34
เอกสารคําสอน รายวิชา 2102205 55 พีชคณิตของเมทริกซ (Matrix Algebra) 2.1 การดําเนินการของเมทริกซ (Matrix Operations) 2.2 ตัวผกผันของเมทริกซ (Inverse of a Matrix) 2.3 เมทริกซขั้นมูลฐาน (Elementary Matrices) 2.4 การแปลงเชิงเสนที่ผกผันได (Invertible Linear Transformation) 2.5 การแบงสวนเมทริกซ (Partitioned Matrices) 2.6 การแยกตัวประกอบ LU ของเมทริกซ (LU Factorization) 2.7 ตัวกําหนด / ดีเทอรมิแนนต (Determinant) 2.8 บทสรุปทายบท (Summary) 2.9 แบบฝกหัดทายบท (Exercises) ในบทที1 เราไดพิจารณาระบบสมการเชิงเสนและการดําเนินการตางๆ เพื่อใหไดมาซึ่ง ผลเฉลยของระบบ ทั้งนีเราพบวาการพิจารณาระบบสมการเชิงเสนใหอยูในรูปแบบของสมการ เมทริกซและเวกเตอร จะสามารถทําใหการแกระบบสมการเชิงเสนเพื่อหาผลเฉลยเปนไปได อยางมีประสิทธิภาพและเปนระบบมากขึ้น ในบทนีเราจะแนะนําการดําเนินการตางๆของเมทริกซอยางละเอียด พรอมทั้งนําเสนอ ตัวผกผันของเมทริกซ (Inverse of a Matrix) เมทริกซขั้นมูลฐาน (Elementary Matrices) การ แปลงเชิงเสนที่ผกผันได (Invertible Linear Transformation) และตัวกําหนดหรือดีเทอรมิแนนต (Determinant) ของเมทริกซ นอกจากนีจะมีการกลาวถึงการแบงสวนเมทริกซ (Partitioned Matrices) และการแยกตัวประกอบเมทริกซ (LU Factorization) อีกดวย ซึ่งใชวิเคราะหเมทริกซ ดังในตัวอยางของการประยุกตใชงานแผนใหม (Modern Application) เชน การออกแบบ เครื่องบิน [1] เปนตน 2 เอกสารคําสอน รายวิชา 2102205 56 2.1 การดําเนินการของเมทริกซ (Matrix Operations) ในการพิจารณาสมบัติเชิงเสนของระบบสมการเชิงเสนหนึ่งๆ สามารถอธิบายในรูปของ เวกเตอร (Vector) และเมทริกซ (รูปเอกพจน คือ Matrix และรูปพหูพจน คือ Matrices) ไดอยาง เปนขั้นเปนตอน เพื่อความเปนระบบระเบียบมากขึ้น โดยจะมีการกลาวถึงเวกเตอรอีกครั้ง เมื่อ อธิบายถึงปริภูมิเวกเตอร (Vector Space) ในบทที5 สําหรับในบทนีจะใชคําวา เวกเตอร เมื่อ หมายความถึง ชุดของจํานวนหรือตัวเลขหนึ่งชุด 2.1.1 เวกเตอรใน 2 R โดยปกติแลว เราเรียกเมทริกซที่มีเพียงแถวตั้งหนึ่งแถววาเปน เวกเตอรแถวตั้ง (Column Vector) หรือเรียกวา เวกเตอร เฉยๆ ตัวอักษรที่ใชแทนเวกเตอร จะใช ตัวตาม (Lower Case Letter) ตอไปนี้เปนตัวอยางของเวกเตอรที่มีสมาชิก 2 ตัว เชน 1 0.4 , , 3 0.5 α β = = = x y z เมื่อ α และ β เปนเลขจํานวนจริงใดๆ (โดยเรียกเซตของเวกเตอรทั้งหมดที่มีสมาชิก 2 ตัว วา 2 R ) R หมายถึง เซตของเลขจํานวนจริงใดๆ และ 2 เปนเลขชี้กําลังของ R ทีบงบอกถึงจํานวนของสมาชิกในเวกเตอรหนึ่งๆ ใน 2 R การบวกเวกเตอร (Vector Addition) เมื่อพิจารณาเวกเตอร x และ y ใน 2 R จากที่กลาวไวกอนหนานีผลบวกของ เวกเตอร x และ y หาไดจากการบวกคาของสมาชิกที่ตําแหนงเดียวกันของแตละ เวกเตอรเขาดวยกัน เชน 1 0.4 1 0.4 1.4 3 0.5 3 0.5 2.5 = + = + = −+ x+y การคูณเวกเตอรดวยสเกลาร (Scalar Multiplication) เวกเตอร x หนึ่งๆ จะถูกคูณดวยคาคงทีซึ่งเปนเลขจํานวนจริงโดยการคูณ สมาชิกแตละตัวของเวกเตอรนั้นๆ ดวยคาคงทีดังนี1 3 3 =∝ = x

Linear Algebra 2

Embed Size (px)

DESCRIPTION

Metrix algebra

Citation preview

Page 1: Linear Algebra 2

เอกสารคําสอน รายวิชา 2102205 55

พีชคณติของเมทริกซ (Matrix Algebra)

2.1 การดําเนินการของเมทริกซ (Matrix Operations) 2.2 ตัวผกผันของเมทริกซ (Inverse of a Matrix) 2.3 เมทริกซขั้นมูลฐาน (Elementary Matrices) 2.4 การแปลงเชิงเสนที่ผกผันได (Invertible Linear Transformation) 2.5 การแบงสวนเมทริกซ (Partitioned Matrices) 2.6 การแยกตัวประกอบ LU ของเมทริกซ (LU Factorization) 2.7 ตัวกําหนด / ดีเทอรมิแนนต (Determinant) 2.8 บทสรุปทายบท (Summary) 2.9 แบบฝกหัดทายบท (Exercises)

ในบทที่ 1 เราไดพิจารณาระบบสมการเชิงเสนและการดําเนินการตางๆ เพื่อใหไดมาซึ่ง

ผลเฉลยของระบบ ทั้งนี้ เราพบวาการพิจารณาระบบสมการเชิงเสนใหอยูในรูปแบบของสมการเมทริกซและเวกเตอร จะสามารถทําใหการแกระบบสมการเชิงเสนเพื่อหาผลเฉลยเปนไปไดอยางมีประสิทธิภาพและเปนระบบมากขึ้น

ในบทนี้ เราจะแนะนําการดําเนินการตางๆของเมทริกซอยางละเอียด พรอมทั้งนําเสนอ

ตัวผกผันของเมทริกซ (Inverse of a Matrix) เมทริกซขั้นมูลฐาน (Elementary Matrices) การแปลงเชิงเสนที่ผกผันได (Invertible Linear Transformation) และตัวกําหนดหรือดีเทอรมิแนนต (Determinant) ของเมทริกซ นอกจากนี้ จะมีการกลาวถึงการแบงสวนเมทริกซ (Partitioned Matrices) และการแยกตัวประกอบเมทริกซ (LU Factorization) อีกดวย ซึ่งใชวิเคราะหเมทริกซ ดังในตัวอยางของการประยุกตใชงานแผนใหม (Modern Application) เชน การออกแบบเครื่องบิน [1] เปนตน

2

เอกสารคําสอน รายวิชา 2102205 56

2.1 การดําเนินการของเมทริกซ (Matrix Operations) ในการพิจารณาสมบัติเชิงเสนของระบบสมการเชิงเสนหนึ่งๆ สามารถอธิบายในรูปของเวกเตอร (Vector) และเมทริกซ (รูปเอกพจน คือ Matrix และรูปพหูพจน คือ Matrices) ไดอยางเปนขั้นเปนตอน เพื่อความเปนระบบระเบียบมากขึ้น โดยจะมีการกลาวถึงเวกเตอรอีกครั้ง เมื่ออธิบายถึงปริภูมิเวกเตอร (Vector Space) ในบทที่ 5 สําหรับในบทนี้ จะใชคําวา เวกเตอร เมื่อหมายความถึง ชุดของจํานวนหรือตัวเลขหนึ่งชุด 2.1.1 เวกเตอรใน 2R โดยปกติแลว เราเรียกเมทริกซที่มีเพียงแถวตั้งหนึ่งแถววาเปน เวกเตอรแถวตั้ง (Column Vector) หรือเรียกวา เวกเตอร เฉยๆ ตัวอักษรที่ใชแทนเวกเตอร จะใช ตัวตาม (Lower Case Letter) ตอไปนี้เปนตัวอยางของเวกเตอรที่มีสมาชิก 2 ตัว เชน

1 0.4, ,

3 0.5

αβ

⎡ ⎤ ⎡ ⎤ ⎡ ⎤= = =⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥−⎣ ⎦ ⎣ ⎦ ⎣ ⎦

x y z

เมื่อ α และ β เปนเลขจํานวนจริงใดๆ (โดยเรียกเซตของเวกเตอรทั้งหมดที่มีสมาชิก 2 ตัว วา 2R ) R หมายถึง เซตของเลขจํานวนจริงใดๆ และ 2 เปนเลขชี้กําลังของ R ที่บงบอกถึงจํานวนของสมาชิกในเวกเตอรหนึ่งๆ ใน 2R

• การบวกเวกเตอร (Vector Addition) เมื่อพิจารณาเวกเตอร x และ y ใน 2R จากที่กลาวไวกอนหนานี้ ผลบวกของเวกเตอร x และ y หาไดจากการบวกคาของสมาชิกที่ตําแหนงเดียวกันของแตละเวกเตอรเขาดวยกัน เชน

1 0.4 1 0.4 1.4

3 0.5 3 0.5 2.5

= + = + =⎡ ⎤ ⎡ ⎤ ⎡ ⎤ ⎡ ⎤⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥− − + −⎣ ⎦ ⎣ ⎦ ⎣ ⎦ ⎣ ⎦

x + y

• การคูณเวกเตอรดวยสเกลาร (Scalar Multiplication)

เวกเตอร x หนึ่งๆ จะถูกคูณดวยคาคงที่ ∝ ซึ่งเปนเลขจํานวนจริงโดยการคูณสมาชิกแตละตัวของเวกเตอรนั้นๆ ดวยคาคงที่ ∝ ดังนี้

1

3 3

∝⎡ ⎤ ⎡ ⎤∝ = ∝ =⎢ ⎥ ⎢ ⎥− − ∝⎣ ⎦ ⎣ ⎦

x

Page 2: Linear Algebra 2

เอกสารคําสอน รายวิชา 2102205 57

การอธิบายและทําความเขาใจเวกเตอร ใน 2R ดวยรายละเอียดทางเรขาคณิต (Geometric Description) จะชวยใหมองเห็นความสัมพันธกันของสมาชิกตางๆ ในเวกเตอรไดดีขึ้น และใชอธบิายในกรณีทีเ่ลขชี้กําลังไมใช 2 ได

x2

x1

(1,1)

(-1,-1) (2,-1)

รูปที่ 2-1 ตวัอยางของเวกเตอรใน 2R

สําหรับ 2R ใหพิจารณาระนาบ บนแกน 2 แกนที่ตั้งฉากกันดังรูปที่ 2-1 เราสามารถ

เรียกแทนจุด (a,b) บนแกน 1 2x x− ดวยเวกเตอรแถวตั้ง a

b

⎡ ⎤⎢ ⎥⎣ ⎦

ได ดังนั้นเราสามารถนึกถึง จุด

ตางๆ บนแกน 1 2x x− เมื่อตองการพูดถึง 2R ได

x2

x1

A (1,1)

(-1,-1)BC (2,-1)

D(0,-3)

รูปที่ 2-2 ตวัอยางของเวกเตอรเรขาคณิตใน 2R

เอกสารคําสอน รายวิชา 2102205 58

เมื่อให A , B, C และ D เปนจุดตางๆ 4 จุด ใน 2R ดังแสดงในรูปที่ 2-2 เสนที่ลากเชื่อมจากจุด A ไปยังจุด B แทนดวยสัญลักษณ AB จะเรียกวาเปน เวกเตอรเรขาคณิต (Geometric Vector) จากจุด A ไปยังจุด B - จุด A เปนหาง (Tail) ของ AB - จุด B เปนปลาย (Tip) ของ AB ในการพิจารณาเวกเตอรหนึ่งๆ โดยสวนมาก จะพิจารณาทั้งขนาด (Magnitude) ซึ่งบอกระยะหางระหวางจุดที่หางและจุดปลายของเวกเตอร หรือเรียกวาความยาวของเวกเตอร (Length) ใชสัญกรณ AB และทิศทาง (Direction) ซึ่งบอกวาปลายของหัวลูกศร (Arrow) ของเวกเตอรอยู ณ ตําแหนงของจุดปลายของเวกเตอร

ขอสังเกต เวกเตอร 2 เวกเตอรจะ เทากัน หากมี ความยาวเทากัน และมี ทิศทางเดียวกัน ถึงแมวาเวกเตอรทั้งสองนั้นจะไมมีจุดหางและจุดปลายเดียวกัน ดังนั้น AB CD= ในรูปที่ 2-2 เ มื่อให OA=v เปนเวกเตอร เรขาคณิตบนแกน 1 2x x− โดยระบุไดดวยจุด

1 2A ( , )x x ดังรูปที่ 2-3 เมื่อจุดกําเนิด O(0,0) เปนจุดหางของเวกเตอรและจุด 1 2A ( , )x x เปนจุดปลายของเวกเตอร

x2

x1

v

A (x1,x2)

(0,0)x1

x2

0

รูปที่ 2-3 ตวัอยางของเวกเตอรตําแหนงใน 2R

Page 3: Linear Algebra 2

เอกสารคําสอน รายวิชา 2102205 59

ดังนั้น เราสามารถเขียนไดวา

1 1

2 2

0

0

⎡ ⎤ ⎡ ⎤⎡ ⎤= − =⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎢ ⎥

⎣ ⎦⎣ ⎦ ⎣ ⎦v

x x

x x (2.1)

[ ]T1 2= x x (2.2)

เมื่อ v ในสมการที่ (2.1) ถูกระบุดวยเวกเตอรแถวตั้ง ซึ่งเปนคูสลับ (Transposition) กับเวกเตอรแถวนอน หรือสัญกรณ [ ]T. ดังในสมการที่ (2-2) โดยเรียก v ในสมการที่ (2.1) หรือ (2.2) วาเปน เวกเตอรตําแหนง (Position Vector) ของจุด 1 2A ( , )x x กฎของรูปสี่เหลี่ยมดานขนานสําหรับการบวกเวกเตอร (Parallelogram Rule for Vector Addition) ใหเวกเตอร v และเวกเตอร w เปนเวกเตอร 2 เวกเตอรที่ตองการหาเวกเตอรผลลัพธของการบวก เมื่อนําสวนหางของเวกเตอร v และเวกเตอร w มาอยู ณ จุดเดียวกัน เราสามารถสรางรูปสามเหลี่ยมดานขนานขึ้นมาไดรูปหนึ่ง โดยมีตัวประกอบเปนขนาดและทิศทางของเวกเตอร v และเวกเตอร w นั้น ผลบวกของเวกเตอรทั้งสองนี้จะเปนเวกเตอรในแนวเสนทแยงมุม (Diagonal) ของรูปสี่เหลี่ยมดานขนานโดยเวกเตอรผลลัพธของการบวกนี้ จะมีสวนหางอยู ณ จุดเดียวกันกับทั้งสวนหางของเวกเตอร v และสวนหางของเวกเตอร w ดังแสดงในรูปที่ 2-4

x3

x2

x1

v

w

u

รูปที่ 2-4 การบวกเวกเตอรโดยใชกฎของรูปสี่เหลี่ยมดานขนาน

ดังนั้น จะเขียนเปนสมการคณิตศาสตรไดวา

= +u v w (2.3)

เอกสารคําสอน รายวิชา 2102205 60

เวกเตอร u เปนเวกเตอรผลบวกของเวกเตอร v และเวกเตอร w

ตัวอยางที่ 2-1 กําหนดให 2

2

⎡ ⎤= ⎢ ⎥⎣ ⎦

v และ 4

3

−⎡ ⎤= ⎢ ⎥⎣ ⎦

w จงหาเวกเตอรผลลัพธ +v w

วิธีทํา ใหเวกเตอร u เปนเวกเตอรผลลัพธของการบวกเวกเตอร v และเวกเตอร w ดังนั้น = +u v w

2 4 2 4 2

2 3 2 3 5

= + − = − = −⎡ ⎤ ⎡ ⎤ ⎡ ⎤ ⎡ ⎤⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥+⎣ ⎦ ⎣ ⎦ ⎣ ⎦ ⎣ ⎦

ตอบ

โดยสามารถแสดงใหเห็นภาพในรูปที่ 2-5 โดยใชกฎของรูปสี่เหลี่ยมดานขนานสําหรับการบวกเวกเตอร

x2

x1

v

w

u

(2,2)(-4,3)

(-2,5)

รูปที่ 2-5 ตวัอยางหนึ่งของการบวกเวกเตอรโดยใชกฎของรูปสี่เหลี่ยมดานขนาน

Page 4: Linear Algebra 2

เอกสารคําสอน รายวิชา 2102205 61

2.1.2 เวกเตอร ใน 3R เวกเตอรที่มีสมาชิก 3 ตัว สามารถแสดงใหเห็นภาพไดดวยรูป 3 มิติ ในปริภูมิพิกัด (3-dimensional coordinate space) ดังแสดงในรูปที่ 2-6 สําหรับเวกเตอรตัวอยาง เชน เวกเตอร

1

2

3

⎡ ⎤⎢ ⎥= ⎢ ⎥⎢ ⎥⎣ ⎦

v และเวกเตอร 2

2 4

6

⎡ ⎤⎢ ⎥= ⎢ ⎥⎢ ⎥⎣ ⎦

v เปนตน

x3

x2

x1

v

2v

รูปที่ 2-6 ตวัอยางของเวกเตอรใน 3R

2.1.3 เวกเตอรใน Rn Rn เปนเซตหรือชุดของเลขจํานวนจริง n ตัว หรือ n สิ่งอันดับ (Ordered n-tuple) โดยสวนมากเขียนใหอยูในรูปแบบเวกเตอรแถวตั้ง เชน

1

2

⎡ ⎤⎢ ⎥⎢ ⎥=⎢ ⎥⎢ ⎥⎣ ⎦

u

n

u

u

u

ในกรณีทั่วไป เมื่อสมาชิกของเวกเตอรหนึ่งๆ เปนศูนยทั้งหมด เราเรียกเวกเตอรนั้นๆ วา เวกเตอรศูนย (Zero Vector / Null Vector)

0

0

0

⎡ ⎤⎢ ⎥⎢ ⎥=⎢ ⎥⎢ ⎥⎣ ⎦

0

เอกสารคําสอน รายวิชา 2102205 62

สมบัติทางพีชคณิตของเวกเตอร สําหรับเวกเตอร , ,u v w ใน Rn และสเกลาร c กับ d (i) =u + v v + u (ii) ( ) ( )+ = + +u + v w u v w (iii) + = + =u 0 0 u u (iv) ( )+ − = − + =u u u u 0 เมื่อ ( 1)− = −u u (v) ( )+ = +u v u vc c c (vi) ( )+ = +u u uc d c d (vii) ( ) ( )=u uc d cd (viii) 1 =u u ขอสังเกต สําหรับการลบเวกเตอร (Vector Subtraction) ใหพิจารณาโดยใชสมบัติขอ (iv) ของการบวกเวกเตอร เชน −u v มีความหมายเชนเดียวกันกับ ( 1)+ −u v ซึ่งหมายความวาเราสามารถหาเวกเตอรผลลัพธของการลบเวกเตอรทั้งสองนี้ไดจาก ( )+ −u v ดังรูปที่ 2-7

x2

x1

v

0

-v

u

u-v

รูปที่ 2-7 ตัวอยางหนึ่งของการลบเวกเตอรใน 3R

Page 5: Linear Algebra 2

เอกสารคําสอน รายวิชา 2102205 63

2.1.4 เมทริกซ (Matrix) เมทริกซ เปนแถวลําดับของตัวเลขหนึ่งชุดซึ่งมีทั้งแถวตั้ง (Column) และแถวนอน (Row) พหูพจนของเมทริกซ เรียกวา Matrices ตัวอักษรที่ใชแทนเมทริกซหนึ่งๆ จะใช ตัวนํา (Upper Case Letter) ตอไปนี้เปนตัวอยางของเมทริกซ

