27
เอกสารวิชาการฉบับที ๕๐/๒๕๔๙ Technical Paper No. 50/2006 โรคและปรสิตในบ่ออนุบาลลูกปลาม้า DISEASES AND PARASITES OF DRUMFISH LARVAR IN NURSERY TANKS โดย วีรวรรณ ชินอักษร วารุณีย์ คันทรง Werawan Chinaksorn Varunee Khansong สํานักวิจัยและพัฒนาประมงนํ/าจืด Inland Fisheries Research and Development Bureau กรมประมง Department of Fisheries กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ Ministry of Agriculture and Cooperatives ส้านักวิจัยและพัฒนาประมงน ้าจืด

Ü î Ý - inlandfisheries · 2019. 1. 9. · โรคและปรสิตในบ่ออนุบาลล ูกปลาม้า วีรวรรณ ชินอักษร

  • Upload
    others

  • View
    6

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

  • เอกสารวชิาการฉบับที� ๕๐/๒๕๔๙ Technical Paper No. 50/2006

    โรคและปรสิตในบ่ออนุบาลลูกปลาม้า

    DISEASES AND PARASITES OF DRUMFISH LARVAR IN NURSERY TANKS

    โดย

    วรีวรรณ ชินอกัษร

    วารุณย์ี คันทรง

    Werawan Chinaksorn

    Varunee Khansong

    สํานักวจัิยและพฒันาประมงนํ/าจืด Inland Fisheries Research and Development Bureau กรมประมง Department of Fisheries กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ Ministry of Agriculture and Cooperatives

    ส้านัก

    วิจัยและพัฒ

    นาประมงน้้าจืด

  • เอกสารวชิาการฉบับที� ๕๐/๒๕๔๙ Technical Paper No. 50/2006

    โรคและปรสิตในบ่ออนุบาลลูกปลาม้า

    DISEASES AND PARASITES OF DRUMFISH LARVAR IN NURSERY TANKS

    โดย

    วรีวรรณ ชินอกัษร

    วารุณย์ี คันทรง

    Werawan Chinaksorn

    Varunee Khansong

    ศูนย์วจัิยและพฒันาประมงนํ/าจืดสุพรรณบุรี Suphanburi Inland Fisheries Research and Development Center อาํเภอเมือง จังหวดัสุพรรณบุรี ๗๒๐๐๐ Amphoe Mueang, Changwat Suphanburi 72000 โทร. ๐-๓๕๕๕-๕๐๙๐ Tel. 0-3555-5090 ๒๕๔๙ 2006

    รหัสทะเบียนวจัิยเลขที� 48 0569 48168

    ส้านัก

    วิจัยและพัฒ

    นาประมงน้้าจืด

  • สารบาญ

    หนา้ บทคดัยอ่ 1 ABSTRACT 2 คาํนาํ 3 วตัถุประสงค ์ 4 อุปกรณ์และวธีิดาํเนินการ 1. แบบแผนการวจิยั 5 2. วธีิการศึกษา 5 3. วเิคราะห์ขอ้มูล 7 ผลการศึกษา 1. การศึกษาโรคและปรสิตจากไข่ปลามา้ 9 2. การศึกษาโรคและปรสิตจากลูกปลามา้ในโรงเพาะฟัก 9 3. คุณภาพนํ7าในระหวา่งการศึกษา 9 สรุปและวจิารณ์ผล 15 ขอ้เสนอแนะ 18 กิตติกรรมประกาศ 18 เอกสารอา้งอิง 19 ภาคผนวก ก 21

    i

    ส้านัก

    วิจัยและพัฒ

    นาประมงน้้าจืด

  • สารบาญตาราง

    ตารางที9 หนา้ 1 เปอร์เซ็นตก์ารแพร่กระจายของแบคทีเรีย Flexibacter sp. และปรสิต

    Ichthyophthirius sp. ในลูกปลามา้ขนาดต่างๆ 12 2 จาํนวนลูกปลา (ตวั) ที9ตรวจพบแบคทีเรียและปรสิตในแต่ละเดือน 13 3 คุณภาพนํ7าในบ่ออนุบาลลูกปลามา้ระหวา่งการศึกษาโรคและปรสิต 14 4 คุณภาพนํ7าในบ่อพอ่แม่พนัธ์ุปลามา้ระหวา่งการศึกษาโรคและปรสิต 14 5 ความสัมพนัธ์ระหวา่งอุณหภูมินํ7ากบัจาํนวนลูกปลาที9ตรวจพบแบคทีเรียและปรสิต ในแต่ละเดือน 15

    ii

    ส้านัก

    วิจัยและพัฒ

    นาประมงน้้าจืด

  • สารบาญภาพ

    รูปที9 หนา้ 1 ปลามา้ในบ่อพอ่แม่พนัธ์ุ 7 2 แผนผงับ่อพ่อแม่พนัธ์ุปลามา้ที9เลี7ยงในบ่อซีเมนตร์ะบบปิดขนาด 50 ลูกบาศกเ์มตร 8 3 ลูกปลามา้ที9นาํมาศึกษา 10 4 Flexibacter sp. บริเวณผวิตวัลูกปลา (x 400) 10

    5 Ichthyophthirius sp. บริเวณผวิตวัลูกปลา (x 100) 11

    6 Ichthyophthirius sp. บริเวณเหงือกลูกปลา (x 100) 11

    iii

    ส้านัก

    วิจัยและพัฒ

    นาประมงน้้าจืด

  • โรคและปรสิตในบ่ออนุบาลลูกปลาม้า

    วรีวรรณ ชินอกัษร

    วารุณย์ี คันทรง

    ศูนยว์จิยัและพฒันาประมงนํ7 าจืดสุพรรณบุรี ต.ดอนโพธิC ทอง อ.เมือง จ.สุพรรณบุรี ๗๒๐๐๐

    บทคัดย่อ

    การศึกษาโรคและปรสิตในบ่ออนุบาลลูกปลามา้ ดาํเนินการที9ศูนยว์ิจยัและพฒันาประมงนํ7 าจืดสุพรรณบุรี ตั7งแต่เดือนกุมภาพนัธ์ - กรกฎาคม 2548 พบวา่ ไข่ปลามา้ตรวจไม่พบแบคทีเรีย ส่วนปรสิตพบ Ichthyophthirius sp. ที9ผิวไข่ปลา โดยพบโปรโตซวันี7 ในเดือนกุมภาพนัธ์และเดือนมีนาคมซึ9 งปนเปื7 อนมาจากพ่อแม่พันธ์ุที9 เกิดโรคจุดขาว นอกจากนี7 ย ังพบเชื7 อราที9 เปลือกไข่ ส่วนลูกปลาม้าพบแบคทีเรีย Flexibacter sp. ที9ผิวตวั โดยพบมากที9สุดในลูกปลาขนาด 3.5 เซนติเมตร คิดเป็นร้อยละ 25.00 และพบแบคทีเรียนี7 ในเดือนพฤษภาคม - มิถุนายน ซึ9 งเมื9อวเิคราะห์ค่าสัมประสิทธิC สหสัมพนัธ์พบวา่แบคทีเรียที9ตรวจพบไม่มีความสัมพนัธ์กบัคุณภาพนํ7 าในแต่ละเดือน ส่วนลูกปลามา้วยัอ่อนจนถึงลูกปลาขนาด 5 เซนติเมตร พบ Ichthyophthirius sp. ที9เมือกผิวตวัและเหงือก ซึ9 งพบมากที9สุดในลูกปลาขนาด 0.3 เซนติเมตร คิดเป็นร้อยละ 26.67 โดยพบปรสิตในเดือนกุมภาพนัธ์ถึงเดือนมีนาคม ซึ9 งเมื9อวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิC สหสัมพนัธ์พบวา่ปรสิตที9ตรวจพบมีความสัมพนัธ์กบัอุณหภูมินํ7าอยา่งมีนยัสาํคญัยิ9ง (p

