่ (ovulation) หรือเกิดการฝ่ อลงของฟอลลิเคิล (atresia) แล้วฟอลลิเคิล

ในรุ่นใหม่เจริญขึนแทน ดังนั นมีการกระตุ้นการเจริญทั งฟอลลิเคิลและคอร์ป ั สลูเทียม ทําให้ร ังไข่

มีคอร์ป ั สลูเทียมทีอยู่ในสภาพพร้อมต่อการถูกสลายและเข้าสู่การเป็นสัดเมือได้ร ับโปรสตาแกลน

ดินเอฟทูอัลฟา 7 ว ัน หลังการให้จีเอนอาร์เอชครั งแรก การให้โปรสตาแกลนดินเอฟทูอัลฟาเป็น

ช่วงห่างนีเป็นคําแนะนําโดยนักวิจ ัยส่วนใหญ่ ด้วยจะเป็นระยะทีมีคอร์ป ั สลูเทียมทีพร้อมต่อการ

ถูกสลายได้ การให้จีเอนอาร์เอชครั งทีสองจะช่วยกระตุ้นให้มีการตกไข่เร็วและแน่นอนขึนโดย

การช่วยให้มีระดับแอลเอชทีสูงขึนมาก ดังนั นโปรแกรมนีจึงทําให้โคมีโอกาสผสมติดได้มากขึน

นอกจากนีมีโปรแกรมทีประยุกต์เพือให้โคเป็นสัดได้ร ับการผสมมีการผสมติดสูง และลด

ค่าใช้จ่ายหลายโปรแกรม และมีรายงานทั งทีได้ผลดีกว่า หรือได้ผลไม่แตกต่างจากกลุ่มควบคุม

เช่น โปรแกรมออฟซินคท์ีให้ฮอร์โมนเอสโตรเจน (estradiol benzoate; EB) แทนจีเอนอาร์เอช

ในครั งทสีอง หรือให้ฮอร์โมนเอสโตรเจนร่วมกับโปรสตาแกลนดินเอฟทูอัลฟาในวันที 7 หลังการ

ให้จีเอนอาร์เอช ในครั งแรก ป ั จจุบันโปรแกรมบางโปรแกรมนิยมผสมเทียมแบบกําหนดเวลา

(fixed time insemination) อย่างไรก็ตาม ปัจจุบ ันนี เอสโตรเจน (EB) ถูกห้ามใช้ในสัตว์ที

ใช้บริโภค ด้วยมีผลตกค้างและมีรายงานว่ามีความเสียงต่อการเป็นมะเร็งในผู ้บริโภค

มีการใช้ฮอร์โมนจีเอนอาร์เอช โปรสตาแกลนดินเอฟทูอัลฟา ร่วมในการใช้โปรเจสเตอโร

นควบคุมวงรอบการเป็นสัด เพือเพิมการผสมติด และกําหนดเวลาการผสมเทียม เช่น การให้

ฮอร์โมนจีเอนอาร์เอชในวันแรกและสอดซิเดอร์เข้าช่องคลอดนาน 7 ว ัน และให้สารโปรสตา

แกลนดินเอฟทูอัลฟาในวันทีถอดโปรเจสเตอโรนออก และต่อมา 60 ชม. ให้จีเอนอาร์เอช พร้อม

กับทําการผสมเทียม มีรายงานวิจ ัยพบว่าช่วยให้อัตราผสมติดสูงขึนได้ และบางรายงานพบว่า

อัตราการผสมติดไม่ต่างจากกลุ่มควบคุม

และเริมมีการนํา eCG (equine chorionic gonadotropin) มาใช้ร่วมในโปรแกรมการ

เหนียวนําให้โคเป็นสัดเพือให้ฟอลลิเคิลทํางานและตกไข่ได้ดี เช่นโปรแกรม ให้เอสโตรเจน (EB

2 mg) พร้อมใส่ CIDR นาน 8 ว ัน ว ันทีเอาออก ให้ eCG 400 iu. และ โปรสตาแกลนดินเอฟ

ทูอัลฟา ต่อมาอีก 48 ชม. ให้ GnRH และอีก 10 ชม ทําการผสมเทียม พบว่าแม่โคมีอัตราการ

Page 19: How to Improve Productivity in Thai Dairy Farms เพิม ... · 2016. 3. 31. · อย่างไรก็ตาม ... สืบพันธุ์ และต้องให้การจัดการรักษาแก้ไขให้เร็ว

19

สุณีร ัตน์ เอี ยมละมัย คณะสัตวแพทยศาสตร์ ม.ขอนแก่น KVAC 2016: 25 มีนาคม 2559

ตั งท้องสูงกว่ากลุ่มทีไม่ได้ร ับ eCG (งานวิจ ัยนี แม่โคตั งท้องในกลุ่มนี 33.8%: Souza et al.,

2009)

4. โปรแกรมเพิมหรือเสริมโปรเจสเตอรโ์รนหลังผสม โดยให้ฮอร์โมนจีเอนอาร์เอช

GnRH หรือ ฮอร์โมนเอชซีจ ี (hCG) ในวันท ี 5 หรือ 7 หรือ 11 หลังการผสมเทียม เพือเพิม

ระดับโปรเจสเตอโรนโดยการกระตุ้นให้เซลล์ลูเทียลในคอร์ป ั สลูเทียมเจริญ โดยไปจับกับตัวร ับ

ของแอลเอชทีเซลล์ลูเทียลขนาดเล็ก (small luteal cells) หรือทําให้ฟอลลิเคิลขนาดใหญ่ในวันที

ให้ฮอร์โมนตกไข่และมีคอร์ป ั สลูเทียมอันใหม่เกิดขึน ทําให้หลั งโปรเจสเตอโรนได้มากขึนและทํา

ให้เพิมการมีชีวิตรอดของตัวอ่อน จากรายงานวิจ ัยพบว่าช่วยให้อัตราผสมติดสูงขึนได้ หรือ การ

ให้โปรเจสเตอโรนจากภายนอกเพิม เช่นให้ CIRD หรือ Crestar เป็น exogenous

progesterone supplement นาน 10-14 ว ัน หลังการผสมช่วยเพิมการตั งท้องได้ การเสริมโป

