180
Page 8-1 MP6-8903-WDX Section 8 : TECHNICAL SPECIFICATION FOR CIVIL WORKS SECTION 8 : TECHNICAL SPECIFICATION FOR CIVIL WORKS This section consists of the standard specification for civil work in THAI Language consists of the following:- Title Total Number of Pages - ขอกําหนดเฉพาะงานสําหรับงานกอสรางอาคาร และสวนประกอบของ อาคารสถานียอยคลองรอย . สถานียอยคลองรอย สมุทรปราการ 18 - ขอกําหนดเฉพาะงานสําหรับงานกอสรางอาคาร และสวนประกอบของ อาคารสถานียอยพลับพลา . สถานียอยพลับพลา กรุงเทพมหานคร 19 - ขอกําหนดงานโยธา 17 - ขอกําหนดงานสถาปตยกรรม 35 - ขอกําหนดงานระบบสุขาภิบาล 11 - ขอกําหนดงานวิศวกรรมระบบ 25 - ขอกําหนดงานระบบเครน 6 - ขอกําหนดงานกอสรางบอพัก และทอรอยสายไฟฟาใตดิน 48

TECHNICAL SPECIFICATION FOR CIVIL WORKS - · PDF fileThis section consists of the standard specification for civil work in THAI Language consists of the following:

  • Upload
    lehanh

  • View
    313

  • Download
    47

Embed Size (px)

Citation preview

Page 8-1 MP6-8903-WDX

Section 8 : TECHNICAL SPECIFICATION FOR CIVIL WORKS

SECTION 8 : TECHNICAL SPECIFICATION FOR CIVIL WORKS

This section consists of the standard specification for civil work in THAI Language consists of the following:-

Title Total Number of Pages

- ขอกําหนดเฉพาะงานสําหรับงานกอสรางอาคาร และสวนประกอบของ

อาคารสถานียอยคลองรอย ณ. สถานียอยคลองรอย สมุทรปราการ

18

- ขอกําหนดเฉพาะงานสําหรับงานกอสรางอาคาร และสวนประกอบของ

อาคารสถานียอยพลับพลา ณ. สถานียอยพลับพลา กรงุเทพมหานคร

19

- ขอกาํหนดงานโยธา 17

- ขอกําหนดงานสถาปตยกรรม 35

- ขอกําหนดงานระบบสุขาภิบาล 11

- ขอกําหนดงานวิศวกรรมระบบ 25

- ขอกําหนดงานระบบเครน 6

- ขอกําหนดงานกอสรางบอพัก และทอรอยสายไฟฟาใตดิน 48

ขอกําหนดเฉพาะงาน

สําหรับ

งานกอสรางอาคาร, ฐานหมอแปลงและสวนประกอบ ของอาคารสถานยีอยคลองรอย

ณ. สถานยีอยคลองรอย สมุทรปราการ

Page 1 MP6-8903-WDX

ขอกําหนดเฉพาะงาน สย. คลองรอย

สารบัญ หนา

ขอบเขตงานและแบบกอสราง 2 1. งานพิเศษ 3 2. งานเตรียมพ้ืนท่ี 4 3. งานอาคาร 4 4. งานถนน, ประตู, รั้ว และงานดานภูมิสถาปตย 6 5. งานกอสรางบอพักและทอรอยสายไฟฟาใตดิน 6 6. งานระบบไฟฟา 13 7. งานระบบปรับอากาศและระบบระบายอากาศ 14 8. งานระบบสุขาภบิาล 14 9. งานสวนประกอบอ่ืนๆ 14

Page 2 MP6-8903-WDX

ขอกําหนดเฉพาะงาน สย. คลองรอย

ขอบเขตงานและแบบกอสราง

ลําดับ

ซ่ึงมีรายละเอียดและขอบเขตงานท่ีผูรับจางตองดําเนินการดังนี้

รายการ จํานวนแผน หมายเหตุ

1 แบบ เลขท่ี 05A1-74KRI20 3 A1 2 แบบ เลขท่ี 9274 R_SE83600562C 1 A1 3 แบบ เลขท่ี A1-1035 1 A1 4 แบบ เลขท่ี A1-1073 2 A1 5 แบบ เลขท่ี 08A1-215 1 A1 6 แบบ เลขท่ี 11A1-1150 (Architectural) 26 A1 7 แบบ เลขท่ี 11A1-1150 (Structure) 48 A1 รวมจาํนวนแบบ A1 82 แผน 8 แบบ เลขท่ี 08A3-20-1281 1 A3 9 แบบ เลขท่ี A3-476/1 2 A3 10 แบบ เลขท่ี 05A3-74KRI04S 5 A3 11 แบบ เลขท่ี 05A3-74KRI06S 12 A3 12 แบบ เลขท่ี 05A3-74KRI13S 2 A3 13 แบบ เลขท่ี 05A3-PAD07 1 A3 รวมจาํนวนแบบ A3 23 แผน

14 แบบ เลขท่ี 05A4-74KRI21 9 A4 15 แบบ เลขท่ี UG-2-001 1 A4 16 แบบ เลขท่ี UG-2-050 4 A4 17 แบบ เลขท่ี UG-2-210 3 A4 18 แบบ เลขท่ี UG-2-220 1 A4 19 แบบ เลขท่ี UG-2-140 2 A4 20 แบบ เลขท่ี UG-2-030 3 A4 21 แบบ เลขท่ี UG-2-051 4 A4 22 แบบ เลขท่ี UG-2-141 3 A4 23 แบบ เลขท่ี UG-2-052 4 A4 24 แบบ เลขท่ี UG-2-142 3 A4 25 แบบ เลขท่ี UG-2-260 2 A4 26 แบบ เลขท่ี UG-2-270 1 A4 27 แบบ เลขท่ี UG-3-110 4 A4 28 แบบ เลขท่ี 10A4-0730 3 A4 29 แบบ เลขท่ี 10A4-0734 2 A4 30 แบบ เลขท่ี 10A4-0729 5 A4 31 แบบ เลขท่ี 10A4-P100 1 A4 32 แบบ เลขท่ี 10A4-0437 1 A4 33 แบบ เลขท่ี UG-9-011 2 A4 34 แบบ เลขท่ี UG-2-260 2 A4 35 แบบ เลขท่ี UG-9-012 5 A4 36 แบบ เลขท่ี UG-4-003 1 A4

Page 3 MP6-8903-WDX

ขอกําหนดเฉพาะงาน สย. คลองรอย

ลําดับ รายการ จํานวนแผน หมายเหตุ

37 แบบ เลขท่ี UG-4-004 2 A4 38 แบบ เลขท่ี UG-10-009 1 A4 39 แบบ เลขท่ี UG-10-005 1 A4 40 แบบ เลขท่ี UG-7-031 1 A4 41 แบบ เลขท่ี 121 1 A4 รวมจาํนวนแบบ A4 72 แผน

ขอกําหนดเฉพาะงาน การไฟฟานครหลวงมีวัตถุประสงคจะทําการกอสรางสถานียอยคลองรอย พรอมบอพักและทอรอยสายไฟฟา

ใตดิน ถนนเคหะบางพลี กม.23 อําเภอบางเสาธง สมุทรปราการ ซ่ึงมีรายละเอียดและขอบเขตงานท่ีผูรับจางจะตองดําเนินการดังนี้

1. 1.1 งานพิเศษ

1) สาธารณูปโภคใตดิน ซ่ึงไมไดปรากฏไวในแบบและขอบเขตงาน หมายถึงบอพักและทอประปา บอ

พักและทอรอยสายโทรศัพท บอพักและทอรอยสายไฟฟาใตดิน บอพักและทอระบายน้ํา บอพัก

และทอรอยสายสื่อสาร ทอสงน้ํามัน ทอแกส

งานรื้อยายสาธารณูปโภคใตดิน หรือสิง่กีดขวางท่ีไมคาดคิดและไมไดปรากฎไวในแบบและขอบเขตงาน

2) สิ่งกีดขวางทีไ่มคาดคิดซ่ึงไมไดปรากฏไวในแบบและขอบเขตงาน หมายถึง STEEL SHEET PILE

ลวดสลิง เสาเข็มคอนกรีต กําแพงคอนกรีต ฐานรากคอนกรตี และเสาคอนกรีต

3) ในกรณีท่ีตําแหนงบอพักและแนวทอรอยสายไฟฟาพบสาธารณูปโภคใตดิน หรือพบสิ่งกีดขวางที่

ไมคาดคิดซ่ึงไมไดปรากฏไวในแบบและขอบเขตงาน ใหผูรับจางดําเนินการแกไขปรับปรุงงาน

กอสรางในเบื้องตนกอน เชน ปรับตําแหนงบอพัก ปรับแนวและระดับทอรอยสาย โดยตองไดรับ

ความเห็นชอบจากการไฟฟานครหลวงกอนดําเนินการกอสราง การไฟฟานครหลวงจะพิจารณา

เพ่ิม–ลดงาน เพ่ิม–ลดเงิน และขยายระยะเวลากอสรางตามปริมาณงานและขอเท็จจรงิ

4) ในกรณีที่ไมสามารถแกไขงานกอสรางตามขอ 3) ได ใหผูรับจางดําเนินการประสานงานกับ

หนวยงานสาธารณูปโภคนั้นใหดําเนินการแกไขตําแหนงหรือแนวสาธารณูปโภคนั้น โดยการไฟฟา

นครหลวงจะจายคางานในการดาํเนินการแกไขใหกับหนวยงานสาธารณูปโภคนั้นๆ ตอไป โดย

พิจารณาขยายระยะเวลากอสรางตามขอเท็จจริง

ในกรณีท่ีหนวยงานสาธารณูปโภคนั้นไมสามารถดําเนินการได หรือไมสามารถดําเนินการไดทันการ ผูรับจางจึงสามารถดําเนินการแกไขตําแหนงหรือแนวสาธารณูปโภคได โดยตองไดรับความเห็นชอบการดําเนินการแกไขตําแหนงหรือแนวสาธารณูปโภคจากหนวยงานสาธารณูปโภคนัน้ๆกอน การไฟฟานครหลวงจะพิจารณาเพ่ิม–ลดงาน เพ่ิม–ลดเงิน และขยายระยะเวลากอสรางตามปรมิาณงานและขอเท็จจริง

5) ในกรณีท่ีตําแหนงบอพักและแนวทอรอยสายไฟฟาใตดินพบสิ่งกีดขวางท่ีไมคาดคิดและไมได

ปรากฏไวในแบบและขอบเขตงานซ่ึงไมสามารถแกไขงานกอสรางตามขอ 3) ได ใหผูรับจาง

ดําเนินการแกไขปรับปรุงงานกอสราง โดยการรื้อยายสิ่งกีดขวางท่ีไมคาดคิด ตองไดรับความ

เห็นชอบจากการไฟฟานครหลวงกอนดําเนินการกอสราง การไฟฟานครหลวงจะพิจารณาเพ่ิม–ลด

งาน เพ่ิม–ลดเงิน และขยายระยะเวลากอสราง ตามปริมาณงานและขอเท็จจริง

Page 4 MP6-8903-WDX

ขอกําหนดเฉพาะงาน สย. คลองรอย

1.2 1) ผวิจราจรถาวร หมายถึง ผวิจราจรถาวรชนดิแอสฟลท ผวิจราจรถาวรชนดิคอนกรีต ผวิจราจร

ถาวรชนิดคอนกรีตปูทับดวยแอสฟลทและทางเทา

งานซอมผวิจราจรถาวร

2) ในกรณีท่ีสถานท่ีกอสรางจริงพบวาประเภทและปริมาณงานของผวิจราจรถาวร ไมเปนไปตามท่ี

ระบุไวในสญัญา การไฟฟานครหลวงจะพิจารณาการเพ่ิม–ลดงาน เพ่ิม–ลดเงิน และขยายเวลา

กอสราง ตามปริมาณและขอเท็จจริง

1.3 ในกรณีท่ีพบวาสภาพชั้นดินบริเวณกอสรางบอพักเปนดินออนมาก (Very Soft Clay) ทําใหเกิด

พฤติกรรมการอูดของดิน (Heave) ขณะจมบอพักฯ (ในกรณีทีก่อสรางบอพักโดยวิธีจมบอหรือวิธีอ่ืนใด) ผูรับจางตองเสนอวิธีปองกัน หรอืแกไขโดยการเพ่ิมงานปรบัปรงุคุณภาพดนิ (Soil Improvement) หรือการเพ่ิมชิ้นสวนบอพัก (Manhole Segment) หรือวิธีอ่ืนท่ีเหมาะสม ซ่ึงจะตองพิจารณาจากคุณสมบัติดินบริเวณนัน้ๆ และการคํานวณดานวิศวกรรม โดยตองไดรับความเห็นชอบจากการไฟฟานครหลวงกอนดําเนินการกอสราง การไฟฟานครหลวงจะพิจารณา การเพ่ิม–ลดงาน เพ่ิม–ลดเงินคากอสราง และขยายเวลากอสรางตามปริมาณงานและขอเท็จจรงิ

สภาพชั้นดินบริเวณกอสรางบอพักเปนดนิออนมาก ( Very Soft Clay )

การคํานวณคาความปลอดภัยของการอูดของดินเนื่องจากการขุด ใหใชสูตรการคํานวณดังนี้

F.S. = Nc

เม่ือ F.S. คือ อัตราสวนความปลอดภัย (ตองไมนอยกวา 1.2) Nc คือ Bearing capacity factor C คือ The cohesion of the clay = ½ Unconfined compressive strength คือ Unit weight of soil above the bottom of excavation

h คือ The depth of excavation q คือ Uniform surcharge load on the area surrounding the shaft

การคํานวณดังกลาวอาจใชสูตรการคํานวณอ่ืนท่ีเหมาะสม ตามหลักวิชาการ โดยตองไดรับความเหน็ชอบจากการไฟฟานครหลวง 1.4

ทราย หมายถึงดนิเม็ดหยาบท่ีผานตะแกรงเบอร 200 นอยกวา 50 % เม่ือทดสอบการจําแนกประเภทดินตามวิธีของ Unified Soil Classification System (USCS)

สภาพชั้นดินบริเวณกอสรางบอพักเปนทราย

ในกรณีท่ีพบวาสภาพชั้นดินบริเวณกอสรางบอพักเปนทรายทําใหน้ําใตดินซึมผานเขามาในขณะจมบอพักฯ(ในกรณีท่ีกอสรางบอพักโดยวิธีจมบอหรือวิธีอ่ืนใด) ผูรับจางตองเสนอวิธีการปองกันหรือแกไขโดยการเพ่ิมงานปรับปรุงคุณภาพดิน ( Soil Improvement ) หรือวิธีอ่ืนท่ีเหมาะสม ซ่ึงจะตองพิจารณาจากคุณสมบัติดินบริเวณนั้นๆ และการคํานวณดานวิศวกรรม โดยตองไดรับความเห็นชอบจากการไฟฟานครหลวงกอนดาํเนินการกอสราง การไฟฟานครหลวงจะพิจารณาการเพ่ิม–ลดงาน เพ่ิม–ลดเงินคากอสราง และขยายเวลากอสรางตามปริมาณงานและขอเท็จจรงิ

2. งานเตรียมพ้ืนท่ี 2.1 สํารวจ, วางผัง, ทําระดับและกําหนดขนาดและทิศทางการกอสรางใหเหมาะสมและถูกตองตาม

แบบแปลนและรายการ 2.2 ปรับระดับดินใหไดคาระดับถูกตองตามแบบ

Page 5 MP6-8903-WDX

ขอกําหนดเฉพาะงาน สย. คลองรอย

2.3 รื้อถอนตนไมและอุปสรรคตางๆท่ีกีดขวางในพ้ืนท่ีกอสราง โดยใหขนวัสดุท่ีรื้อถอนออกจากบริเวณพ้ืนท่ีกอสราง

2.4 จัดแบงเขตการกอสรางและทํารั้วชั่วคราวเพ่ือก้ันพ้ืนท่ีกอสรางใหชัดเจน รวมท้ังใหมีการปองกันความเสียหาย และปองกันมลภาวะท่ีจะกระทบตอสถานท่ีขางเคียง

3. งานอาคาร 3.1 ทําการกอสรางฐานราก ดวยเสาเข็มเจาะ ชนิดเปยกขนาด Ø 0.80 ม. ตามท่ีแสดงในแบบ 3.2 กอสรางอาคารสถานียอย ซ่ึงเปนอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก และโครงสรางเหลก็ 3 ชั้น พรอมดาดฟา

ประกอบดวยสวนหลักๆ ดังนี้ - ชั้นท่ี 1 ประกอบดวย Cable Room, Guard House, Pressure Tank Room และคอก

หมอแปลง 3 ชุด - ชั้นท่ี 2 ประกอบดวย 115 kV. GIS Room, 24 kV. GIS Room, 115 kV. Control & Relay

Board Room และ Control Room ซ่ึงผูรับจางตองออกแบบและกอสรางคานและพ้ืนคสล.ตลอดจนชองเปดพ้ืนหอง 115 kV. GIS รวมถึงการติดตั้ง Steel Base Plate ท่ีถูกตองตรงตามแบบรายละเอียดชองเปดพ้ืนของยี่หออุปกรณท่ีติดตั้งจริง โดยตองสามารถรับน้ําหนักของอุปกรณไดอยางปลอดภัย ท้ังนี้ตองสงใหพนักงาน กฟน. พิจารณากอนการดําเนิน สําหรับชองเจาะท่ีแสดงในแบบเปนเพียงตัวอยางเพ่ือประกอบการคิดราคาเทานั้น

- ชั้นท่ี 3 ประกอบดวย AC/DC & Charger Room, Battery Room, Capacitor Room และ Staff Room

- ชั้นดาดฟา 3.3 จัดทําระบบ Grounding ในพ้ืนดินและในพ้ืนอาคารแตละชั้น 3.4 จัดหาและติดตั้ง Wall Mounted Slewing Jib Crane ขนาด 2 ตัน สําหรับขนอุปกรณเขา

อาคาร จํานวน 1 ชุด, จัดหาและติดตั้ง 3-direction Electric Overhead Crane ขนาด 3 ตัน สําหรับการบํารุงรักษา 115 kV GIS จํานวน 1 ชุด ท้ังนี้ Crane ดังกลาวขางตนจะตองติดตั้งอุปกรณพรอมเครื่องหมายใหสัญญาณตางๆใหครบถวนตามประกาศคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจสัมพันธ เรื่อง ความปลอดภัยในการทํางานเก่ียวกับปนจั่น

3.5 จัดหาและทาสีเรืองแสงแสดงแนวทางหนีไฟท่ีพ้ืนและผนังตามเสนทางหนีไฟภายในอาคารทุกชั้น 3.6 กอสรางทอรอยสายสําหรับสาย Fiber optic ในอนาคต ขนาด 110มม. HDPE 3 ชุด ทอ

โทรศัพทขนาด 110มม. HDPE 1ชุดและทอสายไฟแรงต่ําขนาด 110มม. HDPE 1ชุด พรอมปกเสาคอนกรีตอัดแรงสูง 8.5ม. 2 ตนท่ีปลายทอดานนอกอาคาร (การไฟฟานครหลวงเปนผูจัดหาเสาสวนผูรับจางเปนผูเบิกและขนสงไปยังสถานท่ีกอสราง) ชุดทอสําหรับ Fiber optic และทอโทรศัพทใหท้ิงปลายทออีกดานไวใน Cable Room และใหจัดหาและติดตั้ง Cable Tray เพ่ือเดินสาย Fiber optic และสายโทรศัพทในอนาคตไปเชื่อมกับอุปกรณท่ีเก่ียวเนื่องท่ี Control Room สวนชุดทอสําหรับสายไฟฟาแรงต่ําใหจัดหาและติดตั้ง Cable Tray เพ่ือเดินสายไฟฟาแรงต่ําไปเชื่อมกับ AC Panel NO.2 ท่ี AC/DC Room

3.7 จัดหาและติดตั้งปายชื่อหองและกลองเก็บกุญแจ 3.8 กอสรางฐานหมอแปลงจํานวน 3 ฐาน พรอมติดตั้ง Hook ในคอกหมอแปลง 3.9 กอสรางโครงเหล็ก Terminator ในคอกหมอแปลงท้ัง 3 ชุด 3.10 กอสราง Platform สําหรับติดตั้ง Station Service Transformer จาํนวน 2 ชุดพรอมกอสราง Cable Trench

ไปยงั Cable Roomสําหรับจายไฟใหตัวอาคารสถานียอย (การไฟฟานครหลวงเปนผูจ ัดหาเสา 6.15 เมตรจาํนวน4ตนและConcrete Platform 4.5 ตันจํานวน 2 ชุดสวนผูรับจางเปนผูเบิกและขนสงไปยังสถานท่ีกอสราง)

Page 6 MP6-8903-WDX

ขอกําหนดเฉพาะงาน สย. คลองรอย

3.11 จัดหาและติดตั้งระบบปองกันฟาผาสําหรับอาคารสถานียอย 3.12 ออกแบบพรอมจดัหาและตดิตัง้โครงเหลก็รบัสายอากาศชนดิโครงเหลก็สาน Self Support สูง 4 เมตร

บรเิวณดาดฟา จํานวน 1 ชุด พรอมเสาลอฟา 1 ชุด เชื่อมตอกับระบบลอฟาของอาคารพรอมจัดหาและติดตั้ง ทอรอยสายสัญญาณชนิดIMC ขนาด 2½ นิว้จํานวน 2 ทอ จากเสาโครงเหล็กไปยังชองเจาะท่ีใกลท่ีสุดเพ่ือไปยัง Control Room และหาวิธีปองกันมิใหน้ําเขาและเชื่อมตอโครงเหล็กรับสายอากาศเขากับระบบ Grounding

3.13 จัดหาและติดตั้งมูลี่ท่ีกระจกใน Control Room ทุกบาน 3.14 กอสรางและติดตั้งสวนประกอบอ่ืนๆท่ีเก่ียวของพรอมจัดหาครุภัณฑตามแบบ 3.15 กอสราง Guard House จํานวน 1 หลัง 3.16 จัดหาและติดตั้งผนังปดหนาคอกหมอแปลง คอกท่ี 1 และคอกท่ี 2 จํานวนรวม 2 ชุด

4. งานถนน, ประต,ู รั้ว และงานดานภูมิสถาปตย 4.1 กอสรางถนนและลาน ค.ส.ล. โดยรอบสถานยีอยและลานหนิคลกุบรเิวณท่ีกาํหนดในแบบ 4.2 กอสรางรั้วรอบสถานีและติดตั้งประตูทางเขาสถานียอย พรอมท้ังเชื่อมตอประตูและรั้วเขากับ

ระบบGrounding ดวย 4.3 กอสรางถนนทางเชื่อมกับถนนภายในสถานียอย 4.4 ซอมแซมถนนและรางระบายน้ําท่ีเสียหายจากการขุดหรืองานกอสรางอาคารใหคงสภาพเดิม

พรอมปรับปรุงสิ่งแวดลอมภายในบริเวณรอบอาคารใหเปนไปตามแบบ 5. งานกอสรางบอพักและทอรอยสายไฟใตดิน สําหรับสถานียอยคลองรอย

5.1 วัตถุประสงค

การไฟฟานครหลวง (กฟน.) มีวัตถุประสงคจะทําการกอสรางบอพักและทอรอยสายไฟฟาใตดิน รวมกับโครงการกอสรางสถานียอยคลองรอย

สําหรับแบบท่ีใชในการกอสราง กฟน. เปนผูออกแบบเบื้องตน (Preliminary design) ซ่ึงแบบดังกลาวจะแสดงเฉพาะตําแหนงกอสรางบอพักทอรอยสายใตดินและแนวกอสรางทอรอยสายไฟฟาใตดิน โดยแบบกอสรางบอพักและทอรอยสายไฟฟาใตดิน (DWG.No. 05A1-74KRI20 SH.No. 1 REV.No.1 - 3 REV.No.1) นั้น จะแสดงแนวกอสราง/จํานวน/ความยาว/วิธีการกอสรางของทอรอยสายไฟฟา/ชนิดของบอพักและตําแหนง Riser pole การกอสรางตามแบบดังกลาวนั้น จะตองกอสรางใหสอดคลองกับโครงการกอสรางสถานียอยคลองรอย

ขอกําหนดท่ี กฟน. ระบุไวในบทนี้เปนขอกําหนดสําคัญ โดยผูรับจางจะตองปรับเปล่ียนแบบและกอสรางใหสอดคลองกับสภาพพ้ืนท่ีกอสรางและโครงสรางของโครงการกอสรางสถานียอยคลองรอย เพ่ือใหงานสําเร็จลุลวง ดังนั้นหากมีขอความหรือขอกําหนดใดในบทอ่ืนท่ีขัดแยงหรือไมเปนไปตามท่ีระบุไวในบทนี้ ใหถือขอความในบทนี้เปนสําคัญ

5.2 ขอกําหนดท่ัวไป

5.2.1 สํารวจพ้ืนท่ีกอสราง, วางแผนการกอสรางและแกไขอุปสรรคตางๆ ในการกอสรางใหสําเร็จลุลวง

5.2.2 ทําการสํารวจตรวจสอบแนวตําแหนงของสาธารณูปโภค (ประปา, โทรศัพท, สื่อสาร) และสิ่งกอสรางอ่ืนๆ ท่ีอยูใกลเคียง และจัดทําแบบรายละเอียดสําหรับการกอสราง (Detailed design) แสดงตําแหนงแนวการกอสรางบอพักและทอรอยสายไฟฟาใตดินและสาธารณูปโภคและสิ่งกอสรางอ่ืนๆ ใหสอดคลองกับงานโครงการกอสรางสถานียอยคลองรอย กรณีท่ีมีอุปสรรคตอการกอสราง ผูรับจางตองขุดสํารวจและจัดทําแบบ แสดงอุปสรรคและการแกไข

Page 7 MP6-8903-WDX

ขอกําหนดเฉพาะงาน สย. คลองรอย

โดยละเอียดพรอมรายการคํานวณ เสนอขอความเห็นขอบจาก กฟน. เพ่ือพิจารณาอนุมัติกอนดําเนินการกอสราง

5.2.3 ตรวจสอบตําแหนงปก Riser pole ใหเหมาะสมกับสภาพหนางาน พรอมท้ังกอสรางทอรอยสายไฟฟาใตดินใหสอดคลองกับตําแหนงดังกลาว กรณีท่ีมีอุปสรรคตอการกอสราง ผูรับจางตองขุดสํารวจและจัดทําแบบ แสดงอุปสรรคและการแกไขโดยละเอียดพรอมรายการคํานวณ เสนอขอความเห็นขอบจาก กฟน. เพ่ือพิจารณาอนุมัติกอนดําเนินการกอสราง

5.2.4 จัดทําแผนงานการกอสรางบอพักและทอรอยสายไฟฟาใตดิน ใหแลวเสร็จสอดคลองและไมสงผล กระทบตอโครงการกอสรางสถานียอยคลองรอย

5.2.5 อุปสรรคใดๆ ท่ีแสดงไวในแบบและรายการ เปนการกําหนดตําแหนงไวโดยประมาณ ผูรับจางตองทําการสํารวจโดยละเอียดกอนทําการกอสราง หากตําแหนงของอุปสรรคมีการคลาดเคลื่อนไปจากแบบ ผูรับจางตองจัดทําแบบ แสดงอุปสรรคและการแกไขโดยละเอียดพรอมรายการคํานวณ เสนอขอความเหน็ขอบจาก กฟน. เพ่ือพิจารณาอนุมัติกอนดําเนินการกอสราง

5.2.6 หากมีอุปสรรคใดๆ ก็ตามท่ีไมสามารถกอสรางตามแบบได ผูรับจางตองจัดทําแบบ แสดงอุปสรรคและการแกไขโดยละเอียดพรอมรายการคํานวณ เสนอขอความเห็นขอบจาก กฟน. เพ่ือพิจารณาอนุมัติกอนดําเนินการกอสราง

5.2.7 ผูรับจางตองแกไขปญหาและอุปสรรคตางๆ ในการกอสรางใหสําเร็จลุลวงโดยไมสงผลกระทบตอแผนงานการกอสรางของท้ัง กฟน.

5.3 ขอกําหนดเฉพาะงานกอสรางบอพักและทอรอยสายไฟฟาใตดิน พรอมงานติดตั้ง Riser pole

ผูรับจางตองทําการกอสรางบอพักและทอรอยสายไฟฟาใตดิน ใหเปนไปตามขอกําหนดมาตฐานการกอสรางบอพักและทอรอยสายไฟฟาใตดิน บทท่ี 2 และบทท่ี 3 ดวยวิธีกอสรางแบบ Pipe jacking, Horizontal directional drilling และ Open cut ตาม DWG.No. 05A1-74KRI20 SH.No. 1 REV.No.1 - 3 REV.No.1 ซ่ึงเปนแบบเบื้องตน (Preliminary design) มีปริมาณงานตามแบบโดยประมาณดังรายละเอียดท่ีผูรับจางจะตองดําเนินการดังนี้

1. ทําการกอสรางบอพักสายไฟฟาใตดิน (Manhole – MH.) คอนกรีตเสริมเหล็ก (คสล.) ดังนี้

ลําดับ หมายเลขบอพัก ชนดิของบอพัก จาํนวน (บอ)

หมายเหตุ

1 3 L-1/1D 1 - ใหกอสรางตามแบบเลขท่ี 08A1-215 SH.No.1

2 1, 5, 7, 8, 9 A/J 5 - ผูรับจางเปนผูออกแบบโครงสราง เสนอ กฟน. พิจารณาอนุมัติ 3 6 L/J 1

4 2, 4 T/J 2

- กําหนดความลึกของคอบอพักสายไฟฟาใตดินจากผิวจราจรถึงเพดานบอพักเทากับ 1.20 เมตร

รวมจํานวนบอพักท้ังสิ้น 9

Page 8 MP6-8903-WDX

ขอกําหนดเฉพาะงาน สย. คลองรอย

(1). ตําแหนงของบอพักและทอรอยสายไฟฟาใตดิน ใหผูรับจางดําเนินการสํารวจอุปสรรคในการกอสรางและนําเสนอ กฟน. เพ่ือพิจารณาใหความเห็นขอบกอนดําเนินการกอสราง

(2). ในกรณีกอสรางทอรอยสายไฟฟาใตดิน ดวยวิธีดันทอ (Pipe jacking) ใหผูรับจางออกแบบโครงสรางของบอพักสายไฟฟาใตดิน พรอมสงแบบรายละเอียดและรายการคํานวณเสนอให กฟน. พิจารณาเห็นชอบกอนทําการกอสราง โดยบอพักสายไฟฟาใตดินแตละบอจะมี 3 ฝา และติดตั้งบันไดทางข้ึนลงบริเวณผนังก่ึงกลางบอพักสายไฟฟาใตดิน ตาม DWG.No. 9247 R_SE 8360 0562C SH.No.01

(3). ในกรณีกอสรางทอรอยสายไฟฟาใตดินดวยวิธีขุดเปด (Open cut) ใหผูรับจางกอสรางบอพักสายไฟฟาใตดินตามแบบมาตรฐานของ กฟน. ยกเวนกรณีนอกเหนือจากแบบมาตรฐานของ กฟน. ใหผูรับจางออกแบบโครงสรางตลอดจนรายละเอียดตางๆ ของบอพักสายไฟฟาใตดิน พรอมท้ังสงแบบรายละเอียดและรายการคํานวณเสนอให กฟน. พิจารณาใหความเห็นชอบกอนดําเนินการกอสราง

5.3.2 การกอสรางทอรอยสายไฟฟาใตดินดวยวิธี Pipe jacking

(1) ทําการดันทอคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยทอท่ีใชตองมีคุณสมบัติตามบทท่ี 3 ของขอกําหนดมาตรฐานการกอสรางบอพักและทอรอยสายไฟฟาใตดิน มีรายละเอียดปริมาณงานดังนี้

ลําดับ ขนาดทอ คสล. ท่ีใชดัน

จาก ลึก (ม.) ไป ลึก (ม.) ความยาวทอ คสล. ท่ีใชดัน (ม.)

1 Ø ภายใน 1.50 เมตร MH.1 4.50 MH.4 4.00 17.00 2 Ø ภายใน 1.50 เมตร MH.2 4.00 Cable

trench B 4.50 17.00

3 Ø ภายใน 1.50 เมตร MH.2 4.00 MH.4 4.00 7.00 4 Ø ภายใน 1.00 เมตร MH.4 4.00 MH.5 4.00 146.00 5 Ø ภายใน 1.00 เมตร MH.5 4.00 MH.6 4.00 142.00 6 Ø ภายใน 1.50 เมตร MH.2 4.00 MH.7 4.00 156.00 7 Ø ภายใน 1.50 เมตร MH.7 4.00 MH.8 4.00 213.00 8 Ø ภายใน 1.50 เมตร MH.8 4.00 MH.9 4.00 193.00

รวมความยาวท้ังสิ้นประมาณ 891.00

(2) ทําการติดตั้งทอรอยสายไฟฟาใตดินในทอคอนกรีตเสริมเหล็กท่ีดัน พรอมทําการอุด (Grouting) ดวย Flowable fill mortar หุมทอรอยสายไฟฟาภายในทอคอนกรีตเสริมเหล็กใหเต็ม โดยทอรอยสายไฟฟาใตดินท่ีใชในการกอสรางตองมีคุณสมบัติตามบทท่ี 2 และบทท่ี 3 ของขอกําหนดมาตรฐานการกอสรางบอพักและทอรอยสายไฟฟาใตดิน มีรายละเอียดปริมาณงานดังนี้

Page 9 MP6-8903-WDX

ขอกําหนดเฉพาะงาน สย. คลองรอย

ลําดับ จาก ไป ความยาวทอรอยสายไฟฟาใตดินท่ีติดตั้งในทอคอนกรีต (ม.)

24 ทอ 12 ทอ

1 MH.1 MH.4 17.00 -

2 MH.2 Cable trench B 17.00 -

3 MH.2 MH.4 7.00 -

4 MH.4 MH.5 - 146.00

5 MH.5 MH.6 - 142.00

6 MH.2 MH.7 156.00 -

7 MH.7 MH.8 213.00 -

8 MH.8 MH.9 193.00 -

รวมความยาวท้ังสิ้นประมาณ 603.00 288.00

5.3.3 ทําการกอสรางทอรอยสายไฟฟาใตดิน ดวยวิธ ีHorizontal directional drilling โดยทอรอยสายไฟฟาใตดินท่ีใชในการกอสราง จะตองมีคุณสมบัติตามบทท่ี 2 และบทท่ี 3 ของขอกําหนดมาตรฐานการกอสรางบอพักและทอรอยสายไฟฟาใตดิน มีรายละเอียดปริมาณงานดังนี้

ลําดับ จาก ไป ความยาวทอรอยสายไฟฟาใตดิน (ม.)

3 ทอ 2 ทอ

1 MH.3 Riser 24 kV + Optic KRI-414 37.00 -

2 MH.3 Riser 24 kV KRI-424 - 35.00

3 MH.5 Riser 24 kV KRI-411 - 7.00

4 MH.5 Riser 24 kV KRI-423 - 27.00

5 MH.6 Riser 24 kV KRI-416 - 90.00

6 MH.6 Riser 24 kV KRI-422 - 77.00

7 MH.6 Riser 24 kV KRI-425 - 60.00

8 MH.6 Riser 24 kV KRI-426 - 60.00

9 MH.6 Riser 24 kV KRI-427 - 61.00

10 MH.7 Riser 24 kV KRI-415 - 22.00

11 MH.8 Riser 24 kV KRI-413 - 33.00

12 MH.8 Riser 24 kV KRI-418 - 41.00

รวมความยาวท้ังสิ้นประมาณ 37.00 513.00

(1). ใหผูรับจางดําเนินการปรับปรุงคุณภาพดิน บริเวณรอบทอรอยสายไฟฟาใตดิน ท่ีกอสรางโดยวิธ ีHorizontal directional drilling ชวงท่ีเขาบอพักสายไฟฟาใตดินเพ่ือปองกันใม

Page 10 MP6-8903-WDX

ขอกําหนดเฉพาะงาน สย. คลองรอย

ใหเกิดการทรุดตัวของผิวจราจรโดยใช Cement grouting โดยใหผูรับจางเสนอรายละเอียดและวิธีการดําเนินการเสนอขอความเห็นขอบจาก กฟน. กอนดําเนินการ

(2). ใหผูรับจางทําการรอยเชือก (Pilot wire) เพ่ือรองรับการลากสายไฟฟาใตดิน และเติมน้ําประปาใหเต็มทอรอยสายไฟฟาใตดิน พรอมปดปลายทอท้ัง 2 ดาน ของทุกทอใหสนิท

5.3.4 ทําการกอสรางทอรอยสายไฟฟาใตดินหุม คสล. ดวยวิธ ีOpen cut โดยทอรอยสายไฟฟาใตดินท่ีใชในการกอสรางจะตองมีคุณสมบัติตามบทท่ี 2 และบทท่ี 3 ของขอกําหนดมาตรฐานการกอสรางบอพักและทอรอยสายไฟฟาใตดิน มีรายละเอียดปริมาณงานดังนี้

ลําดับ จาก ไป ความยาวทอรอยสายไฟฟาใตดิน (ม.)

24 ทอ 12 ทอ 9 ทอ 6 ทอ 3 ทอ 2 ทอ

1 Cable trench A MH.1 19.00 - - - - -

2 Cable trench C MH.3 - 13.00 - - - -

3 MH.2

Riser 115 kV KDT-794 &

Riser 24 kV

KRI-421

- - 2.00 6.00 23.00 -

4 MH.3 Riser 115 kV BPT-791A

- - - - 14.00 -

5 MH.4 Riser 24 kV

KRI-412 - - - - - 14.00

รวมความยาวท้ังสิ้นประมาณ 19.00 13.00 2.00 6.00 37.00 14.00

5.3.5 การกอสรางทอรอยสายไฟฟาใตดินไปข้ึน Riser pole 24 kV และ Riser pole 115kV ใหกอสรางขามหรือลอดใตสาธารณูปโภคอ่ืน โดยใหข้ึนอยูกับเง่ือนไขของแตละหนวยงานและขอกําหนดของ กฟน.

5.3.6 ทําการติดตั้งฐานเสา, เสาเข็ม, ปกเสาคอนกรีต 22 เมตร จํานวน 3 ตน พรอมจัดหาและติดตั้งชุดโครงสรางเหล็กรับ Terminator 115 kV ตาม DWG.No. A1-1073 SH.No. A-01, A-02 จํานวน 2 ชุด พรอมกอสรางทอ Riser ชนิด 3 ทอ สําหรับสายสง 115 kV หุมดวยคอนกรีตเสริมเหล็ก รวมจํานวน 4 จุด โดยทอ Elbow ท่ีใชในการกอสรางจะตองมีคุณสมบัติตามบทท่ี 2 ของขอกําหนดมาตรฐานการกอสรางบอพักและทอรอยสายไฟฟาใตดิน พรอมปดฝาทอ Riser สวนตําแหนงเสา กฟน. จะกําหนดใหขณะกอสราง ท้ังนี้ ผูรับจางจะตองแจงจํานวนเสาไฟฟา, ฐานเสาไฟฟาและเสาเข็มท่ีจําเปนตองใชให กฟน. ทราบภายใน 45 วัน หลังจากเริ่มงานตามสัญญา

5.3.7 ทําการติดตั้งปกเสาคอนกรีต 12 เมตร จํานวน 5 ตน พรอมทําการกอสรางทอ Riser ชนิด 2 ทอ สําหรับสายปอน 24 kV หุมดวยคอนกรีตเสริมเหล็กไปข้ึนเสา Riser ปกใหมจํานวน 5 จุด ไปข้ึนเสา Riser ตนเดิม 7 จุด และชนิด 3 ทอ ไปข้ึนเสา Riser ตนเดิม 2 จุด โดยทอ Elbow ท่ีใชในการกอสรางจะตองมีคุณสมบัติตามบทท่ี 2 ของขอกําหนดมารฐานการ

Page 11 MP6-8903-WDX

ขอกําหนดเฉพาะงาน สย. คลองรอย

กอสรางบอพักและทอรอยสายไฟฟาใตดิน สําหรับขนาดและชนิดทอ Elbow ท่ีใชตองเปนขนาดและชนิดเดียวกับทอรอยสายไฟฟาใตดิน พรอมปดฝาทอ Riser สวนตําแหนงเสา กฟน. จะกําหนดใหขณะกอสราง ท้ังนี้ผูรับจางจะตองแจงจํานวนเสาไฟฟา, ฐานเสาไฟฟาและเสาเข็มท่ีจําเปนตองใชให กฟน. ทราบภายใน 45 วัน หลังจากเริ่มงานตามสัญญา

5.3.8 ทําการซอมผิวการจราจร (ชั่วคราว, ถาวร) ทางเทาและคันหินกลับไปสูสภาพเดิม (กอนการกอสราง) ตามรายละเอียดดังนี้

(1). ทําการซอมผิวการจราจรชั่วคราวดวย Asphalt

(2). ซอมผิวการจราจรถาวรดวยคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยใชคอนกรีตแข็งตัวท่ี 24 ชั่วโมง สําหรับการจัดซอมถนนท่ีจําเปนตองคืนผิวจราจรโดยเร็ว

(3). ทําการซอมผิวการจราจรถาวรดวยคอนกรีตเสริมเหล็ก (แข็งตวั 7 วัน)

(4). ทําการซอมผิวการจราจรถาวรดวย Asphalt

(5). ทําการซอมคันหิน

(6). ทําการซอมทางเทา

(7). จัดทําและติดตั้ง Cable route marker ตาม DWG.No.UG-9-012 SH.No.1, 2 REV.No.1 - 5 REV.No.1

(8). อ่ืนๆ

อนึ่งการจัดซอมผิวจราจรดวยคอนกรีตเสริมเหล็ก ใหอยูในดุลยพินิจของผูควบคุมงานกอสรางของ กฟน. เปนผูพิจรณาจะใชคอนกรีต ชนิดแข็งตัวเร็วท่ี 24 ชั่วโมง หรือแข็งตัวเร็วท่ี 7 วัน ในการจัดซอมและตองเปนไปตามขอกําหนดของหนวยงานเจาของพ้ืนท่ีดวย

5.3.9 อุปกรณท่ี กฟน. จัดหาให มีดังนี้

(1) Manhole frame & cover Ø 840 mm

(2) Manhole frame & cover Ø 900 mm with accessories (water seal)

(3) Manhole entrance step DB20

(4) Pulling iron Ø 22-25 mm

(5) Steel hook for manhole & cable trench

(6) Anchor Bolt Ø 5/8”x6” สําหรับบอพักแบบธรรมดาและ Cable trench

(7) Expansion bolt Ø 5/8” (stainless steel) สําหรับบอพักแบบ Pipe jacking

(8) Ground rod copper clad Ø 5/8” x 2.40 m

(9) ฝาปดทอ Riser 24, 115 kV สําหรับการกอสรางดวยวิธีขุดเปด

(10) Cable route marker type A&B (ตาม DWG.No.UG-9-012 SH.No.1, 2 REV.No.1 - 5 REV.No.1)

(11) Concrete pole 12 m

(12) Concrete stub และอุปกรณยึด (กรณีจําเปนตองใช)

(13) Concrete pole 22 m

Page 12 MP6-8903-WDX

ขอกําหนดเฉพาะงาน สย. คลองรอย

(14) Supporting structure for terminator สําหรับสายสง 115 kV

(15) ฐานเสาและเสาเข็มสายสง 115 kV ตาม DWG.No. A3-476/1 SH.No.1-2

โดยจัดหาตามจํานวนท่ีใชจริง ซ่ึงผูรับจางเปนผูเบิกและขนวัสดุเหลานี้จาก กฟน. ไปยังท่ีกอสราง วัสดุอ่ืนนอกเหนือจากท่ีกลาวนี้ ผูรับจางตองจัดหาเองท้ังสิ้น ท้ังนี้หากผูรับจางไมประสงคท่ีจะใชอุปกรณท่ี กฟน. จัดหา (ตามรายการดังกลาวขางตน) ขอใหผูรับจางเสนอรายละเอียดของอุปกรณนั้นๆ ให กฟน. พิจารณาใหความเห็นชอบกอนดําเนินการติดตั้ง

อนึ่ง ความสูญหายและความเสียหายใดๆ ท่ีเกิดข้ึนกับวัสดุ หลังจากท่ีผูรับจางไดรับไปจาก กฟน. ผูรับจางตองชดเชยใชคาเสียหายท่ีเกิดข้ึนทุกประการ

5.4 การจัดทําแบบรายละเอียด (Detail design) และแบบกอสรางจริง (As-built drawing) สําหรับกอสรางบอพัก และทอรอยสายไฟฟาใตดิน

กอนดําเนินการกอสรางงานตามสัญญานี้ ผูรับจางตองศึกษารายละเอียดแบบเบื้องตน (Preliminary design) ไปพรอมกับโครงการกอสรางนิคมอุตสาหกรรมเอเซีย สุวรรณภูมิ ของ บริษัท นิคมอุตสาหกรรมเอเซีย จํากัด จากนั้นใหออกแบบรายละเอียด (Detail design) โดยมีตนฉบับพรอม สําเนารวม 8 ชุด เสนอขอความเห็นชอบจาก กฟน. กอนการกอสราง และเม่ือกอสรางเสร็จจะตองจัดทําแบบกอสรางจริง (As-built drawing) โดยมีรายละเอียดดังนี้

5.4.1. ผูรับจางจะตองสํารวจถนน ตรอก ซอย สะพาน คลอง อาคาร สิ่งปลูกสราง และระบบ สาธารณูปโภคอ่ืนๆ ตามจริง ใหครอบคลุมพ้ืนท่ีกอสรางบอพักและทอรอยสายไฟฟาใตดิน เพ่ือประกอบการจัดทําแบบแสดงการกอสราง

5.4.2. ผูรับจางตองประสานงานกับหนวยงานสาธารณูปโภคอ่ืนท่ีเก่ียวของ เพ่ือขอขอมูลมาจัดทําแบบ โดย กฟน. จะออกหนังสือขอความรวมมือ แจงหนวยงานสาธารณูปโภคนั้น ใหผูรับจานําไปดําเนินการ

5.4.3. แบบ Key map จะตองแสดง

(1). จํานวน ชนิด ความยาวของทอรอยสายไฟฟาใตดิน

(2). หมายเลข ชนิด ตําแหนงของทอรอยสายไฟฟาใตดิน

(3). ชื่อถนน ตรอก ซอย สะพาน คลอง อาคาร สิ่งปลูกสราง

(4). สัญลักษณและคําอธิบายตางๆ ท่ีเก่ียวของ

(5). แสดงตําแหนงทิศเหนือ, ทิศทางของถนนท่ีจะไป โดยมีลูกศรชี้

(6). Scale ตามความเหมาะสม

(7). กระดาษใชขนาด A1

5.4.4. แบบ Plan ของบอพักและทอรอยสายไฟฟาใตดินจะตองแสดง

(1). จํานวน ชนิด ความยาว แนว และระดับของทอรอยสายไฟฟาใตดินตามท่ีไดกอสรางจริง ระยะอางอิง Center line ของทอรอยสายไฟฟาใตดิน โดยใช Scale 1:500

(2). ตําแหนงของ Riser pole มีระยะอางอิง, หลกั กม. (STA.)

(3). ใชคาพิกัด GPS เดียวกับแผนท่ี GIS ของ กฟน. เทานั้น (Indian datum 1975) โดยระบุตําแหนงอยางนอย 3 จุด อยางเหมาะสม

Page 13 MP6-8903-WDX

ขอกําหนดเฉพาะงาน สย. คลองรอย

(4). หมายเลข ชนิด ระดับ ตําแหนงของบอพักสายไฟฟาใตดิน และระยะอางอิง, หลกั กม. (STA.)

(5). ชื่อ ถนน ตรอก ซอย สะพาน คลอง อาคารริมถนน 2 ฝง สิง่ปลูกสราง ชนิด ขนาด แนว และระดับของสาธารณูปโภคอ่ืนๆ ท้ังหมดท่ีเก่ียวของ

(6). Profile (Longitudinal section) ของแนวบอพักและทอรอยสายไฟฟาใตดิน และตําแหนงของสาธารณูปโภคท้ังหมด คาระดับหลังทอรอยสายไฟฟาใตดิน หรือหลัง DB. โดยใช Horizontal scale = 1:500, Vertical scale = 1:100

(7). กระดาษใชขนาด A1

5.4.5. แบบรูปตัดของแนวบอพักและทอรอยสายไฟฟาใตดินจะตองแสดง

(1). รูปตัดของแนวบอพักและทอรอยสายไฟฟาใตดินท่ีตําแหนงตางๆ ใหครบถวน

(2). รูปตัดของแนวบอพักและทอรอยสายไฟฟาใตดิน หลบแนวสาธารณูปโภคตางๆ

(3). รูปตัดอ่ืนๆ ตามความเหมาะสม โดยแสดงสาธารณูปโภคอ่ืนดวย

(4). ใช Scale 1:500

(5). กระดาษใชขนาด A1 (โดยอาจรวมไวในแผน Plan ก็ได)

5.4.6. แบบแสดง Development sheet ของบอพักสายไฟฟาใตดินจะตองแสดง

(1). ขนาดของบอพัก

(2). Duct section

(3). ตําแนงทอรอยสายไฟฟาใตดิน โดยมีระยะอางอิง

(4). ความลึกคอบอ

(5). แบบอางอิงท่ีเก่ียวของท้ังหมด

(6). ใช Scale 1:75, 1:100 หรือตามความเหมาะสม

(7). กระดาษใชขนาด A4

เม่ืองานกอสรางแลวเสร็จ ผูรับจางจะตองจัดทํา As-built drawing ซ่ึงประกอบดวยกระดาษไข 1 ชุด พรอมสําเนาจํานวน 3 ชุด และ USB removable drive ท่ีมีขอมูล As-built drawing ที่เขียนโดยโปรแกรมAutoCAD 2006 ข้ึนไป จํานวน 1 ชุด โดยสงสําเนากระดาษขาวขนาด A1 ให กฟน. พิจารณาเห็นชอบกอน และสงชุดจริงตาม กอนจะรับเงินคางานงวดสุดทาย

Page 14 MP6-8903-WDX

ขอกําหนดเฉพาะงาน สย. คลองรอย

บัญชีแบบ

ลาํดับ ท่ี

รายการ แบบเลขท่ี แผนท่ี จาํนวน แผน

1 แบบแสดงแนวกอสรางบอพักและทอรอยสายไฟฟาใตดินสถานียอยคลองรอย

แบบของฝายออกแบบระบบไฟฟาและงานวิศกรรมโยธาการไฟฟานครหลวง 05A1-74KRI20

1 REV.No.1 - 3

REV.No.1

3

2 แบบแสดง Legend & abbreviation of duct bank 08A3-20-1281 2 REV.No.3 1

3

ขอกําหนดท่ัวไปของการกอสรางบอพักสายไฟฟาใตดิน General notes for manhole

UG-2-001 1 ยกเวนขอ 2 1

4

แบบมาตรฐานการตดิตั้งแผนพ้ืนคอนกรีตเสริ่มเหล็ก บริเวณท่ีมีการกอสรางบอพักสายไฟฟาใตดิน

A1-1035 1 1

5

แบบแสดง Steel hook, Pulling iron, Cable rack และ Ground rod ในบอพัก type L-1/1

UG-2-030 1 REV.No.1 - 2 REV.No.1, 3

3

6 Underground manhole type L-1/1D 08A1-215 1 1

7 แบบแสดง Steel hook, Pulling iron และ Ground rod ในบอพัก type A/J UG-2-050 1-4 4

8 แบบแสดง Cable rack ในบอพัก type A/J UG-2-140 1-2 2

9 แบบแสดง Steel hook, Pulling iron และ Ground rod ในบอพัก type L/J UG-2-051 1-4 4

10 แบบแสดง Cable rack ในบอพัก type L/J UG-2-141 1-3 3

11 แบบแสดง Steel hook, Pulling iron และ Ground rod ในบอพัก type T/J UG-2-052 1-4 4

12 แบบแสดง Cable rack ในบอพัก type T/J UG-2-142 1-3 3

13

แบบ Pulling Iron และการฝงกับผนังดานใน สาํหรบัแขวนรอกดงึสายและแบบการติด Manhole entrance step ท่ีคอบอ

UG-2-210 1 REV.No.1 - 3 REV.No.1

3

14

แบบแสดงการฝง Anchor bolt and Expansion bolt ท่ีผนังบอดานใน (สําหรับติด Cable rack)

UG-2-220 1 REV.No.2 1

15 Manhole entrance reinforcement (type 2) UG-2-260 2 1

16 Water seal manhole entrance reinforcement UG-2-270 1 1

17 แบบติดตั้งบันไดทางข้ึนลงบรเิวณผนังก่ึงกลางบอพักสายไฟฟาใตดินและชานพัก 9274 R_SE 8360 0562C

01 1

18 แบบแสดงการตอสายกราวด สําหรับบันไดและชานพัก ในบอพักสายไฟฟาใตดิน แบบ Pipe jacking

UG-10-009 1 1

19 แบบแสดงการตดิตัง้ Ground loop in manhole UG-10-005 1 1

20 แบบแสดงการจดัหนาตางทอรอยสายไฟฟาใตดิน วิธี Pipe jacking UG-4-003 1 REV.No.1 1

21 Conduit (duct) numbering tag for pipe jacking UG-4-004 1 REV.No.1 - 2 REV.No.1

2

22 Duct bank and conduit construction – RTRC (concrete encased installation)

10A4-0730 1-3 3

Page 15 MP6-8903-WDX

ขอกําหนดเฉพาะงาน สย. คลองรอย

ลาํดับ ท่ี

รายการ แบบเลขท่ี แผนท่ี จาํนวน แผน

23 Duct bank and conduit construction – HDPE duct, window, end bell UG-3-110 1-4 4

24 Accessories for RTRC conduit (plastic plug & concrete spacer block) 10A4-0734 1-2 2

25 ขอกําหนดท่ัวไปของการกอสรางทอรอยสายไฟฟาใตดิน ชนิด Open cut 10A4-0729 1-5 5

26 แบบตาํแหนง Cable route marker post UG-9-011 1 REV.No.1 - 2 REV.No.1

2

27 แบบตาํแหนง Cable route marker (flush-mounted type) UG-9-012 1, 2 REV.No.1 - 5

REV.No.1

5

28 Cap for RTRC conduit 10A4-0437 1 1

29 Cap for HDPE conduit 10A4-P100 1 1

30 แบบฐานเสาและเสาเข็ม Riser 69, 115 kV A3-476/1 1-2 2

31 แบบติดตั้งโครงเหล็กรองรับ Terminator 115kV บนเสา Riser A1-1073 A-01, A-02 2

รวมแบบท้ังสิ้น 69

6. งานระบบไฟฟา จัดหาและติดตั้งระบบไฟฟาแสงสวางเตารับไฟฟาภายในและภายนอกสถานียอย, ระบบสัญญาณเตือน

อัคคีภัย (Fire Alarm System) ระบบโทรศัพท ระบบสื่อสารและระบบอ่ืนๆท้ังนี้อุปกรณไฟฟา, สวิตซ, เตารับ และตู Panel ติดผนังตางๆบริเวณชั้น 1 ติดตั้งสูงจากระดับถนนอยางนอย 1.5 เมตร

6.1 จัดหาและติดตั้ง AC Panel No.2 และเดินสายเมนจาก AC Panel No.2 ไปยงัเสา 8.50 เมตร Concrete Pole ท่ีรั้วของสถานี (มิเตอรจัดหาและติดตั้งโดยการไฟฟานครหลวง) เพ่ือรองรับ External Source โดยใหเดินสายเมนไปในทอรอยสายฯ พรอมท้ิงปลายสายตามท่ีไดแสดงในแบบ

6.2 จัดหาและติดตั้งตู CB with enclosure (CB BOX) ในชั้นท่ี 1 บริเวณคอกหมอแปลงจุดท่ี1และหนาอาคารจุดท่ี 2 พรอมเดินสายเมนไปท่ี AC/DC Room ชั้น 3 ของอาคารเพ่ือตอเขากับ A/C Panel No.2

6.3 จัดหาและติดตั้งตู LP1, LP2, LP3, ELP และตูอ่ืนๆตามแบบ 6.4 จัดหาและติดตั้งดวงโคม, สวิตซ, เตารับและ circuit breaker ตามรูปแบบและรายการท่ีกําหนด 6.5 จัดหาและติดตั้งระบบสัญญาณเตือนอัคคีภัย (Fire Alarm System) ตามรปูแบบและรายการท่ีกําหนด 6.6 จัดหาและติดตั้งระบบ PABX พรอมหัวเครื่องโทรศัพทสําหรับติดตอภายในอาคารและปอมยาม 6.7 จัดหาและติดตั้งระบบ Public Address (ระบบกระจายเสียง) 6.8 เดินสายโทรศัพทพรอมท้ังกอสรางทอรอยสายโทรศัพท/สาย Optical Fiber/สายไฟฟาแรงต่ําจาก

External Source ใตดินตามแบบ 6.9 จัดหาและติดตั้งระบบโทรศัพทจํานวน 2 คูสายจากบริษัท ทศท. คอรปอเรชั่น จํากัด(มหาชน) โดย

ผูรับจางรับผิดชอบคาใชจายและคาธรรมเนียมท้ังหมด รวมท้ังเครื่องโทรศัพทจํานวน 1 ชดุใน Control Room โดย 1 คูสายใชสําหรับระบบโทรศัพทพรอมดําเนินการเชื่อมตอเขากับระบบโทรศัพทท่ีดําเนินการโดยผูรับจาง และ 1 คูสายใชสําหรับระบบ Remote Setting พรอมเดิน

Page 16 MP6-8903-WDX

ขอกําหนดเฉพาะงาน สย. คลองรอย

สายโทรศัพทจากตู TTB ใน Control Room มาไวท่ี 24 kV. Control & Relay Board ใน Control Room และท่ี 115kV. Control & Relay Board ใน 115kV. Control & Relay Room

6.10 จัดหาและติดตั้งกระดิ่งสัญญาณ โดยติดตั้งสวิตซอยูท่ีหนาประตูดานหนาสถานียอยและกระดิ่งสัญญาณอยูท่ี Guard Room และ Control Room

6.11 จัดหาและติดตั้งทอ IMC ขนาด ½ นิ้ว พรอมรอยสายโทรศัพทชนิด 4 core 0.65 mm. จาก 24 kV. GIS Room ในระดับความสูง 1.5 เมตรของผนังดานหนาไปยังใต Access floor ของ Control Room โดยปลายท้ังสองดานจะใสไวใน Box พรอมติดตั้ง AC outlet ขนาด 10A จํานวน 1 จุด ไวใต Access floor ของ Control Room

7. งานระบบปรับอากาศและระบบระบายอากาศ จัดหาและติดตั้งเครื่องปรับอากาศและพัดลมระบายอากาศภายในสถานียอยตามแบบและรายละเอียดใน

ขอกําหนดดานระบบปรับอากาศและระบบระบายอากาศ 8. งานระบบประปาและสุขาภิบาล

กอสรางและติดตั้งระบบประปาและสุขาภิบาลตามขอกําหนด โดยมีขอบเขตดังนี้ ระบบประปา

1) ดําเนินการขอมิเตอรน้ําขนาด ¾ นิ้วจากการประปานครหลวง ท้ังนี้ผูรับจางเปนผูรับผิดชอบคาใชจายและคาธรรมเนียมท้ังหมด

2) จัดหาและติดตั้งถังเก็บน้ําบนดิน Stainless Water Container ความจ ุ2,500 ลติร จํานวน 1 ชุด พรอมติดตั้งสายดินเขากับระบบ Grounding

3) จดัหาและติดตัง้ถังเก็บน้าํบนดาดฟาอาคาร Stainless Water Container ความจ ุ2,000 ลติร จํานวน 1 ชุด พรอมติดตั้งสายดินเขากับระบบ Grounding

4) จัดหาและติดตั้งเครื่องปมน้ํา พรอมแผงควบคุมอัตโนมัติจํานวน 1 ชุด 5) จัดทําระบบประปาจากมิเตอร ,ระบบทอน้ําดี , ทอน้ําท้ิง , ทออากาศและทอน้ําโสโครก

ตางๆบบําบัดน้ําท้ิงและบอบําบัดไขมัน งานระบบสุขาภบิาล

1) จัดหาและติดตั้ง Septic Tank ของอาคารและปอมยาม 2) กอสรางระบบระบายน้ํารอบสถานีและเชื่อมตอกับระบบระบายน้ําสาธารณะพรอมบริเวณ

สําหรับติดตั้ง Submersible Pump ดูดระบายกรณีน้ําทวม 3) จดัทําระบบระบายน้าํในคอกหมอแปลง No.1,2และ No.3 โดยมี Submersible Pump ขนาด 200

ลติร/นาที จาํนวน 1ชุด พรอมแผงควบคุมท้ังระบบ manual/auto พรอม alarm ไปยังหองควบคุม สําหรับดูดน้ําจาก Common Sump ซ่ึงรับน้ําท่ีขังในคอกหมอแปลงท้ัง 3 ชดุ ลงสูรางระบายน้าํ (แตละคอกหมอแปลง ตอเชื่อมไปยัง Common Sump โดยใชทอ PVC ขนาด 6 นิ้ว )

4) จดัทําระบบระบายน้าํใน Cable Trench No.1, No.2 และ No.3 โดยมี Submersible Pump ขนาด 75 ลติร/นาที จาํนวน 2 ชุด พรอมแผงควบคุมท้ังระบบ manual/auto พรอม alarm ไปยงัหองควบคุม สําหรับดูดน้ําจาก Common Sump ซ่ึงรับน้ําท่ีขังใน Cable Trench ท้ัง 2 ชุด ลงสูรางระบายน้าํ (แตละCable Trench ตอเชื่อมไปยัง Common Sump โดยใชทอ PVC ขนาด 6 นิ้ว)

9. งานสวนประกอบอ่ืนๆ

- จดัหาและดาํเนนิการกอสรางสวนประกอบอ่ืนๆ ตามขอบเขตท่ีระบุไวในแบบและรายการ

- ในกรณีท่ีขอบเขตงานไมไดระบุไวแตมีในแบบใหดําเนินการกอสรางตามแบบใหครบถวน

- สิ่งท่ีปรากฏในแบบ ไมวาจะเปนในสวนของแบบ หรือ รายละเอียดของแบบตอรายการ มีความขัดแยงกัน ใหถือสิ่งท่ีดีระหวางแบบ หรือรายการเปนเกณฑเสมอไป

Page 17 MP6-8903-WDX

ขอกําหนดเฉพาะงาน สย. คลองรอย

- สิ่งท่ีไมปรากฏในแบบแปลน หรือรายการ แตเปนงานท่ีจําเปนตองดําเนินการ ใหสวนของงานนั้นๆเสร็จสมบูรณ ตามหลักวิชาชางท่ีดี ถือวาผูรับจางตองดําเนินการ

- การกอสรางใดๆผูรับจางตองสํารวจปญหาอุปสรรคและกําหนดแนวทางวางแผนงานการกอสรางใหชัดเจน สงใหการไฟฟานครหลวงพิจารณาตรวจสอบกอนดําเนินการ

- ผูรับจางจะตองทํา Shop Drawing ใหการไฟฟานครหลวงพิจารณาตรวจสอบกอนดําเนินการ

- ในกรณีท่ีมีแบบขัดแยงกันหรือไมชัดเจนใหแจงการไฟฟานครหลวงพิจารณาตรวจสอบกอนดําเนินการ

ขอกําหนดเฉพาะงาน

สําหรับ

งานกอสรางอาคาร, ฐานหมอแปลงและสวนประกอบ ของอาคารสถานยีอยพลบัพลา

ณ. สถานยีอยพลบัพลา กรุงเทพมหานคร

Page 1 MP6-8903-WDX

ขอกําหนดเฉพาะงาน สย. พลับพลา

สารบัญ หนา

ขอบเขตงานและแบบกอสราง 2 1. งานพิเศษ 3 2. งานเตรียมพ้ืนท่ี 5 3. งานอาคาร 5 4. งานถนน, ประตู, รั้ว และงานดานภูมิสถาปตย 6 5. งานกอสรางบอพักและทอรอยสายไฟฟาใตดิน 7 6. งานระบบไฟฟา 16 7. งานระบบปรับอากาศและระบบระบายอากาศ 17 8. งานระบบสุขาภบิาล 17 9. งานสวนประกอบอ่ืนๆ 17

Page 2 MP6-8903-WDX

ขอกําหนดเฉพาะงาน สย. พลับพลา

ขอบเขตงานและแบบกอสราง

ซ่ึงมีรายละเอียดและขอบเขตงานท่ีผูรับจางตองดําเนินการดังนี้

ลําดับ รายการ จํานวนแผน หมายเหตุ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12.

13. 14. 15. 16. 17. 18.

19. 20. 21. 22. 23. 24. 25. 26. 27. 28. 29. 30. 31. 32. 33.

แบบเลขท่ี 11A1-1151 Sh.No. A-01 ถึง A-26 แบบเลขท่ี 11A1-1151 Sh.No. S-01 ถึง S-42 แบบเลขท่ี 05A1-74PPL20 Sh.No.1 ถึง 2 แบบเลขท่ี 05A1-74PPL20 Sh.No.6 ถึง 8 แบบเลขท่ี 05A1-74PPL20 Sh.No.S1 ถึง S3 แบบเลขท่ี 05A1-74PPL20 Sh.No.K1 แบบเลขท่ี A1-1035 Sh.No. 1 แบบเลขท่ี 9247 R_SE 8360 0562C Sh.No.01 แบบเลขท่ี 08A1-207/2 Sh.No. 1 ถึง 2 แบบเลขท่ี 08D-127/1 Sh.No. 1 แบบเลขท่ี 08A1-127/1H Sh.No. S-1 แบบเลขท่ี A1-1073 Sh.No. A-01 ถึง A-02 รวมจาํนวนแบบ A1 แบบเลขท่ี 05A3-74PPL04S Sh.No. 1 ถึง 5 แบบเลขท่ี 05A3-74PPL06S Sh.No. 1 ถึง 14 แบบเลขท่ี 05A3-74PPL13S Sh.No. 1 ถึง 2 แบบเลขท่ี 08A3-20-1281 Sh.No. 2 Rev.3 แบบเลขท่ี A3-476/1 Sh.No. 1 ถึง 2 แบบเลขท่ี 05A3-PAD07 Sh.No. 1 รวมจาํนวนแบบ A3 แบบเลขท่ี 05A4-74PPL21 Sh.No. 1-1 แบบเลขท่ี 05A4-74PPL21 Sh.No. 2-1 แบบเลขท่ี 05A4-74PPL21 Sh.No. 6-1 แบบเลขท่ี 05A4-74PPL21 Sh.No. 7-1 แบบเลขท่ี 05A4-74PPL21 Sh.No. 8-1 แบบเลขท่ี 05A4-74PPL21 Sh.No. 8-2 แบบเลขท่ี 05A4-74PPL21 Sh.No. 8-3 แบบเลขท่ี 05A4-74PPL21 Sh.No. 9-1 แบบเลขท่ี 05A4-74PPL21 Sh.No. 9-2 แบบเลขท่ี 05A4-74PPL21 Sh.No. 1N-3N แบบเลขท่ี 05A4-74PPL21 Sh.No. 1S-7S แบบเลขท่ี 05A4-62SS21 Sh.No. 9S แบบเลขท่ี UG-2-001 Sh.No. 1 ยกเวนขอ 2 แบบเลขท่ี 10A4-0400 Sh.No. 1 ถึง 5 แบบเลขท่ี UG-2-210 Sh.No. 1 Rev.1 ถึง 3 Rev.1

26 42 2 3 3 1 1 1 2 1 1 2 85 5 14 2 1 2 1 25 1 1 1 1 1 1 1 1 1 3 7 1 1 5 3

A1 A1 A1 A1 A1 A1 A1 A1 A1 A1 A1 A1

แผน A3 A3 A3 A3 A3 A3

แผน A4 A4 A4 A4 A4 A4 A4 A4 A4 A4 A4 A4 A4 A4 A4

Page 3 MP6-8903-WDX

ขอกําหนดเฉพาะงาน สย. พลับพลา

ลําดับ รายการ จํานวนแผน หมายเหตุ 34. 35. 36. 37. 38. 39. 40. 41. 42. 43. 44. 45. 46. 47. 48. 49. 50. 51. 52. 53. 54. 55. 56.