  • DISEASES AND PARASITES OF DRUMFISH LARVAR IN NURSERY TANKS

    Werawan Chinaksorn Varunee Khansong

    Suphanburi Inland Fisheries Research and Development Center, Amphoe Mueang, Changwat Suphanburi 72000, Thailand

    ABSTRACT

    Study on diseases and parasites of drumfish larvar, Boesemania microlepis

    (Bleeker), in nursery tanks at Suphanburi inland fisheries research and development center has been conducted during February-July 2005. No bacteria could be isolated from fertilized eggs while parasite protozoa, Ichthyophthirius sp., were found on the egg surface. The protozoa presented on the egg specimens collected in February and March 2005 that was most likely contaminated from white spot diseased brooders. Saprophyte fungus only observed on the un-fertilized eggs. During May-June 2005 examination, 25% of fish larvar specimens averageing 3-5 cm mainly found to be infected with Flexibacter. The statistic analysis showed non significant correlation between water qualities and bacterial findings. The protozoa (Ich) found in fish fry ranging 0.3-5 cm. in total length. However, they predominantly infected the fish fry size 0.3 cm. 26.67% of fish fry averaging 0.3 cm. found to be infected with the protozoa (Ich) in the specimens collected during February and March 2005. The parasitic protozoa (Ich) findings were correlated with low water temperatures with highly significant (p

  • คํานํา

    ปลามา้ หรือในแถบแม่นํ7 าโขงเรียกว่า ปลากวาง (Drumfish, Soldier Croaker) มีชื9อวิทยาศาสตร์ที9พอ้งกนัหลายชื9อ เช่น Pseudosciaena microlepis (Suvatti) หรือ Pseudosciaena saldado (Srikomut) แต่ชื9อที9ถูกตอ้งคือ Boesemania microlepis (Bleeker) (Wongratana, 1985) ปลามา้มีรูปร่างเรียวยาว ลาํตวัดา้นขา้งแบน หางยาวเรียว หวัค่อนขา้งเล็ก หนา้งอนขึ7นเล็กนอ้ย จะงอยปากสั7นทู่ ปากเล็กและอยูค่ลอ้ยไปทางใตส่้วนหวั นยัน์ตาค่อนขา้งเล็ก มีเกล็ดขนาดเล็กที9หวัและลาํตวั ครีบหลงัยาว ส่วนปลายครีบจรดโคนหาง ครีบหูเล็กปลายแหลม ครีบทอ้งอยู่ใกลอ้ก มีกา้นแข็งยืดยาวออกมาเป็นปลายแหลม ครีบหางยาวปลายแหลม พื7นลาํตวัสีนํ7 าตาลปนเทา หรือสีเขียวอ่อน หลงัสีนํ7 าตาลปนดาํ ทอ้งสีขาวเงิน ครีบต่างๆ สีนํ7 าตาลหรือเหลืองอ่อน มีความยาวประมาณ 17-60 เซนติเมตร (ดงัรูปที9 1) ปลามา้เป็นปลาพื7นเมืองของไทยที9มีความสําคญัทางเศรษฐกิจชนิดหนึ9 ง เนื7อมีรสชาติดี ประชาชนนิยมบริโภค และมีราคาค่อนข้างสูง พบได้ทั7 งในแหล่งนํ7 าจืดและนํ7 ากร่อย ในแหล่งนํ7 าจืดพบมากในแม่นํ7 าท่าจีนจังหวดัสุพรรณบุรี แม่นํ7าเจา้พระยาตั7งแต่จงัหวดันนทบุรีจนถึงจงัหวดัชยันาท (กรมประมง, 2545) ในอดีตพบปลามา้ชุกชุมมากตามแม่นํ7าลาํคลองทั9วไป แต่ปัจจุบนัเกิดปัญหามลภาวะในแหล่งนํ7 าทาํให้ปริมาณปลามา้ลดลงเป็นจาํนวนมาก กรมประมงจึงไดพ้ยายามเพาะพนัธ์ุปลามา้ จนกระทั9งเริ9มประสบความสําเร็จในปี 2534 โดยสถาบนัประมงนํ7าจืดแห่งชาติสามารถเพาะพนัธ์ุปลามา้โดยการฉีดฮอร์โมนผสมเทียม (กิจจาและคณะ, 2534) และสถานีประมงนํ7าจืดจงัหวดัชยันาทก็สามารถเพาะพนัธ์ุปลามา้ไดโ้ดยวธีิธรรมชาติ (สมหวงัและสนธิพนัธ์, 2534)

    ตลอดระยะเวลาประมาณ 15 ปี ไดมี้ความพยายามที9จะเพาะและอนุบาลลูกปลามา้ให้ไดจ้าํนวนมาก แต่ก็ไดผ้ลเป็นที9น่าพอใจระดบัหนึ9ง ทั7งนี7 เนื9องจากหลงัจากอนุบาลลูกปลาไประยะหนึ9งลูกปลาจะตายเป็นจาํนวนมาก ซึ9 งขอ้มูลทางดา้นโรคของลูกปลามา้นั7นยงัไม่เคยมีรายงานเลย ทั7งนี7 อาจเนื9องมาจากปลามา้เป็นปลาที9มีผูเ้พาะและอนุบาลเป็นจาํนวนนอ้ยจึงยงัไม่มีการศึกษาทางดา้นโรค แต่มีงานวิจยัที9คลา้ยคลึงกนัซึ9 งไดศึ้กษาโรคในการเพาะฟักและอนุบาลลูกปลาบึก (สิทธิและจิราพร, 2526) ซึ9 งผลการศึกษาไม่พบเชื7อแบคทีเรียเลย แต่พบเชื7อราและเชื7อโปรโตซวั คือ Saprolegnia sp., Oodinium sp., และ Scyplidia sp.จากไข่ปลาบึก ส่วนลูกปลาพบเห็บระฆงั Trichodina sp. จากเหงือกและเมือกของลูกปลา

    วรีวรรณ (2535) ไดศึ้กษาโรคและปรสิตของปลากระพงขาวพบวา่ ในลูกปลาขนาด 1 นิ7ว ตรวจ ไม่พบเชื7อแบคทีเรีย ซึ9 งสอดคลอ้งกบัรายงานของลิลาและคณะ (2530) ที9ตรวจไม่พบเชื7อแบคทีเรียในปลาขนาดเล็ก (3 วนั – 2.5 เซนติเมตร) ส่วนปรสิตนั7นพบปรสิตในกลุ่มเห็บระฆงั (Trichodinids) เพียงกลุ่มเดียว แต่ในปลาขนาด 2-5 นิ7ว ตรวจพบ Scyphidis sp., Henneguya sp. และซีสตข์องเมตาเซอร์คาเรียดว้ย ส่วนปลาขนาดตลาดตรวจพบHenneguya sp., Epistylis sp., ซีสตข์องเมตาเซอร์คาเรียและ Diplectanum spp. นอกจากนี7 เยาวนิตย ์(2525) ยงัรายงานวา่พบโรคจุดขาวในปลาที9เลี7ยงในจงัหวดัสงขลา

    ส้านัก

    วิจัยและพัฒ

    นาประมงน้้าจืด

  • ลิลาและรังสิไชย (2536) ไดศึ้กษาพยาธิในปลากะรังที9เลี7 ยงในกระชงั พบพยาธิภายนอก ไดแ้ก่ โปรโตซัวจาํนวน 2 ชนิด พยาธิใบไมพ้วก Monogenea 2 ชนิด Digenea 1 ชนิด Copepod 1 ชนิด Isopod 1 ชนิด และปลิงดูดเลือด 1 ชนิด และพบพยาธิภายใน ไดแ้ก่ Digenea 3 ชนิด Cestode 1 ชนิด พยาธิตวักลม 1 ชนิด และพยาธิหวัหนาม 1 ชนิด ส่วนเยาวนิตยแ์ละคณะ (2539) ไดศึ้กษาโรคแผลด่างในปลากะรังจุดนํ7าตาลพบเชื7อ Flexibacter marimitus และ Vibrio spp.

