31

Supplier Quality Improvement Manual - :: Welcome To …¸‚ อก าหนดมาตรฐานแรงงานไทย ฉบ บภาษาไทย / อ งกฤษ

Embed Size (px)

Citation preview

Supplier Quality Improvement Manual

Description Page

THAI LABOUR STANDARD

TLS 8001 : 2010 Supplier Evaluation Flow Chart 1

นโยบายดา้นความรับผดิชอบทางสังคมและแรงงาน 2

หนังสอืแสดงความมุง่มั�นของผูส้ง่มอบหรอืผูรั้บเหมาชว่ง 3

แบบสอบถามการประเมนิผูข้ายรายใหม ่ (มรท.) 4

แบบสํารวจขอ้มลูผูส้ง่มอบ / ผูรั้บจา้งชว่งตามมาตรฐานแรงงานไทย 5-6

เอกสารสรปุผลการประเมนิผูส้ง่มอบ / ผูรั้บจา้งชว่งตามมาตรฐานแรงงานไทย 7

ขอ้กําหนดมาตรฐานแรงงานไทย ฉบับภาษาไทย / อังกฤษ

CONTENT

THAI LABOUR STANDARD SUPPLIER MANUAL

Supplier Quality Improvement Manual

THAI LABOUR STANDARD : TLS 8001-2010 TLS 8001 : 2010 Supplier Evaluation Flow Chart

For Flow Chart of TLS Supplier Evaluation TER have 2 step for submit your document

1. If you are New Supplier you should summit intent letter and Check list for New supplier.

1.1 TER add supplier's name in Approve Supplier List by PUR

1.2 Supplier submit the Check list for Labour audit and intent letter for New Supplier to PUR

2. If you are our supplier within 1 year should submit supplier annual self audit to TER

2.1 download survey for supplier annual self audit (March)

2.2 supplier answer self audit and submit data to TER (April - May)

2.3 TER summary and approve the survey

2.4 If have NC TER will inform to supplier for set up plan for preventive and corrective action.

Add Name list in Add Name list in Add Name list in Add Name list in Approve Approve Approve Approve Supplier List Supplier List Supplier List Supplier List by by by by PURPURPURPUR

Submit the CheSubmit the CheSubmit the CheSubmit the Checccck list for Labour audit and intent k list for Labour audit and intent k list for Labour audit and intent k list for Labour audit and intent letter from New Supplierletter from New Supplierletter from New Supplierletter from New Supplier

1111. . . . New SupplierNew SupplierNew SupplierNew Supplier : Start Supply in: Start Supply in: Start Supply in: Start Supply in 2014201420142014

(within (within (within (within 1 1 1 1 month affer apporve Supplier)month affer apporve Supplier)month affer apporve Supplier)month affer apporve Supplier)

13

1/7

letter from New Supplierletter from New Supplierletter from New Supplierletter from New Supplier

(within (within (within (within 1 1 1 1 month affer apporve Supplier)month affer apporve Supplier)month affer apporve Supplier)month affer apporve Supplier)

TER summary and TER summary and TER summary and TER summary and approve the survey approve the survey approve the survey approve the survey

NONONONOYESYESYESYES

2222. . . . Old SupplierOld SupplierOld SupplierOld Supplier

downloaddownloaddownloaddownload survey for supplier annual self auditsurvey for supplier annual self auditsurvey for supplier annual self auditsurvey for supplier annual self audit

Supplier self audit and Supplier self audit and Supplier self audit and Supplier self audit and submit submit submit submit data to TERdata to TERdata to TERdata to TER Supplier set up Plan Supplier set up Plan Supplier set up Plan Supplier set up Plan for Preventive and for Preventive and for Preventive and for Preventive and Corrective Action Corrective Action Corrective Action Corrective Action

and Send the result and Send the result and Send the result and Send the result to TERto TERto TERto TER

1 1 1 1 time / yeartime / yeartime / yeartime / year

((((March)March)March)March)

((((April April April April ---- May)May)May)May)

Inform & keepInform & keepInform & keepInform & keep

(within (within (within (within 15 15 15 15 Days)Days)Days)Days)

Supplier Quality Improvement Manual

THAI LABOUR STANDARD : TLS 8001-2010

13

2/7

Supplier Quality Improvement Manual

THAI LABOUR STANDARD : TLS 8001-2010

3/7

Supplier Quality Improvement Manual

THAI LABOUR STANDARD : TLS 8001-2010

4/7

Supplier Quality Improvement Manual

THAI LABOUR STANDARD : TLS 8001-2010

5/7

Supplier Quality Improvement Manual

THAI LABOUR STANDARD : TLS 8001-2010

6/7

Supplier Quality Improvement Manual

THAI LABOUR STANDARD : TLS 8001-2010

7/7

มาตรฐานแรงงานไทย ความรับผิดชอบทางสังคมของธุรกิจไทย มรท. ๘๐๐๑ - ๒๕๕๓ ขอกําหนด

กรมสวสัดิการและคุมครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน

สารบัญ

หนา

1. บทนํา 1

2. ขอบเขตและการนําไปใช 2

3. เอกสารอางอิง 2 - 3

4. บทนิยาม 3 - 4

5. ขอกําหนด 4 5.1 ขอกําหนดทั่วไป 4

5.2 ระบบการจัดการ 5 - 7

5.3 การใชแรงงานบังคับ 7

5.4 คาตอบแทนการทาํงาน 7

5.5 ชั่วโมงการทํางาน 8

5.6 การเลอืกปฏิบัติ 8

5.7 วินัยและการลงโทษ 8 - 9

5.8 การใชแรงงานเด็ก 9

5.9 การใชแรงงานหญิง 9

5.10 เสรีภาพในการสมาคมและการรวมเจรจาตอรอง 9 - 10

5.11 ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน 10

5.12 สวัสดิการ 11

-1-

มาตรฐานแรงงานไทย ความรับผิดชอบทางสังคมของธุรกิจไทย

มรท. ๘๐๐๑ - ๒๕๕๓

1. บทนํา กระทรวงแรงงานไดประกาศใชมาตรฐานแรงงานไทย ความรับผิดชอบทางสงัคมของธุรกิจไทย