แบบเลขท่ี UG-2-220 Sh.No. 1 Rev.2 แบบเลขท่ี 10A4-0531 Sh.No. 1 Rev.1 แบบเลขท่ี 10A4-0531 Sh.No. 2 ถึง 5 แบบเลขท่ี 10A4-0533 Sh.No. 1 Rev.1 แบบเลขท่ี 10A4-0533 Sh.No. 2 แบบเลขท่ี 10A4-0533 Sh.No. 3 Rev.1 แบบเลขท่ี 10A4-0533 Sh.No. 4 ถึง 6 แบบเลขท่ี UG-2-120 Sh.No. 1 ถึง 3 แบบเลขท่ี UG-2-110 Sh.No. 1 แบบเลขท่ี 10A4-0437 Sh.No. 1 แบบเลขท่ี UG-2-260 Sh.No. 1 ถึง 2 แบบเลขท่ี UG-8-012 Sh.No. 1 แบบเลขท่ี UG-9-012 Sh.No. 1 แบบเลขท่ี UG-9-012 Sh.No. 2 Rev.1 แบบเลขท่ี UG-9-012 Sh.No. 3 Rev.1 แบบเลขท่ี UG-9-012 Sh.No. 4 Rev.1 แบบเลขท่ี UG-9-012 Sh.No. 5 Rev.1 แบบเลขท่ี UG-4-003 Sh.No. 1 Rev.1 of 6 แบบเลขท่ี UG-4-004 Sh.No. 1 Rev.1 แบบเลขท่ี UG-4-004 Sh.No. 2 Rev.1 แบบเลขท่ี UG-10-009 Sh.No. 1 แบบเลขท่ี UG-7-031 Sh.No. 1 แบบเลขท่ี 121 Sh.No. 1 รวมจาํนวนแบบ A4

1 1

4 1 1 1 3 3 1 1 2 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 60

A4 A4 A4 A4 A4 A4 A4 A4 A4 A4 A4 A4 A4 A4 A4 A4 A4 A4 A4 A4 A4 A4 A4

แผน

การไฟฟานครหลวงมีวัตถุประสงคจะทําการกอสรางสถานียอยพลบัพลา พรอมบอพักและทอรอยสายไฟฟาใตดิน

ณ สถานียอยพลบัพลา ถนนคลองสามเสน จังหวัดกรุงเทพมหานคร ซ่ึงมีรายละเอียดและขอบเขตงานท่ีผูรับจางจะตองดําเนินการดังนี้

1. 1.1 งานพิเศษ

1) สาธารณูปโภคใตดิน ซ่ึงไมไดปรากฏไวในแบบและขอบเขตงาน หมายถึงบอพักและทอประปา บอพักและ

ทอรอยสายโทรศัพท บอพักและทอรอยสายไฟฟาใตดิน บอพักและทอระบายน้าํ บอพักและทอรอยสาย

สื่อสาร ทอสงน้ํามัน ทอแกส

งานรื้อยายสาธารณูปโภคใตดิน หรือสิง่กีดขวางท่ีไมคาดคิดและไมไดปรากฎไวในแบบและขอบเขตงาน

2) สิ่งกีดขวางทีไ่มคาดคิดซ่ึงไมไดปรากฏไวในแบบและขอบเขตงาน หมายถึง STEEL SHEET PILE ลวดสลงิ

เสาเข็มคอนกรตี กําแพงคอนกรตี ฐานรากคอนกรตี และเสาคอนกรตี

Page 4 MP6-8903-WDX

ขอกําหนดเฉพาะงาน สย. พลับพลา

3) ในกรณีท่ีตําแหนงบอพักและแนวทอรอยสายไฟฟาพบสาธารณูปโภคใตดิน หรือพบสิ่งกีดขวางทีไ่ม

คาดคิดซ่ึงไมไดปรากฏไวในแบบและขอบเขตงาน ใหผูรับจางดําเนินการแกไขปรับปรุงงานกอสรางใน

เบื้องตนกอน เชน ปรับตําแหนงบอพัก ปรับแนวและระดับทอรอยสาย โดยตองไดรับความเห็นชอบ

จากการไฟฟานครหลวงกอนดําเนนิการกอสราง การไฟฟานครหลวงจะพิจารณาเพ่ิม–ลดงาน เพ่ิม–ลด

เงิน และขยายระยะเวลากอสรางตามปริมาณงานและขอเท็จจรงิ

4) ในกรณีที่ไมสามารถแกไขงานกอสรางตามขอ 3) ได ใหผูรับจางดําเนินการประสานงานกับหนวยงาน

สาธารณูปโภคนั้นใหดาํเนนิการแกไขตําแหนงหรือแนวสาธารณูปโภคนั้น โดยการไฟฟานครหลวงจะจาย

คางานในการดําเนนิการแกไขใหกบัหนวยงานสาธารณูปโภคนั้นๆ ตอไป โดยพิจารณาขยายระยะเวลา

กอสรางตามขอเท็จจริง

ในกรณีท่ีหนวยงานสาธารณูปโภคนั้นไมสามารถดําเนินการได หรือไมสามารถดําเนินการไดทันการ ผูรับจางจึงสามารถดําเนินการแกไขตําแหนงหรือแนวสาธารณูปโภคได โดยตองไดรับความเห็นชอบการดําเนินการแกไขตําแหนงหรือแนวสาธารณูปโภคจากหนวยงานสาธารณูปโภคนัน้ๆกอน การไฟฟานครหลวงจะพิจารณาเพ่ิม–ลดงาน เพ่ิม–ลดเงิน และขยายระยะเวลากอสรางตามปริมาณงานและขอเท็จจริง

5) ในกรณีท่ีตําแหนงบอพักและแนวทอรอยสายไฟฟาใตดินพบสิ่งกีดขวางท่ีไมคาดคิดและไมไดปรากฏไวใน

แบบและขอบเขตงานซ่ึงไมสามารถแกไขงานกอสรางตามขอ 3) ได ใหผูรับจางดําเนินการแกไขปรับปรุง

งานกอสราง โดยการรื้อยายสิ่งกีดขวางท่ีไมคาดคิด ตองไดรับความเห็นชอบจากการไฟฟานครหลวงกอน

ดําเนินการกอสราง การไฟฟานครหลวงจะพิจารณาเพ่ิม–ลดงาน เพ่ิม–ลดเงิน และขยายระยะเวลา

กอสราง ตามปริมาณงานและขอเท็จจริง

1.2 1) ผวิจราจรถาวร หมายถึง ผวิจราจรถาวรชนดิแอสฟลท ผวิจราจรถาวรชนดิคอนกรีต ผวิจราจรถาวรชนิด

คอนกรีตปูทับดวยแอสฟลทและทางเทา

งานซอมผวิจราจรถาวร

2) ในกรณีท่ีสถานท่ีกอสรางจริงพบวาประเภทและปริมาณงานของผวิจราจรถาวร ไมเปนไปตามท่ีระบุไวใน

สญัญา การไฟฟานครหลวงจะพิจารณาการเพ่ิม–ลดงาน เพ่ิม–ลดเงิน และขยายเวลากอสราง ตาม

ปริมาณและขอเท็จจริง

1.3 ในกรณีท่ีพบวาสภาพชั้นดินบริเวณกอสรางบอพักเปนดินออนมาก (Very Soft Clay) ทําใหเกิดพฤติกรรม

การอูดของดิน (Heave) ขณะจมบอพักฯ (ในกรณีท่ีกอสรางบอพักโดยวิธีจมบอหรือวิธีอ่ืนใด) ผูรับจางตองเสนอวิธีปองกัน หรือแกไขโดยการเพ่ิมงานปรับปรุงคุณภาพดิน (Soil Improvement) หรือการเพ่ิมชิ้นสวนบอพัก (Manhole Segment) หรือวิธีอ่ืนท่ีเหมาะสม ซ่ึงจะตองพิจารณาจากคุณสมบัติดินบริเวณนั้นๆ และการคํานวณดานวิศวกรรม โดยตองไดรับความเห็นชอบจากการไฟฟานครหลวงกอนดําเนินการกอสราง การไฟฟานครหลวงจะพิจารณา การเพ่ิม–ลดงาน เพ่ิม–ลดเงินคากอสราง และขยายเวลากอสรางตามปริมาณงานและขอเท็จจรงิ

สภาพชั้นดินบริเวณกอสรางบอพักเปนดินออนมาก ( Very Soft Clay )

การคํานวณคาความปลอดภยัของการอูดของดนิเนื่องจากการขุด ใหใชสูตรการคํานวณดังนี้

F.S. = Nc

เม่ือ F.S. คือ อัตราสวนความปลอดภัย (ตองไมนอยกวา 1.2)

Page 5 MP6-8903-WDX

ขอกําหนดเฉพาะงาน สย. พลับพลา

Nc คือ Bearing capacity factor C คือ The cohesion of the clay = ½ Unconfined compressive strength คือ Unit weight of soil above the bottom of excavation

h คือ The depth of excavation q คือ Uniform surcharge load on the area surrounding the shaft

การคํานวณดังกลาวอาจใชสูตรการคํานวณอ่ืนท่ีเหมาะสม ตามหลักวิชาการ โดยตองไดรับความเห็นชอบจากการไฟฟานครหลวง 1.4

ทราย หมายถึงดนิเม็ดหยาบท่ีผานตะแกรงเบอร 200 นอยกวา 50 % เม่ือทดสอบการจําแนกประเภทดนิตามวธิขีอง Unified Soil Classification System (USCS)

สภาพชั้นดินบริเวณกอสรางบอพักเปนทราย

ในกรณีท่ีพบวาสภาพชั้นดินบริเวณกอสรางบอพักเปนทรายทําใหน้ําใตดินซึมผานเขามาในขณะจมบอพักฯ(ในกรณีทีก่อสรางบอพักโดยวิธีจมบอหรือวิธีอ่ืนใด) ผูรับจางตองเสนอวิธีการปองกันหรือแกไขโดยการเพ่ิมงานปรับปรุงคุณภาพดิน ( Soil Improvement ) หรือวิธีอ่ืนท่ีเหมาะสม ซ่ึงจะตองพิจารณาจากคุณสมบัติดินบริเวณนัน้ๆ และการคํานวณดานวศิวกรรม โดยตองไดรับความเห็นชอบจากการไฟฟานครหลวงกอนดาํเนนิการกอสราง การไฟฟานครหลวงจะพิจารณาการเพ่ิม–ลดงาน เพ่ิม–ลดเงินคากอสราง และขยายเวลากอสรางตามปริมาณงานและขอเท็จจริง

2. งานเตรียมพ้ืนท่ี 2.1 สํารวจ, วางผัง, ทําระดับและกําหนดขนาดและทิศทางการกอสรางใหเหมาะสมและถูกตองตามแบบ

แปลนและรายการ 2.2 ปรับระดับดินใหไดคาระดับตามแบบแปลน 2.3 รื้อถอนตนไมและอุปสรรคตางๆท่ีกีดขวางในพ้ืนท่ีกอสราง โดยใหขนวัสดุท่ีรื้อถอนออกจากบริเวณพ้ืนท่ี

กอสราง 2.4 จัดแบงเขตการกอสรางและทํารั้วชั่วคราวเพ่ือก้ันพ้ืนท่ีกอสรางใหชัดเจน รวมท้ังใหมีการปองกันความเสียหาย

และปองกันมลภาวะท่ีจะกระทบตอสถานท่ีขางเคียง 3. งานอาคาร

3.1 ทําการกอสรางฐานรากดวยเสาเข็มเจาะชนิดเปยก ขนาดเสนเสนผานศูนยกลาง 0.80 ม. ตามท่ีแสดงในแบบ และขอกําหนดดานโยธา

3.2 กอสรางอาคารสถานยีอย ซ่ึงเปนอาคารคอนกรตีเสรมิเหลก็ และโครงสรางเหลก็ 3 ชัน้ พรอมดาดฟา ประกอบดวยสวนหลักๆ ดังนี้ - ชั้นท่ี 1 ประกอบดวย Cable Room, Guard House, Pressure Tank Room และคอกหมอแปลง

4 ชุด - ชั้นท่ี 2 ประกอบดวย 115 kV. GIS Room, 24 kV. GIS Room และ Control Room ซ่ึงผูรับจาง

ตองออกแบบและกอสรางคานและพ้ืนคสล.ตลอดจนชองเปดพ้ืนหอง 115 kV. GIS รวมถึงการติดตั้ง Steel Base Plate ท่ีถูกตองตรงตามแบบรายละเอียดชองเปดพ้ืนของยี่หออุปกรณท่ีติดตั้งจริง โดยตองสามารถรับน้ําหนักของอุปกรณไดอยางปลอดภัย ท้ังนี้ตองสงให กฟน. พิจารณากอนดําเนินการ (สําหรับชองเจาะท่ีแสดงในแบบเปนเพียงตัวอยางเพ่ือประกอบการคิดราคาเทานั้น)

- ชั้นท่ี 3 ประกอบดวย AC/DC & Charger Room, Battery Room, Capacitor Room และ Pantry

- ชั้นดาดฟา

Page 6 MP6-8903-WDX

ขอกําหนดเฉพาะงาน สย. พลับพลา

3.3 จดัทําระบบ Grounding ในพ้ืนดินและในพ้ืนอาคารแตละชั้น 3.4 จัดหาและติดตั้ง Wall Mounted Slewing Jib Crane ขนาด 2 ตัน สําหรับขนอุปกรณเขาอาคาร จํานวน

1 ชุด, จัดหาและติดตั้ง 3-direction Electric Overhead Crane ขนาด 3 ตัน สําหรับการบํารุงรักษา 115 kV GIS จาํนวน 1 ชดุ ท้ังนี้ Crane ดังกลาวขางตนจะตองติดตั้งอุปกรณพรอมเครื่องหมายใหสัญญาณตางๆใหครบถวนตามประกาศคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจสัมพันธ เรื่อง ความปลอดภัยในการทํางานเก่ียวกับปนจั่น

3.5 จดัหาและทาสีเรืองแสงแสดงแนวทางหนีไฟท่ีพื้นและผนังตามเสนทางหนีไฟภายในอาคารทุกชัน้ 3.6 กอสรางทอรอยสายสําหรับสาย Fiber optic ขนาด 110 มม. HDPE 3 ชุด ทอรอยสายสําหรับ

สายโทรศัพทขนาด 110 มม. HDPE 1 ชดุและทอรอยสายสําหรับสายไฟแรงต่ําขนาด 110 มม. HDPE 1 ชุด พรอมปกเสาคอนกรีตอัดแรงสูง 8.5 ม. 2 ตนท่ีปลายทอดานนอกอาคาร (การไฟฟานครหลวงเปนผูจัดหาเสาโดยผูรับจางเปนผูเบิกและขนสง) ชุดทอสําหรับ Fiber optic และทอโทรศัพทใหทิง้ปลายทออีกดานไวใน Cable Room และใหจัดหาและติดตั้ง Cable Tray เพ่ือเดินสาย Fiber optic และสายโทรศัพทในอนาคตไปเชื่อมกับอุปกรณท่ีเก่ียวเนื่องท่ี Control Room สวนชุดทอสําหรับสายไฟฟาแรงต่ําใหจัดหาและติดตั้ง Cable Tray เพ่ือเดินสายไฟฟาแรงต่ําไปเชื่อมกับ AC Panel NO.2 ท่ี AC/DC Room

3.7 จัดหาและติดตั้งปายชื่อหองและกลองเก็บกุญแจ 3.8 กอสรางฐานหมอแปลงจํานวน 4 ฐาน พรอมติดตั้ง Hook ในคอกหมอแปลง 3.9 กอสรางโครงเหล็ก Terminator ในคอกหมอแปลงท้ัง 4 ชุด 3.10 กอสราง Platform สําหรับติดตั้ง Station Service Transformer จาํนวน 2 ชดุพรอมกอสราง Cable Trench ไป

ยัง Cable Room สําหรับจายไฟใหตัวอาคารสถานียอย (การไฟฟานครหลวงเปนผูจดัหาเสา 6.15 เมตรจาํนวน 4 ตน Concrete Platform 4.5 ตนั จาํนวน 2 ชุด โดยผูรับจางเปนผูเบิกและขนสงไปยังสถานท่ีกอสราง)

3.11 จัดหาและติดตั้งระบบปองกันฟาผาสําหรับอาคารสถานียอย 3.12 ออกแบบพรอมจดัหาและตดิตัง้โครงเหลก็รบัสายอากาศชนดิโครงเหลก็สาน Self Support สงู 4 เมตร บรเิวณ

ดาดฟา จํานวน 1 ชุด พรอมเสาลอฟา 1 ชุด เชื่อมตอกับระบบลอฟาของอาคารพรอมจัดหาและติดตั้ง Cable Tray ขนาด 30x10ซม. จากเสาโครงเหล็กไปยังชองเจาะท่ีใกลท่ีสุดเพ่ือไปยัง Control Room และหาวิธีปองกันมิใหน้ําเขาและเชื่อมตอโครงเหล็กรับสายอากาศเขากับระบบ Grounding

3.13 จัดหาและติดตั้งมูลี่ท่ีกระจกใน Control Room ทุกบาน 3.14 กอสรางและติดตั้งสวนประกอบอ่ืนๆท่ีเก่ียวของพรอมจัดหาครุภัณฑตามแบบ 3.15 กอสราง Guard House จํานวน 1 หลัง 3.16 จัดหาและติดตั้งผนังปดหนาคอกหมอแปลง คอกท่ี1 และคอกท่ี 2 จํานวนรวม 2 ชุด

4. งานถนน, ประต,ู รั้ว และงานดานภูมิสถาปตย 4.1 กอสรางถนนและลาน ค.ส.ล. โดยรอบสถานยีอย, ลานหนิคลกุและลานแอสฟลตบริเวณท่ีกําหนดในแบบ 4.2 กอสรางรั้วรอบสถานียอยและติดตั้งประตูทางเขาสถานียอย พรอมท้ังเชื่อมตอประตูและรั้วเขากับระบบ

Grounding ดวย 4.3 กอสรางถนนทางเชื่อมกับถนนภายในสถานียอย 4.4 ซอมแซมถนนและรางระบายน้ําท่ีเสียหายจากการขุดหรืองานกอสรางอาคารใหคงสภาพเดิมพรอม

ปรับปรุงสิ่งแวดลอมภายในบริเวณรอบอาคารใหเปนไปตามแบบ

Page 7 MP6-8903-WDX

ขอกําหนดเฉพาะงาน สย. พลับพลา

5. งานกอสรางบอพักและทอรอยสายไฟใตดิน สําหรับสถานีพลับพลา การไฟฟานครหลวงมีวัตถุประสงคจะทําการกอสรางบอพักและทอรอยสายไฟฟาใตดินรวมกับโครงการกอสราง

อาคารสถานียอยพลับพลา ถนนพระราม 9 และถนนประดิษฐมนูธรรม ดวยวิธี Pipe Jacking, Open Cut และ Horizontal Directional Drilling โดยกอสรางตามแบบเลขท่ี 05A1-74PPL20 Sh. 1-2, 6-8, S1 – S3, K1 และ 05A4-74PPL21 Sh.1S-7S, 1N-3N, 1-1, 2-1, 6-1, 7-1, 8-1, 8-2, 8-3, 9-1, 9-2 และ 05A4-62BAT21 Sh.1-5, 7-10 และ 05A4-62SS21 Sh.95 ดังมีรายละเอียดท่ีผูรับจางจะตองดําเนินการ ดังนี้

5.1 ขอกําหนดท่ัวไป 5.1.1 สํารวจพ้ืนท่ีกอสราง,วางแผนการกอสรางและแกไขอุปสรรคตางๆ ในการกอสรางใหสําเร็จลุลวง 5.1.2 อุปสรรคใดๆ ท่ีแสดงไวในแบบและรายการเปนการกําหนดตําแหนงไวโดยประมาณ ผูรับจาง

ตองทําการสํารวจโดยละเอียดกอนทําการกอสราง หากตําแหนงของอุปสรรคมีการคลาดเคลื่อนไปจากแบบผูรับจางมีหนาท่ีตองแกไขโดยไมคิดคาใชจายเพ่ิม

5.1.3 หากมีอุปสรรคใดๆ ก็ตามท่ีไมสามารถกอสรางตามแบบได ใหผูรับจางจัดทําแบบแสดงรายละเอียดของอุปสรรคและการแกไขรายละเอียด พรอมดวยรายการคํานวณเสนอขอความเห็นชอบจาก การไฟฟานครหลวง เพ่ือพิจารณาอนุมัติกอนการกอสรางโดยท่ีผูรับจางตองรับผิดชอบคาใชจายในการแกไขอุปสรรคตางๆ ท่ีเกิดข้ึนเหลานั้นจะเรียกรองเพ่ิมเติมจากการไฟฟานครหลวงมิได

5.2 ขอกําหนดเฉพาะงาน 5.2.1 กอสรางบอพักสายไฟฟาใตดิน (MH.) คอนกรีตเสริมเหล็ก (คสล.) จํานวน 19 บอ ดังนี้

(1.) ตําแหนงของบอพักสายไฟฟาใตดิน ใหผูรับจางดําเนินการสํารวจอุปสรรคในการกอสรางและ

นาํเสนอการไฟฟานครหลวง เพ่ือพิจารณาใหความเหน็ชอบกอนดาํเนนิการกอสราง (2.) ในกรณีกอสรางทอรอยสายไฟฟาใตดิน ดวยวิธีดันทอ (Pipe Jacking) ใหผูรับจางออกแบบ

โครงสรางของ บอพักสายไฟฟาใตดิน พรอมสงแบบรายละเอียดและรายการคํานวณเสนอให การไฟฟานครหลวง พิจารณาเหน็ชอบกอนทําการกอสราง โดยมีขนาดภายในไมนอยกวาท่ีแสดง

ลําดับ หมายเลขบอพัก ชนดิของบอพัก จํานวนบอ(บอ)

หมายเหตุ

1 2 3 4 5 6 7 8

1S 2S 3S,5S,6S 4S 1N,2N 7S,3N,1-1,2-1, 8-1,8-2,8-3, 9-1,9-2 7-1 6-1

L-1/1 L-1/1E

L/J O/J T/J A/J

B-3/2S B-3/2C

1 1 3 1 2 9 1 1

- ผูรับจางเปนผูออกแบบโครงสราง (MH.3S,4S,5S,6S,7S,1N,2N,3N,1-1,2-1,7-1, 8-1,8-2,8-3,9-1 และ 9-2) เสนอ กฟน. พิจารณาอนุมัติโดย MH.7S,1-1,2-1,8-3,9-2 และ 3N ใหกอสรางฝาปดเพดานบอพักเปนชนิดยกเปดออกไดสวนบอพักอ่ืนๆ ใหกอสรางตามแบบมาตรฐานของ กฟน.

รวมจํานวนบอพักท้ังส้ิน 19

Page 8 MP6-8903-WDX

ขอกําหนดเฉพาะงาน สย. พลับพลา

ไวในแบบ Development Sheet ของแตละบอพักสายไฟฟาใตดิน โดยบอพักสายไฟฟาใตดิน จะมี 3 ฝา และติดตั้งบันไดทางข้ึนลงบริเวณผนังก่ึงกลางบอพักสายไฟฟาใตดิน ตามแบบเลขที่ DWG.NO. 9247 R_SE 8360 0562C Sh. 01

(3.) ในกรณีกอสรางทอรอยสายไฟฟาใตดินดวยวิธีขุดเปด (Open Cut) ใหผูรับจางกอสรางบอพักสายไฟฟา ใตดินตามแบบมาตรฐานของการไฟฟานครหลวง ยกเวนกรณีนอกเหนือจากแบบมาตรฐานของการไฟฟานครหลวง ใหผูรับจางออกแบบโครงสรางตลอดจนรายละเอียดตางๆ ของบอพักสายไฟฟาใตดิน พรอมท้ังสงแบบและรายการคํานวณเสนอให การไฟฟานครหลวง พิจารณาใหความเห็นชอบกอนดําเนินการกอสราง

5.2.2 การกอสรางทอรอยสายไฟฟาใตดิน ดวยวิธี Pipe Jacking (1) การดันทอคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยทอท่ีใชตองมีคุณสมบัติตามบทท่ี 3 ของขอกําหนด

มาตรฐานงานกอสรางบอพักและทอรอยสายไฟฟาใตดิน ดังมีรายละเอียดตอไปนี้

(2) ทําการติดตั้งทอรอยสายไฟฟาใตดินในทอคอนกรีตเสริมเหล็กท่ีดัน พรอมทําการ Grout

Mortar หุมทอรอยสายไฟฟาใตดินใหเต็ม โดยทอรอยสายไฟฟาใตดินท่ีใชในการกอสรางตองมีคุณสมบัติตามบทท่ี 2 และบทท่ี 3 ของขอกําหนดมาตรฐาน งานกอสรางบอพักและทอรอยสายไฟฟาใตดิน มีรายละเอียดปริมาณงานดังนี้

ลําดับ ขนาดทอ คสล.ท่ีใชดัน จาก ความลึก (เมตร)

ไป ความลึก (เมตร)

ความยาวทอ คสล. ท่ีใชดัน (เมตร)

1 2 3 4 5 6 7

φ ภายใน 1.50 เมตร φ ภายใน 1.50 เมตร φ ภายใน 1.50 เมตร φ ภายใน 1.50 เมตร φ ภายใน 1.50 เมตร φ ภายใน 1.50 เมตร φ ภายใน 1.50 เมตร

MH.3S MH.4S MH.5S MH.2N MH.2N MH.3S MH.6S

4.00 5.00 7.00 6.00 7.00 4.00 4.00

MH.4S MH.5S MH.2N MH.1N MH.3N MH.6S MH.7S

4.00 6.00 7.00 5.00 7.00 4.00 4.00

52.00 47.00 46.00 13.00 126.00 2.00

114.00

รวมความยาวทอ คสล. ท่ีใชดันท้ังส้ินประมาณ 400.00

ลําดับ ขนาดทอ คสล.ท่ีใชดัน จาก ความลึก (เมตร)

ไป ความลึก (เมตร)

ความยาวทอ คสล. ท่ีใชดัน (เมตร)

1 2 3

φ ภายใน 1.20 เมตร φ ภายใน 1.20 เมตร φ ภายใน 1.20 เมตร

MH.8-1 MH.8-2 MH.9-1

6.00 4.00 4.00

MH.8-2 MH.8-3 MH.9-2

5.00 4.00 4.00

133.00 154.00 116.00

รวมความยาวทอ คสล. ท่ีใชดันท้ังส้ินประมาณ 403.00

Page 9 MP6-8903-WDX

ขอกําหนดเฉพาะงาน สย. พลับพลา

5.2.3 ทําการกอสรางทอรอยสายไฟฟาใตดินหุม คสล. (ตามตําแหนงในแบบท่ีอางถึงขางตน) ดวยวิธี Open Cut โดยทอรอยสายไฟฟาใตดินท่ีใชในการกอสรางจะตองมีคุณสมบัติตามบทท่ี 2 และบทท่ี 3 ของขอกําหนดมาตรฐานการกอสรางบอพักและทอรอยสายไฟฟาใตดิน มีรายละเอียดปริมาณงานดังนี้

ลําดับ จาก ไป ความยาวทอรอยสายไฟฟาใตดินท่ีติดตั้งในทอคอนกรีต

(เมตร) ชนดิ 24 ทอ ชนดิ 18 ทอ

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

MH.3S MH.4S MH.5S MH.2N MH.2N MH.3S MH.6S MH.8-1 MH.8-2 MH.9-1

MH.4S MH.5S MH.2N MH.1N MH.3N MH.6S MH.7S MH.8-2 MH.8-3 MH.9-2

52.00 47.00 46.00 13.00 126.00 2.00

114.00 - - -

- - - - - - -

133.00 154.00 116.00

รวมความยาวท้ังส้ินประมาณ 400.00 403.00

Page 10 MP6-8903-WDX

ขอกําหนดเฉพาะงาน สย. พลับพลา

5.2.4 ทําการกอสรางทอรอยสายไฟฟาใตดิน ดวยวิธี Horizontal Directional Drilling พรอมท้ัง

ติดตั้งทอรอยสายไฟฟาใตดินท่ีใชในการกอสราง จะตองมีคุณสมบัติตามบทท่ี 2 และบทท่ี 3 ของขอกําหนดมาตรฐานงานกอสรางบอพักและทอรอยสายไฟฟาใตดิน มีรายละเอียดและปริมาณ ดังตอไปนี้

ลาํดับ จาก ไป ความยาวทอรอยสายไฟฟาใตดนิ (เมตร)

24 ทอ 22 ทอ 20 ทอ 18 ทอ 8 ทอ 6 ทอ 3 ทอ 2 ทอ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17

Cable Trench No.1 Cable Trench No.2 Cable Trench No.3

MH.1S MH.2S MH.1N

MH.1N

MH.10 (Ext.) MH.8-1 MH.9-1 MH.1-1 MH.1-1

MH.2 (Ext.) MH.2-1 MH.2-1 MH.6-1 MH.5S

MH.6S MH.3S MH.1S MH.2S

Stub (MH.7-1) Riser Optic Fiber,

Riser BAT-695 Riser Optic Fiber,

Riser PPL-441 Stub (MH.10 Ext.)

Riser PPL-411 Stub (MH.8 Ext.) Stub (MH.9 Ext.) Stub (MH.1 Ext.) Riser PPL-432

Riser Tie Line (2), (3) Riser PPL-414, 443 Stub (MH.2 Ext.) Stub (MH.6 Ext.) MH.7-1 และเช่ือม

DB. เดิม

81.00 67.00 5.00 48.00

- - - - - - - - - - - - -

- - - - - -

19.00 - - - - - - - - -

10.00

- - - - - -

23.00 - - - - - - - - - -

- - - -

15.00 -

16.00 -

8.00 14.00 15.00

- - -

15.00 15.00

-

- - - - -

19.00 - - - - - - - - - - -

- - - - -

23.00 - - - - - - - - - -

20.00

- - - - -

20.00 - - - - - - - - - - -

- - - - -

10.00

20.00

2.00 - - -

4.00 6.00 13.00

- - -

รวมความยาวท้ังสิน้ประมาณ 201.00 29.00 23.00 98.00 19.00 43.00 20.00 55.00

ลําดับ จาก ไป ความยาวทอรอยสายไฟฟาใตดิน (เมตร)

ชนดิ 2 ทอ 1 2 3 4 5 6 7

MH.6S MH.3N MH.7S MH.9-2 M.8-3

MH.95 (Ext.) MH.6-1

Riser PPL-421 Riser PPL-445

Riser PPL-431, 444 Riser PPL-423 & Riser Tie Line 24kV (2) Riser PPL-412 & Riser Tie Line 24kV (1) Riser PPL-424 & Riser Tie Line 24kV (3)

Riser PPL-433

33.00 100.00 85.00 65.00 118.00 54.00 42.00

รวมความยาวท้ังส้ินประมาณ 497.00

Page 11 MP6-8903-WDX

ขอกําหนดเฉพาะงาน สย. พลับพลา

(1) ใหผูรับจางดําเนินการปรับปรุงคุณภาพดิน บริเวณรอบทอรอยสายไฟฟาใตดิน ท่ีกอสราง

โดยวิธี Horizontal Directional Drilling ชวงท่ีเขาบอพักสายไฟฟาใตดินเพ่ือปองกันไมใหเกิดการทรุดตัวของผิวจราจรโดยใช Cement Grouting โดยใหผูรับจางเสนอรายละเอียดและวิธีการดําเนินการเสนอขอความเห็นชอบจาก กฟน. กอนดําเนินการ

5.2.5 การกอสรางทอรอยสายไฟฟาใตดิน ใหกอสรางขามหรือลอดใตสาธารณูปโภคไปข้ึน Riser Pole 12, 24 kV และ 69, 115 kV โดยใหข้ึนอยูกับเง่ือนไขของแตละหนวยงานและขอกําหนดของการไฟฟานครหลวง

5.2.6 ทําการสกัดทอรอยสายไฟฟาใตดินเดิม ชนิด 22 ทอ ความยาวประมาณ 16.00 เมตร ออกจํานวน 1 แนว เพ่ือกอสรางบอพัก MH.7-1 และเชื่อมตอทอรอยสายไฟฟาใหมเขากับทอรอยสายไฟฟาเดิม (กอนดําเนินการจุดนี้ผูรับจางฯ โปรดแจง กฟน. ลวงหนา เพ่ือ กฟน. ดําเนินการรื้อยาย Cable ใตดิน Tie Line SV-426 ออกจากทอรอยสายไฟฟาใตดินเดิม)

5.2.7 ทําการสกัดทอรอยสายไฟฟาใตดินเดิม ชนิด 18 ทอ ความยาวประมาณ 16.00 เมตร ออกจํานวน 1 แนว เพ่ือกอสรางบอพัก MH.8-1 และเชื่อมตอทอรอยสายไฟฟาใหมเขากับทอรอยสายไฟฟาเดิม

5.2.8 บริเวณท่ีกอสราง MH.8-1 และ MH.9-1 Type A/J มีทอประปาขนาด ∅200 มม. วางอยู คาดวาตองทําการรื้อยายชั่วคราว ท้ัง 2 บอพัก โดยผูรับจางติดตอประสานงานและรับผิดชอบคาใชจาย

5.2.9 บริเวณท่ีกอสราง MH.5S และ MH.7-1 อยูในสวนพรรณภิรมย คาดวาตองทําการรื้อยายตนไมขนาด ∅ 30 cm. จํานวน 10 ตน และจัดทําการแตงสวนพรรณภิรมย ใหคืนสูในสภาพเดิม โดยผูรับจางติดตอประสานงานและรับผิดชอบคาใชจาย

5.2.10 การกอสรางทอรอยสายไฟฟาใตดิน ชนิด 24 ทอ จาก Cable Trench No.1 ถึง MH.6S ใช

เสาเข็มขนาด 6''×6 เมตร จํานวนประมาณ 160 ตน

5.2.11 การกอสรางทอรอยสายไฟฟาใตดิน ชนิด 24 ทอ จาก Cable Trench No.2 ถึง MH.3S ใช

เสาเข็มขนาด 6''×6 เมตร จํานวนประมาณ 132 ตน

5.2.12 การกอสรางทอรอยสายไฟฟาใตดิน ชนิด 24 ทอ จาก Cable Trench No.3 ถึง MH.1S ใช

เสาเข็มขนาด 6''×6 เมตร จํานวนประมาณ 8 ตน

5.2.13 การกอสรางทอรอยสายไฟฟาใตดิน ชนิด 24 ทอ จาก MH.1S ถึง MH.2S ใชเสาเข็ม ขนาด

6''×6เมตร จํานวน ประมาณ 122 ตน

5.2.14 ทําการติดตั้งฐานเสา, เสาเข็ม, ปกเสาคอนกรีต 22 เมตร จํานวน 2 ตน พรอมจัดหาและติดตั้งชุด โครงสรางเหล็กรับ Terminator 115kV ตามแบบเลขท่ี A1-1073 Sh. No.S-01, A-02 จํานวน 1 ชุด พรอมกอสราง ทอ Riser ชนิด 3 ทอ สําหรับสายสง 115kV หุมดวยคอนกรีตเสริมเหล็ก รวมจํานวน 2 จุด โดยทอ Elbow ท่ีใชในการกอสรางจะตองมีคุณสมบัติตามบทท่ี 2 ของขอกําหนดมาตรฐานการกอสรางบอพักและทอรอยสายไฟฟาใตดินสําหรับขนาดและชนิดทอ Elbow ท่ีใชตองเปนขนาดและชนิดเดียวกันกับทอรอยสายไฟฟาใตดินพรอมปดฝาทอ Riser สวนตําแหนงเสา กฟน. จะกําหนดใหขณะกอสราง ท้ังนี้ ผูรับจางตองแจงจํานวนเสาไฟฟา, ฐานเสาไฟฟาและเสาเข็มท่ีจําเปนตองใชให กฟน. ทราบภายใน 45 วัน หลังจากเริ่มงานตามสัญญา

Page 12 MP6-8903-WDX

ขอกําหนดเฉพาะงาน สย. พลับพลา

5.2.15 ทําการติดตั้งปกเสาคอนกรีต 12 เมตร สําหรับสายปอน PPL-411, PPL-414, PPL-423, PPL-445 จํานวน 4 ตน พรอมกอสรางทอ Riser ชนิด 2 ทอ สําหรับสายปอน 24kV หุมดวยคอนกรีตเสริมเหล็กจํานวน 20 จุด โดยทอ Elbow ท่ีใชในการกอสรางจะตองมีคุณสมบัติตามบทท่ี 2 ของขอกําหนดมาตรฐานการกอสรางบอพักและทอรอยสายไฟฟาใตดิน สําหรับขนาดและชนิดทอ Elbow ท่ีใชตองเปนขนาดและชนิดเดียวกันกับทอรอยสายไฟฟาใตดิน พรอมปดฝาทอ Riser สวนตําแหนงเสา กฟน. จะกําหนดใหขณะกอสราง ท้ังนี้ ผูรับจางตองแจงจํานวนเสาไฟฟาท่ีจําเปนตองใชให กฟน. ทราบภายใน 45 วัน หลังจากเริ่มงานตามสัญญา

5.2.16 ทําการ Test ทอรอยสายไฟฟาใตดินเดิม ดังนี้ 1. ชนิด 2 ทอ จาก MH.10 (Ext.) ไป Riser PPL-411 ความยาวประมาณ 19.00 เมตร 2. ชนิด 22 ทอ จาก MH.7 (Ext.) ไป Stub บริเวณสวนพรรณภิรมย ความยาวประมาณ

38.00 เมตร 3. ชนิด 18 ทอ จาก MH.10 (Ext.) ไป Stub ความยาวประมาณ 57.00 เมตร 4. ชนิด 18 ทอ จาก MH.7-1 ไป Stub บริเวณสวนพรรณภิรมย ความยาวประมาณ 62.00

เมตร 5. ชนิด 2 ทอ จาก MH.1 (Ext.) ไป Riser PPL-422 ความยาวประมาณ 54.00 เมตร และ

ไป Riser Tie Line 24kV (1) ความยาวประมาณ 45.00 เมตร 6. ชนิด 18 ทอ จาก MH.1 (Ext.) ไป Stub ความยาวประมาณ 50.00 เมตร 7. ชนิด 2 ทอ จาก MH.2 (Ext.) ไป Riser Tie Line 24kV (2) ความยาวประมาณ 55.00

เมตร และไป Riser Tie Line 24kV (3) ความยาวประมาณ 45.00 เมตร 8. ชนิด 18 ทอ จาก MH.2 (Ext.) ไป Stub ความยาวประมาณ 52.00 เมตร 9. ชนิด 18 ทอ จาก MH.6 (Ext.) ไป Stub ความยาวประมาณ 45.00 เมตร 10. ชนิด 18 ทอ จาก MH.9 (Ext.) ไป Stub ความยาวประมาณ 163.00 เมตร 11. ชนิด 18 ทอ จาก MH.8 (Ext.) ไป Stub ใตทางดวน ความยาวประมาณ 102.00 เมตร

5.2.17 ทําการซอมผิวจราจร (ชั่วคราว, ถาวร) ทางเทาและคันหินกลับคืนสูสภาพเดิม (กอนการกอสราง) ตามรายละเอียดดังนี้

1. ซอมผิวจราจรชั่วคราวดวย Asphalt 2. ซอมผวิการจราจรถาวรดวยคอนกรีตเสริมเหลก็ โดยใชคอนกรีตแข็งตัว 24 ชม. สําหรับการ

จัดซอมถนนท่ีจําเปนตองคืนผิวจราจรโดยเร็ว 3. ซอมผิวจราจรถาวรดวยคอนกรีตเสริมเหล็ก (แข็งตัว 7 วัน) 4. ซอมผิวการจราจรถาวรดวย Asphalt 5. ซอมทางเทาดวยวัสดุ ชนิดเดิมหรือกลมกลืนกับสภาพเดิม 6. ซอมคันหิน 7. จัดทําและติดตั้ง Cable Route Marker ตามแบบเลขท่ี UG-9-1-012 Sh.1-5 8. และอ่ืนๆ

อนึ่ง การจัดซอมผิวจราจรดวยคอนกรีตเสริมเหล็ก ใหอยูในดุลพินิจของผูควบคุมงานกอสรางของการไฟฟานครหลวง เปนผูพิจารณาจะใชคอนกรีต ชนิดแข็งตัวเร็ว 24 ชม. หรือแข็งตัวเร็วท่ี 7 วนั ในการจัดซอมและตองเปนไปตามขอกําหนดของหนวยงานเจาของพ้ืนท่ีดวย 5.2.18 อุปกรณท่ีการไฟฟานครหลวงจัดหาใหดังนี้

Page 13 MP6-8903-WDX

ขอกําหนดเฉพาะงาน สย. พลับพลา

1. Manhole Frame & Cover 840 mm. 2. Manhole Frame & Cover 900 mm. With accessories (water seal) 3. Manhole Entrance Step φ 19 mm. 4. Pulling Iron φ 22-25 mm. 5. Anchor Bolt φ 5/8”x 6” สําหรับบอพักธรรมดา 6. Expansion Bolt φ 5/8” (Stain less Steel) สําหรับบอพักแบบ Pipe Jacking 7. Ground Rod Copper Clad φ 5/8”x 2.40 m. 8. ฝาปดทอ Riser 24, 69, 115 kV สําหรับการกอสรางดวยวิธีขุดเปด 9. Steel Hook For Manhole 10. Cable Route Marker Type A&B 11. เสาไฟฟาคอนกรีต ขนาด 22 เมตร พรอมฐานเสาและเสาเข็ม 12. เสาไฟฟาคอนกรีต ขนาด 12 เมตร

โดยจัดใหตามจํานวนท่ีใชจริง ซ่ึงผูรับจางเปนผูเบิกและขนวัสดุเหลานี้จากการไฟฟานครหลวงไปยังท่ีกอสราง คาใชจายในการนี้เปนของผูรับจางท้ังสิ้น วัสดุอ่ืนนอกเหนือจากท่ีกลาวนี้ ผูรับจางตองจัดหาเองท้ังสิ้น ท้ังนี้หากผูรับจางไมประสงคท่ีจะใชอุปกรณท่ีการไฟฟานครหลวงจัดหาให (ตามรายการดังกลาวขางตน) ขอใหผูรับจางเสนอรายละเอียดของอุปกรณนั้นๆ ใหการไฟฟานครหลวงพิจารณาใหความเห็นชอบกอนดําเนินการติดตั้ง โดยผูรับจางเปนผูรับผิดชอบคาใชจาย ท่ีเกิดข้ึนท้ังสิ้นจะเรียกรองจากการไฟฟานครหลวงมิได

อนึ่ง ความสูญหายและความเสียหายใดๆ ท่ีเกิดข้ึนกับวัสดุหลังจากท่ี ผูรับจางไดรับไปจากการไฟฟานครหลวง ผูรับจางตองชดเชยใชคาเสียหายท่ีเกิดข้ึนทุกประการ 5.2.19 การจัดทําแบบรายละเอียด (Shop Drawing) และแบบกอสรางจริง (As-built Drawing)

สําหรับกอสรางบอพักและทอรอยสายไฟฟาใตดิน กอนดําเนินการกอสรางงานตามสัญญานี้ ผูรับจางตองศึกษารายละเอียดแบบบอพักและทอรอยสายไฟฟาใตดินไปพรอมกับสาธารณูปโภคขางเคียงและอ่ืนๆ กรณีมีอุปสรรคไมสามารถกอสรางตามแบบ(Shop Drawing) ไดใหผูรับจางออกแบบรายละเอียดการแกไข (จัดทําแบบ 2 หนา แบบเดิมและแบบแกไข) โดยมีตนฉบับพรอม สําเนารวม 8 ชุด (อาจมีการเปลี่ยนแปลงไดตาม ความเหมาะสม) เสนอขอความเห็นชอบจากการไฟฟานครหลวง กอนดําเนินการกอสรางและเม่ือกอสรางเสร็จจะตองจัดทําแบบกอสรางจริง (As-built Drawing) โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1) ผูรับจางจะตองสํารวจ ถนน ตรอก ซอย สะพาน คลอง อาคาร สิ่งปลูกสราง และระบบสาธารณูปโภค อ่ืนๆ ตามจริง ใหครอบคลุมพ้ืนท่ีกอสรางบอพักและทอรอยสายไฟฟาใตดิน เพ่ือประกอบการจัดทําแบบแสดงการกอสราง

2) ผู รับจางตองประสานงานกับหนวยงานสาธารณูปโภคอื่นที่เกี ่ยวของ เพื่อขอขอมูลมาจัดทําแบบโดยการไฟฟานครหลวงจะออกหนังสือขอความรวมมือแจงหนวยงานสาธารณูปโภคนั้น ใหผูรับจางนําไปดําเนินการ

3) แบบ Key Map จะตองแสดง - จาํนวน ชนดิ ความยาวของทอรอยสายไฟฟาใตดิน - หมายเลข ชนิด ตําแหนงของทอรอยสายไฟฟาใตดิน - ชือ่ ถนน ตรอก ซอย สะพาน คลอง อาคาร สิง่ปลกูสราง

Page 14 MP6-8903-WDX

ขอกําหนดเฉพาะงาน สย. พลับพลา

- สัญลักษณและคําอธิบายตางๆท่ีเก่ียวของ - แสดงตําแหนงทิศเหนือ,ทิศทางของถนนท่ีจะไป โดยมีลูกศรชี้ - Scale ตามความเหมาะสม - กระดาษใชขนาด A-1

4) แบบ Plan ของบอพักและทอรอยสายไฟฟาใตดินจะตองแสดง - จํานวน ชนิด ความยาว แนว และระดับของทอรอยสายไฟฟาใตดินตามที่ไดกอสราง

จรงิ ระยะอางอิง Center Line DB. Scale 1:500 - ตาํแหนงของเสา Riser มีระยะอางอิง, หลกั กม. (Sta) - คาพิกัด GPS ใชมาตรฐานเดียวกับแผนท่ี GIS ของการไฟฟานครหลวงเทานั้น

(Indian Datum 1975) โดยระบุตําแหนงอยางนอย 3 จดุ อยางเหมาะสม - หมายเลข ชนิด ระดับตําแหนงของบอพักสายไฟฟาใตดิน และระยะอางอิง,กม. (Sta) - หมายเลข ฝาปดบอพัก (Serial No.) - ชื่อ ถนน ตรอก ซอย สะพาน คลอง อาคารริมถนน 2 ฝง สิ่งปลูกสรางชนิด ขนาด

แนว และระดับของสาธารณูปโภคอ่ืนๆ ท้ังหมดท่ีเก่ียวของ - Profile ของแนวบอพักและทอรอยสายไฟฟาใตดินและตําแหนงของสาธารณูปโภค

ท้ังหมดคาระดับหลังทอหรือหลัง DB. - Scale H = 1:500 V = 1:100 - กระดาษใชขนาด A-1

5) แบบรูปตัดของแนวบอพักและทอรอยสายไฟฟาใตดินจะตองแสดง - รูปตัดของแนวบอพักและทอรอยสายไฟฟาใตดินท่ีตําแหนงตางๆใหครบถวน - รูปตัดของแนวบอพักและทอรอยสายไฟฟาใตดิน หลบแนวสาธารณูปโภคตางๆ - รปูตดัอ่ืนๆตามความเหมาะสม,ใหแสดงทอสาธาณูปโภคอ่ืนดวย - Scale 1:100 หรอืตามความเหมาะสม - กระดาษใชขนาด A-1 (โดยอาจรวมไวในแผน Plan ก็ได)

6) แบบแสดง Development Sheet ของบอพักสายไฟฟาใตดินจะตองแสดง - ขนาดของบอพัก - Duct Section - ตําแหนงทอรอยสายไฟฟาใตดิน,มีระยะอางอิง - ความลกึคอบอ - แบบอางอิงท่ีเก่ียวของท้ังหมด - Scale 1:75,1:100 หรอืตามความเหมาะสม - กระดาษใชขนาด A-4

เมื่องานกอสรางแลวเสร็จผูรับจางจะตองจัดทํา As-built Drawing ซึง่ประกอบดวยกระดาษไข 1 ชุด CD-R จํานวน 3 แผน, พิมพขาวจํานวน 3 ชุด และ USB Removable ขนาดความจุไมนอยกวา 2GB ทีมี่ขอมูล As-built ท่ีเขียนโดย Auto Cad 2006 ข้ึนไปจํานวน 1 ชุด โดยสงสําเนาถายพิมพขาวใหการไฟฟานครหลวงพิจารณาเห็นชอบกอนและสงชุดจริงตาม กอนจะรับเงินคางานงวดสุดทาย

Page 15 MP6-8903-WDX

ขอกําหนดเฉพาะงาน สย. พลับพลา

บัญชีแบบ

ลาํดับ ท่ี

รายการ แบบเลขท่ี แผนท่ี จาํนวน แผน

1 แบบแสดงแนวกอสรางบอพักและทอรอยสายไฟฟาใตดิน

แบบของฝายออกแบบและควบคุมงาน การไฟฟานครหลวง

สถานีพลบัพลา ถนนพระราม 9 และถนนประดษิฐมนูธรรม

05A1-74PPL20

1-2,6-8,S1-S3,K1

9

2 แบบแสดง Development Sheet แสดงการจดัหนาตางทอรอยสายไฟฟา ใตดินและแสดงความลึกภายในบอพักสายไฟฟาใตดินหมายเลข 1-1,2-1, 6-1,7-1,8-1,8-2,8-3,9-1,9-2,1N-3N,1S-7S,95

05A4-74PPL21

05A4-62SS21

1-1,2-1,6-1,7-1,8-1, 8-2,8-3,9-1,9-2, 1N-3N,1S-7S

9S

30

3 แบบแสดง Legend & Abbreviation of Duct Bank 08A3-20-1281 2 Rev.3 1 4 ขอกําหนดท่ัวไปของการกอสรางบอพักสายไฟฟาใตดิน UG-2-001 1 ยกเวนขอ 2 1 5 ขอกําหนดท่ัวไปของการกอสรางทอรอยสายไฟฟาใตดิน 10A4-0400 1-5 5 6 แบบ Pulling Iron และการฝงกับผนังดานใน สาํหรบัแขวนรอกดงึสายและ

แบบการตดิ Manhole Entrance Step ท่ีคอบอ UG-2-210 1 Rev.1-

3 Rev.1 3

7 แบบแสดงการฝง Anchor Bolt ท่ีผนังบอหรือ Cable Trench ดานในผนัง (สําหรับติด Cable Rack)

UG-2-220 (ใชเฉพาะ Fig 1 เทาน้ัน)

1 Rev.2 1

8 แบบแสดงตาํแหนง Anchor Bolt, Ground Rod, Pulling Iron ในบอพัก TYPE A/J

10A4-0531 1 Rev.1, 2-5

5

9 แบบแสดงตาํแหนง Anchor Bolt, Ground Rod, Pulling Iron ในบอพัก TYPE T/J

10A4-0533 1 Rev.1,2, 3 Rev.1,4-6

6

10 แบบแสดงตาํแหนง Anchor Bolt, Ground Rod, Pulling Iron ในบอพัก TYPE L-1/1

UG-2-120 1-3 3

11 แบบแสดงตาํแหนง Anchor Bolt, Ground Rod, Pulling Iron ในบอพัก TYPE B-3/2C

UG-2-110 1 1

12 Cap For RTRC Conduit 10A4-0437 1 1 13 Manhole Entrance Reinforcement UG-2-260 1-2 2 14 Pulling Iron for Manhole and Hand hole UG-8-012 1 1 15 แบบตาํแหนง Cable ใตดิน (Cable Route Marker) UG-9-012 1,2Rev.1,3Rev.1, 4

Rev.1, 5Rev.1 5

Page 16 MP6-8903-WDX

ขอกําหนดเฉพาะงาน สย. พลับพลา

6. งานระบบไฟฟา

จัดหาและติดตั้งระบบไฟฟาแสงสวาง, เตารับไฟฟาภายในและภายนอกสถานียอย, ระบบสัญญาณเตือนอัคคีภัย (Fire Alarm System) ระบบโทรศัพท ระบบสื่อสารและระบบอ่ืนๆท้ังนี้อุปกรณไฟฟา, สวิตซ, เตารับ และตู Panel ติดผนังตางๆบริเวณชั้น 1 ติดตั้งสูงจากระดับถนนอยางนอย 1.5 เมตร

6.1 จัดหาและติดตั้ง AC Panel No.2 และเดินสายเมนจาก AC Panel No.2 ไปยงัเสา 8.50 เมตร Concrete Pole ท่ีรั้วของสถานี (มิเตอรจัดหาและติดตั้งโดยการไฟฟานครหลวง) เพ่ือรองรับ External Source โดยใหเดินสายเมนไปในทอรอยสายฯ พรอมท้ิงปลายสายตามท่ีไดแสดงในแบบ

6.2 จัดหาและติดตั้งตู CB with enclosure จํานวน 2 ชุด โดยติดตั้ง (CB BOX , สําหรับการบํารุงรักษาหมอแปลง) ในชั้นท่ี 1 บริเวณคอกหมอแปลง และบริเวณหนาอาคารจุดท่ี 2 (CB BOX , สําหรับการติดตั้งปมน้ําฉุกเฉิน) พรอมเดินสายเมนไปท่ี AC/DC Room ชั้น 3 ของอาคารเพ่ือตอเขากับ A/C Panel No.2

6.3 จัดหาและติดตั้งตู LP1, LP2, LP3, LP1S, ELP และตูอ่ืนๆตามแบบ 6.4 จัดหาและติดตั้งดวงโคม, สวิตซ, เตารับและ circuit breaker ตามรูปแบบและรายการท่ีกําหนด 6.5 จัดหาและติดตั้งระบบสัญญาณเตือนอัคคีภัย (Fire Alarm System) ตามรปูแบบและรายการท่ีกําหนด 6.6 จัดหาและติดตั้งระบบ PABX พรอมหัวเครื่องโทรศัพทสําหรับติดตอภายในอาคารและปอมยาม 6.7 จัดหาและติดตั้งระบบ Public Address (ระบบกระจายเสียง) 6.8 เดินสายโทรศัพทพรอมท้ังกอสรางทอรอยสายโทรศัพท/สาย Optical Fiber/สายไฟฟาแรงต่ําจาก

External Source ใตดินตามแบบ 6.9 จัดหาและติดตั้งระบบโทรศัพทจํานวน 2 คูสายจากบริษัท ทศท. คอรปอเรชั่น จํากัด(มหาชน) โดยผูรับ

จางรับผิดชอบคาใชจายและคาธรรมเนียมท้ังหมด รวมท้ังเครื่องโทรศัพทจํานวน 1 ชุดใน Control Room โดย 1 คูสายใชสําหรบัระบบโทรศัพทพรอมดําเนินการเชื่อมตอเขากับระบบโทรศัพทท่ีดําเนินการโดยผูรับจาง และ 1 คูสายใชสําหรับระบบ Remote Setting พรอมเดินสายโทรศัพทจากตู TTB ใน

ลาํดับ ท่ี

รายการ แบบเลขท่ี แผนท่ี จาํนวน แผน

16 แบบแสดงการจดัหนาตางทอรอยสายไฟฟาใตดินวิธี Pipe Jacking UG-4-003 1 Rev.1 of 6 1

17 แบบแสดงการจดัเรียงหมายเลขทอรอยสายไฟฟาใตดินภายในทอ Pipe Jacking

UG-4-004 1 Rev.1, 2 Rev.1

2

18 แบบมาตรฐานการตดิตั้งแผนพ้ืนคอนกรีตเสริมเหล็กบริเวณท่ีมีการกอสรางบอพักสายไฟฟาใตดิน

A1-1035 1 1

19 แบบตดิตั้งบันไดทางข้ึนลงบรเิวณผนังก่ึงกลางบอพักสายไฟฟาใตดินและมีชานพัก

9247 R_SE 8360 0526C

01 1

20 แบบแสดงการตอสายกราวด สําหรับบันไดและชานพัก ในบอพักสายไฟฟาใตดนิ แบบ Pipe Jacking

UG-10-009 1 1

21 แบบโครงสรางบอพักสายไฟฟาใตดิน Type B-3/2C 08A1-207/2 1-2 2 22 แบบโครงสรางบอพักสายไฟฟาใตดิน Type L-1/1 08D-127/1 1 1 23 แบบโครงสรางบอพักสายไฟฟาใตดิน Type L-1/1E 08A1-127/1H S-1 1 24 แบบโครงสรางเหล็กรองรับชุด Terminator 115 kV A1-1073 A-01, A-02 2 25 แบบฐานเสาและเสาเข็มสาํหรบัเสา Riser 69/115 kV A3-476/1 1-2 2

รวมแบบทั้งสิ้น จํานวน 88

Page 17 MP6-8903-WDX

ขอกําหนดเฉพาะงาน สย. พลับพลา

Control Room มาไวท่ี 24 kV. Control & Control Board ใน Control Room และท่ี 115 kV. Relay & Control Board ใน Control Room

6.10 จัดหาและติดตั้งกระดิ่งสัญญาณ โดยติดตั้งสวิตซอยูท่ีหนาประตูดานหนาสถานียอยและกระดิ่งสัญญาณอยูท่ี Guard Room และ Control Room

6.11 จัดหาและติดตั้งทอ IMC ขนาด ½ นิ้ว พรอมรอยสายโทรศัพทชนิด 4 core 0.65 mm. จาก 24 kV. GIS Room ในระดับความสูง 1.5 เมตรของผนังดานหนาไปยังใต Access floor ของ Control Room โดยปลายท้ังสองดานจะใสไวใน Box พรอมติดตั้ง AC outlet ขนาด 10A จํานวน 1 จุด ไวใต Access floor ของ Control Room

7. งานระบบปรับอากาศและระบบระบายอากาศ จัดหาและติดตั้งเครื่องปรับอากาศและพัดลมระบายอากาศภายในสถานียอยตามแบบและรายละเอียดใน

ขอกําหนดดานระบบปรับอากาศและระบบระบายอากาศ 8. งานระบบประปาและสุขาภิบาล

กอสรางและติดตั้งระบบประปาและสุขาภิบาลตามขอกําหนด โดยมีขอบเขตดังนี้ ระบบประปา

1) ดําเนินการขอมิเตอรน้ําขนาด ¾ นิ้วจากการประปานครหลวง ท้ังนี้ผูรับจางเปนผูรับผิดชอบคาใชจายและคาธรรมเนียมท้ังหมด

2) จัดหาและติดตั้งถังเก็บน้ําบนดิน Stainless Water Container ความจ ุ2,500 ลติร จํานวน 1 ชุด พรอมติดตั้งสายดินเขากับระบบ Grounding

3) จัดหาและติดตั้งถังเก็บน้ําบนดาดฟาอาคาร Stainless Water Container ความจ ุ2,000 ลติร จํานวน 1 ชุด พรอมติดตั้งสายดินเขากับระบบ Grounding

4) จัดหาและติดตั้งเครื่องปมน้ํา พรอมแผงควบคุมอัตโนมัติจํานวน 1 ชุด 5) จัดทําระบบประปาจากมิเตอร ,ระบบทอน้ําดี , ทอน้ําท้ิง , ทออากาศและทอน้ําโสโครกตางๆบอ

บําบัดน้ําท้ิงและบอบําบัดไขมัน งานระบบสุขาภบิาล

1) จัดหาและติดตั้ง Septic Tank ของอาคารและปอมยาม 2) กอสรางระบบระบายน้ํารอบสถานีและเชื่อมตอกับระบบระบายน้ําสาธารณะพรอมบริเวณสําหรับ

ติดตั้ง Submersible Pump ดูดระบายกรณีน้ําทวม 3) จดัทําระบบระบายน้าํในคอกหมอแปลง No.1,No.2,No.3 และ No.4 โดยมี Submersible Pump ขนาด 200

ลติร/นาที จาํนวน 1 ชุด พรอมแผงควบคุมท้ังระบบ manual/auto พรอม alarm ไปยังหองควบคุม สําหรับดูดน้ําจาก Common Sump ซ่ึงรับน้ําท่ีขังในคอกหมอแปลงท้ัง 4 ชดุ ลงสูรางระบายน้าํ (แตละคอกหมอแปลงและ Cable Trench ตอเชื่อมไปยัง Common Sump โดยใชทอ HDPE ขนาด 6 นิ้ว )

4) จดัทําระบบระบายน้าํใน Cable Trench No.1, No.2, No.3 และ Cable Trench ดานหลงัคอกหมอแปลงโดยมี Submersible Pump ขนาด 75 ลติร/นาที จาํนวน 3 ชุด พรอมแผงควบคุมท้ังระบบ manual/auto พรอม alarm ไปยังหองควบคุม สําหรับดูดน้ําจาก Common Sump ซ่ึงรับน้ําท่ีขังใน Cable Trench ลงสูรางระบายน้าํ (แตละ Cable Trench ตอเชื่อมไปยัง Common Sump โดยใชทอ HDPE ขนาด 6 นิ้ว )

9. งานสวนประกอบอ่ืนๆ

- จดัหาและดาํเนนิการกอสรางสวนประกอบอ่ืนๆ ตามขอบเขตท่ีระบุไวในแบบและรายการ - ในกรณีที่ขอบเขตงานไมไดระบุไวแตมีในแบบใหดําเนินการกอสรางตามแบบใหครบถวน

Page 18 MP6-8903-WDX

ขอกําหนดเฉพาะงาน สย. พลับพลา

- สิ่งท่ีปรากฏในแบบ ไมวาจะเปนในสวนของแบบ หรือ รายละเอียดของแบบตอรายการ มีความขัดแยงกัน ใหถือสิ่งท่ีดีระหวางแบบ หรือรายการเปนเกณฑเสมอไป

- สิ่งท่ีไมปรากฏในแบบแปลน หรือรายการ แตเปนงานท่ีจําเปนตองดําเนินการ ใหสวนของงานนั้นๆเสร็จสมบูรณ ตามหลักวิชาชางท่ีดี ถือวาผูรับจางตองดําเนินการ

- การกอสรางใดๆผูรับจางตองสํารวจปญหาอุปสรรคและกําหนดแนวทางวางแผนงานการกอสรางใหชัดเจน สงใหการไฟฟานครหลวงพิจารณาตรวจสอบกอนดําเนินการ

- ผูรับจางจะตองทํา Shop Drawing ใหการไฟฟานครหลวงพิจารณาตรวจสอบกอนดําเนินการ

- ในกรณีท่ีมีแบบขัดแยงกันหรือไมชัดเจนใหแจงการไฟฟานครหลวงพิจารณาตรวจสอบกอนดําเนินการ

ขอกําหนดงานโยธา

สําหรับ

งานกอสรางอาคารสถานยีอย พรอมสวนประกอบ

Page 1

ขอกําหนดงานโยธา-Wet

สารบัญ หนา 1. การควบคุมคุณภาพ 2 2. งานเตรียมพ้ืนท่ีและงานดิน 3 3. การวางผังและการกําหนดระดบั 3 4. งานเสาเข็มท่ัวไป 4 5. เสาเข็มเจาะแบบเปยก (Wet Process) 5 6. งานฐานราก 7 7. งานคอนกรีต 7 8. งานเหล็กเสริมคอนกรีต 12 9. งานเหล็กรูปพรรณ 13 10. งานซอม 14 11. ขอกําหนดสําหรับการกอสรางทางเช่ือมถนนสาธารณะ 14 12. ขอกําหนดของ Tower Crane 14

Page 2

ขอกําหนดงานโยธา-Wet

1. 1.1 ขอบขาย การควบคุมคุณภาพนี้ หมายถึงการควบคุมท้ังในสถานท่ีกอสราง และในหองปฏิบัติการ

ทดลองเพ่ือควบคุมการใชวัสดุกอสรางใหมีคุณสมบัติทางวิศวกรรมเปนไปตามท่ีไดกําหนดไว และเพ่ือควบคุม

คุณภาพของงานกอสราง อันหมายรวมถึงฝมือชาง รูปลักษณะสิ่งกอสราง ความม่ันคงแข็งแรง และวิธีการทํางาน

ใหเปนไปอยางถูกตอง แลวเสร็จตามหลักวิชาการ แบบรูป รายการ และสัญญา

การควบคุมคุณภาพ

1.2 การทดลองคุณสมบัติของวัสดุ เปนหนาท่ีของผูรับจางจะตองจัดเตรียมและนําสงเพ่ือการตรวจสอบ

คุณภาพของวสัด ุโดยนาํสงใหสถาบนัของทางราชการทําการทดสอบและใหสถาบันนัน้สงผลการทดสอบท้ังหมดใหการ

ไฟฟานครหลวงทราบโดยตรง คาใชจายในการนี้ท้ังสิ้น ผูรับจางเปนผูรับผิดชอบ

1.3 วัสดุกอสรางทุกชนิด ท้ังวัสดุธรรมชาติและผลิตภัณฑอ่ืนๆ จะตองมีคุณสมบัติตามท่ีกําหนดไว หามนํา

วัสดุท่ียังไมไดผานการทดสอบวามีคุณภาพใชไดไปใชในงานกอสรางเปนอันขาด กอนท่ีผูรับจางจะลงมือทําการ

กอสรางจะตองสงตัวอยางวัสดุตางๆ เพ่ือทําการทดสอบเสยีกอน และการทดสอบจะตองไดเกณฑตามท่ีกําหนดไว จึง

จะถือวาวัสดุนั้นๆ มีคุณสมบัติใชได

1.4 การเก็บตัวอยางเพ่ือสงทดสอบ ใหผูควบคุมงานของการไฟฟานครหวงเปนผูสุมชี้เพ่ือเก็บตัวอยางตอ

หนาผูแทนของผูรับจาง และหนาท่ีในการเก็บตัวอยางเปนของผูรับจาง

1.5 การนําสงวัสดุเพ่ือทดสอบ ใหผูควบคุมงานของการไฟฟานครหลวงเปนผูสงวัสดุตาง ๆ โดยผูรับจาง

จะตองรับภาระ ในการจดัหายานพาหนะนาํสงถึงสถานท่ีทําการทดสอบ ตามปริมาณกําหนด การสงวัสดุเพ่ือทําการ

ทดสอบใหเปนไปตามตารางการจดันําสงวัสดุ แตการสุมตัวอยางเพ่ือทดสอบ อาจจะทํามากกวานี้ก็ได ถาผูควบคุม

งานของการไฟฟานครหลวงเห็นสมควร

ตารางการจัดนําสงวัสดุ

วัสดุ ปริมาณ กําหนดการจัดเตรียมและนําสง การบรรจ ุหิน 40 ลิตร กอนใชงานและทุกครั้งท่ีสั่งมาใชงานทุก

ประเภท ถุงหรือลังไมหรือลังโลหะ

ทราย 40 ลิตร เชนเดียวกับหิน เชนเดียวกับหิน คอนกรีต 6 กอน ตามงาน

คอนกรีต ทุกวันท่ีเทคอนกรีตโครงสราง ถังไมหรือถังโลหะ มีทราย

ละเอียดหุมกอน คอนกรีตโดยรอบ

เหล็กเสริม

ขนาดละ3 ทอน ยาว

กอนใชงานและแตละครั้งท่ีสั่งมาใช ทุกๆ ขนาด

ผกูขนาดละมัด ๆ ละ 3 ทอน

คอนกรีต ทอนละ 0.90 ม.