22 1 3 1 1

50 1 5 2 3

3

−⎡ ⎤− −⎡ ⎤ ⎡ ⎤ ⎢ ⎥= = =⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥−⎣ ⎦ ⎣ ⎦ ⎢ ⎥⎣ ⎦

A B C

โดยทั่วไปแลว เมทริกซหนึ่งๆ ที่มีแถวนอน m แถวและมีแถวตั้ง n แถวจะเรียกวาเปนเมทริกซขนาด m n× ดังนั้นจากตัวอยางขางบนนี้ จะเห็นวาเมทริกซ A มีแถวนอน 2 แถว และมีแถวตั้ง 3 แถว จึงกลาวไดวา เมทริกซ A มีขนาด 2 3× เมทริกซ B มีขนาด 2 2× และเมทริกซ C มีขนาด 3 1× ตามลําดับ ทั้งนี้ เมทริกซขนาด 1 n× จะเปนเมทริกซแถวนอน (Row Matrix) หรือเรียกวาเปน เวกเตอรแถวนอน (Row Vector) ในขณะเดียวกัน เมทริกซขนาด 1m× จะเรียกวาเปน เมทริกซแถวตั้ง (Column Matrix) หรือเรียกวา เวกเตอรแถวตั้ง (Column Vector) ขอสังเกต เมทริกซที่มีจํานวนแถวนอนเทากันกับจํานวนแถวตั้ง หรือมีขนาด ×n n เมื่อ n เปนเลขจํานวนเต็มที่มากกวาศูนย จะเรียกวา เมทริกซจัตุรัส (Square Matrix) ตําแหนงของสมาชิกในเมทริกซ (Entry) จะเปนไปตามแถวนอนและแถวตั้งของสมาชิกนั้นๆ โดยใหนับแถวนอนเริ่มจากบนลงลางและใหนับแถวตั้งจากซายไปขวา ดังนั้น ( ,i j )-entry ของเมทริกซ A หนึ่งๆ หรือใชแทนวา ija จะเปนตัวเลขในเมทริกซ A ที่อยูบนแถวนอนที่ i แถวตั้งที่ j ตัวอยางเชน

2 1 3

0 1 5

−⎡ ⎤= ⎢ ⎥−⎣ ⎦

A

12

23

(1, 2) entry of 1

(2,3) entry of 5

= − == − =

A

A

a

a

โดยทั่วไปแลว เมทริกซ A ขนาด m n× สามารถเขียนแจกแจงสมาชิกไดดังนี้

เอกสารคําสอน รายวิชา 2102205 64

11 12 13 1

21 22 23 2

1 2 3

⎡ ⎤⎢ ⎥⎢ ⎥=⎢ ⎥⎢ ⎥⎣ ⎦

A

n

n

m m m mn

a a a a

a a a a

a a a a

หรือสามารถเขียนไดเปน ⎡ ⎤= ⎣ ⎦A ija เมื่อ 1≤ ≤i m และ 1≤ ≤j n ดังนั้น เมทริกซ A และเมทริกซ B จะเทากันก็ตอเมื่อเมทริกซทั้งสองนั้นมีขนาดเทากัน (เปน m n× ) และสมาชิกแตละตัวของเมทริกซ A มีคาเทากันกับสมาชิกแตละตัวของเมทริกซ B ณ ตําแหนงหนึ่งๆ และทุกตําแหนง (กลาวคือ ij ija b= สําหรับทุกคา ,i j )

ตัวอยางที่ 2-2 กําหนดให 1 2 1 2 1

1 0 1 0 3

− − −⎡ ⎤ ⎡ ⎤ ⎡ ⎤= = =⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥−⎣ ⎦ ⎣ ⎦ ⎣ ⎦

A B Ca b

c d

(1) จงพิจารณาวาเมทริกซ A และ B เทากันหรือไม เมทริกซ A กับเมทริกซ B ไมเทากันเนื่องจากเมทริกซทั้งสองมีขนาดตางกัน กลาวคือ เมทริกซ A มีขนาด 2 2× ในขณะที่ เมทริกซ B มีขนาด 2 3× ตอบ (2) จงพิจารณาวาเมทริกซ B และ C เทากันหรือไม

เมทริกซทั้งสองไมเทากัน เนื่องจากเมทริกซ B และ C มีขนาดตางกัน ตอบ

(3) จงพิจารณาวา เมทริกซ A และ C เทากันหรือไม มีความเปนไปไดที่เมทริกซ A และ C จะเทากัน เนื่องจาก เมทริกซทั้งสองมีขนาด

2 2× เชนเดียวกัน โดยเมทริกซ =A C ก็ตอเมื่อ 1, 2, 1a b c= = − = และ 0d = ตอบ

2.1.4.1 การบวกเมทริกซ (Matrix Addition) ถาเมทริกซ A และเมทริกซ B มีขนาด m n× เทากัน ผลบวกของเมทริกซทั้งสองจะเปนเมทริกซผลลัพธที่นําคาสมาชิกของทั้งสองเมทริกซ A และ B มาบวกกัน ณ ตําแหนงที่สอดคลองกัน (ทั้งนี้การบวกเมทริกซที่มีขนาดตางกันจะไมสามารถทาํได) เมื่อให ⎡ ⎤= ⎣ ⎦A ija และ ⎡ ⎤= ⎣ ⎦B ijb แลว ผลบวกของเมทริกซทั้งสองหาไดจาก

⎡ ⎤+ = +⎣ ⎦A B ij ija b

Page 6: Linear Algebra 2

เอกสารคําสอน รายวิชา 2102205 65

เชน 2 1 3 1 1 1,

1 2 0 2 0 6

−⎡ ⎤ ⎡ ⎤= =⎢ ⎥ ⎢ ⎥−⎣ ⎦ ⎣ ⎦

A B

2 1 1 1 3 1 3 2 2

1 2 2 0 0 6 1 2 6

+ + −⎡ ⎤ ⎡ ⎤= =⎢ ⎥ ⎢ ⎥− + + +⎣ ⎦ ⎣ ⎦

A + B

2.1.4.2 การคูณเมทริกซดวยสเกลาร (Scalar Multiplication) สําหรับเมทริกซ A หนึ่งๆ ขนาด m n× เมื่อถูกคูณดวยคาคงที่ k เมทริกซผลลัพธจะหาไดจากการคูณสมาชิกทุกตัวของเมทริกซ A ดวยคาคงที่ k ดังนี้

⎡ ⎤= ⎣ ⎦A ijk ka เมื่อ 1≤ ≤i m และ 1≤ ≤j n

เชน 1 32 21

2 12

12 1 3 6 3 9, 3 ,

1 2 0 3 6 0 1 0

− −

−−⎡ ⎤⎡ ⎤ ⎡ ⎤

= = = ⎢ ⎥⎢ ⎥ ⎢ ⎥− − −⎣ ⎦ ⎣ ⎦ ⎢ ⎥⎣ ⎦A A A

ขอสังเกต =A 0k (เมื่อ 0 เปนเมทริกซศูนย) อาจเกิดขึ้นไดจาก 2 สาเหตุ คือ (1) 0k = หรือ (2) =A 0 (เมทริกซศูนย) สมบัติของการบวกและการคูณเมทริกซดวยสเกลาร เมื่อให , ,A B C เปนเมทริกซขนาดเทากัน คือ m n× และให ,r s เปนคาคงที่ใดๆ แลว (i) สมบัติการสลับที่ (Commutative) =A + B B + A (ii) สมบัติการเปลี่ยนหมู (Associative) ( + ) + = + ( + )A B C A B C (iii) มีเมทริกซศูนย 0 ขนาด m n× เชนกันกับเมทริกซ A ที่ทําให A + 0 = A (iv) + (- ) = A A 0 เมื่อ = ( 1)− −A A (v) สมบัติการกระจายการคูณผลบวกของเมทริกซดวยสเกลาร ( + ) = + A B A Br r r (vi) สมบัติการกระจายการคูณเมทริกซดวยผลบวกของสเกลาร ( ) + + =A A Ar s r s

เอกสารคําสอน รายวิชา 2102205 66

(viii) สมบัติการกระจายการคูณเมทริกซดวยผลคูณของสเกลาร ( ) = ( )A Ar s rs (viii) 1 = A A เมื่อ 1 เปนคาคงที่ 2.1.4.3 คูสลับของเมทริกซ (Matrix Transposition) คูสลับหรือการยายขางของเมทริกซ A ขนาดm n× จะไดเมทริกซใหม ที่มีจํานวนแถวนอนเทากับจํานวนแถวตั้งของเมทริกซตนฉบบัและมีจํานวนแถวตัง้ เทากับจํานวนแถวนอนของเมทริกซตนฉบับ ดังนั้น คูสลับของเมทริกซ A ซึ่งมีสัญกรณเปน AT จะมีขนาด ×n m ถา = ⎡ ⎤⎣ ⎦A ija แลว คูสลับของเมทริกซ A จะหาไดจาก ⎡ ⎤= ⎣ ⎦AT

ijb เมื่อ ij jib a= สําหรับ 1≤ ≤i m และ 1≤ ≤j n ซึ่งหมายความวา ถา = ⎡ ⎤⎣ ⎦A ija แลว ⎡ ⎤= ⎣ ⎦AT

jia เชน

1 41 2 3

, 2 54 5 6

3 6

⎡ ⎤⎡ ⎤ ⎢ ⎥= =⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎣ ⎦ ⎢ ⎥⎣ ⎦

A AT

1 3 3 1 3 3

3 1 4 , 3 1 4

3 4 1 3 4 1

− −⎡ ⎤ ⎡ ⎤⎢ ⎥ ⎢ ⎥= = =⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎢ ⎥ ⎢ ⎥− −⎣ ⎦ ⎣ ⎦

B B BT

สมบัติของคูสลับของเมทริกซ ให A และ B เปนเมทริกซขนาดเทากัน และ k เปนคาคงที่ใดๆ (i) ( ) =A AT T (ii) ( ) =A AT Tk k (iii) ( )+ = +A B A BT T T ทฤษฏีบทที่ 2-1 เมื่อเมทริกซ A และคูสลับของเมทริกซ A เทากัน กลาวคือ =A AT แลว เมทริกซ A จะเปนเมทริกซจัตุรัส ขนาด n n× และ เปนเมทริกซสมมาตร (Symmetric) ดวย พิสูจน ให A มีขนาด ×m n ดังนั้น AT มีขนาด ×n m ถาเมทริกซ =A AT แลว นั้นหมายความวา =m n ซึ่งก็คือ เมทริกซ A เปนเมทริกซจัตุรัส ขนาด n n× เทานั้น ซ.ต.พ.

Page 7: Linear Algebra 2

เอกสารคําสอน รายวิชา 2102205 67

ตัวอยางที่ 2-3 ถา A และ B เปนเมทริกซสมมาตร ขนาด n n× จงแสดงใหเห็นวา +A B เปนเมทริกซสมมาตร วิธีทํา ถา A เปนเมทริกซสมมาตร แลว =A AT ถา B เปนเมทริกซสมมาตร แลว =B BT เมื่อหาคูสลับของผลบวกของเมทริกซ A กับเมทริกซ B จะได

( + ) = +A B A BT T T (จากสมบัติการยายขางของเมทริกซ)

= A + B (จากความเปนเมทริกซสมมาตร)

เมื่อ = ( )A + B A + B T ดังนั้นจึงสามารถสรุปไดวา +A B เปน เมทริกซสมมาตร ตอบ

ตัวอยางที่ 2-4 สมมติใหเมทริกซจัตุรัส A มีสมบัติดังนี้ คือ = 2A AT จงแสดงใหเห็นวา เมทริกซ A ตองเปนเมทริกซศูนยเทานั้น

วิธีทํา โจทยให = 2A AT

แทนคาเมทริกซ A ทางขวามือของสมมาตรขางบนนี้ดวย 2AT จะได

= 2 (2 )A AT T

ใชสมบัติคูสลับของเมทริกซ จะได

= 2 2( )

= 4 ( )

= 4

⎡ ⎤⎣ ⎦A A

A

A A

TT

T T

ลบออกดวยเมทริกซ A ทั้งสองขางของสมการ จะได

= 30 A

ดังนั้น เมทริกซ =A 0 เปนเมทริกซศูนยเทานั้น ตอบ

เอกสารคําสอน รายวิชา 2102205 68

2.1.4.4 การคูณเมทริกซ (Matrix Multiplication) กําหนดให A เปนเมทริกซ ขนาด m n× และ B เปนเมทริกซขนาด n k′× การคูณเมทริกซ A กับเมทริกซ B จะกระทําไดก็ตอเมื่อ n n′= เทานั้น เมทริกซผลลพัธของการคณูนี้ คือ เมทริกซ AB จะมีขนาด m k× เมื่อเขียนเมทริกซ B ใหอยูในรูปของเวกเตอรแถวตั้ง [ ]1,....,=B b b k

[ ][ ]

1 2

1 2

= ....

= ....

AB A b b b

Ab Ab Ab

k

k

จะเห็นไดวา แตละแถวตั้งของเมทริกซผลคูณ AB จะอยูในรูปของการคูณเมทริกซ A กับเวกเตอรแถวตั้ง b j เมื่อ 1≤ ≤j k โดยที่ k เปนจํานวนแถวตั้งทั้งหมดของเมทริกซ B ตัวอยางที่ 2-5 จงหาเมทริกซผลคูณ AB เมื่อ

2 3 =

1 5

⎡ ⎤⎢ ⎥−⎣ ⎦

A และ 4 3 6 =

1 2 3

⎡ ⎤⎢ ⎥−⎣ ⎦

B

วิธีทํา เขียนเมทริกซ B ใหอยูในรูปของเวกเตอรแถวตั้ง [ ]1 2 3=B b b b และคํานวณหา 1 2 3, ,Ab Ab Ab

1 2

2 3 4 11 2 3 3 0,

1 5 1 1 1 5 2 13

⎡ ⎤ ⎡ ⎤ ⎡ ⎤ ⎡ ⎤ ⎡ ⎤ ⎡ ⎤= = = =⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥− − − −⎣ ⎦ ⎣ ⎦ ⎣ ⎦ ⎣ ⎦ ⎣ ⎦ ⎣ ⎦

Ab Ab

3

2 3 6 21

1 5 3 9

⎡ ⎤ ⎡ ⎤ ⎡ ⎤= =⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥− −⎣ ⎦ ⎣ ⎦ ⎣ ⎦

Ab

ดังนั้น [ ]1 2 3

11 0 21

1 13 9

=

⎡ ⎤= ⎢ ⎥− −⎣ ⎦

AB Ab Ab Ab

ตอบ

ขอสังเกต เวกเตอรแถวตั้งในแถวตั้งที่ 1 ของเมทริกซผลคูณ AB ซึ่งเทากันกับ 1Ab นั้นเปน ผลรวมเชิงเสน ของเวกเตอรแถวตั้ง 1a และ 2a ของเมทริกซ A กับสัมประสิทธ (Coefficient) หรือคาน้ําหนัก (Weight) ของสมาชิกในเวกเตอรแถวตั้ง 1b คําอธิบายจะเปนไปในทํานองเดียวกันสําหรับเวกเตอรแถวตั้ง 2Ab และ 3Ab (โปรดดูรายละเอียดเรื่อง ผลรวมเชิงเสน ในบทที่ 1)

Page 8: Linear Algebra 2

เอกสารคําสอน รายวิชา 2102205 69

กฎของแถวนอนแถวตั้งสําหรับการหาผลคูณของเมทริกซ (Row-column Rule) ในการหาผลคูณของเมทริกซ AB หากเมทริกซทั้งสองมีขนาดที่คูณกันไดแลว คือ จํานวนแถวตั้งของเมทริกซ A เทากับจํานสนแถวนอนของเมทริกซ B สมาชิก ณ ตําแหนงในแถวนอนที่ i และแถวตั้งที่ j ของเมทริกซ AB จะเกิดจาก ผลรวมของผลคูณของสมาชิกของเมทริกซ A ในแถวนอนที่ i กับสมาชิกของเมทริกซ B ในแถวตั้งที่ j ถาให ABij แสดงถึง ( , ) entryi j − ของเมทริกซ AB และถาเมทริกซ A มีขนาด m n× และเมทริกซ B มีขนาด n k× แลว เมทริกซผลลัพธ AB มีขนาด ×m k โดยที่

1 1 2 2 ....= + + +AB ij i j i j in nja b a b a b (2.4)

ตัวอยางที่ 2-6 จงหาผลคูณของเมทริกซ AB โดยใชกฎของแถวนอนแถวตั้ง

วิธีทํา เมื่อ 2 3

1 5

⎡ ⎤= ⎢ ⎥−⎣ ⎦

A และ 4 3 6

1 2 3

⎡ ⎤= ⎢ ⎥−⎣ ⎦

B

2 3 4 3 6 2(4) 3(1) * *

1 5 1 2 3 * * *

11 * *

* * *

→ +⎡ ⎤ ⎡ ⎤ ⎡ ⎤= =⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥− −⎣ ⎦ ⎣ ⎦ ⎣ ⎦

⎡ ⎤= ⎢ ⎥

⎣ ⎦

AB

ทําเชนเดียวกันกับการหาสมาชิกตัวอื่นของ AB เชน

2 3 4 3 6 11 * * 11 * *

1 5 1 2 3 * * 1(6) 5(3) * * 9

⎡ ⎤ ⎡ ⎤ ⎡ ⎤ ⎡ ⎤= =⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥→ − − − −⎣ ⎦ ⎣ ⎦ ⎣ ⎦ ⎣ ⎦

ซึ่งพบวา การใชกฎของแถวนอนแถวตั้ง ในการหาผลคูณของเมทริกซ A และ เมทริกซ B จะใหผลเชนเดียวกันกับในตัวอยาง กอนหนานี้คือ

11 0 21 =

1 13 9

⎡ ⎤⎢ ⎥− −⎣ ⎦

AB ตอบ

เอกสารคําสอน รายวิชา 2102205 70

การคูณดวยเมทริกซ A การคูณดวยเมทริกซ B

การคูณดวยเมทริกซ AB

2.1.5 การประกอบของการสง (Composition of Mapping) เราสามารถพิจารณาการคูณเมทริกซกับเมทริกซดวย การสง (Mapping) กลาวคือ เมื่อเวกเตอร x หนึ่งๆ ถูกคูณดวยเมทริกซ B จะไดเวกเตอรผลลัพธ Bx และเมื่อเราคูณเวกเตอร Bx ดวยเมทริกซ A เราจะไดเวกเตอรผลลัพธ ( )A Bx ดังแสดงในรูปที่ 2-8 ซึ่งจะเห็นไดวา การคูณเวกเตอร x ดวยเมทริกซ B กอน ตามดวยเมทริกซ A จะใหผลลัพธเชนเดียวกันกับการคูณเวกเตอร x ดวยเมทริกซผลคูณ AB โดยเรียกรูปแบบของการคูณเวกเตอรดวยเมทริกซเดี่ยวหนึ่งเมทริกซ คือ เมทริกซ AB นี้วา การประกอบของการสง (Composition of Mapping) ของเวกเตอร x

xBx

A(Bx)