มรท. ๘๐๐๑ – ๒๕๔๖ เม่ือวันที่ 27 มิถุนายน 2546 เพื่อใหสถานประกอบกิจการทุกประเภท

ทุกขนาดนําไปปฏิบัติตอแรงงานในสถานประกอบกิจการของตนดวยความสมัครใจ เพื่อพัฒนา

สถานประกอบกิจการใหมีระบบบริหารจัดการแรงงานที่ดีเทียบไดกับมาตรฐานแรงงานสากล

โดยมุงเนนการยกระดับคุณภาพชีวิตแรงงาน และเสริมสรางใหธุรกิจมีการพัฒนาที่ยั่งยืน

ปจจุบันทั่วโลกใหความสําคัญกับการดําเนินธุรกิจอยางมีความรับผิดชอบตอสังคม

ที่ครอบคลุมถึงสิทธิมนุษยชน สภาพการจาง และสภาพการทํางาน ซึ่งหากผูประกอบกิจการ

ไมปฏิบัติตามมาตรฐานดังกลาว อาจกอใหเกิดอุปสรรคทางการคาที่มีผลกระทบเสียหาย

แกธุรกจิและแรงงานที่เก่ียวของ ประกอบกับตามหลกัการมาตรฐานสากลทัว่ไปจะตองทบทวน

ขอกําหนดแหงมาตรฐานหลังจากประกาศใชมาเปนเวลา 5 ป หรือเม่ือสถานการณตาง ๆ

ไดเปลี่ยนแปลงไป ทั้งนี ้ เพื่อใหมาตรฐานเปนที่ยอมรับ และมีความเหมาะสมสอดคลองกับ

สถานการณปจจุบนั ประกอบกับไดมีการแกไขเพ่ิมเติมกฎหมายแรงงาน ตลอดจนขอกําหนด

มาตรฐานสากลอ่ืนที่เก่ียวของ กระทรวงแรงงาน โดยกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน

รวมกับองคกรนายจาง องคกรลูกจาง หนวยงานภาครัฐ และเอกชนที่เก่ียวของ ตลอดจน

สถาบันการศึกษา จงึไดปรับปรุงขอกําหนดมาตรฐานแรงงานไทย มรท. ๘๐๐๑ – ๒๕๔๖

เปน มรท. ๘๐๐๑ – ๒๕๕๓ เพือ่ใหเหมาะสม และสอดคลองกับสถานการณที่เปลี่ยนแปลง

ดังกลาว โดยมีวัตถุประสงคเพื่อ

1) ใหสถานประกอบกิจการใชเปนแนวทางปฏิบัติตอแรงงาน โดยนาํสาระแหงมาตรฐานนี้

ไปกําหนดเปนนโยบาย และมีการจัดการใหเปนไปตามนโยบาย

2) เปนเกณฑใหสถานประกอบกิจการใชในการตรวจสอบ และประกาศแสดงตนเองวา

เปนสถานประกอบกิจการที่ปฏิบัติสอดคลองกับมาตรฐานนี้

3) เปนเกณฑพจิารณาใหการรับรองแกสถานประกอบกิจการที่นํามาตรฐานนี้ไปปฏิบัติ

-2-

มาตรฐานความรับผิดชอบทางสังคมของธุรกิจไทย จัดทําขึ้นตามกรอบของรัฐธรรมนูญ

แหงราชอาณาจักรไทย บทบัญญัติของกฎหมายแรงงานที่วาดวยการคุมครองแรงงาน

ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน สวัสดิการแรงงาน

และแรงงานสัมพันธ ตลอดจนอนุสัญญาองคการแรงงานระหวางประเทศ และ

องคการสหประชาชาติ ทั้งนี้ เนื้อหาจะครอบคลมุไปถึงขอกําหนดดานแรงงานที่ประกาศใช

โดยองคการตาง ๆ ทั้งภายในประเทศ และตางประเทศ

2. ขอบเขตและการนําไปใช 2.1 ขอกําหนดแหงมาตรฐานนี้ระบุถึงการจัดการ และการปฏิบัติตอแรงงานของ

สถานประกอบกิจการตามกฎหมายแรงงาน มาตรฐานระหวางประเทศทีเ่ก่ียวของ และ

หลักการความรับผิดชอบตอสังคม

2.2 ขอกําหนดแหงมาตรฐานนี้สามารถนําไปใชไดกับสถานประกอบกิจการทุกประเภท

และทุกขนาด

3. เอกสารอางอิง 3.1 พระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 และฉบับที่แกไขเพิ่มเติม

3.2 พระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ พ.ศ. 2518 และฉบับที่แกไขเพิ่มเติม

3.3 อนุสัญญาขององคการแรงงานระหวางประเทศ ฉบับที่ 29 87 98 100 105 111

135 138 155 164 177 และฉบับที ่182 รวมถงึขอแนะขององคการแรงงานระหวางประเทศ

ฉบับที ่146 และ 164

3.4 ปฏิญญาไตรภาคีวาดวยหลักการที่เก่ียวของกับกิจการบรรษัทขามชาติ และ

นโยบายทางสังคมขององคการแรงงานระหวางประเทศ ค.ศ. 2000

3.5 ปฏิญญาวาดวยความยุติธรรมทางสังคมเพื่อโลกาภิวัตนที่เปนธรรมขององคการ

แรงงานระหวางประเทศ ค.ศ. 2008

3.6 หลกัปฏิบัติวาดวยผูปวย HIV / AIDS ขององคการแรงงานระหวางประเทศ ค.ศ. 2001

3.7 ปฏิญญาสากลวาดวยสทิธิมนุษยชนขององคการสหประชาชาติ ค.ศ. 1948

3.8 อนุสัญญาขององคการสหประชาชาติวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติตอสตรี

ในทุกรูปแบบ ค.ศ. 1979

3.9 อนุสัญญาขององคการสหประชาชาตวิาดวยสิทธิเด็ก ค.ศ. 1989

-3-

3.10 มาตรฐานระบบการจัดการคุณภาพ (ISO 9001 : 2008)

3.11 มาตรฐานความรับผิดชอบทางสังคม (ISO 26000)

3.12 มาตรฐานความรับผิดชอบทางสังคม (SA 8000 : 2008)