รเจสเตอโรนในช่วงร้อนชืนตามทีกล่าวมามหีลายรายงานว่าเพิมการผสมติด และบางรายงาน

พบว่าไม่ต่างจากกลุ่มไม่เสริมฮอร์โมน

การร ักษาแม่โค เพือลดระยะวันท้องว่างหลังคลอด (Treatments to reduce the

postpartum interval)

ปัญหาโคหลังคลอด ทีต้องดูแลให้กลับมาผสมได้หลังคลอด มี 2 ลักษณะ คือ

กลุ่มแรก คือ แม่โคทีไม่แสดงการเป็นสัดและไข่ไม่ตก (Anovulatory anestrous cows)

กลุ่มที 2 คือ แม่โคทีไม่แสดงการเป็นสัด แต่มีไข่ตก (Anestrous cows that have

ovulated)

การใช้ฮอร์โมนร ักษา ในแม่โคทีไม่แสดงการเป็นสัดและไข่ไม่ตก

การใช้โปรเจสเตอโรน เช่นใช้ CIDR ใส่ช่องคลอดนาน 7 ว ัน และให้ PGF2α ว ันที 6

พบว่าแม่โคกลับมาเป็นสัด ผสมได้ โดยมีรายงานว่า อัตราผสมติดไม่ต่างจากโคทีไม่ได้

ร ับฮอร์โมน และบางรายงานได้ผลว่าอัตราผสมติดสูงกว่าโคทีไม่ได้ร ับฮอร์โมน แต่

โดยรวม ทําให้ แม่โคมีว ันท้องว่างสั นกว่า แม่โคทีไม่ได้ร ับฮอร์โมน

การใช้โปรเจสเตอโรน ร่วมกับ eCG (equine chorionic gonadotropin: eCG) ด้วย

ฮอร์โมน chorionic gonadotropin จะช่วยกระตุ้นการทํางานของฟอลลิเคิล และผลิต

เอสโตรเจน เช่น ให้ CIDR 8 ว ัน ร่วม กับการให้ eCG 400 iu ในวันถอด CIDR พบว่า

Page 20: How to Improve Productivity in Thai Dairy Farms เพิม ... · 2016. 3. 31. · อย่างไรก็ตาม ... สืบพันธุ์ และต้องให้การจัดการรักษาแก้ไขให้เร็ว

20

สุณีร ัตน์ เอี ยมละมัย คณะสัตวแพทยศาสตร์ ม.ขอนแก่น KVAC 2016: 25 มีนาคม 2559

แม่โคมีระยะวันท้องว่างสั นลงกว่าแม่โคทีไม่ได้ร ับการรักษา และบางรายงานพบว่าไม่มี

ความแตกต่าง

การใช้โปรเจสเตอโรน ร่วม GnRH ในวันแรกทีสอด CIDR นาน 7 ว ัน เพือให้ GnRH

กระตุ้นให้ ฟอลลิเคิลใหญ่ตกไข่ เกิดฟอลลิเคิลใหม่พัฒนาขึน และเกิดคอร์ปสัลูเทียมเพิม

ระดับโปรเจสเตอโรน และในวันทีถอด CIDR ออก ให้ PGF2α พบว่า มีอัตราการเป็น

สัดเกือบ 60% และตั งท้องสูงกว่า แม่โคทีได้ร ับ PGF2α 2 ครั งห่างกัน 14 ว ัน และสูง

กว่ากลุ่มทีให้ GnRH, PGF2α และ GnRH บางรายงานไม่พบความแตกต่าง

การใช้ GnRH ร่วมกับ PGF2α (Ovsynch protocol) โดย GnRH อีก 7 ว ันให้ PGF2α

อีก 2 ว ันให้ GnRH แล้วผสมแม่โค ที 16-24 ชม. (กําหนดเวลาผสม) ในบางรายงาน

พบว่าอัตราการตั งท้องไม่ต่างการใช้ CIDR protocol โปรแกรมนีอาจเหมาะกับการใช้

เมือฟาร์มมีป ั ญหาการตรวจการเป็นสัด พบว่าแม่โคมีการตกไข่ในการให้ GnRH ครั ง

แรกประมาณ 50% ดังนั นโปรแกรมนีน่าจะได้ผลดีเมือใช้ในแม่โคทีร ังไข่มีฟอลลิเคิล c]t

มีการตกไข่ในการให้ GnRH ครั งแรก

การใช้ฮอร์โมนร ักษา ในแม่โคแม่โคทีไม่แสดงการเป็นสัด แต่มีไข่ตก

การรักษาโคทีตรวจการเป็นสัดไม่พบแต่ตรวจระบบสืบพันธุ์พบคอร์ป ั สลูเทียม

(suboestrous cows)

แม่โคทีล้วงตรวจพบคอร์ป ั สลูเทียมขนาดทีดี สามารถให้การรักษา โดยใช้ PGF2α เป็น

หลัก ซึงจะพบว่า 36-68% ของแม่โคแสดงการเป็นสัด หลังได้ร ับ PGF2α ประมาณ 4-6 ว ัน การ

ใช้โปรแกรม Ovsynch ในโคทีไม่แสดการเป้ นสัดแต่ตรวจพบ คอร์ป ั สลูเทียม จะมีอัตราการตั ง

ท้องทีสูงขึน และมีการใช้ CIDR นาน 7 ว ันและ PGF2α ในวันเอาโปรเจสเตอโรนออก มีอัตรา

การผสมติดไม่ต่างจากการใช้ โปรแกรม Ovsynch

มีโปรแกรมใช้ฮอร์โมนหลายตัวร่วมกัน เช่น ให้ GnRH ในวันให้ CIDR และให้ PGF2α

ในวันเอา CIDR ออก (7 ว ัน) และให้ EB (เอสโตรเจน) 1 มก. 1 ว ันหลังถอด CIDR พบอัตรา

การผสมติดสูงขึน (อย่างไรก็ตาม ป ั จจุบัน ไม่ให้ใช้เอสโตรเจนในสัตว์บริโภค ด้วยจะมีความเสียง

ต่อการเกิดมะเร็งในผู้บริโภค)