    นอกจากนี7 ยงัมีรายงานการพบปรสิตในปลาจวดแดง (Sciaenops ocellatus) ซึ9 งเป็นปลาในครอบครัวเดียวกบัปลามา้(Family Sciaenidae)โดยเป็นปลาทะเลที9เลี7ยงกนัอยา่งแพร่หลายในสหรัฐอเมริกา บริเวณรอบอ่าวเม็กซิโก และประเทศต่างๆ แถบนั7น โดย Wolfe et al.(2002) ได้รายงานว่าพบ Amyloodinium ocellatum, Ambiphrya sp., Ergasilus sp., Trichodinella sp., Ceratomyxa sp.

    และ Scolex polymorphus ในปลาจวดแดงที9เลี7ยง ปลาที9เลี7ยงเป็นพอ่แม่พนัธ์ุ และปลาที9จบัจากธรรมชาติ การศึกษาโรคและปรสิตในบ่ออนุบาลลูกปลาม้าครั7 งนี7 จะเป็นประโยชน์ในการเพาะและ

    อนุบาลลูกปลามา้ เพื9อให้ทราบสาเหตุการตายของลูกปลาและนาํไปปรับปรุงระบบการเพาะพนัธ์ุ เพื9อเพิ9มประสิทธิภาพการผลิตลูกปลามา้ให้มีผลผลิตจาํนวนมากพอที9จะนาํไปศึกษาด้านการเลี7 ยงเพื9อส่งเสริมให้เกษตรกรนาํไปเลี7ยงเป็นอาชีพต่อไป

    วตัถุประสงค์

    เพื9อศึกษาโรคและปรสิตที9เกิดกบัลูกปลามา้ ในระหวา่งการอนุบาลจนกระทั9งลูกปลามีขนาด 2

    นิ7ว และนาํผลการศึกษาไปวเิคราะห์หาวธีิกาํจดัโรคและปรสิตต่อไป

    ส้านัก

    วิจัยและพัฒ

    นาประมงน้้าจืด

  • อุปกรณ์และวธีิดําเนินการ

    1. แบบแผนการวจัิย

    วางแผนการศึกษาโดยสุ่มสํารวจจากตูก้ระจกที9ฟักไข่ปลา และจากบ่อซีเมนต์ที9อนุบาลลูกปลาในโรงเพาะฟัก ดาํเนินการศึกษาที9ศูนยว์ิจยัและพฒันาประมงนํ7 าจืดสุพรรณบุรี ตาํบลดอนโพธิC ทอง อาํเภอเมือง จงัหวดัสุพรรณบุรี ในเดือน กุมภาพนัธ์ - กรกฎาคม 2548 2. วธีิการศึกษา

    2.1 การศึกษาโรคและปรสิตจากไข่ปลามา้

    ไข่ปลามา้ที9นาํมาศึกษาเป็นไข่ปลาที9ได้จากพ่อแม่พนัธ์ุที9เลี7 ยงในบ่อซีเมนต์ระบบปิดขนาด 50 ลูกบาศก์เมตร (5x10x1 เมตร) (รูปที9 2) และให้ผสมพนัธ์ุกนัตามธรรมชาติ ไข่ปลาที9ไดจ้ากพ่อแม่พนัธ์ุจะไหลไปตามท่อและไปรวมกนัที9มุง้รอง จากนั7นจึงรวบรวมไข่ปลาจากมุง้ผา้โอล่อนที9รองรับไข่นาํมาฟักในตู้กระจก ไข่ปลาในตูก้ระจกที9นาํไข่มาฟักในวนัแรกจะถูกสุ่มนบัไข่มา 50 ฟอง/ครั7 ง สัปดาห์ละ 2 ครั7 ง เป็นเวลา 6 สัปดาห์ (กลางเดือนกุมภาพนัธ์ถึงสิ7นเดือนมีนาคม) เพื9อศึกษาโรคและปรสิตในการทดลองนี7 โดยแบ่งไข่ปลาเพื9อศึกษาแบคทีเรีย 30 ฟอง และศึกษาปรสิต 20 ฟอง

    การศึกษาทางดา้นแบคทีเรียนาํไข่ปลาที9ไดแ้ยกเป็น 3 ชุด ชุดละ 10 ฟอง ลา้งดว้ย 0.85% โซเดียมคลอไรดที์9ปลอดเชื7อ 5 มิลลิลิตร 2 ครั7 ง จากนั7นนาํไข่ปลาแต่ละชุดใส่ในหลอดทดลองที9มี 1 มิลลิลิตร 0.85% โซเดียมคลอไรดที์9ปลอดเชื7อ บดไข่ใหล้ะเอียดดว้ยแท่งแกว้ปลอดเชื7อ ผสมใหเ้ขา้กนัใช ้loop แตะสารละลายไปเพาะเชื7อบนอาหารเลี7ยงเชื7อ Muller Hilton Agar (MU) หากพบเชื7อเจริญบนอาหารเลี7ยงเชื7อจึงแยกจนไดเ้ชื7อบริสุทธิC แลว้นาํไปทดสอบคุณสมบติัทางชีวเคมี และจาํแนกชนิดแบคทีเรียตามวิธีของ Buchanan และ Gibbons (1974) ส่วนการศึกษาปรสิตไดน้าํไข่ปลามาตรวจดูดว้ยกลอ้งจุลทรรศน์กาํลงัขยายตํ9าและกาํลงัขยายสูง หากพบปรสิตจะเก็บตวัอยา่งปรสิตเพื9อนาํมาจาํแนกชนิดภายหลงั 2.2 การศึกษาโรคและปรสิตจากลูกปลามา้ในโรงเพาะฟัก

    ลูกปลามา้ที9นาํมาศึกษาจะสุ่มจากบ่ออนุบาลซีเมนตก์ลมขนาดเส้นผา่ศูนยก์ลาง 3 เมตร ความจุ 7ลูกบาศก์เมตร ซึ9 งอนุบาลลูกปลาม้าขนาดต่างๆ โดยเก็บตัวอย่างสัปดาห์ละครั7 ง เป็นเวลา 18 สัปดาห์ (กลางเดือนกุมภาพนัธ์ถึงสิ7นเดือนมิถุนายน) ครั7 งละ 20 ตวั นาํมาศึกษาแบคทีเรียและปรสิตอย่างละ 10 ตวั ขนาดของลูกปลาที9นาํมาศึกษามีความยาวประมาณ 0.3-5.0 เซนติเมตร