4. บทนิยาม 4.1 มาตรฐานแรงงาน หมายถึง กฎเกณฑหรือขอกําหนดเก่ียวกับการใชแรงงาน

ในขอบเขตของกฎหมายแรงงาน และมาตรฐานสากล

4.2 สถานประกอบกิจการ หมายถึง องคกรหรือหนวยธุรกิจที่รับผิดชอบในการปฏิบัติ

ตามขอกําหนดของมาตรฐานน้ี รวมถึงบุคลากรฝายบริหาร และอ่ืน ๆ ทีเ่ก่ียวของ

4.3 คุณภาพชีวิต หมายถึง สภาพความเปนอยูที่ดีของลูกจาง อันทําใหลูกจางมีความสมบูรณ

ทางรางกาย อารมณ และจิตใจ รวมทั้งอยูในสังคมไดอยางปกติสุข

4.4 กฎหมายแรงงาน หมายถึง กฎหมายดานการคุมครองแรงงาน ความปลอดภัย อาชีวอนามัย

และสภาพแวดลอมในการทํางาน สวัสดิการแรงงาน และแรงงานสัมพันธ

4.5 การคุมครองแรงงาน หมายถึง ความคุมครองลูกจางในสถานประกอบกิจการ

ดานสภาพการจาง สภาพการทํางาน สวัสดิการ และความปลอดภัย อาชีวอนามัย

และสภาพแวดลอมในการทํางาน

4.6 ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน หมายถึง การกระทํา

หรือสภาพการทํางานซึ่งปลอดจากเหตุอันจะทําใหเกิดการประสบอันตราย การเจ็บปวย

หรือความเดือดรอนรําคาญอันเนื่องจากการทํางาน หรือเก่ียวกับการทํางาน

4.7 หลักการความรับผิดชอบตอสังคม หมายถึง หลักการที่แสดงถึงความรับผิดชอบ

ตอผลกระทบที่เกิดขึ้นตอสังคม ประกอบดวย หลักการปฏิบติัตามกฎหมาย หลักการเคารพ

ตอแนวปฏิบัติสากล หลักการยอมรับผูมีสวนไดสวนเสีย และความเห็นของผูมีสวนไดสวนเสีย

หลกัการเคารพตอสทิธิมนุษยชนพืน้ฐาน หลกัการเคารพตอความหลากหลาย หลกัการปฏิบัติ

อยางมีจริยธรรม หลักการความโปรงใส และหลักการความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได

4.8 ระบบการจัดการ หมายถึง นโยบาย แผนงาน ขัน้ตอน วิธปีฏิบัติ การดําเนินงาน

การควบคุม ซึ่งมีองคประกอบ คือ บคุลากร ทรัพยากรตาง ๆ ในองคกรที่มีความเก่ียวเน่ือง

เชื่อมโยงกัน เพื่อใหขอกาํหนดแหงมาตรฐานนี้ไดรับการปฏิบัติอยางครบถวน

-4-

4.9 การปรับปรุงอยางตอเนื่อง หมายถึง กระบวนการในการวิเคราะห วางแผนปฏิบัติ

และทบทวนเพ่ือใหเกิดการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นและทันสมัย

4.10 ผูสงมอบหรือผูรับเหมาชวง หมายถึง บุคคลธรรมดา หรือนิติบุคคลซึ่งไดตกลงรับที่

จะจัดหาสินคา หรือบริการ หรือรับที่จะดําเนินการในงานบางสวน หรือทั้งหมดแลวแตกรณี

ใหแกผูประกอบกิจการเพ่ือนําไปประกอบหรือใชในการผลิตสินคาหรือบริการของ

สถานประกอบกิจการ ทั้งนี้ ไมวาจะรับเหมาชวงกี่ชวงก็ตาม

4.11 การใชแรงงานบังคับ หมายถึง การวาจาง การกําหนดเง่ือนไขการวาจาง หรือ

การมอบหมายใหบุคคลทํางาน โดยบุคคลนั้นไมสมัครใจ ทั้งนี้ จะดวยอาศัยวิธีการ หรือ

อางเหตุเพื่อการลงโทษ การหักหนี้ การขมขู การเก็บยึดบัตรประจําตัว หรือหลักฐาน

ประจําตัว หรือวิธีอ่ืนใดก็ตาม

5. ขอกําหนด 5.1 ขอกําหนดทั่วไป 5.1.1 สถานประกอบกิจการตองจัดทําระบบการจัดการเปนลายลักษณอักษร

เพื่อนําไปปฏิบัติ รักษาไว และปรับปรุงใหเกิดผลอยางตอเนือ่ง

5.1.2 สถานประกอบกิจการตองจัดทํา และคงไวซึ่งขั้นตอนในการควบคุมเอกสาร

ไดแก การอนุมัติ การทบทวน การแกไข การชีบ้ง การแจกจาย และการเก็บรักษา

5.1.3 สถานประกอบกิจการตองจัดทํา และคงไวซึ่งขั้นตอนในการควบคุมบันทกึ

ไดแก การชีบ้ง การเก็บรักษา การปองกัน การเขาถึง ระยะเวลาในการจัดเก็บ และการทาํลาย

ทั้งนี้ บันทึกที่กฎหมายระบุไวตองมีรูปแบบและมีวิธีการจัดทําเปนไปตามทีก่ฎหมายกําหนด

5.1.4 สถานประกอบกิจการตองมีขอมูลที่จําเปนเพื่อสนับสนุน และติดตามการปฏิบัติ

ใหเปนไปตามขอกําหนดแหงมาตรฐานนี ้

5.1.5 สถานประกอบกิจการตองพรอมใหผูที่เก่ียวของสามารถเขาถึงบันทึกขอมูล

และเอกสารเพื่อใหม่ันใจวาไดมีการปฏิบัติเปนไปตามขอกําหนดแหงมาตรฐานนี ้

-5-

5.2 ระบบการจัดการ 5.2.1 ความมุงม่ันของฝายบริหาร

1) นโยบาย

ผูบริหารสูงสดุตองกําหนดนโยบายดานความรับผิดชอบตอสังคมและแรงงาน

เปนลายลักษณอักษรและมีการประกาศอยางเปนทางการ รวมทั้งสื่อสารกับผูที่มีสวนเก่ียวของ

โดยนโยบายตองแสดงถึงความมุงม่ัน คือ

ก) ปฏิบัติใหเปนไปตามขอกําหนดแหงมาตรฐานนี้ กฎหมายแรงงาน

และระเบียบอ่ืนที่เก่ียวของ

ข) ปรับปรุงการปฏิบัติอยางตอเนื่อง รวมทั้งมีการทบทวน และปรับปรุง

นโยบายใหเหมาะสมอยูเสมอ

2) การทบทวนของฝายบริหาร

ผูบริหารระดับสูงตองทบทวนผลท่ีเกิดขึ้นจากการปฏิบัติตามขอกําหนด

แหงมาตรฐานนี้ตามระยะเวลาที่กําหนดไว เพื่อใชในการแกไขปรับปรุงนโยบายและแผน

การปฏิบัติใหเกิดประสทิธิผลอยางตอเนื่องอันแสดงถึงความมุงม่ันที่จะปฏิบัติใหเปนไปตาม