รูปที่ 2-8 ผลของการคูณเวกเตอร x ดวยเมทริกซ AB

สมบัติของการคูณเมทริกซกับเมทริกซ ให A เปนเมทริกซขนาด m n× และให B และ C เปนเมทริกซขนาดเดียวกันกับเมทริกซ A ซึ่งเมทริกซทั้งสามนี้สามารถบวกกันและลบกันได และ r เปนคาสเกลารใดๆ (i) กฎการเปลี่ยนหมูของการคูณ (Associative Law of Multiplication) A(BC) = (AB)C (ii) กฎการแจกแจงดานซาย (Left-Distributive Law) A(B + C) = AB + AC (iii) กฎการแจกแจงดานขวา (Right-Distributive Law) (B + C) A = BA + CA (iv) สมบัติการกระจายการคูณผลคูณของเมทริกซดวยสเกลาร ( ) ( )(AB) = A B = A Br r r (v) การมีเอกลักษณการคูณเมทริกซ (Identity for Matrix Multiplication) = =I A A AIm n

Page 9: Linear Algebra 2

เอกสารคําสอน รายวิชา 2102205 71

ขอสังเกต • เมทริกซผลคูณ AB กับเมทริกซผลคูณ BA ไมจําเปนตองเทากันเสมอไป • หากเมทริกซผลคูณ AB เทากันกับเมทริกซผลคูณ ACแลว เมทริกซ B อาจไม

เทากันกับเมทริกซ C • หากเมทริกซผลคูณ AB เทากับเมทริกซศูนยแลว เมทริกซ A และ เมทริกซ B อาจ

ไมเทากันกับเมทริกซศูนย

ตัวอยางที่ 2-7 กําหนดใหเมทริกซ 5 1=

3 2

⎡ ⎤⎢ ⎥−⎣ ⎦

A และเมทริกซ 2 0=

4 3

⎡ ⎤⎢ ⎥⎣ ⎦

B

จงหาเมทริกซผลคูณ AB และเมทริกซผลคูณ BA วิธีทํา

5 1 2 0 14 3

3 2 4 3 2 6

2 0 5 1 10 2

4 3 3 2 29 2

⎡ ⎤ ⎡ ⎤ ⎡ ⎤= =⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥− − −⎣ ⎦ ⎣ ⎦ ⎣ ⎦⎡ ⎤ ⎡ ⎤ ⎡ ⎤

= =⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥− −⎣ ⎦ ⎣ ⎦ ⎣ ⎦

AB

BA

จะเห็นวา ≠AB BA ตอบ ตัวอยางที่ 2-8 กําหนดใหเมทริกซ , ,A B C ดังตอไปนี้

2 3 8 4 5 2, ,

4 6 5 5 3 1

− −⎡ ⎤ ⎡ ⎤ ⎡ ⎤= = =⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥−⎣ ⎦ ⎣ ⎦ ⎣ ⎦

A B C

จงหาเมทริกซผลคูณ AB และเมทริกซผลคูณ AC วิธีทํา

2 3 8 4 1 7

4 6 5 5 2 14

2 3 5 2 1 7

4 6 3 1 2 14

− −⎡ ⎤ ⎡ ⎤ ⎡ ⎤= =⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥− −⎣ ⎦ ⎣ ⎦ ⎣ ⎦

− − −⎡ ⎤ ⎡ ⎤ ⎡ ⎤= =⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥− −⎣ ⎦ ⎣ ⎦ ⎣ ⎦

AB

AC

จะเห็นวา =AB AC ถึงแมวา ≠B C ตอบ

เอกสารคําสอน รายวิชา 2102205 72

ตัวอยางที่ 2-9 กําหนดใหเมทริกซ 3 6=

1 2

−⎡ ⎤⎢ ⎥−⎣ ⎦

A และเมทริกซ 2 4=

1 2

⎡ ⎤⎢ ⎥⎣ ⎦

B

จงหาเมทริกซผลคูณ AB วิธีทํา

3 6 2 4 0 0

1 2 1 2 0 0

−⎡ ⎤ ⎡ ⎤ ⎡ ⎤= = =⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥−⎣ ⎦ ⎣ ⎦ ⎣ ⎦

AB 0

จะเห็นวา ถึงแมวา ≠A 0 และ ≠B 0 แตเมทริกซผลคูณ =AB 0 ได ตอบ 2.1.6 กําลังของเมทริกซ (Power of a Matrix) การคูณกันของเมทริกซ A กับเมทริกซ A เองเปนจํานวน k ครั้ง จะไดเมทริกซผลลัพธ ซึ่งเขียนไดในรูปของ kA (สังเกตวาเลขยกกําลัง k ของเมทริกซ A จะเทากับจํานวนครั้งของการคูณ) นั่นหมายความวา

terms

⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅A = A Ak

k

(2.5)

ตัวอยางที่ 2-10 จงหาเมทริกซ 3A เมื่อกําหนดใหเมทริกซ 1 0

3 -2

⎡ ⎤⎢ ⎥⎣ ⎦

A =

วิธีทํา ⋅ ⋅3A = A A A

1 0 1 0 1 0

3 -2 3 -2 3 -2

⎛ ⎞⎡ ⎤ ⎡ ⎤ ⎡ ⎤⎜ ⎟⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎣ ⎦ ⎣ ⎦ ⎣ ⎦⎝ ⎠

=

1 0 1 0

-3 4 3 -2

⎡ ⎤ ⎡ ⎤⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎣ ⎦ ⎣ ⎦

=

1 0

9 -8

⎡ ⎤⎢ ⎥⎣ ⎦

= ตอบ

Page 10: Linear Algebra 2

เอกสารคําสอน รายวิชา 2102205 73

2.2 ตัวผกผันของเมทริกซ (Inverse of a Matrix) สําหรับเมทริกซ A หนึ่งๆ ที่เปนเมทริกซจัตุรัสขนาด ×n n จะเปนเมทริกซที่ หาตัวผกผันได (Invertible) ถามีเมทริกซขนาดจัตุรัสอีกเมทริกซหนึ่ง เรียกวา ตัวผกผันของเมทริกซ A (Inverse of a Matrix) มีสัญกรณเปน 1−A ที่ทําให

1n=-AA I และ n

-1A A = I

เมื่อ nI เปนเมทริกซเอกลักษณขนาด n x n เมทริกซหนึ่งๆ ที่หาตัวผกผันได จะเรียกวาเปน เมทริกซไมเอกฐาน (Non-Singular Matrix) ในทางตรงขาม หากเมทริกซนั้นๆ ไมสามารถหาตัวผกผันได (Non-Invertible) จะเรียกวาเปน เมทริกซเอกฐาน (Singular Matrix) สูตรทั่วไปที่ใชในการหาตัวผกผันของเมทริกซ A เปนดังนี้

1 adj( )− AA =

A (2.6)

เมื่อ - เมทริกซผูกผัน (Adjoint Matrix) ของเมทริกซ A มีสัญกรณเปน adj( )A หาไดจาก ( )T

ijC - ijC เปนโคแฟกเตอร (Co-factor) ของสมาชิกแตละตัว ija ในเมทริกซ A - A เปนตัวกําหนด (Determinant) ของเมทริกซ (สําหรับรายละเอียดของการหาโคแฟกเตอรและตัวกําหนดของเมทริกซ จะไดกลาวถึงอยางละเอียดอีกครั้งหนึ่งในหัวขอ 2.6 ตอไป) สมบัติของตัวผกผันของเมทริกซ สําหรับเมทริกซจัตุรัส ×An n หนึ่งๆ ที่หาตัวผกผันได จะมีตัวผกผันของเมทริกซ คือ

1−A ขนาดเทากันกับเมทริกซ A ซึ่งมีสมบัติดังตอไปนี้

(i) ( ) 1−-1A = A

(ii) ( )-1 -1 -1AB = B A

เอกสารคําสอน รายวิชา 2102205 74

(iii) ( ) ( )-1 -1A = ATT

(iv) -1 1A =

A

(v) adj( ) adj( )⋅ ⋅ ⋅A A = A I = A An

(vi) ( ) ( )- -1 -1A = A = Ar r r

(vii) +( )A A = Ar s r s

(viii) ( )( )A = Ar s rs

2.2.1 การใชตัวผกผันของเมทริกซในการหาผลเฉลยของระบบสมการเชิงเสน (Solution of a Linear System by using an Inverse of a Matrix) สําหรับระบบสมการเชิงเสนหนึ่งๆ ที่สามารถเขียนใหอยูในรูปของสมการเมทริกซและเวกเตอรไดเปน

=Ax b

เมื่อ A เปนเมทริกซสัมประสิทธิ์ของระบบสมการเชิงเสน ขนาด n x n และเปนเมทริกซไมเอกฐาน และ b เปนเวกเตอรใน Rn แลว ผลเฉลยของระบบสมการเชิงเสน x จะมีผลเฉลยหนึ่งเดียว คือ

= -1x A b (2.7)

Page 11: Linear Algebra 2

เอกสารคําสอน รายวิชา 2102205 75

ตัวอยางที่ 2-11 จงหาผลเฉลยของระบบสมการเชิงเสนนี้

1 2

1 2

7 3 2

5 2 1

x x

x x

− + =− =

โดยใชการหาตัวผกผันของเมทริกซสัมประสิทธิ์ของระบบสมการเชิงเสน -7 3

5 -2

⎡ ⎤= ⎢ ⎥⎣ ⎦

A

วิธีทํา จากระบบสมการเชิงเสน =Ax b

เมื่อเมทริกซสัมประสิทธิ์ของระบบสมการเชิงเสนเปน -7 3

5 -2

⎡ ⎤= ⎢ ⎥⎣ ⎦

A และ 1

2

⎡ ⎤⎢ ⎥⎣ ⎦

x

x เปนเวกเตอร

ของตัวแปรไมทราบคาของระบบ จะไดวา

-7 3 2

5 -2 1

⎡ ⎤⎡ ⎤ ⎡ ⎤=⎢ ⎥⎢ ⎥ ⎢ ⎥

⎣ ⎦ ⎣ ⎦⎣ ⎦1

2

x

x

จาก -1 1adj( )=A A

A

-2 -3 2 31

-5 -7 5 7(-7)(-2) - (5)(3)

⎡ ⎤ ⎡ ⎤⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎣ ⎦ ⎣ ⎦

= =

ดังนั้นผลเฉลยของระบบสมการเชิงเสนนี้ คือ

-1 2 3 2 7

5 7 1 17

⎡ ⎤ ⎡ ⎤ ⎡ ⎤ ⎡ ⎤= = =⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥

⎣ ⎦ ⎣ ⎦ ⎣ ⎦⎣ ⎦1

2

xA b

x

ซึ่งก็คือ 1 7x = และ 2 17x = เปนผลเฉลยของระบบ ตอบ

เอกสารคําสอน รายวิชา 2102205 76

2.3 เมทริกซขั้นมูลฐาน (Elementary Matrices) เมทริกซขั้นมูลฐานหนึ่งๆ คือ เมทริกซผลลัพธที่ไดจากการดําเนินการตามแถวนอนขั้นมูลฐาน หนึ่งครั้งตอเมทริกซเอกลักษณ nI เราแบงการดําเนินการตามแถวนอนขั้นมูลฐานตอเมทริกซหนึ่งๆ ออกเปน 3 ประเภทดังนี้

• ประเภทที่ 1 การสับเปลี่ยนสัมประสิทธิ์ของเมทริกซระหวางแถวนอน 2 แถวนอน • ประเภทที่ 2 การปรับมาตราสัมประสิทธิ์ของเมทริกซในแถวนอนแถวหนึ่ง ดวยคาคงที่

คาหนึ่งที่ไมใชศูนย • ประเภทที่ 3 การแทนที่สัมประสิทธิ์ของเมทริกซในแถวนอนแถวหนึ่งดวยสัมประสิทธิ์

ชุดใหมที่เปนผลรวมของสัมประสิทธิ์ในแถวนอนสองแถวนอน ที่อาจมีการถูกปรับมาตราแลวดวย

ตัวอยางที่ 2-12

1 2 3

0 1 1 0 1 5, ,

1 0 0 9 0 1

⎡ ⎤ ⎡ ⎤ ⎡ ⎤= = =⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎣ ⎦ ⎣ ⎦ ⎣ ⎦

E E E

เมทริกซ 1 2E ,E และ 3E เปนตัวอยางของเมทริกซขั้นมูลฐานประเภทที่ 1, 2 และ 3 ตามลําดับ โดย 1E เปนเมทริกซเอกลักษณ 2( )I ที่ถูกสับเปลี่ยนสัมประสิทธิ์ระหวางแถวนอนที่ 1 และ 2 2E เปนเมทริกซเอกลักษณ 2( )I ที่สัมประสิทธิ์ในแถวนอนที่ 2 ถูกปรับมาตราดวย '9 ' 3E เปนเมทริกซเอกลักษณ 2( )I ที่สัมประสิทธิ์ในแถวนอนที่ 1 ถูกแทนที่ดวย คาสัมประสิทธิ์ชุดใหมซึ่งเปนผลรวมของสัมประสิทธิ์ในแถวนอนที่ 1 กับสัมประสิทธิ์ ในแถวนอนที่ 2 ที่ถูกปรับมาตราดวยคาคงที่ '5 ' แลว ดังนั้น หากนําเมทริกซขั้นมูลฐาน 1 2 3E ,E ,E นี้ มาคูณกับเมทริกซ A จะใหผลโดยออมตอสัมประสิทธิ์ของเมทริกซ A หนึ่งๆ เชนเดียวกันกับการดําเนินการตามแถวนอนขั้นมูลฐานนั้นๆ กับเมทริกซ A โดยตรง ดังตัวอยางตอไปนี้

เมื่อใหเมทริกซ ⎡ ⎤⎢ ⎥⎣ ⎦

A =a b c

d e f

1

0 1

1 0

⎡ ⎤ ⎡ ⎤ ⎡ ⎤=⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥

⎣ ⎦ ⎣ ⎦ ⎣ ⎦E A =

a b c d e f

d e f a b c

จะเห็นไดวา เมทริกซผลลัพธ 1E A ถูกสับเปลีย่นสัมประสิทธิ์ในแถวนอนที่ 1 และ 2

Page 12: Linear Algebra 2

เอกสารคําสอน รายวิชา 2102205 77

2

1 0

0 9 9 9 9

⎡ ⎤ ⎡ ⎤ ⎡ ⎤=⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥

⎣ ⎦ ⎣ ⎦ ⎣ ⎦E A =

a b c a b c

d e f d e f

จะเห็นไดวา เมทริกซผลลัพธ 2E A มีการปรับมาตราสัมประสิทธิ์ในแถวนอนที่ 2 ดวยคาคงที่เปน 9

3

1 5 5 5 5

0 1

+ + +⎡ ⎤ ⎡ ⎤ ⎡ ⎤⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎣ ⎦ ⎣ ⎦ ⎣ ⎦

E A = =a b c a d b e c c

d e f d e f

จะเห็นไดวา เมทริกซผลลพัธ 3E A มีการแทนที่สัมประสิทธิ์ในแถวนอนที่ 1 ดวยคาสัมประ-สิทธิ์ชุดใหม ซึ่งเปนผลรวมของสัมประสิทธิ์ในแถวนอนที่ 1 กับสัมประสิทธิใ์นแถวนอนที่ 2 ที่ถูกปรับมาตราดวยคาคงทีเ่ปน 5 แลว นอกจากนี้ เมทริกซขั้นมูลฐานทุกตัวหาตัวผกผันได โดยตัวผกผันของเมทริกซขั้นมูลฐานหนึ่งๆ เองนั้นก็เปนเมทริกซขั้นมูลฐานดวย โดยการดําเนินการตามแถวนอนขั้นมูลฐานตอเมทริกซเอกลักษณ 2I ที่ทําใหเกิดเมทริกซขั้นมูลฐานผกผัน -1E นั้น จะถือวาเปน การดําเนินการผกผัน (Inverse Operation) ของการดําเนินการตามแถวนอนขั้นมูลฐานที่ทําใหเกิดเมทริกซ E นั่นเองดังสรุปในตารางที่ 2-1

ตารางที่ 2-1 การดําเนินการตามแถวนอนขั้นมูลฐานและการดาํเนินการผกผัน

ประเภท การดําเนินการ การดําเนินการผกผัน 1 การสับเปลีย่นสัมประสิทธิร์ะหวางแถว

นอนที่ p และ q การสับเปลีย่นสัมประสิทธิร์ะหวางแถวนอนที่ p และ q

2 การคูณสัมประสิทธิใ์นแถวนอนที่ p ดวยคาคงที่ 0k ≠

การคูณสัมประสิทธิใ์นแถวนอนที่ p ดวยคาคงที ่ 1

k เมื่อ 0k ≠ 3

การบวกสัมประสิทธิใ์นแถวนอนที่ q ดวยสัมประสทิธิ์ในแถวนอนที่ p ซึ่งถูกปรับมาตรา ดวยคาคงที่ ' 'k แลว

การบวกสัมประสิทธิใ์นแถวนอนที่ q ดวยสัมประสิทธิ์ในแถวนอนที่ p ซึ่งถูกปรับมาตราดวยคาคงที่ ' 'k− แลว

เอกสารคําสอน รายวิชา 2102205 78

ตัวอยางที่ 2-13 จากเมทริกซขั้นมูลฐาน 1 2 3, ,E E E ตอไปนี้

1 2 3

0 1 0 1 0 0 1 0 5

1 0 0 0 1 0 0 1 0

0 0 1 0 0 9 0 0 1

⎡ ⎤ ⎡ ⎤ ⎡ ⎤⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎣ ⎦ ⎣ ⎦ ⎣ ⎦

E = E = E =

จากตารางที่ 2-1 การดําเนินการผกผันของการดําเนินการตามแถวนอนขั้นมูลฐานตอเมทริกซ

1 2 3, ,E E E ทั้งสามนี้ ทําใหเกิดเมทริกซ -1 -1 -11 2 3, ,E E E ดังตอไปนี้

-1 -1 -11 2 3

0 1 0 1 0 0 1 0 -5

1 0 0 0 1 0 0 1 0

0 0 1 1 0 0 10 0 9

⎡ ⎤⎡ ⎤ ⎡ ⎤⎢ ⎥⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎢ ⎥⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎢ ⎥⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎣ ⎦ ⎣ ⎦⎢ ⎥⎣ ⎦

E = E = E =

(หมายเหตุ การตรวจความถูกตองของคําตอบ พบวา -1

3=E E Ii i เมื่อ 1,2,3i = เปนจริง) โดยสรุป การดําเนินการตามแถวนอนขั้นมูลฐานตอเมทริกซ ×Am n หนึ่งๆ สามารถกระทําตอเมทริกซ A ไดโดยตรง หรือกระทําการดําเนินการตามแถวนอนขั้นมูลฐานนั้นๆ ตอเมทริกซเอกลักษณ Im และนําเมทริกซขั้นมูลฐาน E ที่ไดไปคูณทางซายมือของเมทริกซ A