    ส้านัก

    วิจัยและพัฒ

    นาประมงน้้าจืด

  • การศึกษาทางดา้นแบคทีเรีย สาํหรับลูกปลาวยัอ่อนที9มีขนาดเล็กประมาณ 0.3-1.5 เซนติเมตร จะนาํมาแบ่งเป็น 2 ชุด ชุดละ 5 ตวั ทาํใหส้ลบ วดัขนาด แลว้จึงลา้งดว้ย 0.85% โซเดียมคลอไรด์ที9ปลอดเชื7อ 10 มิลลิลิตร 2 ครั7 ง จากนั7นนาํลูกปลาแต่ละชุดใส่ในหลอดทดลองที9มี 5 มิลลิลิตร 0.85% โซเดียมคลอไรด์ที9ปลอดเชื7อบดลูกปลาให้ละเอียดดว้ยแท่งแกว้ที9ปลอดเชื7อ ผสมให้เขา้กนัดว้ย vortex mixer ใช ้ loop แตะสารละลายไปเพาะเชื7อบนอาหารเลี7ยงเชื7อ Trypticase soy agar (TSA) และ Thiosulfate-citrate-bile sucrose agar (TCBS agar) แยกจนไดเ้ชื7อบริสุทธิC แลว้นาํไปทดสอบคุณสมบติัทางชีวเคมี และจาํแนกชนิดแบคทีเรียตามวธีิของ Buchanan และGibbons (1974) ส่วนลูกปลาขนาดประมาณ 1นิ7ว ตรวจดูอาการผดิปกติภายนอก สาํหรับปลาที9มีบาดแผลตามลาํตวัจะเขี9ยเชื7อแบคทีเรียจากบริเวณแผล แลว้เปิดช่องทอ้ง เขี9ยเชื7อจากไตโดยวิธี aseptic technique ทาํการเพาะเชื7อแบคทีเรียในอาหาร TSA และ TCBS agar และลูกปลาขนาดประมาณ 2 นิ7ว จะตรวจดูอาการผดิปกติภายนอก หากปลามีบาดแผลตามลาํตวัจะเขี9ยเชื7อแบคทีเรียจากบริเวณแผล ในกรณีที9พบอาการตวัด่างใช้กระจกปิดสไลด์ขูดเมือกบริเวณดงักล่าวมาตรวจดูดว้ยกลอ้งจุลทรรศน์กาํลงัขยายสูง หากพบเชื7อ Flexibacter sp. ซึ9 งเพาะเลี7 ยงเชื7อไดย้ากในอาหารเลี7 ยงเชื7อทั9วไป จึงวนิิจฉยัเชื7อจากรูปร่าง การเคลื9อนที9 และการยอ้มสีแกรม จากนั7นจึงเปิดช่องทอ้ง เขี9ยเชื7อจากตบั มา้ม ไต เพาะเชื7อแบคทีเรียในอาหาร TSA และ TCBS agar

    ส่วนการศึกษาปรสิต ลูกปลาวยัอ่อนมีขนาดเล็กมาก ดงันั7นการศึกษาปรสิตจะนาํลูกปลามาทาํให้สลบ วดัขนาด และทาํการตรวจหาชนิดของปรสิตภายนอกและปรสิตภายในดว้ยกลอ้งจุลทรรศน์กาํลงัขยายสูง โดยตรวจลูกปลาทั7งตวั ส่วนลูกปลาที9มีขนาดตั7งแต่ 1 นิ7ว ขึ7นไป หลงัจากทาํให้สลบและวดัขนาด (รูปที9 3) ทาํการตรวจหาชนิดของปรสิตภายนอกโดยดูตามผิวตัว เกล็ด ครีบ ช่องปาก ด้วยกล้องจุลทรรศน์กาํลงัขยายตํ9า แลว้ตดัเหงือกดา้นซ้ายแถวนอกและใชก้ระจกปิดสไลด์ขดูเมือกตามแนวยาวลาํตวั นาํกระจกปิดสไลด์วางบนสไลด์ที9มีหยดนํ7 า ศึกษาชนิดของปรสิตดว้ยกลอ้งจุลทรรศน์กาํลงัขยายสูง และศึกษาปรสิตภายในโดยการผ่าช่องทอ้ง ตรวจหาปรสิตภายในบริเวณช่องทอ้ง กระเพาะอาหาร ลาํไส้ ตบั มา้ม ถุงนํ7 าดี และเยื9อบุช่องทอ้ง ดว้ยกลอ้งจุลทรรศน์กาํลงัขยายตํ9าและกลอ้งจุลทรรศน์กาํลงัขยายสูง หากพบปรสิตจะเก็บตวัอยา่งปรสิตเพื9อนาํมาจาํแนกชนิดภายหลงั หรือถ่ายภาพไวใ้นกรณีเก็บตวัอยา่งปรสิตไวไ้ม่ได ้

    2.3 การตรวจวดัคุณภาพนํ7า

    ตรวจวดัคุณภาพนํ7า เวลา 9.00 น. ทุก 3 วนั ดว้ยวธีิการดงันี7 2.3.1 อุณหภูมิ (temperature) โดยใชเ้ทอร์โมมิเตอร์ มีหน่วยเป็นองศาเซลเซียส (oC) 2.3.2 ความเป็นกรดเป็นด่าง (pH) โดยใชเ้ครื9องวดัความเป็นกรดเป็นด่าง (pH meter) 2.3.3 ความเป็นด่าง (alkalinity) โดยใชว้ธีิการไตเตรท ตามวธีิที9กล่าวในไมตรีและจารุวรรณ (2528) มีหน่วยเป็น มิลลิกรัม/ลิตร (ppm) 2.3.4 ความกระดา้ง (hardness) โดยใชว้ธีิการไตเตรท ตามวธีิที9กล่าวในไมตรีและจารุวรรณ (2528) มีหน่วยเป็น มิลลิกรัม/ลิตร (ppm)

    ส้านัก

    วิจัยและพัฒ

    นาประมงน้้าจืด

  • 2.3.5 ออกซิเจนที9ละลายนํ7า (dissolved oxygen) โดยใชว้ธีิการไตเตรทตามวธีิที9กล่าวใน ไมตรีและจารุวรรณ (2528) มีหน่วยเป็น มิลลิกรัม/ลิตร (ppm)

    2.3.6 แอมโมเนีย (ammonia) โดยใชว้ธีิของ APHA (1989) มีหน่วยเป็น มิลลิกรัม/ลิตร (ppm)

    2.3.7 ไนไตรท ์(nitrite) โดยใชว้ธีิของ APHA (1989) มีหน่วยเป็น มิลลิกรัม/ลิตร (ppm) โดยในบ่อพ่อแม่พนัธ์ุปลามา้จะตรวจวดัคุณภาพนํ7 า ตั7 งแต่กลางเดือนกุมภาพนัธ์ถึงสิ7นเดือนมีนาคม 2548 ส่วนในบ่ออนุบาลลูกปลามา้ จะตรวจวดัคุณภาพนํ7 าตั7งแต่กลางเดือนกุมภาพนัธ์ถึงสิ7นเดือนมิถุนายน 2548 3. วเิคราะห์ข้อมูล

    วิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิC สหสัมพนัธ์ (Correlation) ระหว่างคุณภาพนํ7 าแต่ละปัจจยักบัจาํนวนปลาที9พบปรสิตในแต่ละเดือน โดยใชโ้ปรแกรมสาํเร็จรูป SPSS for Window Version 9.05