ขอกําหนดแหงมาตรฐานนี้

5.2.2 ผูแทนฝายบริหาร

สถานประกอบกิจการตองแตงต้ังผูบริหารระดับสูงอยางนอย 1 คน เปน

“ผูแทน” ของตนเพื่อรับผดิชอบกํากับดูแลการปฏิบัติตามมาตรฐาน ทั้งนี้ “ผูแทน” ดังกลาว

ตองมีอํานาจตัดสินใจ สั่งการ หรือประสานงานตาง ๆ เพื่อใหม่ันใจวาขอกําหนดแหงมาตรฐานนี้

ไดรับการปฏิบัติอยางครบถวน

5.2.3 ความรวมมือในการปฏิบัติ

1) สถานประกอบกิจการตองแตงต้ังคณะกรรมการที่ประกอบดวยผูแทน

ฝายนายจางและผูแทนฝายลูกจางใหทําหนาที่รับผิดชอบเก่ียวกับการปฏิบัติตามขอกําหนด

แหงมาตรฐานนี ้

2) สถานประกอบกิจการตองจดัใหมี “ผูแทนลูกจาง” ที่มิใชฝายบริหาร

อยางนอย 1 คน ซึ่งมาจากการสรรหา คัดเลือกจากฝายลูกจาง เพื่อทําหนาที่ประสานงาน

ติดตอสื่อสารกับผูบริหารระดับสูง และดําเนินการตาง ๆ ทีเ่ก่ียวของกับการปฏิบัติตาม

ขอกําหนดแหงมาตรฐานนี้

-6-

5.2.4 การวางแผนและการปฏิบัติ

1) สถานประกอบกิจการตองจัดทําแผนปฏิบัติการและจัดสรรทรัพยากร

ที่จําเปนอยางเพียงพอเพ่ือใหม่ันใจวาขอกําหนดแหงมาตรฐานนี้สามารถนําไปปฏิบัติได

โดยไมติดขัดหรือมีอุปสรรคใด ๆ และเพื่อปรับปรุงใหเกิดผลอยางตอเนื่อง

แผนปฏิบัติการตองระบุขั้นตอนการปฏิบัติ การมอบหมายงาน โดยแบงหนาที่

รับผิดชอบอยางชัดเจน เขาใจงาย และครอบคลุมเนื้อหาที่ตองปฏิบัติตามขอกําหนด

แหงมาตรฐานนี ้

2) สถานประกอบกิจการตองทําใหเกิดความม่ันใจวาขอกําหนดแหงมาตรฐานนี้

เปนทีเ่ขาใจ และมีการนําไปปฏิบัติในทุกระดับขององคกร

3) สถานประกอบกิจการตองจัดใหมีการฝกอบรม หรือการพัฒนาโดยวิธีการใด ๆ

เพื่อใหลูกจางทุกคนไดมีความรู มีจิตสํานึก และสามารถปฏิบัติใหเปนไปตามนโยบาย

และขอกําหนดแหงมาตรฐานนี้ ต้ังแตเร่ิมเขางานใหมและตอเนื่องไปเปนระยะ

4) สถานประกอบกิจการตองจัดทํา และคงไวซึ่งขั้นตอนการตรวจติดตาม

กระบวนการปฏิบัติตามมาตรฐาน และผลการปฏิบัติเปนระยะเพ่ือใหทราบถึงประสิทธภิาพ

และประสิทธิผลที่จะนําไปสูการปรับปรุงและพัฒนาอยางตอเนื่อง โดยตองใหความสําคัญ

ตอความเห็นของลูกจางและผูที่เก่ียวของในเร่ืองการปฏิบัติที่ไมเปนไปตามขอกําหนด

ตองมีการสอบสวน วิเคราะหสาเหตุ และรายงานผล ทั้งนี ้ ตองไมกระทําการเลือกปฏิบัติ

ตอลูกจางที่ใหขอมูลดังกลาว

5) สถานประกอบกิจการตองจัดทํา และคงไวซึ่งขั้นตอนการแกไขและปองกัน

เม่ือพบวามีการปฏิบัติไมเปนไปตามขอกําหนดแหงมาตรฐานนี้ โดยจัดสรรทรัพยากร

สนับสนุนอยางเพียงพอ

5.2.5 ผูสงมอบหรือผูรับเหมาชวง

1) สถานประกอบกิจการตองจัดทํา และคงไว ซึ่งขัน้ตอนการประเมิน และ

คัดเลือกผูสงมอบ หรือผูรับเหมาชวง ที่สามารถปฏิบัติตามขอกําหนดแหงมาตรฐานนี้

2) สถานประกอบกิจการตองใหผูสงมอบหรือผูรับเหมาชวงแสดงความมุงม่ัน

เปนลายลักษณอักษรที่จะปฏิบัติตามขอกําหนดแหงมาตรฐานนี ้

3) สถานประกอบกิจการตองใหผูสงมอบหรือผูรับเหมาชวงแจงใหทราบ

กรณีที่มีความสัมพันธทางธุรกิจกับผูสงมอบหรือผูรับเหมาชวงรายอ่ืน ๆ ในกิจกรรมที่ตอง

รับผิดชอบตอสถานประกอบกิจการ

-7-

4) สถานประกอบกิจการตองบันทึกและเก็บหลักฐานตาง ๆ ที่เก่ียวของกับ

การปฏิบัติตามขอกําหนดแหงมาตรฐานนี้ของผูสงมอบหรือผูรับเหมาชวง

5.2.6 การสื่อสาร

สถานประกอบกิจการตองจัดทําและคงไวซึ่งขั้นตอนการสื่อสารกับผูที่เก่ียวของ

ในเร่ืองขอมูลขาวสารการปฏิบัติกิจกรรมตาง ๆ ตามขอกําหนดแหงมาตรฐานนี้ และผลการปฏิบัติ

5.3 การใชแรงงานบังคับ 5.3.1 สถานประกอบกิจการตองไมกระทํา หรือสนับสนุนใหมีการใชแรงงานบังคับ

ในทุกรูปแบบ

5.3.2 สถานประกอบกิจการตองไมเรียก หรือรับหลักประกันการทํางาน หรือ

หลักประกันความเสียหายในการทํางาน ไมวาจะเปนเงนิ บัตรประจําตัวประชาชน หรือ

เอกสารประจําตัวใด ๆ ทรัพยสินอ่ืน หรือการคํ้าประกันดวยบุคคลจากลูกจาง ไมวาเขา

ทํางานแลวหรือเปนเงื่อนไขในการรับเขาทํางานเวนแตกฎหมายยกเวนไว

5.4 คาตอบแทนการทํางาน 5.4.1 สถานประกอบกิจการตองจายคาจางและคาตอบแทนการทาํงาน นอกหรือ