Page 3

ขอกําหนดงานโยธา-Wet

1.6 การทดสอบช้ันทรายถมท่ี ลูกรัง และช้ันหินคลุก 1.6.1 ชั้นทรายถมท่ีตองทําการทดสอบความแนนในการบดอัดอยางนอย 1 จุด ตอพ้ืนท่ี 400 ตาราง

เมตร และทุกเศษของ 400 ตารางเมตรของแตละชั้น จํานวนจุดท่ีตองทําการทดสอบอาจจะมากกวานี้ก็ได ถาผูควบคุมงานของการไฟฟานครหลวงเห็นสมควร

1.6.2 ชั้นลูกรังตองทําการทดสอบความแนนในการบดอัดอยางนอย 1 จุด ตอพ้ืนท่ี 200 ตารางเมตร และทุกเศษของ 200 ตารางเมตรของแตละชั้น จํานวนจุดท่ีตองทําการทดสอบอาจจะมากกวานี้ก็ได ถาผูควบคุมงานของการไฟฟานครหลวงเห็นสมควร

1.6.3 ชั้นหินคลุก จํานวนจุดท่ีผูรับจางตองทําการทดสอบเชนเดียวกับขอ 1.6.2 2.

2.1 งานเตรียมพ้ืนท่ี ผูรับจางจะตองดําเนินการถากถาง รื้อถอน และขนยายวัสดุท่ีไมเก่ียวของกับการกอสรางออกไปท้ิงนอกเขตการไฟฟานครหลวง เวนแตสิ่งท่ีใหสงวนไวผูรับจางจะตองระวงัอยาใหเกิดเสียหายได วัสดุท่ีไดจากการถากถางหรือขุดซ่ึงเหมาะจะใชเปนดินผิวใหแยกกองเก็บไว เพ่ือนําไปใชเปนดินผิวในการปลูกตนไมหรือปลูกหญาตอไป ในกรณีท่ีมีการถมดินลึกนอยกวา 1.00 เมตร รากไมหรือตอไมที่มีขนาดเสนผาศูนยกลางใหญกวา 5 ซม. จะตองเอาออกไป

งานเตรียมพ้ืนท่ีและงานดิน

2.2 งานดิน ผูรับจางจะตองดําเนินการหลังจากท่ีไดเตรียมพ้ืนท่ีเสร็จเรียบรอย โดยการปรับระดับพ้ืนท่ีดวยวัสดุท่ีไดกําหนดไวจนถึงระดับท่ีไดกําหนดไวในแบบรูปและรายการ

2.2.1 วัสดุท่ีใชในการถม 1) ดินท่ีนํามาใชตองปราศจากก่ิงไม รากไม และวัชพืชอ่ืนๆ ถาเปนดินกอนใหญตองทําให

แตกเสียกอน 2) ทรายท่ีนํามาใชตองปราศจากอินทรียวัตถุ โคลน เลน ก่ิงไม รากไม และวัชพืชอ่ืนๆ ท่ีจะ

ทําใหเกิดโพรงภายหลัง โดยใหถือคําวินิจฉัยของการไฟฟานครหลวงเปนท่ีสิ้นสุด 2.2.2 วิธีการถม

1) การถมดิน ใหถมเปนชั้นๆ หนาไมเกินชั้นละ 25 ซม. ในกรณีท่ีจะตองถมดินลงในบอหรือคูท่ีมีน้ําขังอยู ผูรับจางจะตองทําการสูบน้ําออกใหหมดเสียกอน และกําจัดวัชพืชโคลนเลน ออกใหหมดเสียกอน

2) การถมทราย จะตองทําคันดินโดยรอบทุกดานสูงไมนอยกวาระดับท่ีกําหนดความกวางของสันดินไมนอยกวา 1.00 ม. เอียงลาดดานนอกไมนอยกวา 1:1.5 การถมใหถมไดหนาชั้นละไมเกิน 30 ซม. และกําจัดวัชพืช โคลน เลน ออกใหหมดเสียกอน

2.2.3 การบดอัดแนน ใหถือเกณฑดังนี้.- 1) งานกอสรางอาคาร บดอัดแนนไมนอยกวา 85% MOD.AASHO 2) งานถนนและลาดจอดรถ ค.ส.ล. ใหถือวางานดินเปนงานชั้นรองราก (Sub Base) บดอัด

แนนไมนอยกวา 90% MOD.AASHO 3) งานถนนและลานจอดรถผิวลูกรัง, แมคคาดัม และแอสพัลทติกคอนกรีต ใหถือวางาน

ดินเปนงานชั้นพ้ืนฐานทาง (Sub Grade) บดอัดแนนไมนอยกวา 90% MOD.AASHO 3.

3.1 การไฟฟานครหลวง จะเปนผูก ําหนดขอบเขตพ้ืนท่ี และระดับอางอิงให โดยผูรับจางจะตองเปนผูดําเนิน การจดัทําหมุดหลักฐานและแผนผังอางอิงไวใชงานตลอดการกอสราง

การวางผังและการกําหนดระดบั

3.2 ผูรบัจางจะตองทําการวางผงัสิ่งกอสรางตามสัญญา และการไฟฟานครหลวงจะไปตรวจสอบและ อนุมัติกอนเริ่มดําเนินการกอสราง

3.3 การทําผัง การทําระดับ การวางแนวตําแหนงฐานเสาหรือเสาเข็ม และการสาํรวจโดยท่ัวไปเปนหนาท่ีของผูรับจางตองจัดทําเองท้ังสิ้น ใหถูกตองตามแบบแปลนท่ีกําหนดโดยใชกลอง Level หรอื Theodolite และตองใชกลองนี้

Page 4

ขอกําหนดงานโยธา-Wet

ในการหาระดับและแนวดิ่งทุกครั้งการวางผังท่ีผูรับจางทําเสร็จแลวนี้ตองไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจการจางของการไฟฟานครหลวง แลวจึงดําเนินการข้ันตอไปได การไฟฟานครหลวงมีสิทธิ์ยาย หรือเปลี่ยนแปลงผังใหเปนไปอยางอ่ืนไดเพ่ือใหงานนั้นดําเนินไปดวยดี แตมิใชงานประเภทเพ่ิมเติม 4.

4.1 ขอบขาย งานนี้ใชบังคับสําหรับงานเสาเข็มท่ัวไป นอกจากรายการประกอบแบบเฉพาะที่จะ ระบุเปนอยางอ่ืน

งานเสาเข็มท่ัวไป

4.2 เสาเข็มคอนกรีต 4.2.1 เสาเข็มคอนกรีตตองมีคุณสมบัติถูกตองตามมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม (มอก.) และ/

หรือ เปนชนิดท่ีสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมรับรอง ความยาว ขนาด และความสามารถในการรับน้ําหนักปลอดภัยใหดูตามแบบ กําหนดโดยมีคาตัวคูณความปลอดภัยเทากับ 2.5

4.2.2 วัสดุตางๆ ท่ีใชในการหลอเสาเข็ม สวนผสมของคอนกรีต ตลอดจนการปฏิบัติจะตองเปนไปตามงานคอนกรีตและคอนกรีตเสริมเหล็ก งานคอนกรตีอัดแรงและงานเหล็กเสริมคอนกรีต

4.2.3 คากําลังอัดประลัยของคอนกรีตจะตองเปนไปตามท่ีรายการกําหนด แตตองไมนอยกวาคาท่ี ไดกําหนดไวใน มอก. ของเสาเข็มคอนกรีตประเภทนั้น ๆ

4.2.4 เสาเข็มตองตรงไมบิดเบี้ยว แตกราว หรือรูปรางเปลี่ยนแปลงไปจากแบบ ภายหลังจากการ ถอดแบบจากโรงงานและขนสงไปถึงท่ีกอสราง

4.2.5 เสาเข็มคอนกรีตตองเปนอยางท่ีระบุไวในแบบรูปและสัญญาหรือเทียบเทา ผูรับจางจะตองสงแบบรายละเอียดเก่ียวกับการคํานวณออกแบบ และการควบคุมคุณภาพของเสาเข็มมาใหการไฟฟานครหลวงตรวจสอบและรับรองเสียกอนจึงนําไปใชได และเสาเข็มคอนกรีตตองมีอายุไมนอยกวา 14 วัน

4.2.6 เสาเข็มทุกตนตองมีวันท่ีท่ีหลอ เขียนหรืออัดพิมพไวในเนื้อคอนกรีตใหอานไดชัดเจนและตอง ไดรับการตรวจสอบ จากวิศวกรผูควบคุมงานของการไฟฟานครหลวงเสียกอนจึงจะนําไปตอกได เสาเข็มตนใดท่ีตรวจดูแลวมีคุณภาพไมดี ไมไดขนาด ไมถูกตองตามแบบ ผูรับจางตองหาเสาเข็มตนใหมมาทดแทนโดยไมมีขอโตแยง และคาใชจายใด ๆ ท่ีเกิดข้ึนเปนของผูรับจางท้ังสิ้น

4.2.7 เสาเข็มท่ีผานการรับรองใหใชไดแลว หากปรากฏภายหลังวามีคุณสมบัติดอยลงไปกวาท่ีกําหนดในรายการนี้ ผูรับจางจะตองจัดการแกไข หากแกไขไมไดเปนหนาท่ีของผูรับจาง ท่ีจะตองเปลี่ยน เสาเข็มใหมีคุณสมบัติถูกตองตามขอกําหนดในงานนี้ หากมีคาใชจายใด ๆ ท่ีเพ่ิมข้ึนใหเปนภาระของผูรับจาง

4.3 การตอกเสาเข็ม 4.3.1 การตอกเสาเข็มคอนกรีต เสาเข็มท่ีหลอสําเร็จแลวตองไมทําการตอก จนกวาคอนกรีตมีกําลัง

อัดประลัยไมนอยกวาท่ีกําหนดไวในรายการคํานวณเสาเข็ม และเสาเข็มคอนกรีตตองมีอายุไมนอยกวา 14 วัน สวนการตอกตองใชความระมัดระวังไมใหเกิดความเสียหายแกเสาเข็ม ความคลาดเคลื่อนสําหรับเสาเข็มท่ีตอกตรงในแนวดิ่ง ยอมใหคลาดเคลื่อนในทางดิ่งไมเกิน 10 มม. ตอเมตรของความยาวของเสาเข็ม หัวเสาเข็มทุกตนผิดจากตําแหนงท่ีกําหนดไวในแบบแปลนไดไมเกิน 1 ใน 6 ของความกวางของหนาตัดของเสาเข็มนั้นหากเกินจากท่ีกําหนดไวจะตองแจงการไฟฟานครหลวงทราบเพ่ือพิจารณาแกไข

4.3.2 การตอหัวเสาเข็ม ตองกะเทาะคอนกรีตออกจากเหล็กเสริมท่ีหัวเสาเข็ม โดยไมทําใหเกิดความเสียหายแกสวนท่ีอยูใกลเคียง แบบและกรรมวิธีท่ีใชตองไดรับความเห็นชอบจากการไฟฟานครหลวง

4.3.3 การตัดเสาเข็ม ตองตัดใหไดฉากกับแนวตามยาวของเสาเข็ม เครื่องตัดท่ีใชตองไดรับความเห็นชอบ จากการไฟฟานครหลวง และตองไมทําใหเกิดความเสียหายตอเสาเข็ม

4.3.4 คาใชจายและเวลาในการตัดเสาเข็มอยูในความรับผิดชอบของผูรับจาง 4.3.5 การดีดข้ึน เม่ือทําการตอกเสาเข็มเปนกลุมหรือระยะระหวางเสาเข็มใกลชิดกัน ถามีการดีด

ข้ึนของเสาเข็มนั้นๆ ตองกลับไปตอกใหลงไปอยูระดับเดิม

Page 5

ขอกําหนดงานโยธา-Wet

4.3.6 เสาเข็มท่ีตอกชํารุด ตอกผิดท่ี หรือไมไดแนว ใหถอนออกและเปลี่ยนเสาเข็มท่ีชํารุด ถาถอนออกไมไดตองตัดออกท้ิงไป และจะตองตอกเสาเข็มเพ่ิมเติมและเพ่ิมขนาดของฐานรากและ/หรือคานยึดตามความเห็บชอบของการไฟฟานครหลวง เวลาและคาใชจายท่ีเพ่ิมข้ึนจะเรียกรองตอการไฟฟานครหลวงไมได

4.3.7 ผูรับจางจะตองทํารายงานผลการตอกเสาเข็มแตละตน พรอมท้ังแบบแปลนแสดงตําแหนงเสาเข็มตนท่ีทําการตอก โดยใหปฏิบัติเปนไปตามแบบฟอรมของการไฟฟานครหลวง สงใหผูควบคุมงานของการไฟฟานครหลวงเพ่ือพิจารณาวาเสาเข็มตนนั้น ๆ จะสามารถรับน้ําหนักบรรทุกไดตามท่ีกําหนดหรือไม

4.3.8 ถาปรากฏวาเสาเข็มตอกจมลงไมถึงระดับท่ีระบุไวในแบบรูปและรายการ จะเนื่องจากชั้นดินแข็งหรือเหตุอ่ืนใด ๆ ก็ตาม ผูรับจางจะตองรีบแจงการไฟฟานครหลวงทราบทันที ขอวินิจฉัยของการไฟฟานครหลวงถือเปนเด็ดขาด ผูรับจางจะตองปฏิบัติตามโดยปราศจากเง่ือนไขใด ๆ 5.

5.1 งานเสาเข็มเจาะ เสาเข็มเจาะแบบเปยก (Wet Process)

5.1.1 เสาเข็มเจาะแบบระบบเปยก (Wet process) ขนาดเสนผาศูนยกลาง และความยาวตลอดจนความสามารถในการรับน้ําหนักปลอดภัยใหดูตามแบบกําหนด โดยมีคาตัวคูณความปลอดภัยเทากับ 2.5

5.1.2 คอนกรีตท่ีใชในงานเสาเข็มเจาะตองมีคากําลังอัดประลัยท่ีไดจากแทงกระบอกท่ี 28 วัน ตามท่ีแบบกําหนด และตองไมนอยกวา 240 กก./ตร.ซม.

5.1.3 เหล็กเสริมท่ีใชในงานเสาเข็มเจาะ สําหรับเหล็กเสนกลมใหใชเหล็กมาตรฐาน SR-24 และเหล็กขอออยใหใชเหล็กมาตรฐาน SD-40 รายละเอียดการเสริมเหล็กตามแบบกําหนด และตองเสริมเหล็กยาวตลอดความยาวของเสาเข็มเจาะ

5.2 ข้ันตอนการทําเสาเข็มเจาะแบบเปยก (Wet process) 5.2.1 การปกปลอกเหล็ก (Casing) เม่ือกําหนดตําแหนงของเสาเข็มแลวจะใชหัวเขยา ซ่ึงมีความถ่ี

ในการสั่นสะเทือนสูง และมีผลตออาคารขางเคียงนอยท่ีสุด จับท่ีขอบสองขางของ Casing โดยการเขยาของเครื่อง ซ่ึงในขณะท่ีกด Casing จะตองมีการตรวจสอบตําแหนงโดยตรวจสอบคาหนีศูนย และตรวจสอบแนวดิ่งตลอดเวลาเพ่ือให Casing นี้อยูในตําแหนงท่ีถูกตอง

5.2.2 การขุด (Drilling) จะใชเครื่องเจาะดินระบบ Rotary drill ซ่ึงเครื่องเจาะนี้จะถูกติดตั้งบนรถเครนขนาดใหญ

การขุดแบบเปยก (Wet process) การขุดแบบนี้ใชหัวเจาะแบบถัง Bucket กลาวคือ พอขุดดินแบบแหงใกลถึงชั้นทรายแลวจะตองมีการเติมสารละลายเบนโทไนทท่ีเปนตัว Stabilize ผนังรูเจาะ และกอตัวเปน Filter cake ทําหนาท่ีเคลือบผิวดินไมใหสารละลายซึมเขาไปในดินไดอีก และสารละลายท่ีใสเขาไปในรูเจาะนี้จะทําหนาท่ีตอตานแรงดันท่ีเกิ ดข้ึนภายในรูเจาะไมใหรูเจาะพังทลาย สารละลายเบนโทไนทท่ีเติมลงในรูเจาะจะตองเติมดวยความรวดเร็ว และเติมจนเกือบเต็มรูเจาะใหระดับสารละลายต่ํากวาปากรูเจาะประมาณ 2 เมตร จากนั้นก็ใชเครื่องเจาะเก็บดินจนถึงระดับท่ีตองการ หลังจากเจาะจนไดระดับแลวก็ทําความสะอาดกนหลุมโดยใช Cleaning bucket

5.2.3 การลงเหล็กเสริม (Steel cage) จะนําโครงเหล็กท่ีผูกไวเรียบรอยแลวหยอนลงไปในรูเจาะโดยการเชื่อม และโครงเหล็กนี้ตองมีเหล็กปลอกท่ีแข็งบังคับไมใหเหล็กเสียรูปในขณะท่ียกและหยอนลงไปในรูเจาะ

5.2.4 การเทคอนกรีต (Casting concrete) หลังจากทําการ ลงทอเทคอนกรีต (Tremie pipe) ลงไปจนถึงกนหลุมแลวจะตองใสเม็ดโฟมลงไปในทอเทคอนกรีต เพ่ือเปนตัวกันไมใหคอนกรีตไปรวมตัวกับสารละลายเบนโทไนทจากนั้นเทคอนกรีต และการเทคอนกรีตตองเทใหสูงกวาระดับท่ีตองการประมาณ 2 เมตร

5.2.5 การถอนปลอกเหล็กชั่วคราว หลังจากเทคอนกรีตเรียบรอยแลวจะใชรถเครนยกหัวเขยา จับท่ีขอบท้ังสองขางของ (Casing) และเขยาอยูกับท่ีสักพักแลวจึงดึง Casing ข้ึนอยางชา ๆ และตองดึง Casing ใหอยูในแนวดิ่งตลอดเวลาขณะถอน Casing เครื่องมือท่ีใชความถ่ีในการสั่นสะเทือนตองมีผลตออาคารขางเคียงนอยท่ีสุด

Page 6

ขอกําหนดงานโยธา-Wet

5.3 สารละลายเบนโทไนท (Bentonite Slurry) ผูรับจางจะตองจัดหาสารละลายเบนโทไนทท่ีมีคุณภาพดีเหมาะสมในการใชงานกับเสาเข็มเจาะโดยท่ีผง

เบนโทไนท เม่ือผสมกับน้ําแลวจะตองมีการตรวจสอบคุณสมบัติเม่ือผสมเสร็จพรอมใชงานตองอยูในเกณฑตอไปนี้ Density 1.05 – 1.10 ตัน/ลบ.ม. Viscosity 29 – 50 นาที Sand Content ไมเกิน 5% PH ระหวาง 7-11

การตรวจสอบคุณสมบัติของสารละลายเบนโทไนท (Bentonite Slurry) ขางตนจะตองทําการตรวจสอบทุกวันท่ีมีการทํางานเสาเข็มเจาะ ในระหวางท่ีเทคอนกรีตสารละลายเบนโทไนทในหลุมจะถูกแทนท่ีดวยคอนกรีตและจะลนออกมา ซ่ึงจะตองนําไปทําความสะอาดตามกรรมวิธีท่ีถูกตองตามหลักวิชาการ และนาํไปเก็บไวในท่ีเก็บเพ่ือทําการตรวจสอบคุณภาพท่ีจะนําไปใชกับเสาเข็มตนอ่ืน ๆ ตอไป

หมายเหตุ

5.4 เหล็กเสริมเสาเข็มเจาะ 5.4.1 เม่ือทําการกอสรางเสาเข็มเจาะแลวเสร็จ เหล็กเสริมท่ีโผลพนจากหัวเสาเข็มท่ีไดระดับ ตองมี

ความยาวไมนอยกวา 0.60 ม. และตองไมนอยกวาแบบกําหนด 5.4.2 รายละเอียดการเสริมเหล็กของเสาเข็มเจาะ ใหใชตามแบบรายละเอียดของเสาเข็มเจาะใน

แบบโครงสรางฐานราก 5.5 คุณสมบัติของคอนกรีตท่ีใชและการทดสอบ

คอนกรีตท่ีใชตองเปนคอนกรีตท่ีมีคุณสมบัติดังนี้ 5.5.1 ซีเมนตใหใชซีเมนตประเภท Portland Cement Type 1 ตามมาตรฐาน มอก. 15-2514 5.5.2 คอนกรีตท่ีนํามาใชในงานกอสรางเสาเข็มเจาะถาในแบบไมระบุไว กําหนดใหใชคอนกรีตท่ีมี

สวนผสมของซีเมนตไมนอยกวา 325 กก./ลบ.ม. และมีกําลังอัดประลัยท่ีอายุ 28 วัน ไมนอยกวา 240 กก./ซม.2 เม่ือทดสอบดวยตัวอยางรูปทรงกระบอกมาตรฐาน

5.5.3 คาความยุบตัวของคอนกรีตใหอยูระหวาง 15 ถึง 20 ซม. ท้ังนี้ใหใชคอนกรีตท่ีมีคายุบตัวต่ําในกรณีท่ีเทคอนกรีตลงไปสัมผัสดินโดยตรงและเพ่ือปองกันการแยกตัวของเนื้อคอนกรีตเนื่องจากการเทระยะสูงหรือขาดการตอเนื่องของคอนกรีตระหวางการเท

5.5.4 ในกรณีท่ีวิศวกรผูควบคุมงานของการไฟฟานครหลวงสงสัยวา คอนกรีตท่ีใชเทเสาเข็มตนหนึ่งตนใดมีคุณภาพไมไดตามท่ีกําหนดวิศวกรผูควบคุมงานของการไฟฟานครหลวงมีสิทธิสั่งใหทําการเจาะเอาแทงคอนกรีตของเสาเข็มตนนั้น ๆ ไปทําการทดสอบกําลังอัดหรือสั่งใหทําการทดสอบดวยวิธี Seismic Test ได คาใชจายตาง ๆ ในกรณีนั้นเปนภาระของผูรับจางท้ังสิ้น

5.5.5 ใหผูรับจางทําการทดสอบความสมบูรณของเสาเข็มโดยวิธี Seismic Test ทุกตนโดยท่ีคาใชจายและเวลาเปนภาระของผูรับจางท้ังสิ้น

5.5.6 ใหผูรับจางทําการทดสอบการแบกรับน้ําหนักของเสาเข็มในสนามดวยวิธ ีDynamic Load Test จ านวน 1 ตน นอกผงั (เฉพาะเสาเข็มเสนผาศูนยกลาง 0.80 เมตร) คาใชจายและเวลาเปนภาระของผูรับจางท้ังสิ้น

5.6 การบันทึกรายงานการทําเสาเข็ม ผูรับจางจะตองทําบันทึกรายงานการทําเสาเข็มเจาะทุก ๆ ตน และจะตองสงใหผูควบคุมงานของการ

ไฟฟานครหลวงภายใน 15 วัน หลังจากท่ีเจาะเสร็จยกเวน รายงานผลการทดสอบกําลังอัดของคอนกรีต และจะตองจัดใหมีบันทึกรายงานการทําเสาเข็มเจาะไว ณ ท่ีสํานักงานชั่วคราวบริเวณท่ีทํางานเพ่ือตรวจสอบไดอีกตางหาก 1 ชุด รายงานท่ีจะตองบันทึกมี ดังนี้

5.6.1 หมายเลขกํากับเสาเข็ม ฐานราก

Page 7

ขอกําหนดงานโยธา-Wet

5.6.2 วันท่ีเจาะ เวลาเจาะ เวลาเทคอนกรีต เวลาถอนทอชั่วคราวจนเสร็จ 5.6.3 ระดับดิน ระดับตัดหัวเข็ม ระดับปลายเสาเข็ม ความยาวของปลอกเหล็กชั่วคราว 5.6.4 ความคลาดเคลื่อนของศูนย ความเบี่ยงเบนจากแนวดิ่ง 5.6.5 รายละเอียดอุปสรรคท่ีเกิดข้ึนหรือเหตุผิดปกติตาง ๆ

5.7 การดําเนินการ ผูรับจางทําเสาเข็มเจาะ จะตองมีวิศวกรโยธาอยางนอยสามัญวิศวกรท่ีมีความรู และประสบการณใน

เรื่องของเสาเข็มเจาะและชั้นดินตาง ๆ เปนอยางดี ซ่ึงท้ังนี้จะตองผานงานดาน เสาเข็มเจาะมาแลวไมนอยกวา 3 ป ควบคุมดูแลงานอยูท่ีสถานท่ีกอสรางตลอดเวลา

5.8 ความคลาดเคล่ือน ยอมใหคลาดเคลื่อนในทางดิ่งไดไมเกินรอยละ 0.1 ตอเมตรของความยาวของเสาเข็มหัวเสาเข็มทุกตน

ผิดจากตําแหนงท่ีกําหนดไวในแบบแปลนไดไมเกิน 75 มิลลิเมตร หากเกินจากท่ีกําหนดไวจะตองแจงวิศวกรผูออกแบบของการไฟฟานครหลวงเพ่ือพิจารณาแกไข

5.9 เสาเข็มท่ีชํารุด เสาเข็มท่ีชํารุด ผิดท่ีหรือไมไดแนวใหถอนออกและเปลี่ยนเสาเข็มท่ีชํารุด ถาถอนออกไมไดตองตัดออก

และท้ิงไป หากตองทําเสาเข็มเจาะเพ่ิมตองไดรับความเห็นชอบจากวิศวกรผูออกแบบ หรือวิศวกรผูควบคุมงานของการไฟฟานครหลวงกอนเวลา และคาใชจายท่ีเพ่ิมข้ึนจะเรียกรองตอการไฟฟานครหลวงไมได

5.10 ดินและเศษวัสดุท่ีเกิดจากการทําเสาเข็มเจาะ ผูรับจางตองขนดินข้ึนรถและนําไปท้ิงท่ีนอก บริเวณท่ีกอสรางทันที

6. 6.1 ขอบขาย งานฐานรากนี้ใชบังคับสําหรับการกอสรางฐานรากท่ัวไป นอกจากรายการประกอบแบบ

เฉพาะท่ีจะระบุเปนอยางอ่ืน

งานฐานราก

6.2 การขุดดินเพ่ือทําฐานราก จะตองขุดใหไดขนาดและระดับตามแบบรูปและรายการ ตองปองกันมิใหดินพังทลายและเกิดความเสียหายใดๆ ซ่ึงอาจจะทําไดดวยการก้ันคอกหรือขุดดินลดเปนชั้นๆ ลงไป ดินท่ีขุดข้ึนจะตองนําไปกองไวใหเรียบรอยตามคําแนะนําของผูควบคุมงานของการไฟฟานครหลวง

6.3 ฐานรากบนเสาเข็ม หลุมฐานราก หรือบอกอสรางภายหลังท่ีขุดจนไดระดับ ใหผูรับจางลอกดินระหวางหัวเสาเข็มออกใหหมด และลึกลงไปไมนอยกวา 15 ซม. และใหใชวัสดุเชนทรายหรืออิฐหักกระทุงใหแนนมีความหนาไมนอยกวาตามท่ีกําหนดไวในแบบแลวจึงเทคอนกรีตสวนผสม 1:3:5 หรือตามท่ีกําหนดไวในแบบ ปลอยท้ิงไวไมนอยกวา 24 ชม.หลังจากนั้นใหวางเหล็กตะแกรงฐานรากเพ่ือทําการเทคอนกรีต

7.4 กอนเทคอนกรีต ตองสูบน้ําออกจากหลุมใหหมด และตองเก็บเศษวัสดุท่ีไมตองการออกจากแบบหลอคอนกรีตแลวทําความสะอาดและตองยึดเหล็กเสริมใหแนนกับท่ี กอนเทตองผานการตรวจและยินยอมจากผูควบคุมงานของการไฟฟานครหลวง เปนลายลกัษณอักษร 7.

7.1 ขอบขาย ใชครอบคลุมสําหรับโครงสรางของสิ่งกอสราง นอกจากรายการประกอบแบบเฉพาะท่ีจะระบุเปนอยางอ่ืน และไมครอบคลุมถึงโครงสรางของสิ่งกอสรางท่ีสัมผัสดินเค็ม หรือน้ําเค็ม

งานคอนกรีต

7.2 ปูนซีเมนต 7.2.1 ปูนซีเมนตท่ีใชในการกอสรางโครงสรางท้ังหมด ใหใชปูนซีเมนตปอรตแลนด ตามมาตรฐาน

ผลิตภัณฑอุตสาหกรรม มอก.15 เลม 1 ถาแบบหรือรายการประกอบแบบเฉพาะไมไดกําหนดวาเปนปูนซีเมนตประเภทใด ใหถือวาเปนปูนซีเมนตปอรตแลนดประเภทหนึ่ง

Page 8

ขอกําหนดงานโยธา-Wet

7.2.2 ถาจะใชปูนซีเมนตชนิดแข็งตัวเร็วในการกอสรางของโครงสราง ใหใชปูนซีเมนตปอรตแลนดประเภทสามตามมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม มอก. 15 เลม 1

7.2.3 ปูนซีเมนตบรรจุถุง จะตองเก็บไวในสถานท่ีแหง คลุมปกปดมิดชิดจากฝนและความชื้น หรือในโรงท่ีมีหลังคาคลุม มีฝาก้ันกันฝนไดดี ท่ีเก็บตองยกพ้ืนสูงกวาพ้ืนดินอยางนอย 30 ซม.

7.2.4 หามใชปูนซีเมนตท่ีเสื่อมคุณภาพโดยเด็ดขาด 7.2.5 หามใชปูนซีเมนตตางประเภทผสมคอนกรีตปนกัน หรือเทติดตอกันในขณะท่ีสวนท่ีเทไวกอน

ซ่ึงใชปูนซีเมนตตางประเภทกันยังไมแข็งตัว 7.3 ทราย ตองเปนทรายน้ําจืดท่ีหยาบ คม แข็งแกรง และสะอาด ปราศจากวัสดุอ่ืนเจือปน เชน เปลือกหอย

ดิน เถาถาน และสารอินทรียตางๆ ทรายตองมีขนาดตั้งแต 5 มม. ลดหลั่นลงไปจนถึงขนาดรูตะแกรงเบอร 100 โดยยอมใหมีสวนลอดตะแกรงเบอร 100 ไมเกิน 10% กอนใชตองรอนผานตะแกรงขนาด 5 มม.

7.4 หิน 7.4.1 หินท่ีใชตองแข็งแกรง ทนทาน เหนียว ไมผุ และสะอาดปราศจากวัสดุอ่ืนเจือปน ตองมี

รูปรางเหลี่ยมสวนแบนเรียวนอย ความถวงจําเพาะของหินไมนอยกวา 2.6 7.4.2 ขนาดของหิน (Grading)

1) หินเบอร 1 หินท่ีมีขนาดใหญสุด 20 มม. ยอมใหมีสวนคางตะแกรง 20 มม. ไดไมเกิน 2 % และมีขนาดเล็กลดหลั่นลงไปจนถึงขนาด 5 มม. และยอมใหมีสวนลอดตะแกรง 5 มม.ไดไมเกิน 5 %

2) หินเบอร 2 หินท่ีมีขนาดใหญสุด 38 มม. ยอมใหมีสวนคางตะแกรง 38 มม. ไดไมเกิน 2 % และมีขนาดเล็กลดหลั่นลงไปจนถึงขนาด 10 มม. และยอมใหมีสวนลอดตะแกรง 10 มม. ไดไมเกิน 5 %

3) กอนนําไปใชผสมคอนกรีตตองลางน้ําใหสะอาดปราศจากสิ่งสกปรกเสียกอน 7.5 น้ํา น้ําท่ีใชผสมคอนกรีตตองเปนน้ําจืด ใสสะอาด ใชดื่มได หรือน้ําประปาท่ีปราศจากน้ํามัน กรด ดาง

เกลือ และสารอินทรียตาง ๆ ซ่ึงอาจทําใหคุณภาพของคอนกรีตลดลงได 7.6 คอนกรีต

7.6.1 การเลือกสวนผสมคอนกรีตท่ีใชในงานคอนกรีตเสริมเหล็กของงานโครงสราง และเสาเข็ม ใหถือหลักดังนี้

1) ถาแบบไมกําหนดไวเปนอยางอ่ืน ใหใชคอนกรีตท่ีมีคาแรงอัดประลัยต่ําสุดไมนอยกวา 240 กก./ตร.ซม. เม่ือทดสอบ ดวยแทงคอนกรีตรูปทรงกระบอกมาตรฐาน เสนผาศูนยกลาง 15 x 30 ซม. ตามวิธีการท่ีระบุไวในมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม (มอก.) เม่ืออายุได 28 วัน ตองมีสวนผสมของปูนซีเมนตไมนอยกวา 325 กก./ลบ.ม.

2) คอนกรีตท่ีมีคาแรงอัดประลัย 320 กก./ตร.ซม. เม่ือทดสอบดวยแทงคอนกรีตรูปทรง กระบอกมาตรฐาน เสนผาศูนยกลาง 15 x 30 ซม. ตามวิธีการท่ีระบุไวในมาตรฐาน ผลิตภัณฑอุตสาหกรรม (มอก.) เม่ืออายุได 28 วัน ตองมีสวนผสมของปูนซีเมนตไมนอยกวา 400 กก./ลบ.ม.

3) ปูนซีเมนตตองมีปริมาณเพียงพอเพ่ือใหไดกําลังตามตองการและความคลองตัว (Workability)

4) น้ําใหมีปริมาณนอยท่ีสุด เพียงเพ่ือใหคอนกรีตมีความขนพอเหมาะ ไมเหลวเกินไป 5) สวนผสมตองสมํ่าเสมอเพ่ือใหไดกําลังท่ีแนนอน (โดยในกรณีท่ีจะใชคอนกรีตผสมเสร็จ

(Ready Mixed Concrete) กอนท่ีจะน ามาใชจะตองสงรายการคํานวณสวนผสม และผลการทดสอบคาแรงอัดต่ําสุดใหการไฟฟานครหลวงพิจารณากอน

7.6.2 การผสมคอนกรีต 1) การผสมคอนกรีตใหผสมดวยเครื่องผสมซ่ึงหมุนไมเร็วกวา 30 รอบ/นาที ในเครื่องผสม

ตองสะอาดปราศจากคอนกรีตท่ีแข็งตัวแลวอยูเปนอันขาด ผูรับจางจะตองทํากะบะสําหรับตวงหิน ทราย ใหเรียบรอย หรือโดยวิธีชั่ง คอนกรีตเม่ือผสมเสร็จแลวจะตองใชใหหมดภายใน 30 นาที หรือภายในระยะเวลา Initial

Page 9

ขอกําหนดงานโยธา-Wet

Setting Time หามใชคอนกรีตท่ีผสมไวนานเกินกําหนดนี้เปนอันขาด ยกเวนกรณีท่ีใช Retarding Agent ถามีความจําเปนตองผสมดวยมือจะตองขออนุญาตเปนคราวๆ ไป และตองไดรับความเห็นชอบจากผูควบคุมงานของการไฟฟานครหลวงกอน

2) คอนกรีตผสมเสร็จ (Ready Mixed Concrete) ใหใชตามขอ 7.6.2 ขอ 1) 3) คอนกรีตท่ีใชในการเทพ้ืนและพ้ืนหลังคา ค.ส.ล. หองน้ํา และถังเก็บน้ําใตดินตองมี w/c

ไมเกิน 0.43 7.6.3 การเทคอนกรีต

1) ผูรับจางตองตรวจดูแบบหลอ และการวางเหล็กเสริมวาม่ันคงแข็งแรง ถูกตองตามแบบรูปและรายการ พรอมท้ังทําความสะอาดใหปราศจากเศษวัสดุท่ีอยูในแบบท่ีจะเทอุดรอยรั่วตางๆ เพ่ือมิใหน้ําปูนหนีออก เสร็จเรียบรอยแลวจะตองไดรับความเห็นชอบจากผูควบคุมงานของการไฟฟานครหลวง แลวจึงจะทําการเทคอนกรีตได

2) การลําเลียงและการเทคอนกรีตจะตองทําดวยความระมัดระวัง ไมใหเกิดการแยกตัวของคอนกรีตๆ ท่ีผสมแลวตองรีบนําไปเทลงในแบบโดยเร็ว และตองระมัดระวังมิใหเหล็กเสริมเคลื่อนหรือเปลี่ยนไปจากตําแหนงเดิม

3) การเทคอนกรีตจะตองใชเครื่องสั่น (Vibrator) ใหคอนกรีตแนนตัว ประสิทธิภาพของเครื่องสั่นจะตองเหมาะสมกับชนิดของงาน

4) เม่ือการเทคอนกรีตสวนใดจะเทรวดเดียวจนเสร็จไมได ก็ใหหยุดเทใหตรงตามท่ีระบุไวในแบบรูปและรายการ หรือตามท่ีผูควบคุมงานของการไฟฟานครหลวงกําหนด หรือตามตําแหนง ดังนี้

- เสา ท่ีระดับไมเกิน 5.0 ซม. ต่ําจากทองคานหัวเสา - คาน ท่ีกลางคานโดยใชไมก้ันตั้งฉาก ในกรณีท่ีคานซอยตัดกับคานหลักตรงบริเวณ

ก่ึงกลางชวง ใหเลื่อนรอยตอในคานหลักพ้ืนออกไปอีกระยะ 1 เทาของความลึกของคานหลัก - พ้ืน ท่ีกลางแผนโดยใชไมก้ันตั้งฉาก - เม่ือจะเทคอนกรีตตอจากท่ีหยุดไว ใหทําความสะอาดดวยแปรงลวดราดน้ําใหเปยก

แลวใชน้ําผสมซีเมนตในอัตราสวนเทาๆ กันราดใหท่ัวหนาท่ีจะเทตอแลวจึงเทคอนกรีตตอไปได - หามเทคอนกรีตในขณะท่ีฝนตกเวนแตจะมีท่ีปองกัน - ในการเทคอนกรีตจะตองทําการทดสอบการยุบตัวของคอนกรีต (Slump Test)

ทุกครั้งท่ีเปลี่ยนอัตราสวนผสมของน้ํากับปูนซีเมนตหรือผูควบคุมงานของการไฟฟานครหลวงเห็นวาคอนกรีตขนหรือเหลวเกินไป

7.6.4 วิธีทดสอบการยุบตัวของคอนกรีต ใหปฏิบัติดังนี้ นําคอนกรีตท่ีจะทดสอบบรรจุลงในแบบเหล็กรูปกรวยกลมตัดปลายสูง 30 ซม. ขนาด

เสนผาศูนยกลางท่ีฐานลาง 20 ซม. เสนผาศูนยกลางท่ีปลายบน 10 ซม. มีมือจับขางนอก 2 ขาง กอนที่จะบรรจุคอนกรีตลงในกรวยเพ่ือการทดสอบ ถามีหินหรือกรวดกอนโตกวาขนาด 30 มม. ตองเอาออก การบรรจุลงในกรวยใหบรรจุเปน 3 ชั้น โดยชั้นท่ี 1 ใหใสคอนกรีตสูงประมาณ 6-7 ซม. ชั้นท่ี 2 ใหใสคอนกรีตสูงประมาณ 5 ซม. และชั้นท่ี 3 ใหใสคอนกรีตสวนสูงท่ีเหลือ จนเต็มทุกๆ ชั้น ทําการกระทุง 25 ครั้ง ดวยแทงเหล็กขนาดเสนผาศูนยกลาง 15 มม. ปลายกลมมนยาว 60 ซม. เม่ือทําการกระทุงชั้นสุดทายเสร็จแลวใหทําการปาดผิวหนาใหเรียบ และยกกรวยออกแลวใหวัดระยะการยุบตัวของคอนกรีตรูปกรวย แลวเอาไปเปรียบเทียบกับสวนสูงของกรวย การยุบตัวของคอนกรีตท่ีใชไดคือ

Page 10

ขอกําหนดงานโยธา-Wet

ประเภทของงาน การยุบตัว (Slump) ซม.

สูงสุด ต่ําสุด

ฐานราก 7.5 4.0

พ้ืน คานและผนัง 10.0 5.0

เสา 10.0 5.0

ถนนและคาน 7.5 4.0 7.6.5 การบมคอนกรีต เม่ือคอนกรีตเริ่มแข็งตัวจะตองปองกันมิใหถกูกระทบกระเทือน โดยเฉพาะ

ภายในระยะเวลา 24 ชม.แรก และจะตองทําการบมคอนกรีตทันที โดยใชน้ํารดใหเปยกชุมอยูตลอดเวลา และเม่ือถอนแบบหลอดานขางออกแลวใหใชทรายหรือกระสอบปานชุบน้ําใหชุมคลุมไว และคอยราดน้ําใหทรายหรือกระสอบเปยกชุมอยูตลอดเวลาเปนเวลาติดตอกันไมนอยกวา 7 วัน การใชสารเคมีบมคอนกรีตสามารถใชแทนวิธีการขางตนได แตตองไดรับความเห็นชอบจากการไฟฟานครหลวงเสียกอน

7.6.6 การแตงหนาคอนกรีต เม่ือถอดแบบหลอออกแลว ใหสกัดสวนท่ีนูนออกเสมอผิวท่ัวไปแลวใชปูนซีเมนตผสมทรายในอัตราสวน 1:2 อุดรูโพรงตางๆ ใหผิวหนาเรียบโดยท่ัวไป ถาหากคอนกรีตมีรูโพรงมากจนอาจเปนอันตรายตอโครงสราง ผูควบคุมงานของการไฟฟานครหลวงอาจพิจารณาใหรื้อท้ิงแลวทําการหลอใหม ซ่ึงผูรับจางจะตองดําเนินการใหโดยไมบิดพริ้วและไมคิดคาใชจายรวมท้ังเวลาเพ่ิมเติมดวย

7.6.7 สวนหุมของคอนกรีต ถามิไดแสดงไวในแบบรายละเอียดแลว ใหใชสวนหุมคอนกรีตจากผิวไมแบบถึงผิวนอกเหล็กเสริมดังตอไปนี้ :-

ประเภทของงาน ระยะหุมคอนกรีต (ซม.)

พ้ืนหรือผนัง 2.0 คานและเสา 2.5 เสาตอมอ 4.0 ฐานราก 5.0

7.6.8 การหลอตัวอยางคอนกรีตและการทดสอบ

1) เพ่ือเปนการตรวจคุณภาพของคอนกรีตวาจะดีพอหรือไม ผูรับจางตองหลอแทงคอนกรีต ลงในแบบเหล็กท่ีเตรียมไวตอหนาผูควบคุมงานของการไฟฟานครหลวง ซ่ึงจะเปนผูสุมตัวอยางคอนกรีตท่ีกําลังใชงานกอสรางนั้น

2) การเก็บตัวอยางคอนกรีตท่ีจะทดสอบใหเก็บทุกวันเม่ือมีการเทคอนกรีต และอยางนอยตองเก็บ 6 กอน เพ่ือทดสอบกําลังคอนกรีตเม่ืออายุ 7 วันจาํนวน 3 กอน และเม่ือคอนกรีตอายุ 28 วัน อีกจํานวน 3 กอน

3) เม่ือแทงคอนกรีตอายุครบ 24 ชม. ใหนําแทงคอนกรีตไปบมโดยจัดการใหแทงคอนกรีตชุมน้ําอยูตลอดเวลา และดําเนินการสง (โดยมีเจาหนาท่ีของการไฟฟานครหลวงรวมนําสง) ไปใหสถาบนัของทางราชการทําการทดสอบ และใหสถาบันนั้นสงผลการทดสอบท้ังหมดใหการไฟฟานครหลวงโดยตรง คาใชจายในการนี้ผูรับจางจะตองเปนผูออกเองท้ังสิ้น

4) การพิจารณาผลการทดสอบคอนกรีตท่ีหลอแลว จะยอมรับไดตอเม่ือ ผลการทดสอบแทงคอนกรีตทดลองมาตรฐานท่ีเก็บมาท้ังสามกอนเม่ืออายุครบ 28 วันนั้น ตรงตามความตองการขอใดขอหนึ่งดังตอไปนี้:-

- กําลังอัดประลัยของแทงคอนกรีตแตละแทงจะตองไมต่ํากวาเกณฑท่ีกําหนดไว

Page 11

ขอกําหนดงานโยธา-Wet

- กําลังอัดประลัยของแทงคอนกรีตแตละแทงท่ีไดจากการทดลอง (อนุโลมใหต่ํากวาเกณฑท่ีกําหนดไวไมเกิน 10 % แตเม่ือเฉลี่ยจากตัวอยางท้ัง 3 แทง จะตองไดกําลังอัดประลัยสูงกวาเกณฑท่ีกําหนดไวไมนอยกวา 5 %

- ในกรณีท่ีมีการทดสอบคากําลังอัดประลัยของแทงคอนกรีตเม่ืออายุ 7 วัน คากําลังอัดประลัยของแตละกอนจะตองไมนอยกวา 70 % ของคาท่ีกําหนดเม่ืออายุครบ 28 วัน อยางไรก็ตาม การพิจารณาตัดสินกําลังอัดประลัยข้ันสุดทายจะถือเม่ือกอนคอนกรีตอายุครบ 28 วันเปนเกณฑ

- หากปรากฏวา คากําลังอัดประลัยของผลการทดสอบ ดังท่ีไดกลาวมาแลวไมเปนไปตามท่ีไดกําหนดไวในขอกอนหนานี้ ผูรับจางตองสกัดหรือรื้อสวนท่ีเทคอนกรีตไปแลวนั้นออกเสียแลวจัดการหลอใหม โดยใชคอนกรีตซ่ึงตองมีกําลังอัดประลัยไมต่ํากวาท่ีกําหนดไว หรือผูควบคุมงานของการไฟฟานครหลวงอาจจะใหทําการทดสอบกําลังอัดประลัยของคอนกรีตจากโครงสรางท่ีเทแลว โดยทําการเจาะคอนกรีตจากโครงสรางนั้นๆ แลวนํามาหากําลังอัดอีกครั้งหนึ่ง ผลการทดสอบกําลังอัดท่ีไดจากการเจาะแตละตัวอยางจะตองไมต่ํากวา 85% ของกําลังอัดประลัยท่ีกําหนดไว ในกรณีท่ีผลการทดสอบในครั้งหลังนี้ไมไดตามเกณฑดังกลาวแลว ผูรับจางสัญญาวายอมรื้อสวนท่ีเทคอนกรีตไปแลวนั้นออกเสียทันที แลวจัดการหลอใหม หรือดําเนินการอยางใดอยางหนึ่งตามท่ีการไฟฟานครหลวงเห็นสมควร โดยไมคิดคาจางเพ่ิมเติมแตอยางใด การจัดหาเครื่องมือสําหรับเจาะทดสอบรวมท้ังคาใชจายตางๆ อันจะพึงมี ผูรับจางจะตองรับผิดชอบท้ังสิ้น

7.7 แบบหลอ 7.7.1 แบบหลอตองทําจากวัสดุท่ีแข็งแรง เชน

1) เหล็ก ตองไมผุ สะอาดและมีผิวเรียบ โดยมีความหนาไมนอยกวา 1.5 มม. 2) ไม ตองไมผุ ไมคดงอ มีผิวเรียบ โดยมีความหนาไมนอยกวา 2.5 ซม. กรณีใชไมอัด ตอง

มีความหนาไมนอยกวา 10 มม. และโครงเคราตองแข็งแรงอยางพอเพียง 7.7.2 แบบหลอตองเขาแบบใหสนิทเพ่ือกันน้ําปูนรั่ว ผิวดานในของแบบท่ีติดกับคอนกรีตเรียบ

รอยตอตางๆ ของแบบตองอุดใหเรียบรอยกอนเทคอนกรีต 7.7.3 แบบหลอและนั่งรานรองรับคอนกรีตเหลว จะตองม่ันคงแข็งแรงพอท่ีจะรับน้ําหนักและ

แรงสั่นสะเทือนเม่ือใชเครื่องเขยาคอนกรีตไดโดยไมทรุดตัว และแอนตัวจนเสียระดับหรือแนว หลังจากเทคอนกรีตแลวหากเกิดการคลาดเคลื่อนเกินระยะดังนี้คือ

1) ของคานหรือพ้ืนในแนวระดับเกิน 10 มม. ตอระยะ 10 ม. 2) ของเสาคลาดเคลื่อนจากแนวดิ่งเกิน 5 มม. ตอความสูงเสา 3 ม. หรือผิดขนาดจนเห็นวา

เกิดผลเสียหาย ผูรับจางจะตองทุบทําลายชิ้นสวนนั้นท้ังชิ้น แลวหลอใหมใหถูกตอง โดยจะคิดมูลคาเพ่ิมเติมจากการไฟฟานครหลวงไมได

7.7.4 ผูรับจางจะตองจัดหากลองสํารวจท่ีมีสภาพดี ประจําสถานท่ีกอสราง เพ่ือใชวัดระดับและวัดดิ่งของงานกอสรางท้ังหมด โดยมีผูควบคุมงานของการไฟฟานครหลวงรวมตรวจสอบดวย

7.7.5 แบบหลอ จะถอดออกไมไดจนกวาจะไดกําหนดเวลาการถอดแบบ ตองไมใหคอนกรีตไดรับความกระเทือนและใหถือกําหนดเวลาการถอดแบบดังตอไปนี้ :-

ประเภทของงาน ระยะเวลา (วัน)

แบบขางเสา แบบขางคาน ขางกําแพง และฐานราก 2 แบบลางรองรับพ้ืนและคาน 14 เม่ือถอดแบบลางแลวใหคํ้าตามจุดตางๆ ท่ีเหมาะสมไวอีก 14

ท้ังนี้ใหยกเวนในกรณีท่ีใชปูนซีเมนตปอรตแลนดชนิดแข็งตัวเร็ว (ประเภท 3 ตาม มอก.15

เลม 1) หรือคอนกรีตซ่ึงผสม Accelerator ใหถอดแบบไดเม่ือคอนกรีตมีอายุครบ 10 วัน แตคากําลังอัดประลัย

Page 12

ขอกําหนดงานโยธา-Wet

ของ Concrete ตองไมนอยกวา 240 กก./ซม.2 และตองสงผลการทดสอบใหการไฟฟานครหลวงพิจารณาเห็นชอบกอน

7.7.6 ถาจําเปนตองเปลี่ยนแปลงเวลาในการถอดแบบ ใหอยูในดุลพินิจของผูควบคุมงาน ของการไฟฟานครหลวง

7.7.7 แบบหลอ ท่ีรื้อออกแลวกอนท่ีจะนํามาใชใหมจะตองทําความสะอาด และตกแตงใหเรียบรอยเสียกอนจึงจะนําไปใชอีกได 8.

8.1 ขอบขาย งานนี้ครอบคลุมสําหรับงานคอนกรีตท่ัวไปท้ังหมด ยกเวนเหล็กแรงดึงสูงในงานคอนกรีตอัดแรง

งานเหล็กเสริมคอนกรีต

8.2 เหล็กเสนเสริมคอนกรีต ตองเปนเหล็กเสนใหม มีผิวสะอาด ไมมีสนิมขุม ไมเปอนน้ํามัน ไมมีรอยแตกราว และตองมีคุณภาพตามมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม หรือเปนชนิดท่ีสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมรับรอง ดังนี้ :-

8.2.1 เหล็กเสนกลม (Plain Round Bar) ตองมีคุณสมบัติตามท่ีระบุไวใน มอก.20 - 2527 หากไมมีการกําหนดชั้นคุณภาพของเหล็กเสนกลมไวในแบบกอสราง ใหใชชั้นคุณภาพไมต่ํากวา SR 24

8.2.2 เหล็กขอออย (Deformed Bar) ตองมีคุณสมบัติตามท่ีระบุไวใน มอก.24 – 2536 หากไมมีการกําหนดชั้นคุณภาพของเหล็กขอออยไวในแบบกอสราง ใหใชชั้นคุณภาพไมต่ํากวา SD 40

8.3 การเก็บรักษาเหล็กเสริม บริเวณท่ีเก็บเหล็กเสริม ตองยกพ้ืนใหพนดินอยางนอย 20 ซม. และตองมีหลังคาปองกันน้ําคาง น้ําฝน ใหเก็บรักษาเหล็กเสริมใหพนสิ่งสกปรก เชน ดิน สี น้ํามัน ฯลฯ

8.4 การดัดเหล็กเสริม 8.4.1 หามดัดเหล็กเสริมโดยวิธีเผาใหรอน 8.4.2 การดัดเหล็กเสริม ถาไมระบุไวในแบบรูปและรายการ ใหเปนไปตาม ผนวก ก. (การดัดและ

ตอเหล็กเสน) 8.5 การตอเหล็กเสริม

8.5.1 เหล็กเสริมของคาน-พ้ืน นอกจากท่ีเปนคานยื่น หรือพ้ืนยื่น หรือที่ระบุไวในแบบรูปและรายการ จะตองตอในตําแหนงดังตอไปนี้ :-

1) เหล็กลางของคาน-พ้ืน ใหตอท่ีระยะไมเกิน 1/3 ของชวงคาน-พ้ืนจากหนาเสา 2) เหลก็บนของคาน-พ้ืน ใหตอท่ีระยะไมเกิน 1/3 ของชวงกลางคาน-พ้ืน 3) สําหรับเหล็กเสา ใหตอตรงจุดหลังพ้ืน และใหเปนไปตาม ผนวก ก.

8.5.2 รอยตอของเหล็กเสริมแตละเสนท่ีอยูขางเคียง ตองไมอยูในแนวเดียวกันเกิน 50 % ของปริมาณเหล็กเสริมท้ังหมด รอยตอทุกรอยตองไดรับการตรวจสอบ และเห็นชอบจากผูควบคุมงานของการไฟฟานครหลวงกอนเสมอ

8.5.3 การตอเหล็กเสริม อาจทําไดหลายวิธี คือ:- 1) การตอโดยวิธีการวางทาบเหลื่อมกัน สําหรับเหล็กเสนกลมใหวางทาบโดยใหเหลื่อมกัน

มีระยะยาวไมนอยกวา 48 เทา ของเสนผาศูนยกลางของเหล็กเสนนั้น และปลายของเหล็กท่ีตอจะตองดัดงอขอตาม ผนวก ก. ขอ 1

2) การตอเหล็กเสริมดวยวิธีเชื่อมดวยไฟฟา ใหเชื่อมดวยวิธีชนปลายตอปลาย และจะตองเปนไปตามงานเชื่อม เสร็จแลวรอยตอจะตองรับแรงเคนดึง (Tensile Stress) ไดไมนอยกวา 1.25 เทาของแรงเคนดึงของเหล็กเสนตามท่ีไดกําหนดไว และผูรับจางจะตองสงตัวอยางรอยเชื่อม และผลการทดสอบแรงเคนดึงของ

สวนเหลก็ขอออยใหวางทาบกันมีระยะไมนอยกวา 36 เทา ของเสนผาศูนยกลางของเหล็กขอออยนั้น โดยมิตองงอขอ

Page 13

ขอกําหนดงานโยธา-Wet

รอยเชื่อมจากหนวยงานท่ีเชื่อถือไดตอการไฟฟานครหลวง รอยเชื่อมใดๆ ท่ีเปนท่ีสงสัยการไฟฟานครหลวงอาจสั่งใหทําการแกไขใหมได

3) การตอเหล็กเสริมดวยวิธีอ่ืน จะตองไดรับความเห็นชอบจากการไฟฟานครหลวง โดยผูรับจางตองเสนอวิธีการและรายงานผลการทดลองอยางละเอียดมาเพ่ือให การไฟฟานครหลวงพิจารณา 9.

9.1 ขอบขาย งานนี้ใชสําหรับงานเหล็กรูปพรรณทั่วไป นอกจากรายการประกอบแบบเฉพาะท่ีจะระบุเปนอยางอ่ืน

งานเหล็กรูปพรรณ

9.2 วัสดุท่ีใช 9.2.1 เหล็กรูปพรรณท้ังหมด ใหใชตามมาตรฐาน มอก. 116-2529 9.2.2 เหล็กเสนแบนและสี่เหลี่ยมจัตุรัส ใชตามมาตรฐาน มอก. 55-2516 9.2.3 ลวดเชื่อมชนิดเหล็กกลาเหนียวซ่ึงมีเปลือกหุมสําหรับเชื่อมดวยไฟฟา ใหใชตามมาตรฐาน

มอก. 49-2528 9.2.4 สลักเกลียวหัวหกเหลี่ยม ใชตามมาตรฐาน มอก. 291-2530

9.3 การกองเก็บวัสดุ เหล็กรูปพรรณท้ังท่ีประกอบแลวและยังไมประกอบ จะตองเก็บไวบนพ้ืนยกเหนือพ้ืนดิน จะตองรักษาเหล็กใหปราศจากฝุน ไขมัน สนิมหรือสิ่งแปลกปลอมอ่ืนๆ

9.4 การตอ รายละเอียดในการตอใหเปนไปตามท่ีระบุไวในแบบรูปและรายการทุกประการ 9.5 รูและชองเปด การเจาะหรือตัดหรือกดทะลุใหเปนรูตองกระทําตั้งฉากกับผิวของเหล็ก และหามขยายรู

ดวยความรอนเปนอันขาด ในเสาท่ีเปนเหล็กรูปพรรณซ่ึงตอกับคาน ค.ส.ล. จะตองเจาะรูไวเพ่ือใหเหล็กเสริมในคานคอนกรีตสามารถลอดได รูจะตองเรียบรอยปราศจากรอยขาด หรือแหวง ขอบรูซ่ึงคมอันเกิดจากการเจาะดวยสวานใหขจัดออกใหหมดดวยเครื่องมือโดยลบมุม 2 มม. ชองเปดอ่ืนๆ เหนือจากรูสลักเกลียวจะตองเสริมแหวนเหล็กซ่ึงมีความหนาไมนอยกวาความหนาของเหล็กในสวนนั้น รูหรือชองเปดภายในของแหวนจะตองเทากับชองเปดของเหล็กสวนนั้น

9.6 การประกอบและการยกติดตั้ง 9.6.1 แบบขยาย กอนจะทําการประกอบเหล็กรูปพรรณทุกชิ้น ผูรับจางจะตองสงแบบขยายตอ

ผูแทนของการไฟฟานครหลวงเพ่ือรับความเห็นชอบ 1) จะตองจัดทําแบบท่ีสมบูรณแสดงรายละเอียดเก่ียวกับ การตัดตอประกอบ และ 2) การติดตั้งสลักเกลียว รอยเชื่อมและรอยตอท่ีจะกระทําในโรงงาน 3) สัญลักษณตางๆ ท่ีใชจะตองเปนไปตามาตรฐานสากล 4) จะตองมีสําเนาเอกสารแสดงบัญชีวัสดุ และวิธีการยกติดตั้งตลอดจนการยึดโยงชั่วคราว

9.6.2 การประกอบและยกติดตั้ง 1) ใหพยายามประกอบท่ีโรงงานใหมากท่ีสุดเทาท่ีจะทําได 2) การตัดเฉือน ตัดดวยไฟ สกัดและกดทะลุ ตองกระทําอยางละเอียดประณีต 3) เหล็กท่ีวางทาบกันจะตองวางตอโดยวิธีการเชื่อมดวยไฟฟา การตอเหล็กเสริมดวยวิธี

เชื่อมดวยไฟฟาจะตองเปนไปตามงานเชื่อม เสร็จแลวรอยตอจะตองรับแรงเคนดึง (Tensile Stress) ไดไมนอยกวา 1.25 เทาของแรงเคนดึงของเหล็ก และผูรับจางจะตองสงตัวอยางรอยเชื่อม และผลการทดสอบแรงเคนดึงของรอยเชื่อมจากหนวยงานท่ีเชื่อถือไดตอการไฟฟานครหลวง รอยเชื่อมใดๆ ท่ีเปนท่ีสงสัยการไฟฟานครหลวง อาจสั่งใหทําการแกไขใหมได

4) การตอโดยวิธีอ่ืน การตอเหล็กเสริมดวยวิธีอ่ืนจะตองไดรับความเห็นชอบจากการไฟฟานครหลวง โดยผูรับจางตองเสนอวิธีการและรายงานผลการทดลองอยางละเอียดมาเพ่ือใหการไฟฟานครหลวงพิจารณา

Page 14

ขอกําหนดงานโยธา-Wet

10. การซอมถนน ทางเทา คันหิน และอ่ืนๆ ใหผูรับจางซอมตามแบบมาตรฐานของหนวยงานท่ีเปนผูรับผิดชอบ

ในเสนทาง หรือถนนนั้นๆ ในกรณีท่ีมิไดกําหนดเปนอยางอ่ืนใหดําเนินการจัดซอมเปนไปตามหลักและวิธีประสานงานเก่ียวกับการขุด และจัดซอมถนน ของหนวยงานสาธารณูปโภคในเขตกรงุเทพมหานคร เวลาและคาใชจายท่ีเกิดข้ึนอยูในความรับผิดชอบของผูวาจาง

งานซอม

11. ผูรับจางเปนผูวางแผน และดําเนินการกอสรางทางเชื่อมพรอมประสานงานกับหนวยงานท่ีดูแลรับผิดชอบ

สถานท่ีนั้นๆ โดยท่ีคาธรรมเนียมในการขออนุญาต คารื้อยายสาธารณูปโภคตางๆ และเวลาท่ีเกิดข้ึนเปนภาระของผูรับจาง

ขอกําหนดสําหรับการกอสรางทางเช่ือมถนนสาธารณะ

12. ผูรับจางจะตองจัดใหมี เครื่องจักรอํานวยความสะดวกในการยกวัสดุกอสราง เชน Tower Crane, Mobile

Crane หรืออ่ืนๆ ใชในงานกอสราง ขณะดําเนินการกอสราง และจะตองรื้อยายออกเม่ืองานแลวเสร็จ โดยผูรับจางจะตองเสนอรูปแบบวิธีการใชงานเสนอตอการไฟฟานครหลวงพิจารณาเห็นชอบกอนดําเนินการ

ขอกําหนดของเครื่องจักรอํานวยความสะดวกในการยกวัสดุกอสราง

Page 15

ขอกําหนดงานโยธา-Wet

Page 16

ขอกําหนดงานโยธา-Wet

ขอกําหนดงานสถาปตยกรรม

สําหรับ

งานกอสรางอาคารยอย พรอมสวนประกอบ

Page 1

ขอกาํหนดงานสถาบตัยกรรม

สารบัญ

หนา 1. ขอกําหนดท่ัวไป 2 2. การมุงหลังคา 4 3. งานกออิฐ ฉาบปูน 5 4. งานปูพืน้และบุกระเบ้ือง 10 5. งานหินขัด และหินลาง 11 6. งานไมทัว่ไป 13 7. งานฝาเพดาน 15 8. งานประต ู– หนาตาง 18 9. งานกระจกและการตดิตัง้ 23 10. งานวัสดุกันซึม 25 11. งานทาสีท่ัวไป 25 12. สีเคลือบอีพอกซ่ี 29 13. สีทาเรืองแสง 30 14. พ้ืนยกลอย (Access floor) 31 15. งานทํากนัไฟ (Cementing Fireproofing) 32

Page 2

ขอกาํหนดงานสถาบตัยกรรม

1. 1.1 วัตถุประสงค ขอกําหนดท่ัวไป

ผูรับจางจะตองจัดหาวัสดุอุปกรณ แรงงาน และเครื่องมือ เพ่ือทําการติดตั้งอุปกรณตาง ๆ ตามท่ีกาํหนดในแบบแปลน และรายละเอียดของงานอยางเครงครดั และดําเนินการใหแลวเสร็จ สามารถใชการไดดี

1.2 ขอบเขตงาน

1.2.1 ผูรับจางจะตองศึกษาแบบแปลนอ่ืนๆ ท่ีเก่ียวของ เชน แบบโครงสราง และสถาปตย และอ่ืน ๆใหมี

ความเขาใจถึงความสัมพันธกัน และใหความรวมมือประสานงานกันกับผูรับจางรายอ่ืนๆ เพ่ือใหการดําเนินงานเปนไปอยาง

ราบรื่น และหลีกเลี่ยงความลาชา เชน การฝงทอไฟฟาควรดําเนินการกอนการกอสรางพ้ืนและผนัง ดังนั้น การเจาะฝงฝา

เพดาน การสกัด สกัดปูน หรืออิฐกอ การตกแตง ปูนฉาบสีภายหลังอันเนื่องจากการดําเนินการของผูรับจางผูรับจาง

จะตองดําเนินการเองท้ังหมด โดยคาใชจายนั้นรวมอยูในการเสนอราคาของผูรับจางแลว

1.2.2 ภายหลงัจากเซ็นสญัญา ผูรับจางจะตองจัดทํารายละเอียดอุปกรณ ตัวอยางอุปกรณท่ีใชในการติดตั้ง

และ Shop drawing ใหการไฟฟานครหลวงตรวจสอบ และยินยอมใหใชดําเนินการเปนลายลักษณอักษรกอนการติดตั้ง

ผูรับจางจะตองใหความรวมมือ ประสานงานกับผูรับจางรายอ่ืนเพ่ือใหงานท้ังหมดดําเนินการไปไดดวยดี

1.3 แบบแปลน

1.3.1 แบบแปลนตางๆ ท่ีแสดง เปนเพียงแนวทาง หรือไดอะแกรมในการติดตั้งเทานั้น ตําแหนงและระยะ

ตางๆ อาจเปลีย่นแปลงไดตามสภาพสถานท่ีจรงิเพ่ือความสะดวกและความเหมาะสมในการใชงาน

1.3.2 ภายหลงัเซ็นสญัญา ผูรับจางจะตองจัดเตรียมและสงมอบ Shop drawing จาํนวน 10 ชุด ใหผูวาจาง

(ถาไมไดกําหนดเปนอยางอ่ืน) หรือผูแทนพิจารณาอนุมัติแบบดังกลาวเปนลายลกัษณอักษรประทับบนแบบกอนการ

ติดตั้งงานสวนใดก็ตามท่ีกระทําไปกอนไดรับอนุมัติจากผูวาจางหรือผูแทนดังกลาวใหถือเปนความรับผิดชอบของผู

รับจาง ผูควบคุมงานของผูวาจางมีสิทธิท่ีจะเรียกรองใหผูรับจางเพ่ิมเตมิงานบางสวน และ/หรอืเปลีย่นแปลงสวนท่ีได

ติดตั้งไปแลวใหสอดคลองกับแบบแปลนท่ีไดทําสัญญากันไว โดยท่ีคาใชจายสวนท่ีเพ่ิมข้ึนไมตองอยูในความรับผิดชอบ

ของผูวาจาง

1.3.3 ผูรับจางตองเปนผูรับผิดชอบตอการเตรียม Shop drawing สําหรับการติดตั้งอุปกรณตางๆ Shop

drawing ท่ีไดรับการอนุมัติเปนลายลักษณอักษรประทับบนแบบจากสถาปนิกผูออกแบบ และ/หรือสถาปนิกผูควบคุม

งานแลว จะตองสงมอบสําเนาหรือพิมพเขียวใหผูวาจาง เปนจํานวน 3 ชุด เพ่ือใชควบคุมงาน การอนุมัติ Shop

drawing ของผูวาจาง หรือผูแทนเปนเพียงหลักการเทานั้น ซ่ึงไมทําใหผูรับจางพนจากสภาพจากการรับผิดชอบตอการ

ตดิตัง้งานใหแลวเสรจ็ตรงกับวตัถุประสงคของขอกําหนดในแบบแปลนและขอกําหนดตามสญัญา

1.3.4 เม่ือการติดตั้งเสร็จสมบูรณแลว แบบกอสราง หรอืแบบ Shop drawing จะตองไดรับการแกไข และ/

หรอืเขียนใหมเปนแบบ Asbuilt drawing ซ่ึงจัดทําโดยโปรแกรม Auto CAD Release 14 ข้ึนไป โดยผูรับจางจัดสง

ตนฉบับ และสําเนาพิมพเขียว จาํนวน 3 ชุด (ถาไมไดกําหนดเปนอยางอ่ืน) และ CD-ROM แสดงแบบท้ังหมด 1 ชดุ ให