    รูปที� 1 ปลามา้ในบ่อพอ่แม่พนัธ์ุ

    ส้านัก

    วิจัยและพัฒ

    นาประมงน้้าจืด

  • บ ่อพอ่แม่พนัธ์ุปลามา้

    ราง บ่อพอ่แม่พนัธ์ุปลามา้ ระบาย บ่อพอ่แม่พนัธ์ุปลามา้ นํ7า นํ7าเขา้ บ ่อกรอง ดา้นบน ทิ7ง บ ่อเก็บนํ7า ปัUมจุ่ม

    มุง้รองไข่ปลา ท่อเชื9อมระหวา่งบ่อ รูปที� 2 แผนผงับ่อพอ่แม่พนัธ์ุปลามา้ที9เลี7ยงในบ่อซีเมนตร์ะบบปิดขนาด 50 ลูกบาศกเ์มตร

    ส้านัก

    วิจัยและพัฒ

    นาประมงน้้าจืด

  • ผลการศึกษา

    1. การศึกษาโรคและปรสิตจากไข่ปลาม้า

    การศึกษาดา้นแบคทีเรียจากไข่ปลามา้ ซึ9 งเก็บตวัอย่างตั7งแต่กลางเดือนกุมภาพนัธ์ถึงสิ7นเดือนมีนาคม 2548 รวม 12 ครั7 ง จาํนวน 360 ฟอง ไม่พบเชื7อแบคทีเรียเจริญบนอาหารเลี7ยงเชื7อ MU ส่วนการศึกษาปรสิตจากไข่ปลามา้ 240 ฟอง พบปรสิต Ichthyophthirius sp. ซึ9 งมองเห็นนิวเคลียสรูปเกือกมา้ไดช้ดัเจน และมีขนาดต่างๆ ติดอยู่บริเวณเปลือกไข่จาํนวน 53 ฟอง ฟองละ 1-3 เซลล ์โดยพบในเดือนกุมภาพนัธ์ถึงตน้เดือนมีนาคม นอกจากนี7 ยงัพบว่ามีเชื7อราเกาะฟองไข่จาํนวน 52 ฟอง โดยพบเชื7อราเกาะฟองไข่ที9ไม่ไดรั้บการผสมนํ7าเชื7อ เชื7อรามีลกัษณะเป็นเส้นใยไม่มีผนงักั7นพองฟูรอบฟองไข่

    2. การศึกษาโรคและปรสิตจากลูกปลาม้าในโรงเพาะฟัก

    การศึกษาดา้นแบคทีเรีย จากตวัอย่างลูกปลามา้ ซึ9 งเก็บตวัอย่างตั7งแต่กลางเดือนกุมภาพนัธ์ถึงสิ7นเดือนมิถุนายน 2548 รวม 18 ครั7 ง จาํนวน 180 ตวั ลูกปลาไม่มีบาดแผลภายนอก ลูกปลาวยัอ่อนที9มีขนาดเล็กประมาณ 0.3-1.5 เซนติเมตร ซึ9 งนาํมาบดทั7งตวัก่อนนาํไปแยกเชื7อแบคทีเรีย ไม่พบเชื7อแบคทีเรีย ส่วนลูกปลาขนาด 2.5 เซนติเมตร ซึ9 งแยกเชื7อจากไต และลูกปลาขนาด 3.5 และ 5.0 เซนติเมตร ซึ9 งแยกเชื7อจากตบั มา้ม และไต ก็ไม่พบเชื7อแบคทีเรียเช่นกนั แต่การศึกษาครั7 งนี7พบว่าในเดือน พฤษภาคม และเดือนมิถุนายน ลูกปลาขนาด 2.5, 3.5 และ 5.0 เซนติเมตร บางตวัมีอาการตวัด่าง เมื9อนาํมาตรวจโดยขดูเมือกบริเวณรอยด่างพบเชื7อ Flexibacter sp. ซึ9 งเป็นเชื7อแบคทีเรียรูปแท่งยาว (รูปที9 4 ) เคลื9อนไหวมารวมกนัเป็นกลุ่ม ยอ้มติดสีแกรมลบ ซึ9 งพบในลูกปลาจาํนวน 10 ตวั โดยพบในลูกปลาขนาด 3.5 เซนติเมตรมากที9สุด คิดเป็นร้อยละ 25.00 (ตารางที9 1) ส่วนการศึกษาปรสิตจากลูกปลามา้จาํนวน 180 ตวั พบปรสิตภายนอกคือ Ichthyophthirius sp. ที9ผวิตวัลูกปลาและซี9เหงือก (รูปที9 5 และ 6) จาํนวน 23 ตวั ตวัละ 1-8 เซลล์คิดเป็นร้อยละ 11.67 โดยพบในลูกปลาขนาด 0.3 เซนติเมตรมากที9สุดคิดเป็นร้อยละ 26.67 ในขณะที9ลูกปลาขนาด 1.0-1.5 เซนติเมตรไม่พบปรสิตเลย (ตารางที9 1) และพบปรสิตในเดือนกุมภาพนัธ์ถึงเดือนมีนาคม (ตารางที9 2) โดยลูกปลาที9พบปรสิตนี7 มีทั7งที9พบและไม่พบจุดขาวที9ผวิตวั และในการศึกษาครั7 งนี7ไม่พบปรสิตภายในเลย 3. คุณภาพนํ/าในระหว่างการศึกษา

    จากการตรวจสอบคุณภาพนํ7าในบ่ออนุบาลลูกปลามา้ระหวา่งการศึกษาโรคและปรสิต มีค่าดงันี7 อุณหภูมินํ7 าอยูใ่นช่วง 26.0-32.0 (26.67-30.70) องศาเซลเซียส ความเป็นกรดด่างอยูใ่นช่วง 8.0-8.5 (8.15-8.25) ความเป็นด่างอยู่ในช่วง 96-126 (103.40-118.00) มิลลิกรัม/ลิตร ความกระดา้งอยู่ในช่วง 144-232 (178.80-196.00) มิลลิกรัม/ลิตร ออกซิเจนที9ละลายนํ7 าอยู่ในช่วง 7.3-7.8 (7.45-7.56) มิลลิกรัม/ลิตร

    ส้านัก

    วิจัยและพัฒ

    นาประมงน้้าจืด

  • แอมโมเนียอยู่ในช่วง 0-0.83 (0.53-0.67) มิลลิกรัม/ลิตร และไนไตรท์อยู่ในช่วง 0.007-0.609 (0.02-0.15) มิลลิกรัม/ลิตร (ตารางที9 3 และภาคผนวก ก) ส่วนคุณภาพนํ7าในบ่อพอ่แม่พนัธ์ุปลามา้ในเดือนกุมภาพนัธ์และมีนาคม 2548 ซึ9 งเป็นระยะเวลาที9รวบรวมไข่ปลามาศึกษา มีค่าดงันี7 อุณหภูมินํ7 าอยูใ่นช่วง 23.0-27.5 องศาเซลเซียส ความเป็นกรดด่างอยู่ในช่วง 7.5-8.4 ความเป็นด่างอยูใ่นช่วง 58-88 มิลลิกรัม/ลิตร ความกระดา้งอยูใ่นช่วง 132-196 มิลลิกรัม/ลิตร ออกซิเจนที9ละลายนํ7 าอยู่ในช่วง 4.7-5.3 มิลลิกรัม/ลิตร แอมโมเนียอยู่ในช่วง 0.03-0.91 มิลลิกรัม/ลิตร และไนไตรทอ์ยูใ่นช่วง 0.07-0.53 มิลลิกรัม/ลิตร (ตารางที9 4 )