เกินเวลาทํางานปกติใหแกลูกจางไมนอยกวาที่กฎหมายกําหนดไว

5.4.2 สถานประกอบกิจการตองจายคาจาง และคาตอบแทนการทํางานเปนเงินตราไทย

ณ สถานที่ทาํงานของลูกจาง ถาจะจายเปนต๋ัวเงนิ หรือเงินตราตางประเทศ หรือจะจาย

ณ สถานที่อ่ืน หรือดวยวิธีอ่ืน ตองไดรับความยินยอมจากลูกจางกอน ทั้งนี้ ใหจายทนัที

เม่ือถึงกําหนดการจายแตละงวด

5.4.3 สถานประกอบกิจการตองใหลูกจางไดรับรูขอมูลเกี่ยวกับคาจาง และ

คาตอบแทนการทํางานทีไ่ดรับทั้งหมดในแตละงวดเปนลายลกัษณอักษร และสามารถเขาใจ

รายละเอียดสวนประกอบตาง ๆ ได

5.4.4 สถานประกอบกิจการตองไมหักคาจาง คาตอบแทนการทํางาน หรือเงินอ่ืน

ที่กฎหมายวาดวยการคุมครองแรงงานกําหนดใหจายใหแกลกูจางไมวากรณีใด เวนแต

กฎหมายยกเวนไว

-8-

5.5 ช่ัวโมงการทํางาน 5.5.1 สถานประกอบกิจการตองกําหนดชัว่โมงการทํางานปกติของลูกจางไมเกิน

วันละ 8 ชั่วโมง หรือสัปดาหละไมเกิน 48 ชั่วโมง และตองจัดใหมีวันหยุดอยางนอยสัปดาหละ

1 วัน หรือเปนไปตามที่กฎหมายกําหนด

5.5.2 สถานประกอบกิจการตองถือเปนสทิธิของลูกจางในการทํางานลวงเวลา

และการทํางานในวันหยุดสําหรับงานทัว่ไป เวนแตงานท่ีกฎหมายยกเวนไว โดยสถานประกอบ

กิจการ ตองกําหนดชั่วโมงการทํางานลวงเวลา และชั่วโมงการทํางานในวันหยุดของลกูจาง

ตามที่กฎหมายกําหนด หรือไมเกินสัปดาหละ 24 ชั่วโมง หรือ 18 ชั่วโมง หรือ 12 ชั่วโมง

ตามความสามารถในการจัดการของสถานประกอบกิจการ

5.6 การเลือกปฏิบัติ 5.6.1 สถานประกอบกิจการตองไมกระทํา หรือสนับสนุนใหมีการเลือกปฏิบัติ

ในการจางงาน การจายคาจางและคาตอบแทนการทํางาน การใหสวัสดิการ โอกาสไดรับ

การฝกอบรมและพัฒนา การพิจารณาเลื่อนขั้นหรือตําแหนงหนาที่ การเลิกจางหรือการเกษียณอายุ

การทํางาน และอ่ืน ๆ อันเนื่องมาจากเหตุเพราะความแตกตางในเร่ืองสัญชาติ เชื้อชาติ

ศาสนา ภาษา อายุ เพศ สถานภาพสมรส ทัศนคติสวนตัวในเร่ืองเพศ ความพิการ

การติดเชื้อเอชไอวี การเปนผูปวยเอดส การเปนสมาชิกสหภาพแรงงาน การเปนกรรมการลูกจาง

ความนิยมในพรรคการเมือง หรือแนวความคิดสวนบุคคลอ่ืน ๆ

5.6.2 สถานประกอบกิจการตองไมขัดขวาง แทรกแซง หรือกระทาํการใด ๆ ทีจ่ะเปน

ผลกระทบตอการใชสิทธขิองลูกจางทีไ่มมีผลเสยีหายตอกิจการ ในการดําเนินกิจกรรม

ที่เก่ียวกับเชื้อชาติ ประเพณีประจําชาติ ศาสนา เพศ ความพิการ การเปนกรรมการลูกจาง

การเปนสมาชิกสหภาพแรงงาน หรือพรรคการเมือง และการแสดงออกตามทัศนคติ

สวนบุคคลอ่ืน ๆ

5.7 วินัยและการลงโทษ 5.7.1 สถานประกอบกิจการตองไมลงโทษทางวินัย โดยการหัก หรือลดคาจาง

และคาตอบแทนการทํางาน หรือเงินอ่ืนที่กฎหมายวาดวยการคุมครองแรงงานกําหนดใหจาย

ใหแกลูกจาง

-9-

5.7.2 สถานประกอบกิจการตองไมกระทําการ หรือสนบัสนุนใหใชวิธีการลงโทษ

ทางรางกาย ทางจิตใจ หรือกระทําการบังคับขูเขญ็ ทํารายลูกจาง

5.7.3 สถานประกอบกิจการตองมีมาตรการปองกัน และแกไขปญหา เพื่อมิให

ลูกจางถูกลวงเกิน คุกคาม หรือไดรับความเดือดรอนรําคาญทางเพศ โดยการแสดงออกดวย

คําพูด ทาทาง การสัมผัสทางกาย หรือดวยวิธีการอ่ืนใด

5.8 การใชแรงงานเด็ก 5.8.1 สถานประกอบกิจการตองไมวาจางหรือสนับสนนุใหมีการวาจางเด็กที่มีอายุ

ตํ่ากวา 15 ป

5.8.2 สถานประกอบกิจการตองไมให หรือไมสนับสนนุใหแรงงานเด็กทํางานทีเ่ปน

อันตรายตอสุขภาพอนามัย หรืออยูในสภาวะแวดลอมที่อาจกอใหเกิดอันตรายตอสุขภาพ

อนามัย และความปลอดภัย

5.8.3 สถานประกอบกิจการตองทําทะเบียนและบันทึกเวลาการปฏิบัติงานของ

แรงงานเด็กเปนหลักฐาน และเก็บรักษาไวพรอมที่จะใหเจาหนาที่และบุคคลซึ่งมีหนาที่

เก่ียวของตรวจสอบ ทะเบียนและบันทกึดังกลาว ตองปรับปรุงใหสอดคลองกับสภาพความเปนจริง

และเปนไปตามขอกําหนด 5.1.3

5.9 การใชแรงงานหญิง 5.9.1 สถานประกอบกิจการตองไมใหลูกจางหญิงทํางานที่เปนอันตรายตอสุขภาพ