ผูวาจางและใหถือวาแบบ Asbuilt drawing และ CD-ROM เปนสวนประกอบในการสงมอบงานงวดสดุทายดวย

1.4 คุณสมบัติของผูรับจาง

1.4.1 ผูรับจางตองมีสถาปนิกตาม พรบ. วชิาชพีสถาปตยกรรม พ.ศ. 2508 ประเภทภาคี สถาปนกิในการ

ควบคุมงานตางๆ ท้ังหมดใหถูกตองตามมาตรฐานและกฎขอบังคับวาดวยความปลอดภัย

Page 3

ขอกาํหนดงานสถาบตัยกรรม

1.4.2 ผูรับจางตองมีพนักงานเพียงพอในการปฏิบัติงานใหแลวเสร็จ และใชการไดเปนอยางดีตาม

กําหนดเวลาท่ีระบใุนสญัญาหรอืตามความตองการของผูว าจาง

1.4.3 ผูรับจางตองรับผิดชอบวัสดุและอุปกรณท่ีนําเขามาใชใหเปนไปตามท่ีไดรับอนุมัติจากการไฟฟานคร

หลวงเปนลายลักษณอักษรแลว โดยใหพนักงานดําเนินการติดตั้งใหเปนไปตามแบบและขอกําหนดตางๆ อยางถูกตอง

และสมบรูณ

1.4.4 การไฟฟานครหลวงมีสิทธิ์ถอดถอนพนักงานคนใดของผูรับจางได เม่ือเห็นวาปฏิบัติงานไมถูกตอง

หรอืไมเหมาะสม

1.4.5 ผูรับจางตองรับผิดชอบ ตอความปลอดภัยของพนักงานของตนเอง

1.5 วัสดุอุปกรณ

1.5.1 ผูรับจางตองจัดสงตัวอยางวัสดุ และอุปกรณท่ีจะนํามาติดตั้งพรอมดวยขอมูลทางดานเทคนิคใหการ

ไฟฟานครหลวงไดตรวจสอบลวงหนาอยางนอย 45 วัน และตองไดรับอนุมัติกอน จึงจะนําไปใชงานหรือติดตั้งได

1.5.2 วัสดุและอุปกรณท่ีนํามาติดตั้งตองเปนของใหม และไมเคยนาํมาใชงานมากอน

1.5.3 วัสดุอุปกรณซ่ึงเสียหายในระหวางการขนสง การติดตั้ง หรือการทดสอบตอง ดําเนินการซอมแซม

หรอืเปลีย่นใหใหม ตามความเหน็ชอบของการไฟฟานครหลวง

1.5.4 กรณีท่ีการไฟฟานครหลวงเห็นวาวัสดุและอุปกรณท่ีนํามาใชมีคุณสมบัติไมดีเทาท่ีกําหนดไวในรปูแบบ

และรายการ การไฟฟานครหลวงมีสิทธิ์ท่ีจะไมยอมใหนํามาใชในงานนี้ ในกรณีท่ีการไฟฟานครหลวงมีความเหน็วา ควร

สงใหสถาบันท่ีการไฟฟานครหลวงเชื่อถือทําการทดสอบคุณสมบตัเิพ่ือเปรยีบเทียบกับขอกําหนดรายละเอียดความ

ตองการของการไฟฟานครหลวงกอนท่ีจะอนุมัติใหนํามาใชได ผูรับจางตองเปนผูดําเนินการโดยเรงดวน และตองเปนผู

ออกคาใชจายในการทดสอบเองท้ังสิ้น

1.6 การแกไขเปล่ียนแปลงแบบ รายการ และวัสดอุปุกรณ

1.6.1 การเปลี่ยนแปลงแกไขการปฏิบัติงานท่ีผิดไปจากแบบและรายการอันเนื่องจากแบบ และรายการ

ขัดแยงกันหรืออันเกิดจากความจําเปนอ่ืนใดก็ดี ผูรับจางตองแจงการไฟฟานครหลวงเพ่ือขอรับอนุมัติขอความเห็นชอบ

กอนดําเนินการได

1.6.2 กรณีท่ีวัสดุอุปกรณของผูวาจางท่ีขออนุมัตินําเขามาติดตั้งมีลักษณะคุณสมบัติอันเปนเหตุใหอุปกรณ

รายการท่ีการไฟฟานครหลวงกําหนดไวเกิดความไมเหมาะสม ผูรับจางตองไมเพิกเฉยละเลยท่ีจะแจงขอความเห็นชอบ

จากการไฟฟานครหลวงในการแกไขเปลีย่นแปลงใหถกูตอง โดยหลักฐานจากบริษัทผูผลิตมิฉะนั้นผูรับจางตองเปน

ผูรับผิดชอบตอความเสียหายท่ีอาจเกิดข้ึน

1.6.3 ผูรับจางตองจัดใหมีชองทางเขาถึงเครื่องจักรและอุปกรณ โดยมีขนาดเทาท่ีจําเปนและเหมาะสมกับ

เครื่องจักรและอุปกรณท่ีผูรับจางจัดหามา ใหสะดวกสําหรับการเขาไปซอมแซม บํารุงรักษา

1.6.4 กรณีท่ีมีการเปลี่ยนแปลงแกไขแบบ รายการวัสดุและอุปกรณดังกลาวขางตนใหผูรับจางทําหนังสือขอ

อนุมัติกอนการติดตั้งอยางนอย 45 วัน

1.7 เอกสารใบรับประกันสินคา

Page 4

ขอกาํหนดงานสถาบตัยกรรม

การติดตั้งวัสดุและอุปกรณจากการอนุมัติวัสดุและอุปกรณจากผูวาจาง ผูรับจางตองสงเอกสารใบรับประกัน

สินคาแกผูวาจาง (เอกสารตนฉบับหรือตัวจริง) เพ่ือยืนยันวาวัสดุและอุปกรณท่ีอนุมัติกับวัสดุและอุปกรณท่ีนําไปติดตั้ง

เปนวัสดุและอุปกรณชนิดเดียวกัน

2. 2.1 กระเบ้ืองใยหินแผนลอน การมุงหลังคา

ชนดิตางๆ ใหมุงซอนกันไมต่ํากวา 200 มม. บนลอนจะตองยึดดวยตะปูเกลียวอาบสังกะสี ผลิตข้ึนสําหรับ

มุงสังกระเบื้องชนิดนี้โดยเฉพาะ แผนละ 2 ชุด หามมุงดวยขอยึดโดยเด็ดขาด กอนยึดดวยตะปูเกลียวตองเจาะรูกระเบื้อง

โดยใชสวานเจาะนํากอนทุกครั้ง หามเจาะ ดวยการตอกโดยเดด็ขาด ตะปูเกลียวท่ียึดกระเบื้องตองมีความยาวท่ีเหมาะสม

ไมสัน้จนเกินไป การขันตะปูยึดกระเบื้องตองไมแนนจนเกินไปเพ่ือใหกระเบื้องขยับตัวไดเล็กนอยเม่ือไดรับความรอนจาก

แสงแดด กระเบื้องท่ีมุงซอนกันตองตัดมุมดวยเลื่อยหรือเครื่องมืออยางคม การมุงกระเบื้องในระดับและแนวเดียวกันให

ลอนคว่าํของกระเบือ้งดานขางครอบบนลอนหงายตามทิศทางท่ีฝนสาด เพ่ือปองกันลมพัดเอาน้าํฝนยอยเขามาตามแนว

รอยตอระหวางกระเบื้อง ดานขางครอบสันกระเบื้อง และตะเฆใหใชครอบมาตรฐานท่ีเหมาะสมกับความลาดชนัของ

หลังคานั้นๆ ในกรณีท่ีหลังคาชนกับกําแพงใหกอคานทับหลังคอนกรีตเสริมเหล็กยื่นคลุมกระเบื้องจนน้ําฝนไมอาจไหล

ยอนหรือเกิดรั่วซึมได ถาชนกับผนังไมใหใชแผนเหล็กอาบสังกะสีหนา 0.06 มม. (เบอร 24) ลอดใตผนังยื่นปดลอน

กระเบื้องใหเรียบรอย

2.2 กระเบ้ืองซีเมนต

ชนดิตางๆ ใหมุงตามวิธีการของผูผลิตกระเบื้องสวนท่ีจําเปนตองตัดใหตัดดวยเครื่องตัดอยางประณีต ครอบ

กระเบื้องและตะเฆสันใชของท่ีผลิตข้ึนสําหรับกระเบื้องชนิดนี้โดยเฉพาะ แลวยารอยตอใหเรียบรอยดวยปูนซีเมนตผสม

ทรายและผสมสีใหกลมกลืนกับสีกระเบื้อง แผนอาบ สังกะสี อลูมิเนียม แผนโปรงแสง และแผนลอนใหมุงซอนกันไมต่ํา

กวา 200 มม. บนลอนยึดดวยตะปูหัวโตชนิดท่ีผลิตข้ึนสําหรับแผนนี้โดยเฉพาะการมุงหลังคาใหปฏิบัติทํานองเดียวกัน

กับกระเบื้องใยแผนหินลอน

2.3 แผนเหล็ก

อาบสังกะส ีอลูมิเนียม แผนโปรงแสง และแผนลอนใหมุงซอนกันไมต่ํากวา 200 มม. บนลอนยึดดวยตะปูหัว

โตชนิดท่ีผลิตข้ึนสําหรับแผนนี้โดยเฉพาะ การมุงหลังคาใหปฏิบัติทํานองเดียวกันกับกระเบื้องใยแผนหินลอน

2.4 แผนหลังคาเหล็กเคลือบ

ยึดแผนหลังคาดวยเหล็กยึด (Roof Connector) ชุบสังกะสี กวาง 25 มม. หนา 2 มม. มีสลักเกลียวหัวแหลม

ชุบสังกะสีขนาดเสนผาศูนยกลาง 6 มม. ย้ําติดกับเหล็กยึด (Roof Connector) อยางนอย 3 ชุด และเหล็กยึดใหเชื่อม

ตดิกับแปตามแบบประกอบ

2.5 หลังคาชนิดอ่ืนๆ

ใหปฏิบัติตามแบบรูป รายการละเอียด ซ่ึงจะระบุเพ่ิมเตมิไวเฉพาะงานหรอืเอกสารเฉพาะของบริษัทผูผลิต

วัสดุนั้นๆ

2.6 รางน้ํา

ใหดาํเนนิการตามรปูแบบและรายการหรอืแบบขยาย โดยมีขนาดใหญพอท่ีจะรับปริมาณน้ําฝนไดตามขนาด

ของหลงัคา ทําดวยแผนเหล็กอาบสังกะสีขนาดไมบางกวา 0.06 มม. (เบอรหรือเหล็กไรสนิมขนาดไมบางกวา 0.50 มม.

Page 5

ขอกาํหนดงานสถาบตัยกรรม

(เบอร 26) หรือแผนอลูมิเนียมขนาด 0.025 นิ้ว หรอืแผนทองแดงขนาดไมนอยกวา 16 ออนซ การตอระหวางแผนใหงอ

แผนทับกันแลวเชื่อมหรือบัดกรีใหเรียบรอย ความลาดของรางน้าํประมาณ 1 ตอ 200 ลาดลงสูทอระบายน้ํา เหล็กยึด

รางน้าํจะตองแข็งแรงและถ่ีหางเหมาะสม ถาเปนรางน้ําชนิดติดลอยตัวเหล็กยึดตองเปนเหล็กอาบสังกะสีดวย รางน้ําท่ีมี

ความยาวเกิน 18 ม. ข้ึนไป ใหจัดทํารอยตอปองกันการยืดหดของรางน้ําอันเนื่องมาจากอุณหภูมิท่ีเปลี่ยนแปลงดวย การ

จัดทํารอยตอนี้ควรจัดทําบริเวณท่ีสูงสุดของรางน้ํา กรณีท่ีใชรางน้ําสําเร็จรูป พี.วี.ซี. ใหปฏิบัติ ตามวิธีการของผูผลิต

สวนท่ีเปนรางน้ํา คสล. ใหผสมน้ํายากันซึมและใหฉาบปูนขัดมันภายในใหเรียบรอย

2.7 ตะเฆราง

ใชวัสดุขนาดและชนิดเดียวกับรางน้ําสอดใตแผนกระเบื้องดานขางหรือรอยตอระหวางแผนไมนอยกวาขางละ

0.30 ม. รายละเอียดอ่ืนๆ ใหปฏบิัติทํานองเดียวกับรางน้ํา การตอกตะปยูดึใหตอกท่ีดานรมิของแผนโลหะหามตอกกลาง

ตะเฆรางโดยเดด็ขาด ขนาดของตะเฆรางจะตองมีขนาดใหญพอท่ีจะรับปริมาณน้ําฝนของหลังคานั้นๆ ได

2.8 ชองระบายอากาศ

ชองระบายความรอนและอากาศใตหลงัคาใหจดัทําตามแบบรปูรายการและรายละเอียดภายในใหกรุดวยลวด

ตาขายเหลก็อาบสงักะสชีนดิตาถ่ี เพ่ือปองกันนกคางคาวและแมลง เขาอาศัยอยูในชองหลังคา

3. 3.1 ขอบขาย งานกออิฐ ฉาบปูน

ใชครอบคลุมสําหรับงานกออิฐฉาบปูนเสาเอ็น ทับหลัง ทับขาง และการแกไขผนงัแตกราว

3.2 ปูนซีเมนต

3.2.1 ปูนซีเมนตท่ีใชผสมปูนกอและปูนฉาบ ตองเปนปูนซีเมนตผสม มีคณุสมบตัติามมาตรฐาน

ผลิตภัณฑอุตสาหกรรม มอก.80

3.2.2 ปูนซีเมนตสําหรับกอสรางคานทับหลัง และเสาเอ็น ตองมีคุณสมบัติตามขอกําหนดสําหรับงาน

คอนกรตีและคอนกรตีเสรมิเหลก็

3.3 ปูนขาว

3.3.1 ปูนขาวท่ีนํามาผสมปูนกอและปูนฉาบ จะตองเปนปูนเผาสุกดี ใหม เนื้อปูนละเอียด นิ่มไมมีกอนแข็ง

ปน

3.3.2 การเก็บรกัษา ตองเก็บไวในท่ีท่ีปองกันฝนและความชื้นเชนเดียวกับปูนซีเมนต

3.4 ทราย

3.4.1 ทรายท่ีใชผสมปูนกอและปูนฉาบจะตองเปนทรายน้ําจืดมีลักษณะเปนเม็ดแกรงกลม หรือเปนกอน

เหลีย่ม ปราศจากวัตถุอ่ืนเจือปน ทรายเกรด็หามใช

3.4.2 ทรายผสมปูนกอตองมีคุณสมบัติตามงขอกําหนดสําหรับานคอนกรีตและคอนกรีตเสริมเหล็ก

3.4.3 ทรายผสมปนูฉาบตองเปนทรายเม็ดเลก็และรอนผานตะแกรงเบอร 14 เวนแตระบุเปนอยางอ่ืน

3.5 ปูนสําเร็จรูปสําหรับงานกอสรางและงานฉาบ

กรณีท่ีประสงคจะใชปูนสําเร็จรูปแทนปูนกอ และปูนฉาบท่ีผสมจากปูนซีเมนตผสมปูนสําเร็จรูปจะตองมี

คุณสมบัติดังนี้:-

3.5.1 ปูนสําเร็จรูปชนิดปูนกอ จะตองไดมาตรฐาน มอก.598-2528 เชน ตราเสอืคู TPI หรอืเทียบเทา

Page 6

ขอกาํหนดงานสถาบตัยกรรม

3.5.2 ปูนสําเร็จรูปชนิดปูนฉาบท่ัวไป สําหรับงานฉาบพ้ืนผิวท่ัวไป เชน ตราเสอืคู TPI หรอื เทียบเทา

3.5.3 ปูนสําเร็จรูปชนิดฉาบละเอียด สําหรับงานฉาบพ้ืนผิวท่ีตองการความเรียบเนียน เชน ตราเสอืคู TPI

หรอืเทียบเทา

3.5.4 ปูนสําเร็จรูปชนิดฉาบผิวคอนกรีต สําหรับพ้ืนผิวท่ีถอดแบบเปนพ้ืนผิวคอนกรีต โดยสามารถฉาบได

โดยไมตองสลดัดอก เชน ตราเสอืคู TPI หรอืเทียบเทา

3.5.5 ปูนสําเร็จรูปชนิดฉาบแตงผิวบาง สําหรับงานฉาบแกพ้ืนผิวท่ีไมเรียบ หรอืสําหรับฉาบบางบนพ้ืนผิว

คอนกรตี ความหนา 0.5-2.0 มม. เชน ตราเสอืคู หรอืเทียบเทา

3.6 น้ํา

ตองมีคุณสมบัติตามขอกําหนดสําหรับงานคอนกรีตและคอนกรีตเสริมเหล็ก

3.7 อิฐ

อิฐ อิฐคอนกรตี และคอนกรตีบลอ็คสาํหรบังานกอ ตองใชตามท่ีมาตรฐานผลติภณัฑ อุตสาหกรรมกําหนดไว

เวนแตระบุไวเปนอยางอ่ืน

3.7.1 อิฐกอสรางสามัญหรืออิฐมอญ ใหใชตาม มอก.

3.7.2 อิฐกลวงไมรับน้ําหนัก ใหใชตาม มอก.

3.7.3 อิฐประดับ ใหใชตาม มอก.

3.7.4 อิฐกลวงประดับ ใหใชตาม มอก.

3.7.5 อิฐคอนกรตีขาวทนไฟ ใหใชตาม มอก.

3.7.6 คอนกรีตบล็อคไมรับน้ําหนัก ใหใชตาม มอก.

3.7.7 คอนกรตีบลอ็คมวลเบา (AAC.) ดูรายละเอียดขอ 3.17

3.8 การผสมปูนกอ

การผสมปูนกอตองไมผสมไวลวงหนานานเกินไป ปูนกอซ่ึงผสมไวนานเกินกวา 1 ชม. ตองท้ิงหามเติมปูน

ทรายลงไปในขณะท่ีซีเมนตเริ่มจะแข็งตัว อัตราสวนผสมโดยปรมิาตรดงันี้:-

ซีเมนต 1 สวน

ปูนขาวรอนแลว 1 สวน

ทรายหยาบ 3 สวน

3.9 การกอผนัง

3.9.1 ผนังหรือกําแพงท้ังหมดท่ีกอดวยอิฐ เม่ือฉาบปูนเรียบรอยแลวตองมีความหนาตามท่ีแสดงไวในแบบ

รูป หรอืรายการประกอบแบบ

3.9.2 กอนทําการกอผนังตองเอาน้ําลางอิฐใหสะอาดหมดฝุน และดินท่ีเปรอะเปอนและใหอิฐดูดน้ําจนอ่ิมตัว

3.9.3 การกอ ตองวางเรียงซอนกันใหไดดิ่ง ไดฉาก และไดระดับ โดยการท้ิงดิ่งและใชเชือกขึงจับระดับท้ัง 2

แนว ตลอดเวลา ปนูกอตองใสใหเต็มหนาอิฐและรอยตอโดยรอบแผน ขณะท่ีกออยูหรือกอแลวเสร็จภายใน 48 ชัว่โมง

หามเปยกน้ํา และตองไมกระทบกระเทือนหรือรับน้ําหนักบรรทุกใดๆ

Page 7

ขอกาํหนดงานสถาบตัยกรรม

3.9.4 ผนังท่ีกอชนทองคาน คสล. หรือทองพ้ืน คสล. จะตองเวนชองไวประมาณ 15 ซม. เปนเวลาไมนอย

กวา 3 วัน เพ่ือใหปูนกอแข็งตัวและทรุดตัวจนไดท่ีเสียกอนจึงทําการกอผนัง อิฐชนปดได

3.10 เสาเอ็นและคานทับหลัง

ในการกอผนังเนื้อท่ีมากๆ เพ่ือความแข็งแรงตองทําเสาเอ็นและคานทับหลัง คสล. หนาเทาผนังท่ียังไมตกแตง

ดังนี้ :-

3.10.1 ผนังท่ีกวางเกิน 2 ม. ตองทําเสาเอ็นทุกระยะความกวางไมเกิน 2 ม. ตามแนวดิง่ของผนงัและท้ังสอง

ขางของวงกบ

3.10.2 ขนาดของเสาเอ็นตองกวางไมนอยกวา 125 มม. ความหนาเทาผนังท่ียังไมตกแตงเหล็กเสริมใหใช

ขนาด RB9 เรยีงตามความหนาของผนงัอยางนอย 2 เสน เหลก็ปลอกใหใชขนาด RB6 หางกัน 200 มม.

3.10.3 ทําคานทับหลังทุกระยะความสูง 2 ม. ทางแนวนอนของผนงัและขางใตวงกบ

3.10.4 ขนาดและเหลก็เสรมิของคานทับหลงั ใหเปนไปตามแบบกอสราง หากไมไดระบุไว ใหกอสรางคานทับ

หลงักวางเทากับผนงั สงู 200 มม. เสรมิเหลก็ RB.12 จาํนวน 2 เสน เหลก็ปลอก RB.6 ระยะหาง 200 มม.

3.11 คานทับหลังท่ีเหนือประตูและหนาตาง

3.11.1 ผนังอิฐครึ่งแผนสูงไมเกิน 1 ม. ตองมีคานทับหลัง คสล. ความหนาเทาผนังท่ียังไมตกแตง ความลกึ

และเหล็กเสริมของคานทับหลังเหนือประตูหนาตาง ดตูารางท่ี 3.11.1 เหลก็ปลอก RB6 ทุกๆ ระยะ 200 มม. ในกรณีที่

หนาตางและ/หรอืประตูติดกันใหใชความกวางรวมนอกเหนือจากตารางท่ีกําหนด ผูรับจางตองเพ่ิมขนาดคานทับหลัง

และเหล็กเสริมตามดุลพินิจของผูควบคุมงานของการไฟฟานครหลวง

ความกวางของชองหนาตางหรอืประตู

รายละเอียดคานทับหลงัเหนอืประต ู- หนาตาง

ขนาดความลึกของคานทับหลัง เหล็กเสริม 2 เสน

(ม.) (มม.) (ลาง 1 เสน, บน 1 เสน)

นอยกวา - 1.00 120 RB 12

1.01 - 2.00 150 RB 15

2.01 - 3.00 200 RB 19

3.11.2 ผนังอิฐหนาเกินครึ่งแผน สูงเกิน 1 ม. ถากออิฐหนาเกินครึ่งแผนหรือกออิฐสูงเหนือ หนาตางและ

ประตูเกิน 1 ม. หรือชองประตูและหนาตางท่ีติดกันกวางเกิน 3 ม. ผูรับจางตองเพ่ิมขนาดคานทับหลังและเหล็กเสริม

ตามดลุพินจิของผูควบคุมงานของการไฟฟานครหลวง

3.12 เหล็กยึดผนังขางเสาและทองคาน

เสาและทองคานท่ีตองกอผนังอิฐคอนกรีตหรือคอนกรีตบล็อคตองเสียบเหล็ก RB6 ยืน่ออกนอกผวิเสาและผวิ

คานยาว 250 มม. ฝงลกึในเสาหรอืคานอยางนอย 150 มม. ทุกระยะ 300 มม. ในแนวดิง่และแนวนอนรวมท้ังเสาเอ็น

และคานทับหลังดวย เพ่ือกันมิใหผนังแตกราว

3.13 การผสมปูนฉาบ

ปูนฉาบตองไมผสมท้ิงไวนาน หรือเติมน้ําซํ้าแลวซํ้าอีกในสวนผสมอันเดียวกัน ปูนฉาบควรใชงานภายใน 45

นาทีหลงัการผสม ปูนฉาบท่ีผสมไวนานเกิน 1 ชัว่โมงหามนาํไปใชงานเดด็ขาด

Page 8

ขอกาํหนดงานสถาบตัยกรรม

3.14 การฉาบปูน

3.14.1 ใหใชปูนฉาบสําเร็จรูปเทานั้นสําหรับงานฉาบพ้ืนผิวท่ัวไป โดยผูรับจางตองเสนอขออนุมัติจากผูวาจาง

กอนนาํมาใช

3.14.2 สําหรับงานกอสรางในเขตท่ีน้ําประปาเขาถึง กําหนดใหผูรับจางตองใชน้ําประปาในการผสมปนูฉาบ

เทานั้นการผสมฉาบจะตองนําสวนผสมเขาผสมรวมกันดวยเครื่องผสมคอนกรีตเทานั้น และจะตองฉาบใหแลวเสร็จ

ภายในเวลา 2 ชม. หลงัจากการผสม

3.14.4 กอนฉาบปูนตองทําความสะอาดและราดน้ําใหท่ัวบริเวณท่ีจะฉาบ ถาเปนคอนกรีตตองกะเทาะผิวหนา

ใหขรขุระโดยตลอด จะตองฉาบปูนไมนอยกวา 2 ชั้น แตละชั้นตองเวนระยะไมนอยกวา 1 วัน ความหนาท้ังหมดของปนู

ฉาบตองไมนอยกวา 1.5 ซม. และไมมากกวา 3 ซม. สําหรับผนังกออิฐตองกอท้ิงไวอยางนอย 7 วัน จึงจะฉาบปูนได เม่ือ

งานเสร็จแลวตองใชน้ําพรมผิวปูนฉาบใหชื้นอยูตลอดเวลาเปนเวลา 3 วัน

3.14.5 การตีน้ําผิวปูนจะตองตีน้ําเม่ือปูนฉาบหมาด (โดยกําหนดใหเอาฝามือกดบนผิวปูนฉาบจะตองไมมี

รอย) ไมนอยกวา 2 ครั้ง เม่ือตีน้ําครั้งท่ี 1 เสร็จท่ัวแลวใหใชไมกวาดปดทราย เชน ครั้งท่ี 1 หามใชฟองน้ําหรือสิ่งอ่ืนใดท่ี

มีลกัษณะเหมือนฟองน้าํแทนไมกวาด

3.14.6 สําหรับงานฉาบปูนผนังจะตองมีการทําปุมทุกระยะหาง 1.20 ม. เพ่ือควบคุมใหไดงานฉาบท่ีไดระนาบ

สวยงาม

3.14.7 สําหรับงานจับเซ้ียมมุมเสา-คาน ในสวนท่ีตองโชวมุมใหใชเซ้ียม พีวีซี เทานั้น

3.14.8 การฉาบปูนภายนอกตรงท่ีผนังอิฐตอกับโครงสรางคอนกรตี เชน เสา คาน หรือเสาเอ็น ใหปองกันการ

แตกราวโดยใชตาขายลวดกรงไก ตาขนาด ¾ นิ้ว กวาง 30 ซม. ตอก ตะปยูดึยาวตลอดรอยตอแลวจงึทําการฉาบปูนรอง

พ้ืนได อนึ่ง หากผูรับจางมิไดปฏิบัติตามขอกําหนดการฉาบปูนขางตน หรือผลงานการฉาบปูนท่ีออกมาไมเรียบรอยผู

ควบคุมงานสามารถสั่งใหสกัดหรือทุบออกได โดยผูรับจางจะตองรับผิดชอบในคาใชจายท้ังหมด โดยท้ังนี้ผูรับจางจะตอง

ฉาบปูนผนัง เสาคาน และเพดานเพ่ือใชเปนผนังตัวอยางอางอิง จาํนวน 1 ชุด เพ่ือเปนมาตรฐานสาํหรบังานฉาบปนู

อาคารหลังนี้ตอไป

3.15 การใชน้าํยาหรือสารอ่ืนใดผสม

สามารถกระทําไดโดยจะตองเปนผลิตภัณฑของบริษัทท่ีเชื่อถือได แตท้ังนี้ตองไดรับความเห็นชอบจากการ

ไฟฟานครหลวงกอนจงึจะนาํไปใชได

3.16 การแกไขผนังราว

ถาปรากฏวาผนงัฉาบปนูตอนใดแตกราว ผูรับจางจะตองดําเนินการสกัดผนังสวนนั้นออกเปนรองตัว “V” ลึก

อยางนอย 3 ซม. กวาง 2 ซม. และยาแนวแตกราวดวย I Cosit-K 250 (Sealing Mortar) หรอืเทียบเทา หรอืสกัดรอย

แตกใหลกึประมาณ 3 ซม. กวางประมาณ 4-5 ซม.แลว ใชลวดกรงไก 2-3 ทบ ประกอบท่ีรอยแตกราวยึดดวยตะปู

คอนกรตี (ขนาดเลก็) ท้ัง 2 ขาง ราดน้ําใหชุมแลวจึงอุดดวยปูน ทราย 1 : 2 รอใหปูนทรายอยูตัวแลวจึงฉาบผิวนอกให

เสมอผิวเดิม ข้ันตอนการตีน้ําใหปฏิบัติ เชนเดียวกับขอ 3.14.5

3.17 บล็อคกอผนังคอนกรีตมวลเบา

(AAC BLOCK : Autoclaved Aerated Concrete Block)

Page 9

ขอกาํหนดงานสถาบตัยกรรม

3.17.1 วัสดุ

(1) ล็อคใชผลิตภัณฑของ Superblock, Q-CON หรือผลิตภัณฑเทียบเทา ขนาด (20 x 60 ซม. หรอื 30 x 60 ซม.) ตามกําหนด มีคุณสมบัติท่ีสําคัญดังนี้:-

- ความหนาแนนประมาณ 550-600 กก./ลบ.ม. - กําลงัแรงอัดอยางนอย 48-55 กก./ตรม. - กําลังรับแรงดัด 20 กก./ตรม. ข้ึนไป - มีอตัราการทนไฟและความเปนฉนวนมาตรฐาน BS 476 ไมต่ํากวา 3.5 ชม. (ท่ีความหนา

7.5 ซม.) - มีอัตราการดูดกลืนน้ํา 30-35% โดยปรมิาตร - มีคาการนําความรอนไมเกิน 0.089 วัตต/เมตร/องศาเคลวนิ

(2) ปูนกอสําเร็จรูป (Glue Mortar) คือ ปูนท่ีใชเฉพาะผนังคอนกรีตมวลเบา โดยมีสวนผสมจากซีเมนตปอรตแลนด ทราย และสารอุมน้ํา (Methyl Cellulose) ความหนาประมาณ 3 มม. จะรับแรงดึงไดไมนอยกวา 1.20 กก./ตรม. ตามมาตรฐานการทดสอบ ASTMO 952-51

(3) ปูนฉาบสําเร็จรูป ใหมีสวนผสมและกรรมวิธีในการฉาบตามคําแนะนําของบริษัทผูผลิตของผลิตภัณฑชนิดนั้น ๆ

(4) เครื่องมือชางท่ีควรใชเพ่ือใหทํางานไดสะดวกข้ึน - เกรียงกอเพ่ือใชปาดปูนกอ ทําใหสามารถบังคับความหนาปูนกอท่ี 3 มม.ได - เลื่อยมือ เปนเลื่อยมีฟนเลื่อยคอนขางหาง ฟนเลื่อยทําดวยทังสเตนคาไบน (Carbine

Tips) ใชตัดกอนใหเล็กลงหรือเลื่อยไฟฟา 3.17.2 การกอบลอ็ค

(1) เริ่มกอดวยการปรับระดับพ้ืนตามแนวใหไดระดับโดยปูน ทราย หรอืปนูกอกอนจาก นั้นเตรียมกอบล็อคโดยไมตองเอากอนบล็อคแชน้ํากอนกอเพียงแครดน้ําท่ีสันของกอนจนชุม เพ่ือทําความสะอาดและกอดวยปูนกอหนาเพียง 3 มม.

(2) บล็อคจะตองกอดวยวิธีสลับแนวกอ โดยแนวท่ีเลื่อมกันจะตองไมนอยกวา 10 ซม. กอหนาเพียง 3 มม. และจะตองใสปูนกอใหเต็มปราศจากโพรง หรือรูโดยรอบแผนบล็อก กรณีชางยงัไมมคีวามชาํนาญการกอบลอ็คขนาดหนา 7-7.5 ซม.อาจชวยใหทํางานใหงายข้ึนดวยการตอกแผนเหล็กลอนเล็ก (Shear Plate) ลงสวนกลางระหวางรอยตอของกอนทุกกอนใหจมมิดปลายบล็อคท่ีกอชนเสา หรือเสาเอ็นจะตองเสียบ เหล็กเสนผาศูนยกลาง 6 มม. ท่ีเสาไวทุกระยะความสงู 60 ซม. และจะตองรดน้ําเสา คอนกรีตใหเปยกกอนทําการกอ

(3) ในกรณีทีก่าํแพงยาวเกินกวามาตรฐานท่ีกาํหนดจะตองมีเสาเอ็น คานเอ็น ท่ีระดับความสงูยาวของกําแพง ขนาดของเสาเอ็น คานเอ็น ความหนาเทากับกําแพงเสรมิเหลก็ 2 เสน เสนผาศูนยกลาง 6 มม. และมีเหลก็ปลอกเสนผาศูนยกลาง 6 มม. ทุกระยะ 20 ซม. เหล็กเสาเอ็นจะตองฝงลึกในพ้ืนและคาน ดานบนอาจจะทําไดโดยการโผลเหล็กในพ้ืนและคานเตรียมไวกอน

(4) มุมกําแพงทุกมุมสามารถใชการกอประสานมุมแทนการใชเสาเอ็นได (5) รอบวงกบประต-ูหนาตาง ตองเทเสาเอ็นทับหลงั คสล. โดยรอบตามกรรมวิธีปกติเพ่ือยดึรอบวงกบ

ประต-ูหนาตาง หรืออาจใชทับหลังสําเร็จรูปของซุปเปอรบล็อค กรณีผนังหนาตั้งแต 9 ซม. ข้ึนไป

Page 10

ขอกาํหนดงานสถาบตัยกรรม

(6) เหนือชองประตูทุกแหงท่ีกอบล็อคทับดานบนจะตองมีทับหลัง ขนาดของทับหลังจะตองไมเล็กกวาขนาดของเสาเอ็น กรณีท่ีกําแพงหยุดลอย ๆโดยระยะยื่นไมนอยกวา 1.20 ม. ไมจําเปนตองมีเสาเอ็นแตใหตอกเหล็กลอนเลก็ (Shear Plate) ท่ีดานสันในแนวตั้งของทุกกอน

(7) การกอบล็อคท่ีชนกับทองพ้ืนคานซ่ึงมีโอกาสหยอนลงมาไดตามหลักการมาตรฐานการกอสรางบางประเภท เชน พ้ืนระบบ Post Tension หรือโครงสรางเหล็กจะตองเวนชองวางท่ีสวนบนไวไมนอยกวา 2.5 ซม. แลวเสริมดวยวัสดุท่ีมีความยืดหยุนตัว เชน โฟม หรอืแผนยาง นอกจากงานกอดวยวิธีปกติ

(8) บล็อคท่ีกอใหมจะตองไมกระทบกระเทือนหรือรับน้ําหนักเปนเวลาไมนอยกวา 2 วัน หลงัจากการกอเสร็จเรียบรอยแลว

(9) ฝง PVC. ปรบัระนาบ โดยสง Shop drawing มาใหตรวจสอบกอน (10) มุมผนังฉาบปูนใหใสมุม PVC. ทุกมุม (11) การเซาะรอง ใหใชรอง PVC. รูปตัว U (12) ในสวนท่ีช องวางระหวางบลอ็คมีขนาดเลก็กวากอนมาตรฐานใหตัดโดยใชเลื่อยมือหรือเลื่อยไฟฟา

ตัดเปนกอนเล็กเทาขนาดท่ีกอ (13) การเดินทอสายไฟและฝงทอน้ําในผนัง กรณีทําหลังจากการกอผนังเรียบรอยแลว สามารถใชขอ

เหลก็ขูดเปนรองแนวลกึตามผนงัไดตามเหมาะสมโดยจะตองปลอยใหผนงัยดึเกาะกันจนแข็งแรงดเีสยีกอน แลวปดผนังดวยปนูทรายหรอืปูนฉาบ

(14) หากกรณีท่ีทําการติดตั้งทอรอยสายไฟฟาและทอน้ําไวกอนใหกอผนังหางจากแนวทอ ประมาณ 1-2 ซม. แลวอุดดวยปูนทราย หรือหากเปนทอขนาดเล็กมากใหใชวิธีกอบล็อคเปนรองตามแนวของการเดินทอไปกอนแลวคอยนําไปกอ เสร็จแลวอุดดวยปูนทรายหรือปูนฉาบก็ได

3.17.3 การฉาบปนู

(1) กรณีท่ีใชปูนฉาบสําเร็จรูปใหมีสวนผสมและกรรมวิธีในการฉาบตามคําแนะนําของบริษัทผูผลิต โดยหากทําการกอไดในแนวตรงแลวสามารถทําการฉาบผวิไดบาง โดยมีความหนาไมเกิน 1 ซม.

(2) หากกรณีใชปูนฉาบผสมมือหรือปูนฉาบสําเร็จท่ีจําเปนตองฉาบเกิน 1 ซม. แนะนาํใหทาํการฉาบเปน 2 เท่ียว โดยเท่ียวแรกใหผสมปูนคอนขางเหลวเคลือบผิวบล็อคเอาไว ท้ิงไวไมต่ํากวา 1 วัน แลวฉาบเรียบแตงผิวอีกครั้งหนึ่ง หากใชน้ํายาหนวงจะชวยให ฉาบงายข้ึน

(3) กอนฉาบปูนตองเตรียมพ้ืนท่ีท่ีจะฉาบโดยทําความสะอาดและทําใหผนังบล็อคชุมชื้นพอสมควรเพ่ือไมใหดูดน้ําจากสวนผสมปูนฉาบเร็วเกินไป โดยการรดน้าํใหช ุมตลอด แผงท่ีจะฉาบ หรอืตามคําแนะนาํของผูผลติปนูฉาบ

(4) กรณีรอยตอของบล็อคกับโครงสรางคอนกรีต เชน เสา, คาน, คสล. ใหกรลุวดกรงไก (Wiremesh) เปนแถบกวางประมาณ 15 ซม. ตลอดแนวกอนการฉาบ 4.

4.1 ขอบขาย งานปูพ้ืนและบุกระเบ้ือง

งานนี้ประกอบดวยงานปูพ้ืนและบุผนังกระเบื้องตางๆ ใหสาํเรจ็เรยีบรอยตามแบบรปู และรายการ

4.2 วัสด ุ

กระเบื้องท่ีจะนํามาใชงานตองใหมปราศจากตําหนิและรอยราวใดๆ และตองนํามาเปดภาชนะบรรจุตอหนาผู

ควบคุมงานของการไฟฟานครหลวง ณ ท่ีกอสราง

Page 11

ขอกาํหนดงานสถาบตัยกรรม

4.2.1 กระเบื้องแกรนิต, โมเสค และเซรามิค ตองไดมาตรฐานตาม มอก.จะเปนชนิดเคลือบ หรอืไมเคลอืบก็

ตาม ขนาดความหนา ลวดลาย และสตีองเปนไปตามแบบรปูและรายการ ถาไมระบุไวการไฟฟานครหลวงจะเปนผูเลือก

ใหกระเบื้องท่ีใชทําขอบค้ิวมุมตางๆ ท่ีใชประกอบกับกระเบื้องนั้นผูรับจางตองนํามาใชดวย ใชผลิตภัณฑของ COTTO,

CAMPANA หรอืเทียบเทา

4.2.2 กระเบือ้งดนิเผาตองไดมาตรฐานตาม มอก. ชนดิ ขนาดความหนา ลวดลาย และสี ตองเปนไปตาม

แบบแปลน ถาไมระบุไวใหสถาปนิกเปนผูเลือก

4.2.3 กระเบื้องท่ีใชทําขอบ ค้ิว มุมตางๆ ท่ีใชประกอบกับกระเบื้องนั้น ผูรับจางตองนํามาใชดวย จมูกบนัได

กระเบื้องจมูกบันได ตองเปนมุมไมลื่นและมีรองตามยาว สวนขนาดและความหนาใหเปนไปตามแบบรปูและรายการ

4.3 ตวัอยาง

ผูรับจางตองจัดหาตัวอยางไมนอยกวา 2 ชิ้น สงใหผูควบคุมงานของการไฟฟานครหลวงพิจารณากอน

นําไปใชงานเปนเวลาไมนอยกวา 10 วัน ตัวอยางดังกลาวใหรวมถึงวัสดุประกอบอยางอ่ืนท่ีจําเปนตองใชดวย

4.4 การเริ่มปูหรือบุกระเบ้ือง

ถามิไดระบุไวเปนอยางอ่ืน หามมิใหเอากระเบื้องท่ีไมเต็มแผนมาปู แนวของกระเบือ้งตามตัง้และตามนอนตอง

เปนแนวเดียวกัน นอกจากจะทําใหเปนลวดลายอยางอ่ืนก็ใหทาํตามแบบรปูและรายการ การจัดวางแผนกระเบื้องตอง

พยายามใหลงตัวพอดีกับผนังของหองและตองจัดแผนกระเบื้องใหพอเหมาะถาหากมีรอยตอกอสรางในอาคารนั้น ๆ

4.5 การปูและบุกระเบ้ือง

4.5.1 กระเบื้องปูพ้ืน

(1) ผิวพ้ืนคอนกรีตท่ีจะปูกระเบื้องตองสะอาดปราศจากวัสดุอ่ืนใดติดอยูท่ีผิว พ้ืนตองหยาบเพ่ือใหเกิดการยึดเหนี่ยวระหวางผิวเดิมกับวัสดุยึดประสาน และตองเปยกชื้น ไมนอยกวา 2 ชม. กอนมีการปูกระเบื้อง เม่ือเริ่มปูกระเบื้องตองกวาดน้ําบนผิวคอนกรีตออกใหหมด

(2) ตองเกลี่ยปูนใหเรียบและกวางพอท่ีจะปูกระเบื้องแตละครั้ง พ้ืนบางสวนท่ีตองมีการระบายน้ําก็ใหทําปนูใหมลีาดตามท่ีแสดงไวในแบบรปูและรายการ หามเกลี่ยปูนท่ีจะปูกระเบื้องมากกวาท่ีจะปูกระเบื้องเสร็จแตละครั้ง ความหนาของปูนตองไมนอยกวา 20 มม. เม่ือเกลี่ยปูนไดระดับแลวใหปูกระเบื้องทันทีกอนท่ีปูนจะเริ่มแข็งตัวแลวรีบตกแตงใหไดแนวระดับ เม่ือปูนเริ่มแข็งตัวตองใชน้ําสะอาดลางผิวกระเบื้องเอาสิ่งท่ีเหลือหรือไมตองการออกใหหมด ตรงรอยตอหรอืขอบกระเบือ้งตองยาแนวใหเรยีบรอยตามแบบรปูและรายการ หรอืตามความเหน็ของผูควบคุมงานของการไฟฟานครหลวงบริเวณท่ีปูกระเบื้องและบริเวณรอบ ๆตองสะอาดอยูเสมอ

4.5.2 กระเบื้องบุผนัง

(1) ผนังท่ีเปนคอนกรีตหรืออิฐกอตองมีผิวหยาบและชื้นกอนท่ีจะเริ่มงานบุกระเบื้อง (2) ปนูรองพ้ืนตองมีความหนาประมาณ 10 มม. (3) ปนูรองพ้ืนหรอืปนูยาแนว ตองเปนไปตามแบบรปูและรายการหรอืตามความเหน็ชอบของผูควบคุม

งานของการไฟฟานครหลวง เศษปูนท่ีเหลือตองรีบลางออกใหสะอาดทันทีเม่ือปูนเริ่มแข็งตัว 4.6 การทําความสะอาด

นอกจากจะไดรบัความเหน็ชอบจากการไฟฟานครหลวง หามใชสารเคมีลางกระเบื้องเปนอันขาด ใหใชน้ําสบู

ธรรมดาเทานั้นและตองรักษากระเบื้องใหสะอาด จนกวาสงมอบงานงวดสดุทายใหแกการไฟฟานครหลวง

5. งานหินขัดและหินลาง

Page 12

ขอกาํหนดงานสถาบตัยกรรม

5.1 รายการท่ัวไป

5.1.1 รายการนีร้วมถึงการจดัทํากรวดลาง ทรายลาง และงานท่ีมีลักษณะคลายคลึงกัน

5.1.2 ผูรับจางจะตองใชชางฝมือท่ีมคีวามสามารถและความชาํนาญโดยเฉพาะมาดาํเนนิการตามมาตรฐาน

5.1.3 ผูรับจางจะตองจัดเตรียมงานลวงหนาใหมีระยะเวลาจัดทําท่ีเหมาะสม ระหวางการจดัทําตองปองกัน

และระมัดระวังมิใหเปรอะเปอนผนังและอาคารสวนอ่ืนๆ ตลอดจนการทําใหทอรางระบายน้าํตางๆ อุดตัน

5.1.4 ใหผูรับจางจัดทําแผนตัวอยางหินขัด หินลาง ตามรายละเอียดท่ีสถาปนกิกําหนดมาใหคณะกรรมการ

ตรวจรับงานพิจารณาเม่ือเห็นชอบแลวจึงจะดําเนินการจัดทํากับสถานท่ีตอไปได

5.1.5 กรณีท่ีหินขัด หินลาง ท่ีทําเสร็จแลวตางแตกราว หรือเม็ดหินกระจายตัวไมสมํ่าเสมอกัน ใหผูรับจาง

แกไขโดยทุบออกแลวทําใหมท้ังชอง

5.2 วัสด ุ

5.2.1 หนิใชขนาดเบอร 2-3-4 ชนิดเกล็ดหินออนคัดพิเศษสีขาวลวน หรือวัสดุท่ีระบุไวตามแบบ หินตอง

สะอาดปราศจากเศษดนิ หิน ฝุน หรือวัสดุชนิดอ่ืนเจือปน

5.2.2 ปูนซีเมนตขาว ใชซีเมนตขาวตราชาง ตรากิเลน และตรามังกร (ของตางประเทศ) ผสมกันในอัตราสวน

ท่ีเหมาะสม

5.2.3 สผีสม ใชสีฝุนอยางดีสําหรับผสมกับปูนซีเมนตโดยเฉพาะ สวนความออนแกของสีตามท่ีสถาปนิก

ผูออกแบบจะกําหนดให

5.2.4 น้ําท่ีผสมตองใสสะอาดปราศจากน้ํามัน กรดตางๆ และสิง่สกปรกเจอืปน

5.2.5 เสนแบงหินขัดใหใชชนิด ขนาด และแผนผงัตามท่ีกําหนดใหเฉพาะแหง กรณีท่ีมิไดระบุเจาะจงไวใหใช

เสนพีวีซีสีดํา ขนาด 10 มม. และขนาด 6 มม. คุณภาพเทียบเทาผลิตภัณฑของบริษัท ธํารงคชัย จํากัด แบงหินขัดไมเกิน

4 ตรม.

5.2.6 เสนแบงหินขัดลางใหใชชนิด ขนาด และแผนผงัตามท่ีกาํหนดใหเฉพาะแหง กรณีท่ีมิไดเจาะจงไวให

เวนรองกวางและลึก 10 มม. แบงตามแนวคานและเสาโดยใชไมระแนง ขนาดดงักลาวเปนเสนแบงขณะทํา

5.2.7 กรณีใชแผนหินขัดหินสําเร็จรูป ใหใชผลิตภัณฑของบริษัท ปูนซีเมนตไทย จํากัด หรอืเทียบเทาขนาด

ตามท่ีระบุไวในแบบ

5.3 หินขัด

5.3.1 การเตรียมผิวพ้ืน ใหติดตั้งเสนแบงหินขัดตามแผนผังและระดับท่ีกําหนดใหการตอเสนแบงใหตอชน

กัน ณ ท่ีจุดตัดระหวางเสนขวางกับเสนยาวตอชนกันอยางประณีต หามตอกลางเสนโดยเดด็ขาด การเทปนูทรายรองพ้ืน

ใหดาํเนนิการตามรายการ “งานกออิฐและฉาบปนู” ขณะท่ีปูนทรายรองพ้ืนจะแข็งตัวใหขีดบนผิวหนาใหเปนรองท้ังตาม

แนวขวางแนวยาวแลวจึงทําหินขัดทับหนา การเทปูนทรายรองพ้ืนนี้ใหเผื่อความหนาของเนื้อหินขัดไมนอยกวา 15 มม.

และเม่ือขัดผิวหนาเสร็จแลวจะตองมีความหนาไมนอยกวา 12 มม.

5.3.2 ผิวหินขัด สวนผสมระหวางหินเกล็ดกับปูนซีเมนตขาวและน้ําจะตองเหมาะสมกัน เม่ือขัดผิวแลวหิน

เกล็ดจะตองอยูชิดกันมากท่ีสุดและหางสมํ่าเสมอกันท่ัวท้ังสิ้น ใชหินเกล็ดขนาดเบอร 2 - 3 - 4 หนิเบอร 2 โรยทับหนา

และใชลูกกลิ้งบดใหกระจายท่ัวกันอยางสมํ่าเสมอ ภาชนะท่ีใชผสมตองสะอาดปราศจากสิง่สกปรก หรือสนิมเจือปนและ

Page 13

ขอกาํหนดงานสถาบตัยกรรม

น้ําไมรั่ว การผสมใหตวงสวนผสมใหคงท่ีและกะปรมิาณใหพอเพียงสาํหรบัเทเตม็ชองและใชใหหมดภายใน 30 นาที หาม

เทหยดุกลางชองแบงโดยเดด็ขาดเพราะจะทําใหเกิดรอยตอ และสวนผสมแตละครั้งอาจแตกตางกันจนทําใหดางไดงาย

หามนําหินฝุนหรือวัสดุอ่ืนนอกจากท่ีกําหนดใหเจือปนโดยเด็ดขาด หินขัดท่ีเทใหมๆ ควรปองกันไมใหถูกแสงแดด มีลม

พัดจัด หรือสั่นสะเทือน บมท้ิงไวไมนอยกวา 5 วัน เม่ือขัดผวิหนาครัง้แรกจนเหน็เม็ดทรายเต็มขนาดและไดระดับแลว

ใหใชปูนซีเมนตขาวผสมสีเหมือนกับเนื้อหินขัดปาดอุดรูแตงผิวหนาอีกครั้งปลอยท้ิงไวจนปูนซีเมนตแข็งตัวแลวจึงขัด

ตกแตงผิวหนาและลงน้ํายาขัดมันเชนเดียวกับ ขัดพ้ืนหินออน หินขัดท่ีทําเรียบรอยแลวจะตองเรียบเปนมันไดระดับ เม็ด

หนิกระจายอยางสมํ่าเสมอ สีไมดาง ไมมีวัสดุอ่ืนนอกจากท่ีกําหนดไวเจือปนผิวหนาไมแตกลายงา กะเทาะหรอืแตกราว

5.4 บันไดหินขัด

ใหปฏิบัติเชนเดียวกับพ้ืนหินขัดยกเวนจมูกบันได ถามิไดระบุไวเปนอยางอ่ืนใหใช จมูกบนัได พีวีซี ชนิดมีรอง

กันลื่น 4 รอง และมีขายึดจับพ้ืนหินขัดโดยแนนหนา คุณภาพเทียบเทา ผลิตภัณฑของบริษัท ธํารงคชัย จํากัด

5.5 บัวเชิงผนังหินขัด

เปนหินขัดสีเดียวกับพ้ืน ใชหนิเกลด็เบอร 3 ลวน การทําบัวหินขัดตองตีเสนพีวีซีหางจากผนังโดยรอบ 1" ทํา

บัวโคงจรดผนัง บัวเชิงผนังตองฝงเรียบเสมอผิวปูนฉาบสูงจากพ้ืน 4" ยกเวนบัวเชิงผนังของบันไดหินขัดไมตองแบงแนว

โคงตรงเชงิผนงั

5.6 หินลาง

ใหปฏิบัติทํานองเดียวกับการทําหินขัด สวนการลางผิวใหดําเนินการเม่ือปูนซีเมนตท่ีผสมหมาดพอท่ีจะ

ทํางานได กรณีท่ีเปนผนังใหจัดทําจากบนลงมาลาง เพ่ือปองกันสวนท่ีทําการแลวเปรอะเปอนซิลิโคลนกันราทาทับไมต่ํา

กวา 2 ชั้น

6. 6.1 ชนิดของเนื้อไม งานไมทัว่ไป

ถารูปแบบหรือรายการมิไดระบุไวเปนอยางอ่ืน หรือเจาะจงอยางหนึง่อยางใดโดยเฉพาะใหถือชนิดของเนื้อไม

เปนไปตามรายการขางลางนีเ้ทานัน้ ไมเนื้อออน คือ กรวดพยอม อินทนิล ยาง แสนตาลอม เหยีง ขุมแพรก ตาเสอื

กระบาก เปนตน

6.1.1 ไมเนื้อออน ไมเนื้อออนท่ีจะนํามาใชเปนสวนของสิ่งกอสราง (ไมรวมไมแบบหรือคํ้ายันชั่วคราวตางๆ)

จะตองอัดน้ํายากอนทุกครั้ง

6.1.2 ไมเนื้อแข็ง

(1) ไมเนือ้แข็งปานกลาง คือ ตะเคียนทอง ตะเคียนหนู ตะแบก เต็ง นนทรี พลวง มะคาแต ยูงดํา รกฟา หรือไมท่ีมีคุณภาพเทียบเทาตะเคียนทอง

(2) ไมเนื้อแข็งมาก คือ กันเกรา แดง ตะครอไข ตะคลาหนาม ตะบูนดํา ประดู มะเกลือเลือด มะคาโมง ยมหนิ รัง เค่ียม เลง็มัน เสลา หลมุพอ ตะเคียนหนิ

(3) ไมเนื้อแข็งมากท่ีสุด คือ กะพ้ีเขาควาย เหลง็ ซาก ตนีนก บนุนาค 6.1.3 ไมสัก คือ ไมสักชั้นหนึ่งและชั้นท่ีสอง

6.1.4 ไมเบญจพรรณ คือ ไมแกนชนิดตาง ๆ ท่ีคละกัน

6.1.5 ไมอัดน้ํายา คือ ไมอดัน้าํยาตามมาตรฐานขององคการอุตสาหกรรมปาไม

Page 14

ขอกาํหนดงานสถาบตัยกรรม

6.1.6 แผนไมอัด (Plywood) คือ แผนไมอัดท่ีประกอบดวยแผนไมบางตั้งแต 3 ชั้นข้ึนไป วางสลับกันแลวอัด

เปนแผนเดียวกันโดยมีกาวเปนตัวประสาน คุณภาพเทียบเทาของบรษิทั ไมอดัไทย จํากัด

6.1.7 แผนใยไมอัด (Fiber board) คือ แผนไมท่ีผลิตจากเยื่อใยไมนํามาอัดเปนแผน แผนใยไมอัด มี 2

ชนดิ คือ

(1) แผนใยไมอัดแข็ง (Hard board) ถาผลิตโดยกรรมวิธีเปยก คุณภาพเทียบเทาของบรษิทั ไมอดัไทย จํากัด ถาผลิตโดยกรรมวิธีแหง คุณภาพเทียบเทาของ บริษัท ศรมีหาราชา จํากัด

(2) แผนใยไมอดัฉนวน (Insulation of board) 6.1.8 แผนชิ้นไมอัด (Laminated wood) คือ ทอนไมขนาดเล็กหลายทอนทากาวแลวอัดติดกันเปนทอนไม

ขนาดใหญ

6.2 หลักเกณฑท่ัวไปสําหรับเนื้อไม

6.2.1 ขนาดไมท่ีเลื่อยและไสแลวยอมใหเสียไมเปนคลองเลื่อยและไสกบเล็กกวาขนาดท่ีระบุได แตเม่ือตกแตง

พรอมท่ีจะประกอบเขาเปนสวนของสิ่งกอสรางแลวจะตองมีขนาดเหลือไมเล็กกวาดังนี้ ถาไมขนาดใหญกวา 4 นิ้ว ใหไส

กบออกไดเพียง ¼ " เปนอยางมาก สาํหรบัไมพืน้และฝาไมขนาดกวางใหเลก็ลงจากขนาดท่ีกาํหนดให ½ " เปนอยางมาก

ขนาดระบ ุ(นิ้ว) ½ 1 1 ¼ 1 ½ 2 2 ½ 3 4

ขนาดไสแลว(นิ้ว) ⅜ 1 3/16 1 5/16 1 5/16 1 ¾ 2 ¼ 2 1/16 3 ⅝

6.2.2 น้ําหนัก หามใชไมท่ีมีน้ําหนักเบากวาปกติ เม่ือเทียบกับไมชนิดเดียวกันท่ีมีขนาดเทากันทําการ

กอสราง

6.2.3 เนื้อไมท่ีไมอนุญาตใหใชทําการกอสราง คือ ไมทอนท่ีเล็กกวาขนาดตามท่ีอนุโลมใหหรือผุเพราะเหตุ

ใดๆ ก็ตาม หรือมีกระพ้ีหามใชในการกอสราง

6.2.4 ความชื้นและความยืดหดไมขณะท่ีนํามาติดตั้งทุกทอนจะตองมีความชื้นไมเกินรอยละ 20 และถา

ภายใน 12 เดือน นับจากวันท่ีผูวาจางรับมอบงานปรากฏวาสวนตาง ๆ ของไมท่ีประกอบข้ึนแตกหรือหดตัวเกินกวา

ธรรมชาติของไมท่ีผึ่งแหงดีแลว ผูรับจางจะตองเปลี่ยนหรือเพ่ิมและจัดทําใหใหมทันที โดยไมคิดคาแรงหรือวัสดุท่ีเปลี่ยน

นั้น

6.2.5 การแบงชั้น

(1) ไมชั้นท่ี 1 สามารถเห็นไดโดยงายวาเปนไมท่ีไดคัดเลือกมาอยางดีแลว ตนตองไมคดโคง แตกราว มีตําหนิ บิด หรอืเสือ่มความงาม สามารถแตงใหเหน็ความงามของเนือ้ไมตามธรรมชาตไิด

(2) ไมชั้นท่ี 2 ตองไมผุ ไมมตีากลวง ไมติดกระพ้ี หรือแตกราวจนเสียกําลัง ตําหนิอ่ืน ๆยอมใหมีไดบาง แตตองปะซอมใหเรียบรอยและเหมาะสมสําหรับการตกแตงโดยวิธีทาสี

6.3 งานชางไม

6.3.1 การเขาไม การเขาไมตองพอดตีรงตามท่ีกาํหนดให การบากไม เขาไม ตองทําใหแนบสนิทเต็มหนา

สวนท่ีประกับ และแข็งแรง

6.3.2 การตอไม โดยท่ัวไปไมอนุญาตใหตอไมเวนแตมีความจําเปนซ่ึงผูวาจางจะใหผูออกแบบเปนผูพิจารณา

และกําหนดให

6.3.3 การตกแตงไม

Page 15

ขอกาํหนดงานสถาบตัยกรรม

(1) ไมสวนท่ีไมตองไส คือ สวนท่ีมีสิ่งอ่ืนปกคลุมมองไมเห็น หรือไมมีผลตอความเรียบตรงของสิ่งท่ีมาปด เชน โครงหลงัคาสวนท่ีอยูภายในฝาเพดาน กระทงฝาเพดานดานบน และดานขาง เปนตน หรอืตามท่ีกาํหนดไว

(2) ไมสวนท่ีตองไส คือ สวนท่ีสามารถมองเหน็ไดทัง้หมด และสวนท่ีเก่ียวของกับระดับของสิ่งท่ีมาปดทับ เชนสวนใตของกระทงฝาเพดาน เปนตน

(3) การไสไมจะตองไสตกแตงจนเรยีบตรงไมเปนลอน หรือลูกคลื่น และหากยงัมีรอยคลองเลือ่ยหลงเหลืออยูตองไสหรือแตงใหมจนเรียบ การไสตองทําใหไดฉาก มีมุม หรอืรปูรางและขนาดตามท่ีกาํหนดไว สวนใดท่ีไมอาจไสเรยีบได เชน ตาไม ใหใช กระดาษทรายขัดตกแตงจนเรยีบ

6.3.4 การยึดดวยตะปูตาง ๆ

(1) ชนดิและขนาดตองนาํมาใชใหเหมาะสม ความยาวของตะปูเกลียวไมนอยกวา 2.5 เทาของความหนาของไมท่ีถูกยึด

(2) การเจาะรสูาํหรบัตะปู หากจําเปนตองเจาะรูนําเพ่ือมิใหไมแตก ใหเจาะรูสําหรับตะปูเกลียวได แตตองไมเกิน 0.9 เทาของขนาดตะปเูกลยีว และโตไมเกิน 0.8 เทา สาํหรบัตะปธูรรมดา

(3) การตีตะปูสําหรับไมกระดาน ไมเขาลิ้นใหยึดดวยตะปู 2 ตัว ทุก ๆ ระยะเครา หรือตองงการตีตะปูใหตีหางจากขอบไมไมนอยกวา 10 มม. และไมมากกวา 20 มม. สําหรับไมเขาลิ้นใหตอกท่ีหมุดลิ้นทุกชวงตง กรณีท่ีใชตะปูเกลยีวหามใชวธิตีอกโดยเดด็ขาดใหหมุนเขาโดยไขควงขนาดท่ีเหมาะสมกับหวัตะปู

6.3.5 การยึดดวยนอต หรือสลักเกลียว

(1) ชนดิและขนาด เปนเหล็กชนิด และความยาวจะตองเหมาะสม (2) การเจาะรู ตองเจาะรูใหพอดีกับนอต หรือสลักเกลียวเขาไดงายและไมโตกวาขนาดนอตรอยละ 6 (3) แหวนรองนอตทุกตัวจะตองมีแหวนมาตรฐานหรือตามท่ีกําหนดรองอยูใตแปนเกลียวทุกแหง (4) ระยะหางของรนู อต เม่ือใชรับแรงดึงหางไมนอยกวา 7 เทาของเสนผาศูนยกลางนอต เม่ือใชรับ

แรงอัดตองไมนอยกวา 4 เทา ตามแนวยาว และ 1.5 เทาของเสนผาศูนยกลางตามแนวกวาง หรือตามท่ีผูวาจางจะใหผูออกแบบกําหนด

6.4 ขอยกเวนพิเศษ

เพ่ือเปนการประหยัดทรัพยากรของชาติ และบรรเทาความเสยีหายของปา (ตามมตขิองคณะรฐัมนตรี เม่ือ

วันท่ี 3 กันยายน 2517) อนุญาตใหผูรับจางนําไมคํ้ายันชั่วคราวตางๆ ท่ีรอกมาแลว นาํมาใชกอสรางเปนสวนของอาคาร

ได เชน ทําเคราฝาเพดาน หรือไมภายในฝาตางๆ เปนตน ท้ังนี้ ไมเหลานี้ตองเปนไมรูปพรรณมีชนิดของเนื้อไม ขนาด

และคุณสมบัติอ่ืนๆ ตรงกับสวนท่ีกําหนดใหใช ในกรณีท่ีกําหนดใหใชไมเนื้อออนกอนนําไปใชตองอัดน้ํายาตามขอ 6.1.5

กอนทุกครั้ง

7. 7.1 ขอบขาย งานฝาเพดาน

รายการนี้ใชสําหรับงานกอสรางท่ัวไป นอกจากรายการประกอบแบบ หรอืรายการเฉพาะท่ีจะระบเุปนอยาง

อ่ืน

7.2 รายการท่ัวไป

Page 16

ขอกาํหนดงานสถาบตัยกรรม

7.2.1 ชองเขาตรวจ ฝาเพดานสวนใดท่ีมีชองวางกวางพอท่ีจะเขาไปได ตองจัดทําชองฝาเพดานใหปดเปดได

อยางนอย 1 แหง โดยมีขนาดท่ีเหมาะสมติดบานพับมือจับและกลอน สวนตําแหนงใหถือตามท่ีกําหนดไว หรือท่ีผูวาจาง

จะใหผูออกแบบ หรือผูควบคุมงานกําหนดใหขณะท่ีทําการกอสราง ท้ังนี้ ยกเวนฝาเพดานชนิดท่ีถอดเขาออกไดอยูแลว

7.2.2 เพดานท่ีมีทอตางๆ ซอนอยูภายในใหมีชองเขาตรวจเชนเดียวกับขอแรก แตถาไมมีชองวางกวางพอให

คนเขาตรวจได ใหยึดแผนฝาเพดานดวยตะปูเกลียวเพ่ือสามารถถอดฝาเพดานตรวจซอมทอเหลานั้นไดในภายหลัง ท้ังนี้

ใหปฏิบัติเฉพาะฝาเพดานแผนท่ีตรงกับรอยตอ หรือยูเนี่ยนทอเทานั้น

7.2.3 มอบเพดาน ถาในแบบรปูและรายการมิไดกาํหนดชนดิของมอบฝาเพดานไว ใหผูรับจางจัดทําและ

ติดตั้งมอบฝาเพดาน โดยใชวัสดุท่ีเหมาะสมและกลมกลืนกับฝาเพดานในกรณีท่ีติดตั้งแผนฝาเพดานแบบเวนรองดานรมิ

ระยะ 1 ซม. โดยรอบ ท้ังนี้ผูรับจางตองเสนอขอความเห็นชอบจากการไฟฟานครหลวงกอน

7.3 โครงคราวฝาเพดาน

7.3.1 โครงคราวเหลก็ชบุสงักะสี

(1) โครงคราวหลักและโครงคราวซอยเปนแผนเหล็กชุบสังกะสีข้ึนรูปของบริษัท สยามอุตสาหกรรมยปิซ่ัม จํากัด หรอืเทียบเทาโดยมาตรฐานตาม มอก. 50-2538 และ มอก.863-2532 หนาไมนอยกวา 0.55 มม. หรอืมีขนาดหนาตัดท่ีสามารถรับแรงไดไมนอยกวาท่ีระบุ

(2) ฉากเหลก็ยดึผนงั เปนแผนเหล็กชุบสังกะสี ขนาดหนาตัดไมนอยกวา 25x25 มม. หนาไมนอยกวา 0.55 มม.

(3) อุปกรณประกอบ - ลวดเหลก็ ตองมีขนาดเสนผาศูนยกลางไมนอยกวา 5 มม. - อุปกรณปรับระดับตามมาตรฐานผลิตภัณฑนั้น ๆ

7.3.2 โครงคราวทีบาร

(1) ถาระบุเปนอลูมิเนียมใหใชผลิตภัณฑของบริษัท ปูนซีเมนตไทย จํากัดหรือเทียบเทา 1” x 15” (±10%) หนา 9 มม. (±12%)

- โครงคราวซอยใหมขีนาด 1” x 1” (±10%) หนา 9 มม. (±12%) - โครงคราวริมใหมีขนาด 1” x 1” (±10%) หนา 9 มม. (±12%)

(2) ถาระบุเปนเหล็กเคลือบสี ใหใชผลิตภัณฑของบริษัท สยามอุตสาหกรรมยิปซ่ัม จํากัด หรือเทียบเทา

- โครงคราวหลกัใหมขีนาด 24 x 32 มม. (±10%) หนา 0.35 มม. (±10%) - โครงคราวซอยใหมขีนาด 24 x 32 มม. (±10%) หนา 0.35 มม. (±10%) - โครงคราวริมใหมีขนาด 19 x 32 มม. (±10%) หนา 0.60 มม. (±10%)

(3) อุปกรณประกอบ - ลวดเหลก็ ตองมีขนาดเสนผาศูนยกลางไมนอยกวา 5 มม. - อุปกรณปรับระดับ อุปกรณยึดโครงคราว และคลิปยึดแผนฝาเพดานใหเปนไปตาม

มาตรฐานผลิตภัณฑนั้น ๆ 7.3.3 โครงคราวระบบอ่ืน ๆ ใหเปนไปตามมาตรฐานของผูผลติรายนัน้ ๆ

7.4 แผนฝาเพดาน

Page 17

ขอกาํหนดงานสถาบตัยกรรม

7.4.1 กอนท่ีจะติดตั้งแผนฝาเพดาน จะตองใหผูควบคุมงานของการไฟฟานครหลวงตรวจสอบ ระดบัและ

ความเรยีบรอยของโครงคราวเสยีกอน เม่ือไดรับความเห็นชอบแลวจึงจะดําเนินการติดตั้งแผนฝาเพดานได

7.4.2 กระเบื้องแผนเรียบ หนา 4 มม. ใชสําหรับโครงคราวไมท่ีมิไดระบุประเภทของแผนฝาเพดานเปน

ผลิตภัณฑของบริษัท ปูนซีเมนตไทย จํากัด แผนยิบซ่ัมบอรดหากมิได ระบุไวในรายการใหเปนดังนี้

(1) โครงคราวไมและโครงคราวเหลก็ชบุสงักะสี ใชชนิดแผนเรียบแบบขอบลาดขนาด 4x8 ฟุต หนา 9 มม. เปนผลิตภัณฑของ บริษัท ปูนซีเมนตไทย จํากัด หรือบริษัท ไทยผลิตภัณฑยิบซ่ัม จํากัด หรือเทียบเทา

(2) โครงคราวทีบารใชชนิดแผนเรียบหนา 9 มม. ตดัเปนแผนขนาดเทาชองโครงคราว เปนผลิตภัณฑ ของบริษัท ปูนซีเมนตไทย จํากัด หรอืบริษัท ไทยผลิตภัณฑยิบซ่ัม จํากัด หรือเทียบเทา

7.4.3 แผนฝาเพดานประเภทอ่ืนๆ รายละเอียดใหเปนไปตามบริษัทฯผูผลิต

7.5 การติดตั้ง

7.5.1 โครงคราวเหลก็ชบุสงักะสี

(1) การติดตั้งท่ัวไปใหเปนไปตามมาตรฐานของผลิตภัณฑนั้น ๆ “โดยจะใชวิธีเชื่อมไมได(2) โครงคราวใหติดหางกัน 0.60 x 1.20 ม. แขวนดวยลวดเหลก็ พรอมมีอุปกรณปรับระดับไดยึดโครง

คราวเหลก็ทุกระยะ 1.20 ม.