    รูปที� 3 ลูกปลามา้ที9นาํมาศึกษา

    รูปที� 4 Flexibacter sp. บริเวณผวิตวัลูกปลา (x 400)

    ส้านัก

    วิจัยและพัฒ

    นาประมงน้้าจืด

  • รูปที� 5 Ichthyophthirius sp. บริเวณผวิตวัลูกปลา (x 100)

    รูปที� 6 Ichthyophthirius sp. บริเวณเหงือกลูกปลา (x 100)

    ส้านัก

    วิจัยและพัฒ

    นาประมงน้้าจืด

  • ตารางที� 1 เปอร์เซ็นตก์ารแพร่กระจายของแบคทีเรีย Flexibacter sp.และปรสิต Ichthyophthirius sp. ในลูกปลามา้ขนาดต่างๆ

    ขนาดตวัอยา่งลูกปลา จาํนวนปลาที9ศึกษา จาํนวนปลาที9พบแบคทีเรีย เปอร์เซ็นต ์ จาํนวนปลาที9พบปรสิต เปอร์เซ็นต ์

    (เซนติเมตร) (ตวั)/(ครั7 ง) (ตวั) (ตวั)

    0.3 30/3 0 0 8 26.67

    0.5 30/3 0 0 5 16.67

    1.0 30/3 0 0 0 0

    1.5 30/3 0 0 0 0

    2.5 20/2 5 15.00 3 15.00

    3.5 20/2 3 25.00 3 15.00

    5.0 20/2 2 10.00 2 10.00

    ส้านัก

    วิจัยแ

    ละพัฒ

    นาปร

    ะมงน

    ้้าจืด

  • ii

    ตารางที� 2 จาํนวนลูกปลา (ตวั) ที9ตรวจพบแบคทีเรียและปรสิตในแต่ละเดือน

    สัปดาห์ ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย.

    ที9 แบคทีเรีย ปรสิต แบคทีเรีย ปรสิต แบคทีเรีย ปรสิต แบคทีเรีย ปรสิต แบคทีเรีย ปรสิต

    1 0 3 0 0 0 0 3 0

    2 0 3 0 0 0 0 0 0

    3 0 8 0 2 0 0 5 0 0 0

    4 0 5 0 0 0 0 0 0 2 0

    รวม 0 13 0 8 0 0 5 0 5 0

    ส้านัก

    วิจัยแ

    ละพัฒ

    นาปร

    ะมงน

    ้้าจืด

  • ตารางที� 3 คุณภาพนํ7าในบ่ออนุบาลลูกปลามา้ระหวา่งการศึกษาโรคและปรสิต เดือน ปัจจยัที9วเิคราะห์ ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. อุณหภูมินํ7า (องศาเซลเซียส) 26.0-27.5 27.0-29.5 29.0-32.0 29.0-30.5 28.5-30.0 ความเป็นกรดเป็นด่าง 8.0-8.5 8.0-8.5 8.0-8.5 8.0-8.5 8.0-8.5 ความเป็นด่าง (มก./ลิตร) 114-122 108-120 102-122 108-126 96-116 ความกระดา้ง (มก./ลิตร) 156-200 156-216 144-220 184-232 144-228 ออกซิเจนที9ละลายนํ7า (มก./ลิตร) 7.3-7.6 7.4-7.8 7.3-7.8 7.3-7.6 7.3-7.6 แอมโมเนีย (มก./ลิตร) 0.28-0.83 0.25-0.80 0.05-0.09 0-0.05 0.01-0.04 ไนไตรท ์(มก./ลิตร) 0.011-0.023 0.007-0.059 0.007-0.471 0.024-0.609 0.020-0.294

    ตารางที� 4 คุณภาพนํ7าในบ่อพอ่แม่พนัธ์ุปลามา้ระหวา่งการศึกษาโรคและปรสิต

    เดือน ปัจจยัที9วเิคราะห์ ก.พ. มี.ค. อุณหภูมินํ7า (องศาเซลเซียส) 23.0-26.0 23.0-27.5 ความเป็นกรดเป็นด่าง 7.5-8.0 7.5-8.4 ความเป็นด่าง (มก./ลิตร) 58-72 64-88 ความกระดา้ง (มก./ลิตร) 132-150 148-196 ออกซิเจนที9ละลายนํ7า (มก./ลิตร) 4.9-5.3 4.7-5.3 แอมโมเนีย (มก./ลิตร) 0.13-0.91 0.03-0.86 ไนไตรท ์(มก./ลิตร) 0.07-0.11 0.10-0.53

    ส้านัก

    วิจัยและพัฒ

    นาประมงน้้าจืด

  • ตารางที� 5 ความสัมพนัธ์ระหวา่งอุณหภูมินํ7ากบัจาํนวนลูกปลาที9ตรวจพบแบคทีเรียและปรสิตในแต่ละเดือน

    อุณหภูมินํ7าเฉลี9ย จาํนวนลูกปลา (ตวั) จาํนวนลูกปลา (ตวั) เดือน (องศาเซลเซียส ) ที9พบเชื7อแบคทีเรีย NS ที9พบปรสิต ** กุมภาพนัธ์ 26.67 0 13 มีนาคม 27.75 0 8 เมษายน 30.70 0 0 พฤษภาคม 29.85 5 0 มิถุนายน 29.60 5 0 หมายเหตุ NS ค่าสัมประสิทธิC สหสัมพนัธ์ไม่มีความสัมพนัธ์กบัอุณหภูมินํ7า ** ค่าสัมประสิทธิC สหสัมพนัธ์มีความสัมพนัธ์กบัอุณหภูมินํ7าอยา่งมีนยัสาํคญัยิ9ง (p