ไดโดยออม ตัวอยางที่ 2-14 กําหนดใหเมทริกซ A และ B เปนเมทริกซที่สมมูลกันตามแถวนอน

(A B)∼ เมื่อ 1 2 3 4

0 1 2 3

0 0 1 2

⎡ ⎤⎢ ⎥= ⎢ ⎥⎢ ⎥⎣ ⎦

A และ 1 1 1 1

0 1 1 1

0 0 1 1

⎡ ⎤⎢ ⎥= ⎢ ⎥⎢ ⎥⎣ ⎦

B

จงหาเมทริกซขั้นมูลฐาน iE เมื่อ 1,2,i = … ที่นําไปคูณเมทริกซ A แลวทําใหเกิดผลลัพธเปนเมทริกซ B วิธีทํา จากโจทย เมื่อทําการดําเนินการตามแถวนอนขั้นมูลฐานตอเมทริกซ A จะไดเมทริกซรูปแบบขั้นบันไดเปนเมทริกซ B ดังนี้

1 2 3 4 1 1 1 1 1 1 1 1

0 1 2 3 0 1 2 3 0 1 1 1

0 0 1 2 0 0 1 2 0 0 1 1

→→

⎡ ⎤ ⎡ ⎤ ⎡ ⎤⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥= ⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎣ ⎦ ⎣ ⎦ ⎣ ⎦

-R +R R2 1 2- R + R R3 2 2A = B∼ ∼

Page 13: Linear Algebra 2

เอกสารคําสอน รายวิชา 2102205 79

ซึ่งจะเห็นไดวา มีการดําเนินการตามแถวนอนขั้นมูลฐานทั้งหมดรวม 2 ครั้งตอเมทริกซ A โดยตรง เพื่อใหไดเมทริกซผลลัพธเปนเปนเมทริกซ B ดังนั้น เมื่อพิจารณาถึงการดําเนินการโดยออมตอเมทริกซ A ดวยเมทริกซขั้นมูลฐาน จะประกอบดวยการหาเมทริกซขั้นมูลฐาน 2 เมทริกซ คือ 1E และ 2E ตามลําดับ ที่มีความสอดคลองกับการดําเนินการตามแถวนอนขั้นมูลฐานที่กระทําโดยตรงตอเมทริกซ A เพื่อนํามาคูณทางซายมือของเมทริกซ A ในการนี้เมทริกซเอกลักษณที่จะคูณทางซายกับเมทริกซ A ขนาด 3 4× ได ตองมีขนาด 3 3× เทานั้น คือเมทริกซ Im โดยเมทริกซขั้นมูลฐาน 1E หาไดดังนี้

3 1

1 0 0 1 -1 0

0 1 0 0 1 0

0 0 1 0 0 1

→⎡ ⎤ ⎡ ⎤⎢ ⎥ ⎢ ⎥= ⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎣ ⎦ ⎣ ⎦

-R +R R2 1 1

I = E∼

และเมทริกซขั้นมูลฐาน 2E หาไดดังนี้

3 2

1 0 0 1 0 0

0 1 0 0 1 -1

0 0 1 0 0 1

→⎡ ⎤ ⎡ ⎤⎢ ⎥ ⎢ ⎥= ⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎣ ⎦ ⎣ ⎦

-R +R R3 2 2I = E∼

ซึ่งพบวา 2 1Ε Ε Α = Β

1 0 0 1 -1 0 1 2 3 4 1 1 1 1

0 1 1 0 1 0 0 1 2 3 0 1 1 1

0 0 1 0 0 1 0 0 1 2 0 0 1 1

⎡ ⎤ ⎡ ⎤ ⎡ ⎤ ⎡ ⎤⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥− =⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎣ ⎦ ⎣ ⎦ ⎣ ⎦ ⎣ ⎦

เมื่อใหเมทริกซ 2 1P = E E จะเขียนไดใหมวา PA = B โดยการนําเมทริกซ P ไปคูณกับเมทริกซ A ทางซายมือ จะใหเมทริกซผลลัพธเชนเดียวกันกับการคูณเมทริกซ A ดวยเมทริกซ 1Ε กอน และคูณดวยเมทริกซ 2E ตอบ จากตัวอยางที่ 2-14 สามารถเขียนเปนกรณีทั่วไดดังนี้ สมมติใหเมทริกซ A ขนาด m n× ถูกทําใหสมมูลกันตามแถวนอนกับเมทริกซ B ซึ่งมีขนาดเทากัน ดวยการดําเนินการตามแนวนอนขั้นมูลฐาน k ครั้งโดยออม ดวยเมทริกซขั้นมูลฐานชุดหนึ่ง คือ 1 2, , ,E E .... Ek ตามลําดับกอนหลัง จะเห็นไดวา

1 2 1 k k-1 2 1A E A E E A .... E E ... E E A = B∼ ∼ ∼ ∼

เอกสารคําสอน รายวิชา 2102205 80

เมื่อให -1 2 1U = E E ... E Ek k จึงสามารถเขียนใหมไดเปน

UA = B (2.8) จะเห็นไดวา การดําเนินการตามแนวนอนขั้นมูลฐาน k ครั้งตอเมทริกซ A จะใหเมทริกซผลลัพธเปนเมทริกซ B ขนาด m n× กลาวคือ A B∼ ในทํานองเดียวกัน การดําเนินการตามแถวนอนขั้นมูลฐานชุดเดียวกัน k ครั้งตอเมทริกซเอกลักษณ Im จะใหเมทริกซผลลัพธเปนเมทริกซ U ขนาด m m× ดวย โดยสามารถเขียนไดวา

⎡ ⎤ ⎡ ⎤⎣ ⎦ ⎣ ⎦A I B U∼m

เมื่อ -1 2 1U = E E ... E Ek k โดย 1 2, , ,E E ... Ek เปนเมทริกซขั้นมูลฐานชุดเดียวกัน (ตามลําดับกอนหลัง) ที่กระทําตอเมทริกซ A แลวกอใหเกิดเมทริกซ B นอกจากนี้ จากสมบัติที่วาเมทริกซขั้นมูลฐานทุกตัวสามารถหาตัวผกผันได ดังนั้น

( )1-1 2 1

-1 -1 -1 -11 2 -1

− -1U = E E ...E E

= E E ... E E

k k

k k

ตัวอยางที่ 2-15 เมื่อเมทริกซ 2 3 1

1 2 1

⎡ ⎤⎢ ⎥⎣ ⎦

A = จงหาเมทริกซ R ซึ่งเปนเมทริกซขั้นบันได

ลดรูปของเมทริกซ A เมื่อ R = UA โดยเมทริกซ U หาตัวผกผันได วิธีทํา ทําการดําเนินการตามแถวนอนขั้นมูลฐานกับเมทริกซแตงเติม 2⎡ ⎤⎣ ⎦A I เพื่อใหไดเมทริกซแตงเติม ⎡ ⎤⎣ ⎦R U

2

1

1

2 3 1 1 0 1 2 1 0 1

1 2 1 0 1 2 3 1 1 0

1 2 1 0 1 1 2 1 0 1

0 -1 -1 1 -2 0 1 1 1 -2

1 0 -1 2 -3

0 1 1 -1 2

+ → →

+ →

⎡ ⎤ ⎡ ⎤⎡ ⎤ = →⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎣ ⎦

⎣ ⎦ ⎣ ⎦

⎡ ⎤ ⎡ ⎤→ →⎢ ⎥ ⎢ ⎥

⎣ ⎦ ⎣ ⎦

⎡ ⎤→ ⎢ ⎥

⎣ ⎦R U

R R1 2

-2R R R2 2 -R R2 2

-2R R R2 1

A I

Page 14: Linear Algebra 2

เอกสารคําสอน รายวิชา 2102205 81

เมื่อสังเกตวา เมทริกซทางซายมือของเมทริกซแตงเติมอยูในรูปแบบเมทริกซขั้นบันไดลดรูปแลว จึงหยุดการดําเนินการตามแถวนอนขั้นมูลฐาน

โดยเมทริกซ R ซึ่งเปนเมทริกซขั้นบันไดลดรูปของเมทริกซ A ที่ไดคือ 1 0 -1

0 1 1

⎡ ⎤⎢ ⎥⎣ ⎦

ตอบ

2.3.1 การใชเมทริกซขั้นมูลฐานในการหาตัวผกผันของเมทริกซ (Matrix Inversion by using Elementary Matrices) สําหรับเมทริกซ ×Am n และ เมทริกซ ×Bm n ที่สมมูลกันตามแถวนอน จะมีความสัมพันธกัน ดังนี้

UA = B

เมื่อ 1 2, , ,E E .... Ek เปนเมทริกซขั้นมูลฐานชุดหนึ่ง แตละตัวมีขนาด m m× โดยที่ -1 2 1U = E E ... E Ek k เปนเมทริกซผลลัพธขนาด m m× ในกรณีที่เมทริกซ B เทากับเมทริกซเอกลักษณ Im จะพบวา

UA = I

เมื่อคูณทางขวามือทั้งสองขางของสมการนี้ดวยเมทริกซ 1−A จะไดวา

-1U = A จากนั้น ทําการแทนคา -1 2 1U = E E ... E Ek k จะไดวา

-1

-12 1A = E E ... E Ek k

(2.9)

ซึ่งหมายความวา ตัวผกผันของเมทริกซ ×Am n จะสามารถหาไดจาก ผลคูณของเมทริกซขั้นมูลฐาน -1, , , ,2 1E E ... E Ek k ตามลําดับ โดยสามารถพิจารณาในรูปแบบของเมทริกซแตงเติม ดังนี้

1−⎡ ⎤⎡ ⎤⎣ ⎦ ⎣ ⎦A I I A∼m m

เอกสารคําสอน รายวิชา 2102205 82

ตัวอยางที่ 2-16 จงหา -1A เมื่อเมทริกซ -1 1 2

3 -1 1

-1 3 4

⎡ ⎤⎢ ⎥= ⎢ ⎥⎢ ⎥⎣ ⎦

A

วิธีทํา เริ่มตนจากเมทริกซแตงเติม 3⎡ ⎤⎣ ⎦A I และดําเนินการตามแถวนอนขั้นมูลฐานจนกระทั้งไดเมทริกซแตงเติมในรูปแบบของ 1

3−⎡ ⎤⎣ ⎦I A ดังนี้

3

-1 1 2 1 0 0 -1 1 2 1 0 0

3 -1 1 0 1 0 0 2 7 3 1 0

-1 3 4 0 0 1 0 2 2 -1 0 1

1 -1 -2 -1 0 0 1 -1 0 0.6 0.4 -0.4

0 1 3.5 1.5 0.5 0 0 1 0 -1.3 -0.2 0.7

0 0 1 0.8 0.2 -0.2 0 0 1 0.8 0.2 -0.2

1 0 0 -0.7 0.2 0.3

0 1 0 -1.3 -0.2 0

0 0 1

⎡ ⎤ ⎡ ⎤⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎣ ⎦ ⎣ ⎦

⎡ ⎤ ⎡ ⎤⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎣ ⎦ ⎣ ⎦

⎡⎢⎢⎢⎣

I

∼ ∼

∼ .7

0.8 0.2 -0.2

⎤⎥⎥⎥⎦

-1A

ตอบ

(หมายเหตุ การตรวจความถูกตองของคําตอบ ทําไดโดย 3-1 -1AA = A A = I )

2.4 การแปลงเชิงเสนที่ผกผันได (Invertible Linear Transformation) ในบทที่ 1 หัวขอที่ 1.7 เราไดกลาวถึงการแปลงเชิงเสนไปแลว และไดเกริ่นนําถึงการแปลงดวยเมทริกซไวในเบื้องตนแลวนั้น ในหัวขอนี้จะกลาวถึง การประกอบของการแปลง (Composition of Transformations) และ การแปลงผกผัน (Inverse of Transformation) 2.4.1 การประกอบของการแปลง (Composition) กําหนดให n mT : →R R และ m pS : →R R เปนการแปลงเชิงเสนสองการแปลงที่ตอเนื่องกัน โดย mR เปนโดเมนรวมเกี่ยวของการแปลงเชิงเสน T และเปนโดเมนของการแปลงเชิงเสน S กลาวคือ

T S⎯⎯→ ⎯⎯→R R Rn m p ซึ่งความสัมพันธนี้ สามารถอธิบายไดดังแสดงในรูปที่ 2-9

Page 15: Linear Algebra 2

เอกสารคําสอน รายวิชา 2102205 83

Rn Rm Rp

T S

รูปที่ 2-9 การประกอบของการแปลงเชิงเสน T และ S จากความสัมพันธขางตน สามารถเขียนเปนการแปลงเชิงเสนใหมอีกการแปลงหนึ่ง คือ

S Tn p⋅⎯⎯→R R

เรียกวา การประกอบของการแปลงเชิงเสน S และ T โดยที่ การแปลงเชิงเสน T เกิดขึ้นกอน แลวจึงตามดวยการแปลง S โดยการประกอบของการแปลงเชิงเสนนี้ มีความสัมพันธ ดังนี้

( )( ) ( )( )S T S T⋅ =x x (2.10)

สําหรับเวกเตอร x ใดๆ ใน nR โดยที่ การประกอบของการแปลง เปน การแปลงเชิงเสนดวย ถา เมทริกซ A เปนเมทริกซมาตรฐานสําหรับการแปลงเชงิเสน T และ เมทริกซ B เปนเมทริกซมาตรฐานสําหรับการแปลงเชงิเสน S แลว การประกอบของการแปลงเชิงเสน S T⋅ จะมีเมทริกซ BA เปนเมทริกซมาตรฐานสําหรับการแปลงเชิงเสนนั้น พิสูจน สําหรับเวกเตอร x ใดๆ ใน nR เมื่อ

T( ) =x Ax S( ) =x Bx

ดังนั้น

( ) ( )( )( )( )

( )

S T S T

S

⋅ =

=

=

=

x x

Ax

B Ax

BA x

ซ.ต.พ.

เอกสารคําสอน รายวิชา 2102205 84

หมายเหต ุสําหรับการแปลงเชิงเสนตอไปนี้

T⎯⎯→ ⎯⎯→ ⎯⎯→S QR R R Rn m p k

จะมีการประกอบของการแปลงเปน ( )Q S T⋅ ⋅ ซึ่งเทากันกับ ( )Q S T⋅ ⋅ (สามารถพิสูจนไดในทํานองเดียวกันกับการประกอบของการแปลงเชิงเสน S T⋅ ) 2.4.2 การแปลงผกผัน (Inverse of Transformation) กําหนดให n nT : →R R เปนการแปลงเชิงเสนที่มีเมทริกซจัตุรัส A ขนาด ×n n เปนเมทริกซมาตรฐานสําหรับการแปลงเชิงเสน T คําถาม หากเมทริกซ A สามารถหาตัวผกผันได กลาวคือ สามารถหาเมทริกซ -1A ได เราอยากทราบวา เมทริกซดังกลาวนี้มีความสัมพันธอยางไรกับการแปลงเชิงเสน T กําหนดให ' n nT : →R R เปนการแปลงเชิงเสนอีกการแปลงหนึ่งที่มีเมทริกซ -1A เปนเมทริกซมาตรฐานสําหรับการแปลงเชิงเสน 'T แลว การประกอบของการแปลงเชิงเสน T' T⋅ สําหรับเวกเตอร x ใดๆ ใน nR จะไดวา

( )' -1T T( ) ( )

n

=

==

x A Ax

I x

x

ซึ่งสามารถอธิบายไดวา หากการแปลงเชงิเสน T สงเวกเตอร x หนึ่งๆ ใน nR ไปยังภาพของเวกเตอร x คือเวกเตอร T( )x ใน nR แลว การแปลงเชิงเสน T ' จะสงเวกเตอร T( )x กลับไปยังเวกเตอรตนแบบ x ใน nR ดังแสดงในรูปที่ 2-10

RnT

Rn

Axx

T'

รูปที่ 2-10 การแปลงเชิงเสน T และการแปลงผกผัน 'T

Page 16: Linear Algebra 2

เอกสารคําสอน รายวิชา 2102205 85

ในทํานองเดียวกัน การประกอบของการแปลงเชิงเสน 'T T⋅ จะไดวา ( ) ( )-1T T ( )

n

′ =

==

x A A x

I x

x

ซึ่งสามารถอธิบายไดวา หากการแปลงเชิงเสน 'T สงเวกเตอร x หนึ่งๆ ใน nR ไปยังภาพของเวกเตอร x คือเวกเตอร 'T ( )x ใน nR แลว การแปลงเชิงเสน T จะสงเวกเตอร 'T ( )x กลับไปยังเวกเตอรตนแบบ x ใน nR ไดเชนกัน ดังนั้น เราจึงสามารถสรุปเกี่ยวกับการแปลงเชิงเสน และการแปลงผกผันไดดังนี้ (1) การแปลงเชิงเสน T ' เปนการแปลงผกผันของการแปลงเชิงเสน T (2) การแปลงเชิงเสน T เปนการแปลงผกผันของการแปลงเชิงเสน T ' (3) ถาเมทริกซ A สามารถหาตัวผกผันได การแปลงเชิงเสน T จะมีการแปลงผกผัน (4) บทกลับของความสัมพันธในขอ (3) เปนจริง คือ ถาแปลงเชิงเสน T มีการแปลงผกผันเปนการแปลงเชิงเสน T ' แลว เมทริกซมาตรฐานสําหรับการแปลงเชิงเสน T คือเมทริกซ A จะสามารถหาตัวผกผันได 2.5 การแบงสวนเมทริกซ (Partitioned Matrix) สําหรับเมทริกซ A ขนาด m n× และเมทริกซ B ขนาด n p× นั้น หากทําการแบงสวนเมทริกซ A และ B เปนเมทริกซยอย เรียกวา เมทริกซแบบบล็อก (Block Matrix) ที่มีขนาดเล็กกวาเมทริกซ A และ B เชน

2 2 3

1 0 0 0 0

0 1 0 0 0

2 -1 4 2 1

3 1 -1 7 5

4 -2

5 6

7 3

-1 0

1 6

×

⎡ ⎤⎢ ⎥ ⎡ ⎤⎢ ⎥= = ⎢ ⎥⎢ ⎥ ⎣ ⎦⎢ ⎥⎣ ⎦

⎡ ⎤⎢ ⎥⎢ ⎥ ⎡ ⎤⎢ ⎥= ⎢ ⎥⎢ ⎥ ⎣ ⎦⎢ ⎥⎢ ⎥⎣ ⎦

I 0A

P Q

XB =

Y

โดยเมทริกซยอย หรือเมทริกซแบบบล็อก ไดเรียกชื่อตามที่ไดแสดงไวแลว ซึ่งเมทริกซ A และ B ทั้งสองนี้ สามารถนํามาบวกกันหรือคูณดวยจํานวนสเกลารไดตามปกติ

เอกสารคําสอน รายวิชา 2102205 86

สําหรับการหาเมทริกซผลคูณ AB การแบงสวนเมทรกิซจะเปนประโยชนอยางมาก เนื่องจากสามารถเขียนในรปูของบล็อกได เชน

4 -2

5 6

30 8

8 27

+⎡ ⎤ ⎡ ⎤ ⎡ ⎤=⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥+⎣ ⎦ ⎣ ⎦ ⎣ ⎦

⎡ ⎤⎢ ⎥⎡ ⎤ ⎢ ⎥⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎣ ⎦⎢ ⎥⎣ ⎦

I 0 X IX 0YAB =

P Q Y PX QY

X= =

PX + QY

เมื่อ 3 -10

17 0

⎡ ⎤⎢ ⎥⎣ ⎦

PX =

27 18

-9 27

⎡ ⎤⎢ ⎥⎣ ⎦

QY =

นอกจากนี้ สําหรับเมทริกซ A และเมทริกซ B ที่แบงสวนเปน

11 12

22

11 12

22

⎡ ⎤⎢ ⎥⎣ ⎦

⎡ ⎤⎢ ⎥⎣ ⎦

A AA =

0 A

B BB =

0 B เมื่อ บล็อก 11A และ 11B เปนเมทริกซจัตุรัสขนาดเทากัน

บล็อก 22A และ 22B ก็เปนเมทริกซจัตุรัสขนาดเทากันแลว เมทริกซผลคณู AB ในรูปแบบการคูณเมทริกซแบบบล็อกของเมทริกซ A และ B จะเปน