หรือรางกายตามที่กฎหมายกําหนด

5.9.2 สถานประกอบกิจการตองจัดใหลูกจางหญิงมีครรภทํางาน หรืออยูใน

สภาพแวดลอมที่ไมเปนอันตรายตอสุขภาพอนามัย และความปลอดภัยตอการมีครรภ

รวมทั้งตองไมเลิกจาง ลดตําแหนง หรือลดสิทธิประโยชน เพราะเหตุจากการมีครรภ

5.10 เสรีภาพในการสมาคมและการรวมเจรจาตอรอง 5.10.1 สถานประกอบกิจการตองเคารพสิทธิลูกจางในการรวมตัวจัดต้ัง

และรวมเปนสมาชิกสหภาพแรงงาน หรือคณะกรรมการอ่ืน ๆ ในสถานประกอบกิจการ

อีกทั้งยอมรับการรวมเจรจาตอรอง การคัดเลือก หรือเลือกต้ังผูแทน โดยไมกระทําการใด ๆ

ที่ไมชอบดวยกฎหมายเพ่ือขัดขวาง หรือแทรกแซงการใชสิทธขิองลูกจาง

-10-

5.10.2 สถานประกอบกิจการตองมีมาตรการที่จะอํานวยความสะดวกแกผูแทน

ลูกจางในการปฏิบัติหนาที่ตาง ๆ และตองปฏิบัติตอผูแทนลูกจางโดยเทาเทยีมกับลูกจางอ่ืน ๆ

โดยไมกลั่นแกลง โยกยาย เลิกจาง หรือกระทําการใด ๆ ที่ไมเปนธรรม

5.11 ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน 5.11.1 สถานประกอบกิจการตองกําหนดมาตรการดานความปลอดภัย อาชีวอนามัย

และสภาพแวดลอมในการทํางานใหครอบคลุมประเภทงาน หรือลักษณะงานที่มีแนวโนม

อาจกอใหเกิดอันตรายตอสุขภาพ และความปลอดภัยของลูกจาง และผูที่เก่ียวของ โดยมี

การควบคุม ปองกันใหเปนไปตามกฎหมาย และมาตรฐานความปลอดภัยในทุกสภาพแวดลอม

ในการทํางาน

5.11.2 สถานประกอบกิจการตองจัดใหมีสภาพแวดลอมในการทํางานที่ปลอดภัย

เพื่อปองกันอันตราย และลดปจจยัเสี่ยงตามกฎหมายและมาตรฐานความปลอดภยั

5.11.3 สถานประกอบกิจการตองจัดใหลูกจางทุกคน

1) ไดรับโอกาสใหมีสวนรวมในการดําเนินการดานความปลอดภัย

อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน

2) ไดรับรูและเขาถึงขอมูลเกีย่วกับอันตรายอันอาจเกิดขึ้นจากกระบวนการ

ทํางาน หรือจากสภาพแวดลอมในการทํางาน

3) ไดรับรู และเขาใจถึงกฎ ระเบียบ ขอบังคับ และคูมือดานความปลอดภัย

อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางานของสถานประกอบกิจการ

4) ไดรับการฝกอบรมดานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอม

ในการทํางานในงานที่กําลังปฏิบัติอยู โดยเฉพาะผูที่เขาทํางานใหม และผูที่เปลี่ยนหนาที่

และตองบันทึกการฝกอบรมตามขอกําหนดในขอ 5.1.3

5) ไดใชอุปกรณเพื่อความปลอดภัยสวนบุคคลที่ไดมาตรฐาน และ

เหมาะสมกบัลักษณะงาน

-11-

5.12 สวัสดิการ 5.12.1 สถานประกอบกิจการตองจัดใหลูกจางทุกคนไดรับสวัสดิการโดยสะดวก

และพอเพียง

1) หองน้ํา และหองสวมที่สะอาดถูกสุขอนามัย

2) น้ําด่ืมสะอาดถูกสุขอนามัย

3) สิ่งจําเปนในการปฐมพยาบาล และการรักษาพยาบาล

4) สถานที่รับประทานอาหาร และสถานที่สําหรับเกบ็รักษาอาหาร

ที่สะอาด และถูกหลักสุขาภิบาลอาหาร

5.12.2 กรณีที่มีการจัดที่พักใหลกูจาง สถานประกอบกิจการตองจัดใหมี

ปจจัยพื้นฐานที่จาํเปน มีความสะอาด ปลอดภยั และพรอมที่จะใชการไดอยูเสมอ

THAI LABOUR STANDARDS

CORPORATE SOCIAL RESPONSIBILITY OF THAI BUSINESS

TLS 8001-2010 ----------------------------------------

1. Introduction

The Ministry of Labour had launched the implementation of Thai Labour

Standards : Corporate Social Responsibility of Thai Business (TLS. 8001-2003) since

June 27, 2003. It was guidelines for the establishments to treat voluntarily with the

workers to improve and develop good practices on labour management system, in

compliance with the international labour standards, to upgrade life quality of the

workers, and to strengthen sustainable growth of the business.

At present, running business with responsibility for society, which covers the

issues of human rights, employment conditions, and working conditions, is recognized

all over the world. Where an establishment is not in compliance with such international

standards, it may be a barrier to trade and affect its business and relevant workers as a

whole.

In principle of international practice, revision of a standard shall be taken into

account every five years of implementation, or when the situation changes. This revision

aims that the revised standard be acceptable and be complying with present situation.

Moreover, there were some legislative amendments and releases of new labour laws,

including new obligation of international standards. Hence, the Ministry of Labour and

by the Department of Labour Protection and Welfare, in collaboration with employers’

and employees’ organizations, related government and private agencies, and

educational institutions, has revised the provisions of the TLS. 8001-2003 to suit and

comply with the changes and situations, and with the aims :

(1) to be the operational guidelines for the establishments to provide appropriate

protection for the workers by setting related policy for the effective implementation.

(2) to be a criteria for the establishments to audit and to declare themselves that

they are in compliance with this standard.

(3) to be a criteria for certifying the establishments which imply this standard.

The standard of corporate social responsibility of Thai business is written within

the provisional scope of the Constitution of the Kingdom of Thailand, provisions of the

labour laws concerning labour protection, occupational safety, health and environment,

labour welfare, and labour relations. Moreover, related conventions of the International

Labour Organization and of the United Nations are also brought into account.