ดังนัน การใช้ฮอร์โมนควร คํานึงถึง

เข้าใจป ั จจัย ทีมีผลกระทบต่อการผสมพันธุ ์ในฟาร์มในพืนที นนัๆ

ใช้ฮอร์โมนช่วยรักษาอย่างเข้าใจ ผู้ใชต้้องเห็นตัวโคและล้วงตรวจก่อนการใช้ทุกครั ง

Page 21: How to Improve Productivity in Thai Dairy Farms เพิม ... · 2016. 3. 31. · อย่างไรก็ตาม ... สืบพันธุ์ และต้องให้การจัดการรักษาแก้ไขให้เร็ว

21

สุณีร ัตน์ เอี ยมละมัย คณะสัตวแพทยศาสตร์ ม.ขอนแก่น KVAC 2016: 25 มีนาคม 2559

พยายามดูแลความสมบูรณ์ร่างกายโค (BCS) ระยะหลังคลอด การกินอาหาร คุณภาพ

อาหารทีให้แม่โคในระยะก่อนและหลังคลอด

ตัวอย่างโปรแกรมการใช้ฮอร์โมนทางการสืบพันธุ์

โปรแกรมการใช้ฮอร์โมนหลายตัวร่วมกัน

PGF2 + D14 GnRH + D7 PGF2 / GnRH + D7 PGF2 + 2-d GnRH

PGF2 + 7-d CIDR

10-d norgestromate(Crestar) + PGF2 + eCG

6-d CIDR + EB / 7-d CIDR – eCG / 8-d CIDR + eCG

CIDR+ 6-d PGF2 7-d remove CIDR + EB

EB + 8-d CIDR + EB / 6-d CIDR + EB

GnRH + 7-d CIDR + PGF2 + EB / GnRH + 7-d CIDR + PGF2 + GnRH

EB + 7-d CIDR + PGF2

EB + 8-d CIDR +eCG+ PGF2 at remove 48 hr + GnRH and at 10 hr AI

*** กําหนดเวลาผสม หรือ ผสมเมือเป็นสัด

ทีมา: Rhodes, F.M., McDougall, S., Burke, C.R., Verkerk G.A. and Macmillan K.L. 2003.

Invited review: Treatment of cows with an extended postpartum anestrous interval. J.

Dairy Sci. (86):1876-1894

งานวิจ ัยส่วนใหญ่ ให้ผลการใช้ฮอร์โมนดังนี

การใช้ฮอร์โมน ในโค ที คะแนนรูปร่าง มากกว่า 2.75 จะ ได้ ผลดี กว่า โคที

คะแนนรูปร่างตํา

โคทีใช้ฮอร์โมนร ักษา มีอัตราการผสมติดสงูกว่ากลุ่มทีไม่ได้ร ับฮอร์โมน ไม่ว่าจะ

ผสมเป็นแบบกําหนดเวลาผสม หรือผสมเมือเป็นสัดจริง

โคทีใช้ฮอร์โมน มีวันท้องว่างสั นกว่าโคทีไม่ได้ร ักษา และมีอัตราการคัดออกจาก

ฝูงน้อยกว่า

Page 22: How to Improve Productivity in Thai Dairy Farms เพิม ... · 2016. 3. 31. · อย่างไรก็ตาม ... สืบพันธุ์ และต้องให้การจัดการรักษาแก้ไขให้เร็ว

22

สุณีร ัตน์ เอี ยมละมัย คณะสัตวแพทยศาสตร์ ม.ขอนแก่น KVAC 2016: 25 มีนาคม 2559

การจัดการเพือให้ฟาร์มมีประสิทธิภาพทางการสืบพันธุ์

(Monitoring and maintaining good fertility)

ในฝูงทีมีสถานะความสมบูรณ์พันธุ์ตําจะต้องมีการปรับแก้ป ั ญหา และฝูงทีมีความ

สมบูรณ์พันธุ์ดีต้องร ักษาระดับความสมบูรณ์ให้คงดีตลอดเวลา หัวใจสําคัญในการรักษาให้ความ

สมบูรณ์พันธุ์อยู่ในระดับดีตลอดคือ

1. การมีข้อมูลทีบันทึกถูกต้องและเป็นป ั จจุบันมากทีสุด

2. มีการค้นหาโคทีมีป ั ญหาเพือทําการรักษาแก้ไข

3. การตรวจแม่โคและการเยียมฟาร์มอย่างสมําเสมอ และติดตามผลการรักษาในโคทีมี

ป ั ญหาความสมบูรณ์พันธุ์ ประสิทธิผลของการจัดการจะได้เมือมีการนําไปปฏิบัติโดยมี

บุคลากรในฟาร์มประกอบด้วยเกษตรกรเจ้าของฟาร์ม หรือผู้จ ัดการฟาร์มทีมีความ

กระตือรือร้นและความรับผิดชอบสูง ทํางานร่วมกับนายสัตวแพทย์

ข้อมูลทั งหมดนีจะช่วยให้ทราบสาเหตุภายในฟาร์มต่างๆ ทีมีผลต่อสุขภาพ

ประสิทธิภาพการผลิตและความสมบูรณ์พันธุ์ทีครอบคลุม ทําให้สามารถแก้ป ั ญหาได้ถูกต้องกับ

สาเหตุมากขึน ทั งนีโดยทั วไปดัชนีประสิทธิภาพการผลิตในฟาร์มโคนมได้กําหนดค่าเป้ าหมาย

ของฟาร์มไว้ดังน ี

ค่าเป้าหมายในการผลิตโคนม

สัดส่วนของแม่โคนมในฝูงทีมีวันเฉลียรีดนมของโครีดนมในฝูง

(average days in milk in all lactating cows) เป็น 150 วัน คือ

โครีดนมท้อง (cows pregnant, lactating) 42 เปอร์เซนต ์

โครีดนมไม่ท้อง (cows non-pregnant, lactating) 41 เปอร์เซนต ์

โคพักรีดนมท้อง (cows pregnant, non-lactating) 17 เปอร์เซนต ์

โคพักรีดนมไม่ท้อง (cows non-pregnant, non-lactating) 0 เปอร์เซน็ต ์

ค่าเป้าหมายดัชนีการสืบพันธุ์และการผลิตอืนๆ ในฝูงมีค่าดังนี

อายุเฉลียโคสาวเริมผสมพันธุ์ (average of heifers at conception) 15 เดือน

อายุเฉลียคลอดลูกตัวแรก (average of first calving) 27 เดือน

ระยะการให้นมเฉลีย (average lactation length) 305 วนั

ระยะพักรีดนมเฉลีย (average dry period length) 60 ว ัน

วันคลอดถึงผสมครั งแรกเฉลีย 60 ว ัน

(average interval calving to first service)