11 12 11 12

22 22

11 12 12 2211 11

22 22

⎡ ⎤ ⎡ ⎤⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎣ ⎦ ⎣ ⎦

⎤⎡⎥⎢

⎣ ⎦

A A B BAB =

0 A 0 B

A B + A BA B=

A B0

โดยการคูณเมทริกซแบบบล็อกเหมาะสําหรับระบบคอมพิวเตอรที่มีขอจํากัดในเรื่องของหนวยความจํา หากสามารถแบงเมทริกซใหญออกเปนบล็อกที่สามารถทําการคูณระหวางบล็อกไดทีละสวนยอย ก็สามารถชวยหาผลคูณของเมทริกซทั้งสองได

Page 17: Linear Algebra 2

เอกสารคําสอน รายวิชา 2102205 87

การกระจายแถวตั้งแถวนอนของผลคูณของเมทริกซสองเมทริกซ สําหรับเมทริกซ A ขนาด m n× และเมทริกซ B ขนาด n p× เมทริกซผลคูณ AB สามารถหาไดโดยการเขียนเมทริกซหนึ่งใหประกอบดวยเวกเตอรแถวตั้ง และอีกเมทริกซหนึ่งใหประกอบดวยเวกเตอรแถวนอน ดังนี้

( ) ( ) ( )

( )( )

( )

( ) ( ) ( ) ( )

1

21 2

1 1

row

rowcol col col

row

col row col row

n

n

n n

⎡ ⎤⎢ ⎥⎢ ⎥⎡ ⎤⎣ ⎦ ⎢ ⎥⎢ ⎥⎢ ⎥⎣ ⎦

B

BAB = A A … A

B

= A B + ... + A B

นอกจากนี้ สําหรับเมทริกซเฉียงหนึ่งๆ ที่ถูกทําการแบงสวนใหอยูในรูปของ

⎡ ⎤⎢ ⎥⎣ ⎦

11 12

22

A AA =

0 A

เมื่อ 11A เปนเมทริกซ ขนาด p p× 22A เปนเมทริกซ ขนาด q q× หากเมทริกซ A สามารถหาตัวผกผันได จะไดวา

m

-1AA = I

เมื่อ m p q= +

เมื่อกําหนดใหเมทริกซ -1B = A ซึ่งสามารถแบงสวนเมทรกิซไดเปน ⎡ ⎤⎢ ⎥⎣ ⎦

11 12

21 22

B BB =

B B

เมทริกซผลคณู AB จะกลายเปน

11 12 11 12

22 21 22

p

q

⎡ ⎤ ⎡ ⎤⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎣ ⎦ ⎣ ⎦⎡ ⎤⎢ ⎥⎣ ⎦

A A B BAB =

0 A B B

I 0=

0 I

เมื่อทําการคูณเมทริกซแบบบล็อก จะไดความสัมพันธดังนี้

11 11 12 21

11 12 12 22

22 21

22 22

....(1)

....(2)

....(3)

....(4)

p

q

A B + A B = I

A B + A B = 0

A B = 0

A B = I

เอกสารคําสอน รายวิชา 2102205 88

จากสมการที่ (4) จะไดวา -122 22B = A

จากสมการที่ (3) จะไดวา -121 22B = A 0 = 0

จากสมการที่ (1) จะไดวา 11 11 pA B = I เนื่องจาก 11A หาตัวผกผันได ดังนั้น จะไดเมทริกซ -1

11 11B = A เมื่อแทนคาลงในสมการที่ (2) จึงไดเมทริกซ -1 -1

12 11 12 22−B = A A A ดังนั้น เมทริกซ -1A จะไดจากการแทนคาเมทริกซยอย 11 12 21 22, , ,B B B B ของเมทริกซ B

-1 -1 -111 11 12 22

-122

⎡ ⎤⎢ ⎥⎣ ⎦

-1 A -A A AA =

0 A

จึงสามารถสรุปไดวา เมทริกซเฉียงที่สามารถถูกแบงเปนเมทริกซแบบบล็อกไดนั้น จะสามารถหาตัวผกผันได ก็ตอเมื่อ เมทริกซยอยแตละเมทริกซบนแนวเสนทแยงมุมหลักสามารถหาตัวผกผันได ซึ่งในกรณีนี้ หมายถึงวา สามารถหาเมทริกซ -1

11A และ 22-1A ได

2.6 การแยกตัวประกอบ LU ของเมริกซ (LU Factorization) เมทริกซ A ขนาด m n× เมทริกซหนึ่งสามารถเขียนใหอยูในรปูของเมทริกซผลคูณ LU ได เรียกวา การแยกตัวประกอบ LU ของเมทริกซ A เมื่อ L เปนเมทริกซแบบสามเหลี่ยมลาง (Lower Triangular Matrix) ขนาด m m× และ U เปนเมทริกซแบบสามเหลี่ยมบน (Upper Triangular matrix) ขนาด m n× ซึ่งที่อยูในรูปแบบขั้นบันไดจากการดําเนินการตามแถวนอนขั้นมูลฐานตอเมทริกซ A

1 0 0 0 • * * * *

* 1 0 0 0 • * * *

* * 1 0 0 0 0 • *

* * * 1 0 0 0 0 0

⎡ ⎤ ⎡ ⎤⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎣ ⎦ ⎣ ⎦

A = LU =

หมายเหต ุ

• เมทริกซแบบสามเหลี่ยมบน มีสมาชิกขางใตและสมาชิกทางซายมือของสมาชิกบนแนวเสนทแยงมุมหลักเปน ‘ศูนย’ ทั้งสิ้น

• เมทริกซแบบสามเหลี่ยมลาง มีสมาชิกที่อยูเหนือและสมาชิกทางขวามือของสมาชิกบนแนวเสนทแยงมุมหลักเปน ‘ศูนย’ ทั้งสิ้น

• เมทริกซขั้นบนัได และเมทริกซขั้นบันไดลดรูป เปนเมทริกซแบบสามเหลี่ยมบน

Page 18: Linear Algebra 2

เอกสารคําสอน รายวิชา 2102205 89

ขอสังเกต (1) การดําเนินการตามแถวนอนขั้นมูลฐานตอเมทริกซ A เพื่อใหอยูในรูปแบบเมทริกซขั้นบันได คือเมทริกซ U นั้น ตองปราศจากการสับเปลีย่นแถวนอน (Row Interchange) (2) เมทริกซแบบสามเหลี่ยมลาง L ที่มีสมาชิกบนแนวเสนทแยงมุมหลักเปน ‘หนึ่ง’ ทั้งหมด จะมีชื่อเฉพาะวา เมทริกซแบบสามเหลี่ยมลางหนึ่งหนวย (Unit Lower Triangular Matrix) (3) เมทริกซ L สามารถหาตัวผกผันได ขั้นตอนการหาเมทริกซแบบสามเหลี่ยมลาง

• สมาชิกในเมทริกซแบบสามเหลี่ยมลาง L เกิดจากการนําสมาชิกในแถวตั้งตางๆ ของเมทริกซ A ที่ถูกนําไปใชหาตัวหลัก (Pivot) โดยในแตละแถวตั้งนั้น ใหคงคาไวซึ่งสมาชิกตั้งแตตัวหลัก (ในกรอบสี่เหลี่ยม) และเติมสมาชิกเหนือตัวหลัก (ในวงกลม) ใหเปน ศูนย

• จากนั้นทําการ หาร สมาชิกทุกตัว ในแตละแถวตั้งของเมทริกซ L ดวยคาของตัวหลัก ในแถวตั้งนั้นๆ เพื่อทําใหสมาชิกบนแนวเสนทแยงมุมหลักมีคาเปน หนึ่ง

ตัวอยางที่ 2-17 จงแยกตัวประกอบ LU ของเมทริกซ A ตอไปนี้

3 -7 -2 2

-3 5 1 0

6 -4 0 -5

-9 5 -5 12

⎡ ⎤⎢ ⎥⎢ ⎥⎢ ⎥⎢ ⎥⎣ ⎦

A =

วิธีทํา เริ่มตนดวยการดําเนินการตามแถวนอนขัน้มูลฐานตอเมทริกซ A จนไดเมทริกซขั้นบันได U ดังตอไปนี้

5 28 32 4 4 3 4 4

3 -7 -2 2 3 -7 -2 2

-3 5 1 0 0 -2 -1 2

6 -4 0 -5 0 10 4 -9

-9 5 -5 12 0 -16 -11 18

3 -7 -2 2 3 -7 -2 2

0 -2 -1 2 0 -2 -1 2

0 0 -1 1 0 0 -1 1

0 0 -3 2 0 0 0 -1

→→→

→→ →

⎡ ⎤ ⎡ ⎤⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎢ ⎥ ⎢ ⎥=⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎣ ⎦ ⎣ ⎦

⎡ ⎤ ⎡ ⎤⎢ ⎥ ⎢⎢ ⎥ ⎢⎢ ⎥ ⎢⎢ ⎥ ⎢⎣ ⎦ ⎣ ⎦

R +R R1 2 2-2R +R R1 3 33R +R R1 4 4

R +R R3 3- R +R R - R +R R

A

∼∼

⎥⎥ =⎥⎥

U

เอกสารคําสอน รายวิชา 2102205 90

เนื่องจากจํานวนแถวนอนของเมทริกซ A คือ 4m = เมทริกซแบบสามเหลี่ยมลาง L จะมีขนาด 4 4× โดยเมทริกซขั้นบันได U จะมีขนาดเทากันกับเมทริกซ A คือ 4 4× เมื่อใชขั้นตอนการหาเมทริกซแบบสามเหลี่ยมลาง L จะไดเมทริกซ L ดังนี้

3 - 2 -

3 0 0 0

-3 -2 0 0

6 10 -1 0

-9 -16 3 -1

1 0 0 0

-1 1 0 0

2 -5 1 0

-3 8 3

1 -1

1

÷ ÷ ÷ ÷

⎡ ⎤⎢ ⎥⎢ ⎥⎢ ⎥⎢ ⎥⎣ ⎦

↓ ↓ ↓ ↓

⎡ ⎤⎢ ⎥⎢ ⎥=⎢ ⎥⎢ ⎥⎣ ⎦

L

โดยเมื่อทําการตรวจสอบ จะพบวา LU = A จริง ดังนั้น ตัวประกอบ LU ของเมทริกซ A คือ

1 0 0 0

-1 1 0 0

2 -5 1 0

-3 8 3 1

⎡ ⎤⎢ ⎥⎢ ⎥=⎢ ⎥⎢ ⎥⎣ ⎦

L และ

3 7 2 2

0 2 1 2

0 0 1 1

0 0 0 1

− −⎡ ⎤⎢ ⎥− −⎢ ⎥=⎢ ⎥−⎢ ⎥−⎣ ⎦

U ตอบ

เมื่อพิจารณาการดําเนินการตามแถวนอนขั้นมูลฐาน k ครั้ง ตอเมทริกซ A เพื่อใหอยูในรูปแบบเมทริกซขั้นบันได U นั้น (ทางตรง) จะใหผลเชนเดียวกับการคูณเมทริกซ A ดวยเมทริกซขั้นมูลฐาน iE เมื่อ 1,2,...,i k= ตามลําดับของการดําเนินการตามแถวนอนขั้นมูลฐานนั้นๆ (ทางออม) กลาวคือ

1 2 1 -1 2 1k k→ → → →A E A E E A ... E E ... E E A = U

เมื่อ 1 2 -1, , ..., ,k kE E E E เปนเมทริกซขั้นมูลฐานตางๆ ที่สอดคลองกับการดําเนินการตามแถวนอนขั้นมูลฐานตอเมทริกซ A ดังนั้น หากเมทริกซ A สามารถแยกตวัประกอบ LU ได กลาวคือ A = LU จะไดความสัมพันธดังตอไปนี้

-1 2 1...k k =E E E E A U (2.11) เมื่อทําการยายขางของสมการที่ (2.11) นี้ จะเขียนใหมไดเปน

Page 19: Linear Algebra 2

เอกสารคําสอน รายวิชา 2102205 91

( ) 1

-1 2 1...k k

−=A E E E E U (2.12) โดยจะไดความสัมพันธของเมทริกซแบบสามเหลี่ยมลาง L กับเมทรกิซขั้นมูลฐานตางๆ ที่สอดคลองกันกับลําดับของการดําเนินการตามแถวนอนขั้นมูลฐานตอเมทริกซ A คือเมทริกซ

iE เมื่อ 1,2,...,i k= เปนดังนี้ ( ) 1

-1 2 1

-1 -1 -1 -11 2 -1

k k

k k

−=

=

L E E E E

E E E E

… (2.13)

ในตวัอยางที่ 2-17 พบวามีการดําเนินการตามแถวนอนขั้นมูลฐานตอเมทริกซ A เปนจํานวน 6 ครั้ง จึงไดเมทริกซขั้นมูลฐาน iE ที่สอดคลองกัน เมื่อ 1,2,...,6i = เปนดังนี้

1 3

4 5 6

1 0 0 0 1 0 0 0 1 0 0 0

1 1 0 0 0 1 0 0 0 1 0 0, ,

0 0 1 0 -2 0 1 0 0 0 1 0

0 0 0 1 0 0 0 1 3 0 0 1

1 0 0 0 1 0 0 0 1 0 0 0

0 1 0 0 0 1 0 0 0 1 0 0, ,

0 5 1 0 0 0 1 0 0 0 1 0

0 0 0 1 0 -8 0 1 0 0 -3 1

⎡ ⎤ ⎡ ⎤ ⎡ ⎤⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥= = =⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎣ ⎦ ⎣ ⎦ ⎣ ⎦

⎡ ⎤ ⎡ ⎤ ⎡ ⎤⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥= = =⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎣ ⎦ ⎣ ⎦ ⎣ ⎦

2E E E

E E E

เนื่องจากเมทริกซขั้นมูลฐานทุกตวัสามารถหาตัวผกผนัไดและตวัผกผันของเมทริกซขั้นมูลฐานก็เปนเมทริกซขั้นมูลฐานดวย จากตารางที่ 2-1 จะไดตัวผกผนัของเมทริกซขั้นมูลฐาน

-1 -1 -1 -1 -11 2 3 4 5, ,E , E , E E E และ -1

6E ดังตอไปนี้

1 1 11 2 3

1 1 14 5 6

1 0 0 0 1 0 0 0 1 0 0 0

1 1 0 0 0 1 0 0 0 1 0 0, ,

0 0 1 0 2 0 1 0 0 0 1 0

0 0 0 1 0 0 0 1 3 0 0 1

1 0 0 0 1 0 0 0 1 0 0 0

0 1 0 0 0 1 0 0 0 1 0 0, ,

0 5 1 0 0 0 1 0 0 0 1 0

0 0 0 1 0 8 0 1 0 0 3 1

− − −

− − −

⎡ ⎤ ⎡ ⎤ ⎡ ⎤⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥−⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥= = =⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥−⎣ ⎦ ⎣ ⎦ ⎣ ⎦

⎡ ⎤ ⎡ ⎤ ⎡ ⎤⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢= = =⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢−⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢⎣ ⎦ ⎣ ⎦ ⎣

E E E

E E E⎥⎥⎥⎥⎦

ซึ่งเมื่อทําการตรวจสอบ พบวา ความสัมพันธตอไปนี้เปนจริงทั้งหมด

เอกสารคําสอน รายวิชา 2102205 92

(1) 6 5 4 3 2 1E E E E E E A = U (2) -1 -1 -1 -1 -1 -1

1 2 3 4 5 6E E E E E E = L (3) -1 -1 -1 -1 -1 -1

1 2 3 4 5 6E E E E E E U = A อยางไรก็ดี ในการทําใหเมทริกซ A หนึ่งๆ อยูในรูปเมทริกซขั้นบันได U ดวยการดําเนินการตามแถวนอนขั้นมูลฐานนั้น ไมอาจหลีกเลี่ยงการสับเปลี่ยนแถวนอน (Row Interchange) ของเมทริกซ A ได จึงมีผลตอการแยกตัวประกอบ LU ของเมทริกซ A ดังจะไดอธิบายตอไปนี้ สมมติวา ในการดําเนินการตามแถวนอนขั้นมูลฐานตอเมทริกซ 3 3×A เมทริกซหนึ่ง เพื่อใหอยูในรูปแบบเมทริกซขั้นบันได U มีการสับเปลี่ยนแถวนอน 2 ครั้ง โดยที่ 1E เกิดจาก การสับเปลี่ยนสัมประสิทธิ์ในแถวนอนที่ 1 และ 2 ของเมทริกซ 3I 2E เกิดจาก การสับเปลีย่นสัมประสิทธิใ์นแถวนอนที่ 2 และ 3 ของเมทริกซ 3I

1

0 1 0

1 0 0

0 0 1

⎡ ⎤⎢ ⎥= ⎢ ⎥⎢ ⎥⎣ ⎦

E 2

1 0 0

0 0 1

0 1 0

⎡ ⎤⎢ ⎥= ⎢ ⎥⎢ ⎥⎣ ⎦

E

การสับเปลี่ยนแถวนอนของเมทริกซ A ดังตัวอยางนี้เปนจํานวน 2 ครั้งตามลําดับ จะ

ทําใหเกิดเมทริกซผลลัพธ PA ซึ่งสามารถหาตัวประกอบ LU ไดตามที่ไดอธิบายไปแลวขางตน เมื่อนิยามให P เปน เมทริกซสับเปลี่ยน (Permutation Matrix) ที่ไดจากผลคูณของเมทริกซขั้นมูลฐานตางๆ iE เมื่อ 1, 2i = ตามลําดับเหตุการณ โดยในตัวอยางนี้จะไดวา

2 1=P E E

(2.14)

เมทริกซ A ที่มีการสับเปลีย่นแถวนอนในการทําใหอยูในรูปเมทริกซขั้นบันได U จะสามารถแยกตัวประกอบ LU ไดดังนี้

PA = LU

(2.15)

Page 20: Linear Algebra 2

เอกสารคําสอน รายวิชา 2102205 93

ตัวอยางที่ 2-18 จงหาเมทริกซสับเปลี่ยน P ในการแยกตัวประกอบ LU ของเมทริกซ A ที่มีการสับเปลีย่นแถวนอน โดยกําหนดให

0 0 -1 2

-1 -1 1 2

2 1 -3 6

0 1 -1 4

⎡ ⎤⎢ ⎥⎢ ⎥=⎢ ⎥⎢ ⎥⎣ ⎦

A

วิธีทํา เมื่อดําเนินการตามแถวนอนขั้นมูลฐานตอเมทริกซ A จนอยูในรูปแบบเมทริกซขั้นบันได จะไดเมทริกซ U ดังนี้

*

1 2 1 12

0 0 -1 2 -1 -1 1 2 1 1 -1 -2

-1 -1 1 2 0 0 -1 2 0 0 -1 2

2 1 -3 6 2 1 -3 6 0 -1 -1 10

0 1 -1 4 0 1 -1 4 0 1 -1 4

↔ − →+ →

⎡ ⎤ ⎡ ⎤ ⎡ ⎤⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎯⎯⎯⎯→ ⎯⎯⎯⎯→⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥=⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎣ ⎦ ⎣ ⎦ ⎣ ⎦