(3) การตดิตัง้โครงคราวฝาเพดาน ใหตัง้ตนแบงชองจากก่ึงกลางหองเรยีงออกไปท้ังสองขางเทา ๆกัน โดยใหเศษของโครงเคราตอนรมิมีขนาดเทากันโดย ประมาณท้ัง 2 ดาน

(4) ในกรณีทีใ่ชดวงโคมไฟชนดิฝงฝาเพดาน ตองทําชองสําหรับติดตั้งดวงโคม โดยจะตองซอยโครงคราวสาํหรบัยดึหรอืจบัดวงโคมใหไดระยะและขนาดตามแบบรปูและรายการ หรอืตามท่ีผ ูควบคุมงานของการไฟฟานครหลวงกําหนด

(5) ในกรณีทีใ่ชดวงโคมไฟชนดิฝงฝาเพดาน ตองจัดทําโครงสาํหรบัยดึหรอืจบัดวงโคม โดยซอยโครงคราวตามตาํแหนงของดวงโคมกอนท่ีจะกรแุผนฝาเพดาน หรอืตามท่ีผ ูควบคุมงานของการไฟฟานครหลวงกําหนด

(6) การยดึเหลก็ฉากเขากับโครงสรางของอาคารหรอืผนงัตองไดแนว โดยวางชวงหางกันไมเกิน 1.20 ม.

(7) การยดึลวดแขวนโครงคราว ตองมีเหล็กฉากสําหรับยึดกับเพดานคอนกรีต โดย ยึดดวยพุกโลหะอยางดี ขนาดภายนอก ¼ นิ้ว หรอื ⅜ นิ้ว ท้ังนี้ข้ึนอยูกับการรับน้ําหนักของฝาเพดาน

(8) การตดิตัง้แผนฝาเพดานเขากับโครงคราว ใหยึดดวยสกรูเกลียวปลอย ขนาด 25 x 3.5 มม. ตรงแนวกลางแผนทุกระยะ 0.30 ม. และตามแนวรอยตอระหวางแผนทุกระยะ 0.20 ม.

(9) เม่ือทําการติดตั้งแผนฝาเพดานแลวตามแนวรอยตอระหวางแผนใหฉาบดวยยิปซ่ัม และปดทับดวยผาเทปพรอมขัดแตงใหเรียบรอย

7.5.2 โครงคราวทีบาร

(1) การติดตั้งท่ัวไปใหเปนไปตามมาตรฐานของผลิตภัณฑนั้น ๆโดยจะใชวิธีเชื่อมไมได ระยะหางของโครงคราวใหเปนไปตามท่ีกาํหนดในแบบหรอืขอกําหนดเฉพาะงาน พรอมแขวนดวยลวดเหล็กมีอุปกรณปรับระดับได โดยยดึท่ีโครงคราวหลักทุกระยะ 1.20 ม.

(2) การตดิตัง้โครงคราวหลกัและโครงคราวซอย ใหตั้งตนแบงจากชวงก่ึงกลางหองเรียง ออกไปท้ังสองขางเทา ๆกัน โดยใหเศษของโครงคราวตอนรมิมีขนาดเทากันโดยประมาณท้ัง 2 ดาน แตตองไมเกินครึ่งหนึ่งของระยะหางของโครงคราวตามท่ีกําหนดในแบบหรอืขอกําหนดเฉพาะงาน

Page 18

ขอกาํหนดงานสถาบตัยกรรม

(3) การยดึโครงคราวรมิเขากับโครงสรางของอาคาร ตองทําใหไดระดับและไดแนวโดยรอบ (4) การยดึลวดแขวนโครงคราวตองมีเหลก็ฉากสาํหรบัยดึกับเพดาน ถาเพดานเปนคอนกรตี ใหใชพุก

โลหะอยางด ีขนาดภายนอก ¼ นิ้ว หรอื ⅜ นิ้ว ท้ังนี้ข้ึนอยูกับการรับน้ําหนักของฝาเพดาน (5) ตองจดัทําโครงสาํหรบัยดึดวงโคมไฟใหเหมาะสมกับดวงโคมไฟแบบนัน้ ๆ ยดึใหแข็งแรงและม่ันคง

พรอมจดัทําลวดปรับระดับสําหรับแขวนดวงโคมไฟตามตําแหนง ของดวงโคมดวย (6) การตดิตัง้แผนฝาเพดาน ใหยึดดวยคลิปยึดแผนฝาเพดานทุกแผนยกเวนชองท่ีผูควบคุมงาน

กําหนดใหเปนชองสาํหรบัข้ึนตรวจฝาเพดาน 7.5.3 โครงคราวระบบอ่ืน ๆ ใหเปนไปตามมาตรฐานของผูผลติรายนัน้ ๆ

7.6 ระดับฝาเพดานและชองแสง

อาจเปลี่ยนแปลงระดับความสูงต่ําเพ่ือใหเหมาะสมกับประโยชนตอการใชสอยและความเรียบรอยมากท่ีสุด

ท้ังนี้ตองไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจการจาง

8. 8.1 ขอบขาย งานประต ู- หนาตาง

รายการนี้ใชสําหรับงานกอสรางท่ัวไปท่ีมิไดระบุวัสดุอุปกรณเฉพาะท่ีไว

8.2 วัสดุอุปกรณ ไดแก

8.2.1 วงกบไม

(1) ใหใชชนิดของไมตามท่ีกําหนดให (2) การจดัทําจะตองไส เซาะรอง บงัใบ ตกแตงอยางประณีตและตรงตามแบบ รปูและรายการละเอียด

หรือตามท่ีผูออกแบบจะกําหนดรายละเอียดใหขณะทําการกอสราง การประกอบวงกบจะตองเขาไมโดยการเจาะเขาเดอืยและเขามุมอยางประณีต และแนนหนาทุกแหงไดดิ่ง ไดฉากหรือตามท่ีกําหนดให หามประกอบกันโดยวิธีตัดชนโดยเด็ดขาด

8.2.2 ประต ู- หนาตางอลูมิเนียม

(1) อลูมิเนียม เปนผลิตภัณฑของ NIKKEI THAI, เมืองทองอุตสาหกรรม หรือเทียบเทา เนือ้ของอลูมิเนียมจะตองเปน Alloy ซ่ึงมีคณุภาพเหมาะสมกับงานสถาปตยกรรม โดยมี Ultimate Tensile Strength ไมนอยกวา 22,000 ปอนด/ตารางนิว้

(2) ความหนาของหนาตดัวงกบ - ประตูบานสวิง หนาไมนอยกวา 1.5 มม. - ชองแสงตดิตาย หนาไมนอยกวา 1.5 มม. - หนาตางบานเปด (บานกระทุง) หนาไมนอยกวา 2.0 มม. - หนาตางบานเกล็ด หนาไมนอยกวา 1.5 มม.

(3) ความหนาของหนาตดักรอบบาน - ประตูบานสวิง หนาไมนอยกวา 2.3 มม. - ประตูบานเลื่อน หนาไมนอยกวา 1.5 มม. - หนาตางบานเลื่อน หนาไมนอยกวา 1.5 มม. - หนาตางบานเปด (บานกระทุง) หนาไมนอยกวา 2.0 มม.

(4) ขนาดความหนาของอลูมิเนียมทุกชิ้นจะตองไมเล็กหรือบางกวาท่ีระบุ โดยมีความผดิพลาดท่ียอมให (Allowable Tolerancd) +10%

Page 19

ขอกาํหนดงานสถาบตัยกรรม

(5) ผิวของอลูมิเนียม สถาปนกิระบภุายหลงัและความหนาของ Film จะตองไมต่ํากวา 60 ถึง 80 Microns และความคลาดเคลือ่นท่ียอมให (Allowable Tolerancd) + 2 Microns และตองมีผลงานทางดานสีเคลือบพรอมหนงัสอืรบัรองผลงาน และจะตองรับประกันคุณภาพสีเปนเวลา 10 ป

(6) ชนดิของอุปกรณประกอบบาน - Door closer ประตูบานสวิง Dorma, New star, VVP - มือจบัประตบูานสวงิ สแตนเลสขัดเงา VVP, Tristar - กุญแจประตูบานสวิง Yale - มือจับลอ็คบานเลือ่น Reliance, VVP - ลูกลอชุดบานเลื่อน Delma, VVP, Tristar - มือจับล็อคบานเปด Meles nelson, VVP - บานพับชดุบานเปด A.W.Anderberg, VVP - ยางรองกระจก S.P., S.M.P. - สกัหลาด Schlegel - Glazing compound Z Bond - Silicone Sealant Dow corning, G.E., Wacker

(7) กระจก Float ผลิตภัณฑของ บริษัท กระจกไทยอาซาฮี จํากัด หรือเทียบเทา - พ้ืนท่ีนอยกวา 18 ฟุต2 หนาไมนอยกวา 6.0 มม. - พ้ืนท่ี 18-25 ฟุต2 หนาไมนอยกวา 6.0 มม. - พ้ืนท่ีมากกวา 25 ฟุต2 หนาไมนอยกวา 8.0 มม. - กระจกบานเกลด็ หนาไมนอยกวา 5.0 มม.

8.2.3 ประต ู– หนาตางเหลก็

(1) วงกบและบานประตูใชผลิตภัณฑของ Thai Rolling Shutters หรอื ไดนดโพร หรอื Daimond Door หรือเทียบเทา เนื้อของเหล็กจะตองเปนแผนเหล็กขาวชุบกาลวาไนซ เคลอืบอบดวยสโีพลเีอสเตอร ซ่ึงมีคุณภาพเหมาะสมกับงานสถาปตยกรรม

(2) ขนาดความหนาของชิน้งานจะตองไมเล็กหรือบางกวาท่ีระบุในแบบ รปูและรายการโดยมีความผดิพลาดท่ียอมให (Allowable Tolerancd) – 10%

- มือจับบานประตูลูกบิด STAINLESS ของ YALE (BRANDY WINE) BR.NO.5237 หรอื SCHLAGE หรอื STAR SHOWA NO.G.24

- มือจับบานหนาตาง มือจับชนิดลอคในตัวของบริษัทผูผลิตนั้น ๆ - บานพับประต ูบานพับเหลก็ขนาด 5x4 นิ้ว หนา 4 มม. หรอืตามมาตรฐานของ

บริษัทผูผลิตนั้น ๆ - บานพับหนาตางบานเปด บานพับวิทโกขนาด 18 นิ้ว หรอืตามมาตรฐานของบรษิทัผูผลติ - ยางรองกระจก S.P., S.M.P.

(3) กระจก Float ผลิตภัณฑของบริษัท กระจกไทยอาซาฮี จํากัด หรอืเทียบเทา - พ้ืนท่ีนอยกวา 18 ตรฟ. หนาไมนอยกวา 6.0 มม. - พ้ืนท่ี 18-25 ตรฟ. หนาไมนอยกวา 6.0 มม. - พ้ืนท่ีมากกวา 25 ตรฟ. หนาไมนอยกวา 8.0 มม.

Page 20

ขอกาํหนดงานสถาบตัยกรรม

- กระจกบานเกลด็ หนาไมนอยกวา 5.0 มม. 8.2.4 ประตเูหลก็ทนไฟ เหล็กแผนท่ีใชทําประตูจะตองเปนวัสดุเหล็กแผนรีดเย็น Calvanize Coated steel

(JIS 3313) หนาอยางต่ํา 1.6 มม. สําหรับแผนบาน (Door Leaf) ความหนาของบานประตู 45 มม. เปนอยางต่ําภายใน

บานประตูบรรจุดวย Rock wool ชนดิ Fire Resistance หรือวัสดุใยหินชนิดทนความรอนสูงยึดติดแนนดวยกาวชนิด

พิเศษเพ่ือเสรมิความแข็งแรงและสามารถทนไฟไดไมต่ํากวา 2 ชั่วโมงวงกบประตูผลิตข้ึนจากเหล็กพิเศษชนิดเดียวกับตัว

บาน ความหนาของเหลก็ 1.6 มม. พับข้ึนรูปและเชื่อมยึดกันเปนวงกบ 4 ขา มีซีลยางกันควันทําจากวัสดุยางสังเคราะห

ทนความรอนไดสูงติดอยูโดยรอบประตูทนไฟ ประตูทนไฟทุกชนิดจะตองไดรับการรับรองตามมาตรฐาน BS, UL หรอื

มอก. หรอื วสท โดยวงกบและบานประตูเหล็กใชผลิตภัณฑของ DECORA DOOR บริษัท สยามนวภณัฑ จํากัด หรอื

DIAMOND DOOR หรอืเทียบเทาชุดรางเลื่อนสําหรับประตูเหล็กทนไฟใชของ HENDERSON ของ LOUISET

LEONOWENS (THAILAND LIMITED) หรอืเทียบเทา

8.2.5 ประตพูลาสตกิ

(1) วงกบและบานประต ูใหใชผลิตภัณฑของ BATHIC หรอื EQUIVALENT หรอืเทียบเทาเนือ้ของพลาสติกจะตองทําจาก พี.วี.ซี.ผสมสารยวูี (สารปองกันแสงอุลตราไวโอเลท) และสารอิมแพค โมดไิฟเออร (สารรบัแรงกระแทก)

(2) ขนาดความหนาของชิน้งาน จะตองไมเล็กหรือบางกวาท่ีระบใุนแบบรปูและรายการโดยมีความผดิพลาดท่ียอมให (Allowable Tolerance) – 10%

- วงกบประตู หนาไมนอยกวา 1.8 มม. - บานประตู หนาไมนอยกวา 1.3 มม. - ขอบบานประตู หนาไมนอยกวา 1.2 มม. - ขอบบานเกลด็ หนาไมนอยกวา 2.0 มม. - เกล็ดพลาสติก หนาไมนอยกวา 1.4 มม. - ไสขอบบาน หนาไมนอยกวา 1.5 มม.

(3) สขีองประต ูการไฟฟานครหลวงจะเปนผูกาํหนดใหในขณะกอสราง โดยสีผิวจะตองผานการเคลือบดวยสารเทอรโมพลาสติกยูรีเทน (Thermoplastic Urethane) และจะตองมีหนังสือรับรองผลงานทางดานสีเคลือบจากบริษัทฯ ผูผลิต

(4) ชนดิของอุปกรณประกอบบาน - มือจบับานประตู ลูกบิด STAINLESS ของ YALE รุน 5800 หรอื SCHLAGE หรอื VVP - บานพับประต ูNSK.SIDE 101.6 x 101.6 x 2 มม. หรอืของ ARCH No.885.5 Side 4” x

4” x 2 มม. T.H. - อุปกรณยึดวงกบ ตามมาตรฐานของบรษิทัผูผลติ

8.2.6 ประตูเหล็กมวน

(1) ใบประต ูทําดวยเหล็กกลา Hot Dipped Galvanized ผานข้ันตอนการเคลอืบสี ซ่ึงมีชั้นสีตามมาตรฐาน JIS.G.3312/79 ใหใชผลิตภัณฑของ THAI ROLLING SHUTTERS CO.,LTD. หรอื BANGKOK SHUTTERS CO., LTD. หรือเทียบเทา และสามารถทนไฟไดไมต่ํากวา 2 ชัว่โมง (สําหรับประตูเหล็กมวนทนไฟ) โดยไดมาตรฐาน BS, UL หรอื มอก. หรอื วสท.

Page 21

ขอกาํหนดงานสถาบตัยกรรม

(2) กลองเก็บประตูตอนบน ใหใชแผนเหล็กหนาไมนอยกวา 0.5 มม. โครงเหล็กสําหรับยึดแผนเหล็ก จะตองมีโครงเหล็กชวงกลางดวย

(3) ขนาดความหนา น้ําหนัก และความกวางท่ีใชใหเปนดังตอไปนี้ :- ความหนา น้ําหนักในประตู กวางไมเกิน / ม. สูงไมเกิน /ม. หมายเหตุ

เบอร มม. กก. ม.2 ลอนเดี่ยว ลอนคู

23 0.50 6.64 4.00 4.00 3.00 22 0.70 8.16 4.00 4.00 3.00 20 0.90 13.00 5.00 5.00 4.00 18 1.20 18.20 6.00 6.00 6.00 18 1.20 16.50 6.00-10.00 - 6.00 ขนาดจมัโบ 16 1.60 22.40 7.00-10.00 - 6.00 16 1.60 21.70 8.00-10.00 - 6.00 ขนาดจมัโบ

(4) ระบบเปด - ปด ของประตูเหล็กมวน ถาในแบบรูปและรายการมิไดระบุระบบการ เปด-ปด ของประตูเหล็กมวนไวใหพิจารณาเลือกใชระบบตาง ๆดังตอไปนี้ แตทัง้นีต้ องคํานงึถึงความเหมาะสมในการใชงานของโครงสรางอาคารแตละรปูแบบ โดยจะตองไดรับความเห็นชอบจากการไฟฟานครหลวงเปนลายลักษณอักษรเสียกอน

- ระบบรีโมทคอนโทรลพรอมชุดโซเปดฉุกเฉิน ใหใชกับประตูแบบบานเดี่ยวขนาดความกวางตองไมเกิน 10.00 ม. ความสูงตองไมเกิน 10.00 ม. น้ําหนักของบานประตูตองไมเกิน 2,300 กก./บาน

- ระบบไฟฟาและโซ ใหใชกับประตูแบบบานเดี่ยว ขนาดความกวางตองไมเกิน 10.00 ม. ความสูงตองไมเกิน 10.00 ม. น้ําหนักของบานประตูตองไมเกิน 1,600 กก./บาน

ขนาดมอเตอร/แรง น้ําหนักท่ียกประตูได / กก. กําลังไฟฟา ½ 0-300 3 เฟส 4 สาย 380 โวลท 1 300-500 3 เฟส 4 สาย 380 โวลท 2 500-800 3 เฟส 4 สาย 380 โวลท

2 (พิเศษ) 800-1100 3 เฟส 4 สาย 380 โวลท 3 1100-1600 3 เฟส 4 สาย 380 โวลท

- ระบบโซใหใชกับประตูท่ีมีความกวางไมเกิน 6.00 ม. และสูงไมเกิน - 5.00 ม. น้ําหนักของบานประตูตองไมเกิน 400 กก./บาน - ระบบมือหมุน ใหใชกับประตูท่ีมีความกวางไมเกิน 6.00 ม. และสูงไมเกิน 4.00 ม.

น้ําหนักของบานประตูตองไมเกิน 300 กก./บาน - ระบบมือดึง (สปรงิ) ใหใชกับประตูท่ีมีความกวางไมเกิน 4.00 ม. และสูงไมเกิน 4.00 ม.

น้ําหนักของบานประตูตองไมเกิน 120 กก./บาน (5) การเจาะชองระบายอากาศ ถาในแบบรปูและรายการมิไดระบรุะยะและระดบัในการเจาะชอง

ระบายอากาศไว ผูรบัจางจะตองเสนอแบบการเจาะชองระบายอากาศใหเหมาะสมกับงาน โดยไดรับความเห็นชอบจากผูควบคุมงานของการไฟฟานครหลวงเปนลายลักษณอักษรเสียกอน

(6) อุปกรณประกอบประตูใหเปนไปตามมาตรฐานของบริษัทฯ ผูผลิตนั้น ๆจะตองมีลอคบานท่ีแนนหนา และแข็งแรงพรอมกุญแจสาํรอง จะตองมีกลอนภายใน โดยผูควบคุมงานจะเปนผูกําหนดใหติดตั้งหรือไมก็ได

Page 22

ขอกาํหนดงานสถาบตัยกรรม

8.3 การประกอบตดิตัง้

8.3.1 วงกบไม

(1) ไมวงกบทุกตัวกอนนําไปติดตั้ง ใหทาดวยน้ํามันหรือแชลแลคกันเปอนกอน 1 ครั้ง เม่ือติดตั้งแลวตองไดดิ่ง แนน และตรงตามท่ีกาํหนดให ถาติดตั้งวงกบไมกับสวนท่ีเปนอิฐหรือคอนกรีตบล็อคจะตองเทเสาเอ็นคอนกรีตเสริมเหล็กระหวางอิฐหรือคอนกรีตบล็อคกับวงกบไมทุกแหง

(2) การยึดไมวงกบกับสวนท่ีเปนคอนกรีต - ถาตั้งวงกบกอนเทเสาเอ็น ใหใชตะปู 3 นิ้ว ตอกตดิกับวงกบจากผวิของวงกบ กบดานท่ี

จะเทคอนกรีตกอนทุกครั้ง ทุกๆ ระยะ 0.40 ม. โดยใหหัวตะปูโผลฝงในคอนกรีตประมาณ 2 นิ้ว - ถาตั้งเสาเอ็นกอน หรือติดกับเสาคอนกรีตเสริมเหล็ก ใหยึดดวยตะปูเกลียวทุกระยะ

0.60 ม. โดยใหเจาะรูสําหรับตะปูเกลียวท่ีวงกบจนทะลุลงในเนื้อท่ีคอนกรีตใสพุก PVC. ขนาดท่ีเหมาะสมลงในรคูอนกรตีนั้น แลวยึดดวยตะปูเกลียวจนแนน กอนยึดตะปูเกลียวใหเจาะรูสําหรับซอนหัวตะปูนี้ดวยขนาดเสนผาศูนยกลาง 10-15 มม. ลกึประมาณ 10 มม. เม่ือยึดตะปูแลวใหอุดรูปดซอนหัวตะปูดวยไมชนิดเดียวกับวงกบใหสนิทเรียบรอยและกลมกลนืกับวงกบ หามอุดรูเหลานี้ดวยสิ่ง อ่ืนนอกจากท่ีกาํหนดไว

- วงกบชองแสงอาจลดระดบัลงไดตามความเหมาะสมของระดบัฝาเพดาน เพ่ือสะดวกและเปนประโยชนตอการใชสอย ท้ังนีใ้หเปนไปตามมาตรฐาน มอก. 54-2516

8.3.2 ประต ู– หนาตางอลูมิเนียม

(1) การติดตั้งวงกบ และกรอบบาน จะตองไดดิ่งและฉากถูกตองตามหลักวิชาชางท่ีดี (2) กรอบวงกบจะตองยึดติดแนนกับพ้ืน เสา- คานเอ็น หรือทับหลัง คสล. โดยใหตะปคูวง Cadmium

Countersunk มี plug ไนลอนทุกระยะ 40 ซม. โดยตะปูควงท่ีใชขันวงกบทุกตัวตองเปน Stainless Steel ในสวนท่ีมองเห็น สําหรับสวนท่ีมองไมเห็น อนุญาตใหใชตะปูควงชนิดท่ีชุบ Cadplatedได

(3) รอยตอรอบ ๆวงกบประตูและหนาตาง ท้ังภายในและภายนอกสวนท่ีแนบติดกับปูนฉาบคอนกรีต ไม หรือวัสดุอ่ืนใด จะตองอุดดวย Silicone Rubber โดยสามารถกันน้าํฝนไมใหผานเขามาในตวัอาคารได

(4) ติดตั้งโดย บริษัท LOXLEY จํากัด หรอื วันชัย ซัลพลาย จํากัด หรอื C.N. Progress Inter Group 8.3.3 ประต ู- หนาตางเหล็ก

(1) การติดตั้งวงกบ และกรอบบาน จะตองไดดิ่งและฉากถูกตองตามหลักวิชาชางท่ีดี (2) การยดึวงกบกับผนงั ใหโผลเหล็กขนาดเสนผาศูนยกลาง 6 มม. จากผนงัอยางนอยขางละ 3 จุด

และดานบนอีก 1 จุด เพ่ือเชื่อมยึดกับวงกบโดยการเชื่อมตองเชื่อมดวยไฟฟาบริเวณดานหลังวงกบ และตองไมทําใหผิวท่ีเคลอืบสขีองวงกบสวนใด ๆท่ีมองเหน็เสยีหาย กอนเทเสาเอ็นและทับหลงั คสล. จะตองใหผูควบคุมงานของการไฟฟานครหลวงตรวจสอบเสยีกอน

(3) รอยตอรอบ ๆวงกบประตแูละหนาตางท้ังภายในและภายนอก สวนท่ีแนบติดกับปูนฉาบคอนกรีต ไม หรือวัสดุอ่ืนใดจะตองอุดดวย Silicone Rubber โดยสามารถกันน้าํฝนไมใหผานเขามาในตวัอาคารได

8.3.4 ประต ู– หนาตางพลาสติก

(1) การติดตั้งวงกบ และบานประต ูจะตองไดดิ่งและฉากถูกตองตามหลักวิชาชางท่ีดี และเปนไปตามข้ันตอนของบริษัทผูผลิต

(2) การยึดวงกบติดกับผนัง คสล. กําแพงอิฐฉาบปนู ใหใชแผนเหล็กยึดขาวงกบของบริษัทผูผลิตนั้น ๆ 8.3.5 ประตูเหล็กมวน

Page 23

ขอกาํหนดงานสถาบตัยกรรม

(1) การติดตั้งรางประตูดานขาง จะตองไดดิ่งและฉากถูกตองตามหลักวิชาชางท่ีดี และตองสอดยางท่ีวางเพ่ือกันกระแทก

(2) ใหยดึเหลก็ฉากขนาด 40 x 40 x 4 มม. ตลอดความสงูของรางประตกูบัเสาหรอืผนงัดวย X.P.BOLTS ขนาด 9 x 50 มม. ทุกระยะ 0.50 ม. แลวเชือ่มรางประตกูบัเหลก็ฉากรอยเชือ่มตองยาวตลอดรางประตู พรอมทําการตกแตงรอยเชื่อมใหเรียบรอยแลวทา ทับดวยสีกันสนิมกอนท่ีจะพนทับดวยสีชนิดเดียวกับสีท่ีใชพนบานประตู

(3) การติดตั้งกลองเก็บบานประตูตอนบน ใหเปนไปตามแบบรปูและรายการ หากมิไดระบุไวใหทําการติดตั้งตามวิธีของบริษัทผูติดตั้ง โดยท่ีโครงเหล็กสําหรับประกอบกลองเก็บตองมีโครงเหล็กชวงกลางสําหรับบุแผนเหล็กดวย ท้ังนี้ผูรับจางตองไดรับความเห็นชอบจากผูควบคุมงานของการไฟฟานครหลวงกอน เม่ือทําการติดตั้งเปนท่ีเรียบรอยแลวใหทําการทาสีกันสนิมกอนท่ีจะพนดวยสีชนิดเดียวกับท่ีใชพนประตู

(4) ในกรณีท่ีบานประตูกวางเกินหรือมีน้ําหนักมากกวากําหนดไว ผูรับจางตองติดตั้งเสาเอ็นกลางตามท่ีผ ูควบคุมงานของการไฟฟานครหลวงกําหนด

8.4 แบบประกอบการตดิตัง้

8.4.1 ผูรับจางจะตองจัดสง Detail Section Drawing เพ่ือแสดงความหนาของ Section ระบบและ

รายละเอียดการติดตั้งประตู - หนาตางท่ัว ๆ ไป รวมท้ังตัวอยางของอุปกรณประตู – หนาตางท่ีจะใชงานนี้เสนอการ

ไฟฟานครหลวง ซ่ึงผูควบคุมงานของการไฟฟานครหลวงจะเปนผูเก็บรักษาไวเพ่ือเปนมาตรฐานการติดตั้งจริง

8.4.2 ผูรับจางจะตองเขียนแบบประกอบการติดตั้ง (Shop Drawing) ของประตู – หนาตางทุกชดุมาเสนอ

ตอการไฟฟานครหลวงกอน เม่ือไดรับความเห็นชอบแลวผูทําการติดตั้งจึงจะดําเนินการประกอบและติดตั้งได

8.4.3 แบบประกอบการติดตั้ง จะตองแสดงรายละเอียดระบบการติดตั้ง (Installation) การยดึ (Fixed) การ

กันน้ํา (Water Tight) และจะตองแสดงระยะตาง ๆ ตลอดจน Toloerance โดยละเอียดใหถูกตองตามแบบ

สถาปตยกรรมท่ีดี เสนอตอการไฟฟานครหลวง

8.5 การปองกันประตู-หนาตางขณะกําลังกอสราง

วงกบและกรอบบานประต–ูหนาตาง เม่ือติดตั้งแลวเสร็จ ผูรับจางจะตองปองกันผิวของวัสดุเอาไวเพ่ือให

ปลอดภัยจากน้ําปูน หรือสิ่งอ่ืนใดท่ีอาจจะทําความเสียหายใหกับวงกบและกรอบบานประตู-หนาตางทุกบาน

8.6 ฝมือในการประกอบการติดตั้ง

ใหใชชางฝมือท่ีมีความชํานาญโดยเฉพาะ ตามประเภทของประตู–หนาตางนั้นๆ รอยตอตางๆ ตัดเชื่อม

ยึดแนนสนิท สวนประกอบประตูหนาตางจะตองมีความแข็งแรง ปด-เปด หรอื เลื่อนไดคลองตัว การประกอบติดตั้ง

จะตองใหไดแนวไดระดับท้ังแนวดิ่งและแนวนอน มุมของวงกบ และกรอบบานประตู-หนาตางจะตองไดฉากทุกมุม

ยกเวนจะระบุใหทําเปนอยางอ่ืน กรอบวงกบ วงกบหรอืรางเหลก็ จะตองยึดติดแนนกับพ้ืน เสา-คานเอ็น หรือทับหลัง

คสล.

9 9.1 ขอบขาย งานกระจกและการตดิตัง้

งานในสวนนีไ้ดแก การจัดซ้ือ การขนสง และการติดตั้งกระจกและอุปกรณประกอบท้ังหมดตามท่ีระบุไวใน

แบบรปู

9.2 บทท่ัวไป

9.2.1 ผูรับจางตองปฏิบัติตามขอแนะนําของบริษัทผูผลิตกระจก และวัสดุติดกระจกอยางเครงครัด

Page 24

ขอกาํหนดงานสถาบตัยกรรม

9.2.2 ผูรับจางตองจัดหารายละเอียดในการติดตั้ง ซ่ึงแสดงขอบยึดกระจก วัสดุอุด และรายละเอียดอ่ืนๆ ซ่ึง

บริษัทผูผลิตไดทําไวเปนจํานวน 2 ชุด มาเสนอแกการไฟฟานครหลวงเพ่ือพิจารณากอนติดตั้ง

9.2.3 ผูรับจางตองจัดหาตัวอยางกระจกและวัสดุในการติดตั้งมาเสนอแกการไฟฟานครหลวงเพ่ือพิจารณา

เห็นชอบกอนการติดตั้ง ในการตรวจรบัมอบงานการไฟฟานครหลวงจะยอมรับเฉพาะวัสดุท่ีมีมาตรฐานเทากับตัวอยางท่ี

เห็นชอบกอนการเริ่มงาน

9.3 กระจก

ตองมีความหนาตามท่ีระบุไวในแบบรูปและรายการเพ่ิมเติมอ่ืนๆ ผวิเรยีบสมํ่าเสมอ สใีสไมเปนฟองอากาศ

หรือคลื่น ไมแตกราวหรือเปนรอยขูดขีดเปรอะเปอน ชนดิของกระจกการไฟฟานครหลวงจะกําหนดใหจากตวัอยาง

กระจกใหผูรับจางเสนอ Catalogue รายการคํานวณใบรบัรองการปองกันแรงลมใหการไฟฟานครหลวงพิจารณาอนมุตัิ

กอนการเริม่งาน

9.4 การดําเนินงานและฝมือ

9.4.1 ชองเวนสําหรับการติดตั้งตองเปนไปตามตารางตอไปนี้ ยกเวนท่ีบริษัทผูผลิตกระจกระบุเปนอยางอ่ืน

(หนวยเปนมิลลิเมตร)

ชนดิกระจก ความหนา ระยะเวนตามขอบ ระยะเวนระหวางกระจกกบั ดานหนาหรือหลังขอบล้ิน

ความลึกของล้ิน

แผนหนา 5 3 3 12 แผนหนา 6 6 3 15

แผนธรรมดา 3 6 1.5 9 แผนธรรมดา 6 4 3 15 กระจกตดัแสง 3 3 15

กระจกเคลอืบเงา 3 3 15 กระจกหนาตาง 3 3 1.5 9

9.4.2 แทนรองรับกระจกและตัวยึดก้ันกระจกท่ีเปนยางใหติดตามจุดแบง 4 สวน อยางนอย 2 อันริม โดยให

เวนชวงหางไดไมเกิน 4 ฟุต (นับจุดก่ึงกลาง) เพ่ือรักษาชองวางอยางนอย 3/16” ระหวางขอบลางของกระจกและกรอบ

อลูมิเนียม หรือชองวาง ¼ ” ถาเปนกรอบเหลก็

9.4.3 ขอบกระจกตองตัดเรียบจะมีสวนแหลมคมอยูไมได เพราะจะเปนเหตุใหเกิดแรงกดรวมกันท่ีสวนนั้น

ทําใหกระจกแตกในท่ีสุด

9.4.4 รองใสกระจกจะตองแหงและสะอาดปราศจากสิง่สกปรก ผงเศษวัสดุตาง ๆ

9.4.5 หามกระเทือนหรือโยกยายสวนท่ีติดกระจกแลว รวมท้ังหามเปดบานประตู-หนาตางท่ีเปนบานเปด

จนกวาวัสดุยึดกระจกจะแหงอยูตัว การไฟฟานครหลวงจะไมยอมรบังานท่ีเสยีหาย ถาเกิดความเสียหายผูรับจางตองทํา

ทดแทนใหใหมโดยไมคิดมูลคา

9.4.6 ผูรับจางตองรับผิดชอบงานท้ังหมด รวมท้ังงานอุด ตัด เจาะรสูาํหรับใสมือจับหมุด ยึดและคลิปติดตั้ง

บานประตู-หนาตางตามลําดับท่ี และยกดวยเครื่องมือตามความจําเปน

Page 25

ขอกาํหนดงานสถาบตัยกรรม

9.4.7 ผูรับจางตองติดตั้งประตู – หนาตางท้ังหมดใหเสร็จเรียบรอยตามชองเปดท่ีเตรียมไว และตอง

รับผิดชอบการเขาสวนประกอบตาง ๆ ปรับระดับดวยปูนฉาบท้ังภายในและภายนอกท่ีเสาเอ็นและทับหลัง ติดมือจับท่ี

กรอบบาน ใสประตู-หนาตางใหเขาท่ีและปรับระดับดวยปูนฉาบ

9.4.8 ภายหลังการติดตั้งประตู ู- หนาตาง และอุปกรณท้ังหมดจะตองอยูในลักษณะท่ีเปด-ปดไดสะดวก เม่ือ

ปดจะตองสนิทเรียบรอยปองกันลมและฝนไดอยางดี อุปกรณท่ีเปนท่ียึดจะตองไดรับการหลอลื่นตามความจําเปน การ

ปรับสภาพจะตองทํากอนหรือหลังการเคลือบผิวข้ึนอยูกับผูรับจาง โดยจะตองไดรับความเห็นชอบจากผูควบคุมงานของ

การไฟฟานครหลวงเสยีกอน

9.4.9 ผูรับจางจะตองไมพยายามใสบานประตู-หนาตางเขากับชองเปดท่ีไมไดฉาก หรือมีขนาดเล็กเกินไป

ชองเปดจะตองมีระยะเวนไวเพ่ือการติดตั้งโดยรอบประมาณดานละ 3/32 นิ้ว เปนอยางนอย วงกบและกรอบบานไม

จะตองมีความแข็งแรงทุกดาน มุมวงกบและกรอบบานจะตองเขาเดือยไมยึดดวยกาวอยางดียึดสลักไม ไมใหยึดดวยตะปู

ในการติดตั้งซ่ึงมีการขันเกลียวตองระมัดระวังมิใหบานหนาตางเสียรูป ผูรับจางจะตองอัดปูนแนวระหวางวงกบกับงาน

กออิฐใหสนิทเรียบรอย

9.4.10 การยดึและตรงึวงกบประต ู– หนาตางกับอาคารดานท่ีตอเนื่อง หรือดานประชิดตามแบบรูปสําหรับ

หนาตางท่ีจะตองติดตั้งกับผนังกอใหใชชิ้นสวนสําหรับยึดไวในผนังนั้นขณะทําการกอสรางยึดและตรึงจะตองใชขอหรือ

สลักติดกรอบบานเขากับเสาเอ็นและผนังอาคารอยางม่ันคง การยึดตองไมเวนชองหางเกิน 45 ซม. ท่ีวงกบดานขางและ

ขอบลางเวนแตจะมีแบบรูปเปนอยางอ่ืน การยึดทุกจุดตองแข็งแรงพอท่ีจะยึดสวนประกอบทุกชิ้นใหอยูกับท่ีได

9.4.11 ผูรับจางตองทําความสะอาดผิวสวนท่ีเปนโลหะของบานและอุปกรณประตู- หนาตาง ท้ังดานนอกและ

ดานในใหสะอาดปราศจากคราบปนูพลาสเตอร สี หรือสิ่งอ่ืนๆ เพ่ือใหดูเรียบรอยไมกีดขวางการยาแนวยางกันน้ําและการ

ทํางานของอุปกรณประตู-หนาตาง ผูรับจางจะตองไมใชเครื่องมือทําความสะอาดท่ีอาจกอใหเกิดความเสียหายแกสิ่งท่ี

ตกแตงผิวบานได

10. 10.1 วัสดแุละอุปกรณ งานวัสดุกันซึม

ถาไมมีระบุไวในแบบใหใชระบบกันซึมท่ีจะตองเปนแผนยางกันซึมสําเร็จรูปท่ีทํามาจาก Polyvinyl chloride

กับ Evalon ซ่ึงเปนSolid content รวมกันไมนอยกวา 92% ความหนาของวัสดุไมนอยกวา 1.2 มม. (ความหนานีย้งัไม

รวมแผน Fiberglass) และเม่ือรวมแผน Fiberglass แลว ตองมีความหนาไมนอยกวา 2.2 มม. มีความยืดหยุนไมนอยกวา

300% มีความทนทานตอแรงดึงไมนอยกวา 500N/50mm. เปนผลิตภัณฑของ Evalon Sheet, Ogen หรอื Gekaplan

หรือผลิตภัณฑเทียบเทา

10.2 การติดตั้ง

10.2.1 การติดตั้งท่ัวไป ใหเปนไปตามมาตรฐานผูผลิตนั้นๆ

10.2.2 กอนท่ีจะติดตั้งวัสดุกันซึม ตองทําความสะอาดผิวพ้ืนหลังคาไมใหมีเศษปูนทราย และสิ่งสกปรกตางๆ

10.2.3 หลังการติดตั้งและตรวจรอยเชือ่มแลว ใหทาํการขังน้าํสงูประมาณ 5 ซม. ท้ิงไว 24 ชัว่โมง หากไมมี

การรั่วซึมจึงจะถือวาเสร็จสมบูรณ

11. 11.1 ขอบเขตของงานทาสี งานทาสีท่ัวไป

Page 26

ขอกาํหนดงานสถาบตัยกรรม

งานสีนี้หมายรวมถึง การพน ทา ลงข้ีผึ้ง แชลค แลคเกอร ลงน้าํมันตลอดจนงานตกแตงอ่ืนๆ ใหทาสีสวนท่ี

มองเห็นดวยสายตาท้ังหมด ยกเวนสวนท่ีกําหนดไวเปนอยางอ่ืนหรือวัสดุประดับอ่ืน ๆ

11.2 ขอปฏิบัติท่ัวไป

11.2.1 ถาผูรับจางไมปฏิบัติตามรายการงานสีนี้อยางเครงครัด ถือวามีเจตนาท่ีจะพยายามบิดพริ้วปลอม

แปลง การไฟฟานครหลวงมีสิทธิท่ีจะสั่งใหผูรับจางลางหรือขูดสีออกแลวทาใหม ใหถูกตองตามรายการและผูรับจางจะ

คิดคาใชจายเพ่ิมไมได สวนเวลาท่ีลาชาเพราะการนี้จะยกเปนขออางในการขอตอสัญญาไมได

11.2.2 มิใหผูรับจางทาสีในขณะท่ีมีความชื้นสูง และผิวพ้ืนท่ีจะทาสีตองแหงสนิท โดยผูรับจางตองแจงใหผู

ควบคุมงานของการไฟฟานครหลวงทราบและพิจารณาสภาพกอน

11.2.3 ใหใชสีชนิดท่ีกําหนดใหหรือเทียบเทา และจะตองเปนสีท่ีไมเคยเปดใชมากอน

11.2.4 ใหนําสีและภาชนะบรรจุสีท่ีกําหนดใหเขามาในบริเวณกอสรางเทานั้น สีและภาชนะบรรจุสีอ่ืน ๆ หาม

นาํเขามาในบรเิวณกอสรางโดยเดด็ขาด

11.2.5 การนําสีมาใชแตละงวดจะตองใหผูควบคุมงานของการไฟฟานครหลวงตรวจสอบกอนวาเปนสีท่ี

กําหนดใหใช

11.2.6 รายละเอียดอ่ืนๆ เชน ความออนแกของสี ใหผูรับจางเสนอขอรับรายละเอียดตอการไฟฟานครหลวง

ในเวลาอันควร

11.2.7 ในการทาส ีผูรับจางจะตองยึดถือปฏิบัติตามคําแนะนําของผูผลิตสีอยางเครงครัด เชน การผสมสี

พลาสติกอิมัลชั่น น้ําท่ีผสมจะตองสะอาดและไดสวนตามท่ีผูผลิตไดกําหนด

11.3 ประเภทของสีทีใ่ช

PRODUCT

PLASTIC EMULSION PAINT ENAMEL

EPOXY

EXTERIOR INTERIOR RUST

PREVENT

PRIMER

COATING PRIMER COATING PRIMER COATING

ICI DULUX

SCRYLIC

WEATHER

SHIELD

DULUX

ACRYLIC

PEARL

GLO

DULUX

MATEL

PRIMER-RED

OXIDE

DULUX

CLOSS

FINISH

EPOXY

FINISH

PAINTING

INCLUDING

ALL

BUILDING &

FENCE

SHERWIN

WILLIAM

STANDARD

WALL

PRO-MAR

SCRYLIC

WEATHER

PERFECT

B.36

INTERIOR

WALL

PRIMER

B.49 W4

PRO-MAR

ACRYLIC

DATEX

B.33

METAL

PRIMER

A.57R17

KEN

LUSTRL

ALKYD

EPOXY

SERIES LS

69

JOTAN SCRYLIC

EMULSION

JOTAN

SHIELD

ACRYLIC

EMULSION

STRAX

DULUX

RED LEAD

PRIMER RED

LEAD IRON

OXIDE

GARDEX

ENAMEL

PENGUARD

ENAMEL

Page 27

ขอกาํหนดงานสถาบตัยกรรม

11.4 การเตรยีมงานและรองพ้ืน

11.4.1 ปนูฉาบ อิฐ คอนกรตี ฯลฯ

(1) ผิวพ้ืนใหม - ทําความสะอาดพ้ืนท่ีท่ีจะทาสีโดยปดฝุนออกใหหมด - ปลอยท้ิงไวใหแหงสนิท - ทาสีรองพ้ืน

(2) ผิวพ้ืนท่ีท้ิงไวนานและยังไมไดทาสี - ทําความสะอาดโดยใชผาสะอาดชบุน้าํเชด็ - ปลอยท้ิงไวใหแหง - ซอมแซมรอยชํารุดตาง ๆ - รองพ้ืนดวยสีรองพ้ืน - บนพ้ืนท่ีคอนขางหยาบ ใหใชสีพลาสติกคอนขางขนทาเปนสีชั้นแรก

(3) ผิวพ้ืนท่ีเคยทาสีมาแลว ในกรณีท่ีสีเกานั้นอยูในสภาพชํารุดมากตองขูดสีเกานั้นออกใหหมดดวยน้ํายาลอกสี และใชวิธีทาเชนเดียวกับการทําสีบนพ้ืนท่ีใหม

11.4.2 ไม

(1) ผิวพ้ืนไมท่ีจะทานั้นตองแหงสนิท (2) ซอมและอุดรูตาง ๆ (3) ขัดเรยีบดวยกระดาษทราย (4) ปดฝุนตาง ๆ ออกใหหมด (5) ถาไมนั้นเปรอะน้ํามันหรือมีความดูดซึมมากเปนพิเศษ ใหทาทับหนาดวยแชลค 1 ครั้ง ท้ังนี้ให

ปฏิบัติเฉพาะสวนท่ีอยูภายในเทานั้น 11.4.3 โลหะ

(1) ขจดัสนมิหรอืเศษผงออกโดยขัดถูดวยกระดาษทรายหรอืแปรงลวด (2) ขจัดรอยเปอนน้ํามันดวยยาไดรโรเอทธีลีน หรือน้ํายาประเภทเดียวกัน (3) ลางดวยน้ํายาลางสนิม (4) ลางน้ํายาลางสนิมออกดวยน้ําสะอาด และเช็คใหแหงดวยผาสะอาด

11.5 สีพลาสติกอิมัลช่ัน (สีน้ํา สีพลาสตกิ)

11.5.1 การทาสรีองพ้ืน การทาสีรองพ้ืนใหทาดวยสีรองพ้ืนของสีชนิดและยี่หอนั้น ๆ

11.5.2 การทาสีทับหนา ใหทาดวยสีท่ีกําหนดให โดยตองยึดถือขอปฏิบัติใหถูกตองตามคําแนะนําของผูผลิต

สีนั้นๆ โดยเครงครดั การทาทับหนาใหทาไมนอยกวา 2 ครั้ง โดยไมนับสีรองพ้ืน การทาแตละครั้งตองรอใหครั้งกอนแหง

เสียกอนจึงจะทาทับครั้งตอไปได เม่ือทาสีเสร็จเรียบรอยแลวจะตองไมเห็นสีของพ้ืนผิวเดิม รอยดางรอยแปรง หรอืไม

เรยีบรอยเลอะเทอะ การทาสีอาจจะใชวิธีพนหรือใชลูกกลิ้งแทนการทาดวยแปรงก็ได แตเม่ือเสร็จแลวจะตองเรียบรอย

ตามท่ีกําหนดไว

11.5.3 การทาภายใน ใหทาดวยสีชนิดท่ีผลิตข้ึนสําหรับทาภายในอาคาร หรือจะใชสีภายนอกทาแทนก็ได

การนับวาสวนใดเปนภายในใหถือสวนของอาคารหรือสิ่งกอสรางท่ีไมถูกฝนหรือแสงแดดโดยตรง

Page 28

ขอกาํหนดงานสถาบตัยกรรม

11.5.4 การทาภายนอก ใหทาดวยสีชนิดท่ีผลิตข้ึนสําหรับทาภายนอกโดยเฉพาะการนับวาสวนใดเปนสวน

ภายนอกอาคารใหถือสวนอ่ืนๆ ท่ีมิใชภายใน (ตามขอ 11.5.3) ท้ังนี้ สวนท่ีไดรับความชื้นอยูเสมอ เชน ภายในหองน้ํา

หองสวมใหถือวาเปนสวนท่ีตองทาสีภายนอกดวย

11.5.5 การเก็บสี ตองแยกสีชนิดสําหรับภายในและสําหรับทาภายนอกออกจากกันมิใหปะปนกันโดยเดด็ขาด

มิฉะนั้นจะถือวาพยายามหลีกเลี่ยง หากปรากฏวานาํสภีายในไปทาภายนอกแลวมาอางภายหลงัวาเกิดจากความเลนิเลอ

สับสนมิได

11.6 สีน้ํามัน

11.6.1 การทาสรีองพ้ืน

(1) ถาเปนวัสดุประเภทไม ใหรองพ้ืนดวยสีน้ํามันชนิดเดียวกับสีทับหนาทุกประการ หามนําสีชนิดอ่ืนมาใชรองพ้ืนโดยเดด็ขาด

(2) ถาเปนโลหะประเภทสวนผสมของเหลก็ ใหใชสีรองพ้ืน RUST OLEUM (3) ถาเปนโลหะประเภทเหลก็ชบุสงักะสี ใหใชสีรองพ้ืน ZINC CHROMATE (4) ถาระบุใหทาบนผิวปูนหรือคอนกรีต ใหปฏิบัติเชนเดียวกับงานวัสดุประเภทไม

11.6.2 การทาสีทับหนา ใหทาดวยสีท่ีกําหนดให โดยถือปฏิบัติใหถูกตองตามคําแนะนําของผูผลิตสีนั้นๆ โดย

เครงครดั การทาทับหนาใหทาไมนอยกวา 2 ครั้ง โดยไมนับสีรองพ้ืน การทาแตละครั้งจะตองรอใหครั้งกอนแหงเสียกอน

จึงจะทาทับหนาตอไปได เม่ือทาสีเสร็จเรียบรอยแลวจะตองไมเห็นสีของผิวพ้ืนเดิม รอยดาง รอยแปรง หรือไมเรียบรอย

เลอะเทอะ ตองมีสีเรียบสมํ่าเสมอกัน

11.7 น้ํามันวานิช ชนดิเงา ซาตนิ และดาน และอ่ืน ๆ

11.7.1 การทาบนผวิพ้ืนไมใหม เพ่ือความคงทนใหทาน้ํามันวานิช 3 ครั้ง ครัง้แรกผสมทินเนอร รอยละ 10

ครั้งตอไปไมจําเปนตองผสม

11.7.2 การทาบนพ้ืนท่ีมีวานิชเกาทาแลว สําหรับพ้ืนเกาท่ีอยูในสภาพเรียบรอยใหทาน้ํามันวานิชท่ีไมผสมทิน

เนอรทับ 2 ครั้ง

11.7.3 ขอพึงระวัง

(1) ระยะเวลาสแีหง - แหงทาทับได 4-6 ชม. - แหงสนิทอยางนอย 16 ชม.

(2) ถาจะใชนํามันวานิชทาพ้ืนเกาท่ีมีน้ํามันวานิชอยูแลว ใหลางดวยน้ํายาซักฟอกอยางออนกอน จากนั้นใชกระดาษทรายขัดเรียบแลวจึงทาดวยน้ํามันวานิช ถาน้ํามันวานิชเกาอยูในสภาพไมดี ใหขูดน้ํามันวานิชออกใหหมด

11.8 สีซีเมนต

11.8.1 ผิวพ้ืนท่ีจะทา ใหทาบนปูนฉาบอิฐคอนกรีต คอนกรตีบลอค เฉพาะในกรณีท่ีระบุใชสีซีเมนตเทานั้น

11.8.2 การทาสีรองพ้ืนและทับหนา การทาจะตองใหความชื้นตอผิวพ้ืนจนเพียงพอและท่ัวถึงเสียกอน หรอื

จะตองเตรียมผิวพ้ืนตามกรรมวิธีของผูผลิตสีแตละบริษัทจึงจะลงมือทาสี การทาสีใหทาไมนอยกวา 2 ครั้ง เม่ือทาสีเสร็จ

เรียบรอยแลวจะตองไมเห็นสีของวัสดุผิวพ้ืน ไมมรีอยแปรง รอยดาง หรอืเลอะเทอะ เปนสีท่ีสมํ่าเสมอกัน

Page 29

ขอกาํหนดงานสถาบตัยกรรม

11.9 ฝมือชาง

11.9.1 ฝมืองานทุกตอนท่ีทําจะตองเปนฝมือชั้นหนึ่ง การทาสีน้ํามันและน้ํามันชักเงาใหทาดวย แปรงอยางดี

หรือลูกกลิ้ง หรือเครื่องพนสีท่ีผูควบคุมงานของการไฟฟานครหลวงเห็นชอบ การทาสีชั้นแรกใหทาดวยแปรง

11.9.2 สีทุกอยางจะตองผสมหรือคนใหเขากันกอนใช และจะตองเก็บไวในท่ีท่ีไมถูกความรอนมาก

11.9.3 กอนทาสีจะตองลางพ้ืนผิวอาคารเสียกอน และใหระมัดระวังทุกวิถีทางท่ีจะไมใหมีฝุน

11.9.4 หามทาสีบนพ้ืนท่ีเปยกชื้น และจะตองไมใหมีการกลั่นตัวเปนหยดน้ํา และมีฝุน ฯลฯ เกิดข้ึนท่ีพ้ืนผิว

กอนจะทาแตละชั้นจะตองใหสีชั้นแรกแหงสนิทเสียกอนจึงจะทาสีชั้นตอไปได

11.9.5 หามทาสีรองพ้ืนกอนท่ีจะไดมาตรวจและเห็นชอบงานข้ันเตรียมแลว ท้ังนี้หามทาสีชั้นแรกและชั้นสอง

จนกวาจะไดมกีารตรวจเหน็ชอบสชีั้นกอนหนานั้นแลว

11.9.6 ตองปองกันพ้ืนผิวขางเคียงใหพนความเสียหาย รอยสีเปอนและรอยสีกระเซ็น

11.9.7 ผูกาํหนดสอีาคาร คือ การไฟฟานครหลวง ซ่ึงจะกําหนดใหในภายหลัง

11.9.8 สีท่ีทาแตละชั้น จะตองมีความหนาพอท่ีจะคลุมสีชั้นแรกจนหมดสิ้น เพ่ือสะดวกในการท่ีการไฟฟานคร

หลวงจะตรวจไดวาทาเต็มพ้ืนท่ีแลว จะตองทําใหสีแตละชั้นแกออน ผิดกันเล็กนอย

11.9.10 การทําความสะอาด ถาสีเปอนผิวพ้ืนท่ีไมตองการทาจะตองลางออกโดยระมัดระวังไมให ผิวเดิม

เสยีหาย หากจําเปนผูรับจางจะตองตกแตงแกไขจนเปนท่ีพอใจ

12. 12.1 ขอบขาย สีเคลือบอีพอกซ่ี

ใชสําหรับงานพ้ืนหอง Switchgear, Gis, Capacitor

12.2 วัสดุท่ีใช

ใหใชสีเคลือบพ้ืนระบบ Self Leveling ท่ีความหนา 3 มม. ข้ึนไป

12.3 การเตรียมพ้ืนท่ีผิว

พ้ืนคอนกรีต พ้ืนผิวท่ีจะทําการทาสีตองแหงสนิทปราศจากฝุนละออง คราบไขมัน คราบ น้ํามัน หรอืคราบ

สารเคมี ใหทําความสะอาดพ้ืนผิวดวยน้ํายาผสมผงซักฟอก หรอืสารละลายของกรดเกลอื ความเขมขนประมาณ 10%

อยางใดอยางหนึ่งแลวแตกรณี แลวลางดวยน้ําสะอาดจนแนใจวาไมมีคราบผงซักฟอกและกรดเกลือหลงเหลืออยูท้ิงไวให

แหงสนิท

12.4 วิธีการใชสี

12.4.1 ใชตามมาตรฐานของผูผลติ

12.4.2 หามทาสีในขณะท่ีมีอากาศชื้นหรือฝนตก เพราะอาจทําใหเกิดความเสยีหายได

12.5 ขอปฏิบัติท่ัวไป

12.5.1 การเทพ้ืนคอนกรตีกอนการทาสี

(1) เทพ้ืนคอนกรีตตามกรรมวิธีธรรมดาท่ัวไปสําหรับพ้ืนคอนกรีตไมขัดมัน ใชไมปาดคอนกรตีปาดผวิใหเรยีบเสมอกันเพ่ือใหไดผิวท่ีสวยงาม ท้ิงคอนกรีตเซ็ทตัวและแหงสนิท กอนการทาสีไมควรโรยผงปูนซีเมนตลงบนพ้ืนคอนกรีต เพราะจะทําใหการยึดเกาะระหวางฟลมสีและพ้ืนคอนกรีตไมดีเทาท่ีควร

(2) ท้ิงพ้ืนคอนกรีตท่ีจะทําการทาสีไวอยางนอย 30 วัน เพ่ือใหคอนกรีตเซ็ทตัว

Page 30

ขอกาํหนดงานสถาบตัยกรรม

12.5.2 การเตรยีมพ้ืนผิวกอนการทาสีสําหรับพ้ืนผิวคอนกรีตใหม

(1) พ้ืนผิวท่ีจะทําการทาสีตองแหงสนิทปราศจากฝุนละออง คราบไขมัน คราบน้าํมันคราบสารเคมีและสิ่งสกปรกอ่ืนๆ ท่ีจะเปนอันตรายตอการยึดเกาะของสี

(2) ในกรณีท่ีมีคราบน้ํามันหรือคราบไขมัน ควรลางทําความสะอาดพ้ืนผิวดวยน้ําผสมผงซักฟอกแลวลางดวยน้าํสะอาดตามอีกหลายๆ ครั้ง จนแนใจวาไมมีคราบผงซักฟอกหลงเหลืออยู

(3) ท้ิงผิวใหแหงสนิท ทดสอบโดยการนําแผนพลาสติกปดไวท่ีพ้ืนใชเทปปดโดยรอบ ท้ิงไวขามคืนแลวตรวจดูวามีละอองไอน้ําเกาะอยูท่ีแผนพลาสติกดานในหรือไมถาไมมีแสดงวาแหงสนิทดีแลวทําการดูดฝุนแลวจึงทําการทาสี

12.5.3 การเตรียมพ้ืนผิวกอนการทาสีสําหรับพ้ืนคอนกรีตเกา

(1) ตรวจดูพ้ืนวามีรอยแตกหรือไม ถามีตองทําการซอมผิวปูนใหเรียบรอย ถาพ้ืนปูนเกา มากมีลักษณะยุยควรทําการสกัดออกแลวทําการเทพ้ืนใหมตามกรรมวิธีในขอ 12.5.1

(2) ลางทําความสะอาดพ้ืนดวยน้ําผสมผงซักฟอกตอจากนั้นจึงลางดวยสารละลายของกรดเกลือ ความเขมขนประมาณ 10% ผสมแลวเทราดพ้ืน ระวังอยาใหน้ํากรดเกลือแหงสนิทระหวางเวลาลาง

(3) ลางทําความสะอาดดวยน้าํสะอาดหลายๆ ครั้ง จนแนใจวาไมมีคราบกรดหรือผงซักฟอกเหลอือยู

(4) ท้ิงพ้ืนผิวใหแหงสนิท ทดสอบโดยการนําแผนพลาสติกปดไวท่ีพ้ืนใชเทปปดโดยรอบท้ิงไวขามคืนแลวตรวจสอบดูวามีละอองไอน้ําเกาะอยูท่ีแผนพลาสติกดานในหรือไม ถาไมมีแสดงวาแหงสนิทดี แลวทําการทาสีได

12.5.4 การเตรียมพ้ืนผิวกอนการทาสีสําหรับพ้ืนมาสเตอรเพลทสกัดพ้ืนผวิมาสเตอรเพลท ออกใหหมดกอน

แลวจึงเทพ้ืนคอนกรีตทับหนาตามกรรมวิธีในขอ 12.5.1 ใหมคีวามหนาอยางนอย 5 เซนติมิเตอร ถาตองการใหพ้ืนผิว

ใหมยึดเกาะกับคอนกรีตใหมดียิ่งข้ึนใหผสมน้ํายามอนเท็กซ NO.9N-06 ลงในน้ําท่ีผสมปูนซีเมนตในสัดสวนน้ํา 5-10

สวน ตอน้ํายา 1 สวน

12.6 ข้ันตอนการทาสี

12.6.1 ใหใชตามมาตรฐานผูผลติ

12.6.2 ความหนาของฟลมสีเม่ือแหงรวมไมต่ํากวา 16 มิล หรอื 400 ไมครอน

12.7 ขอควรระวัง

12.7.1 สีท่ีผสมแลว ควรใชใหหมดภายใน ½ ชัว่โมง มิฉะนั้นสีท่ีผสมแลวนี้จะเสีย

12.7.2 หามผสมสวนของสีท่ีผสมแลวลงในกระปองท่ียังไมไดผสม เพราะจะทําใหสีท้ังหมดเสีย

12.7.3 ใหผสมสใีนปรมิาณท่ีจะพอใชใน ½ ชัว่โมง

12.7.4 ใหทาสีในท่ีท่ีมีอากาศถายเทสะดวก

13. สีทาเรืองแสงสทีาเรอืงแสงใชเพ่ือแสดงทิศทางหนไีฟจากหองตางๆ ภายในอาคารไปยงับนัไดหนไีฟ สทีา เรืองแสงตองมี

คุณสมบัติไมต่ํากวาท่ีระบุตอไปนี้

13.1 คุณสมบัติของสี

13.1.1 เปนสี Epoxy มีความหนาตอการขูดขีด และสารเคมี

Page 31

ขอกาํหนดงานสถาบตัยกรรม

13.1.2 การเรอืงแสงหลงัจากปดไฟมืดสนทิแลว 10 นาที จะตองมีความสวางไมนอยกวา 20 med/sq.m.

และเม่ือผานไป 60 นาที จะตองมีความสวางไมนอยกวา 2.8 med/sq.m. โดยระยะเวลาการเรอืงแสงลดลงจนถึงคา

ความสวางต่ําสุดท่ีสายตามนุษยสามารถมองเห็นไดแลวไมนอยกวา320 นาที ตามาตรฐาน DIN 67510

13.2.3 ใหใชสีทาเรืองแสงสีเขียว

13.2 บริเวณท่ีตองทาสี

13.2.1 ท่ีพ้ืนเพ่ือเปนแนวทางหนีไฟ 1 เสนทาง

13.2.2 สิง่กีดขวางตามเสนทางหนไีฟ เชน ขอบเสาท้ังสี่มุมตามแนวดิ่ง

13.2.3 ขอบประตูท่ีใชเปนทางหนีไฟ

13.2.4 ขอบบันไดท่ีใชเปนทางหนีไฟในอาคาร

13.2.5 รอบอุปกรณปองกันและผจญเพลิง

13.2.6 ผนังเขาประตูหนีไฟ โดยทาเปนสญัลกัษณแสดงทางออก (Exit Sign)

13.3 ลักษณะการทาสี

13.3.1 การทาสีพ้ืนตองมีความกวาง 10 ซม. ยาว 50 ซม. เปนลักษณะลูกศรชี้ทิศทางท่ีบอกแนวทางอยาง

ตอเนื่อง โดยใหสง Shop Drawing ขออนุมัติ

13.3.2 วัสดุท่ีกีดขวาง เชน เสา ใหใชสีเหลืองสลับดํา

14. คณุสมบัตจิาํเพาะ พ้ืนยกลอย (Access Floor)

14.1 แผนพ้ืนมีคุณสมบัติไมติดไฟ และหอหุมรอบนอกดวยถาดเหล็กกลาเคลือบสังกะสี แผนพ้ืนมีขนาดกวาง -

ยาว 600 x 600 หนาไมต่ํากวา 30 มม. บุผิวหนาดวย HPL (High Pressure laminate) แผนพ้ืนจะมีน้ําหนักตอแผนใน

เกณฑตองไมมากกวา 13 กก. และขนาดจะตองมีความเท่ียงตรงเทากันทุกแผน

14.2 เสา (Pesdestal) เปนเหล็กกลาชุบสังกะสีดวยระบบไฟฟา (Electroplated Galvanized Stell) มีคาน

สามารถปรับระดับไดในเกณฑบวก – ลบ 5 ซม. มีนอตยึดเพ่ือปองกันการคลายตัวหรือเลื่อนระดับของความสูง สวนบน

ของเสาจะมีแผนยางผสมกราไฟต (Sound Dampening Pad) รองรบัระหวางแผนพ้ืนกับเสา มีประโยชนในการปองกัน

เสียงและมีคุณสมบัติเปนก่ึงตัวนําประจุไฟฟา (Semi Conductor)

14.3 การรับน้ําหนักแผนพ้ืนและโครงลาง จะรับน้ําหนักไดไมต่ํากวาดังนี้

14.3.1 น้ําหนักจร (Distributed Load 10,000 N/M2)

14.3.2 น้ําหนักเฉพาะจุด (Concentrated Load 3,000 N)

14.3.3 การรับน้ําหนักดังกลาวจะมีคา Safety Factor อีกประมาณ 2.5 เทา

14.4 มาตรฐานการทนไฟและความปลอดภยัในการใชงาน ไดรบัมาตรฐานเยอรมันตาม DIN 4102 F30 และ

มาตรฐานของสหรฐัอเมรกิา ASTM E84-80 a ซ่ึงมีรายละเอียดความปลอดภัยในการใชงานอยางนอยท่ีสุด 60 นาที ใน

กรณีท่ีเกิดเพลิงไหมบุคคลสามารถเดินผานพ้ืนท่ีปูนั้นไดอยางปลอดภัย โดยมีอุณหภูมิท่ีพ้ืนผิว 60 องศาเซลเซียส โดย

14.4.1 มีคา Flame Spread Index = 0 (DIN 4102 F30)

14.4.2 Smoke Developed Value = 0 (ASTM E-84-80 CLASS A)

Page 32

ขอกาํหนดงานสถาบตัยกรรม

14.5 มาตรฐานในการซึมซับเสียง เพ่ือประโยชนในการลดเสยีงรบกวน ในระหวางเวลาทํางาน โดยแผนพ้ืนแอนไฮ

ไดรท มีคาซึมซับเสียงดังนี้

14.5.1 Improvement of absore sound 49 db

14.5.2 Improvement of footfall sound 20 db

15. 15.1 บทท่ัวไป งานทํากนัไฟ (Cementing Fireproofing)

15.1.1 ความตองการท่ัวไป

(1) ภายใตขอกําหนดในหมวดนี้ ผูรับจางจะตองจัดหาชางฝมือ คนงาน วัสดุอุปกรณ เครื่องจักรและเครื่องมือท่ีดีเพ่ือใชในการประกอบและติดตั้งใชงาน

(2) ทํากันไฟท้ังหมดในหมวดนี้ ตามท่ีแสดงไวในแบบระบไุว ณ ท่ีนี้ และ/หรอืตามความจาํเปนของสภาพหนางาน

15.1.2 วัสดุ

Cementing Fireproofing ใชโดยการพน 15.1.3 คุณสมบัติท่ีตองการ

ระบบ Cementing Fireproofing เพ่ือจัดทํางานทํากันไฟซ่ึงสามารถทนไฟได 3 ชม. สาํหรบังานโครงสรางเหลก็ และ 3 ชม. สําหรับพนโครงสรางคอนกรีต

15.1.4 การขออนุมัติ

(1) ใหสงขอมูลของผลิตภัณฑท่ีระบุลักษณะ คุณสมบัติ และขอจํากัด (2) ใหสงขอมูลคําแนะนําในการใชงานของบริษัทผูผลิต (3) ใหสงใบรับรองของบริษัทผูผลิตวาผลิตภัณฑท่ีใชถูกตองตามความตองการท่ีไดระบุไว (4) ใหสงรายงานผลการทดสอบท่ีไดรับการรับรองซ่ึงระบุ

- แรงยึดเหนี่ยวของวัสดุกันไฟ ASTM E760 กําหนดใหแรงยึดเหนี่ยวไมต่ํากวา 20 เทา ของน้ําหนักของวัสดุกันไฟ

- รายงานผลการทดสอบการใชวัสดุกันไฟกับวัสดุตัวอยางท่ีคลายคลึงกับสภาพหนางาน - รายงานจากสถาบันทดสอบอิสระท่ีเชื่อถือไดของผลิตภัณฑท่ีจะใช ซ่ึงเปนไป - ตาม ASTM E119 และ ASTM E84 และ UL

15.1.5 การรบัรองคุณภาพ

(1) ผูผลิต เปนบริษัทท่ีมีความเชี่ยวชาญในการผลิต ผลิตภัณฑท่ีผลิตไวในหมวดนี้ ไมนอยกวา 3 ป โดยมีเอกสารยืนยัน

(2) ผูใช เปนบริษัทท่ีมีความเชี่ยวชาญในการใชผลิตภัณฑกับงานในหมวดนี้ ซ่ึงรับรองโดยบริษัทผูผลิต

15.1.6 ความตองการตามกฎขอบงัคับ

(1) ใหเปนไปตามกฎขอบังคับของกรุงเทพมหานครเก่ียวกับอัตราการทนไฟ (2) สงใบรับรองของวัสดุทนไฟท่ีไดรับการรับรองแลวใหกับเจาหนาท่ีท่ีมีอํานาจการตัดสินใจ

15.1.7 ตัวอยาง

(1) จดัหาตวัอยางของการใช Cementing Fireproofing

Page 33

ขอกาํหนดงานสถาบตัยกรรม

(2) ทดสอบและวิเคราะหตัวอยางใหไดตามความตองการท่ีระบุไว (3) ใชตัวอยางขนาดหนาตัด 9 ตรม. เพ่ือใชเปนตัวอยางหนางาน (4) ดาํเนนิงานตามความตองการของหนางานทางดานความหนา ความแนนหนาของการ ใชอัตรา

การทนไฟ และผิวหนางานท่ีแลวเสร็จ (5) ตรวจสอบผลงานทํากันไฟภายใน 1 ชม. หลังการใชวัสดุทนไฟเพ่ือหาขอบกพรองอันเกิดจาก

การหดตัว อุณหภูมิและความชื้น (6) ในกรณีท่ีมีการหดตัวและรอยแตกเกิดข้ึน ใหปรับอัตราสวนผสมและวิธีการใช ตามความ

จําเปน (7) ถาการตรวจสอบผาน ตัวอยางชิ้นนั้นจะเปนมาตรฐานข้ันต่ําของการทํางาน และใชเปนสวน

หนึ่งของชิ้นงานได 15.1.8 ความตองการทางดานสิง่แวดลอม

(1) หามฉีดพนวัสดุกันไฟเม่ืออุณหภูมิของวัสดุตัวอยาง และอากาศรองขางต่าํกวา 5๐ C (2) จัดใหมีการระบายอากาศในบริเวณพ้ืนท่ีท่ีทํากันไฟในระหวาง และภายหลงัการทํา 24 ชม.