Page 23: How to Improve Productivity in Thai Dairy Farms เพิม ... · 2016. 3. 31. · อย่างไรก็ตาม ... สืบพันธุ์ และต้องให้การจัดการรักษาแก้ไขให้เร็ว

23

สุณีร ัตน์ เอี ยมละมัย คณะสัตวแพทยศาสตร์ ม.ขอนแก่น KVAC 2016: 25 มีนาคม 2559

วันคลอดถึงผสมติดเฉลีย (average interval calving to conception) 85 ว ัน

วันท้องว่าง (average number of days open) 100 ว ัน

ระยะห่างว ันตกลูกเฉลีย (average calving interval) 365 ว ัน

จํานวนโคทีผสมครั งแรกติด 60 เปอร์เซ็นต ์

จํานวนครั งทีผสมต่อการตั งท้องเฉลีย 1.5 ครั ง

(average services per conception)

อัตราโคแท้งน้อยกว่า (average annual abortion rate) 3 เปอร์เซ็นต ์

จํานวนโคคัดออกในแต่ละปี (average annual culling rate) 25 เปอร์เซ็นต ์

กรณีโคนม คุณภาพนํ านมของฟาร์ม มีค่าดังนี

จํานวนเซลล์โซมาติกของฟาร์ม (bulk tank somatic cells; SCC)

ไม่เกิน 500,000 เซลล/์มล.

เปอร์เซ็นต์ไขมัน (%Fat) มากกว่า 3.35

เปอร์เซ็นต์โปรตีน (%Protein) มากกว่า 3.0

เปอร์เซ็นเนื อนม (%Total solids) 12.0

ทั งนีค่าเป้ าหมายเหล่านี เป็นตัวเลขทีแม่โคทีปกติสามารถให้ผลผลิตและสืบพันธุ์ได้

และผลตอบแทนทางเศรษฐกิจจะได้ร ับสูงสุดจากการเลียงโคนม ซึงในความเป็นจริงแม่โคไม่ทุก

ตัวในฟาร์มทีมีความสามารถในการผลิตได้ตามเป้ าหมาย ทําให้ค่าเฉลียประสิทธิภาพการผลิตจะ

ไม่มีฟาร์มใดทําได้เท่าค่าเป้ าหมาย แต่ฟาร์มทีมีค่าเฉลียดัชนีการผลิตใกล้ค่าเป้ าหมายมากทีสุด

จะเป็นฟาร์มทีได้ร ับผลกําไรจากการเลียงโคนมมากทีสุด

จากผลการศึกษาโดยเฉพาะในฟาร์มโคนมทุกประเทศ พบว่า สาเหตุหลักทีทําให้อัตรา

ผสมติดตํากว่าเกณฑ์มาตรฐานในพืนทีนั น มักเกิดจาก

1. เกษตรกรจับสัดไม่ดีพอ โดยพบว่าส่วนใหญ่จับสัดได้ช้าไป 4-5 ชั วโมงจากทีโคเริม

เป็นสัด นอกจากนีจ ับสัดเพียงว ันละ 2 ครั งในระยะรีดนม ให้จบัสัดวันละ 4 คร ั ง

แต่ละคร ั งนาน 20 นาที การตรวจสัดไม่ดีพอ มีผลต่อให้เวลาเหมาะสมในการ

ผสมเทียม

2. มีป ั ญหาในเทคนิคการเตรียมเริมนําเชือแช่แข็ง การละลาย การบรรจุปืนผสมเทียม

ตลอดจนความสะอาดในการเทคนิคการผสมเทียม ของผู้ทําการผสมเทียม ให้ดูแล

การผสมเทียมให้มีคุณภาพ เทคนิคถูกต้อง

Page 24: How to Improve Productivity in Thai Dairy Farms เพิม ... · 2016. 3. 31. · อย่างไรก็ตาม ... สืบพันธุ์ และต้องให้การจัดการรักษาแก้ไขให้เร็ว

24

สุณีร ัตน์ เอี ยมละมัย คณะสัตวแพทยศาสตร์ ม.ขอนแก่น KVAC 2016: 25 มีนาคม 2559

3. ความสมบูรณ์ของโค ป ั จจัย คือ อาหาร และแร่ธาตุ วิตามิน ทีเหมาะสมเพียงพอ

พืชอาหารหยาบทีเป็นหญ้าเขียวคือเป็นหัวใจทีจะช่วยโคให้สมบูรณ์ โดยไม่มีป ั ญหา

อาหารต่อการผสมติด และตัวอ่อนระยะต้นตาย ต้องจัดการอาหารให้ถูกต้อง

เหมาะสมตามระยะให้นม

4. ช่วงฤดูทีมคีวามเครียดต่อความร้อนชืนสูง (THI ดัชนีความเครียด สูงกว่า 80) มีผล

ให้ตัวอ่อนระยะต้นตาย ผสมติดยาก ต้องจัดการฟาร์มให้ไม่ร้อนมากและไม่ชืน

สูง ( THI น้อยกว่า 75) มีลมผ่าน

เวลาเหมาะสมในการผสมเทียม

ตําแหน่งฉีด นําเชือทีถูกต้อง

Page 25: How to Improve Productivity in Thai Dairy Farms เพิม ... · 2016. 3. 31. · อย่างไรก็ตาม ... สืบพันธุ์ และต้องให้การจัดการรักษาแก้ไขให้เร็ว

25

สุณีร ัตน์ เอี ยมละมัย คณะสัตวแพทยศาสตร์ ม.ขอนแก่น KVAC 2016: 25 มีนาคม 2559

ฝูงทีมีสถานะความสมบูรณ์พันธุ์ตําจะต้องมีการปรับปรุงแก้ป ั ญหา และฝูงทีมีความ

สมบูรณ์พันธุ์ดีต้องร ักษาระดับความสมบูรณ์ให้คงดีตลอดเวลา ระยะเวลาสําคัญทีต้องดูแล

เพือให้ผสมติดี ตามเวลาทีควรคือการดูแลสุขภาพ อาหารทีเหมาะสม แม่โคระยะพักรอ

คลอด (30 วัน) และระยะหลังคลอด(70 วัน)