R R R R

R R R1 3 3A

*1 1 -1 -2 1 1 -1 -2 1 1 -1 -2

0 -1 -1 10 0 1 1 -10 0 1 1 -10

0 0 -1 2 0 0 -1 2 0 0 1 -2

0 1 -1 4 0 0 -2 14 0 0 0 10

⎯⎯⎯⎯⎯→⎯⎯⎯⎯⎯→⎯⎯⎯⎯⎯→ →→↔

→ + →

⎡ ⎤ ⎡ ⎤ ⎡ ⎤⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎣ ⎦ ⎣ ⎦ ⎣ ⎦

-R R-R RR R 3 32 22 3

R +R R -2R R R2 4 4 3 4 4

ทั้งนี้ มีการสับเปลี่ยนแถวนอน 2 ครั้ง (ทีม่ีเครื่องหมาย *)

ครั้งที่ 1 สับเปลี่ยนแถวนอนที่ 1 และ 2

1

0 1 0 0

1 0 0 0

0 0 1 0

0 0 0 1

⎡ ⎤⎢ ⎥⎢ ⎥∴ =⎢ ⎥⎢ ⎥⎣ ⎦

E

ครั้งที่ 2 สับเปลี่ยนแถวนอนที่ 2 และ 3

2

1 0 0 0

0 0 1 0

0 1 0 0

0 0 0 1

⎡ ⎤⎢ ⎥⎢ ⎥∴ =⎢ ⎥⎢ ⎥⎣ ⎦

E

เอกสารคําสอน รายวิชา 2102205 94

ดังนั้นจะไดเมทริกซสับเปลีย่น 2 1=P E E

1 0 0 0 0 1 0 0

0 0 1 0 1 0 0 0

0 1 0 0 0 0 1 0

0 0 0 1 0 0 0 1

0 1 0 0

0 0 1 0

1 0 0 0

0 0 0 1

⎡ ⎤ ⎡ ⎤⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎢ ⎥ ⎢ ⎥=⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎣ ⎦ ⎣ ⎦

⎡ ⎤⎢ ⎥⎢ ⎥=⎢ ⎥⎢ ⎥⎣ ⎦

หากเราดําเนินการสับเปลี่ยนแถวนอนนี้ (ตามลําดับที่เกิดขึ้น) ตอเมทริกซ A จะได เมทริกซผลลัพธ PA ซึ่งมีตัวประกอบ LU ดังนั้น เมื่อเราดําเนินการตามแถวนอนขั้นมูลฐานตอเมทริกซ PA เพื่อใหอยูในรูปเมทริกซขั้นบันได U จะสามารถหาเมทริกซแบบสามเหลี่ยมลาง L และเมทริกซรูปเมทริกซขั้นบันได U ได

1 12 1 2 2 2 2

2 4 4

-1 -1 1 2 1 1 -1 -2 1 1 -1 -2

2 1 -3 6 0 -1 -1 10 0 1 1 -10

0 0 -1 2 0 0 -1 2 0 0 -1 2

0 1 -1 4 0 1 -1 4 0 0 -2 14

− →+ → − →

+ →

⎡ ⎤ ⎡ ⎤ ⎡ ⎤⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥=⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎣ ⎦ ⎣ ⎦ ⎣ ⎦

R R

R R R R R

R R R

PA

3 3

12 4 43 4 4 10

1 1 -1 -2 1 1 -1 -2

0 1 1 -10 0 1 1 -10

0 0 1 -2 0 0 1 -2

0 0 0 10 0 0 0 1

− →

→− + →

⎡ ⎤ ⎡ ⎤⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎢ ⎥ ⎢ ⎥ =⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎣ ⎦ ⎣ ⎦

R R

R RR R R

U∼∼

จากนั้น หาเมทริกซแบบสามเหลี่ยมลาง L ขนาด 4 4× โดยเมทริกซ L ในกรณีที่มีการสับเปลี่ยนแถวนอน จะไมอยูในรูปแบบของเมทริกซแบบสามเหลี่ยมลางหนึ่งหนวย กลาวคือ สัมประสิทธิ์บนแนวเสนทแยงมุมหลักไมจําเปนตองเทากับ หนึ่ง

จึงไดเมทริกซแบบสามเหลีย่มลาง

-1 0 0 0

2 -1 0 0

0 0 -1 0

0 1 -2 10

⎡ ⎤⎢ ⎥⎢ ⎥=⎢ ⎥⎢ ⎥⎣ ⎦

L ตอบ

Page 21: Linear Algebra 2

เอกสารคําสอน รายวิชา 2102205 95

และเมทริกซรูปเมทริกซขั้นบันได

1 1 -1 -2

0 1 1 -10

0 0 1 -2

0 0 0 1

⎡ ⎤⎢ ⎥⎢ ⎥=⎢ ⎥⎢ ⎥⎣ ⎦

U ตอบ

จากนั้น ทําการตรวจสอบการแยกตัวประกอบ LU ของเมทริกซ PA จะไดวา

0 1 0 0 0 1 -1 2 -1 -1 1 2

0 0 1 0 -1 -1 1 2 2 1 -3 6

1 0 0 0 2 1 -3 6 0 0 -1 2

0 0 0 1 0 1 -1 4 0 1 -1 4

⎡ ⎤ ⎡ ⎤ ⎡ ⎤⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥= =⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎣ ⎦ ⎣ ⎦ ⎣ ⎦

PA

-1 0 0 0 1 1 -1 -2 -1 -1 1 2

2 -1 0 0 0 1 1 -10 2 1 -3 6

0 0 -1 0 0 0 1 -2 0 0 -1 2

0 1 -2 10 0 0 0 1 0 1 -1 4

⎡ ⎤ ⎡ ⎤ ⎡ ⎤⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥= =⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎣ ⎦ ⎣ ⎦ ⎣ ⎦

LU

ดังนั้น จะเห็นไดวา =PA LU จริง

เมื่อเมทริกซสับเปลี่ยน คือ

0 1 0 0

0 0 1 0

1 0 0 0

0 0 0 1

⎡ ⎤⎢ ⎥⎢ ⎥=⎢ ⎥⎢ ⎥⎣ ⎦

P ตอบ

ขอสังเกต เมทริกซขั้นบันได U ที่เกิดจากการแยกตัวประกอบ LU ของเมทริกซ A และมีการสับเปลีย่นแถวนอน จะมีคาของตัวหลัก เปน หนึ่ง ทั้งหมด

เอกสารคําสอน รายวิชา 2102205 96

ทฤษฎีบทที่ 2-2 สําหรับเมทริกซ A ขนาด m n× ใดๆ ที่ถูกดําเนินการตามแถวนอนขั้นมูลฐาน เพื่อทําใหอยูในรูปแบบเมทริกซขั้นบันได U จะมีเมทริกซสับเปลี่ยน P ที่มีความสัมพันธดังนี้

-1 2 1k k=P E E ... E E

เมื่อ 1 2 kE , E , ,E… เปนเมทริกซขั้นมูลฐานตางๆ ตามลําดับที่เกิดการสับเปลี่ยนแถวนอนของเมทริกซแลวระหวางการดําเนินการตามแถวนอนขั้นมูลฐานตอเมทริกซ A เพื่อทําใหอยูในรูปแบบเมทริกซขั้นบันได U แลว (1) เมทริกซผลลัพธที่เกิดจากการสับเปลี่ยนแถวนอนของเมทริกซ A (ตามลําดับที่เกิดขึ้น) จะเปนเมทริกซ PA (2) เมทริกซ PA จะสามารถแยกตัวประกอบ LU ได หมายเหต ุ

(1) หากไมมีการสับเปลี่ยนแถวนอนของเมทริกซ ในการดําเนินการตามแถวนอนขั้นมูลฐานตอเมทริกซ A เพื่อใหอยูในรูปแบบเมทริกซขั้นบันได U แลว เมทริกซสับเปลี่ยน P จะเปนเมทริกซเอกลักษณ mI เมื่อเมทริกซ A มีขนาด m n×

(2) เมทริกซขั้นบันได U ที่เกิดจากการดําเนินการตามแถวนอนขั้นมูลฐานตอเมทริกซ

A นั้นๆ จะไมเทากันกับเมทริกซขั้นบันได U ที่เกิดจากการดําเนินการตามแถวนอนขั้นมูลฐานตอเมทริกซ PA (ซึ่งเปนเมทริกซ A ที่มีการสับเปลี่ยนแถวนอน) จากทฤษฏบีทที่ 2-2 จะไดความสัมพันธวา

-1A = P LU (2.16) เมื่อเมทริกซสับเปลี่ยน P สามารถหาตัวผกผันได (ซึ่งหาได เพราะเปนผลคูณของเมทริกซขั้นมูลฐาน ซึ่งเมทริกซขั้นมูลฐานทุกตวัสามารถหาตัวผกผันได)

Page 22: Linear Algebra 2

เอกสารคําสอน รายวิชา 2102205 97

2.6.1 การประยุกตใชงานในการแกระบบสมการเชิงเสน สําหรับระบบสมการเชิงเสน Ax = b นั้น หากวาเราสามารถแยกตัวประกอบ LU ของเมทริกซ A ได จะชวยทําใหการหาผลเฉลยของระบบสมการเชิงเสนนี้สะดวกขึ้น และมีความซับซอนนอยลงกวาเดิม โดยเมื่อแทนคา =A LU ในระบบสมการเชิงเสน Ax = b นี้ จะไดวา

( ) ( )= =LU x L Ux b

(2.17)

จากนั้น ทําการเปลี่ยนตัวแปร (Change of Variable) โดยกําหนดให

y = Ux

(2.18)

ระบบสมการเชิงเสน Ax = b ในสมการที่ (2.17) กลายเปนระบบสมการเชิงเสนอีกระบบหนึ่ง

Ly = b

(2.19)

ดังนั้น การแกระบบสมการเชิงเสน Ax = b ระบบหนึ่งๆ เมื่อใชการแยกตวัประกอบ LU ของเมทริกซ A สามารถทําไดใน 2 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 แกระบบสมการเชิงเสน Ly = b เพื่อหาผลเฉลย y ขั้นตอนที่ 2 จากผลเฉลย y ในขั้นตอนที่ 1 สามารถนําไปสูผลเฉลย x ไดโดยแกระบบสมการเชิงเสนอีกระบบหนึ่ง คือ =Ux y ทั้งนี้ สามารถอธิบายขั้นตอนและความสัมพันธของระบบสมการเชิงเสนทั้งสองระบบ ดังรูปที่ 2-11

เอกสารคําสอน รายวิชา 2102205 98

xb

y

รูปที่ 2-11 การแยกตัวประกอบ LU ของเมทริกซ A ในระบบสมการเชิงเสน Ax = b ภายใตการแปลง ( ) =T x Ax

ทั้งนี้ เนื่องจากเมทริกซแบบสามเหลี่ยมลาง L และเมทริกซขั้นบันได U เปนเมทริกซ

แบบสามเหลี่ยมทั้งคู สัมประสิทธิ์ของเมทริกซแบบสามเหลี่ยมจะเปนศูนยเสียสวนมาก จึงทําใหการแกระบบสมการเชิงเสน =Ly b และ =Ux y มีความซับซอนนอยกวาการแกระบบสมการเชิงเสน =Ax b โดยสามารถแสดงไดดังตอไปนี้ ตัวอยางเชน ในการแกระบบสมการเชิงเสน

=Ax b เมื่อเมทริกซ A มีขนาด m n× หากเมทริกซ A นี้สามารถแยกตัวประกอบ LU ได ระบบสมการเชิงเสน Ly = b ที่ใชจะเปนดังนี้

1 1

21 1 2 2

31 1 32 2 3 3

1 1 2 2n n n n

y b

m y y b

m y m y y b

m y m y y b

=+ =+ + =

+ +…+ =

จากสมการแรก จะไดวา 1 1y b= เปนคําตอบสําหรับตัวแปร 1y และสามารถใชแทนคาในสมการที่สอง เพื่อหาคาของตัวแปร 2y ได ตามลําดับจนถึงสมการที่ n การแกระบบสมการเชิงเสนระบบหนึ่งที่เมทริกซสัมประสิทธิ์เปนเมทริกซแบบสามเหลี่ยมลาง L นี้ จะเรียกวา การแทนคาขางหนา (Forward Substitution) ในทางตรงกันขาม สําหรับการแกระบบสมการเชิงเสน =Ux y นั้นจะเปน การแทนคายอนหลัง (Backward Substitution)

นอกจากนี้ เมทริกซแบบสามเหลี่ยมลาง L เปนผลพลอยได (By-product) จากการ

ดําเนินการตามแถวนอนขั้นมูลฐานตอเมทริกซ A ใหอยูในรูปแบบเมทริกซขั้นบันได U ไม

การคูณดวยเมทริกซ A

การคูณดวยเมทริกซ U การคูณดวยเมทริกซ L

Page 23: Linear Algebra 2

เอกสารคําสอน รายวิชา 2102205 99

ตองการขั้นตอนพิเศษเพิ่มเติมใดๆ จึงสงผลใหการหาผลเฉลยของระบบสมการเชิงเสน =Ax b นี้ทําไดสะดวกขึ้น ตัวอยางที่ 2-19 จงแกระบบสมการเชิงเสน =Ax b โดยใชการแยกตัวประกอบ LU ของเมทริกซ A เมื่อ

วิธีทํา จากตัวอยางที่ 2-17 จะไดตัวประกอบ LU ของเมทริกซ A ดังนี้

จากนั้น แกระบบสมการเชิงเสน =Ax b ดังตอไปนี้ ขั้นตอนที่ 1 แกระบบสมการเชิงเสน =Ly b โดยทําการดําเนินการตามแถวนอนขั้นมูลฐานตอเมทริกซแตงเติม ⎡ ⎤ ⎡ ⎤⎣ ⎦ ⎣ ⎦L b I y∼ เพื่อหาผลเฉลย y ดังนี้

ผลเฉลยของระบบสมการเชงิเสนนี้ คือ

-9

-4

5

1

⎡ ⎤⎢ ⎥⎢ ⎥=⎢ ⎥⎢ ⎥⎣ ⎦

y

3 -7 -2 2 -9

-3 5 1 0 5

6 -4 0 -5 7

-9 5 -5 12 11

⎡ ⎤ ⎡ ⎤⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎢ ⎥ ⎢ ⎥= =⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎣ ⎦ ⎣ ⎦

A , b

1 0 0 0 3 -7 -2 2

-1 1 0 0 0 -2 -1 2

2 -5 1 0 0 0 -1 1

-3 8 3 1 0 0 0 -1

⎡ ⎤ ⎡ ⎤⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎢ ⎥ ⎢ ⎥= =⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎣ ⎦ ⎣ ⎦

L , U

1 0 0 0 -9 1 0 0 0 -9 1 0 0 0 -9

-1 1 0 0 5 0 1 0 0 -4 0 1 0 0 -4

2 -5 1 0 7 0 -5 1 0 25 0 0 1 0 5

-3 8 3 1 11 0 8 3 1 -16 0 0 0 1 1

⎡ ⎤ ⎡ ⎤ ⎡ ⎤⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎣ ⎦ ⎣ ⎦ ⎣ ⎦

∼ ∼

เอกสารคําสอน รายวิชา 2102205 100

ขั้นตอนที่ 2 แกระบบสมการเชิงเสน =Ux y โดยทําการดําเนินการตามแถวนอนขั้นมูลฐานตอเมทริกซแตงเติม ⎡ ⎤ ⎡ ⎤⎣ ⎦ ⎣ ⎦U y I x∼ เพื่อหาผลเฉลย x ดังนี้

ผลเฉลยของระบบสมการเชงิเสน =Ux y นี้ ซึ่งเปนผลเฉลยของระบบสมการเชิงเสน =Ax b

ดวย คือ

3

4

- 6

-1

⎡ ⎤⎢ ⎥⎢ ⎥=⎢ ⎥⎢ ⎥⎣ ⎦

x ตอบ

3 -7 -2 2 -9 3 -7 -2 2 -9 3 -7 -2 0 -7

0 -2 -1 2 -4 0 2 0 -1 9 0 1 0 0 4

0 0 -1 1 5 0 0 1 0 -6 0 0 1 0 -6

0 0 0 -1 1 0 0 0 1 -1 0 0 0 1 -1

⎡ ⎤ ⎡ ⎤ ⎡ ⎤⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎣ ⎦ ⎣ ⎦ ⎣ ⎦

∼ ∼

3 0 0 0 9 1 0 0 0 3

0 1 0 0 4 0 1 0 0 4

0 0 1 0 -6 0 0 1 0 -6

0 0 0 1 -1 0 0 0 1 -1

⎡ ⎤ ⎡ ⎤⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎣ ⎦ ⎣ ⎦

∼ ∼

Page 24: Linear Algebra 2

เอกสารคําสอน รายวิชา 2102205 101

2.7 ตัวกําหนด (Determinant) โดยสวนมาก เราใชตัวกําหนด หรือดีเทอรมิแนนต ในการตรวจสอบเมทริกซจัตุรัส n n×A

หนึ่งๆ วามีตัวผกผันหรือไม นอกจากนี้ยังใชในการหาคาลักษณะเฉพาะ (Eigenvalue) และเวกเตอรลักษณะเฉพาะ (Eigenvector) ของเมทริกซ ซึ่งจะไดกลาวถึงตอไปในบทที่ 3 ในหัวขอยอยนี้ จะนําเสนอสูตรและวิธีการตางๆ ที่ใชในการหาตัวกําหนดของเมทริกซจัตุรัส รวมไปจนถึงสมบัติของตัวกําหนดดวย จากนั้น จะแสดงถึงการนําตัวกําหนดไปใชในการหาตัวผกผันของเมทริกซจัตุรัส ตามดวย...ตอไปดวย 2.7.1 หลักเกณฑของซารัส (Rules of Sarrus) หลักเกณฑนี้ ถูกคิดคนเมื่อ ค.ศ. 1833 โดยนักคณิตศาสตรชาวฝรั่งเศส ที่มีชื่อวา P.F. Sarrus [7] สามารถใชในการหาคาตัวกําหนดของเมทริกซจัตุรัสขนาด n n× เมื่อ 3n ≤ เทานั้น โดยตัวอยางตอไปนี้ แสดงการใชหลักเกณฑซารัสในการหาคาตัวกําหนดของเมทริกซ 3 3×A เชน

11 12 13

21 22 23

31 32 33

a a a

a a a

a a a

⎡ ⎤⎢ ⎥⎢ ⎥⎢ ⎥⎣ ⎦

A = เปนเมทริกซขนาด 3 3×

สัญลักษณของตัวกําหนดของเมทริกซ A ใชเปน A หรือ ( )det A ดังนั้น จะไดวา

( )11 12 13

21 22 23

31 32 33

det

a a a

a a a

a a a

= =A A

(2.20)

ขั้นตอนในการหาตัวกําหนดของเมทริกซจัตุรัส 3 3×A นี้ดวยหลักเกณฑของซารัส เปนดังตอไปนี้ - ใหเริ่มตนดวยการเขียนซ้ําแถวตั้ง 2 แถวแรกของเมทริกซ A โดยขยายตอจากแถวตั้งที่ 3 ดังนั้นจะไดเมทริกซใหมขนาด 3 5× - จากนั้นใหหาผลคูณของสมาชิกในแนวทแยงจากบนลงลาง ดังแสดงในรูปที่ 2-12 แลวนํามาบวกกัน - และหักออกดวยผลบวกของผลคูณของสมาชิกในแนวทแยงจากลางขึ้นบน ดังรูปที่ 2-12