-2-

The contents of the standard’s provisions cover labour codes which are implemented by

other organizations, both inside and outside the country.

2. Scope and Application of the Standard

2.1 The provisions of this Standard cover the issues of labour management and

treatment of the establishments which are under the labour laws, related international

standards, and the principle of social responsibility.

2.2 The provisions of this Standard shall be used for all kinds and all sizes of the

establishments.

3. References

3.1 Labour Protection Act, B.E. 2541 (1998) and its amendments.

3.2 Labour Relations Act, B.E. 2518 (1975) and its amendments.

3.3 International Labour Organization’s Convention Nos. 29, 87, 98, 100, 105, 111,

135, 138, 155, 164, 177 and 182, and include its Recommendation Nos. 146 and 164.

3.4 The ILO Tripartite Declaration of Principles concerning Multinational

Enterprises and Social Policy, 2000.

3.5 The ILO Declaration on Social Justice for a Fair Globalization, 2008.

3.6 The ILO Code of Practice on HIV/AIDS and the world of work, 2001.

3.7 The Universal Declaration of Human Rights, 1948.

3.8 The United Nations Convention on the Elimination of All Forms of

Discrimination against Women, 1979.

3.9 The United Nations Convention on Children’s Rights, 1989.

3.10 The Quality Management Standards (ISO 9001 : 2008)

3.11 The Social Responsibility Standards (ISO 26000)

3.12 The Social Responsibility Standards (SA 8000 : 2008)

4. Definitions

4.1 “Labour Standard” means rules or requirements governing the use of labour

under the scope of labour laws and international standards.

4.2 “Establishment” means an organization or a business agency including

management or other relevant personnel which is responsible for an implementation of

the requirements of this Standard.

4.3 “Quality of Life” means good living condition of an employee that builds the

employee’s prosperous physic, emotion and mentality, as well as, peaceful social life.

-3-

4.4 “Labour Laws” means laws governing labour protection; occupational safety,

health and environment; labour welfare; and labour relations.

4.5 “Labour Protection” means the protection on employment condition, working

condition, labour welfare, and occupational safety, health and environment provided for

an employee in an establishment.

4.6 “Occupational Safety, Health and Environment” means a performing or

working condition that frees from any cause of injury, illness or nuisance due to or

related to work.

4.7 “Corporate Social Responsibility” means the principles which represent the

responsibilities of an establishment for any impact of its business on the society.

It consists of the principle on law compliance, principle on the respect for international

practices, principle on recognition of stakeholders and their comments, principle on the

respect for fundamental human rights, principle on the respect for diversity, principle

concerning code of morals, principle concerning transparency, and principle concerning

accountability.

4.8 “Management system” means policy, plan, process, procedure and controlling

which comprise personnel and other coherent resources of organizations as the

elements aimed at full implementation of this Standard’s requirements.

4.9 “Continuous Improvement” means the process in analyzing, planning for

action, and reviewing in order to become better and updated.

4.10 “Supplier or Sub-contractor” means a person or a juristic person who agrees

to provide products or services or to perform work in whole or in part, as the case may

be, for an entrepreneur in order to be assembled or used in production or service of an

establishment regardless of the number of the sub-contracting.

4.11 “The Use of Forced Labour” means to employ, to set the condition of

employment for, or to assign work for any person without an agreement of such person

regardless of a means taken whether it is a labour discipline, debt deduction, threat,

seizure of identity card or document, or any other means.

5. Requirements

5.1 General Requirements

5.1.1 An establishment shall set the management system in writing to be

implemented, maintained and continuously improved.

5.1.2 An establishment shall set and maintain the document control procedure

i.e. approval, revision, edition, indication, distribution and maintenance.

-4-

5.1.3 An establishment shall set and maintain the record control procedure i.e.

indication, maintenance, prevention, access, validation, and elimination. The record as

prescribed by law shall be set in the form and be managed in the way as provided by the

law.

5.1.4 An establishment shall have specific information for supporting and

following up an implementation of this Standard’s requirements.

5.1.5 An establishment shall make document and record be available for involved

person to ensure an implementation of this Standard’s requirements.

5.2 Management System

5.2.1 Management Commitment

(1) Policy

Top management shall define the policy on social and labour

accountability by a written document and formal declaration. The policy shall express

the intention to:

a. confirm the requirements of this standard, labour laws and other

regulations concerned.

b. continually improve the implementation of these standards

including the revision and adjustment of the policy periodically as necessary.

(2) Review by Management

Top management shall review the results of the application of the

policy with regard to the requirements of this Standards within the period specified, to

allow the policy and its implementation plan to be effectively revised and corrected in

accordance with the intention to conform with the requirements of this standard.

5.2.2 Management representative

The establishment shall appoint at least one management “representative”

to be responsible for supervising the application of the Standard. The “representative”

shall be authorized to make decisions, give assignments and coordinate with employees

to ensure that the requirements of this Standard shall be completely implemented.

5.2.3 Collaboration

(1) The establishment shall appoint a committee comprising of employer and

employee representatives to be responsible for the application of the requirements of

this Standards.

-5-

(2) The establishment shall provide for at least one employee representative

of non-management level selected by employees to coordinate and communicate with

the top management and carry out other activities related to the application to the

requirements of this Standard.

5.2.4 Planning and Implementation

(1) The establishment shall provide for the implementation plan and allocate

sufficient resources to ensure that the requirements of this standard shall be smoothly

implemented, without any obstacle and for effective continuous improvement.

The plan shall specified the procedure of implementation and assignment

with clear description of duties and responsibilities, and shall be comprehensive,

covering all requirements of this Standard.

(2) The establishment shall ensure that the requirements of this standard

are understood by all personnel and implemented at all levels of the organization.

(3) The establishment shall provide periodically training or any other

means of development for employees upon commencing employment to build up their

knowledge, to raise awareness and to enable them to conform with the policy and the

requirements of this Standard.

(4) The establishment shall provide for and maintain the procedure to

periodically monitor the efficiency and effectiveness of application of the standard and

its results which will lead to continuous development and improvement. In this regard,

the establishment shall recognize and focus its attention on the opinion of employee and

concerned parties regarding non-compliance with this standard. The establishment

shall investigate, analyze and produce a report on such instance of non-compliance. The

employer shall not discriminate by any mean against an employee who provides the

information of such non-compliance.

(5) The establishment shall provide for and maintain to carry out the

corrective and preventive actions where non-compliance with this Standard is found by

allocating adequate resources thereto.