เพ่ือใหวัสดุแหง (3) ดูแลรักษาพ้ืนท่ีท่ีทํางานไมใหเปนพิษหรือกอมลภาวะ จัดหาท่ีก้ันหรือผนังชั่วคราวเพ่ือปองกัน

ละอองจากอากาศท่ีสกปรก 15.1.9 ลาํดบัการทํางาน

(1) ลาํดบัการทํางานพรอมกับการตดิตัง้โครงคราวเพดาน (2) ท่ียดึหรอืแขวนงานของงานระบบ

15.1.10 การรบัประกัน

(1) รบัประกัน 2 ป (2) การรบัประกัน : รบัประกันการแตก, แตกลายงา, ฝุน, การแตกสะเก็ด, เกิดฟองอากาศ, การ

แยกและพอง หากมีขอบกพรองเหลานี้เกิดข้ึนใหผูรับจางดําเนินการติดตั้งใหม หรือดําเนินการซอมแซมใหเรียบรอย 15.2 ผลิตภัณฑ

15.2.1 บริษัทผูผลิต/ผูจําหนาย

Monokote Type 146 จดัจาํหนายโดย บริษัท อุตสาหกรรมยิปซ่ัม จํากัด ผลติภัณฑของบริษัท WR GRACE จํากัด หรอื BITEC HOLDING หรอืเทียบเทา

15.2.2 วัสดุ

Cementritious Soray Fireproofing : ผสมจากโรงงาน, ปราศจากแอสเบสตอส, วัสดุ ประสานผสมกลมกลืนเปนเนื้อเดียวกัน, ไมมีลักษณะเปนเสนใยและตรงตามความตองการดังตอไปนี้

(1) แรงยึดเหนี่ยว : ANSI/ASTM E736, 9.4 KPA, เม่ือแข็งตัวและแหง (2) แรงกระแทก (Bond Impact) : ASTM E760 ไมมกีารกระแทก, ไมเปนเกล็ดหรือลอก (3) ความหนาแนนแหง : ASTM E605 ความหนาแนนโดยเฉลี่ยต่ําสุด 240 กก./ลบ.ม. โดยมี

Individual Density ไมต่ํากวา 224 กก./ลบ.ม. (4) วัสดุรองพ้ืน : ตามคําแนะนําของบริษัทผูผลิตวัสดุกันไฟ (5) น้ํา : สะอาด, ใชดื่มได

Page 34

ขอกาํหนดงานสถาบตัยกรรม

15.3 การปฏิบัติงาน

การตรวจสอบ

15.3.1 ใหตรวจสอบดูวาพ้ืนผิวพรอมท่ีจะทํางานได

15.3.2 ตรวจสอบดูวาท่ียึด, ท่ีแขวน, ปลอกรอยทอ และสวนอ่ืน ๆ ท่ีตองการทํากันไฟ ติดตั้งอยูในตําแหนงท่ี

ถูกตองแลว

15.3.3 ตรวจสอบดูวาทอ DUCT, ทอระบบสขุาภบิาล, อุปกรณเครื่องมือ หรอืรายการอ่ืนๆ ซ่ึงอาจทําให

ติดขัดกับการปฏิบัติงานทํากันไฟ ไมอยูในพ้ืนท่ีจนกวาการปฏิบัติงาน จะแลวเสร็จ

15.3.4 ตรวจสอบดูวาชองวางและวัสดุตัวอยางถูกอุดและไดเวนสวนท่ีขรุขระออก ซ่ึงจะทําใหชิ้นสวนท่ีไดรับ

การทํากันไฟมองดูเปนวัสดุท่ีไดรับการตกแตงแลว

15.3.5 กอนดําเนินการทํากันไฟ วัสดุตัวอยางท่ีจะทําการทํากันไฟตองอยูในสภาพท่ีเรียบรอยพรอมท่ีจะ

ดาํเนนิการการเตรยีมงาน

15.3.6 ทําความสะอาดวสัดตุวัอยางใหปราศจากคราบสกปรก ฝุนละออง ไขมัน น้ํามัน เศษวัสดุ หรือวัตถุอ่ืน

ๆ ซ่ึงอาจมีผลตอการยึดเหนี่ยวของวัสดุกันไฟ

15.3.7 กําจัดวัสดุท่ีอาจมีผลตอการยึดเหนี่ยวออกดวยการเช็ด ถู ขัด หรือพนดวยทราย

ขอกําหนดงานระบบสขุาภิบาล

สําหรับ

งานกอสรางอาคารสถานยีอย พรอมสวนประกอบ

Page 1

ขอกาํหนดงานสุขาภบิาล

สารบญั หนา 1. ขอกําหนดท่ัวไป 2 2. ระบบประปา 3 3. ระบบระบายน้าํท้ิง 5 4. การประกอบทอ 7 5. การทดสอบ 7 6. วัสดุท่ีใช 8 7. เครื่องสูบน้ํา 9 8. การติดตั้งเครื่องสุขภัณฑ 10 9. รายช่ือผลิตภัณฑมาตรฐาน 10

Page 2

ขอกาํหนดงานสุขาภบิาล

1. 1.1 หากในแบบรูปและรายการไมไดกําหนดไวเปนอยางอ่ืนใหถือปฏิบัติดังน้ีคือ การเดินทอใหเดินทอใต พ้ืน

หรือในกลองซอนทอ หรือฝงในผนัง ใหพยายามหลีกเล่ียงการฝงในพ้ืนหรอืคานทอท่ีเดินใตพ้ืนใหใชเคร่ืองยึดเหน่ียว และเคร่ืองรองรับ การเดินทอจะตองจัดเรียงแนวทอใหเรียบรอยพรอมท้ังการหุมซอนทอ และการเปดชองสําหรับ การตรวจซอมได กับใหมีบานประตูติดบานพับปดเปดไดตามความเหมาะสม ถึงแมในแบบรูปจะไมระบุไว

ขอกําหนดท่ัวไป

1.2 ในการเดินทอและติดต้ังเคร่ืองสุขภัณฑหรืออุปกรณตางๆ ตองมีการเตรียมการลวงหนาไวอยางรอบคอบ สวนของอาคารท่ีเปนคอนกรีต คอนกรีตเสริมเหล็ก หรือกออิฐซ่ึงจะใชเปนท่ีติดตั้งเครื่อง เคร่ืองสุขภัณฑ อุปกรณ หรือทอเดินผาน จะตองจัดทําชองรูฝงทอ หรือฝงพุกตางๆ ไวกอน ขณะทําการกอสรางอาคารสวนน้ันหามเจาะหรือสกัดภายหลัง จะเจาะไดเฉพาะเพ่ือฝงพุกอันจําเปนเพียงจุดเล็กท่ีไมไดน้ําหนักมาก และจะตองเจาะดวยสวานเทาน้ัน

1.3 ทอตางๆ และอุปกรณทุกชนิด ตองตรวจและทําความสะอาดภายใน ไมใหมีสิ่งใดติดหรือคางอยูกอน ตอทอหรือติดต้ัง

1.4 การเดินทอและอุปกรณตอทอทุกชนิดจะตองกระทําใหสามารถเปล่ียน หรือซอมแซมในภายหลงัไดโดยสะดวกดวย

1.5 การตัดทอใหใช Pipe Cutter และตองลบมุมปากทอกอนทําเกลียวทอทุกคร้ังดวย Pipe Reamer 1.6 ทันทีท่ีจะตองเปล่ียนแนวหรือทิศทางของทอใหใชขอตอตามความเหมาะสม หากมีการเปลีย่นขนาดของทอ

ใหใชขอลดเกลียว (Reducer) ท้ังน้ีใหใชขอลดเบ้ียว (Eccentric) ในกรณีจายออกหรือเขาเคร่ืองสูบในแนวระดับ 1.7 สวนของทอท่ีทอท่ีเดินแลวถาตองฉาบปูนหรือมีสวนใดปด กอนปดตองทดลองวาไมร่ัวไหลเสยีกอน

จึงจะปดทับได การปดทอตองตกแตงใหมีลักษณะเรียบรอยกลมกลนืกับอาคารสถานท่ี 1.8 อุปกรณประกอบทอท่ีผิวเปนโครเม่ียมและโผลออกใหเห็น จะตองไดรบัการกระทําตออยางระมัดระวัง

มิใหมีรอยขีดขวนอันเน่ืองมาจากอุปกรณเคร่ืองมือหรือสาเหตุอ่ืน เกลียวท่ีโผลออกมาใหเห็นยินยอมใหโผลออกมาได เพียงไมเกินหน่ึงเกลยีว

1.9 การชุบสังกะสีอุปกรณใหเปนแบบ Hot Dip Galvanize ชุบท้ังดานในและนอก 1.10 การชุบโครเม่ียมอุปกรณ ใหทําความสะอาดผิวของวัสดุและขัดเงากอนทําการชุบ ใหชุบแบบหนาใหท่ัวและ

สมํ่าเสมอรับประกันไมลอกหรือหลุดออก สําหรับอุปกรณชุบเหล็กจะตองชุบทองเหลือง นิเกิล และโคมเม่ียมตามลําดับ 1.11 ทอเหล็กท่ีใชทําปลอก การสกัด การตกแตง ใหดําเนินการดังนี้

1.11.1 ในกรณีท่ีแบบรูปและรายการระบุไว หรือมีความจําเปนตองเดินทอผานคานเสาหรอื พ้ืนคอนกรตีเสรมิเหลก็ กอนการเดินทอผานโครงสรางดังกลาวจะตองไดรับความเห็นชอบจากผูควบคุมงานของการไฟฟานครหลวงทราบลวงหนา เพ่ือตรวจสอบความถูกตองเสยีกอน

1.11.2 หามหามผูรบัจางสกัดหรือตกแตงโครงสรางอาคารเพ่ือการติดต้ังวางทอ เวนแตจะไดรับความเห็นชอบ จากผูควบคุมงานของการไฟฟานครหลวงกอน

1.12 เคร่ืองยึดเหน่ียวและเคร่ืองรองรับ

Page 3

ขอกาํหนดงานสุขาภบิาล

1.12.1 ขนาดเหล็กท่ีแขวนรองรับ ขนาดทอ ขนาดของเหล็กแขวน

1 ½” ลงมา 3/8” (9 มม.) 2”- 3” ½” (12 มม.) 4”- 6” 5/8” (15 มม.) 8”- 10” 7/8” (21 มม.)

1.12.2 ทอติดต้ังในแนวด่ิง – แนวต้ังจะตองยึดหรือรัดทอใหแนนหนาแข็งแรงและสามารถรกัษาแนวแกน ของทอไวไดโดยตลอด และจะตองมีฐานท่ีแข็งแรงรองรับทอท่ีพ้ืนขางลางดวย

1.12.3 ทอซีเมนต-ใยหิน ตาม มอก.106-17 ซ่ึงตอกันดวยปากแตรและยาดวยซีเมนตปลาสเตอร หรอืดวยวัดสุอ่ืน หรือดวยปลอกอัดดวยแหวนยางทุกๆ ระยะ ความยาวของทอแตละทอนจะตองม ีท่ียึดหรือแขวนอยางนอย 1 แหง และท่ีตรงรอยตอ

1.12.4 ทอ พี.วี.ซี. ซ่ึงตอกันดวยปากแตรและนํ้ายาเช่ือมหรือเช่ือมตอกันดวยเสน พี.วี.ซี. หรอืตอกันดวยเกลียว ทุกๆ ระยะ 1.00 ม. และทุกๆ รอยตอจะตองมีท่ียึดหรือแขวนอยางนอยหน่ึงแหง

1.13 ทอท่ีติดต้ังในแนวราบจะตองมีท่ียึดหรือรัดทอหรือแขวนทอในระยะท่ีสามารถยึด หรือรัดทอใหอยูในแนวหรือระดับท่ีตองการไดตลอด

1.13.1 ทอซีเมนต-ใยหิน ตาม มอก. 116-17 หรือทอดินเผาซ่ึงตอกันดวยปากแตรยาดวยซีเมนตปลาสเตอร หรืออัดดวยแหวนยาง หรือตอกันดวยปลอกอัดดวยแหวนยาง ทุกๆ ระยะ ความยาวของแตละทอนจะตองมีท่ียึดหรือแขวนอยางนอยหน่ึงแหง

1.13.2 ทอ พี.วี.ซี. ซ่ึงตอกันดวยปากแตรและนํ้ายาเช่ือม หรือตอเช่ือมกันดวยเสน พี.วี.ซี. หรือตอกันดวยเกลียว รอยตอจะตองมีท่ียึดหรือแขวนอยางนอยหน่ึงแหง ทอขนาดเสนผาศูนยกลาง 1 ¼ น้ิว ลงมาใหยึดทุกระยะ 1.20 ม. สวนทอขนาดเสนผาศูนยกลาง 1 ½ น้ิว ข้ึนไป ใหยึดทุกระยะ 2.00 ม.

1.13.3 การใชทอออนชนิดใดๆ จะตองมีท่ีรองรับท่ีแข็งแรงม่ันคง ตลอดแนวและความยาวของทอ ทอทุกชนิดท่ีวางอยูในดิน จะตองวางอยูบนพ้ืนท่ีอัดแนนตลอดแนวและความยาวทอ ทอหลายๆ ทอในแนวเดียวกันใหวางอยูบนเหล็กฉากและยึดทอกับเหล็กฉากใหแข็งแรง 2.

2.1 ทอประปา หากแบบรูปและรายการมิไดระบุไวเปนอยางอ่ืนใหถือปฏิบัติดังนี้ ระบบประปา

2.1.1 เดินทอเมนประปามายังตัวอาคาร กรณีท่ีบริเวณกอสรางไมมีทอเมนประปาผานใหเดินทอเมนของอาคารออกไปเพ่ือเตรียมบรรจบกับทอเมนประปานอกอาคาร (ความยาวตามตําแหนงในแบบ) และแยกเขาตัวอาคารดวยขนาดเสนผาศูนยกลางไมเล็กกวา 40 มม. (1 ½ น้ิว)

2.1.2 สําหรับระบบถังนํ้าลาง (Flush Tank) ขนาดของทอ สุขภัณฑไมเกิน

¾ น้ิว 4 ท่ี 1 น้ิว 6 ท่ี

1 ¼ น้ิว 14 ท่ี 1 ½ น้ิว 28 ท่ี

Page 4

ขอกาํหนดงานสุขาภบิาล

2.1.3 สําหรับระบบประตูนํ้าลาง (Flush Valve) ขนาดของทอ สุขภัณฑไมเกิน

1 น้ิว 1 ท่ี 1 ¼ น้ิว 2 ท่ี 1 ½ น้ิว 10 ท่ี 2 น้ิว มากกวา 10 ท่ี

2.2 ลกัษณะการเดินทอ การติดต้ังทอจะตองทําดวยความประณีต ปรากฏความเปนระเบียบเรียบรอย แก สายตา การเล้ียว การหักมุม การเปล่ียนแนวระดับ จะตองใชขอตอท่ีเหมาะสม ใหกลมกลนืกับลักษณะ รูปรางของอาคาร ในสวนน้ันๆ แนวทอตองใหไดขนาด หรือต้ังฉากกับอาคารเสมออยาใหเฉ หรือเอียงจากแนวอาคาร หากท่ีใดจะตองแขวนทอจากเพดาน หรอืจากโครงสราง เหนอืศรีษะและมิไดกําหนดตําแหนงท่ีแนนอนไวในแบบแลว จะตองแขวนทอนั้นชดิซายบนใหมากท่ีสุดเทาท่ีจะทําได ท้ังน้ีเพ่ือมิใหทอน้ันเปนท่ีกีดขวางแกส่ิงติดต้ังท่ีเพดาน หรือเหนือศรีษะ เชน โคมไฟ ทอลม ฯลฯ เปนตน ผูรบัจางจะตองตรวจสอบแนวระดับทอของระบบทอตางๆ ใหแนนอนเสียกอนการติดต้ังระบบทอ ระบบใดระบบหน่ึง เพ่ือไมใหทอเหลานั้นกีดขวางกัน

2.3 ปลายทางของทอนํ้าและทอระบายนํ้า หากในแผนผังปรากฏวามีทอนํ้า หรือทอระบายน้ําแสดงไวสาํหรับตอเติมขยายออกไปในอนาคตแลว จะตองตอทอเหลาน้ีออกไปใหพนจากตวัอาคารไมนอยกวา 1.50 ม. แลวใชปลั๊กอุดหรือฝาครอบเกลียวปดไว หากจาํเปนจะตองกลบดันในระยะนี้เสียกอนก็อาจจะทําโดยตอกหลักปายแสดง ตําแหนงปลายทอเหลาน้ีไว

2.4 การปองกันการชํารุดบุบสลายระหวางการติดต้ัง ใหผูรับจางปฏิบัติตามแนวทางดังตอไปน้ี 2.4.1 ปลายทอทุกปลายใหใชปล๊ักอุดหรือฝาครอบเกลียวครอบไว หากจะตองหยุดงานตอทอในสวนน้ัน

ไปช่ัวคราว 2.4.2 เคร่ืองสุขภัณฑและอุปกรณใหหุมหรือคุมกันไวเพ่ือปองกันมิใหเกิดการแตกหกับบุสลายข้ึน 2.4.3 วาลวนํ้า ขอตอและสวนประกอบอ่ืนๆ สําหรับการติดต้ังทอใหตรวจดูภายใน และทําความสะอาด

ภายในใหท่ัวถึงกอนนํามาประกอบติดต้ัง 2.4.4 เม่ือไดทําการติดตั้งเสร็จสมบูรณแลว จะตองตรวจดูความเรียบรอย และทําความสะอาดเครื่อง

สุขภัณฑและอุปกรณเหลานี้อยางท่ัวถึง และแกไขขอบกพรองตางๆ ใหสามารถใชงานไดตามวัตถุประสงคของการไฟฟานครหลวงเปนอยางดี

2.5 ในระบบทอท่ีจําเปนและไมตองการใหนํ้าไหลกลับจะตองติดต้ังวาลวกันน้ํากลับไวทุกแหง 2.6 ใหติดต้ังยูเนียนไวทางดานใตนํ้าของวาลวทุกตัว และกอนทอจะเขาเคร่ืองสุขภัณฑ-อุปกรณท้ังหมดเวนแต

กรณีท่ีเคร่ืองสุขภัณฑและอุปกรณน้ันๆ ไดมีขอตอชนิดท่ีสามารถถอดทอออกไดงายติดมาดวยแลว การติดต้ังยูเนียนน้ัน หามติดฝงไวในกําแพง เพดาน หรือฝาก้ัน

2.7 ตําแหนงและชนิดของวาลวน้ํา ใหปฏิบัติดังตอไปน้ี 2.7.1 วาลวน้าํจะตองติดต้ังตามตําแหนงท่ีแสดงไวในแบบ 2.7.2 วาลวทุกตัวจะตองติดต้ังในตําแหนงท่ีสะดวกแกการตรวจหรือถอดเพ่ือซอม หรือเปล่ียน

หรือมิฉะน้ันก็จะตองจัดใหมีชองทางท่ีจะจัดการถอดเพ่ือซอมหรือเปล่ียนได 2.8 ในกรณีท่ีมีการติดต้ังวาลวบนทอท่ีเดินใตระดับผิวดิน จะตองไมใหกานวาลวอยูต่ํากวาระดับดิน

ใชวาลวท่ีมีแรงดันปกติภายในทอ เทากับ 125 ปอนด/ตร.นิ้ว เวนแตจะระบุไวในแบบรูปหรอืรายการเปนอยางอ่ืน

Page 5

ขอกาํหนดงานสุขาภบิาล

2.9 ทอนํ้าเขาเคร่ืองสุขภัณฑทุกชนิดจะตองประกอบกับ Angle valve กอนตอเขากับสุขภัณฑน้ันๆ 2.10 ในกรณีท่ีมีถังเก็บนํ้าเปนแบบอาศัยความตางระดับ และไดระดับนํ้าจากทอประปาสาธารณะ หรอืจากทอ

น้ําประปาอ่ืนภายใตความดัน จะตองมีล้ินอัตโนมัต ิสําหรับปด เปดนํ้าเพ่ือปองกันการไหลลน ท อน้ําลนถังและทอระบายนํ้าลางถังจะตองไมเล็กกวา 3 น้ิว และปลายทอมีตะแกรงกันแมลงไมนอยกวา 100 ชอง/หน่ึงตารางน้ิว ทอรับนํ้าเขาอยูเหนือทอระบายนํ้าไมนอยกวา 10 ซม.

2.11 ในกรณีท่ีมีเคร่ืองสูบน้ํา จะตองมีเคร่ืองควบคุมการทํางานของเคร่ืองสูบนํ้าแบบอัตโนมัติ สําหรับการเร่ิมทํางานของเคร่ืองสูบนํ้าข้ึนอยูกับระดับนํ้าในถังเก็บน้ํา ซ่ึงจะกําหนดใหขณะติดต้ัง 3.

ระบบระบายนํ้าท้ิง หมายถึงการระบายน้ําท้ิงจากสุขภัณฑตางๆ และการระบายนํ้าฝน ระบบระบายน้าํท้ิง

3.1 ทอระบายนํ้าในแนวระดับจะตองวางโดยมีความลาดเอียงไมนอยกวา 1 : 50 สําหรับทอท่ี มีขนาดไมเกิน 3 น้ิว ความลาดเอียงไมนอยกวา 1 : 100 สําหรับทอท่ีมีขนาดใหญกวา 3 น้ิว ในกรณีท่ีไมอาจปฏิบตั ิดังกลาวได จะตองวางทอ โดยใหมคีวามลาดเอียงพอท่ีน้ําจะไหลดวยความเร็วไมนอยกวา 60 ซม./วินาที

3.2 ทอสวม ทอนํ้าท้ิง และทอระบายอากาศ หากแบบรูปและรายการมิไดระบุไว เปนอยางอ่ืนใหถือปฏิบตัิดังน้ี 3.2.1 ทอสวมใหใชขนาดเสนผาศูนยกลาง 100 มม. (4 น้ิว) รับสวมไดไมเกิน 6 ท่ีน่ัง ถารับ สวมเกินกวา 6

ท่ีน่ัง ใหใชทอขนาดเสนผาศูนยกลาง 150 มม. (6 น้ิว) 3.2.2 ทอปสสาวะใหใชขนาดเสนผาศูนยกลาง 65 มม. (2 ½ น้ิว) รับท่ีปสสาวะไดไมเกิน 4 ท่ี ถาท่ีรับ

ปสสาวะเกินกวา 4 ท่ี ใหใชทอขนาดเสนผาศูนยกลาง 80 มม. (3 น้ิว) 3.2.3 ทอนํ้าท้ิงใหใชทอขนาดเสนผาศูนยกลาง 40 มม. (1 ½ น้ิว) ตอไปรวมกับทอน้ําท้ิงประธาน

ทอนํ้าท้ิงประธานมีขนาดดังน้ี ขนาดของทอ รับอางนํ้าท้ิงไดไมเกิน 50 มม. (2 น้ิว) 2 ท่ี

65 มม. (2 ½ น้ิว) 6 ท่ี 80 มม.(3 น้ิว) 10 ท่ี

3.2.4 ทอระบายอากาศแนวด่ิงชวงส้ันๆ ท่ีตอจากสุขภัณฑอางลางหนา อางลางมือ หรอืท่ีปสสาวะ ข้ึนไปบรรจบทอเมนระบายอากาศแนวราบ ตองมีขนาดเสนผาศูนยกลาง ไมเล็กกวา 25 มม. (1 น้ิว) สําหรับ ทอระบายอากาศท่ีตอจากสวมไมเล็กกวาขนาดเสนผาศูนยกลาง 32 มม. (1 ¼ น้ิว) สวนทอระบายอากาศเมนแนวดิ่งตองไมเล็กกวา 50 มม. (2 น้ิว)

3.2.5 ทอระบายอากาศตอกับสวมหรือทอนํ้าท้ิง จะตองตอเขากับสวนบนของทอเหนอืระดบันํ้า สูงสุดของ เคร่ืองสุขภัณฑท่ีระบายนํ้าลงสูทอดังกลาวเปนทอแนวด่ิงไมนอยกวา 140 มม. กอนท่ีจะเปล่ียนทิศทางของทอ เปนแนวระดับ หรือกอนท่ีจะตอเขากับทอ ระบายอากาศรวม

3.2.6 ในกรณีท่ีหลังคาน้ันตองการใชเพ่ือวัตถุประสงคอยางอ่ืนดวย ทอระบายอากาศจะตองสูงเหนือหลังคา ไมนอยกวา 2 ม.

3.2.7 ทอระบายอากาศท่ีโผลเหนือหลังคาน้ันจะตองไมทําใหหลังคาร่ัวซึมได และปลายของทอจะตอง ไมระบายอากาศเขาสู หรือใกลประตู-หนาตาง หรือชองลมของอาคารน้ัน หรอือาคารอ่ืนๆ

3.2.8 ทอระบายอากาศ ตองตอใหออกไปนอกอาคาร ปลายโผลพนชายคาลักษณะเปนขอตอสามทาง และมีของอควํ่าเพ่ือกันฝนพรอมติดตะแกรงตาถ่ีปดสําหรับกันแมลง

Page 6

ขอกาํหนดงานสุขาภบิาล

3.3 ทอทุกชนิดท่ีตอเขาดวยกัน รอยตอจะตองมีความหนาแนนแข็งแรง พอท่ีจะรับน้ําหนัก หรอืแรงดันของน้ํา หรอืแกสภายในทอไดโดยปลอดภัยและไมร่ัวไหล ลักษณะการตอทอแบบตางๆ ใหเปนไปตามมาตรฐานดังนี้ ี้

3.3.1 การตอโดยใชปากแตรยาดวยปูนซีเมนต ทอสอดจะตองสอดลึกเขาไปถึงกนปากแตรและ จะตองอัดซีเมนตโดยรอบ และตลอดความยาวของทอท่ีเหล่ือมกัน แลวพอกดวย ซีเมนตผสมทรายละเอียดอัตรา 1:2 ผสม นํ้าพอประมาณปดความหนาของรอยตอและทอสวม และปาดผวิหนาเปนมุม 45 องศา เสมอขอบนอกของทอสวม โดยรอบ

3.3.2 การตอแบบใชเกลียว เกลียวของทอ (เกลียวนอก) และเกลียวของขอตอ (เกลียวใน) จะตองไดตามมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม มอก.26-2516 (ก/ล20) หรือมาตรฐาน ASTM, BS หรือ JIS แลวแตกรณี ท้ังน้ีตองหมุนเกลียวเขาไปใน ขอตออยางนอย 5 เกลียวหากประสงคจะใชวัสดุเช่ือม หรือนํ้ายาประสานให ทาวัสดุ ตัวเช่ือม หรือนํ้ายาประสาน ไดเฉพาะเกลียวนอกเทานั้น

3.3.3 การตอแบบอัดแนนโดยใชแหวนยาง หรือแหวนวัตถุอ่ืนท่ีคุณภาพคลายคลึงกัน ทอหรือ ทอปลอก จะตองมีเสนผาศูนยกลางภายใน เล็กกวาเสนผาศูนยกลางขอบนอกของแหวน ซ่ึงสวมแนนอยูบนทอสอดไมตํ่ากวา 1.3 มม. (1/16 น้ิว) และจะตองสวมใหทอเหล่ือมกันแตละขางไมนอยกวาหน่ึงเทาของเสนผาศูนยกลางของทอสอด

3.3.4 การตอทอ พี.วี.ซี. ทอซีเมนตใยหิน ใหดําเนินการตามมาตรฐานของผูผลิต 3.4 ทอสวม ทอปสสาวะ ทอระบายนํ้าท้ิง ท่ีจะตองเปล่ียนทิศทาง หรือการตอทอบรรจบแนวนอนกับแนวต้ัง

ใหตอทอดวยขอตอตัว “Y” หรือขอโคงรัศมีกวาง หามใชของอฉากโดยเด็ดขาด เวนแตในกรณีที่ นํ้าโสโครกไหล จากแนวราบข้ึนสูแนวด่ิง หรอืการหกัเลี้ยวของทอสงน้ําโสโครกจากจากหมอสวมจะใช ขอโคงส้ัน 90 องศาก็ได

3.5 รอยตอท่ีหลังคารอบทอระบายอากาศจะตองทําใหไมมีการร่ัวซึมได โดยใชแผนตะก่ัวแผนทองแดง แผนเหล็กอาบสังกะสี หรือส่ิงอ่ืนท่ีไดรับอนุญาต รอยตอตรงกําแพงภายนอกก็ตองปฏิบัติเชนเดียวกัน

3.6 ในกรณีท่ีตองฝงทอระบายนํ้าคูเคียงไปกับทอประปา จะตองฝงโดยใหทอประปาอยูสูงกวาหลังทอระบายนํ้า ไมนอยกวา 30 ซม. และทอระบายน้ําจะตองไมร่ัวซึม เม่ือทดสอบท่ีความดันสูง 300 ซม.

3.7 ชองสําหรับทําความสะอาดทอ ทําดวยทองเหลือง หรือโลหะไรสนิม ปลายชองตองมีท่ีปดเปดเสมอระดับพ้ืน กันน้ําซึมตรงชองได ในกรณีท่ีระหวางชองทําความสะอาดทอกับ ฝาผนงันอยกวา 50 ซม. หรือตามความเหมาะสม ใหโผลปลายชองทําความสะอาดท่ีกาํแพง มีท่ีปด-เปดเชนเดียวกัน ชองทําความ สะอาด ทอใหตดิต้ังตามตําแหนงดังน้ี

3.7.1 สวนลางของทอเม่ือทอเปล่ียนทิศทางเปนมุมใหญกวา 45 องศา 3.7.2 ตรงจุดเช่ือมระหวางทอระบายนํ้าจากอาคารกับทอระบายน้ํารอบอาคาร 3.7.3 ทุกๆ ระยะไมเกิน 15 ม. สําหรับทอขนาด 4 น้ิวลงมา 3.7.4 ทุกๆ ระยะไมเกิน 30 ม. สําหรับทอท่ีมีขนาดใหญกวา 4 น้ิว 3.7.5 ท่ีโคนของทอระบายในแนวด่ิง

3.8 ขนาดของชองทําความสะอาดทอ 3.8.1 ทอขนาดไมเกิน 4 น้ิว ใหใชขนาดเดียวกับทอหรือใหญกวา 3.8.2 ทอขนาดใหญกวา 4 น้ิว ใหใชขนาดไมเล็กกวา 4 น้ิว

3.9 ชองระบายนํ้าท้ิงท่ีพ้ืนมีท่ีกรองผงชนิดถอดออกไดและมีท่ีดักกล่ินในตัว 3.10 คอหานของอางเคลือบและอางสเตนเลส ใหใชแบบลูกถวย มีท่ีดักกล่ินในตัวชนิดโลหะชบุโครเม่ียม

(หามใชชนิด พี.วี.ซี. ชุบโครเม่ียม หรือตอตรงโดยไมมีท่ีดับกล่ิน) 3.11 ฐานของทอในแนวด่ิงจะตองมีท่ียึด หรือรองรับเพ่ือถายนํ้าหนักออกจากเสนทอตรงฐานลางของทอ 3.12 การติดต้ังท่ีดกัผง รวมถึงคอหานและถวยสําหรับระบายนํ้า มีขอกําหนดดังน้ี

Page 7

ขอกาํหนดงานสุขาภบิาล

3.12.1 ทอทุกทอท่ีเดินจากเคร่ืองสุขภัณฑหรืออุปกรณทุกช้ินลงสูทอระบาย ผูรับจางจะตองจัดหาและติดต้ังท่ีดักผงไวดวย ยกเวนในกรณีท่ีสุขภัณฑหรืออุปกรณน้ันๆ มีท่ีดักผงหรืออุปกรณ อ่ืนอันมีความมุงหมายทํานองเดียวกันประกอบติดอยูในตัวแลว

3.12.2 ท่ีดักผงจะตองติดต้ังใกลเคียงกับเคร่ืองสุขภัณฑและอุปกรณใหมากท่ีสุดเทาท่ีจะทําได 3.12.3 เคร่ืองสุขภัณฑและอุปกรณแตละชุด หามมิใหติดเคร่ืองดักผงมากกวา 1 ท่ี 3.12.4 ท่ีดักผงซ่ึงติดต้ังอยูในตําแหนงท่ีเขาถึงไดงายน้ัน จะตองติดปล๊ักหรืออุปกรณอ่ืนใด ท่ีการไฟฟา

นครหลวงเห็นเหมาะสม ในการถอดออกเพ่ือถายผงท้ิง และทําความสะอาด ภายในไดสะดวก 3.12.5 ขอตอแบบสวมจะนํามาใชตอเขากับท่ีดักผงไดก็เฉพาะเม่ือตอท่ีดักผงข้ึนมาเทาน้ัน

3.13 Trap Seal Trap ของเคร่ืองสุขภัณฑแตละชนิด จะตองมี Liquid Seal ไมนอยกวา 2 น้ิว และไม มากกวา 4 น้ิว นอกจากในจุดเฉพาะท่ีตองการ Seal มากกวาน้ัน 4.

4.1 ทอ PB (Poly Buthylene) สําหรับทอประปาและนํ้าออน การตอทอใหดําเนินการตามคําแนะนําของผูผลิต การประกอบทอ

4.2 ทอ HDPE. สําหรับทอระบายนํ้า (High Density Poly Ethylene) การตอทอใหดาํเนินการตามคําแนะนําของผูผลิต 5.

5.1 การทดสอบสําหรับทอฝงดินจะตองกระทํากอนการกลบดินการกลบดินนี้ จะกระทําไดตอเม่ือทอนั้นผานการทดสอบตามขอกําหนดแลว

การทดสอบ

5.2 การทดสอบทอในอาคารจะตองกระทํากอนการตีฝาเพดานหรือกระทําการใด ๆท่ีปดบังทอ 5.3 การทดสอบทอประปาจะตองกระทํากอนตอทอเขาสุขภัณฑและอุปกรณท้ังหมด การทดสอบใหกระทําท่ี

ภายใตความดัน 150 PSI โดยใชนํ้าอัดเขาเสนทอความดันดังกลาวนี้ ตองไมลดลง เลยในเวลา 12 ชม. ถาปรากฏวา ความดันลดลงใหทําการตรวจสอบหารอยร่ัว และแกไขใหเรยีบรอย สวนทอดับเพลิง ใหทดสอบภายใตความดัน 200 PSI

5.4 การทดสอบระบบทอระบายนํ้าและอากาศ ใหปดชองท้ังหมดในระบบ หรอืสวนของระบบท่ีตองการทดสอบ ใหแนน ยกเวนชองท่ีอยูในระดับสูงสุด ใหตอทอช้ันสูงไปอีกไมต่ํากวา 300 ซม. แลวกรอกนํ้าจนลนออกจากชองน้ี และกักนํ้าไว เปนเวลา 30 นาท ี แลวจึงเร่ิมตรวจหารอยร่ัว หากไมพบรอยร่ัวจึงจะถือวาใชได การทดสอบน้ีจักตองกระทํากอนบรรจบเขากับสุขภัณฑ

5.5 การทดสอบระบบตางๆ ดังกลาวน้ี อาจใชวิธีการอ่ืนๆ ไดตามความเหมาะสมและจําเปนท้ังนี้ตองไดรับอนุมัติ จากการไฟฟานครหลวงเปนลายลักษณอักษรกอนจงึจะกระทําการทดสอบได

5.6 หากผลการทดสอบบงวามีทอร่ัว หรือชํารุดเสียหาย ไมวาจะเปนดวยวัสดุดวยคุณภาพ หรือเปนผลจากฝมือ การติดต้ัง หรือดวยเหตุอ่ืนๆ ก็ดี ผูรับจางจะตองแกไขหรือเปลี่ยนใหมทันที และผูรับจางจะตองทําการทดสอบใหมอีกจนกวาผลเปนไปตามขอกําหนดท่ีบงไวทุกประการ

5.7 การซอมทอร่ัวซึมน้ัน ใหกระทําโดยถอดออกและตอใหมหรือเปล่ียนเปนของใหมเทาน้ัน หามใชวิธีการตอกยํ้า เปนอันขาด

5.8 คาใชจายในการทดสอบใหเปนสวนของผูรับจางท้ังส้ิน 5.9 การทดสอบทุกคร้ัง จะตองมีตัวแทนของการไฟฟานครหลวงรวมอยู เปนสักขีพยานและตองลงนามเปน

สําคัญจึงจะถือวาสมบูรณ 5.10 ผูรบัจางจะตองเปนผูรบัผิดชอบตอผลเสียหายใดๆ ท่ีพงึบังเกิดจากการทดสอบในงานสวนวิศวกรรมสุขาภิบาล

น้ีทุกประการ

Page 8

ขอกาํหนดงานสุขาภบิาล

5.11 ผูรบัจางตองทําการลองทดสอบของตนเองกอน เม่ือพบวาไมมีปญหาใดๆ แลว จึงจะขออนุมัติ ทดสอบ ใหตัวแทนของการไฟฟานครหลวงไปรวมเปนสักขีพยานได

5.12 สำหรับเคร่ืองสูบใดๆ ใหตรวจสอบการติดต้ังและวัดกระแสไฟฟาท่ีใชเปรยีบเทียบปริมาณนํ้า หรือลมท่ีจาย ออกท่ีความดัน และความเร็วรอบของใบพัด ณ จุดใดๆเพ่ือตรวจสอบระสทิธิภาพและขีดการทํางานใหเปนไปตาม รายการและขอกําหนด การตรวจสอบน้ีจะตองกระทําซํ้าจนเคร่ืองสูบ ฯลฯ ทํางานไดตามท่ีกาํหนดไวในรายการ 6. ชนิดของทอ ถาหากไมไดระบุไวในแบบรูปและรายการใหใชดังน้ี

วัสดุท่ีใช

6.1 ทอสวม ทอปสสาวะ ใหใชทอ พี.วี.ซี. ใหใชตามมาตรฐานอุตสาหกรรม มอก. 17-2523 และ มอก. 94-2517 6.2 ทอทุกชนิด ซ่ึงไดแก ทอนํ้าท้ิง ทอประปา ทอระบายนํ้าฝน และทอดับเพลิง ใหใชทอเหลก็ อาบสังกะสี

ประเภทท่ี 2 ตาม มอก.277-2521 กรณีท่ีกําหนดใหใชทอ พี.วี.ซี ใหใชทอตาม มอก. 17-2523 และ มอก. 94-2517 โดยทอนํ้าท้ิงและทอระบายนํ้าฝนใหใช พี.วี.ซี. 8.5 สวนทอประปาใช พี.วี.ซี. 13.5

6.3 ทอระบายอากาศ ใหใชทอเหล็กอาบสังกะสี ประเภทท่ี 1 ตาม มอก.277-2521 กรณีท่ีกําหนดใหใชทอ พี.วี.ซี ใหใชทอ พี.วี.ซี. 5 ตาม มอก. 17-2523 และ มอก. 94-2517

6.4 ขนาดและความหนาใดๆ ของทอเหล็กอาบสังกะสีและทอ พี.วี.ซี. ประเภทตางๆ ใหใชตามมาตรฐาน ท่ีกําหนด

6.5 วาลว (Valve) 6.5.1 Gate Valve สําหรับติดต้ังในงานทอภายในท่ัวไปตองมีคุณภาพตามมาตรฐาน ANSI 125 ผลิตภัณฑ

TOYO, KITZ หรือเทียบเทา (1) ขนาด 2 น้ิว และเล็กกวาเปน Cast Bronze Body ชนิด Inside Screw (2) ขนาด 2 ½ น้ิว และใหญกวาเปน Cast or Ductile Iron Body ชนิดมีหนาแปลน (Flangedends)

6.5.2 Check Valves สําหรับติดต้ังในงานทอใหมีคุณภาพตามมาตรฐาน ANSI 125 ผลิตภัณฑ TOYO, KITZ หรือเทียบเทา

(1) ขนาด 2 น้ิว และเล็กกวาเปน Cast Bronze Body ชนิด Inside Screw Regrinding Bronze Disc (2) ขนาด 2 ½ น้ิว และใหญกวาเปน Cast or Ductile Iron Body ชนิด Glanged end, Bronze

Mounted, Regrind-Renew Bronze (3) สําหรับเคร่ืองสูบนํ้าใหใช Silent type check valve เปนชนิด Diaphragm globe type

hydraulically operated by line pressure, Spring loaded, Resillient Rubber O-Ring disc เปนผลิตภัณฑ Cash Claval Muesco หรือเทียบเทา

6.5.3 Pressure Reducing Valve เปนแบบ Spring loaded, Directed acting diaphragm actuated type, Control automatically operated และมี Screw สําหรับปรับความดันได ใชตอโดยหนาแปลนตามมาตรฐาน ANSI มี Pressure rating ไมนอยกวา 12.25 KSC ตัว Seat เปนตัวทองเหลืองชนิดถอดได

6.6 ขอตัวออน (Flexible Connection) Stainless steel annular corrugation close pitch type, Flanged end safety 4:1, Minimum length 43 pipe dimeter to connected, Working temperature rating - 20 to 150องศาเซลเซียส ทนแรงดันใชงานไดไมนอยกวา 150 PSI ผลิตภัณฑของ Metraflex mason หร อืเทียบเทา

6.7 Water strainers เปนรูปตัว Y มีแผนตะแกรงทําดวย Bronze หรือ Stainless steel ท ี่ สามารถถอด ออกลางได 1 ½ น้ิว และเล็กกวา ตัว Strainer ทําดวย Bronze หรือเหล็กเปนแบบมีเกลยีว ขนาด 2 น้ิว และใหญกวา ตัว Strainer ทำดวยเหล็กเปนแบบม หีนาแปลนทนแรงดนัขณะใชงาน (Working Pressure) ไดไมนอยกวา 150

Page 9

ขอกาํหนดงานสุขาภบิาล

ปอนด/ตร.น้ิว และจะตองมีวาลวระบายน้ําท้ิงขนาด ½ น้ิว ประกอบอยูดวยเปนผลิตภัณฑของ TOYO, KITZ หรือเทียบเทา

6.8 เกจวดัความดัน (Pressure Gauge) เปนแบบ Burdon สําหรับวัดความดันนํ้ากรอบทําดวย Stainless steel หนาปดกลมเสนผาศูนยกลางไมนอยกวา 4 น้ิว มีสเกลบนหนาปดไมนอยกวา 2 เทา ของ แรงดันใช งานปกติ หนวย ปอนด/ตร.นิ้ว และ กก./ตร.ซม. มีความคลาดเคล่ือนได 1% เกจ ความดันแตละชุดจะตองมี Shut off valve และ Snubber connector ผลิตภัณฑของ GRUNAU MOON หรอืเทียบเทา

6.9 มาตรวัดนํ้าเปนแบบ Displacement or turbine และออนดํา เปนแบบสะสมโดยสวนท่ีแยกออกจากนํ้า โดยเด็ดขาดไมมีไอนํ้าปรากฏบนหนาปทมได เปนผลิตภัณฑของ ASAHI, KENT หรอืเทียบเทา

6.10 Float valve (วาลวลูกลอย) ติดต้ังท่ีทอจายนํ้าประปาเขากับใตดินและดาดฟา เปนแบบModulating float valve type, Globe pattern, Class a 125, Flanged, Valve can be serviced without removal from the line แกนลูกลอยยาว 10 น้ิว ของ Cash, Cla-Val, Muesco หรือเทียบเทา

6.11 Floatless vevel switch ควบคุมระดับนํ้าในถังเก็บนํ้าใตดิน และถังเก็บนํ้าท่ีดาดฟา เปนแบบ Electrode type with electromagnetic switch, Water source level indication and prevention of pump inline due to water shortage and automatic water supply control and indication of water level in tank ของ OMRON หรือเทียบเทา 7

เครื่องสูบน้ํา จะประกอบดวยเคร่ืองสูบนํ้าท้ังหมด 3 รายการประกอบดวย เคร่ืองสูบน้ํา

- เคร่ืองสูบนํ้าประปา - เคร่ืองสูบนํ้าในคอกหมอแปลง - เคร่ืองสูบนํ้าใน Power cable trench

ซ่ึงจะมีรายละเอียดของแตละรายการดังน้ี

7.1 เคร่ืองสูบนํ้าประปา (Automatic pump) 7.1.1 เปนเคร่ืองสูบนํ้าชนิดอัตโนมัติ (Automatic pump) ถูกออกแบบใหสามารถสูบนํ้าสะอาด 7.1.2 สามารถสูบนํ้าไดไมนอยกวา 40 ลิตร/นาที ท่ีระดับความสูงไมนอยกวา 25 เมตร 7.1.3 มอเตอร (Motor) ตองใชกบัไฟฟา ระบบไฟ 230 VAC 1 Phase หรือ 230/380 VAC 3 Phase 50 Hz 7.1.4 ควบคุมการทํางานแบบอัตโนมัตโิดยใช Floatless relay ท่ีติดต้ังอยูท่ีถังเก็บน้าํบนดาดฟา

7.2 เคร่ืองสูบนํ้าในคอกหมอแปลง (Centrifugal pump) 7.2.1 ใชสําหรับดูดน้ําท่ีขังอยูใน Sump คอกหมอแปลง ซ่ึงมีสิ่งสกปรกและเศษหินทรายเจือปนอยู 7.2.2 Capacity ไมนอยกวา 200 ลิตรตอนาที ความสูงไมนอยกวา 10 เมตร 7.2.3 ใชกบัระบบไฟ 220 V 1 เฟส หรอื 380 V 3 เฟส 7.2.4 เปนชนิด Self priming หรือทํางานรวมกับ Floot valve 7.2.5 Impeller และ Casing เปนชนิด Cast Iron 7.2.6 Shaft เปน Stainless steel 7.2.7 มอเตอรและปมเปนของ ญี่ปุน, ยุโรป หรืออเมริกา 7.2.8 มอเตอรและปมตองตั้งอยูบนโครงเหล็กรวมกัน และมี Cover บรเิวณ Coupling ระหวางมอเตอรและ

ปม 7.3 เครื่องสูบน้ําใน Power Cable Trench

Page 10

ขอกาํหนดงานสุขาภบิาล

7.3.1 เปนเครื่องสูบน้ําชนิดแชอยูในน้ํา (Submersible pump) ถูกออกแบบใหสามารถสูบน้ําเสีย โดยเฉพาะตัวเรือนทําจาก Stainless steel หรอื Plastic หรอื Synthetic Resin

7.3.2 ขับเคลื่อนดวยมอเตอรไฟฟาชนิดแชอยูในน้ําไดตลอดเวลา ซ่ึงคาความเปนฉนวนไฟฟาของขดลวดไมนอยกวา Class E ความเร็วรอบมอเตอร 1500 รอบ/นาที ใชไดกับไฟฟา 20 หรอื 380 VAC 3 Phase 50 Hz โดยมีอุปกรณปองกันมอเตอรไหม (Built-in thermal overload protection) ติดต้ังอยูภายใน จากโรงงานผูผลิต

7.3.3 ใบพัด (Impeller) เปนชนิดไมอุดตัน (Non Clog) ท่ีออกแบบทําใหเกิดการหมุนวนของนํ้า ภายในตัวเรือนสูบนํ้า (Non clog vortex type) หรือชนิดท่ีไดรับการออกแบบใหสามารถตัดตะกอนท่ีมีขนาดใหญได (Non clog with cutter) ทําจากเหล็กหลอ (Cast Iron) และจะตองไดรับการถวงท้ังทางดานสถิตยศาสตรและจุลศาสตร (Static Dynamic balance) จากโรงงานผูผลิต

7.3.4 ซีล (Seal) จะตองเปนแบบ Double Mechanical Seal ชนิด Super Hard Allon ติดต้ังอยูท่ี Oil Chamber ซ่ึงบรรจุนํ้ามันหลอล่ืนอยู

7.3.5 เพลา (Shaft) จะตองเปนเพลาเดียวยาวตลอด ทําดวย Stainless steel sus 403 7.3.6 ลูกปน (Bearing) จะตองเปนชนิด (Ball Beraring) 7.3.8 ออกแบบปองกันไมใหระบบปมดูดวัสดุเศษหินผานใบพัดท่ีจะทําใหใบพัดเสยีหายได 7.3.9 ใชกับนํ้าเสียได 7.3.10 Maximum Spherical Solid : 60-70~ of Discharge Size 7.3.11 สามารถสูบน้ําไดไมนอยกวา 75 ลติร/นาที ท่ีระดับความสูงไมนอยกวา 5 เมตร 7.3.12 มอเตอร (Motor) ตองใชกบัไฟฟา ระบบไฟ 230 VAC 1 Phase หรอื 230/380 VAC 3 Phase 50Hz 7.3.13 สายไฟท่ีอยูภายนอกอาคารและสวนท่ีจุมอยูในนํ้าจะตองไมมีการตอสายไฟ 7.3.14 ควบคุมการทํางานแบบอัตโนมัตโิดยใชลกูลอย 2 ระดับ, Single Operation โดยจัดหาและติดตั้งพรอม

Control Pane พรอม Alarm signal เม่ือน้ําถึงระดับท่ีตองสูบออกแต เม่ือนํ้าถึงระดับท่ีตองสูบออกแตปมไมทํางาน ตองมีสญัญาณ Alarm เม่ือนํ้าเต็ม Sump และ Pump ไมทํางาน 8

8.1 ขอบขายงานเคร่ืองสุขภัณฑ ประกอบดวยมาตรฐานวัสดุท่ีกาํหนดใชในงานและการติดตั้งเครื่องสุขภัณฑทุกชนิดพรอมอุปกรณและงานประกอบอ่ืนๆ ท่ีจะทําใหงานนี้ เสร็จเรยีบรอยถูกตอง ตามแบบรูปและรายการ

การติดต้ังเคร่ืองสุขภัณฑ

8.2 วัสดุสวนประกอบท่ีกําหนดใชในงานนี้ ใหมีขอกําหนดเกณฑคุณภาพ ดงัตารางสขุภณัฑ และอุปกรณ 8.3 การติดต้ังใหเปนไปอยางถูกตองและแข็งแรง ตามคําแนะนําของผูผลิตเครื่องสุขภัณฑนั้นๆ

9 รายช่ืออุปกรณตางๆ ท่ีกําหนดขางทายจะเปนรายการอุปกรณท่ีระบุใหใชสําหรับโครงการน้ีในกรณีท่ีผูรับจาง

ไมสามารถจัดหาอุปกรณตามรายการน้ีได เน่ืองจากผลิตภัณฑน้ันเลิกผลิต หรือไมมีผูแทนจําหนายในประเทศ อาจจะ เสนออุปกรณอ่ืนท่ีมีคุณภาพเทาเทียบกัน และจะตองไดรับอนุมัติ จากการไฟฟานครหลวงเปนลายลักษณอักษรกอน

รายช่ือผลิตภัณฑมาตรฐาน

9.1 เคร่ืองสูบนํ้าประปา ผลิตภัณฑของ GRUNDFOS, MITSUBISHI, NATONAL 9.2 Centrifugal Pump ผลิตภัณฑของ GRUNDFOS, ACME, KAMAMOTO

ขอกําหนดงานวิศวกรรมระบบ

สําหรับ

งานกอสรางอาคารสถานยีอย พรอมสวนประกอบ

Page 1

ขอกาํหนดงานวศิวกรรมระบบ

สารบัญ หนา

1. ขอกําหนดงานระบบไฟฟา 2 2. ขอกาํหนดงานระบบปรบัอากาศและระบายอากาศ 18 3. ขอกาํหนดงานระบบสายดิน 22

Page 2

ขอกาํหนดงานวศิวกรรมระบบ

1. 1.1 ขอกําหนดท่ัวไป ขอกําหนดงานระบบไฟฟา

ผูรับจางจะตองจัดหาวัสดุอุปกรณ แรงงาน และเครื่องมือ เพ่ือทําการติดตั้งอุปกรณตางๆ ตามท่ีกาํหนดในแบบแปลน และรายละเอียดของงานอยางเครงครัด และดําเนินการใหแลวเสรจ็สามารถใชการไดดี

1.2 ขอบเขตงาน 1.2.1 ผูรับจางจะตองศึกษาแบบแปลนท่ีเก่ียวของ เชน แบบโครงสราง แบบสถาปตย และอ่ืน ๆใหมีความเขาใจ

ถึงความสัมพันธกัน และใหความรวมมือประสานงานกันกับผูรับจางรายอ่ืน ๆเพ่ือใหการดําเนินงานเปนไปอยางราบรื่น และหลีกเลี่ยงความลาชา เชน การฝงทอไฟฟาควรดําเนินการกอนการกอสรางพ้ืนและผนัง ดังนั้น การเจาะฝงฝาเพดาน การสกัดผนัง หรืออิฐกอ การตกแตงปูน การฉาบสีภายหลงัอันเนื่องจากการดาํเนนิงานของผูรับจางผูรบัจางจะตองดาํเนนิการเองท้ังหมดโดยคาใชจายนัน้รวมอยูในการเสนอราคาของผูรับจางแลว

1.2.2 ภายหลังจากเซ็นสัญญา ผูรับจางจะตองจัดทํารายละเอียดอุปกรณ ตัวอยางอุปกรณท่ีใชในการติดตั้งและ Shop drawing ใหการไฟฟานครหลวงตรวจสอบและยินยอมใหใชดําเนินการเปนลายลักษณอักษรกอนการติดตั้ง

1.2.3 ผูรับจางจะตองใหความรวมมือประสานงานกับผูรับจางรายอ่ืนเพ่ือใหงานท้ังหมดดําเนินการดวยดี 1.3 แบบแปลน (Drawing)

1.3.1 แบบแปลนตาง ๆท่ีแสดงเปนเพียงแนวทาง หรอืไดอะแกรมในการตดิตัง้เทานัน้ ตามท่ีเก่ียวของ เชน แบบโครงสราง แบบสถาปตย และอ่ืน ๆ ใหมีความเขาใจถึงความสัมพันธกัน และใหความรวมมือประสานงานกันกับผูรับจางรายอ่ืนๆ

1.3.2 ภายหลงัจากเซ็นสญัญา ผูรบัจางจะตองจดัเตรยีมและสงมอบ Shop drawing จาํนวน 10 ชุด ใหผูรับจาง (ถาไมไดกําหนดเปนอยางอ่ืน) หรือผูแทนพิจารณาอนุมัติแบบดังกลาวเปนลายลักษณอักษรประทับบนแบบกอนการติดตั้งงานสวนใดก็ตามท่ีกระทําไปกอนไดรับอนุมัติจากผูวาจางหรือผูแทนดังกลาว ใหถือเปนความรับผิดชอบของผูรับจางผูควบคุมงานของผูวาจางมีสิทธิท่ีจะเรียกรองใหผูรับจางเพ่ิมเติมงานบางสวน และ/หรือเปลี่ยนแปลงสวนท่ีไดติดตั้งไปแลวใหสอดคลองกับแบบแปลนท่ีไดทําสัญญากันไว โดยท่ีคาใชจายสวนท่ีเพ่ิมข้ึนไมตองอยูในความรับผิดชอบของผูวาจาง แบบท่ีใชติดตั้ง (Shop drawings) มีรายละเอียดการดําเนินการดังนี้

1.3.2.1 แบบท่ีใชติดตั้ง ตองใชมาตรฐานกระดาษและเขียนสัญลักษณแบบเดียวกันกับตนแบบเปน Shop drawings ท่ีใชควบคุมงานไดจริงท่ีแสดงรายละเอียดของอุปกรณและการติดตั้งโดยเขียนดวยโปรแกรม Auto-cad

1.3.2.2 แบบท่ีใชติดตั้งตองแสดงรายละเอียดตาง ๆท่ีจําเปนสําหรับระบบไฟฟา และรายละเอียดอ่ืน ๆ อันจะเก่ียวกับงานกอสราง หรือผูรับจางรายอ่ืนๆ

1.3.2.3 แบบใชงานมีดังตอไปนี้ (1) แบบอุปกรณไฟฟาท้ังหมดท่ีประกอบข้ึนและการติดตั้ง เชน Single line diagram, แผง

สวิตชบอรด เปนตน (2) การติดตั้งอุปกรณไฟฟาท้ังหมด (3) การติดตั้งสายไฟฟา และทอรอยสายไฟฟา Wire Way และแนวการเดนิสาย (4) รายละเอียดของอุปกรณตาง ๆ ท่ีใชในการติดตั้ง เชน ขนาดความหนา หรอื คุณสมบัติ

อ่ืน ๆรวมถึงแสดงตําแหนงของการติดตั้ง (5) รายละเอียดการติดตั้งอุปกรณ และอ่ืน ๆ ตามท่ีปรากฏในแบบแปลน

1.3.3 ผูรับจางจะตองเปนผูรับผิดชอบตอการเตรียม Shop drawings สําหรับการติดตั้งอุปกรณตาง ๆShop drawings ท่ีไดรับการอนุมัติเปนลายลักษณอักษรประทับบนแบบจากวศิวกรผูออกแบบ และ/หรือวิศวกรผูควบคุมงานแลว

Page 3

ขอกาํหนดงานวศิวกรรมระบบ

จะตองสงมอบสําเนาหรือพิมพเขียวใหผูวาจางเปนจํานวน 3 ชุด เพ่ือใชควบคุมงาน การอนุมัติ Shop drawings ของผูวาจางหรือผูแทนเปนเพียงหลักการเทานั้น ซ่ึงไมทําใหผูรับจางพนสภาพจากการรบัผดิชอบตอ การติดตั้งงานใหแลวเสร็จตรงกับวตัถุประสงคของขอกําหนดในแบบแปลนและขอกําหนดตามสญัญา

1.3.4 As-built Drawing เม่ือการติดตั้งเสร็จสมบูรณแลว แบบ Shop drawings จะตองไดรับการแกไขและ/หรอืเขียนใหมเปนแบบ As-built Drawing โดยผูรับจางตองจัดสงตนฉบับและสําเนาพิมพเขียวจํานวน 3 ชดุ (ถาไมไดกําหนดเปนอยางอ่ืน) และ CD-ROM แสดงแบบท้ังหมด 1 ชุด ใหผูวาจางและใหถือวา As-built Drawing และ CD-ROM เปนสวนประกอบในการสงมอบงานงวดสดุทายดวย

1.4 คุณสมบัติของผูรับจาง 1.4.1 ผูรับจางตองมีวิศวกรไฟฟาตาม พรบ. วิชาชีพวิศวกรรม พ.ศ.2505 ประเภทภาคีวศิวกรในการควบคุมการ

ติดตั้งอุปกรณไฟฟาตาง ๆ ท้ังหมดใหถูกตองตามมาตรฐาน MEA, NEC, EIT และกฎขอบังคับวาดวยความปลอดภัยตามประกาศของกระทรวงมหาดไทย

1.4.2 ผูรับจางตองมีพนักงานเพียงพอในการปฏิบัติงานใหแลวเสรจ็ และใชการไดเปนอยางดตีามกําหนดเวลาท่ีระบใุนสญัญาหรือตามความตองการของผูว าจาง

1.4.3 ผูรับจางตองรับผิดชอบการติดตั้งระบบไฟฟาและอุปกรณท่ีนําเขามาใชใหเปนไปตามท่ีไดรับอนุมัติจากการไฟฟานครหลวงเปนลายลักษณอักษรแลว โดยใหพนักงานดําเนินการติดตั้งใหเปนไปตามแบบและขอกําหนดตาง ๆอยางถูกตองและสมบูรณ

1.4.4 การไฟฟานครหลวงมีสิทธิถอดถอนพนักงานคนใดของผูรับจางไดเม่ือเห็นวาปฏิบัติงานไมถูกตองและสมบรูณ

1.4.5 ผูรบัจางตองรบัผดิชอบความปลอดภยัของพนักงานของตนเอง 1.5 วัสดุอุปกรณ

1.5.1 ผูรับจางตองจัดสงตัวอยางวัสดุและอุปกรณท่ีนํามาใชติดตั้ง พรอมดวยขอมูลทางดานเทคนิคใหการไฟฟานครหลวงไดตรวจอนุมัติลวงหนาอยางนอย 45 วันกอนนําไปติดตั้ง

1.5.2 วัสดุและอุปกรณท่ีนํามาติดตั้งตองเปนของใหม และไมเคยนําไปใชงานมากอน 1.5.3 วัสดุอุปกรณซ่ึงเสียหายในระหวางการขนสง การตดิตัง้ หรือการทดสอบตองดําเนินการซอมแซม หรือ

เปลีย่นใหใหมตามสภาพความเห็นชอบของการไฟฟานครหลวง 1.5.4 กรณีที่การไฟฟานครหลวงเหน็วาวสัดุ และอุปกรณท่ีนํามาใชมีคุณสมบัติไมดีเทาท่ีกําหนดไว ในรายการ

การไฟฟานครหลวง มีสิทธิท่ีจะไมยอมใหนํามาใชในงานนี้ ในกรณีท่ีการไฟฟานครหลวงมีความเห็นวาควรสงใหสถาบันท่ีการไฟฟานครหลวงเชือ่ถือทําการทดสอบคุณสมบัต ิเพ่ือเปรยีบเทียบกับขอกําหนดรายละเอียดความตองการของการไฟฟานครหลวงกอนท่ีจะอนุมัติใหนํามาใชได ผูรับจางตองเปนผูดําเนินการโดยเรงดวน และตองเปนผูออกคาใชจายในการทดสอบเองท้ังสิ้น

1.6 การตรวจสอบแบบ และรายการ 1.6.1 ผูรบัจางตองตรวจสอบแบบและรายการขอกําหนดตาง ๆ จนเขาใจถึงรายละเอียดในแบบพรอมขอกําหนด

ตาง ๆโดยชดัแจง 1.6.2 ผูรับจางตองศึกษารายละเอียดและแบบแปลนอ่ืน ๆท่ีเก่ียวของ เชน แบบสถาปตยกรรม แบบวศิวกรรม

โครงสราง แบบวิศวกรรมเครื่องกล และแบบวิศวกรรมไฟฟา ใหมีความเขาใจถึงความสัมพันธกัน และใหความรวมมือประสานงานกับผูรับจางรายอ่ืน ๆเพ่ือใหการ ดําเนินงานเปนไปอยางราบรื่นและหลีกเลี่ยงความลาชา

Page 4

ขอกาํหนดงานวศิวกรรมระบบ

1.6.3 กรณีขอกําหนดรายละเอียดและแบบมีขอขัดแยง ขอสงสยั หรอืขอความผดิพลาดใหสอบถามจากการไฟฟานครหลวงโดยตรง และการตีความในขอขัดแยงใด ๆใหตีความไปในแนวทางท่ีดีกวาถูกตองกวา วัสดุอุปกรณท่ีมีคุณภาพดีกวา โดยผูรับจางจะถือเปนสาเหตุขอเพ่ิมราคาไมได

1.7 การแกไขเปล่ียนแปลงแบบ รายการ และวัสดุอุปกรณ 1.7.1 การเปลีย่นแปลงแกไขการปฏบิัตงิานท่ีผดิไปจากแบบ และรายการอันเนือ่งจากแบบ และรายการขัดแยง

กัน หรืออันเกิดจากความจําเปนอ่ืนใดก็ดีผูรับจางตองแจงการไฟฟานครหลวงเพ่ือขอรับอนุมัติขอความเห็นชอบกอนดําเนินการได

1.7.2 กรณีท่ีวัสดุอุปกรณของผูวาจางท่ีขออนุมัตินําเขามาติดตั้งมีลักษณะคุณสมบัติอันเปนเหตุใหอุปกรณรายการท่ีการไฟฟานครหลวงกําหนดไวเกิดความไมเหมาะสม ผูรับจางตองไมเพิกเฉยละเลยท่ีจะแจงขอความเห็นชอบจากการไฟฟานครหลวงในการแกไขเปลี่ยนแปลงใหถูกตอง โดยหลักฐานจากบริษัทผูผลิต มิฉะนั้นผูรับจางตองเปนผูรับผิดชอบตอความเสียหายท่ีอาจเกิดข้ึนแตเพียงผูเดียว

1.7.3 ผูรับจางตองจัดใหมีชองทางเขาถึงเครื่องจักรและอุปกรณ โดยมีขนาดเทาท่ีจําเปน และเหมาะสมกับเครื่องจักรและอุปกรณท่ีผูรับจางจัดหามาใหสะดวกสาํหรบัการเขาไปซอมแซมบาํรงุรักษา

1.7.4 กรณีท่ีมีการเปลี่ยนแปลงแกไขแบบ รายการ วัสดุ และอุปกรณดังกลาวขางตน ใหผูรับจางทําหนังสือขออนุมัติกอนการติดตั้งอยางนอย 45 วัน