เอกสารคําสอน รายวิชา 2102205 102

11 12 13 11 12

21 22 23 21 22

31 32 33 31 32

a a a a a

a a a a a

a a a a a

+ + +

- - -

รูปที่ 2-12 การหาตัวกําหนดของเมทริกซจัตุรัสดวยหลักเกณฑของซารัส (กรณี 3n = )

ดังนั้น ตัวกําหนดของเมทริกซ A จะเปน

11 22 33 12 23 31 13 21 32

31 22 13 32 23 11 33 21 12

a a a a a a a a a

a a a a a a a a a

= + +

− − −

A

(2.21)

ในทํานองเดียวกัน เมื่อประยุกตใชในการหาคาตัวกําหนดของเมทริกซ 2 2×A

เมื่อ 11 12

21 22

a a

a a

⎡ ⎤= ⎢ ⎥⎣ ⎦

A จะไดวา 11 22 21 12a a a a−A =

(2.22)

2.7.2 การขยายของลาปลาซ (Laplace Expansion)

วิธีการขยายของลาปลาซนี้ จะทําการลดอันดับ (Order) หรือขนาดของเมทริกซจัตุรัสขนาด n n× ลง เพื่อทําใหการหาคาตัวกําหนดของเมทริกซเปนไปไดอยางรวดเร็วขึ้น สะดวกขึ้น สําหรับการลดอันดับของเมทริกซลง 1 ขั้น จากขนาด n n× เปนขนาด ( 1) ( 1)n n− × − จะมีชื่อเรียกเฉพาะวา การขยายของโคแฟกเตอร (Co-factor Expansion)

โดยทั่วไป การขยายของลาปลาซ ประกอบดวย 3 ขั้นตอน ดังนี้

ขั้นตอนที่ 1 เริ่มตนจากการหาไมเนอร (Minor) ของเมทริกซ n n×A กอน ซึ่งนิยามวาเปนตัวกําหนดที่มีอันดับนอยวาอันดับของเมทริกซ n n×A คือมีอันดับเปน ( 1) ( 1)n n− × − ทั้งนี้การหาไมเนอร i jM ของเมทริกซ A ทําไดโดยการลบทิ้งหรือเลือกทิ้งสมาชิกในแถวนอนที่ i เมื่อ

1,2,..,i n= และสมาชิกในแถวตั้งที่ j เมื่อ 1,2,..,j n= แลวหาคาตัวกําหนดของสมาชิกชุดใหมตอไป ตัวอยางเชน

Page 25: Linear Algebra 2

เอกสารคําสอน รายวิชา 2102205 103

สําหรับเมทริกซ 11 12 13

21 22 23

31 32 33

a a a

a a a

a a a

⎡ ⎤⎢ ⎥= ⎢ ⎥⎢ ⎥⎣ ⎦

A

11 12 13

22 2311 21 22 23 22 33 23 32

32 3331 32 33

a a aa a

a a a a a a aa a

a a a

= = −M =

11 12 1312 13

31 21 22 23 12 23 13 2222 23

31 32 33

a a aa a

a a a a a a aa a

a a a

= = −M =

ขั้นตอนที่ 2 นําไมเนอรที่ไดในขั้นตอนที่ 1 ไปใชในการหาโคแฟกเตอร (C )ij ของเมทริกซ A เมื่อนิยามใหโคแฟกเตอรเปนตัวกําหนดที่สอดคลองกับไมเนอร ( )i jM ที่มีเครื่องหมายบวก/ลบที่ถูกตอง กลาวคือ

C ( 1)i j

ij ij+= − M

(2.23)

ขั้นตอนที่ 3 เมื่อไดโคแฟกเตอรครบทุกการจัดหมูของ i และ j แลว จึงนําไปคํานวณคาตัวกําหนดของเมทริกซ n n×A โดยหาไดจาก ผลรวมของผลคูณของสมาชิกในแถวนอนที่ i กับโคแฟกเตอรที่สอดคลองกัน เมื่อเลือกพิจารณาที่แถวนอนแถวใดแถวหนึ่งจากแถวนอนทั้งหมด n แถว ( 1,2,..., )i n= ดังนี้

1 1 2 2

1

C C ... C

C

i i i i in in

n

ij ijj

a a a

a=

= + + +

= ∑

A

(2.24)

ในทํานองเดียวกัน หากพิจารณาที่แถวตั้งแถวใดแถวหนึ่ง ( 1,2,... )j n= แทนการพิจาณาในแถวนอน คาตัวกําหนดของเมทริกซ n n×A ก็หาไดจากผลรวมของผลคูณของสมาชิกในแถวตั้งที่ j กับโคแฟกเตอรที่สอดคลองกัน คือ

เอกสารคําสอน รายวิชา 2102205 104

1 1 2 2

1

C C ... C

C

j j j j nj nj

n

ij iji

a a a

a=

= + + +

= ∑

A

(2.25)

ตัวอยางที่ 2-20 จงหาตัวกําหนดของเมทริกซ A เมื่อ

1 2 3 4

2 1 4 3

3 4 2 1

4 3 1 2

⎡ ⎤⎢ ⎥⎢ ⎥=⎢ ⎥⎢ ⎥⎣ ⎦

A

วิธีทํา เมื่อใชการขยายของลาปลาซ หรือการขยายของโคแฟกเตอร โดยลดอันดับลง 1 ขั้น และเลือกคํานวณจากแถวนอนที่ 1i = จะไดไมเนอร 11 12 13, ,M M M และ 14M ซึ่งมีขนาด 3 3× เราจึงสามารถใชหลักเกณฑของซารัสในการหาคาตวักําหนดของไมเนอรทั้ง 4 ตัวไดดังนี้

11

1 2 3 41 4 3

2 1 4 34 2 1 23

3 4 2 13 1 2

4 3 1 2

= = = −M

12

1 2 3 42 4 3

2 1 4 33 2 1 17

3 4 2 14 1 2

4 3 1 2

= = = −M

13

1 2 3 42 1 3

2 1 4 33 4 1 13

3 4 2 14 3 2

4 3 1 2

= = = −M

14

1 2 3 42 1 4

2 1 4 33 4 2 27

3 4 2 14 3 1

4 3 1 2

= = = −M

Page 26: Linear Algebra 2

เอกสารคําสอน รายวิชา 2102205 105

จากนั้น นําไมเนอรที่ไดไปหาโคแฟกเตอที่สอดคลองกัน โดยเลือกคํานวณจากแถวนอนที่ 1i =

จึงไดคาตัวกําหนดของเมทริกซ 4 4×A ดังนี้

( ) ( ) ( ) ( )( )( ) ( )( ) ( )( ) ( )( )

11 11 12 12 13 13 14 141

1 1 1 2 1 3 1 4

C C C C C

(1)(-1) 23 (2)(-1) 17 (3)(-1) 13 (4)(-1) 27

1 23 2 17 3 13 4 27

80

n

ij ijj

a a a a a=

+ + + +

= + + +

= − + − + − + −

= − + − − + − + − −

=

∑A =

ตอบ การขยายของลาปลาซสามารถลดอันดับของเมทริกซจัตุรัสขนาด n n× ลง 2 ขั้นได

จากขนาด n n× เปนขนาด ( 2) ( 2)n n− × − ซึ่งจะประกอบดวยขั้นตอนตางๆ ดังตอไปนี้ เมื่อพิจารณาการหาตัวกําหนดของเมทริกซ A ในตัวอยางที ่2-20

ขั้นตอนที่ 1 หาไมเนอร

1 2 1 2,i i j jM อันดับ ( 2) ( 2)n n− × − ที่เปนไปไดทุกตวั โดยเลือกแถวตั้ง 2 แถวแรกของเมทริกซ A ( 1 1j = และ 2 2j = ) สําหรับทุกแถวนอน โดยทําการจัดหมูแถวนอน 1 1, 2,3,4i = และแถวนอน 2 1, 2,3,4i = เมื่อ 1 2i i≠

1 2 3 4

2 1 4 3

3 4 2 1

4 3 1 2

j1 j2

12,12

1 23

2 1= = −M

13,12

1 22

3 4= = −M

14,12

1 25

4 3= = −M

23,12

2 15

3 4= =M

24,12

2 12

4 3= =M

34,12

3 47

4 3= = −M

เอกสารคําสอน รายวิชา 2102205 106

ขั้นตอนที่ 2 นําไมเนอรตางๆ ที่ไดในขั้นตอนที่ 1 ไปหาสวนเติมเต็มทางพีชคณิต (Algebraic Complement) ของไมเนอรแตละตัว ซึ่งนิยาม ดังนี้

( ) 1 2 1 2

1 2 1 2 1 2 1 2, ,1i i j j

i i j j i i j j+ + += −A M

(2.26)

เมื่อไมเนอรเติมเต็ม (Complementary Minor) 1 2 1 2,i i j jM หาจากคาตัวกําหนดของเมทริกซ A

ที่ลบทิ้งสมาชิกในแถวนอนที่ 1 2,i i และสมาชิกในแถวตั้ง 1 2,j j

1 2 3 4

2 1 4 3

3 4 2 1

4 3 1 2

j1 j2

12,122 1

31 2

= =M

13,124 3

51 2

= =M

14,124 3

22 1

= = −M

23,123 4

21 2

= =M

24,123 4

52 1

= = −M

34,123 4

74 3

= = −M

ดังนั้น จึงไดสวนเติมเต็มทางพีชคณิต ดังนี้

6

12,12

713,12

814,12

( 1) (3) 3

( 1) (5) 5

( 1) ( 2) 2

= − =

= − = −

= − − = −

A

A

A

8

23,12

924,12

1034,12

( 1) (2) 2

( 1) ( 5) 5

( 1) ( 7) 7

= − =

= − − =

= − − =

A

A

A

ขั้นตอนที่ 3 จากไมเนอรที่หาไดในขั้นตอนที่ 1 และสวนเติมเต็มทางพีชคณิตทีห่าไดในขัน้ตอนที่ 2 สามารถนําไปหาคาตัวกําหนดของเมทริกซ A ซึ่งถูกนิยามเปน ผลรวมของผลคูณของไมเนอรที่หาไดในขั้นตอนที่ 1 กับสวนเติมเตม็ทางพีชคณิตที่สอดคลองกัน

Page 27: Linear Algebra 2

เอกสารคําสอน รายวิชา 2102205 107

12,12 13,12 14,1212,12 13,12 14,12

23,12 24,12 34,1223,12 24,12 34,12

(-3)(3) (-2)(-5) (-5)(-2) (5)(2) (-7)(-7)

80

= + +

+ + +

= + + + +=

A M A M A M A

M A M A M A

ตอบ 2.7.3 การใชสมบัติของตัวกําหนดในการหาตัวกําหนด (Properties of Determinant) หัวขอยอยนี้ นําเสนอสมบัติตางๆ ของตัวกําหนดของเมทริกซจัตุรัสขนาด n n× ซึ่งสามารถนําไปประยุกตใชในการหาตัวกําหนดได โดยจะพิจารณาที่เมทริกซขนาด 2 2× สําหรับการพิสูจน ดังตอไปนี้ (1) คาตัวกําหนดของเมทริกซ A หนึ่งๆ จะเปลี่ยนเครื่องหมายเปนตรงกันขาม (บวกเปนลบ หรือ ลบเปนบวก) เมื่อมีการสลับสมาชิกในแถวนอน 2 แถวของเมทริกซ

พิสูจน สมมติให a b

c d

⎡ ⎤= ⎢ ⎥⎣ ⎦

A และ ' c d

a b

⎡ ⎤= ⎢ ⎥⎣ ⎦

A จะไดวา

( )-

- - -

ad bc

cb ad ad bc

=

′ = = =

A

A - A

ซ.ต.พ. หมายเหตุ การสลับสมาชิกในแถวนอนของเมทริกซ 1 ครั้ง จะเปลี่ยนเครื่องหมายของตัวกําหนดของเมทริกซ เปนตรงกันขาม 1 ครั้ง ดังนั้น หากมีการสลับสมาชิกในแถวนอน 2 ครั้ง เครื่องหมายของตัวกําหนดของเมทริกซจะไมมีการเปลี่ยนแปลง (2) ตัวกําหนดของเมทริกซเอกลักษณทุกขนาด n n× เมื่อ 1,2,3,...n = จะมีคาเทากับ ‘หนึ่ง’ เสมอ เชน

2

1 01,

0 1= =I 3

1 0 0

0 1 0 1

0 0 1

= =I เปนตน

3) ถาสมาชิกในแถวนอน 2 แถวของเมทริกซ A หนึ่งๆ มีคาเทากัน ตัวกําหนดของเมทริกซนั้นจะมีคาเทากับ ‘ศูนย’

เอกสารคําสอน รายวิชา 2102205 108

พิสูจน

0a b

ab baa b

= − =

ซ.ต.พ. นอกจากนี้ ยังสามารถใชสมบัติของตัวกําหนดขออื่นมาทําการพิสูจนไดอีกดวย ดังตอไปนี้ สมมติใหเมทริกซ Β เปนเมทริกซที่เกิดจากการสลับสมาชิกในแถวนอน 2 แถวของเมทริกซ A เมื่อใชสมบัติของตัวกําหนดขอ ‘1’ ที่วา ตัวกําหนดของเมทริกซจะเปลี่ยนเครื่องหมายเปนตรงขามกัน เมื่อมีการสลับสมาชิกในแถวนอน 2 แถว จึงไดวา

= −Β A

สําหรับสมบัติในขอ ‘3’ นี้ กลาววา การสลับสมาชิกในแถวนอน 2 แถวจะไมทําใหเมทริกซเปลี่ยนไปจากเดิม เนื่องจากสมาชิกในแถวนอนทั้ง 2 แถวมีคาเทากัน ดังนั้น

= −A A

ซึ่งเปนจริงเมื่อ 0=A เทานั้น

ซ.ต.พ. (4) สําหรับเมทริกซ 3 เมทริกซที่มีความสัมพันธกัน กลาวคือ เมทริกซ , ,A B C ซึ่งมีสมาชิกในแถวนอนแถวหนึ่งเทากัน แตมีสมาชิกในแถวนอนอีกแถวหนึ่งแตกตางกัน (สมมติเปนแถวที่ i ) โดยสมาชิกในแถวนอนที่ i ของเมทริกซ C เกิดจากผลรวมของสมาชิกในแถวนอนที่ i ของเมทริกซ A และเมทริกซ B แลว จะทําใหตัวกําหนดของเมทริกซ C จะเทากับผลรวมของตัวกําหนดของเมทริกซ A กับตัวกําหนดของเมทริกซ B

พิสูจน สมมติให 11 12 11 12 11 12

21 22 21 22 21 21 22 22

, ,a a a a a a

a a b b a b a b

⎡ ⎤ ⎡ ⎤ ⎡ ⎤= = =⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥+ +⎣ ⎦ ⎣ ⎦ ⎣ ⎦

A B C จะไดวา

( ) ( )( ) ( )

11 22 12 21 11 22 12 21

11 22 22 12 21 21

a a a a a b a b

a a b a a b

+ = − + −

= + − +

A B

( ) ( )11 1211 22 22 12 21 21

21 21 22 22

a aa a b a a b

a b a b= = + − +

+ +C

Page 28: Linear Algebra 2

เอกสารคําสอน รายวิชา 2102205 109

ดังนั้น จะไดวา = +C A Β ซ.ต.พ. หมายเหตุ สมบัตินี้เปนจริงสําหรับเมทริกซ 2 เมทริกซขนาด n n× ที่มีสมาชิกในแถวนอนแถวใดแถวหนึ่งเทานั้น ที่แตกตางกัน

(5) ตัวกําหนดของเมทริกซ A ซึ่งสมาชิกในแถวใดแถวหนึ่งถูกคูณดวยคาสเกลาร ‘ t ’ จะมีคาที่ถูกปรับมาตรา ‘ t ’ เทาของคาตัวกําหนดเดิมของเมทริกซ A พิสูจน

a bad bc

c d

⎡ ⎤= ⇒ = −⎢ ⎥⎣ ⎦

A A

ta tb

tab tbc tc d

⎡ ⎤= ⇒ = − =⎢ ⎥⎣ ⎦

B B A

ซ.ต.พ. (6) การดําเนินการตามแนวนอนขั้นมูลฐาน ประเภทที่ 3 กลาวคือ การแทนที่สัมประสิทธิ์ของเมทริกซในแถวนอนแถวหนึ่งดวยสัมประสิทธิ์ชุดใหม ที่เปนผลรวมของสัมประสิทธิ์ในแถวนอนสองแถวนอน ที่อาจมีการถูกปรับมาตราแลวดวยนั้น จะไมทําใหคาตัวกําหนดของเมทริกซเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม (ทั้งนี้ การดําเนินการตามแนวนอนขั้นมูลฐาน ประเภทที่ 1 และ 2 อยูในสมบัติของตัวกําหนดขออื่น)

พิสูจน สมมติให a b

c d

⎡ ⎤= ⎢ ⎥⎣ ⎦

A ซึ่งจะไดวา ad bc= −A

จากสมบัติของตัวกําหนดในขอ ‘4’ จะทําให

0

- -

-

a lc b ld a b lc ld

c d c d c d

a b l c d

c d c d

a b

c d

=

= −

=

= = A

ซ.ต.พ.

เอกสารคําสอน รายวิชา 2102205 110

(7) ถาเมทริกซ A หนึ่งๆ มีสมาชิกในแถวนอนแถวใดแถวหนึ่งเปน ‘ศูนย ’ ทั้งหมด คาตัวกําหนดของเมทริกซ A นั้นๆ จะเทากับ ‘ศูนย’ พิสูจน

0 0 0 00

c d c d

⎡ ⎤= ⇒ = =⎢ ⎥⎣ ⎦

A A

ซ.ต.พ. นอกจากนี้ สามารถใชสมบัติของตัวกําหนดขอ 4 และ 5 มาใชในการพิสูจนได กลาวคือ การบวกสมาชิกในแถวนอนกับสมาชิกที่เปนศูนยทั้งแถวนอน จะไมทําใหคาตัวกําหนดเปลี่ยนแปลง ดังนี้

0 0c d c d

c d c d

+ +=

จะเห็นวาเมทริกซผลลัพธทางขวามือของสมการขางบนนี้ มีสมาชิกในแถวนอน 2 แถวมีคาเทากันทั้งแถว (ตามสมบัติขอ 3) ดังนั้น คาตัวกําหนดของเมทริกซนี้จะเทากับ ‘ศูนย’ 0=A ซ.ต.พ.

(8) สําหรับเมทริกซA หนึ่งๆ ที่เปนเมทริกซสามเหลี่ยม คาตัวกําหนดของเมทริกซจะหาไดจากผลคูณของสมาชิกในแนวเสนทแยงมุมหลัก

เชน 0

a bad

d

⎡ ⎤= ⇒ =⎢ ⎥⎣ ⎦

A A

และ 0aad

c d

⎡ ⎤= ⇒ =⎢ ⎥⎣ ⎦

A A เปนตน

พิสูจน สําหรับเมทริกซทแยงมุม (Diagonal Matrix) ขนาด n n×

11

22

0

0 nn

a

a

a

⎡ ⎤⎢ ⎥⎢ ⎥=⎢ ⎥⎢ ⎥⎣ ⎦

D

Page 29: Linear Algebra 2

เอกสารคําสอน รายวิชา 2102205 111

เมื่อใชสมบัติขอ 5 จะไดตัวกําหนดของเมทริกซทแยงมุมเปนดังนี้

11 22

1 0

1...