การตรวจวินิจฉัยความไม่สมบูรณ์พันธุ์ของโครายตัว

(Investigation of the individual infertile cow)

ประวัติ

ก่อนการตรวจระบบสืบพันธุ์ในแม่โคทุกครั ง ต้องทําการศึกษาประวัติของโคตัว

นั นๆ อย่างละเอียดและข้อมูลทีถูกต้องเป็นสิงจําเป็น โดยเฉพาะประวัติการผสมพันธุ์ สิงต่อไปนี

คือประวัติของแม่โคทีควรทราบก่อนจะทําการล้วงตรวจทุกครั ง

1. อาย ุ

2. ท้องทีเท่าไร (parity)

3. วันคลอดลูกครั งสุดท้ายและประวัติการคลอด เช่น คลอดยาก มดลูก

อักเสบหลังคลอด รกค้าง

4. วันทีส ังเกตพบอาการเป็นสัดครั งแรกหลังคลอด

5. การพบของเหลวจากช่องคลอดทีผิดปกต ิ

6. จํานวนครั งทีผสมและวันทีทําการผสมในแต่ละครั ง

7. วันทีตรวจพบการเป็นสัดหลังการผสม

8. ประวัติความสมบูรณ์พันธุ์ในช่วงทีผ่านมาก โดยเฉพาะจํานวนครั งทีผสม

ต่อการตั งท้อง ระยะห่างการคลอดลูก

9. การจัดการอาหาร คุณภาพและปริมาณทีได้ร ับ ผลการผลิตนํานม

10. ป ั ญหาสุขภาพทีพบในแม่โค เชน่ ประวัติไข้นํานม เต้านมอักเสบ คีโตซิส

11. ประวัติความสมบูรณ์พันธุ์ของแม่โคตัวอืนๆ และโคสาวในฝูง

12. ประวัติสุขภาพของแม่โคตัวอืนๆ และโคสาวในฝูง

โคทีต้องทําการตรวจ (Cows requiring examination)

ประวัติโคเหล่านีได้จากบันทึกของฟาร์ม โคทีมีประว ัติต่อไปนี ต้องนํามาตรวจ

อย่างเร่งด่วน

1. โคทีมีป ั ญหาคลอดยาก รกค้าง มดลูกอักเสบ และมีอาการแทรกซ้อน

หลังคลอด ควรทําการตรวจระบบสืบพันธุ์หลังคลอด

2. โคทีมีเมือกทีผิดปกติออกมาจากช่องคลอด เช่น หนอง เมือกขุ่น

Page 26: How to Improve Productivity in Thai Dairy Farms เพิม ... · 2016. 3. 31. · อย่างไรก็ตาม ... สืบพันธุ์ และต้องให้การจัดการรักษาแก้ไขให้เร็ว

26

สุณีร ัตน์ เอี ยมละมัย คณะสัตวแพทยศาสตร์ ม.ขอนแก่น KVAC 2016: 25 มีนาคม 2559

3. โคทีแท้ง

4. โคทีแสดงการเป็นสัดบ่อย

5. โคทีตรวจไม่พบว่าการเป็นสัด 42 ว ันหลังคลอด และยังไม่ถูกผสม

60 ว ันหลังคลอด

6. โคทีผสมแล้ว 42 ว ันไม่กลับเป็นสัด โคอาจท้องหรืออาจเป็นสัดแล้ว

ตรวจไม่พบ หรือมีความผิดปกติอืนๆ

7. โคไม่เป็นสัดหลังคลอด อาจเนืองจากรังไข่ไม่ทํางาน หรือตรวจการ

เป็นสัดไม่ได ้ โคสาวอายุมากกว่า 15 เดือน ย ังไม่เป็นสัด หรือย ังไม่

ผสม

8. โคทีผสมซํามากกว่า 3 ครั ง

9. โคทีเคยตรวจว่าท้องแล้ว แต่แสดงอาการเป็นสัดในภายหลัง

10.

ความถีการเข้าตรวจโคในฟาร์มของสัตวแพทย์ (frequency of veterinary

visits) ขึนกับขนาดของฝูง และช่วงเวลาระยะคลอดลูก โดยทั วไปฤดูทีคลอดลูก ส ัตวแพทย์จะ

เข้าเยียมฟาร์มตรวจโคสัปดาห์ละครั ง และอาจเข้าฟาร์มห่างขึนเมือโคส่วนใหญ่ท้องแล้ว

ข้อมูลโดยทั วไปทีควรบันทึกในแต่ละครั งทีเข้าฟาร์ม เป็นส่วนทีเกษตรกรต้องจัดเก็บ

ข้อมูลในเดือนทีผ่านมา และทีปรึกษาฟาร์มนํามาใช้ประมวลและประเมินการผลิตในฝูง เพือให้

การจัดการทีเหมาะสม ข้อมูลเหล่านีคือ

จํานวนโคในฝูง - จํานวนโคทั งหมด โครีดนมท้อง โครีดนมไม่ท้อง โคพักรีดนมท้อง โค

พักรีดนมไม่ท้อง โคทดแทน จํานวนโคสาว (อายุมากกว่า 15 เดือน) ทีตั งท้องและทีย ั งไม่ท้อง

โคทีอายุน้อยกว่า 15 เดือน ซึงรวมทั งโครุ่น โคเล็ก และโคทีย ังไม่หย่านม

Page 27: How to Improve Productivity in Thai Dairy Farms เพิม ... · 2016. 3. 31. · อย่างไรก็ตาม ... สืบพันธุ์ และต้องให้การจัดการรักษาแก้ไขให้เร็ว

27

สุณีร ัตน์ เอี ยมละมัย คณะสัตวแพทยศาสตร์ ม.ขอนแก่น KVAC 2016: 25 มีนาคม 2559

ระบบสืบพันธุ ์ – จํานวนโคและหมายเลขโคทีคลอดลูก โครกค้าง โคมีเมือกทีผิดปกติ

จากช่องคลอด มดลูกอักเสบ โคทีเป็นโรคถุงนําในรังไข่ ไม่เป็นสัดจริง โคแท้ง โคทีผสมครั งแรก

โคทีผสมครั งที 2 เปอร์เซ็นต์การตั งท้อง จํานวนครั งทีผสมต่อการตังท้อง ว ันเฉลียรีดนมของแม่