  • สารอาหารของไข่จึงเป็นแหล่งอาหารที9เหมาะสมแก่การเจริญของเชื7อราที9มีอยูท่ ั9วไปในนํ7 า และในการศึกษานี7ไม่มีวตัถุประสงคใ์นการศึกษาเชื7อราทั9วไปจึงไม่ไดจ้าํแนกชนิดของเชื7อรา แต่อยา่งไรก็ตามเชื7อราก็สามารถก่อให้เกิดโรคในสัตวน์ํ7 าได ้โดยฐิติพรและคณะ (2548) ไดร้ายงานว่าพบเชื7อราสกุล Achlya sp. ในปลาสวยงามที9มีอาการของโรคเชื7อราคือมีการเจริญของกลุ่มเส้นใยคลา้ยสาํลีหรือปุยฝ้ายบริเวณลาํตวั การศึกษาโรคจากลูกปลามา้ ซึ9 งสุ่มเก็บลูกปลามา้ขนาดต่างๆ จาํนวน 180 ตวั ลูกปลาวยัอ่อนที9มีขนาดเล็กประมาณ 0.3-1.5 ซนติเมตร ทั7งนี7 เนื9องจากลูกปลาอนุบาลในนํ7 าความเค็ม 3 ppt จึงนาํมาลา้งก่อนที9จะบดทั7งตวัใน 5 มิลลิลิตร 0.85% โซเดียมคลอไรดที์9ปลอดเชื7อแลว้จึงนาํมาแยกแบคทีเรีย แต่ไม่สามารถแยกเชื7อแบคทีเรียได ้ซึ9 งใกลเ้คียงกบัการศึกษาของลิลาและคณะ (2530) ที9ตรวจไม่พบเชื7อแบคทีเรียในปลากะพงขาวขนาดเล็ก (3 วนั - 2.5 เซนติเมตร) แต่หากแบคทีเรียมีจาํนวนน้อยก็จะไม่สามารถแยกเชื7อไดเ้นื9องจากไม่ไดมี้การเพิ9มปริมาณแบคทีเรียก่อนนาํมาแยกเชื7อ และไม่พบเชื7อแบคทีเรียจากอวยัวะภายในของลูกปลาขนาด 2.5, 3.5 และ 5.0 เซนติเมตร ทั7งนี7 อาจเนื9องมาจากการอนุบาลลูกปลามา้จะอนุบาลในบ่อซีเมนตก์ลมเส้นผา่ศูนยก์ลาง 3 เมตร มีการให้อากาศตลอดเวลา ถ่ายนํ7 าวนัเวน้วนั และดูดตะกอนสลบักบัวนัที9ถ่ายนํ7 าทาํใหคุ้ณภาพนํ7าเหมาะสม ประกอบกบัอาหารที9ใหต้ลอดการอนุบาลคือ อาร์ทีเมียแรกฟัก อาร์ทีเมีย และไรแดง จะแช่ฟอร์มาลิน 100 ppm และลา้งนํ7าสะอาดก่อนนาํมาใหลู้กปลากิน ทาํใหลู้กปลาแขง็แรง นอกจากนี7 ยงัพบเชื7อ Flexibacter sp. ที9เมือกตามผิวตวัลูกปลาที9เริ9มมีอาการตวัด่าง โดยพบในลูกปลาขนาด 3.5 เซนติเมตรมากที9สุด คิดเป็นร้อยละ 25.00 รองลงมาคือ ลูกปลาขนาด 2.5 และ 5.0 เซนติเมตร ซึ9 งใกลเ้คียงกบัเยาวนิตย์และจีรนนัท ์(2545) ที9ไดก้ล่าววา่โรคแผลด่างที9มีสาเหตุมาจากเชื7อ Flexibacter sp.ในปลากะพงขาวเกิดขึ7นบ่อยมากและการระบาดแต่ละครั7 งมีอตัราการตายสูงโดยเฉพาะในปลาขนาด 1- 3 นิ7ว ซึ9 งในการศึกษาครั7 งนี7ไม่ไดศึ้กษาอตัราการตายของลูกปลามา้ที9พบเชื7อ Flexibacter sp. แต่ก็มีรายงานว่า เชื7อ Flexibacter sp. ที9พบในบ่อเลี7 ยงปลาดุกบิUกอุยทาํให้ปลาตายเป็นจาํนวนมาก (วรัชฎา, 2535) และเชื7อที9พบในปลากะพงขาวที9เลี7 ยงในนํ7 าทะเลทาํให้ลูกปลามีอตัราการตายสูงถึง 100 เปอร์เซ็นต์ (เยาวนิตย์และจีรนันท์, 2545) จากการศึกษาครั7 งนี7พบแบคทีเรีย Flexibacter sp. ในเดือนพฤษภาคม - เดือนมิถุนายน ซึ9 งจากการวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิC สหสัมพนัธ์ระหวา่งจาํนวนปลาที9พบแบคทีเรียกบัคุณภาพนํ7 าในแต่ละเดือนพบวา่การตรวจพบแบคทีเรียไม◌่มีความสัมพนัธ์กบัคุณภาพนํ7า การศึกษาปรสิตจากลูกปลามา้ พบ Ichthyophthirius sp. ซึ9 งเห็นนิวเคลียสรูปเกือกมา้ชดัเจนที9ผิวตวัลูกปลาและซี9เหงือก โดยพบในลูกปลาขนาด 0.3 เซนติเมตรมากที9สุด รองลงมาคือลูกปลาขนาด 0.5, 2.5, 3.5 และ 5.0 เซนติเมตร ในขณะที9ลูกปลาขนาด 1.0-1.5 เซนติเมตรไม่พบปรสิตเลย การพบปรสิตในลูกปลาวยัอ่อนอาจเนื9องมาจากลูกปลาไดรั้บปรสิตนี7 มาจากนํ7 าที9มีปรสิตอยูโ่ดยนาํมาพร้อมไข่ปลาหรือจากไข่ปลาที9มีปรสิตติดสัมผสัอยู่ เมื9อนาํไข่มาฟักภายในตูก้ระจกซึ9 งมีออกซิเจนสูง ปรสิตจะมีการเจริญแบ่งตวัได้อยา่งรวดเร็ว ดงันั7นปรสิตจึงอาจติดไปกบัลูกปลาหรือติดไปกบันํ7 าและภาชนะเมื9อมีการยา้ยลูกปลาจากตูฟั้กไปอนุบาลในบ่อซีเมนต์ ส่วนลูกปลาขนาด 2.5, 3.5 และ 5 เซนติเมตร ที9ตรวจพบปรสิตนั7น เนื9องจากบางส่วนเก็บตวัอย่างในเดือนกุมภาพนัธ์ถึงกลางเดือนมีนาคมซึ9 งยงัเป็นช่วงที9มีปรสิตเกิดอยู่ จึงอาจมีการ

    ส้านัก

    วิจัยและพัฒ

    นาประมงน้้าจืด

  • ปนเปื7 อนระหวา่งบ่ออนุบาลเนื9องจากการใชอุ้ปกรณ์ร่วมกนั ส่วนลูกปลาขนาด 1.0 และ 1.5 เซนติเมตรไม่พบปรสิตเลยอาจเป็นเพราะเก็บตวัอยา่งในช่วงปลายเดือนมีนาคมเป็นตน้ไป ซึ9 งเป็นช่วงที9นํ7 ามีอุณหภูมิสูงขึ7น ในการศึกษาครั7 งนี7 ไม่ไดศึ้กษาอตัราการตายของลูกปลามา้ที9พบ Ichthyophthirius sp. แต่มีรายงานวา่เชื7ออิUกใน ระยะตวัอ่อนจะทาํใหลู้กปลาอ่อนแอและตายอยา่งรวดเร็ว และถา้ไม่ไดรั้บการรักษาอยา่งถูกวธีิลูกปลาจะตายหมดบ่อในระยะเวลา 2-3 วนั (กมลพรและคณะ, 2536) การพบปรสิตนี7 เฉพาะเดือนกุมภาพนัธ์ถึงเดือนมีนาคมนั7น จากการวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิC สหสัมพนัธ์ระหว่างจาํนวนปลาที9พบปรสิตกบัคุณภาพนํ7 าในแต่ละเดือนพบว่า การตรวจพบปรสิตมีความสัมพนัธ์กบัอุณหภูมิอย่างมีนัยสําคญัยิ9ง (p

  • กุมภาพนัธ์ถึงเดือนมีนาคม 2548 ซึ9 งเมื9อนาํมาวิเคราะห์สัมประสิทธิC สหสัมพนัธ์พบว่าปรสิตที9ตรวจพบมีความสัมพนัธ์กบัอุณหภูมินํ7าอยา่งมีนยัสาํคญัยิ9ง (p

  • เอกสารอ้างองิ

    กมลพร ทองอุไทย, สุปราณี ชินบุตร, ชลอ ลิ7มสุวรรณ, เต็มดวง สมศิริ, พรเลิศ จนัทร์รัชชกลู และสมเกียรติC กาญจนาคาร. 2536. คู่มือ การเพาะเลี7ยงและป้องกนัโรคปลาดุกลูกผสม. สถาบนัวจิยัสุขภาพสัตวน์ํ7า,

    กรมประมง. 44 หนา้. กรมประมง. 2545. ภาพปลาและสัตวน์ํ7าของไทย. องคก์ารคา้คุรุสภา, กรุงเทพฯ. 323 หนา้. กิจจา ใจเยน็, สมปอง หิรัญวฒัน์, ภาณุ เทวรัตน์มณีกุล, สุจินต ์ หนูขวญั, กาํชยั ลาวณัยวฒิุ และ วรีะ วชัรกรโยธิน. 2534. การศึกษาชีวประวติัและการเพาะพนัธ์ุปลามา้. เอกสารวชิาการฉบบัที9 119.