1.8 การใชพลังงานไฟฟาและอ่ืน ๆ ระหวางการตดิตั้ง 1.8.1 ผูรับจางตองดําเนินการติดตั้งระบบไฟฟาชั่วคราว สําหรับแสงสวางจุดตาง ๆภายในอาคารตามการไฟฟา

นครหลวงกําหนดใหซ่ึงจําเปนสําหรับการปฏิบัติงานหรือตรวจสอบงานการไฟฟานครหลวง ในการติดตั้งระบบไฟฟาชั่วคราวนี้ผูรับจางตองเปนผูออกคาใชจายเองท้ังสิ้น

1.8.2 การรื้อถอนวัสดุและอุปกรณท่ีตองใชงานชั่วคราว และกระทําใหอยูในสภาพดีเชนเดิมภายหลังการสงมอบงานแลวก็ยังคงอยูในความรับผิดชอบของผูรับจางเชนกัน

1.8.3 ผูรับจางตองรับผิดชอบเก่ียวกับคาใชจายในการตอสายไฟฟา สายโทรศัพท ทอน้ํา ประปา และทอน้ําอ่ืน ๆรวมท้ังมาตรวดัตาง ๆ ชัว่คราว คาใชจายในการดาํเนนิงานและใชงานดวย

1.8.4 คาใชจายตาง ๆ ในขอ 1.8.3 ผูรับจางตองรับผิดชอบตั้งแตวันเริ่มเตรียมการระหวางการใชงานจนกระท่ังวนัสงมอบงานเรยีบรอยแลว

1.9 ความรับผิดชอบ ณ สถานท่ีติดตั้ง 1.9.1 ผูรับจางตองรับผิดชอบเต็มท่ีเก่ียวกับเหตุเสียหายตาง ๆ ท่ีจะเกิดข้ึนจากการปฏิบัติงานการติดตั้งและ

ทดลองเครือ่ง 1.9.2 ผูรับจางตองระมัดระวังรักษาความปลอดภัย รวมท้ังอัคคีภัยเก่ียวกับทรัพยสินท้ังปวง 1.9.3 ผูรับจางตองพยายามทํางานใหเงียบและสั่นสะเทือนนอยท่ีสุดเทาท่ีจะสามารถทําได เพ่ือมิใหเกิดความ

เดือดรอนและมีผลกระทบกระเทือนตอคนหรืองานอ่ืน ๆ ท่ีอยูใกลสถานท่ีติดตั้ง 1.9.4 ผูรับจางตองดูแลสถานท่ีปฏิบัติงาน ท่ีพักชั่วคราว ท่ีเก็บของตาง ๆ ใหเรียบรอยสะอาด และอยูในสภาพ

ปลอดภยัตลอดเวลา 1.9.5 เม่ือผูรับจางไดทําการติดตั้งสมบูรณแลว ผูรับจางตองยายเครื่องมือ เครื่องใชตลอดจนรื้อถอนอาคาร

ชั่วคราวซ่ึงผูรับจางไดปลูกสรางข้ึนสําหรับงานนี้ออกไปใหพนจากสถานท่ีจนสิน้เชงิ สิ่งใดท่ีตองสงคืนใหแกผูวาจางก็ตองจัดการสงใหเรียบรอยเสร็จสิ้นไปกอนท่ีจะสงมอบงาน

1.10 การขนสง

Page 5

ขอกาํหนดงานวศิวกรรมระบบ

1.10.1 ผูรับจางตองรับผิดชอบในการขนสงเครื่องมือ วัสดุอุปกรณ มายังสถานท่ีติดตั้งรวมท้ังการยกเขาไปติดตั้ง คาใชจายท้ังหมดเปนของผูรับจางเองท้ังสิ้น

1.10.2 ผูรับจางตองรับผิดชอบตอความลาชาในการขนสงวัสดุ อุปกรณ หรือเครื่องมือตางๆ มายังสถานท่ีติดตั้ง 1.10.3 ผูรับจางตองรับผิดชอบตอความเสียหายอันเกิดจากการขนสงวัสดุอุปกรณ หรือเครื่องมือตาง ๆมายัง

สถานท่ีติดตั้ง 1.11 ปาย และเครื่องหมายของวัสดุอุปกรณ

1.11.1 ผูรับจางตองจัดหาหรือทําปายชื่อ และเครื่องหมายแสดงตาง ๆ เพ่ือแสดงปายชื่อขนาดของอุปกรณ และการใชงานโดยใชภาษาไทย และ/หรอืภาษาอังกฤษ

1.11.2 ปายชื่อทําดวยแผนพลาสติก พ้ืนสีดํา แกะสลักตัวอักษรสีขาว ขนาดโตอยางนอย ½ นิว้ และเคลือบพลาสติกอีกชั้นหนึ่ง ปายตองยึดติดใหม่ันคงถาวร

1.11.3 วัสดุและอุปกรณตาง ๆ ท่ีเม่ือติดตั้งแลวสามารถมองเห็นไดอยางชัดเจน จะตองแสดง เครือ่งหมาย และอักษรยอหรือขอความท่ีสั้น กะทัดรดั งายตอการเขาใจ

1.12 การรับประกนั 1.12.1 ผูรับจางตองรับประกันเปลี่ยนและ/หรือแกไขวัสดุ และงานตามขอกําหนด รวมท้ังขอผิดพลาดและสิ่งตก

หลนท่ีเกิดข้ึนในการเสนอราคาและการติดตั้งของผูรับจาง โดยจํานวน และคุณภาพอุปกรณเปนไปตามขอกําหนดและแบบแปลน ซ่ึงผูรับจางจะตองเปนผูออกคาใชจายเองท้ังสิน้ กรณีการไฟฟานครหลวงตรวจพบไมว ากอนหรอืหลงัจากการตรวจรับ

1.12.2 หากไมไดกําหนดเปนอยางอ่ืนผูรับจางตองรับประกันอุปกรณของระบบตาง ๆ ดังกลาวขางตน เปนเวลา 365 วนันบัจากวนัสงมอบงาน โดยทําการแกไขงานท่ีไมถูกตองเปลี่ยนวัสดุอุปกรณท่ีเสียหรือเสื่อมสภาพภายในระยะเวลา 14 วนั (หรือตามแตจะตกลงกัน) หากผูรับจางไมเริ่มแกไขและดําเนินการใหเสร็จเรียบรอยแลว การไฟฟานครหลวงสงวนสิทธิ์ท่ีจะดําเนินการเองแลวคิดคาใชจายท้ังหมดจากผูรับจาง

1.13 การทดสอบ ในการตรวจรบังานผูว าจางจะไดทําการตรวจสอบผลการติดตัง้และทดสอบคุณสมบัติของอุปกรณไฟฟาตาม

รายการตอไปนี้ โดยผูรับจางเปนผูจัดหาชางและเครื่องมือเพ่ือใชสําหรับการนี้ โดยคาใชจายของผูรับจางเองท้ังสิ้น 1.13.1 ตรวจสอบความตานทานของฉนวนหุมสายไฟฟา โดยกําหนดใหมีความตานทานระหวางสายตอสาย และ

ระหวางสายกับดินหรือสายศูนยในขณะท่ีมิไดทําการเปดสวิตซดวงไฟฟาและสวิตซตัดวงจรไฟฟาตาง ๆใหไดคาตามท่ีการไฟฟานครหลวงกําหนดไว

1.13.2 ตรวจสอบสภาพการตดิตัง้เดนิสายไฟฟาเขาสวติซ ดวงโคม เตารบั ดวงโคมไฟฟาและ อุปกรณไฟฟาอ่ืน ๆตลอดจนสายเมนไฟฟาเขาแผงสวติซตาง ๆโดยตลอดวามีขนาดถูกตอง หรือใชสายท่ีม ีคุณภาพตามขอกําหนดประการใด และตรวจสอบสภาพการตดิตัง้ดวงโคม เดนิสาย การติดตั้งแผงสวิตซ ฯลฯ วาม่ันคงแข็งแรงเพียงใด และเปนไปตามกฎท่ีกําหนดไวของการไฟฟานครหลวง และ NEC

1.13.3 ทดลองเปดจายกระแสไฟฟาเขาอุปกรณไฟฟาตาง ๆท่ีไดติดตั้งไวเชนเดียวกับสภาพการใชงานจริงเพ่ือดูขอบกพรองเก่ียวกับอุปกรณไฟฟาตาง ๆโดยตลอดทุก ๆจดุ รวมท้ังเตารับและอุปกรณไฟฟาอ่ืนๆ ดวย เปนเวลา 12 ชัว่โมง

1.13.4 การตรวจสอบทุกประเภทตองจัดทําโดยมีตวัแทนผูวาจางเปนพยาน และตองจดัทํารายการตรวจสอบสงผูวาจางจํานวน 3 ชุด

1.14 การสงมอบงาน

Page 6

ขอกาํหนดงานวศิวกรรมระบบ

1.14.1 ผูรับจางตองเปดเดินเครื่องอุปกรณตาง ๆใหอยูในสภาพท่ีใชงานเต็มท่ี หรือพรอมท่ีจะใชงานไดเต็มท่ีเปนเวลา 12 ชัว่โมง

1.14.2 ผูรับจางตองทําการทดสอบเครื่องมือ วัสดุและอุปกรณตามท่ีผูวาจางหรือวิศวกรผูออกแบบจะกําหนดใหทดสอบจนกวาจะไดผลเปนท่ีนาพอใจและแนนอนของผูวาจางหรือวิศวกร ผูออกแบบวาเครื่องมือวัสดุและอุปกรณเหลานั้นสามารถทํางานไดดีถูกตอง ตามขอกําหนดทุกประการ

1.14.3 รายการสิ่งประกอบตาง ๆท่ีผูรับจางตองสงมอบใหแกผูวาจางในวันสงมอบงาน ซ่ึงถือเปนสวนหนึ่งของการตรวจรบัมอบงานดวย คือ

1.14.3.1 แบบสรางจรงิ (As-built Drawing) ประกอบดวยตนฉบับ, พิมพเขียว จํานวน 3 ชดุ พรอม CD-ROM ของท้ังหมด 1 ชุด

1.14.3.2 หนังสือคูมือการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือ และอุปกรณและรายงานการตรวจสอบจาํนวน 3 ชุด

1.14.3.3 เครื่องมือพิเศษสําหรับใชในการปรับแตงซอมบํารุงเครื่องจักรและอุปกรณ ซ่ึงโรงงานผูผลิตสงมาใหดวย

1.14.3.4 ชิ้นสวน, อะไหลตาง ๆตามท่ีกําหนดไว 1.14.4 คาใชจายท่ีเกิดข้ึนในการทดสอบเครื่อง และตรวจรบัมอบงานอยูในความรับผิดชอบของผูรับจางเองท้ังสิ้น

1.15 การตรวจการจาง 1.15.1 ผูรับจางจะตองดําเนินงานใหแลวเสร็จทันภายในกําหนดท่ีระบุไวในสัญญา ซ่ึงไดกระทํากับผูวาจางให

เรยีบรอยกอนสงมอบงาน 1.15.2 กอนนดัคณะกรรมการเพ่ือทําการตรวจรบังาน ใหผูรับจางทําการเก็บกวาดสิง่สกปรกและซอมแซม

สวนประกอบของอาคารท่ีชํารุดอันเนือ่งมาจากการทําการตดิตั้งสาย ติดตั้งอุปกรณไฟฟาโดยฝมือของชางของผูรับจางใหเสรจ็เรยีบรอย ตลอดจนใหทําการทดลองระบบไฟฟาท่ีไดติดตั้งใหถูกตองสามารถใชการไดดีโดยเรียบรอยทุกสวน

1.15.3 ในขณะท่ีทําการตรวจรบังานของคณะกรรมการตรวจการจาง หากปรากฏวาไดเกิดการชาํรดุเสยีหายเกิดข้ึนแกอาคารสิ่งกอสรางสวนท่ีไดทําการติดตั้งหรือเดินสายไฟฟาไว หรือเกิดการชํารุดเก่ียวกับอุปกรณไฟฟาท่ีติดตั้งไวก็ใหอยูในความรับผิดชอบของผูรับจางในการท่ีจะทําการซอมแซมแกไขหรือเปลี่ยนใหใหม โดยคาใชจายของผูรับจางเองท้ังสิ้น

1.15.4 เม่ือคณะกรรมการตรวจการจางไดทาํการตรวจรบังานไปแลว กําหนดใหผูรับจางยังมีภาระประกันผลงานท่ีไดดําเนินการไวกับผูวาจางตอไปอีกมีกําหนด 365 วัน นับแตวันท่ีคณะกรรมการไดลงนามตรวจรบัเปนตนไป ซ่ึงภายในระยะเวลาท่ีไดกําหนดไวหากเกิดการบกพรองเสียหายเกิดข้ึนแกทรัพยสินของผูวาจางในสวนท่ีผูรับจางรับผิดชอบอยู เชน อุปกรณไฟฟา สายไฟฟา เปนตน ใหอยูในความรับผิดชอบของผูรับจางท่ีจะตองจัดทําใหใหมหรือแกไขใหดีตามสภาพเดิมทุกประการโดยคาใชจายของผูรับจางเองท้ังสิ้น

1.16 คณุภาพอุปกรณ ผูรับจางจะตองจัดหาอุปกรณไฟฟาตาง ๆท่ีนําเขามาติดตั้งใหมีคุณภาพ และวตัถุประสงคการใชงาน เปน

ของใหมไมเคยใชงานมากอนดงัรายละเอียดท่ีกาํหนด 1.17 สายไฟฟาแรงต่าํ

1.17.1 ตัวนําไฟฟาท้ังหมดตองเปนทองแดง และฉนวนของสายไฟตองเปนไปตามของ มอก.11-2531 หรอืตามท่ีระบใุนแบบ และเปลอืกหุมฉนวนของสายไฟฟาตองเปนไปตามขอ 6 มอก.11-2531

1.17.2 สายแบบ Feeder ใหใชสายชนิด THW, NYY หรือท่ีระบุเปนอยางอ่ืน

Page 7

ขอกาํหนดงานวศิวกรรมระบบ

1.17.3 สายวงจรยอยตาง ๆใหใชสายชนิด THW สายดินใหใชสายชนิด THW หรือท่ีระบุเปนอยางอ่ืน 1.18 ทอรอยสายไฟฟา (Conduit) และทางเดนิสายไฟฟา (Race Way)

1.18.1 Cable Tray หรอื Cable Ladder เปนผลติภณัฑมาตรฐานสาํเรจ็รปูจากโรงงานโดยตรง ผานกระบวนการชุบสังกะสี (Hot Dip Galvanized)

1.18.2 Wire Way จะตองเปนรางเหลก็พับความหนาไมนอยกวาท่ีกําหนดในตารางท่ี 7.1 ผานกระบวนการปองกันสนิม และพนทับดวยสีเทาหรือสีท่ีกําหนดเปนอยางอ่ืน

1.18.3 High Density Polyethylene Pipe (HDPE หรอื PE) จะตองเปนทอออนสีดําผลิตไดตามมาตรฐาน ASTM D 2447 ติดตั้งในกรณีฝงใตดินใหปฏิบัติตามกฎการเดินสายของการไฟฟานครหลวง

1.18.4 Intermediate Metallic Conduit (IMC) จะตองเปนทอเหล็กแข็งชนิดหนาผานกระบวนการชุบสังกะสี (Hot Dip Galvanized) ขนาดเสนผาศูนยกลางไมนอยกวา ½” ติดตั้งในกรณี ฝงดิน ฝงในคอนกรีตบริเวณท่ีรับน้ําหนักบริเวณท่ีมีความชื้นหรือภายนอกอาคาร หรือตามท่ีระบุในแบบ ท้ังนี้ ในกรณีฝงดินตองทา Flint Coat 2 ชั้น

1.18.5 Electrical Metallic Tube (EMT) จะตองเปนทอเหลก็บางผานขบวนการชบุสงักะส ี(Hot Dip Galvanized) มีเสนผาศูนยกลางไมนอยกวา ½” ใชในกรณีเดินในผนัง ฝาเพดาน หรือเดินลอยในอาคารหรือท่ีระบุเปนอยางอ่ืน

1.18.6 Junction Box จะตองเปนกลองเหล็กชุบสังกะสี หรือแคดเม่ียม กรณีฝงในเนื้อคอนกรีตเสริมเหล็กใหทาสีกันสนิมอีกครั้งหนึ่ง

1.18.7 Pull Box จะตองเปนกลองเหล็กพับผานขบวนการปองกันสนิม และพนทับดวยสีเทา หรือท่ีระบุเปนอยางอ่ืน

1.19 ดวงโคมไฟฟาและอุปกรณ 1.19.1 ดวงโคมไฟฟาตองเปนไปตามรปูราง ลกัษณะ ท่ีแสดงในแบบและขอกําหนดดวงโคมไฟฟา สาํหรบัหลอด

Fluorescent ใหใชผลิตในประเทศไทยตามรายละเอียดดังนี้ 1.19.1.1 ขาหลอดเปนแบบ Heavy Duty Type (Spring Loaded) 1.19.1.2 สายไฟฟาในดวงโคมใหใชสายชนิดทนอุณหภูมิได 750 V 70 °C ขนาดไมเลก็กวา 1.5 มม2 1.19.1.3 ดวงโคมไฟฟาตองทําดวยแผนเหลก็หนาไมนอยกวา 0.80 มม. ผานกรรมวิธีปองกันสนิม และผุ

กรอนไดดี เชน ชุบดวยฟอสเฟต แลวพนสีเคลือบภายนอกชนิดอบดวย ความรอน แผนสะทอนแสงเปนแผนอลูมิเนียมชนิดขัดเงาสะทอนแสง

1.19.2 หลอดไฟฟา 1.19.2.1 หลอด Fluorescent เปนชนดิ Cool White 1.19.2.2 หลอด Incandescent โดยท่ัวไปใชหลอดประเภทแกวใส ชนิดข้ัวเกลียว E27 1.19.2.3 หลอด SL (Low-Pressure Mercury Fluorescent Lamp) ประกอบดวย Ballast และStarter

ในตัวใชหลอดประเภทแกว Prismatic ชนิดข้ัวเกลียว E27 1.19.2.4 หลอด PL (Low-Pressure Mercury Fluorescent Lamp) ประกอบดวยหลอด Fluorescent

ขนาดเลก็ 4 หลอดเชื่อมตดิกัน ขาหลอดเปนแบบ Two or Four-Pin Electrical Connection 1.19.2.5 หลอด PLCE (Low-Pressure Mercury Fluorescent Lamp) ประกอบดวยหลอด

Fluorescent ขนาดเลก็ 4 หลอดเชื่อมติดกัน ขาหลอดเปนเกลียวแบบ E22 or E37 Standard Type with Built In Electronics Ballast

1.19.2.6 หลอดชนดิอ่ืน ๆท่ีระบใุนแบบเปนไปตามมาตรฐานผูผลติ

Page 8

ขอกาํหนดงานวศิวกรรมระบบ

1.19.2.7 หลอดไฟฟาชนดิ Fluorescent และ Incandescent ตองเปนไปตามมาตรฐานอุตสาหกรรม 1.19.3 Ballast สาํหรบัหลอด Fluorescent ใหใชชนิด Low Power Factor, Low Loss ซ่ึงไดรับการรับรองจาก

สาํนกังานมาตรฐานอุตสาหกรรม ตอพวงกับ Capacitor ชนิดแหงเพ่ือปรับคา Power Factor, (1 Ballast ตอ 1 Capacitor) ใหไดไมนอยกวา 0.85 อุณหภูมิใชงานสงูสดุของขดลวดไมนอยกวา 120 °C

1.19.4 Starter และ Capacitor ตองเปนไปตามมาตรฐานอุตสาหกรรม 1.20 สวิตซดวงโคม

กําหนดใหเปนแบบ Flush Mounting แบบคันกระดกชนิดสี่เหลี่ยมติดตั้งในกลอง (Outlet) สวิตซหลายตัวติดตั้งในแหงเดียวกันแตไมเกิน 6 สวิตซตอ 1 กลอง สวิตซจะตองเปนชนิดใชกับแรงดนั 250 โวลท ขนาดไมนอยกวา 10 แอมแปร แผนฝาครอบ (Cover Plate) เปนแผน Anodized Aluminum ชนิดยึดดวยสกรู

1.21 เตารบั (Receptacle Outlet) กําหนดการติดตั้งเชนเดียวกับสวิตซของดวงโคม หรือท่ีระบุ 1.21.1 Simplex Type ชนดิฝงผนงักําหนดเปนชนดิ 3 Poles 3 Wires (Universal Type with Ground) 10A

250 Volts AC 50 Hz 1.21.2 Duplex Type ชนดิฝงผนงักําหนดเปนชนดิ 3 Poles 3 Wires (Universal Type with Ground) 10A

250 Volts AC 50 Hz กรณีในแบบกําหนดเปนชนดิ POP-UP Type แผนฝาครอบชนดิกลม (Round) ทําดวย Aluminum Drip-Proof Construction สามารถดึงข้ึนใชงานดวยการกดกระเดื่องลอคและปดแนบสนิทดวยการกด

1.21.3 Simplex Type ชนิดฝงพ้ืนกําหนดเปนชนิด 3 Pole 3 Wires (Universal Type with Ground) 10A 250 Volts AC 50 Hz กรณีในแบบกําหนดเปนชนดิ Floor Mounted Type แผนฝาครอบชนิดเหลี่ยมมี คันยก เปดฝา ฝาครอบบนสามารถติดตั้งแผนกระเบื้องยาง หรือพรมได ตามความตองการ และมีชองสาํหรบัสายออกใชงานโดยไมตองเปดฝาและปดแนบสนิทดวยการกด

1.22 ตูควบคุมดานแรงต่ํา (Low Voltage Control Panel) 1.22.1 แผงควบคุมใหญ (Main Distribution Board) ใหใชชนิดท่ีผลิตในประเทศไทยตามมาตรฐาน ANSI หรอื

VDE ตามรายละเอียดดงัตอไปนี้ 1.22.1.1 ทนแรงดันไฟฟาไมนอยกวา 500 โวลท และทนกระแสไฟลัดวงจรไดไมนอยกวาคาท่ีกําหนดของ

Main Circuit Breaker ในแผงควบคุมนัน้ ๆตามท่ีแสดงในแบบ 1.22.1.2 โครงตูแตละตูทําดวยเหล็กฉากเชื่อมติดกัน และใชเหล็กฉากยึดติดกันดวยสลัก และเปนเกลียว

เหลก็ฉากตองหนาไมนอยกวา 2.00 ม. 1.22.1.3 บานประตูตูดานหนาของชองใสอุปกรณท้ังชวงบนและชวงกลางเปนแบบเปดได ใชบานชนิด

ซอน (Hidden Hinge) เปด-ปด โดยใชกญุแจหกเหลีย่มไขสามารถถอดออกไดงาย บานประตูแข็งแรงไมบิดงอ 1.22.1.4 ฝาปดชวงลางดานหนา ฝาปดชวงลางดานหลงั และฝาปดดานขางของตูริมนอกใหใชแบบถอด

ได ยึดติดกันดวยสปริง (SNAP-ON-LID) หรือแบบอ่ืน ๆท่ีสามารถถอดฝาปดไดงาย โดยตองไดรับความเห็นชอบจากวิศวกรผูรับผิดชอบกอน

1.22.1.5 ดานหลังของชองใสอุปกรณ (Appratus Chambers) ทุกชองระหวางอุปกรณ และชองของบัสบาร หลังตู และดานหลังของอุปกรณท่ีติดอยูในชองใสอุปกรณอันบนตองมีแผนโลหะปองกันอารค (Sheet Metal Arc Barriers)

1.22.1.6 แผนโลหะท่ีใชรอบนอกตองเปนแผนเหลก็หนาไมนอยกวา 1.4 มม. สวนท่ีใชดานหนา ดานหลัง และดานขางของตูดานริมนอกใหทําเปนแบบพับซองดานบนใหใชแบบแผนเรียบปดดวยสลักเกลียว

Page 9

ขอกาํหนดงานวศิวกรรมระบบ

1.22.1.7 ฝาปดดานหนาสวนบนสําหรับติดตั้งอุปกรณวัดตาง ๆใหติดตั้งดวยกระจกเพ่ือสามารถมองเห็นจากภายนอกไดโดยสะดวก และกันน้ําได

1.22.1.8 ชิ้นสวนท่ีเปนเหล็กตองผานกรรมวิธีปองกันสนิมและพนสีทับตามสีท่ีผูวาจาง หรือตัวแทนผูวาจางตองการ

1.22.1.9 Name Plate ทําดวยแผน Plastic สองชั้นโดยชั้นนอกเปนสีดํา และชั้นในเปนสีขาว การแกะสลักตัวหนังสือท้ังหมดกระทําบนแผนพลาสติกสีดําขนาดตัวอักษรสูงอยางนอย 15 มม. หนา 2 มม. ประกอบกัน และติดตั้งม่ันคงแข็งแรง

1.22.1.10 ตัวนํา (Conductor) ทําดวยทองแดงทนกระแสไฟฟาไดไมนอยกวาขนาด Circuit Breaker ท่ีกําหนดในแบบโดยทาสแีสดงเฟสเปนชวง ๆชวงละประมาณ 10 ซม. โดยกําหนดสี ดังนี้

(1) Phase R สีดํา (2) Phase Y สแีดง (3) Phase B สีน้ําเงิน (4) Neutral สเีทาออนหรอืขาว (5) Ground สีเขียว

1.22.1.11 Metering มิเตอรท้ังหมดตองเปนแบบท่ีใชติดตั้งกับแผงควบคุม Accuracy Class 1.5 ขนาดหนาปดประมาณ 100x100 มม. สามารถทนตอ Load ไดไมนอยกวา 1.5 เทา

1.22.1.12 Mimic Bus ตองทําดวยแผนพลาสติกสีแดง หรือสีสมประกอบกันเปน Schematical Form มีความหนาประมาณ 3 มม. และความกวางประมาณ 10 มม

1.22.2 ตูควบคุมยอย (Panel or Load Center) 1.22.2.1 Panel Board สําหรับ Lighting หรอื Receptacle ตองออกแบบและประกอบเปนไปตาม IEC,

ANSI, NEMA เปนแบบ Plug-in Type ระบบ 3 เฟส 4 สาย 50 Hz with Ground ขนาด Ampere Rating เปนไปตามแบบท่ีระบุ

1.22.2.2 ตัวตูเปนแบบติดผนังหรือท่ีระบุเปนอยางอ่ืนตัวตูทําดวย Galvanize Code Guage Sheet Steel พนทับดวยสีเทาหรือที่ระบุเปนอยางอืน่ มีประตูปด-เปดดานหนา และมีตารางแสดงวงจรของ Circuit Breaker ตางๆ ติดท่ีฝาประตูดานใน

1.22.2.3 Bus Bar ท่ีตอกันกับ Circuit Breaker เปนแบบ Phase Sequence Type และประกอบดวย Ground Bar Kits

1.22.2.4 Main Circuit Breaker เปนแบบ Molded Case Circuit Breaker ขนาด Ampere Trip และ Ampere Frame ตามท่ีกาํหนดใน Load Schedule และมี Interrupting Capacity ไมนอยกวา 14 kA ท่ี 380 V

1.22.2.5 Branch Circuit Breaker เปนแบบ Molded Case Circuit Breaker Quick 1.22.2.6 Make Quick-Break, Thermal Magnetic and Trip Indication มีขนาดตามท่ีระบุใน Load

Schedule และมี Interrupting Capacity ไมนอยกวา 5 kA ท่ี 240 V 1.22.2.7 Nameplate หมายเลขหรอื Code ของ Panel Board ตองเปนแผนพลาสติก 2 ชั้น ชั้นนอก

เปนสีดําและชั้นในเปนสีขาว แกะสลักตัวหนังสือบนแผนสีดํานํามาประกบแผนสีขาวและติดตั้งใหม่ันคงแข็งแรง 1.22.2.8 ผังวงจรยอยตองมีตารางแสดงวงจรยอยท่ีอยูติดกับตูติดไวท่ีฝาตูดานในบงบอกหมายเลขวงจร

ขนาด Circuit Breaker ขนาดสายไฟและใชกับอุปกรณชนิดใดท่ีบริเวณใด 1.23 สวิตซตัดตอนอัตโนมัติ (Low Voltage Circuit Breaker)

Page 10

ขอกาํหนดงานวศิวกรรมระบบ

1.23.1 Circuit Breaker (CB) ชนดิ 2 P หรอื 3P เปนชนดิ Molded case หรอื Air circuit breaker หากไมไดกําหนดเปนอยางอ่ืนใหใชชนิด Fixed type

1.23.2 Rate Ampere เปนไปตามแบบ Rated Voltage ไมต่ํากวา 415 V 1.23.3 CB ขนาดตั้งแต 1000 AF ข้ึนไปตองติดตั้ง Ground fault protection และเปนชนดิ Solid state

protection 1.23.4 คา IC ของ CB เปนไปตามแบบ หากไมไดกําหนดไวเปนอยางอ่ืน CB จะตองมีฟงกชั่นไมต่ํากวาการ

ปองกันโหลดเกิน (Over current) และปองกันการลดัวงจร (Short Circuit) และเปนชนิด Quick Make, Quick Break Branch Circuit Breaker (BCB) ท่ีใชติดตั้งใน Panel Board หรอื Load Center เปนชนดิ Plug On, หรอื Bolted On หรอื Plug In ขนาด AT และ IC เปนไปตามแบบ ขนาดพิกัดแรงดันไมนอยกวาการปองกันโหลดเกิน และลัดวงจรท่ีกําหนดไวในแบบหรือในขอกําหนดหัวขออ่ืน

1.24 ระบบสัญญาณเตือนอัคคภียั ระบบสัญญาณเตือนอัคคีภัยเปนชนิด 2 Wire loop end of line resistance สามารถตรวจสอบสภาวะตาง ๆใน

วงจรของ Initiating device และ Audible device มีจาํนวน Zone ตามจาํนวนท่ีกาํหนดในแบบ โดยมีคุณสมบัติข้ันต่ําดังนี้ 1.24.1 รบัสญัญาณจาก Initiating device และสัญญาณไปยงั Audible alarm device 1.24.2 สามารถควบคุมสญัญาณ Alarm จาก Main control panel 1.24.3 มี Stand-by battery ทํางานไดไมนอยกวา 2 ชั่วโมงในกรณีไฟดับพรอม Battery Charger 1.24.4 UL Listed 1.24.5 Supply voltage 220 V 50Hz 1.24.6 Indicator ข้ันต่ําประกอบดวย

1.24.6.1 Power ON 1.24.6.2 System Alarm 1.24.6.3 System Trouble 1.24.6.4 Zone Lamp 1.24.6.5 Audible Trouble 1.24.6.7 Ground Fault

1.24.7 Control button ข้ันต่ําประกอบดวย 1.24.7.1 Alarm or trouble sound stop 1.24.7.2 Reset

1.24.8 ตองมี Output dry contact กรณีเม่ือเกิด Alarm เพ่ือเปนตัว Initiating การทํางานของอุปกรณอ่ืน เชน พัดลมระบายควัน เปนตน ไมนอยกวา 3A 220 V 1NO, 1NC ท้ังนี้ ตองเปนอุปรกรณมาตรฐานของผูผลติ

1.24.8.1 Manual Station (1) UL listed (2) No Break Glass (3) Non coded surface mounted

1.24.8.2 Alarm Bell (1) 6” Diameter (2) 85 dB A at 10 ft

Page 11

ขอกาํหนดงานวศิวกรรมระบบ

(3) Wall mounted (4) UL listed

1.24.8.3 Rate of Rise Heat Detector (1) Fixed Temperature at 135 °F (2) Operate when the of temperature rise exceeds 15 degree per minute and self

restoring (3) Maximum coverage area 2500 ft2 at 3 m high (4) UL listed

1.2.4.8.4 Ionization Smoke Detector and Photoelectric Smoke Detector (1) Temperature Range 0-38 C (2) Humidity 0-93% (3) Air Velocity 0-300 ft/min (4) Contain an alarm indicating LED (5) Coverage area 900 ft2

(6) UL listed 1.25 ระบบโทรศัพท

ระบบโทรศัพทประกอบดวย Terminal Cabinet (TC) จาํนวน 10 คูสาย และเตารับ Modular Jack 1 ชดุ พรอมเครื่องโทรศัพทจํานวน 1 ชดุ Terminal Cabinet ทําหนาท่ีพักสายภายนอก และกระจายสาย ประกอบดวย Mounting Frame, Terminal Unit (Plug in cross connected สามารถถอดออกเพ่ือทดสอบได) และตูเหล็กชนิด Indoor Use เตารับโทรศัพทเปนชนิด Pop up type บรเิวณจุดตอกับสายองคการโทรศัพทใหจัดทําเปนกลองชนิด Galvanized กันน้ํา และติดตั้ง Arrester and ground สาํหรับระบบโทรศัพทดวย โดยใหจัดทํา Shop drawing สวนนี้ดวย

1.26 Intercom System เปนชนิดหูโทรศัพทกดปุมมีคุณสมบัติดังนี้ 1.26.1 เปนระบบตัวแมทุกตัว 1.26.2 พูดไดไมจํากัดคูสายในเวลาเดียวกัน 1.26.3 ออกแบบใหเหมาะสมท้ังตั้งโตะและติดตั้งผนัง 1.26.4 ใชหมอแปลงไฟฟาชุดเดียวในระบบ

1.27 สายไฟฟาทนไฟ (Fire Resistant Cables) 1.27.1 คุณสมบัติท่ัวไป ตองมีคุณสมบัติตาม Specification No. 440 ใน Section 7 1.27.2 การติดตั้งสายทนไฟ สายทนไฟจะตองสามารถติดตั้งไดท่ัวไป, สําหรับประเภทท่ีมีฉนวนใหเดินรอยทอหรือ Wire Way ท่ีมีฝา

ปด หรือ Cable Ladder ในบรเิวณปลอดภัยจากหนูและสัตวรบกวน อุปกรณปลีกยอยจะตองเปนไปตามแบบท่ีไดระบุไวและอุปกรณท่ีใชกับสายทนไฟ เชน Cable Tie, Cable Joint ฯลฯ จะตองมีคุณสมบัติการทนไฟดวย

1.28 Public Address

Page 12

ขอกาํหนดงานวศิวกรรมระบบ

ระบบ Public Address มีวัตถุประสงคเพ่ือกระจายเสียงจากวิทยุสื่อสารระบบ Trunked Operation ของสถานยีอยไปตามหองตาง ๆภายในและภายนอกอาคาร โดยรบัสญัญาณ Audio Output จากอุปกรณวิทยุรับสงภายในสถานี โดยผูรับจางตองจัดหาและติดตั้งระบบ Public Address ซ่ึงประกอบดวยอุปกรณหลักดังนี้

1.28.1 Mixing Amplifier 1.28.1.1 120 W. Mixing Amplifier 1.28.1.2 ไมโครโฟนอินพุท (1 Priority อินพุท) 1.28.1.3 เลือกหัวตอไมโครโฟนได 3 แบบ XLR, DIN และ Jack 1.28.1.4 ใชไดกบัไมโครโฟนแบบไดนามิก และ คอนเดนเซอร 1.28.1.5 Tape, CD, AUX อินพุท 1.28.1.6 ชองตอสญัญาณฉุกเฉินทํางานเม่ือไดรบัสญัญาณเสยีง (VOX) ระดับ 100 มิลลโิวลท ถึง 1

โวลท 1.28.1.7 มีเสียงเตือนกอนประกาศ 1.28.1.8 ปุมแยกปรับเสียง ทุม แหลม 1.28.1.9 ชองตอสัญญาณเอาทพุท 3 แบบ (70, 100 โวลท และ 8 โอหม) 1.28.1.10 มีวงจร Speech filter เพ่ิมความชดัเจนของเสยีงประกาศโดยเฉพาะ 1.28.1.11 ชองตอเพ่ิมแอมปเพ่ือเพ่ิมกําลงัขยาย 1.28.1.12 ใชงานเปนมิกเซอร หรือ เปนแบบแอมปประกาศ 1.28.1.13 มาตรฐานความปลอดภยัตามมาตรฐานสากล EN Standard หรือเทียบเทา

1.28.2 Booster Amplifier 1.28.2.1 240 W. Mixing Amplifier 1.28.2.2 อินพุทแบบบาลาสซ 1 โวลท 1.28.2.3 ชองอินพุทพิเศษ 100 โวลท 1.28.2.4 ชองตอสัญญาณออกสําหรับเพ่ิมกําลังขยาย 1.28.2.5 มาตรฐานความปลอดภยัตามมาตรฐานสากล EN Standard หรือเทียบเทา

1.28.3 Microphone 1.28.3.1 Table Top Microphone 1.28.3.2 Unidirectional Condenser ไมโครโฟน 1.28.3.3 คอไมโครโฟนโคงลงได 1.28.3.4 ระดับแรงดันไฟ 12-48 โวลท 1.28.3.5 อัตรากินไฟนอยกวา 8 มิลลิแอมป 1.28.3.6 ความไวของไมโครโฟน 0.7 มิลลโิวลท 1.28.3.7 ระดบัความดังของสญัญาณขาเขาสงูสดุไมเกิน 110 dB SPL 1.28.3.8 ชวงตอบสนองความถ่ี 10 Hz-16 kHz 1.28.3.9 สายไมโครโฟนยาว 2 เมตร 1.28.3.10 มาตรฐานความปลอดภยัตามมาตรฐานสากล EN Standard หรือเทียบเทา

1.28.4 Ceiling Speaker 1.28.4.1 Wattage Coiling Speaker

Page 13

ขอกาํหนดงานวศิวกรรมระบบ

1.28.4.2 กําลังขับสูงสุด 9 วัตต 1.28.4.3 กําลังขับปกติ 6 วัตต (สามารถ Tap ไดตั้งแต 6-3-1.5 วัตต) 1.28.4.4 ระดับความดังท่ี 5 วัตต /1 วัตต (ท่ี 1 กิโลเฮิรตซ 1 เมตร) เทากับ 100 dB/92 dB (SPL) 1.28.4.5 ชวงตอบสนองความถ่ี (-10 dB) 60 Hx-20 kHz 1.28.4.6 มุมเปดเสยีง (ท่ี 1 กิโลเฮิรตซ,-6 dB) 170 องศา 1.28.4.7 แรงดนัขาเขา 100 โวลท 1.28.4.8 อิมพีแดนซ 1,667 โอหม 1.28.4.9 ชวงอุณหภมูภิาวะการทํางาน –15 ถึง 50 องศาเซลเซียส 1.28.4.10 กรณีติดตั้งบริเวณไมมีฝาใหมีกลอง Adapter สําหรับติดตั้งลําโพง 1.28.4.11 มาตรฐานความปลอดภยั IEC 65 หรือเทียบเทา

1.28.5 Horn Speaker 1.28.5.1 กําลังขับปรกติ 10, 20 หรอื 30 W Horn Speaker ตามแบบ (กําลังขับสูงสุด 15, 30, 45

Wattตามลาํดับ) สามารถ Tap ไดท่ี 25%, 50%, 100% 1.28.5.2 ระดับความดัง

(1) ท่ี 10 วัตต/1 วัตต (ท่ี 1 กิโลเฮิรตซ 1 เมตร) 116 dB/106 dB SPL สาํหรับรุนกําลังขับปรกติ 10 วัตต

(2) ท่ี 10 วัตต/1 วัตต (ท่ี 1 กิโลเฮิรตซ 1 เมตร) 123 dB/110 dB SPL สาํหรับรุนกําลังขับปรกติ 20 วัตต

(3) ท่ี 10 วัตต/1 วัตต (ท่ี 1 กิโลเฮิรตซ 1 เมตร) 126 dB/111 dB SPL สําหรับรุนกําลังขับปรกติ 30 วัตต

1.28.5.3 ชวงตอบสนองความถ่ี (-10 ดีบี) (1) 480 Hz-6 kHz สําหรับรุน กําลังขับปรกติ 10 วัตต (2) 480 Hz-5.5 kHz สําหรับรุน กําลังขับปรกติ 20 วัตต (3) 480 Hz-4.5 kHz สําหรับรุน กําลังขับปรกติ 30 วัตต

1.28.5.4 มุมเปดเสยีง (ท่ี 1 กิโลเฮิรตซ, -6 ดีบี) (1) 120 องศา สําหรับรุนรุนกําลังขับปรกติ 10 วัตต (2) 85 องศา สําหรับรุนรุนกําลังขับปรกติ 20 วัตต (3) 75 องศา สําหรับรุนรุนกําลังขับปรกติ 30 วัตต

1.28.5.5 มาตรฐานความปลอดภยั IEC 65 หรือเทียบเทา 1.28.5.6 มาตรฐานปองกันฝุนและน้ํา IP 65, IEC 529

1.29 การติดตั้งอุปกรณ การติดตั้งอุปกรณเดินสายทุกประเภท หากไมไดกําหนดเปนอยางอ่ืนใหปฏิบัติตามกฎการเดินสายการไฟฟานคร

หลวงฉบบัปจจบุนั หรอืมาตรฐาน IEC, NEC หรืออ่ืน ๆท่ีผูวาจางยอมรับได 1.30 การติดตัง้ทอรอยสายไฟฟา (ชนดิทอโลหะ)

แนวทอรอยสายไฟฟาท่ีแสดงในแบบเปนเพียง Diagram เทานั้น การตดิตัง้ตองใหเหมาะสมกับสภาพของอาคารตามขอกําหนดงันี้

Page 14

ขอกาํหนดงานวศิวกรรมระบบ

1.30.1 ชนดิของทอเปนไปตามขอกําหนด (เรือ่งทอรอยสายไฟฟาในหวัขอ “คุณภาพอุปกรณ” การตอทอตาง ๆใหใชขอตอ (Coupling) และขอตอยึด (Connector) ตอใหแนน

1.30.2 การยดึทอรอยสายไฟฟา (Conduit Support) ทอท่ีเดินลอยจะตองมี Conduit Strap อยางหนา ทุก ๆระยะ 1.00 เมตร ในกรณีติดตั้งทอรอยสายในบริเวณเดียวกันหรือแนวเดียวกันมากกวา 3 เสนใหใช C-Channel and clamp ยึด

1.30.3 การเดินทอรอยสายไฟฟาเขากับอุปกรณเครื่องมือเครื่องจักรตาง ๆใหใช Heavy Duty Flexible Conduit มีความยาวไมนอยกวา 50 ซม. แตไมเกิน 1.20 เมตร กรณีอปุกรณเหลานั้น อยูใกลน้ําหรือภายนอกอาคารตองใช Heavy Duty Flexible Conduit หรอื Liquid Tight

1.30.4 การติดตั้งทอรอยสายเขากับกลองตอสายหรือเครื่องประกอบการเดินทอ หรือตูควบคุมตองจัดใหมี Lock Nut และ Bushing ขันยึดใหแนนเพ่ือปองกันไมใหฉนวนหุมสายชํารุด กรณีรูของ Lock Nut ใหญกวาทอตองใช Reducing Washer เพ่ือไมใหมีชองวางระหวางทอกับฝาของกลองตอสาย สวนรูวางท่ีไมไดใชงานใหปดดวยฝาพลาสติก

1.30.5 ทอรอยสายไฟฟาท่ีติดตั้งไวในขณะกอสรางเพ่ือรอการรอยสายไฟฟาตองอุดปลายทอดวยจุกพลาสติกท่ีมีขนาดพอดีกับทอหามใชกระดาษหรือเศษไมอุดปลายทอ ท้ังนี้เพ่ือปองกันวัสดุตาง ๆเขาไปอยูภายในทอจะทําใหเกิดปญหาในการรอยสายไฟฟาภายหลงั

1.30.6 ปลายทอรอยสายไฟฟาท่ีถูกตัดออกตองลบคมเพ่ือปองกันไมใหฉนวนหุมสายไฟฟาชํารุด การทําเกลยีวทอตองใชเครื่องทําเกลียวชนิดปลายเรียว ท้ังนี้ทอโลหะชนิดบาง (EMT) หามทําเกลยีว

1.30.7 การเดินทอรอยสายไฟฟาใหมีแนวขนานหรือตั้งฉากกับตัวอาคาร 1.30.8 รัศมีดัดโคงดานในของทอรอยสายไฟฟาตองไมนอยกวา 6 เทา ของขนาดเสนผาศูนยกลางของทอ 1.30.9 ตองติดตั้งระบบทอรอยสายไฟฟาใหแลวเสร็จกอนจึงทําการดินสายไฟฟา 1.30.10 การเดินทอรอยสายไฟฟาฝงดินใหใชทอเหล็กชนิดหนา (IMC) ตองทาดวย Flint Coat 2 ชั้น 1.30.11 การเดินทอในสถานท่ีตาง ๆกําหนดดังนี้

1.30.11.1 การเดินในฝาหรือใต Access floor ใหเดินลอยยึดกับพ้ืนหรือเพดาน 1.30.11.2 การเดินใตเพดานท่ีไมมีฝาในกรณีเปนพ้ืนเท ค.ส.ล. ใหเดินฝงพ้ืน ในกรณีเปนพ้ืนสําเร็จใหเดิน

ใน Topping Concrete 1.30.11.3 การเดนิทอตามเสา ผนงั ทุกประเภทใหเดนิฝง ยกเวนผูควบคุมงานกําหนดใหเปนอยางอ่ืน 1.30.11.4 การเดินลอยนอกฝาใหใชทอ IMC หรอื EMT โดยขอตอตองเปนชนิด Compression Type

หามใชชนิด Screw Type 1.30.11.5 การเดินฝงในพ้ืน Concrete ใหใชทอ IMC และ RSC 1.30.11.6 การเดินทอลอยในฝาใหใชทอ IMC หรอื EMT โดยขอตอชนิด Screw Type

1.31 การติดตั้งรางเดนิสายไฟฟา (Wire Way) แนวรางรอยสายไฟฟาท่ีแสดงในแบบเปนเพียง Diagram เทานั้น การติดตั้งจริงตองใหเหมาะสมกับสภาพของ

อาคารตามขอกําหนดดงันี้ 1.31.1 Wire Way รางเดนิสายไฟฟาใหใชเฉพาะการติดตั้งในท่ีเปดเผยเทานั้น ในกรณีติดตั้งภายนอกอาคารตอง

เปนชนดิกันฝน (Rain tight) และตองมีความแข็งแรงเพียงพอท่ีจะไมเสียรูปภายหลังการติดตั้ง 1.31.2 พ้ืนท่ีหนาตัดรวมฉนวนของสายในรางเดินสายตองไมเกินรอยละ 20 % ของพ้ืนท่ีหนาตัด ภายในราง

เดนิสาย 1.31.3 จุดปลายทางของรางเดินสายตองเปด และหามใชรางเดินสายเปนตัวนําสําหรับตอลงดิน

Page 15

ขอกาํหนดงานวศิวกรรมระบบ

1.31.4 รางเดนิสายตองรองรบัอยางแนนหนา ระยะหางระหวางจุดรองรับตองไมเกิน 1.20 เมตร ถาระยะหางจําเปนตองมากกวาท่ีกําหนดตองไดรับความเห็นชอบจากวิศวกรผูออกแบบ เปนลายลักษณอักษรกอนดําเนินการ

1.31.5 หามตอรางเดินสายตรงจุดท่ีผานผนัง หรือพ้ืน 1.31.6 การตอเชื่อมสาย อนุญาตใหตอเชื่อมสายเฉพาะในสวนท่ีสามารถเปดออกและเขาถึงได สะดวกตลอดเวลา

เทานั้น และพ้ืนท่ีหนาตัดของสายและฉนวนรวมท้ังตอสายเม่ือรวมกัน แลวตองไมเกินรอยละ 75% ของพ้ืนท่ีหนาตัดภายในของรางเดนิสาย ณ จดุตอสาย หามตดิตัง้รางเดนิสายในบรเิวณท่ีอาจเกิดความเสยีหายทางกายภาพ ในบริเวณท่ีมีไอท่ีทําใหผุกรอนหรอืในสถานท่ีอันตรายนอกจากจะระบุไวเปนอยางอ่ืน

1.31.7 สายไฟฟาท่ีติดตั้งอยูใน Wire Way จะตองทําการรดัสายไฟฟาตาง ๆของ Feeder หรอืวงจรนั้น ๆเขาดวยกัน และมี Marking Sign ทุก ๆ20 เมตร หรือในจดุท่ีมีการตอเชือ่มสายไฟฟา

1.32 การติดตั้งรางเคเบิล (Cable Tray) ใหปฏบิตัติามกฎการเดนิสายของการไฟฟานครหลวง แนวรางเคเบลิท่ีแสดงไวในแบบเปนเพียง Diagram เทานั้น

การติดตั้งจริงตองใหเหมาะสมกับสภาพของอาคารตามขอกําหนด ดังนี้ 1.32.1 รางเคเบลิ (Cable tray) เปนชนดิแบบรางมีชอง หรอืแบบบนัไดตามท่ีแสดงในแบบ 1.32.2 สายเคเบลิ

ชนิดแกนเดียวมีเปลือกนอกท่ีอนุญาตใหเดินในรางเคเบิล (Cable Tray) ตองมี 1.32.2 ขนาดไมเลก็กวา 120 ตร.มม. รวมท้ังสายเคเบลิหลายแกนในระบบแรงสงูและแรงต่าํทุกขนาด หรือตามท่ี

ระบตุามแบบ 1.32.3 สายอ่ืนชนดิหลายแกนสาํหรบัควบคุมสญัญาณและไฟฟากําลัง 1.32.4 ทอรอยสายไฟฟาอ่ืนๆ 1.32.5 หามใชรางเคเบิลเปนตัวนําสําหรับตอลงดิน

1.33 การติดตั้งสายไฟฟา 1.33.1 การตอสายไฟฟาหามตอภายในทอเดด็ขาด ตอไดเฉพาะใน Box เทานั้น อุปกรณท่ีใชในการตอสายใหใช

ชนดิ Compression Bolt Screw หรอื Wire Nut หามตอแบบ Twist Wire Spice 1.33.2 สายไฟฟาตองรอยในทอท้ังหมด โดยไมมีสวนใดปรากฏใหเห็นภายนอก 1.33.3 ใหตดิหมายเลขสายวงจรดวย Wire Marker สาํหรบัวงจร Branch Circuit ใน Pull box หรอื Box ตาง ๆท่ี

มีอุปกรณติดตั้งอยู เชน ท่ีดวงโคม หรือเตารับ, สวิตซ เปนตน และใหถูกตองตรงกับ Wire 19 marker ใน Panel board และ Load center ตาง ๆเพ่ือสะดวกในการบาํรงุรักษาสายไฟฟาใหใช Color code ดังตอไปนี้

1.33.3.1 Phase R สีดํา 1.33.3.2 Phase Y สแีดง 1.33.3.3 Phase B สีน้ําเงิน 1.33.3.4 Neutral สเีทาออนหรอืขาว 1.33.3.5 Ground สีเขียว

ในกรณีสายขนาดใหญใหใชปลอกพลาสติกสีหรือเทปสีได 1.33.4 การดึงสายไฟฟาใหใชอุปกรณชวยในการดึงสายซ่ึงออกแบบโดยเฉพาะ เพ่ือใชกับการดงึสายไฟฟาภายใน

ทอและตองปฏิบัติตามคําแนะนําของผูผลิตอุปกรณดังกลาวดวย 1.33.5 การหลอลื่นในการดึงสายไฟฟาผูรับจางจะตองใชหลอลื่น ตัวหลอลื่นจะตองเปนชนิดท่ีผลิตสําหรับการนี้

โดยเฉพาะ

Page 16

ขอกาํหนดงานวศิวกรรมระบบ

1.33.6 การตอเชื่อมสายไฟฟาใน Pull box หรอื Hand hole ซ่ึงมีความชื้นหรือน้ําแชใหใช Compound ของ 3M ตอเชื่อมใหเปนเนื้อเดียวกันและพันดวยเทปซ่ึงผลิตสําหรับใชในการนี้โดยเฉพาะ

1.33.7 การติดตั้งสายไฟฟาใตดินเปนไปตามขอกําหนดดังตอไปนี้ 1.33.7.1 เคเบิลฝงดินโดยตรงทอสาย หรือเครื่องหุมสายไฟฟาประเภทอ่ืนท่ีไดรับการรับรองแลว ความ

ลกึในการตดิต้ังตองเปนไปตามกฎการเดนิสายของการไฟฟานครหลวง (1) ถาไมใชทอชนดิโลหะอยางหนา หรอืโลหะอยางหนาปานกลางแลว หากมีแผนคอนกรตี

หนา 5 ซม. วางอยูเหนอืสายอนุญาตใหลดความลกึลงไดอีก 15 ซม. (2) ขอกําหนดสําหรับความลึกไมใชบังคับสําหรับการติดตั้งใตอาคารหรือใตพ้ืนคอนกรีตซ่ึง

หนาไมนอยกวา 10 ซม. และยื่นเลยออกไปจากแนวติดตั้งไมนอยกวา 15 ซม. (3) บริเวณท่ีมีรถยนตวิ่งผานความลึกตองไมนอยกวา 60 ซม.

1.33.7.2 เคเบิลใตดินติดตั้งใตอาคารตองติดตั้งอยูในทอรอยสาย และทอสายตองยาวเลยผนังดานนอกของอาคารออกไป

1.33.7.3 สายท่ีโผลข้ึนจากดินตองมีการปองกันดวยสิ่งหอหุม หรือทอรอยสายซ่ึงฝงจมลึกลงไปในดินและสวนท่ีโผลเหนือพ้ืนตองไมนอยกวา 180 ซม.

(1) การตอสายหรือตอแยกใหเปนไปตามท่ีกําหนดไวในแตละวิธี การเดนิสาย สาํหรบัสายเคเบิลใตดินท่ีอยูในราง (Trench) อนญุาตใหมีการตอสายหรือตอแยกสายในรางได แตการตอและตอแยกตองทําดวยวิธีและใชวัสดุท่ีไดรับการรับรองจากวิศวกรผูออกออกแบบ

(2) หามใชวัสดุท่ีมีคม หรือเปนสิ่งท่ีทําใหผุกรอน หรือมีขนาดใหญกลบสายหรือทอสาย (3) ทอสายซ่ึงความเปยกชื้นสามารถผานเขาไปสัมผัสสวนท่ีมีไฟฟาไดตองอุดท่ีปลายใด

ปลายหนึ่ง หรือท้ังสองปลายตามความเหมาะสม (4) ปลายทอซ่ึงฝงอยูในดิน ณ จุดท่ีสายเคเบิลออกจากทอตองมีบุชชิ่งอนุญาตใหใชชิลลิ่ง

ท่ีมีคุณสมบัติในทางปองกันเทียบเทากับบุชชิ่ง แทนบุชชิ่งได (5) สายไฟแกนเดียวทุกเสนของวงจรเดียวกัน รวมท้ังสายสําหรับตอลงดินตองติดตั้งในทอ

สายเดียวกัน หากติดตั้งในรางเดินสาย (Race way) ใหวางเปนกลุมเดียวกันและรดัสายทุกระยะ (6) การตรวจสอบหลังการติดตั้งภายหลังการรอยสายในทอแลวเสร็จ ผูรับจางจะตอง

ทดสอบสภาพของฉนวนดวย Megger ขนาด 1000 โวลท วดัคาความตานทาน Phase to phase, Phase to neutral และ Phase to ground ของทุกวงจร

1.34 การติดตัง้ดวงโคมและอุปกรณไฟฟา 1.34.1 กรณีฝงในเพดาน หามมิใหใชลวดแขวนดวงโคมตองใชเหลก็กลมขนาดเสนผาศูนยกลางไมนอยกวา 3 มม.

มีเกลียวสําหรับปรับแตงดวงโคม หรือแผน Spring รัดเพ่ือยึดใหแนน และปรับแตงระดับดวงโคมได 1.34.2 การเดนิสายสวติซ เตารบั และเขาดวงโคม ใหเดนิสายตามท่ีก ําหนดโดยสายเมนวงจร สําหรับโคมไฟ และเตารับแตละวงจรไมนอยกวา 4 มม2 สายตอแยกเขาเตารับใหใชขนาด 2.5 มม2 THW เขาดวง

โคมสวิตซ การเดินสายวงจรยอยใหมีไดไมเกิน 3 วงจร (คนละเฟส) ตอ 1 ทอ โดยใหถอืปฏบิตั ิตามกฎการไฟฟานครหลวงโดยเครงครดั

1.34.3 การติดตั้งดวงโคมไฟฟา สวิตซเตารับ ใหถือแนวท่ีกําหนดเปนเกณฑ แตอาจมีการเปลี่ยนแปลงไดบางเพ่ือความเหมาะสมและสวยงาม แตตองใหมีจํานวนสวิตซ ดวงโคมเตารบัเทาท่ีกําหนด

การติดตั้งอุปกรณไฟฟาตาง ๆกําหนดระดับความสูงจากพ้ืน กําหนดดังนี้

Page 17

ขอกาํหนดงานวศิวกรรมระบบ

1.34.4.1 สวิตซติดตั้งสูงจากพ้ืน วดัจากขอบลางของ Cover plate 1.25 เมตร 1.34.4.2 เตารับตั้งสูงจากพ้ืน วัดจากขอบลางของ Cover plate 0.30 เมตร 1.34.4.3 Panel board ติดตั้งสูงจากพ้ืนท่ีศูนยกลางแปนยึด 1.50 เมตร 1.34.4.4 ไฟก่ิงติดผนังติดตั้งสูงจากพ้ืนท่ีศูนยกลางแปนยึด 2.50 เมตร

1.34.5 การติดตั้งตูควบคุมตาง ๆชนิด Floor mounted เชน Main distribition board, Feeder board, Control board และ Motor control center เปนตน ในกรณีท่ีวางในหองไมมี Access floor ใหวางบนพ้ืนคอนกรีต (จดัหาโดยผูรับจางระบบไฟฟา) ซ่ึงสูงจากระดับพ้ืนท่ัวไป 10 ซม. และดานหนา หลัง ขางของพ้ืนคอนกรีตดังกลาวใหโผลพนตูควบคุมตาง ๆดานละ 10 ซม. พรอมตดิตัง้ทอและสายดนิขนาดของสายดนิตามตาราง (ตารางท่ี 7.2) หรือท่ีกําหนดเปนอยางอ่ืน

1.34.6 สายนวิทรอลและสายดนิของวงจรยอย, สายปอน, สายเมนใหแยกอิสระแตละวงจร 1.35 รายช่ือผลิตภัณฑมาตรฐาน

รายชื่ออุปกรณตาง ๆท่ีกําหนดขางทายจะเปนรายการอุปกรณท่ีระบุใหใชสําหรับโครงการนี้ ในกรณีท่ีผูรับจางไมสามารถจดัหาอุปกรณตามรายการนีไ้ด เนื่องจากผลิตภัณฑนั้น เลิกผลิตหรือไมมีผูแทนจาํหนายในประเทศอาจจะเสนออุปกรณอ่ืนท่ีมีคุณภาพเทาเทียมกัน และจะตองไดรับอนุมัติจากการไฟฟานครหลวงเปนลายลักษณอักษรกอน

ลําดับ รายช่ืออุปกรณ ผลิตภัณฑของ 1. โคมไฟสาํหรบัหลอดฟูลออเรสเซนต LUSO, STARLIGHT, MK 2. โคมไฟ High Bay PHILIPS, GE, EYE 3. Switch NATIONAL, TICINO, CLIPSAL, LEGRAND 4. Receptacle Outlet ชนิดฝงผนัง NATIONAL, TICINO, CLIPSAL, LEGRAND 5. Receptacle Outlet ชนิดฝงพ้ืน MK, NATIONAL, TICINO, CLIPSAL, LEGRAND 6. Molded Case Circuit Breaker SQUARE-D, GE, MERLIN 7. Panel Board $ Load Center SQUARE-D, GE, MERLIN GERLIN 8. สายไฟฟา THAI YAZAKI, BANGKOK CABLE, PHELPSDODGE,

CHARUMTHAI, SIAM PACIFIC 9. ทอรอยสายไฟฟา CDC, MATSUSHITA, TAS 10. ทอรอยสาย PE หรือ HDPE THAI-ASIA, PE PIPE 11. เตารับโทรศัพท Modular Jack Type NATIONAL, TICINO, CLIPSAL, LEGRAND 12. หลอดไฟฟา PHILIPS, OSRAM, SYLVANIA 13. สตารทเตอร PHILIPS, OSRAM, SYLVANIA 14 Ballast PHILIPS, SYLVANIA, BOVO 15 Capacitor RIFA, RFT 16 Fluorescent Mark PERMALIGHT, EQUIVALENT 17 Fire Alarm PYROTRONIC, CERBERUS, THORN, FIRELITE 18 Intercom PANASONIC, SIEMENS, AIPHONE 19 Fire Resistance Cable RADOX, DELTA CROMPTON 20. Public Address PHILIPS, PANASONIC, TOA

Page 18

ขอกาํหนดงานวศิวกรรมระบบ

2. 2.1 ขอกําหนดรายละเอียดท่ัวไป งานระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

2.1.1 ผูรบัจางจะตองจดัหาแรงงาน สิง่ของและอุปกรณทุกอยางสําหรับการติดตั้ง เพ่ือใหเปนไปตามรูปแบบและรายการละเอียดท่ีกําหนดนี้ รวมถึงสิ่งท่ีมิไดระบุ แตจําเปนสําหรับปรับอากาศท่ีสมบูรณตามหลักวิศวกรรม แลวผูรับจางจะตองจัดหาสิ่งเหลานั้นมาติดตั้ง และตองทดสอบจนสามารถใชงานไดดี

2.1.2 อุปกรณทุกชิ้นจะตองเปนของใหม ผลติจากโรงงานผูผลติโดยเฉพาะและตองเปนโรงงานผูผลติโดยเฉพาะ และตองเปนโรงงานท่ีเชื่อถือไดทางดานวิศวกรรม และจะตองอยูในสภาพเรียบรอยและยังไมเคยถูกนําไปใชท่ีอ่ืนใดมากอน

2.1.3 การไฟฟานครหลวงสงวนไวซ่ึงสิทธิในการเปลี่ยนแปลงงานบางสวนเพ่ือใหไดผลประโยชนดียิ่งข้ึน โดยจะไมทําใหผูรับจางเสยีหายเพ่ิมข้ึน

2.1.4 สิ่งของและอุปกรณทุกชิ้นท่ีผูรับจางจะนํามาทําการติดตั้ง จะตองเปนท่ียอมรับและยินยอมจากวศิวกรหรือผูควบคุมงานท่ีการไฟฟานครหลวงมอบหมายเสียกอน ผูรับจางจะตองจัดหาชางฝมือท่ีมีประสบการณและความชาํนาญ โดยเฉพาะมาทําการตดิตั้ง เพ่ือใหงานติดตั้งดําเนินไปดวยดี และถูกตองตามหลักวชิาการ

2.1.6 ในกรณีที่แบบและรายการละเอียดขัดแยงหรือไมตรงกัน หรืออาจจะตองตีความหมายเปนอยางอ่ืนได ใหผูรบัจางสอบถามการไฟฟานครหลวงใหเขาใจชดัเจนเสยีกอนกําหนดเสนอราคา มิฉะนัน้แลว ในเวลาตดิตัง้การไฟฟานครหลวง โดยผูควบคุมงานจะเปนผูกําหนดให โดยถือประโยชนของการไฟฟานครหลวงเปนสําคัญ

2.1.7 กอนกําหนดสงมอบงานงวดสดุทาย ผูรับจางจะตองทําการเก็บกวาด ขนยาย รื้อถอนอุปกรณท่ีใชในการกอสรางหรือติดตั้งซ่ึงมิใชสวนหนึ่งของงานนั้นออกไปใหหมด พรอมท้ังทําความสะอาดบริเวณใหเรียบรอย

2.1.8 งานของระบบปรับอากาศท่ีไปเก่ียวของกับงานดานอ่ืน ใหเปนหนาท่ีของผูรับจางท่ีจะตองติดตอประสานงานกับฝายอ่ืนท่ีเก่ียวของ เพ่ือใหงานสมารถดําเนินไปดวยดี

2.1.9 ถามีงานเจาะพ้ืนหรือผนังรวมท้ังงานรื้อถอนบางสวนของสถานท่ีติดตั้ง ซ่ึงทําใหเกิดความเสยีหายอันเนื่องจากการทํางาน เม่ือดําเนินการเสร็จแลวผูรับจางจะตองจัดการเปลี่ยนแปลงซอมใหใหมพรอมท้ังทาสีใหเรียบรอย โดยไมคิดคาใชจายเพ่ิมเติมแตประการใด กับการไฟฟานครหลวง

2.1.10 ผูรับจางจะตองมอบรายละเอียดของผลิตภัณฑและการติดตั้งกอนเริ่มการติดตั้งใหการไฟฟานครหลวงจาํนวน 2 ชุด มีดังนี้

2.1.10.1 Installation Manual 2.1.10.2 Operation Manual 2.1.10.3 Service and Maintenance Manual 2.1.10.4 Working Drawing 2.1.10.5 Wiring Diagram

2.2 ขอบเขตของงาน เปนการติดตั้งเครื่องปรับอากาศแบบแยกสวน (Split Type) ชนดิระบายความดวยอากาศ (Air-Cooled) แบบ

Direct Expansion Hermatic Reciprocating or Rotary compressor ขนาดและตําแหนงติดตั้งตามแบบใหเรียบรอยและทํางานไดดี รวมท้ังการติตั้งหัวจายลมเย็น แผงลมกลับ การเดินทอสารทําความเยน็ (Refrigerant Piping) การเดนิสายไฟ (Electrical Wiring) การเดินทอน้ําท้ิง การติดตั้งอุปกรณควบคุมการทํางาน และความปลอดภัยเครื่องควบคุมอุณหภูมิ (Thermostat) และพัดลมระบายอากาศ (Exhaust Fan) ฯลฯ เปนตน

2.3 มาตรฐานในการออกแบบ 2.3.1 สภาวะอากาศภายนอก 95 ° F DB., 83 ° F WB.