โคในการผสมครั งแรกหลังคลอด ว ันเฉลียรีดนมในวันผสมติด โคทีคลอดมานานกว่า 85 ว ันแต่

ย ังไม่ได้ร ับการผสม อายุโคทีได้ร ับการผสมครั งแรก

คุณภาพนํานมและโรคเต้านมอักเสบ – ปริมาณนํานม เปอร์เซ็นต์ไขมัน เปอร์เซ็นต์

โปรตีน จํานวนเซลล์โซมาติก จํานวนแบคทีเรียทีมีชีวิตในนํานมถังรวมฟาร์ม โคทีเป็นเต้านม

อักเสบครั งแรก โคทีเป็นเต้านมอักเสบซํา โคทีผลตรวจเต้านมอักเสบแบบไม่แสดงอาการด้วย

นํายา ซ.ีเอ็ม.ท.ี ทีให้ผลบวกมากกว่า +1 (เซลล์โซมาติกมากกว่า 500,000 เซลล์ต่อ มิลลิลิตร)

สุขภาพโคทีเกิดจากอาหาร – จํานวนโคและหมายเลขโคทีมีว ันหลังคลอดน้อยกว่า 60

ว ัน โคทีมีป ั ญหาสุขภาพ เช่น ไข้นํานม คีโตซิส กระเพาะพลิกด้านซ้าย โคทีกินอาหารน้อย

หรือไม่กินอาหาร โคทีท้องเสีย ขาเจ็บ

การคัดออก – สาเหตุในการคัดออก เช่น โคมีป ั ญหาเต้านมอักเสบ ผสมไม่ติด เท้าหรือ

ขาเจ็บ ท้องเสีย บาดเจ็บ ผลผลิตตํา

ลูกโคและโคสาว – การรักษาต่างๆ เช่น ร ักษาท้องเสีย ปอดอักเสบ ลูกโคทีตายหลัง

คลอดทีอายุไม่เกินเดือน และลูกโคทีตายเมืออายุมากกว่า 1 เดือน

Page 28: How to Improve Productivity in Thai Dairy Farms เพิม ... · 2016. 3. 31. · อย่างไรก็ตาม ... สืบพันธุ์ และต้องให้การจัดการรักษาแก้ไขให้เร็ว

28

สุณีร ัตน์ เอี ยมละมัย คณะสัตวแพทยศาสตร์ ม.ขอนแก่น KVAC 2016: 25 มีนาคม 2559

ปัจจัยทีมีผลต่อประสิทธิภาพการสืบพันธุ์ในโคนมไทย

มีการศึกษาวิจ ัยและรายงานป ั ญหาประสิทธิภาพการสืบพันธุ์และการผสมติดยาก ใน

โคนมในประเทศไทย นักวิชาการและนักวิจ ัยมีความเห็นร่วมกันในสาเหตุหลักทีทําให้โคนมไทย

มีระยะวันท้องว่างทียาว มีระยะห่างว ันตกลูกทียาว และมอีัตราผสมติดทีตํา กว่าค่าเป้ าหมายที

พบในทุกพืนทีในประเทศไทยเนืองมาจาก

1. เกษตรกรจับสัดไม่ดีพอ ซงึป ั ญหานีเป็นป ั ญหาทีพบได้ในต่างประเทศเช่นกัน โดยพบว่า

ส่วนใหญ่จับสัดไดช้้าไป 4-5 ชั วโมงจากทโีคเริมเป็นสัด นอกจากนีเกษตรกรส่วนใหญ่ทํา

การตรวจสัดเพียงว ันละ 2 ครั งในช่วงรีดนม ทําให้มีความผิดพลาดในการผสมเทียมใน

เวลาทีเหมาะสม

2. ป ั ญหาในเทคนิคการผสมเทียม นับแต่การเตรียมนําเชือแช่แข็ง การละลาย การเตรียม

อุปกรณ์ผสมเทียมทีมีไม่พร้อม ตลอดจนความสะอาดในการเทคนิคการผสมเทียมของ

ผู้ทําการผสมเทียม นอกจากนี คุณภาพนําเชือแช่แข็ง และการเลือกใช้พ่อพันธุ์ที

เหมาะสม พบว่า เกษตรกรและผู ้ผสมเทียม ไม่มีความเข้าใจในการเลือกใช้พ่อ

พนัธุ์ทีเหมาะสมในการพัฒนาโคนมในฟาร์ม

3. โรคทางการสืบพันธุ์ทีแฝงอยู่ในฝูงทีมีรายงานในประเทศไทย และมีการใช้นําเชือหรือโค