    สถาบนัวจิยัประมงนํ7าจืด, กรมประมง. 21 หนา้. ฐิติพร หลาวประเสริฐ, เอกพนัธ์ บางยี9ขนั, ธาตรี สุภาพร, ทรงพล ลาภส่งผล และสุปราณี ชินบุตร. 2548. ชนิดและคุณสมบติัทางชีววทิยาบางประการของรานํ7าที9พบในปลาสวยงาม. วารสารการประมง 58(5)

    : 395-399. ประไพสิริ สิริกาญจน. 2546. ความรู้เรื9องปรสิตของสัตวน์ํ7า. คณะประมง, มหาวิทยาลยัเกษตรศาสตร์. 270 หนา้. ไมตรี ดวงสวสัดิC และ จารุวรรณ สมศิริ. 2528. คุณสมบติัของนํ7าและวธีิวเิคราะห์สาํหรับการวจิยัทางการ ประมง. สถาบนัประมงนํ7าจืดแห่งชาติ, กรมประมง. 115 หนา้. เยาวนิตย ์ดนยดล. 2525. การศึกษาชนิดและวธีิการป้องกนัและรักษาโรคที9เกิดกบัปลากะพงขาวบริเวณ แหล่งเลี7ยงจงัหวดัสงขลา. รายงานผลงานทางวชิาการปี 2525. สถาบนัเพาะเลี7ยงสัตวน์ํ7าชายฝั9ง จงัหวดัสงขลา, กรมประมง. หนา้ 143-152. เยาวนิตย ์ดนยดล และจีรนนัท ์อุไรประสิทธิC . 2545. คุณลกัษณะเชื7อ Flexibacter maritimus สาเหตุของ โรคแผลด่างในปลากะพงขาว. เอกสารวชิาการฉบบัที9 1/2545. สถาบนัวจิยัการเพาะเลี7ยงสัตวน์ํ7า ชายฝั9ง, กรมประมง. 11 หนา้. เยาวนิตย ์ ดนยดล, วนิยั กระจายวงศ,์ ลิลา เรืองแป้น และ สถาพร ดิเรกบุษราคม. 2539. สาเหตุ และวธีิการรักษาโรคแผลด่างในปลากะรังจุดนํ7าตาล (Epinephelus marabaricus). วารสารการ ประมง 49(1) : 29-35. ลิลา เรืองแป้น และ รังสิไชย ทบัแกว้. 2536. พยาธิในปลากะรัง (Epinephelus marabaricus) ที9เลี7ยง

    ในกระชงั. วารสารการประมง 46(6) : 503-509. ลิลา เรืองแป้น, เยาวนิตย ์ ดนยดล, ประดิษฐ ์ ชนชื9นชอบ และ ดารุณี แซ่อุ่ย. 2530. โรคและพยาธิของ

    ปลากะพงขาว (Lates calcarifer). เอกสารวชิาการฉบบัที9 5/2530. งานทดลองและวจิยัเพื9อการ เพาะเลี7ยง, กองประมงนํ7ากร่อย, กรมประมง. 19 หนา้.

    วรัชฎา ขาํเลิศ. 2535. การศึกษาโรคที9เกิดจากแบคทีเรียและปรสิตของปลาดุกบิUกอุยในบ่อเลี7ยง. วทิยานิพนธ์ ปริญญาโท. มหาวทิยาลยัเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 72 หนา้.

    ส้านัก

    วิจัยและพัฒ

    นาประมงน้้าจืด

  • วรีวรรณ ชินอกัษร. 2535. โรคและปรสิตของปลากะพงขาว. วทิยานิพนธ์ปริญญาโท. มหาวทิยาลยั เกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 128 หนา้.

    สมหวงั พิมลบุตร และ สนธิพนัธ์ ผาสุขดี. 2534. การศึกษาเบื7องตน้การเพาะพนัธ์ุปลามา้โดยวธีิธรรมชาติ. รายงานประจาํปี 2534 กองประมงนํ7าจืด, กรมประมง. หนา้ 140 – 144.

    สิทธิ บุณยรัตผลิน และ จิราพร เกษรจนัทร์. 2526. โรคปลาบึกปี 2526. เอกสารวิชาการฉบบัที9 29. สถาบนัประมงนํ7าจืดแห่งชาติ, กรมประมง. 6 หนา้.

    APHA. 1989. Standard methods for the examination of water and waste water. 15th ed. American Public Health Association, Washington D.C.

    Buchanan, R. E. and N. E. Gibbons. 1974. Bergey’s manual of determinative bacteriology. 8th ed. The Williams and Wilkins Co., Balyimore. 1268 pp.

    Wolfe, H., Lulian, M.D., Forstchen, A.B. and Reese, R.O. 2002. Parasite presence in cultured, stocked and wild Red Drum Sciaenops ocellatus in the Alafia River, Florida. http://www.gulfbase.org.

    Wongratana, T. 1985. Boesemania microlepis (Bleeker), a common but misidentified Riverine Drumfish (Pisces : Scieaenidae) from Thailand and Mekhong River. In: Proceedings of the 23rd conference fisheries section, Kasetsart University, Bangkok Thailand. 5-7 February 1985. pp. 1-20.

    ส้านัก

    วิจัยและพัฒ

    นาประมงน้้าจืด

  • ภาคผนวก ก

    ตารางแสดงค่าคุณภาพนํ7าเฉลี9ยในบ่ออนุบาลลูกปลามา้

    เดือน ปัจจยัที9วเิคราะห์ ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย.อุณหภูมินํ7า (องศาเซลเซียส) 26.67 27.75 30.70 29.85 29.60 SD ± 0.61 ± 0.95 ± 0.94 ± 0.53 ± 0.52 ความเป็นกรดเป็นด่าง 8.17 8.25 8.15 8.20 8.25 SD ± 0.26 ± 0.26 ± 0.41 ± 0.26 ± 0.26 ความเป็นด่าง (มก./ลิตร) 118.00 113.60 115.80 114.80 103.40 SD ± 2.83 ± 3.63 ± 5.45 ± 5.27 ± 5.97 ความกระดา้ง (มก./ลิตร) 180.67 178.80 183.20 196.00 182.00 SD ± 15.47 ± 17.99 ± 22.45 ± 19.23 ± 23.34 ออกซิเจนที9ละลายนํ7า (มก./ลิตร) 7.47 7.56 7.52 7.45 7.48 SD ± 0.12 ± 0.12 ± 0.14 ± 0.11 ± 0.09 แอมโมเนีย (มก./ลิตร) 0.53 0.61 0.56 0.67 0.54 SD ± 0.20 ± 0.18 ± 0.21 ± 0.24 ± 0.23 ไนไตรท ์(มก./ลิตร) 0.02 0.03 0.12 0.15 0.08 SD ± 0.004 ± 0.03 ± 0.15 ± 0.19 ± 0.08

    ส้านัก

    วิจัยและพัฒ

    นาประมงน้้าจืด

  • ส้านัก

    วิจัยและพัฒ

    นาประมงน้้าจืด