5.2.5 Supplier or Subcontractors

(1) The establishment shall provide for and maintain the procedure to

evaluate and select supplier or subcontractors who conform to the requirements of this

Standard.

-6-

(2) The establishment shall convey its requirement for the suppliers and

subcontractors to give their written commitment to conform to all requirements of this

standard.

(3) The establishment shall convey its requirement for the suppliers

and subcontractors to provide information about its business relationship with other

supplier(s) or subcontractor(s) regarding the activities the supplier or subcontractor

performs for the establishment.

(4) The establishments shall provide record and maintain the evidence

concerning the conformity of the suppliers and the subcontractors to this Standard.

5.2.6 Communication

The establishment shall provide for and maintain procedures to

communicate to parties concerned the data and information on the activities as well as

its results in accordance with the implementation of this Standard.

5.3 Forced Labour

5.3.1 The establishment shall not engage in or support the use of forced labour in

any forms.

5.3.2 The establishment shall not demand or receive from an employee a security

deposit for work or a security deposit for damage to work regardless of money, identity

card, or any other personal identity document, other property or the contract of surety

ship either upon commencing employment or after, nor shall it be a condition of

employment to do so unless exempted by law.

5.4 Remunerations

5.4.1 The establishment shall pay wages or remunerations of overtime work to

employee at not less than the provision of the law.

5.4.2 The establishment shall pay wages or remunerations in Thai currency at the

place of work of the employee, unless the consent of the employee is obtained to be paid

by bill or in foreign currency, or at elsewhere, or by any other means. The payment shall

be made at due time.

5.4.3 The establishment, at every wage payment, shall provide for the employees

comprehensive information in writing on the composition of wages and remunerations

paid to them.

-7-

5.4.3 The establishment shall not make any deduction from wages, remunerations

or other benefits payable in cash from employment unless exempted by law.

5.5 Working Hours

5.5.1 The establishment shall specify normal working hour for employees that shall

not exceed eight hours a day or not exceeding forty eight hours a week and shall provide

weekly holiday for at least one day per week or as prescribed by law.

5.5.2 For general working conditions, performing overtime work and work on a

holiday shall be deemed as the entitlement of an employee, unless the work exempted

by law. The establishment shall specify the overtime hours and the holiday working

hours for employees as prescribed by law. The establishment may specify the overtime

hours and the holiday working hours for employees for not exceeding twenty four hours

per week, eighteen hours per week, or twelve hours per week, depending on the

management capability of the establishment.

5.6 Discrimination

5.6.1 An establishment shall not engage in or support any discrimination in respect

of employment, payment of wage and remuneration, providing welfare and opportunity

for training and development, promotion, termination of employment or retirement and

so on, due to national extraction, race, religion, language, age, sex, marital status,

personal attitude on gender or sexual orientation, invalidity, HIV/AIDS, AIDS patients,

trade union membership, employees committee, political affiliation or other personal

opinions.

5.6.2 An establishment shall not obstruct, interfere, or perform any action affecting

the use of the employees’ rights, exercise of their practices related to nationality, race,

religion, language, age, sex marital status, sexual orientation, disability, trade union

membership, political affiliation or personal opinion, as far as the employees’ activity

does not cause any damage to the business.

5.7 Discipline and Penalty

5.7.1 An establishment shall not, in any case, make any deduction, for disciplinary

or penalty purpose, from or decrease wages and remunerations, or any other benefit

payable in cash from employment as prescribed by law.

5.7.2 An establishment shall not impose or give support to impose physical and

mental punishment, physical attack or threaten a worker.

-8-

5.7.3 An establishment shall conduct measures to prevent and combat verbal or

physical sexual harassment.

5.8 Employment of Young Workers

5.8.1 An establishment shall not hire or give support to hire a young worker under

15 years of age.

5.8.2 An establishment shall not permit or give support to allow a young worker to

perform hazardous work, or perform work in a hazardous circumstance, which may be

harmful to his/her health and safety.

5.8.3 An establishment shall prepare a record of employment condition and a

record of working time to be kept at the place of business available for inspection by a

Labour Inspector. Such records shall be updated in accordance with changes of

employment conditions, and as prescribed in Article 5.1.3.

5.9 Employment of Women

5.9.1 An establishment shall not require a female worker to perform a hazardous

work which may be harmful to health as prescribed by law.

5.9.2 An establishment shall provide a suitable work which does not harm a

pregnant worker. Moreover, the establishment shall not dismiss or degrade a pregnant

worker, or reduce benefits of a pregnant worker on ground of pregnancy.

5.10 Freedom of Association and the right to collective bargaining

5.10.1 An establishment shall respect the right of a workers to establish or become

a member of a trade union or other committees in the establishment, and the right of

worker to bargain collectively and select or elect worker’s representative, without

imposing obstacles or any kinds of sanctions on such activities.

5.10.2 An establishment shall conduct a measure to facilitate the workers’

representative in regard of performing his work. A workers’ representative shall not be

subjected to discrimination, displacement or dismissal, or other illegal actions.

5.11 Occupational Safety and Health

5.11.1 In accordance with laws and occupational safety and health standards, an

establishment shall conduct appropriate measures on occupational safety and health

covering all areas or types of work, which may be harmful to worker’s health and safety.

-9-

5.11.2 An establishment shall arrange safe working environment in order to

prevent harms, and to decrease risk factors, which are in accordance with laws and

standards relating to occupational safety and health.

5.11.3 An establishment shall provide the followings for the workers ;

(1) An opportunity to participate in the management of occupational safety

and health.

(2) An opportunity to get an access to the information concerning hazards

which may arise from working process or working environment.

(3) Knowledge and awareness of rules, regulations, code of practice or

guideline concerning occupational safety and health.

(4) Trainings on occupational safety and health focusing on issues which are

directly related to one’s duty of work, especially the trainings for those who are newly

assigned or re-assigned to perform the work. The establishment shall prepare the

records of such trainings in accordance with Article 5.1.3

(5) Safety equipment which is in accordance with safety standards and

suitable for working conditions of each worker.

5.12 Welfares

5.12.1 An establishment shall provide comfortably accessible and adequate

welfares for the workers. The welfares include ;

(1) Hygienic toilet and bathroom.

(2) Hygienic drinking water.

(3) First- aid and nursing equipments as necessary.

5.12.2 In case an establishment provides a dormitory for the workers, such

dormitory shall be equipped with fundamental and necessary facilities which are clean,

and safe, and be ready for use.

-----------------------------