พ่อพันธุ์ทีไม่ตรวจควบคุมโรคทางการสืบพันธุ์มาผสมกับแม่โคในฟาร์ม หรือมีการใช้พ่อ

โคทีไม่ผ่านการตรวจโรคทางการสืบพันธุ์มาใช้ผสมจริง

4. ป ั จจัยความร้อนชืนในประเทศไทยทีทําให้เกิดความเครียดทีมีผลต่อการตายของตัวอ่อน

และทําให้โคแสดงการเป็นสัดไม่ช ัดเจน ในช่วงร้อนชืนสูง (THI > 80) อัตราการผสมติดจะ

ตํา แม่โคแสดงการเป็นสัดไม่ช ัดเจน

5. ผลของอาหารต่อสุขภาพและความสมบูรณ์พันธุ์ในโคนม การขาดอาหารหยาบทีมี

คุณภาพ เกษตรกรใช้อาหารสูตรเดียวกับโคทุกรุ่นในฝูง การเตรียมอาหารระยะรอคลอด

และระยะหลังคลอดทีไม่เหมาะสม โดยเฉพาะความสมดุลของอาหารส่งผลให้มีป ั ญหา

สุขภาพหลังคลอด เช่น รกค้าง ไขนํ้านม คีโตซิส ไม่เป็นสัดหลังคลอด การกินอาหารได้

หลังคลอด ป ั ญหาสัดส่วนอาหารข้นทีมากส่งผลให้เกิดป ั ญหาความเป็นกรดในกระเพาะ

อาจทําให้มีป ั ญหาสารพิษเอนโดท๊อกซินจากผนังเซลล์แบคทีเรียกลุ่มติดสีแดงทีตายใน

สภาวะเป็นกรดในกระเพาะสูง มีผลให้สารโปรสตาแกลนดินสูงอาจมีผลให้ตัวอ่อนตายได้

เช่นกัน การมีภาวะเป็นกรดในกระเพาะทําให้กีบอักเสบกีบยาวมีผลต่อการยืนทําให้แสดง

อาการเป็นสัดไม่ช ัดเจน นอกจากนีในฟาร์มทีให้อาหารข้นทีมีโปรตีนสูง โดยเฉพาะ

โปรตีนกลุ่มย่อยสลายในกระเพาะหมักง่าย อาจมีผลให้ยูเรียไนโตรเจนในเลือด (BUN) มี

ระดับสูง มีผลใหใ้นมดลูกมีภาวะเป็นกรดและมผีลให้ตัวอ่อนตายได ้

Page 29: How to Improve Productivity in Thai Dairy Farms เพิม ... · 2016. 3. 31. · อย่างไรก็ตาม ... สืบพันธุ์ และต้องให้การจัดการรักษาแก้ไขให้เร็ว

29

สุณีร ัตน์ เอี ยมละมัย คณะสัตวแพทยศาสตร์ ม.ขอนแก่น KVAC 2016: 25 มีนาคม 2559

6. งานบริการผสมเทียมและบริการสุขภาพโคทีมีนายสัตวแพทย์และเจ้าหน้าทีไม่เพียงพอ

และคุณภาพการบริการ

7. กลไกควบคุมโรคทางการสืบพันธุ์ในระดับประเทศทีต้องเข้มงวด ต้องมีการตรวจ

โรคติดต่อทีสําคัญและมีการคัดโรคเป็นโรคออกอย่างสมําเสมอและต่อเนือง ประกอบกับ

ต้องมีการควบคุมและรับรองพ่อโคปลอดโรคทีติดต่อได้ทางนําเชือแช่แข็งทีนํามาบริการ

ผสมเทียม และต้องมีการให้ความรู้ทีถูกต้องและต่อเนืองแก่เกษตรกรและนักส่งเสริม โรค

ทางการสืบพันธุ์ทีสําคัญในประเทศไทย เช่น โรคไวร ัสบีวีดี ไอร์บีอาร ์นีโอสปอโรซิส

ยูเรียพลาสมา แท้งติดต่อ

8. ต้องนําโปรแกรมการจัดการสุขภาพและผลผลิตโคในระดับฟาร์ม (Dairy Herd

Health and Production Management; HHPM) มาใช้ในการจัดการฟาร์ม ให้มาก

ขึน เพือใช้ข้อมูลฟาร์มช่วยในการจัดการฟาร์มได้โดยตรง ต้องจดัการการสืบพันธุ์แบบ

ครบวงจร ทําให้แม่โคเป็นสัดหลังคลอดไว และผสมติดภายใน 100 ว ัน โคสาวคลอดลกู

ตัวแรกภายใน 27 เดือน

จะเหน็ได้ว่า ประสิทธิภาพการสืบพันธุ์ในโคมีความสําคัญและเป็นหัวใจในการผลิต โดย

ในบางส่วนเป็นผลมาจากการจัดการด้านสุขภาพ อาหาร และการจัดการฟาร์ม ซึงควรทําทั งใน

ระดับฟาร์ม และมีการรองรับในระดับสหกรณ์โคนมและระดับประเทศ หากมีการจัดการทีทําให้

ดัชนีความสมบูรณ์พันธุ์โคเขา้ใกล้ค่าเป้ าหมายมากกว่าทีเป็นอยู่ จะเพิมรายได้ให้แก่เกษตรกร

และประเทศไทยโดยรวมได้เป็นอย่างมาก

Page 30: How to Improve Productivity in Thai Dairy Farms เพิม ... · 2016. 3. 31. · อย่างไรก็ตาม ... สืบพันธุ์ และต้องให้การจัดการรักษาแก้ไขให้เร็ว

30

สุณีร ัตน์ เอี ยมละมัย คณะสัตวแพทยศาสตร์ ม.ขอนแก่น KVAC 2016: 25 มีนาคม 2559

บรรณานุกรม

ปรียพันธุ์ อุดมประเสริฐ. 2537. การจัดการสุขภาพและผลผลิตในฟาร์มโคนม. โรงพิมพ์สารมวลชน.

กรุงเทพมหานคร. 165 หน้า.

พีรศักดิ จันทร์ประทีป. 2550. การจดัการและเทคโนโลยีชีวภาพด้านการสืบพันธุ์ในโคนม. สํานักพิมพ์แห่ง

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร. 256 หน้า

สุณีร ัตน์ เอียมละมัย, ธีรพงศ์ ธีรภัทรสกุล และปราจีน วีรกุล. 2542. ประมวลสถานภาพองค์ความรู้ด้าน

สุขภาพโคนม: แนวทางการวิจัยและพัฒนาในอนาคต. สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).

โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร. 360 หน้า.

สุณีร ัตน์ เอียมละมัย. 2546. โรคติดต่อทางการสืบพันธุ์ในโคนมไทย: สถานการณ์ป ั จจุบ ันและแผนการรองร ับ

ในอนาคต. เอกสารประกอบการประชุมวิชาการโคนม นํานมโคคุณภาพสู่ผู้บริโภค. 23-24

มกราคม 2546, โรงแรมเจริญธานี ปรินเซส ขอนแก่น. หน้า 54-66.

สุณีร ัตน์ เอียมละมัย. การสืบพันธุ์ในโค. 2553. คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 503 หน้า.

Aiumlamai, S. 1991. Effect of a prostaglandin F2 analogue prostifenem (15-methyl-PGF2), to

induce luteolysis and oestrus in heifers. Acta vet. scand. 32: 327-335.

Aiumlamai, S. 2008. Dairy management, health and production in Thailand. Conference on Dariy

Focus Asia 2008. March 3-4, 2008. The Imperial Queen Park Hotel. Bangkok Thailand.

Aiumlamai, S. 2009. Artificial insemination in cows: an update. Seminar on Update on Animal

Semen Preservation and Artificial Insemination in Thailand. Faculty of Veterinary Medicine

Chulalongkorn University. Thailand. July 24, 2009. p 24-28.