0 1

nna a a

⎡ ⎤⎢ ⎥⎢ ⎥= ⋅ ⋅ ⋅⎢ ⎥⎢ ⎥⎣ ⎦

D

ซึ่งตัวกําหนดของเมทริกซเอกลักษณมีคาเปน ‘หนึ่ง’ เสมอ ดังนั้น

11 22 ... nna a a=D

ซ.ต.พ. (9) สําหรับเมทริกซ A และ Β ขนาด n n× ใดๆ ตัวกําหนดของผลคูณของเมทริกซ AΒ จะมีคาเทากับผลคูณของตัวกําหนดของเมทริกซ A และ ตัวกําหนดของเมทริกซ Β

=AΒ A Β

พิสูจน กําหนดให a b

c d

⎡ ⎤= ⎢ ⎥⎣ ⎦

A และ e f

g h

⎡ ⎤= ⎢ ⎥⎣ ⎦

B จะไดวา

a b

ad bcc d

e feh gf

g h

= = −

= = −

A

B

ดังนั้น ( )( )ad bc eh gf

adeh bcgf bceh adgf

= − −

= + − −

A B

( )( ) - ( )( )

- -

ae bg af bh

ce dg cf dh

ae bg cf dh ce dg af bh

adeh bcgf bceh adgf

+ +=

+ +

+ + + ++

=

=

ซึ่งจะไดวา =AΒ A Β จริง ซ.ต.พ.

เอกสารคําสอน รายวิชา 2102205 112

(10) ตัวกําหนดของคูสลับของเมทริกซ A ซึ่งมีสัญกรณเปน TA จะเทากันกับตัวกําหนดของเมทริกซ A กลาวคือ

=TA A พิสูจน

a bad bc

c d

⎡ ⎤= ⇒ = −⎢ ⎥⎣ ⎦

A A

T Ta c

ad bcb d

⎡ ⎤= ⇒ = − =⎢ ⎥⎣ ⎦

A A A

ซ.ต.พ. ตัวอยางที่ 2-21 จงหาคาตัวกําหนดของเมทริกซ A โดยใชสมบัติของตัวกําหนด เมื่อ

1 2 3 4

2 1 4 3

3 4 2 1

4 3 1 2

⎡ ⎤⎢ ⎥⎢ ⎥=⎢ ⎥⎢ ⎥⎣ ⎦

A

วิธีทํา ดําเนินการตามแถวนอนขั้นมูลฐานตอเมทริกซ A เพื่อใหอยูในรูปแบบเมทริกซขั้นบันได

-17 -233 3

24051

1 2 3 4 1 2 3 4

0 -3 -2 -5 0 -3 -2 -5

0 -2 -7 -11 0 0

0 -5 -11 -14 0 0 0

⎡ ⎤ ⎡ ⎤⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎣ ⎦ ⎣ ⎦

A ∼ ∼

จะสังเกตเห็นวา เมทริกซขั้นบันไดที่ได อยูในรูปแบบเมทริกซสามเหลี่ยมบน ดังนั้นตัวกําหนดของเมทริกซ A จึงหาไดจากผลคูณของสมาชิกบนแนวเสนทแยงมุมหลัก (ทั้งนี้ การดําเนินการตามแถวนอนขั้นมูลฐาน จะไมทําใหคาตัวกําหนดของเมทริกซนั้นๆ เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม) ดังนั้น

-17 240

(1)(-3) 803 51

⎛ ⎞⎛ ⎞= =⎜ ⎟⎜ ⎟⎝ ⎠⎝ ⎠

A ตอบ

Page 30: Linear Algebra 2

เอกสารคําสอน รายวิชา 2102205 113

2.7.4 การใชตัวกําหนดในการหาตัวผกผันของเมทริกซจัตุรัส (Inverse of a Matrix using Determinant) สืบเนื่องจากหัวขอยอย 2.2 ที่กลาวถึงตัวผกผันของเมทริกซที่เปนเมทริกซจัตุรัสไวนั้น ในหัวขอยอยนี้ จะไดกลาวถึงการใชตัวกําหนดในการหาตัวผกผันของเมทริกซ n n×A จากสูตรที่ใชหาตัวผกผันของเมทริกซ n n×A

1 1

adj( )− =A AA

(2.27)

เมื่อ adj( )A เปน แอดจูเกต (Adjugate) ของเมทริกซ A ซึ่งในบางครั้งเรียกวา เมทริกซผูกผัน (Adjoint of a Matrix) โดยนิยามวา แอดจูเกตของเมทริกซเปนเมทริกซคูสลับของเมทริกซโคแฟกเตอร ดังนี้

Tadj( ) = [C ]ijA (2.28) เมื่อ [C ]ij=C เปนเมทริกซโคแฟกเตอร (Cofactor Matrix) สําหรับแตละสมาชิกที่ ( ),i j ของเมทริกซ A เมื่อ 1 i n≤ ≤ และ 1 j n≤ ≤ ดังอธิบายไวในสมการที่ (2.23) ตัวอยางที่ 2-22 จงหาตัวผกผันของเมทริกซ A เมื่อ

1 3 -2

0 1 5

-2 -6 7

⎡ ⎤⎢ ⎥= ⎢ ⎥⎢ ⎥⎣ ⎦

A

วิธีทํา ขั้นตอนแรก ใหหาเมทริกซโคแฟกเตอรของเมทริกซ A ดังตอไปนี้

11 12 13

21 22 23

31 32 33

C C C

C C C

C C C

⎡ ⎤⎢ ⎥= ⎢ ⎥⎢ ⎥⎣ ⎦

C

1 5 0 5 0 1

6 7 2 7 2 6

3 2 1 2 1 3

6 7 2 7 2 6

3 2 1 2 1 3

1 5 0 5 0 1

−− − − −

− −= − −

− − − −

− −−

37 -10 2

-9 3 0

17 -5 1

⎡ ⎤⎢ ⎥= ⎢ ⎥⎢ ⎥⎣ ⎦

เอกสารคําสอน รายวิชา 2102205 114

ขั้นตอนถัดไป จึงใชสูตรในการหาตัวผกผันของเมทริกซ

1 1 T− =A CA

เมื่อ A เปนตัวกําหนดของเมทริกซ A ที่หาไดจากการขยายของโคแฟกเตอร โดยในตัวอยางนี้ เลือกแถวตั้งที่ 3j =

3

1

13 13 23 23 33 33

C

C C C

( 2)(2) 5(0) 7(1) 3

ij iji

a

a a a

=

=

= + +

= − + + =

∑A

ดังนั้น 1 1

37 -9 171

-10 3 -53

2 0 1

T− =

⎡ ⎤⎢ ⎥= ⎢ ⎥⎢ ⎥⎣ ⎦

A CA

ตอบ ขอสังเกต

adj( ) 1 3 -2 37 -9 17

0 1 5 -10 3 -5

-2 -6 -7 2 0 1

adj( )

3 0 0

0 3 0

0 0 3

⋅ = ⎡ ⎤ ⎡ ⎤⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎣ ⎦ ⎣ ⎦

= ⋅

= =⎡ ⎤⎢ ⎥⎢ ⎥⎢ ⎥⎣ ⎦

3

A A

A A

3I

จากสูตรในการหาตัวผกผันของเมทริกซ A ในสมการที่ (2.27)

1 1

adj( )− =A AA

เมื่อนําเมทริกซ A ไปคูณขางซายกับทั้งสองขางของสมการนี้ จะไดวา

Page 31: Linear Algebra 2

เอกสารคําสอน รายวิชา 2102205 115

1 1adj( )− = ⋅AA A A

A

เมื่อใชสมบัติที่วา 1− =AA I จะไดวา

adj( )⋅ = ⋅A I A A

(2.29)

นอกจากนี้ ถาพิจารณาเมทริกซที่มีโครงสรางเปนรูปแบบบล็อก

⎡ ⎤⎢ ⎥⎣ ⎦

A X

0 Β หรือ ⎡ ⎤

⎢ ⎥⎣ ⎦

A 0

Y Β

เมื่อเมทริกซ A และ Β เปนเมทริกซจัตุรัสใดๆ แลวจะไดวา

=A X

A Β0 Β

(2.30)

และ ⎡ ⎤=⎢ ⎥

⎣ ⎦

A 0A Β

Y Β (2.31)

ตัวอยางที่ 2-23 จงหาคาตัวกําหนดของเมทริกซตอไปนี้

2 3 1 3

1 2 1 1

0 1 0 1

0 4 0 1

⎡ ⎤⎢ ⎥− −⎢ ⎥=⎢ ⎥⎢ ⎥⎣ ⎦

A

วิธีทํา ในตัวอยางนี้ หากดําเนินการสลับแถวตั้งที่ 2j = และ 3j = ของเมทริกซ A จะทําใหเมทริกซ A มีโครงสรางเปนรูปแบบบล็อกที่มีเมทริกซศูนยอยูมุมลางซาย

2 1 3 3

1 -1 -2 1

0 0 1 1

0 0 4 1

= −A

ทั้งนี้ การสลับแถวนอน หรือแถวตั้ง 2 แถว จะทําใหตัวกําหนดของเมทริกซนั้นมีเครื่องหมายเปนตรงขาม ดังนั้น

เอกสารคําสอน รายวิชา 2102205 116

2 1 3 3

1 -1 -2 1

0 0 1 1

0 0 4 1

2 1 1 1

1 -1 4 1

( 3)( 3) 9

= −

= −

= − − − = −

A

A

2.7.5 หลักเกณฑคราเมอร (Cramer’s Rule) การหาตัวกําหนดและตัวผกผันของเมทริกซ A โดยใชการขยายของโคแฟกเตอรนั้น เราสามารถนําไปใชหาผลเฉลยของระบบสมการเชิงเสน =Ax b ไดอีกดวย ดังที่กลาวไปขางตนแลวในหัวขอยอยที่ 2.2 การใชการขยายของโคแฟกเตอรเพื่อหาผลเฉลยของระบบสมการเชิงเสนนี้ จะเรียกวา หลักเกณฑคราเมอร ดังจะไดอธิบายตอไปนี้ เมื่อพิจารณาระบบสมการเชิงเสน =Ax b ที่มีจํานวน n สมการ และมีตัวแปรไมทราบคาของระบบอยู n ตัว คือ 1 2, , , nx x x… โดยเวกเตอร [ ]1 2, , ,

T

nb b b=b … เปนเวกเตอรตัวเลขทางขวามือของระบบสมการเชิงเสน ถาเมทริกซ A ซึ่งเปนเมทริกซสัมประสิทธิ์ของระบบสมการเชิงเสนนี้เปนเมทริกซจัตุรัส ขนาด n n× และเปนเมทริกซไมเอกฐาน กลาวคือ สามารถหาเมทริกซผกผัน 1−A ได เมื่อนําเมทริกซผกผัน 1−A คูณทั้งสองขางของระบบสมการเชิงเสน =Ax b จะไดวา 1

adj( )=x A bA

11 21 1 1

12 2

1

1n

n nn n

C C C b

C b

C C b

⎡ ⎤ ⎡ ⎤⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎢ ⎥ ⎢ ⎥=⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎣ ⎦ ⎣ ⎦

A

(2.32)

ซึ่งเมื่อแจกแจงสมการที่ (2.32) จะไดผลเฉลยของระบบสมการเชิงเสนนี้เปน

Page 32: Linear Algebra 2

เอกสารคําสอน รายวิชา 2102205 117

( )

( )

( )

1 1 11 2 21 1

2 1 12 2 22 2

1 1 2 2

1

1

1

n n

n n

n n n n nn

x b C b C b C

x b C b C b C

x b C b C b C

= + + +

= + + +

= + + +

A

A

A

โดยเราสามารถเขียนผลเฉลยดังกลาวใหอยูในรูปทั่วไป สําหรับ 1 i n≤ ≤ ไดเปน

1

1, 1, ,

n

i j jij

x b C i n=

= =∑A

… (2.33)

จากการสังเกต พบวาโคแฟกเตอรที่ใชในการหาผลเฉลย nx คือ 1 2, , ,n n nnC C C… เกี่ยวของกับสมาชิกในแถวตั้งที่ n ของเมทริกซ A ดังนั้น เมื่อนิยามให jD เปนตัวกําหนดของเมทริกซ A ที่ถูกแทนที่สมาชิกในแถวตั้งที่ j ของเมทริกซ A ดวยเวกเตอรแถวตั้ง b ของระบบสมการเชิงเสน =Ax b แลว ผลเฉลยของระบบสมการเชิงเสน =Ax b จะหาไดจาก

, 1, ,iix i n= =

D

A… (2.34)

ตัวอยางที่ 2-24 จงหาผลเฉลยของระบบสมการเชิงเสนตอไปนี้

1 2 3

2 3

1 2 3

3 2 1

5 0

2 6 7 1

x x x

x x

x x x

+ − = −+ =

− − + = −

วิธีทํา ระบบสมการเชิงเสนนี้ สามารถเขียนใหอยูในรปูสมการเมทริกซเวกเตอร =Ax b ได

เมื่อเมทริกซสัมประสิทธิข์องระบบสมการเชิงเสน คือ 1 3 -2

0 1 5

-2 -6 7

⎡ ⎤⎢ ⎥= ⎢ ⎥⎢ ⎥⎣ ⎦

A

เวกเตอรตวัแปรไมทราบคาของระบบ คอื [ ]1 2 3, ,T

x x x=x และ [ ]1, 0, 1

T= − −b เปนเวกเตอรตัวเลขทางขวามือของระบบ เมื่อใชหลักเกณฑคราเมอรในการหาผลเฉลยของระบบสมการเชิงเสนนี้ โดยที่เราทราบ คาตัวกําหนดของเมทริกซ A จากตัวอยางที่ 2-22 คือ 3=A จากสมการที่ (2.34) จะไดวา

เอกสารคําสอน รายวิชา 2102205 118

1

1x =D

A, 2

2x =D

A, 3

3x =D

A

โดยที่

1

1 3 2

0 1 5 54

1 6 7

− −= = −

− −D

2

1 1 2

0 0 5 15

2 1 7

− −= =

− −D

3

1 3 1

0 1 0 3

2 6 1

−= = −

− − −D

ดังนั้นผลเฉลยของระบบสมการเชิงเสน =Ax b คือ 1 2 318, 5, 1x x x= − = = − ตอบ

Page 33: Linear Algebra 2

เอกสารคําสอน รายวิชา 2102205 119

2.8 บทสรุปทายบท (Summary) ในบทที่ 2 นี้ เราไดแนะนําการดําเนินการตางๆ สําหรับเวกเตอรใน 2R , 3R และ nR

รวมถึงการดําเนินการของเมทริกซ การแบงสวนเมทริกซ และการแยกตัวประกอบ LU ของเมทริกซซึ่งถูกนําไปใชในการวิเคราะห หรือดําเนินการอื่นๆ เกี่ยวกับเมทริกซอยางกวางขวาง

นอกจากนี้ยังไดนําเสนอการหาตัวผกผันของเมทริกซ พรอมทั้งแนะนําเมทริกซขั้นมูล

ฐาน ซึ่งสามารถนําไปใชในการหาตัวผกผันของเมทริกซไดอีกดวย พรอมกันนี้ การหาตัวกําหนดหรือดีเทอรมิแนนตของเมทริกซจัตุรัสก็ถูกรวมอยูในบทที่ 2 นี้ ซึ่งตัวกําหนดจะเปนสวนหนึ่งที่ใชในการหาตัวผกผันของเมทริกซจัตุรัส ทั้งนี้ เมื่อกลาวถึงตัวผกผันของเมทริกซ เราก็ควรอธิบายถึงความเชื่อมโยงกับการแปลงผกผันของการแปลงเชิงเสนหนึ่งๆ ไดดวย สุดทาย มีการนําเสนอหลักเกณฑคราเมอร เพื่อแสดงใหเห็นถึงการใชงานคาตัวกําหนดของเมทริกซจัตุรัสสําหรับการหาผลเฉลยของระบบสมการเชิงเสนอีกดวย

เอกสารคําสอน รายวิชา 2102205 120

2.9 แบบฝกหัดทายบท (Exercises) 1. จงหาตัวผกผันของเมทริกซสัมประสิทธิ์ของระบบสมการเชิงเสนตอไปนี้

1 2

1 2

4 3 2

5 4 1

x x

x x

+ =+ = −

จากนั้น ใชตัวผกผันของเมทริกซสัมประสิทธิ์ดังกลาวในการแกระบบสมการเชิงเสน 2. จงหาเมทริกซมูลฐานตางๆ ที่ใชในการดําเนินการขั้นมูลฐานตอเมทริกซ A ตามลําดับการเกิดขึ้น จนกระทั่งไดเมทริกซเอกลักษณ เมื่อ

1 2 1

3 1 2

1 1 4

⎡ ⎤⎢ ⎥= ⎢ ⎥⎢ ⎥−⎣ ⎦

A

3. จงใชการแยกตัวประกอบ LU ของเมทริกซตอไปนี้

(1) 1 2

3 7

−⎡ ⎤⎢ ⎥−⎣ ⎦

(2) 1 1 1

1 0 4

2 2 3

⎡ ⎤⎢ ⎥− −⎢ ⎥⎢ ⎥⎣ ⎦

(3) 1 0.5 3

1 1.5 1

1 1 4

−⎡ ⎤⎢ ⎥⎢ ⎥⎢ ⎥− −⎣ ⎦

4. จงใชการแยกตัวประกอบ LU ของเมทริกซในการแกระบบสมการเชิงเสนตอไปนี้

1 2 3

1 3

1 2 3

2 2 1

3 0

8 5 4

x x x

x x

x x x

− + =− − =

− + =

Page 34: Linear Algebra 2

เอกสารคําสอน รายวิชา 2102205 121

5. จงใชการแบงสวนเมทริกซ เพื่อหาเมทริกซยอย X และ Y จากความสัมพันธตอไปนี้

11 12 11 12

21 22 22

31 32 32

⎡ ⎤ ⎡ ⎤ ⎡ ⎤⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥=⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎣ ⎦ ⎣ ⎦ ⎣ ⎦

I 0 0 A A B B

X I 0 A A 0 B

Y 0 I A A 0 B

โดยกําหนดให 11A เปนเมทริกซที่หาตัวผกผันได 6. จงแสดงใหเห็นวา

2 2

2

2 2

2 4( )

b ac bc c

ab ac bc abc

a ab b ac

+=

+

7. จงแสดงใหเห็นวา

2

b c c a a b a b c

q r r p p q p q r

y z z x x y x y z

+ + ++ + + =+ + +

8. จงหาคาตัวกําหนดของเมทริกซ A นี้

2

2

2

1

1

1

a a

b b

c c

⎡ ⎤⎢ ⎥= ⎢ ⎥⎢ ⎥⎣ ⎦

A

เรียกวา ตัวกําหนดของวองแดรมงค (Vandermondee’s determination) 9. จงหาคาตัวกําหนดของเมทริกซ G นี้

2 2 2 2

3 3 3 3

1 1 1 1

a b c d

a b c d

a b c d

⎡ ⎤⎢ ⎥⎢ ⎥=⎢ ⎥⎢ ⎥⎣ ⎦

G

เอกสารคําสอน รายวิชา 2102205 122

10. จงหาคา k ที่ทําใหเมทริกซตอไปนี้ เปนเมทริกซเอกพันธุ 1 2 4

3 1 6

3 2k

⎡ ⎤⎢ ⎥= ⎢ ⎥⎢ ⎥⎣ ⎦

A