Aiumlamai, S. 2010. Dairy herd health, feeding and milk quality in Thailand. In Proceedings: 13th

Association of Institutes for Tropical Veterinary Medicine (AITVM) Conference. August 23-

26, 2010. Bangkok, Thailand. p. 214-216.

Aiumlamai, S. 2011. Milk quality and food safety for ASEAN: Thai Dairying and ASEAN. In

Proceedings: KVAC2011: The International Conference on Global Issues Influencing

Human and Animal Health for ASEAN-One Health Concept. June 9-10, 2011. KhonKaen,

Thailand. Pp.175-178.

Aiumlamai, S. and Noordhuizen, J. 2002. Veterinary dairy herd health and production management

in North-Eastern Thailand. KKU. Vet. J. 12: 42-53.

Aiumlami, S., Chaimongkol, C. and Kindahl, H. (1998) Clinical and endocrine study on the causes

for failure of heat synchronization in dairy cattle in Thailand. KKU.Vet.J. 8(1-2): 39-50.

Aiumlamai, S., Kreausukon, K. and Wongnen, N. 2012. Dairy Production and the Marketing System

in Thailand. In Proceedings of a Symposium held at the 15th AAAP Congress, Bangkok,

Thailand. November 29, 2012.p 57-67.

Page 31: How to Improve Productivity in Thai Dairy Farms เพิม ... · 2016. 3. 31. · อย่างไรก็ตาม ... สืบพันธุ์ และต้องให้การจัดการรักษาแก้ไขให้เร็ว

31

สุณีร ัตน์ เอี ยมละมัย คณะสัตวแพทยศาสตร์ ม.ขอนแก่น KVAC 2016: 25 มีนาคม 2559

Aiumlamai, S., Parinyasutinun, U. and Sirinawakul, N. 2002 Use of sanitary sheath during artificial

insemination to increase conception rate in dairy cattle in Northeast Thailand.

KKU.Vet.J.12 (1):25-32.

Aiumlamai S, Sangkaew A, Namkong S, Parinysutinum, U. 2009. Effect of GnRH administration at

insemination and post insemination on conception rate in lactating dairy cows.

Proceeding of the 10th KKU Veterinary Annual conference. 10: 249-253.

Aiumlamai, S., Wangtal, A., Tanomkit, J. 2013 Food standard through whole supply chain to

support the propulsion of strategy for food safety: dairy milk. Proceeding on 14th KVAC:

Learning the Past, Planning the Future, Targeting One Health. Khon Kaen Thailand.

Brand, A., Noordhuizen, J.P.T.M. and Schukken, Y.H. 1997. Herd Health and Production

Management in Dairy Practice. Wageningen Pers Publ. Wageningen. 543 p.

Deniz, A., Watanapongchati, S. and Aiumlamai, S. 2010. Effects of original combination of

butafosfan and vitamin B12 and generics from Asia on reproduction parameters in cattle.

26th World Buiatrics Congress (3rd International Bayer Cattle Symposium), Santiago,

Chile, November 14, 2010.

Kaewlanum, W., Suwimonteerabutr, J., Chaimee, T., Virakul, P. and Techakumphu, M. 2008. Low

pregnancy rate in dairy cattle after fixed time artificial insemination using Norgestomet +

PGF2α + eCG program during the hot and humid months in Thailand. TJVM. 38 (2):53-58.

Kumlert, S., Jarassaeng, C., Aiumlamai, S*., Wongsrikeao, W., Chaiyotwittayakun, A. and

Kanistanon, K. 2007. Analysis of the relationship between energy balance and

reproductive performance in post partum dairy cows of small holders in Khon Kaen

province. KKU.Vet.J. 17(2):54-62.

Ninnasopha, K., Sirisatien, S., Junkoup, N., Seesupa, S. and Aiumlamai , S*. 2014. Comparison of

progesterone implant and GnRH administration after insemination on pregnancy rate in

dairy cows exposed to summer heat stress in Thailand. KKU. Vet. J. 24(1):57-66.

Pilachai, R., Aiumlamai, S., Wongsrikeao, W. and Sirisathien, S. 2006. Effect of GnRH or hCG

administration on the 5th day-post insemination regarding serum progesterone

concentration and conception rate in lactating cows during hot season. KKU. Vet. J. 16

(1): 61-70.

Pilachai, R., Aiumlamai, S., Wongsrikeao, W. and Sirisathien, S. 2004 A study on day 5 post-

insemination administration of GnRH or hCG on serum progesterone concentrations and

conception rates in dairy heifers during hot season. J.Thai Vet.Med.Assoc. 55(2):43-53.

Rhodes, F.M., McDougall, S., Burke, C.R., Verkerk G.A. and Macmillan K.L. 2003. Invited review:

Treatment of cows with an extended postpartum anestrous interval. J. Dairy Sci. 86:1876-

1894.

Page 32: How to Improve Productivity in Thai Dairy Farms เพิม ... · 2016. 3. 31. · อย่างไรก็ตาม ... สืบพันธุ์ และต้องให้การจัดการรักษาแก้ไขให้เร็ว

32

สุณีร ัตน์ เอี ยมละมัย คณะสัตวแพทยศาสตร์ ม.ขอนแก่น KVAC 2016: 25 มีนาคม 2559

Souza, A.H., Viechnieski, S., Lima, F.A., Silva, F.F. Araujo, R., Bo, G.A., Wilbank, M.C. and

Baruselli, P.S. 2009. Effects of equine chorionic gonadotropin and type of ovulatory

stimulus in timed-AI protocol on reproductive responses in dairy cows. Theriogenology.

72:10-21.

Seesupa, S., Pha-obnga, N. and Aiumlamai, S. 2012. Incomplete CIDR Device retention during

induction of oestrus in dairy heifers. The 13th KVAC International Conference on

Transboundary Diseases: Impacts on ASEAN One Health. Kosa Hotel, Khon Kaen,

Thailand. p 128.

Waranya Kanhachon, Nitima Tatiyaapiradee, Alisra Sinsorn, Amnuay Thotharin, Suvaluk Srisupa and

Suneerat Aiumlamai. 2014. Reproductive Performance of Dairy Cattle in Northeast

Thailand. Proceeding of 15TH KVAC International Conference: Sustainable Development

on ONE Health Pullman Hotel Khon Kaen Thailand. 24-25 April 2014.