Page 19

ขอกาํหนดงานวศิวกรรมระบบ

2.3.2 สภาวะอากาศภายใน 78+/-2 ° F DB., 55+/-5% RH. 2.4 รายละเอียดของเครื่องปรับอากาศ

2.4.1 เครือ่งระบายความรอนดวยอากาศ (Air-Cooled Condensing Unit) มีขอกําหนดและรายละเอียด ดังนี้ 2.4.1.1 ขนาดความเยน็ (Cooling Capacity) คิดท่ีอุณหภูมิของน้ํายาทางดานดูดท่ี 45 ° F และ

อุณหภูมิของอากาศท่ีผานคอนเดนเซอรเทากับ 95 ° F ท่ีระบบไฟฟา 380 โวลท 3 เฟส 50 ไซเก้ิล หรอื 220 โวลท 1 เฟส 50 ไซเก้ิล ตามรายละเอียดท่ีระบใุนแบบ

2.4.1.2 ตัวถังของเครื่องตองทนตอสภาพดินฟาอากาศสาํหรบัการตดิตั้งภายนอกอาคาร ทําดวย Galvanizded Steel, Bonderized หรอื Fiber Glass พรอมท้ังพนสีกันสนิมและอบสเีรยีบรอยจากโรงงานผูผลติ

2.4.1.3 การประกอบ ครื่องปรบัอากาศทุกเครือ่งจะตองไดรบัการประกอบและการทดลองจากโรงงานผูผลิต

2.4.1.4 คอนเดนเซอรคอยลตองทําดวยทอทองแดงชนิดไมมีตะเข็บ หรือทําดวยโลหะชนิดท่ีไม เปนสนมิ มีครีบระบายความรอนทําดวยอลูมิเนียมครอบอัดติดกับทอดวยวิธีกล ผานการทดสอบภายใตความดันในทอ 450 ปอนด/ตารางนิ้ว (เกจ)

2.4.1.5 พัดลมระบายความรอนของคอนเดนเซอรและมอเตอรขับ พัดลมเปนแบบใบพัด (Propeller Type) ขับโดยตรงดวยมอเตอร พัดลมจะตองทําดวยโลหะท่ีไมเปนสนิม หรืออลูมิเนียม มอเตอรท่ีขับพัดลมตองเปน Permanently Lubricated Type พรอมทัง้มี Built-in Overload Protection

2.4.1.6 คอมเพรสเซอรเปนแบบ Hermatic, Refrigerant Gas-Cooled ตัวเครื่องตั้งอยูบนสปริงกันสะเทือน สารทําความเย็นท่ีใชเปนฟรีออน-22

2.4.1.7 อุปกรณควบคุมการทํางานของเครือ่งตองประกอบ ทดสอบ และเดนิสายมาเรยีบรอย จากโรงงานอุปกรณควบคุมการทํางานของเครือ่งใหปลอดภยัและทนทานตอการใชงานมี ดังนี้

(1) Inherent fan motor protection (2) High and low pressure switch (เฉพาะเครื่องท่ีมีขนาดเกิน 3 ตัน) (3) Compressor overload device (4) Magnetic contactor with overload (5) Time delay relay (หนวงเวลาระหวาง 3-6 นาทีโดยถาเครื่องหยุดนานเกินกวา 6

นาทีแลว Time delay relay จะตองไมหนวงเวลาตอไปอีกเกินกวา 15 วนิาที) (6) Start & Running capacitors (7) Service valve (8) Standard control accessories อ่ืนๆ ท่ีจําเปนตองใช

2.4.1.8 สารทําความเยน็ท่ีใชในระบบเปนฟรอีอน-22 2.4.1.9 ระบบไฟฟา 380 โวลท 3 เฟส 50 ไซเก้ิล หรือ 220 โวลท 1 เฟส 50 ไซเก้ิล

2.4.2 เครือ่งเปาลมเยน็ (Fan Coil Unit) มีขอกําหนดและรายละเอียด ดังนี้ 2.4.2.1 ขนาดความเยน็ (Cooling Capacity) ตองเหมาะสมกับเครื่องระบายความรอนในขอ 2.4.1 และ

อากาศท่ีผานคอยลเย็น ตองมีอุณหภูมิเทากับ 80 ° F DB และ 67 ° F WB 2.4.2.2 ตัวถังเครื่อง ตองทําดวย Heavy Gauge Galvanized Steel Sheet โดยพนสีกันสนิม พรอมท้ัง

อบสีเรียบรอยมาจากโรงงานผูผลิต หรือทําดวยอลูมิเนียม

Page 20

ขอกาํหนดงานวศิวกรรมระบบ

2.4.2.3 ถาดรองน้ําท้ิงตองไมเปนสนิม ทาทับดวยฟลิ้นโคทหรือสารปองกันสนิม และมีทอสําหรับตอเขากับทอระบายน้ําท้ิง

2.4.2.4 ฉนวนบภุายในเครือ่งเปาลมเยน็ เปน Fiber glass หรอื Foam พรอม Neoprene Coating ความหนาพอเหมาะท่ีจะปองกันไมใหเกิดการ Condensation ตองบภุายในเครื่องใหเรยีบรอยมาจากโรงงาน

2.4.2.5 คอยลเยน็ เปนแบบ DX-Coil, Seamless Copper Tube, และ Fins ทําดวยอลูมิเนียม ซ่ึงอัดติดกับทอดวยวิธีกล คอยลตองผานการทดสอบภายใตความดัน 300 ปอนด/ตารา’นิ้ว (เกจ) มาจากโรงงาน

2.4.2.6 พัดลม เปนแบบกรงกระรอก (Centrifugal Type), Forward Curved Blade, Statically and Dynamically Balance มาจากโรงงาน พัดลมขับโดยตรงดวยมอเตอร 380 โวลท 3 เฟส 50 ไซเก้ิล หรอื 220 โวลท 1 เฟส 50 ไซเก้ิล

2.4.2.7 แผงกรองอากาศ เปนแบบ Cleanable Type ทําดวยอลูมิเนียมหรือพลาสติกสําหรับเครื่องขนาดต่าํกวา 5 ตนั ใชหนา 1/2 นิ้ว (หรือเปนชนิดใยสังเคราะหหนาไมนอยกวา ¼ นิ้ว)

2.4.2.8 สารทําความเย็นท่ีใชในระบบ ฟรีออน-22 2.4.2.9 ทอระบายน้าํท้ิง ทอระบายน้าํท้ิงจากเครื่องเปาลมเยน็ทุกชุดตองมีขนาดเหมาะสมตามท่ีระบุ

จากโรงงานผูผลิต ผูรับจางตองออกแบบทอเมนระบายน้ําจากเครื่องเปาลมเย็นแตละตัว และขออนุมัติกอนดําเนินการติดตั้ง ทอเดินภายในใหหุมฉนวน Closed Cell Plastic Foam หนา ⅜ นิ้ว ทอท่ีมองเห็นใหทาสีใหเขากับอาคาร

2.5 การเดนิทอน้าํยาและอุปกรณ ทอน้ํายาท่ีใชในระบบพรอมท้ังอุปกรณตาง ๆมีรายละเอียดและขอกําหนด ดังนี้ 2.5.1 ทอน้าํยาตองเปนทอทองแดง Hard-Drawn Type L 2.5.2 ทอน้าํยาในระบบท้ังหมดตองยดึทอเขากับอาคารโดยทําใหแข็งแรงและทนทาน ตองใช Expansion Bolt

ชวยยึดหรือแขวนทอกับโครงสรางของอาคาร 2.5.3 ระยะของการแขวนหรอืยดึทอน้ํายา มีดังนี้

2.5.3.1 ทอน้ํายาท่ีมีขนาดเสนผาศูนยกลางไมเกิน 1 ¼ นิ้ว ระยะหางท่ีจะยึดตองไมเกินกวา (Max, Allowable Spacing) 8 ฟุต

2.5.3.2 ทอน้ํายาท่ีมีขนาดเสนผาศูนยกลางโตกวา 1 ¼ นิ้ว ระยะหางท่ีจะยึดตองไมเกินกวา (Max, Allowable Spacing) 10 ฟุต

2.5.4 ฉนวนหุมทอน้ํายาทางดูด (Suction Line) ตองเปนฉนวนยางแบบ Closed Cell Plastic Foam ความหนาไมต่ํากวา ¾ นิ้ว และตองหุมสังกะสีตรงบริเวณผานกําแพง, ผนงั และท่ียึดสวนท่ี อาจถูกน้ําหรือน้ําฝนใหหุมดวยอลูมิเนียมฟอลยชนิดมีกาวทับอีกชั้นหนึ่ง

2.5.5 ตองติดตั้งอุปกรณตาง ๆเขากับระบบทําน้ํายาสําหรับเครื่องปรับอากาศทุกชุดมีดังนี้ 2.5.5.1 Filter Drier 2.5.5.2 Thermostatic expansion valve (สําหรับเครื่องขนาดตั้งแต 30,000 BTU/H ข้ึนไป) 2.5.5.3 Sight Glass 2.5.5.4 อุปกรณอ่ืน ๆท่ีจําเปน

2.6 เครื่องควบคุมอุณภูมิและความเร็วรอบพัดของเครื่องเปาลมเย็น เปนแบบติดผนัง ชวงอุณหภูมิ 55 ° F DB – 85 ° F พรอมท้ังมี Fan Speed Selector สําหรับควบคุมความเร็ว

รอบพัดลมเปาลมเยน็ 2.7 ระบบระบายอากาศ

Page 21

ขอกาํหนดงานวศิวกรรมระบบ

ระบบระบายอากาศประกอบดวยพัดลมระบายอากาศ (Exhaust Fan) ชองระบายอากาศ (Air Grill) และตวักรองอากาศ (Filter) โดยมีรายละเอียดดังตอไปนี้

2.7.1 พัดลมระบายอากาศสาํหรบัหอง GIS, Switchgear, Capacitor เปนชนิด High pressure aluminum or galvanized casting high pressure industrial, wall type ∅ 16" คา CFM ท่ี Station pressure 0.15 นิ้ว ไมนอยกวา 2000 m3 ระดับเสียงไมเกิน 55 db (A) ใชกบัระบบ 1 เฟส 220 V 50Hz พรอม Automatic shutters และ Hood กันฝนครอบชดุพัดลมตามมาตรฐานผูผลติ

2.7.2 พัดลมระบายอากาศสาํหรบั Control, หองน้าํ ขนาด 8 นิ้ว พรอม Automatic shutter 2.7.3 พัดลมระบายอากาศสาํหรบัหอง Battery ขนาด 8 นิว้ แบบ Explosion Proof พรอม Automatic

shutter สามารถปองกันการกัดกรอนและการระเหยจากไอแบตเตอรี่ 2.7.4 Air Grill เปนชนิดทําดวย Aluminum หรอื galvanized steel sheet ขนาดตามแบบ 2.7.5 Filter เปนชนิด Aluminum หนาไมนอยกวา ½ นิว้ สามารถถอดลางและออกแบบเปนรางใหสามารถถอด

และใส Filter ไดสะดวก 2.8 การเดนิสายไฟฟาและสวิตชควบคุม

2.8.1 การเดนิสายไฟฟาและอุปกรณตองเปนผลติภณัฑท่ีใหมไมเคยใชงานมากอน มาตรฐานท่ีใชเปนของการไฟฟานครหลวง

2.8.2 สายไฟฟาและสายของระบบควบคุม ตองรอยในทอ EMT. (เดนิภายในอาคาร) และแบบ RSC. (เดินภายนอกอาคาร) ทอสวนท่ีตอเขาเครื่อง Condensing Unit ใหใชทอ Flexible Conduit ชนิดกันน้ํา

2.8.3 ตองมี Ground สําหรับ Condensing Unit และ Fan Coil ทุกชุด เพ่ือความปลอดภัยของผูใช และตองตอสายดิน

2.8.4 เครือ่งปรบัอากาศทุกชนดิตองมีอุปกรณทางไฟฟา ขนาดตามระบใุนแบบ 2.8.5 มอเตอรของเครื่องเปาลมเยน็ ตองมี Motor Starter ท่ีเหมาะสม พรอมท้ัง Thermal Overload Relay

ครบชดุ 2.8.6 แผงสวิทชท่ีเปนตูตองใชเหล็กแผนพนสีกันสนิมและพนสีทับใหดูสวยงามและเขากับอาคาร 2.8.7 สายไฟฟาใชสายแบบ 750 75 ° C TIS Standard ขนาดตามระบใุนแบบ และสายไฟควบคุมตองไมเลก็

กวา 1.5 มม2

2.8.8 สายไฟฟาท่ีใชกับพัดลมระบายอากาศใหใชเปนสายทนไฟ ตามขอกําหนดระบบไฟฟาในหวัขอสายทนไฟ (Fire Resistance Cable)

2.9 ขอกําหนดและผลิตภัณฑท่ีเสนอแนะ 2.9.1 เครือ่งปรบัอากาศแยกสวน (Split Type) ชนดิระบายความรอนดวยอากาศ (Air Cooled Condensing

Unit) เปนผลิตภัณฑของสหรัฐอเมริกา, ยโุรป, ญี่ปุน ท่ีไดรับลิขสิทธิ์ ใหประกอบไดภายในประเทศไทย เชน TRANE, YORK, CARRIER, MITSUBISHI เปนตน

2.9.2 ฉนวนยางท่ีใชหุมทอน้ํายาเปนของสหรัฐอเมริกาหรือของไทยท่ีไดรับเครื่องหมาย มอก. เชน ENSOLEX, ARMSTRONG, RUBATEX หรอื AUROFILX เปนตน

2.9.3 Thermostat, Fires tat เปนของสหรัฐอเมริกาหรือญี่ปุน เชน HONEYWELL 2.9.4 Disconnected Switch เปนของสหรัฐอเมริกา หรือยุโรป หรือญี่ปุน เชน SQUARE-D, CUITER-MAMER,

ABB., SIEMENS WESTINGHOUSE หรอื MITSUBISHI เปนตน 2.9.5 Conduit เปนของญี่ปุน เชน MATSUSHITA หรอื NATIONAL เปนตน

Page 22

ขอกาํหนดงานวศิวกรรมระบบ

2.9.6 Circuit Breaker (Mould Case) เปนของสหรัฐอเมริกา หรือยุโรป หรือญี่ปุน เชน SQUARE-D, CUTLER-HAMMER, ABB., SIEMENS WESSTINGHOUSE หรอื MITSUBISHI เปนตน

2.9.7 สายไฟฟาเปนของผลติในประเทศไทย เชน “ยาซากิ” หรอื “เฟลปสดอดจไทยแลนด” เปนตน 2.9.8 พัดลมระบายอากาศชนิดมีท่ีปดกันแมลงมีปกเขาภายในอาคาร เปนของญี่ปุน เชน NATIONAL, SANYO

หรอื MITSUBISHI เปนตน 2.10 การติดตั้ง

การไฟฟานครหลวงจะตรวจสอบวัสดุอุปกรณตาง ๆ เชน อุปกรณไฟฟา ขนาดทอน้ํายา ฯลฯ เปนตน ถามีสิ่งใดท่ีผูรับจางละเลยหรือไมทําตามวัตถุประสงคท่ีออกแบบไว หรือไมยอมใหตรวจตรา

การไฟฟานครหลวงสงวนสิทธิ์ท่ีจะออกคําสั่งใหรื้อ หรือเปลี่ยนแปลงไดโดยผูรับจางไมมีสิทธิ์ท่ีจะมาเรียกรองคาใชจายเพ่ิมข้ึน

2.11 การรับประกนัและการใหบริการ ผูรับจางท่ีไดรับคัดเลือกตองรับประกันระบบปรับอากาศและการติดตั้งทุกอยางตลอดเวลา 1 ป รวมท้ังใหบริการ

ตรวจซอม และทําความสะอาดระบบเปนประจําอยางนอยท่ีสุดเดือนละ 1 ครั้ง ตลอดระยะเวลาท่ีรับประกัน 1 ป โดยไมคิดคาบริการแตอยางใด

2.12 การรับมอบ ผูรับจางจะตองติดตั้งและทดสอบเครื่องวาทํางานไดเรียบรอย จะตองมีการทดลองเดนิเครื่องปรับอากาศ (Test

Run) เปนเวลา 12 ชั่วโมงติดตอกันจนเปนท่ีแนใจวาเครื่องทํางานไดเรียบรอยตามความประสงคของ การไฟฟานครหลวง จึงจะรับมอบจากผูรับจาง 3.

ผูรับจางจะตองเสนอรายการวัสดุท่ีใชและแบบรายละเอียดใหการไฟฟานครหลวงพิจารณาอนุมัติกอนการดําเนินการ และมีขอกําหนดของงานดังนี้

ขอกําหนดงานระบบสายดิน

3.1 ระบบสายดนิ (Grounding System) ระบบสายดนิในสถานยีอยประกอบดวย Grounding Electrode, Main ground grid ในพ้ืนดิน Surface

equipotentail wire mat ชั้นตาง ,ๆ Main ground bus (Riser), Ground bar และ Service ground bar โดยอุปกรณตาง ๆจะตองมีคุณสมบัติดังนี้

3.1.1 ข้ัวดิน (Grounding Electrode) ข้ัวดินใหใชแทงเหล็กหุมทองแดง (Copper Encased) มีเสนผาศูนยกลางไมนอย กวา 19 มม. ยาวไม

นอยกวา 2,400 มม. ท่ีไดมาตรฐานของ ANSI/UL467-1984 และระบุ ชื่อผูผลิต, ความยาว, เสนผาศูนยกลางท่ีอุปกรณ 3.1.2 ตัวนําสายดิน (Grounding Conductor) ตัวนําสายดินของระบบไฟฟา (System Ground) และตัวนําสายดินของอุปกรณ (Equipment Ground)

เปนสายทองแดงเปลือยท่ีไดมาตรฐานอุตสาหกรรม ซ่ึงมีขนาดตามท่ีกําหนดในแบบ และระบุชื่อผูผลิต, ความยาว, เสนผาศูนยกลางท่ีอุปกรณ

3.1.3 บัสสําหรับตอรวมสายดิน (Ground Bus) หากไมระบุไวในแบบ ใหใชแผนทองแดงมีขนาดไมเล็กกวา 500 x 50 x 5 มม. (ยาว x กวาง x หนา)

สําหรับการตอลงดินของอุปกรณ 3.1.4 การเชื่อมตอ (Connection)

Page 23

ขอกาํหนดงานวศิวกรรมระบบ

การเชื่อมตอระหวางตัวนํากับตัวนํา, ตัวนํากับข้ัวดิน, ตัวนํากับตาขายสายดิน และตัวนํากับบัส ใหใชแบบเชื่อมติด (Exothermic Welding)

3.2 การติดตั้ง การติดตั้งระบบสายดินจะตองเปนไปตามขอกําหน ดังนี้ 3.2.1 จาํนวนและขนาด

3.2.1.1 สายทองแดงท้ังหมดเปนชนดิ Bar Copper โดยมี minimum cross section ดังนี้ (1) Main ground grid : 240 mm2 ขนาดของ Grid 3 x 3 m. (minimum) (2) Surface equipotential wire mat : 35 mm2 ขนาดของ Mat 1 x 1 m. (minimum) (3) Ground bus, Service ground bus : 5 x 0.5 x 50 cm. (Width x Thick x Length)

3.2.1.2 จาํนวน Grounding Electrode หางกันไมเกิน 5 เมตร ในทุกทิศทาง 3.2.1.3 ขนาดและจาํนวนสายเชือ่ม (Main Ground Bus) ระหวางกราวดของอุปกรณกับ Main ground

grid เปนดังนี้

อุปกรณ Riser จาํนวน Riser Ground Bar

จาํนวน Service

จาํนวน Ground Bar ขนาด (mm2)

GIS 4 4 4 240 Switchgear 4 4 4 120 Power Transformer 4 - - 240 Capacitor 4 - - 120 Terminator Structure 1 - - 240 Pad-mount 2 - - 70 Pressured Tank 2 - - 70 Control room 4 - 4 70 AC/DC 2 - 1 70 Charger 2 - 1 70 Other equipment Shop drawing required 70 Cable room (ข้ึน Riser ขนาด 70 mm2 และติดตั้ง Service ground bar รอบหองตามแบบ)

3.2.2 การติดตั้งระบบกราวด 3.2.2.1 Main ground grid ตองฝงในพ้ืนดิน (ไมใชพ้ืนทรายท่ีถมเพ่ือปรับระดับการกอสราง) ไมนอย

กวา 50 ซม. 3.2.2.2 Surface equipotential wire mat ตองฝงในพ้ืนแตละชั้น (แตละหอง) ท่ีมีอุปกรณไฟฟาสถานี

ยอยอยู โดยวางอยูเหนือเหล็กโครงสรางในพ้ืน 3.2.2.3 Main ground bus ตองฝงในเสาและยื่นออกมาเชื่อมกับ Main ground grid กับ Ground bus

และ Service ground bus การติดตั้งใหติดตั้งใตพ้ืนของชั้นอุปกรณท่ีกําหนด ประมาณ 30 ซม. โดยมี support รองรับท่ีปลายท้ัง 2 ดาน

3.2.2.4 Service ground bus ทําหนาท่ีเปนจุดเชื่อมตอลงกราวดในกรณีมีการบํารุงรักษาอุปกรณ การติดตั้งเชนเดียวกับ Ground bus แตติดตั้งเหนือพ้ืนของชั้นอุปกรณท่ีกําหนดประมาณ 30 ซม.

3.2.2.5 รั้ว, ประตูทางเขา ตองเชื่อมกับ Main ground grid ทุก ๆ10 เมตร

Page 24

ขอกาํหนดงานวศิวกรรมระบบ

3.2.2.6 การเชือ่มระหวางสายทองแดงกับสายทองแดงใหใช Cad-weld การเชือ่มตอระหวางสายทองแดงกับเหล็กใหใช Cad-weld ท่ีผูผลิต Recommend ใหใชได

3.2.2.7 การตอระหวาง Main ground bus กับ Copper Bar ใหใช Terminal with bolt and nut 3.3 การทดสอบ

กอนการตรวจรบังาน การไฟฟานครหลวงจะใหผูรบัจางตรวจสอบการตอลงดนิเปนบางจดุ โดยการสุม หากพบขอผิดพลาดผูรับจางจะตองแกไขใหไดตามขอกําหนด

ขอกําหนดงานระบบเครน

สําหรับ

งานกอสรางอาคารสถานยีอย พรอมสวนประกอบ

Page 1

ขอกําหนดงานระบบเครน

สารบัญ หนา

1. ประเภทของเครน 2

2. Overhead Crane ขนาด 3 ตัน หรอืมากกวา 2

3. Crane ต่ํากวาขนาด 3 ตัน (การขับเคล่ือน 2-Dimensions) 3

4. Wall Slewing Crane (JIB Crane)(รอกสลิง) 3

5. Manual Crane for Transformer Room 4

6. การทาสี 4

7. ลักษณะของชุดมอเตอร 4

8. ขอกําหนดท่ัวไป 4

Page 2

ขอกําหนดงานระบบเครน

1. 1.1 Crane ขนาด 3 ตัน หรือมากกวา ประเภทของเครน

1.2 Crane ต่ํากวาขนาด 3 ตัน 1.3 Wall Slewing Crane (JIB Crane) 1.4 Manual Crane For Transformer Room

2. ประกอบดวยชุดอุปกรณหลัก ไดแก Electric Hoist, Girder End-Carriage, ระบบ Power และ I-Beam

คูขนาน

Overhead Crane ขนาด 3 ตัน หรอืมากกวา (การขับเคล่ือน 3 – Dimensions ดวยระบบไฟฟา)

2.1 Electric Hoist 2.1.1 Capacity : ตามท่ีกําหนดในแบบ 2.1.2 FEM Group : ≥ 2M , 40%ED 2.1.3 FEM Group (Motor) : ≥2M , 40%ED 2.1.4 ระยะยก : ตองสอดคลองกับอาคารและตําแหนงของเครน 2.1.5 ความเร็วในการยก : 2 Speed, Normal Range (5/0.8m. /min.

Approx.) 2.1.6 ในกรณีระยะยกสูงเกินกวา 15 เมตร : 2 Speed, Normal Range (10/1.7m. /min.

Approx.) 2.1.7 ความเร็วเคลื่อนท่ี : 2 Speed (20/5m./min Approx.) บน Girder 2.1.8 ระยะ Hook : ระยะจากตําแหนงสูงสุดของ Hook ถึงพ้ืนชั้นท่ี

ติดตั้งเครนไมนอยกวา 5 เมตร 2.1.9 ประกอบดวย

2.1.9.1 Disc Break, Automatic Break Adjustment With Manual Release Break 2.1.9.2 Limit Switch สําหรับควบคุมตําแหนงสูงสุดและต่ําสุดของขอเก่ียว 2.1.9.3 ระยะ Head Room ใหสอดคลองกับแบบ 2.1.9.4 เปนชนิด Wire Rope Hoist 2.1.9.5 มี Limit Switch ปองกันการเคลื่อนท่ีซาย-ขวา 2.1.9.6 DIN Standard

2.2 Girder 2.2.1 ขนาดความยาวของ Girder เปนไปตามแบบ 2.2.2 ระยะแอนตัวเม่ือรับโหลดสูงสุดไดไมเกินกวา L/1000 หรือตามท่ีผูผลิตกําหนดและตองสง

รายการคํานวณเพ่ือพิจารณาดวย 2.2.3 จัดใหมีกันชนกันกระแทกท่ีเหมาะสม และใหผูควบคุมงานตรวจสอบกอนติดตั้ง 2.2.4 Local Made or Import

2.3 End-Carriage 2.3.1 มี Limit Switch ปองกันการชนบริเวณหัว-ทาย 2.3.2 ความเร็ว2 Speed (20/5m./min. Approx.) 2.3.3 40% ED

Page 3

ขอกําหนดงานระบบเครน

2.3.4 DIN Standard 2.4 Runway จัดใหมีแผนกันชนท่ีเหมาะสม มีความหนาไมต่ํากวา 15 cm. ยึดดวยกาวและ bolt แบบฝง

หัว และใหผูควบคุมงานตรวจสอบกอนติดตั้ง 2.5 ระบบ Power

2.5.1 3 Phase 4 Wire PVC, Enclosed Conductor System 2.5.2 Ampere เปนไปตามท่ีผูผลิตแนะนําความยาวตลอดระยะวิ่ง 2.5.3 การควบคุม Push Button Pendant

2.5.3.1 หอง GIS : ควบคุมดวย Push button pendant 2.5.3.2 หอง Loading : ควบคุมดวย Push button pendant สายควบคุมไมเลื่อน

ตามสะพานเครน โดยตําแหนงผูควบคุมอยูท่ีชั้นบน และใหสามารถเคลื่อนชุดควบคุมเปลี่ยนตําแหนงควบคุมได

2.6 I-Beam หรอื H-Beam คูขนาน ขนาดตามท่ีกําหนดในแบบ 2.7 อุปกรณ Crane ท้ังหมดยกเวน Girder ตองเปนอุปกรณจากบริษัทผูผลิตหามดัดแปลงใชอุปกรณท่ีไมได

มาตรฐานของผูผลิต 3

3.1 Crane ต่ํากวาขนาด 3 ตัน (การขับเคล่ือน 2-Dimensions)

Capacity : ตามท่ีกําหนดในแบบ 3.2 FEM : 2M 3.3 ระยะยก : ตองสอดคลองกับอาคารและตําแหนงของเครน 3.4 ความเร็วในการยก : 2 Speed (5/0.8m./min Approx) 3.5 ความเร็วบน I-Beam หรอื Beam : (20/5m./min Approx) 3.6 I-Beam : ติดตั้ง Fixed, ขนาดตามท่ีผูผลิตแนะนําระยะแอนตัวเม่ือ

โหลดสูงสุดไมเกิน L/1000 3.7 ระยะ Hook : ระยะจากตําแหนงสูงสุดของ Hook ถึงพ้ืนชั้นท่ีติดตั้งเครนไม

นอยกวา 3.5 เมตร 3.8 ประกอบดวย : เชนเดียวกับเครนขนาด 3 ตัน หรือมากกวา 3.9 ระบบ Power : เชนเดียวกับเครนขนาด 3 ตัน หรือมากกวา

4 4.1 Wall Slewing Crane (JIB Crane หรอื รอกสลิง)

Capacity : ตามท่ีกําหนดในแบบ 4.2 FEM Group : 2 M 40%ED Indoor Use 4.3 รัศมีการหมุน : 180 ° 4.4 ความยาว JIB : ตามท่ีกําหนดในแบบ 4.5 ความเร็วในการยก : 2 Speed (5/0.8m./min Approx) 4.6 Slewing Speed : 2 Speed (ตามมาตรฐานผูผลิต) 4.7 การเคลื่อนท่ีบน JIB : 2 Speed (20/5m/min Approx) 4.8 ระยะ Hook : ระยะจากตําแหนงสูงสุดของ Hook ถึงพ้ืนชั้นท่ีติดตั้งเครนไม

นอยกวา 3.5 เมตร หรือตามสภาพพ้ืนท่ีทํางานจริง

Page 4

ขอกําหนดงานระบบเครน

5 5.1 Manual Crane for Transformer Room

Capacity : 2 Tons 5.2 Type : Manual Operation With Chain Hoist 5.3 ระยะยก : ไมนอยกวา 8 เมตร 4.4 I-Beam : ติดตั้ง Fixed ระยะแอนตัวไมเกิน L/1000 4.5 Girder : เชนเดียวกับ 2.2

6 การทาสี7

Wire Brush Cleaned Before Applying 2 Coated of Primer and 2 Final Coats in Yellow ลักษณะของชุดมอเตอร7.1 Double Speed

จะตองมีลักษณะดังนี้

7.2 IP 54, Insulation Class F 7.3 Operating Voltage and Frequency 380 V 3P 50Hz 7.4 40% ED 7.5 Complete With Overload and Overheat Protection 7.6 Power (KW) ตามมาตรฐานผูผลิต

8 8.1 Electric Hoist ขอกําหนดท่ัวไป

1.1.1.Hook Block ตวัขอยก (Hook) สามารถหมุนไดรอบตัว โดยมีอัตราสวนระหวางเสนผาศูนยกลางของรอก (Sheave) กับเสนผาศูนยกลางของลวดสลิงไมนอยกวา 16 ตอ 1 และใหแสดงรายการคํานวณ

1.1.2.Wire Ropeเปนแบบ non-rotating โดยมีอัตราสวนแรงดึงของลวดสลิงตอแรงดึงของลวดสลิงท่ีรับอยูจริงไมนอยกวา 6 ตอ 1และใหแสดงรายการคํานวณพรอมใบรับรองการใชงานลวดสลิงท่ีใช

1.1.3.ระยะ Hook ท่ีระยะต่ําสุดระยะของ Hook เปนระยะเทากับ 30 cm. และตองเหลือสลิงใน Drum ไมนอยกวา 2 รอบ

8.2 การทํางานของ Limit Switch ในขณะรอกเคลื่อนท่ีตามแนว Girder, Runway และการเคลื่อนท่ีของ Hook

1.1.4.การเคลื่อนตัวใหเคลื่อนดวยความเร็วต่ําทุกครั้งท่ีเคลื่อนตัว เม่ือเคลื่อนตัวไดระยะหนึ่งจึงสามารถเคลื่อนตัวดวยความเร็วสูงได

1.1.5.การเคลื่อนตัวเขา Damper เม่ือเคลื่อนตัวดวยความเร็วสูงเขาระยะใกล Damperใหติดตั้ง(limit switchความเร็วสูง) ตัดการทํางานเปนความเร็วต่ําแลวจึงเลื่อนชน (limit switchความเร็วต่ํา) ตัดการทํางานท้ังหมดกอนเลื่อนชน Damper

1.1.6.ในกรณีท่ีระยะยกของเครนสูงมากเกินกวา 6 เมตร และเครนสามารถใชในการยกของไดหลายๆชั้นใหเพ่ิมเติมแปนควบคุมแบบไรสาย (Remote control)

8.3 จัดใหมีสัญญาณเสียงและแสง เม่ือเครนมีการเคลื่อนท่ีบน Girder และ Runway 8.4 ใหทําการออกแบบและแสดงข้ันตอนการทํางานทุกข้ันตอนของเครน 8.5 กอนนําเครนข้ึนติดตั้งใหผูรับจางแจงผูควบคุมงานตรวจสอบและจดบันทึกขอมูลกอนติดตั้ง 8.6 ใหมีระยะรับประกัน 2 ปในนามการไฟฟานครหลวงนับจากวันท่ีทําการทดสอบตามขอกําหนดผานแลว 8.7 ใหแสดงสําเนาการนําเขาเครน

Page 5

ขอกําหนดงานระบบเครน

8.8 ใหแสดงรายละเอียดการออกแบบและรายการคํานวณ โดยมีวิศวกรเครื่องกลไมต่ํากวาสามัญวิศวกรรับรอง พรอมแนบสําเนาใบอนุญาต

8.9 ใหแสดงใบรับรองการติดตั้งโดยมีวิศวกรเครื่องกลไมต่ํากวาสามัญวิศวกรรับรอง พรอมแนบสําเนาใบอนุญาต

8.10 จัดใหมีบันทึกการตรวจสอบสวนประกอบและอุปกรณของปนจั่นชนิดอยูกับท่ี (คปร.1) โดยใหรายงานผลในครั้งแรกท่ีติดตั้งและผานการทดสอบเสร็จ จากนั้นดําเนินการตรวจสอบและบันทึกการตรวจสอบทุกๆ 3 เดือนตลอดระยะเวลารับประกัน จากนั้นในเดือนสุดทายกอนหมดระยะเวลารับประกันใหตรวจสอบและบันทึกการตรวจสอบอีกครั้ง ท้ังนี้ไมรับพิจารณาการตรวจสอบและบันทึกการตรวจสอบ ลวงหนา

8.11 ผูท่ีลงนามในบันทึกการตรวจสอบสวนประกอบและอุปกรณของปนจั่นชนิดอยูกับท่ี (คปร.1) เปนวิศวกรเครื่องกลไมต่ํากวาสามัญวิศวกรรับรอง พรอมแนบสําเนาใบอนุญาต เสนอผูรับจางเจาของอาคารในครั้งแรก หลังจากนั้น ในคราวตอไปใหเสนอเจาของอาคาร

8.12 จัดใหมีคูมือการใชงาน คูมือการซอมบํารุง และ Wiring Diagram เปนภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 8.13 การติดตั้งใหผูรับจางดําเนินการออกแบบและปรับปรุงโครงสรางบริเวณท่ีจะดําเนินการติดตั้ง Crane

ใหสามารถติดตั้ง Crane ได โดยสงรายละเอียดและขออนุมัติกับการไฟฟานครหลวงกอนดําเนินการ 8.14 ผูรับจางเปนผูจัดหาน้ําหนักทดสอบและทําการทดสอบโดยใชคาน้ําหนักทดสอบ ดังนี้

8.14.1 Dynamic 110% Rated Load 8.14.2 Static 125% Rated Load

8.15 ผลิตภัณฑท่ียอมรับไดแกผลิตภัณฑของ KONE, EUROBLOC, ABUS, STAHL, SWF, DEMEX อุปกรณตางๆ ท่ีระบุสามารถเทียบเทาได ท้ังนี้จะตองมีคุณภาพเทาเทียมกันและจะตองไดรับอนุมัติจากวิศวกรผูออกแบบ หรือผูวาจางเปนลายลักษณอักษรกอน

8.16 มาตรฐานความปลอดภัยในการทํางานเก่ียวกับปนจั่นใหเปนไปตามประกาศคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจสัมพันธและมีสามัญวิศวกรเครื่องกลในการรับรองการออกแบบ

ขอกําหนด

สําหรับ

งานกอสรางบอพักและทอรอยสายไฟฟาใตดิน

Page 1

กอสรางบอพกัและทอรอยสายไฟฟาใตดิน

สารบัญ หนา บทท่ี 1 ขอกําหนดมาตรฐานท่ัวไป 4 1. เง่ือนไขท่ัวไป 4 1.1 คํานิยาม 4 1.2 วัตถุประสงค 4 1.3 จัดหาวัสดุอุปกรณ 4 14. มาตรฐาน 5 1.5 การละเมิดสิทธิบัติ (Infringement of patent) 5 1.6 ใบอนุญาตการทํางานของผูรับจางและขอมูลแรงงาน 5 1.7 หลักประกันสัญญา 5 1.8 หลักประกันสัญญาเพ่ิมเติม 6 1.9 การตวรจสอบและการทดสอบวัสดุ 6 1.10 การตรวจสอบโดยผูรับจาง 6 1.11 การประกัน 7 1.12 ภาษีนําเขา ภาษี และคาธรรมเนียม 7 1.13 การรักษาความปลอดภัยในสถานท่ีกอสราง 7 1.14 การเปล่ียนแปลงขอกําหนดสัญญา 7 1.15 การมอบหมาย 8 1.16 ผูรับจางชวง 8 1.17 การดําเนินงานและการดูแลงานกอสราง 8 1.18 แบบและขอมูลท่ีตองสงโดยผูรับจาง 9 1.19 รายงานความกาวหนาประจําเดือนและการประชุม 10 1.20 การยกเลิกสัญญาและการระงับสัญญาโดยการไฟฟานครหลวง 10 1.21 เหตุสุดวิสัย (Force majeure) 11 1.22 สิทธิในการดําเนินงานหรือใชวัสดุหรืองานกอสรางท่ีไมไดคุณภาพ 11 1.23 การทักทวง 11 1.24ภาษาทางการ 11 1.25 กฎหมายท่ีใช 12 1.26 ขอบังคญัของรฐั 12 1.27 ลูกจางของผูรับจาง 12 1.28 ความปลอดภยัและสุขอนามัย 12 1.29 ขอมูลราคาของผูรับจาง 12 1.30 ใบอนญุาตและความรบัผดิชอบงาน 12 1.31 แผนงาน 12 1.32 คามเสียหายของทรัพยสิน 13

Page 2

กอสรางบอพกัและทอรอยสายไฟฟาใตดิน

หนา 1.33 ไฟฟาและประปา 13 1.34 การอนุมัติวัสดุ 13 1.35 คํายืนยัน 13 1.36 การขัดแยงกันในเอกสารเสนอราคา 13 1.37 การไมไดคุณภาพตามท่ีรับประกัน 13 1.38 การทดสอบเพ่ือการยอมรับ 13 1.39 การทําความสะอาดสถานท่ีกอสราง 14 1.40 ความรับผิดชอบของผูรับจางภายหลังจากเสร็จงาน 14 1.41 สถานท่ีปฏิบัติงานและการเตรียมการ 14 1.42 แผนงานเวลา 14 1.43 แผนการจัดการจราจร 15 1.44 ปายการทํางานและเครื่องหมายเตือน 15 2. การปองกันส่ิงแวดลอมและความปลอดภัย 15 2.1 ขอกําหนดท่ัวไป 15 2.2 การปองกันโครงสรางท่ีมีอยู 15 2.3 ระดบัความดังของเสียง 16 2.4 ความปลอดภยั 16 3. แกไขปญหามลพิษดานฝุนละอองจากการกอสรางในเขตกรุเทพมหานครและปริมณฑล 16 3.1 ขอกําหนดท่ัวไป 16 3.2 การปองกันมลพิษดานฝุนละอองจากการกอสรางหรือรื้อถอนอาคาร 17 3.3 การปองกันมลพิษดานฝุนละอองจากการกอสรางถนน 17 3.4 การปองกันมลพิษดานฝุนละอองในการขนสงวัสดุกอสรางตางๆ 18 บทท่ี 2 ขอกําหนดงานดานไฟฟา 19

1. ขอกําหนดของทอรอยสายสําหรับการกอสรางทอรอยสายไฟฟาใตดิน 19 2. การสนับสนุนผลิตภัณฑในประเทศ 20 3. การทดสอบ 20 4. วิธีการตรวจสอบทอรอยสายไฟฟาใตดิน 21

บทท่ี 3 ขอกําหนดงานดานโยธา 26 1. ขอกําหนดท่ัวไป 26

1.1 ขอกําหนดท่ัวไป 26 1.2 ขอกําหนดสําหรับงานคอกกรีดและคอนกรีตเสริมเหล็ก 26 1.3 ขอกําหนดสําหรับงานเหล็กเสริมคอนกรีต 31 1.4 ขอกําหนดสําหรับการควบคุมคุณภาพ 32 1.5 งานซอม 33 1.6 ขอกําหนดสําหรับการกอสรางทางเช่ือมถนนสาธารณ 33 1.7 เวลาในการกอสราง 33

Page 3

กอสรางบอพกัและทอรอยสายไฟฟาใตดิน

หนา

1.8 รายละเอียดการปองกัน 33 2. ขอกําหนดการกอสรางบอพักและทอรอยสายไฟฟาใตดิน โดยวิธีขุดเปด (Open cut) 34

2.1 ขอกําหนดท่ัวไป 34 2.2 การดําเนินการกอสราง 35

3. ขอกําหนดสําหรับงานดันทอใตดิน (Underground pipe jacking) 36 3.1 ขอกําหนดท่ัวไป 36 3.2 การสํารวจขอมูลใตดิน 37 3.3 มาตรฐานอางอิง 37 3.4 ขอกําหนดวัสดุ 37 3.5 ขอกําหนดในการออกแบบ 37 3.6 ทอดัน (Jacking pipe) 37 3.7 การดําเนินการดนัทอ (Jacking) 39 3.8 กําแพงรับแรงดันทอ (Thrust wall) 41 3.9 ระบบการดัน (Thrust) 41 3.10 บอพักสายไฟฟาใตดิน (Manhole) 41 3.11 ทอรอยสายไฟฟาใตดิน (Duct bank) 42 3.12 การอุด (Grouting) ดวย flowalbe fill mortar 42 3.13 การจัดการทรุดตัว 43 3.14 ระบบไฟฟาของอุปกรณ เครื่องมือท่ีใชในงานกอสราง 43 3.15 การทดสอบ 43 3.16 การควบคมุและตรวจสอบคุณภาพงานกอสราง 44

4. ขอกําหนดสําหรับงานเจาะวางทอใตดิน (Horizontal directional drilling) 44 4.1 ขอกําหนดท่ัวไป 44 4.2 กอสรางติดตั้งทอดวยวิธี Horizontal directional drilling 45 5. ขอกําหนดการเจาะทดสอบคุณสมบัติดิน (Soil-testing) 46

Page 4

กอสรางบอพกัและทอรอยสายไฟฟาใตดิน

บทท่ี 1 ขอกําหนดมาตรฐานท่ัวไป

1. เง่ือนไขท่ัวไป

งานกอสรางบอพักและทอรอยสายไฟฟาใตดิน วิธี Pipe jacking Horizontal directional drilling และ Open cut จะประกอบดวยงานสํารวจสภาพใตดิน สิ่งกีดขวางใตดิน จัดหาอุปกรณ แรงงานสําหรับ กอสราง และแกไขอุปสรรคตางๆ โดยดําเนินการภายใตกฎหมาย กฎขอบังคับและกฎเกณฑท่ีมีอยูท้ังหมด ท้ังท่ีเก่ียวของโดยตรงหรือโดยออมตองานกอสรางนี้

1.1 คํานิยาม คํานิยามตางๆ ท่ีอยูในเอกสารประกวดราคานี้ ใหหมายถึงสิ่งตอไปนี้

- ผูเสนอราคา หมายถึง บุคคล หรือนิติบุคคลท่ีไดรับการรับรองตามกฎหมาย บริษัท หางหุนสวน กิจการรวมคา ท่ีไดยื่นซองประกวดราคาและมีคุณสมบัติตามขอกําหนด

- ผูวาจาง หมายถึง การไฟฟานครหลวง หรือ กฟน.

- ผูรับจาง หมายถึง ผูเสนอราคาท่ีชนะการประกวดราคาและทําสญัญารบัจางกอสรางจากการไฟฟานครหลวง

- สัญญา หมายถึง ขอตกลงระหวางการไฟฟานครหลวงและผูรับจาง และรวมถึงเอกสารแนบทาย สญัญาและกําหนดเวลางานกอสราง โดยเปนท่ีเขาใจเองวาผูร ับจางยอมรับและลงนามสญัญา โดยจัด หาวัสดุอุปกรณและแรงงานท่ีจาํเปน เพ่ือใหงานกอสรางสาํเรจ็ลลุวงตามวตัถุประสงคของการไฟฟานครหลวง โดยไมมีขอยกเวนที่จะไปจากแบบและรายการประกอบแบบ

- เดือน หมายถึง เดือนตามปฏิทิน

- วัน หมายถึง วันตามปฏิทิน 1.2 วัตถุประสงคของงาน

1.1.1 วตัถุประสงคตามสญัญาจะประกอบดวย การกอสรางบอพักและทอรอยสายไฟฟาใตดินโดยวิธี Pipe jacking Horizontal directional drilling และ Open cut

1.1.2 ผูรับจางจะตองจัดหาเครื่องมือและวัสดุและรายการอ่ืนๆ ท่ีจําเปนหรือตองใชเพ่ือท่ีจะใหงาน สําเร็จตามขอกําหนดในสัญญา แบบ หรือขอกําหนดตางๆ

1.1.3 ผูรับจางจะตองแจงตอการไฟฟานครหลวงเปนลายลักษณอักษร เพ่ืออธบิายถึงความหมายและวัตถุประสงคของงานในสวนตางๆ ในสัญญา ในกรณีท่ีขอสงสัยหรือขัดแยงในเอกสารกอนท่ีจะเสนอราคา และหากไมมีการแจงใหการไฟฟานครหลวงพิจารณาในขอขัดแยงดังกลาว ผูรับจางจะตองเปนผูรับผิดชอบตอความผิดพลาดหรือความเสียหายใดๆ ท่ีเกิดข้ึนเนื่องจากเหตุนั้น

1.3 จัดหาวัสดุอุปกรณ 1.3.1 วัตถุดิบ วัสดุอุปกรณ สวนประกอบและผลิตภัณฑท่ีผูรับจางเปนผูจัดหาเพ่ือกอสราง ติดตั้งและ

สงมอบใหการไฟฟานครหลวงจะตองเปนไปตามยี่หอ รุน และหรือขอกําหนดตามท่ีไดเสนอไว และจะตองเปนวัสดุใหมท่ีไมเคยผานการใชงาน วัสดุและอุปกรณจะตองไดคุณภาพ ตามมาตรฐานสูงสุด ปราศจากขอชํารุดใดๆ จะตองเปนท่ียอมรับของการไฟฟานครหลวง และเหมาะสมกับการใชงาน

1.3.2 การเสนอขอเปลี่ยนยี่หอ รุน และหรือขอกําหนดของวัสดุฯ ท่ีเสนอไวในขอ 1.3.1 ไมสามารถกระทําได ยกเวนเกิดเหตุสุดวิสัยหรือเหตุจําเปนอยางยิ่ง หรือเพ่ือความสะดวกในการกอสราง ติดตั้ง หรือเหตุอ่ืนใดอันเปนประโยชนตอผูรับจาง ท้ังนี้ในกรณีท่ีการไฟฟานครหลวงอนุญาตให

Page 5

กอสรางบอพกัและทอรอยสายไฟฟาใตดิน

เปลี่ยนได หากวัสดุฯ ท่ีเปลี่ยนใหมมีมูลคานอยกวาท่ีเสนอราคาไวเดิมผูรับจางตองยินยอมใหการไฟฟานครหลวงลดคางานตามมูลคาท่ีลดลง และหากวัสดุฯท่ีเปลี่ยนใหมมีมูลคามากกวาท่ีเสนอราคาไวเดิม ผูรับจางจะขอเพ่ิมคางานมิได

1.4 มาตรฐาน ถาไมกําหนดไวในขอกําหนดทางเทคนิคแลว วัสดุท่ีใชท้ังหมดจะตองผานการผลิตและทดสอบตามมาตรฐานตอไปนี้

วัตถุทองถ่ินสําหรับงานโยธา : มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมของไทยฉบับลาสุด ทอคอนกรีตหลอสําเร็จ : มาตรฐานสากลท่ีเก่ียวของ หรือมาตรฐานผลิตภัณฑ

อุตสาหกรรมของไทย (TIS) ฉบับลาสุด ในกรณีท่ีไมมีมาตรฐานสากลหรือมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมของไทยท่ีใชกับวัสดุใดๆ แลว ใหใชมาตรฐานของผูผลิตและสงสําเนาภาษาอังกฤษฉบับสมบูรณมาพรอมกับขอเสนอ มิฉะนั้นขอเสนอนั้นจะไมไดรับการพิจารณา

1.5 การละเมิดสิทธิบัตร (Infringement of patent) ถาการออกแบบอุปกรณ หรือเครื่องมือ สิ่งของ หรือวิธีการกอสรางนั้น มีการละเมิดสิทธิ ผูรับจางจะตองออกคาใชจายในการปกปองสิทธิของการไฟฟานครหลวงในการใชแบบอุปกรณ หรือการขอหนงัสือยกเวน หรือออกใบสิทธิในการใชแกการไฟฟานครหลวงหรือทดแทนดวยแบบวัสดุเครื่องมือสิ่งของ หรือวิธีการกอสรางใดๆ ท่ีไมมีการละเมิดสิทธิหรือการทําการเปลี่ยนแปลงสิ่งเหลานั้นใหไมเปนการละเมิดสิทธิ

1.6 ใบอนุญาตการทํางานของผูรับจางและมูลแรงงาน ขอมูลเก่ียวกับมาตรฐานงานและกฎระเบียบสําหรับงานจางของผูรับจาง อาจจะรับไดจากกระทรวงแรงงานและสวสัดกิารสงัคม กรมแรงงาน กรงุเทพ 10200 จดหมายรับรองสําหรับการขอใบอนุญาตการทํางาน (Work permit) ของผูรับจางจะออกใหโดยการไฟฟานครหลวงหลังจากไดรับการขอท่ีเปนลายลักษณอักษรจากผูรับจาง

1.7 หลักประกันสัญญา 1.71. ผูชนะการประกวดราคาจางจะตองวางประกันสัญญาตอการไฟฟานครหลวงในเวลาท่ีลงนาม

สัญญา 1.7.2 มูลคาท่ีระบุไวในหลักประกันสัญญาจะตองเทากับหรือไมนอยกวา 10% (สิบเปอรเซ็นต) ของ

มูลคาในสัญญาท้ังหมดท่ีจะครอบคลุมท้ังสัญญา และจะตองอยูในรูปเงินบาท 1.7.3 ถาไมยื่นหลักประกันสัญญาตอการไฟฟานครหลวงในเวลาท่ีลงนามสัญญา หรือมีมูลคานอยกวา

10% (สิบเปอรเซ็นต) ของมูลคาท้ังหมดของสัญญา การไฟฟานครหลวงจะริบหลักประกันซอง และการไฟฟานครหลวงสงวนไวซ่ึงสิทธิในการทําสัญญาจาง ในกรณีนี้การไฟฟานครหลวงจะไมตองรับผิดชอบตอความสูญเสีย ความเสียหาย ท้ังทางตรงหรือผลกระทบท่ีตามมาตอผูเสนอราคานั้นจากการยกเลิกการทําสัญญานี้ และการไฟฟานครหลวงจะไมจายคาเสียหายใดๆ จากการฟองรองของผูเสนอราคาในกรณีนี้

1.7.4 ถาผูรับจางปฏิเสธหรือไมสามารถจัดหาวัสดุหรือบริการ หรือกอสรางงานไมสําเร็จภายในระยะ เวลาตามท่ีกําหนดไว หรือไมสามารถดําเนินการไดตามเง่ือนไขสัญญา หรือไมสามารถทําตามขอบังคับในสัญญา หลักประกันสัญญาจะถูกริบท้ังหมดหรือบางสวนตามความเหมาะสม และการไฟฟานครหลวงสามารถยกเลิกสัญญาไดในใบแจงท่ีเปนลายลักษณอักษร โดยไมเปนการทําความเสียหายตอผูอ่ืน

Page 6

กอสรางบอพกัและทอรอยสายไฟฟาใตดิน

1.7.5 หลักประกันสัญญาจะมีผลบังคับใชตั้งแตวันท่ีลงนามในสัญญาจนถึงวันท่ีภาระหนาท่ีท้ังหลายของผูรับจางจะไดปฏิบัติใหสําเร็จลุลวงไป

1.8 หลักประกันสัญญาเพ่ิมเติม ถาหลักประกันใดๆ ก็ตามในสัญญานี้ไมเปนท่ียอมรับตอการไฟฟานครหลวง หรือเม่ือใดก็ตามท่ีการไฟฟานครหลวงตรวจสอบสถานภาพทางการเงิน ถาหลักประกันไมเพียงพอตามรายงานผูรับจางจะตองจัดหาหลักประกันเพ่ิมเติมโดยเร็วท่ีสุดเพ่ือปกปองผลประโยชนของการไฟฟานครหลวง

1.9 การตรวจสอบและการทดสอบวัสดุ 1.9.1 กอนการตรวจรับวัสดุและอุปกรณตางๆ การไฟฟานครหลวงจะสามารถตรวจสอบและทดสอบ

วัสดุและอุปกรณท้ังหมดไดในทุกวันและทุกสถานท่ี โดยรวมถึงชวงเวลาในการผลิตและชวงเวลาใดก็ตามรายการท่ีตองการตรวจและทดสอบรวมถึงสถานท่ีทดสอบจะกําหนดไวในขอกําหนดทางเทคนิคของเอสารประกวดราคา

1.9.2 การไฟฟานครหลวงจะแตงตั้งผูควบคุมงานเพ่ือทําการตรวจสอบงานกอสราง ในกรณีท่ีการไฟฟานครหลวงมอบหมายใหผูอ่ืนเปนผูดําเนินการ การไฟฟานครหลวงจะแจงชื่อของบริษัทท่ีทําการตรวจสอบตอผูรับจาง ผูรับจางจะตองแจงตอการไฟฟานครหลวงหรือผูควบคุมงานของการไฟฟานครหลวงเพ่ือท่ีจะใหทําการตรวจงาน และจะตองแจงลวงหนาอยางนอย 7 วัน กอนกําหนดการตรวจสอบ

1.9.3 ผูควบคุมงานของการไฟฟานครหลวงจะมีสิทธิในการตรวจสอบในดานตางๆ ท่ีเก่ียวของในสถานท่ีทําการของผูรับจางท่ีเก่ียวของในสัญญานี้ และสถานท่ีผลิตวัสดุท่ีผูรับจางสั่งซ้ือ และรวมถึงสถานท่ีกอสรางไดทุกเวลา

1.9.4 ผูควบคุมงานของการไฟฟานครหลวงจะมีอํานาจไมยอมรับรายการใดๆ ท่ีมีขอบกพรองหรือชํารุดในวัสดุงานฝมือหรืองานกอสราง หรือไมเปนไปตามขอกําหนดในรายการท่ีไมเปนท่ียอมรับ ผูรับจางจะตองเปลี่ยนแปลงหรือแกไขเพ่ือใหผานขอกําหนดโดยไมคิดคาใชจาย และเพ่ิมระยะเวลาการกอสรางจากการไฟฟานครหลวง

1.9.5 ถาควบคุมงานการไฟฟานครหลวงตรวจพบสิ่งผิดปกติในรายงานผลการกอสราง การทดสอบ (Test report) หรือพบวาวัสดุอุปกรณไมเปนไปตามขอกําหนด การไฟฟานครหลวงจะแจงใหผูรับจางทราบเพ่ือใหผูรับจางทําการปรับปรุง ซอมแซม หรือเปลี่ยนแปลงวัสดุและอุปกรณนั้น

1.9.6 วัสดุและอุปกรณทุกรายการจะตองผานการทดสอบ วิเคราะห และตรวจสอบโดยสมบูรณและรายงานผลการทดสอบหรือวิเคราะห (Test report) จะตองไดรับการรับรอง (Approve) จากการไฟฟานครหลวงกอนจึงจะสามารถขนยายเขาสถานท่ีกอสรางได และผูรับจางจะตองเปนผูออกคาใชจายในการทดสอบเหลานี้ท้ังหมด

1.9.7 การไฟฟานครหลวงสงวนสิทธิ์ในการตรวจสอบ ทดสอบ วัสดุและอุปกรณอยางเต็มท่ี และถาจําเปนอาจจะไมยอมรับวัสดุและอุปกรณหลังจากการขนยายวัสดุอุปกรณนั้นเขาไวในสถานท่ี กอสรางแลว ถึงแมวาวัสดุและอุปกรณนั้นผานการตรวจสอบและทดสอบ โดยการไฟฟานครหลวงแลว

1.9.8 การตรวจสอบและรับรองผลการทดสอบของการไฟฟานครหลวง จะไมทําใหผูรับจางสามารถยกเลกิจากการรับประกันหรือขอบังคับอ่ืนๆ ภายใตสัญญา

1.10 การตรวจสอบโดยผูรับจาง ผูรับจางจะตองจัดหาหรือดําเนินการใหมีระบบตรวจสอบวัสดุและอุปกรณ และเสนอใหการไฟฟานครหลวงอนุมัติสําหรับวัสดุตางๆ ท่ีใชในการกอสรางตามสัญญานี้ โดยรายงานผลบันทึก การตรวจสอบผูรับ

Page 7

กอสรางบอพกัและทอรอยสายไฟฟาใตดิน

จางจะตองเก็บรักษาไว และสามารถใหการไฟฟานครหลวงตรวจสอบไดในระหวางการดําเนินงานของสัญญานี้ และยังคงใหเก็บไวเปนเวลาสองปหลังจากวันท่ีออกใบรับรองเสร็จงานข้ันสุดทาย

1.11 การประกัน 1.11.1 ผูรับจางจะตองประกันความรับผิดชอบตอบุคคลท่ีสาม สําหรับการตายหรือบาดเจ็บและ การ

สูญเสีย หรือความเสียหายตอทรัพยสินตางๆ ท่ีเกิดจากการปฏิบัติงานของผูรับจางและ เกิดข้ึนกอนการออกใบรับรองการเสร็จงานข้ันสุดทาย โดยกําหนดวงเงินใหไมนอยกวาวงเงินคาจางตามสัญญา

1.11.2 การประกันจะตองทํากับบริษัทประกันท่ีมีชื่อเสียงเปนท่ียอมรับของการไฟฟานครหลวง และกรมธรรมประกันภัยจะตองยื่นตอการไฟฟานครหลวงภายใน 60 วัน หลังจากลงนามในสัญญา การฟานครหลวงสงวนไวซ่ึงสิทธิท่ีจะสั่งผูรับจางใหทําการแกไขและเปลี่ยนแปลงในขอความ และเงื่อนไขในกรมธรรมนี้ เพ่ือปกปองผลประโยชนจากการประกันภัยนี้

1.12 ภาษีนําเขา ภาษี และคาธรรมเนียม 1.12.1 การไฟฟานครหลวงจะไมจายภาษีและคาธรรมเนียมตามรายการตอไปนี้

- ภาษีนําเขาของเครื่องมือวัสดุสําหรับการผลิตในประเทศ วัสดุและอุปกรณนําเขาสําเร็จรูปตางๆ

- คาใชจายตางๆ ท่ีเก่ียวกับการซ้ือสิทธิและใบอนุญาตตางๆ - คาธรรมเนียมการเขาประเทศและคาธรรมเนยีมตางๆ ภาษีรายไดหรือภาษีอื่นๆ คาภาษีอากรท่ี

เก็บโดยรัฐบาลไทยหรือหนวยงานปกครองหรือเทศบาล ตอผูรับจางหรือลูกจางของผูรับจาง - ภาษีนําเขาของใชสวนตัว ของตกแตงบาน เครื่องใชไฟฟาและคาดําเนินการวัสดุนําเขาโดยผู

รับจางหรือลูกจางของผูรับจาง - ภาษีนําเขาเครื่องมือและเครื่องจักรสําหรับงานกอสราง และดําเนินงานภายใตสัญญานี้

1.12.2 การจายเงินในแตละงวดใหกับผูรับจาง การไฟฟานครหลวงจะหักเงินไวเปนจํานวนรอยละ 1 (รอยละหนึ่ง) สําหรับคาภาษีรายไดนิติบุคคล เงินท่ีหักไวนี้เปนเพียงบางสวนและไมถือวาเปนอัตราท่ีจายเต็มจํานวน ผูรับจางจะตองปฏิบัติตามขอบังคับและกฎหมายของกรมสรรพากร และกฎหมายภาษีของราชอาณาจักรไทย

1.12.3 ภาษีมูลคาเพ่ิม (VAT) ท่ีเก็บจากคาวัสดุ/อุปกรณ และคาบริการ การไฟฟานครหลวงจะเปนผุจายให

1.13 การรักษาความปลอดภัยในสถานท่ีกอสราง ผูรับจางจะตองรับผิดชอบตอการดูแลปองกัน การจัดเก็บ และการบํารุงรักษาวัสดุและอุปกรณและวัสดุกอสรางภายใตสัญญา รวมถึงความเสียหายท่ีเกิดข้ึนกับวัสดุอุปกรณเหลานี้จนกระท่ังสิ่งเหลานั้น ไดรับการติดตั้งและยอมรับโดยการไฟฟานครหลวง

1.14 การเปลี่ยนแปลงขอกําหนดสัญญา 1.14.1 การไฟฟานครหลวงมีสิทธิท่ีจะสั่งใหผูรับจางทํางานพิเศษซ่ึงไมไดแสดงไว หรือรวมอยูใน

เอกสารสัญญา หากงานพิเศษนั้นๆ อยูในขอบเขตท่ัวไปแหงขอกําหนดเฉพาะงานของสัญญานี้นอกจากนี้การไฟฟานครหลวงยังมีสิทธิสั่งใหเปลี่ยนแปลงหรือแกไขแบบรปูและขอกําหนดตางๆ ในเอกสารสัญญานี้ดวย โดยไมทําใหสัญญาเปนโมฆะแตอยางใด

1.14.2 อัตราคาจางหรือราคาตอหนวยท่ีกําหนดไวในสัญญานี้ ใหกําหนดใชสําหรับงานพิเศษในกรณีท่ีอาจเพ่ิมข้ึนหรือลดลงตามคําสั่งของผูวาจาง หากในสัญญาไมไดกําหนดไวถึงอัตราคาจางหรือคาใดๆ ท่ีจะนํามาใชสําหรับงานพิเศษดังกลาว ผูวาจางและผูรับจางจะไดตกลงกัน ท่ีจะกําหนด

Page 8

กอสรางบอพกัและทอรอยสายไฟฟาใตดิน

อัตราคาจางหรือราคา รวมท้ังการขยายระยะเวลา (ถามี) กันใหมเพื่อความเหมาะสม ในกรณีท่ีตกลงกันไมไดผูวาจางจะกําหนดอัตราคาจางหรือราคาตายตัวตามแตผูวาจางจะเห็นวาเหมาะสมและถูกตอง ซ่ึงผูรับรับจางจะตองปฏิบัติงานตามคําสั่งของผูวาจาง

1.15 การมอบหมาย ผูรับจางจะมอบสิทธิในการทํางานภายใตสัญญาไมวาท้ังหมดหรือบางสวนใหแกบุคคลอ่ืนมิได เวนแตไดรับความยินยอมเปนลายลักษณอักษรจากการไฟฟานครหลวง

1.16 ผูรับจางชวง 1.16.1 ผูรับจางจะมอบหรือโอนสัญญาท้ังหมดหรือบางสวน หรือประโยชนใดๆ หรือเงินจากสัญญานี้

ใหแกบุคคลอ่ืนมิได 1.16.2 ผูรับจางจะจางชวงมิได เวนแตจะไดรับความยินยอมท่ีเปนลายลักษณอักษรจากการไฟฟานคร

หลวง แตความยินยอมดังกลาวไมเปนเหตุใหผูรับจางหลุดพนจากความรบัผดิหรือพันธะหนาท่ีตามสัญญานี้ รวมท้ังตองรับผิดในความผิดและประมาทเลินเลอของผูรับจางชวงหรือตัวแทนหรอืลูกจางของผูรับจางชวงทุกประการ ในกรณีท่ีไดรับความยินยอมเปนลายลักษณอักษรจากการไฟฟานครหลวงใหจางชวงได ผูรับจางจะตองแจงกับการไฟฟานครหลวงเปนลายลักษณอักษรถึงลักษณะและขอบเขตของงานท่ีจะใหรับจางชวง และใหระบุชื่อของผูรับจางชวงดวย

1.16.3 การไฟฟานครหลวงจะไมทําสัญญากับผูรับจางชวง และผูรับจางชวงไมมีสิทธิใดเทียบเทากับผูรับจางในสัญญานี้ การไฟฟานครหลวงจะไมยอมรับงานใดก็ตามท่ีทําโดยผูรับจางชวงท่ียังไมไดรับการอนุมัติตามขอ 1.16.2 และอาจจะสั่งใหหยุดงาน และในกรณีนี้ผูรับจางไมสามารถฟองรองความลาชาหรือขอขยายเวลาการกอสรางของสัญญา หรือฟองรองทางการเงินตอการไฟฟานครหลวง

1.17 การดําเนินงานและการดูแลงานกอสราง 1.17.1 ผูรับจางจะตองออกคาใชจายในการจัดหาแรงงาน พลังงาน เครื่องมือและอุปกรณวัสดุและการ

กอสรางงานชั่วคราว รวมท้ังการดูแลการรับสงพนักงานจากสถานท่ีกอสรางเพ่ืองานการกอสรางตามสัญญา

1.17.2 ผูรับจางจะตองเก็บรักษาแบบหรือขอกําหนดท่ีไดรับอนุมัติแลวไวท่ีสถานท่ีกอสรางเพ่ือท่ีใหคณะกรรมการตรวจการจางของการไฟฟานครหลวงหรือผูควบคุมงานสามารถใชไดทุกเวลา

1.17.3 ผูรับจางจะตองแตงตั้งตัวแทนท่ีเปนท่ียอมรับของการไฟฟานครหลวง เพ่ือทําหนาท่ีกอสราง ติดตั้งทดสอบเครื่องมือ ดูแลการทํางานใหเปนไปตามสัญญาและปฏิบัติตามเอกสารคําแนะนํา ของการไฟฟานครหลวงท่ีใหแกผูรับจาง

1.17.4 ตัวแทนของผูรับจาง ณ สถานท่ีกอสรางจะตองเปนผูมีคุณสมบัติและประสบการณงานกอสราง และการตรวจสอบงาน และมีความสามารถในการดูแลงานนั้นดวยความรอบคอบมีข้ันตอน และเปนระบบเพ่ือใหงานสําเร็จอยางเปนท่ีนาพอใจ ในขณะท่ีงานยังไมเสร็จผูรบัจางตองดูแลควบคุมตลอดเวลาหรอือาจจะมอบหมายใหผูอ่ืนดูแลแทนในนามของผูรับจาง ในกรณีหลังนี้ผูรับจางตองแจงตอการไฟฟานครหลวง เปนลายลักษณอักษร โดยตัวแทนของผูรับจางจะเปนผูรับผิดชอบในนามของผูรับจาง คําสั่ง และคําแนะนําของการไฟฟานครหลวงท่ีมีตอตัวแทนของผูรับจางใหถือเสมือนวาเปนคําสั่งและคําแนะนําท่ีมีตอผูรับจาง ในกรณีท่ีผูรับจางแตงตั้งตัวแทน การไฟฟานครหลวงอาจจะยกเลิกตัวแทนของผูรบัจางคนใดก็ตามโดยการแจงเปนลายลักษณอักษร และผูรับจางจะตองทําการเปลี่ยนแปลงตัวแทนในทันท่ีโดย

Page 9

กอสรางบอพกัและทอรอยสายไฟฟาใตดิน

ไมมีการเรียกคาชดเชยตอความเสียหายจากการเปลี่ยนแปลงครั้งนี้ และไมถือวาเปนการขยายเวลากอสราง และถารับจางตองการเปลี่ยนแปลงตัวแทนจะตองแจงเปนลายลักษณอักษรตอการไฟฟานครหลวง

1.17.5 ตัวแทนของผูรับจางจะตองอยูในสถานท่ีกอสรางอยางนอย 15 วันทํางานหลังจากงานภายใต สัญญาไดเสร็จสิ้นอยางเปนท่ีนาพอใจ เวนแตการไฟฟานครหลวงจะเห็นชอบเปนอยางอ่ืน

1.17.6 คณะกรรมการตรวจการจางของการไฟฟานครหลวงหรือผูควบคุมงานจะมีสิทธใินการตรวจสอบงานท่ีอยูในระหวางการเตรียมงานไดตลอดเวลา โดยผูรับจางหรือตัวแทนจะตองจดัเตรยีมสถานท่ีและความชวยเหลือท่ีจําเปน ผูรับจางไมสามารถนําผลการตรวจสอบโดยคณะกรรมการของการไฟฟานครหลวงหรือผูควบคุมงานไมวากรณีใดก็ตามมากลาวอาง และไมถือวาเปนการพนความรับผิดชอบของงานท่ีดําเนินการในสัญญาของผูรับจาง

1.17.7 ถากอนหนาหรือระหวางดําเนนิงานพบความขัดแยง หรอืความคลาดเคลือ่นในแบบหรอืขอกําหนด และเมื่อจางแจงใหการไฟฟานครหลวงพิจารณาแลวผูรับจางตองทําตามการตัดสินของการไฟฟานครหลวงซ่ึงถือเปนท่ีสุด ในกรณีท่ีผูรับจางตองปฏิบัติงานท่ีไมไดระบุไวในแบบหรือ ขอกําหนด แตเปนสิ่งจําเปนท่ีตองทําเพ่ือใหสามารถดําเนินงานตามสัญญาได ผูรับจางจะตองสงรายละเอียดการกอสรางมาใหการไฟฟานครหลวงพิจารณายอมรบักอนการดาํเนนิการกอสรางโดยไมมีการเพ่ิมระยะเวลาการกอสรางและคาใชจาย

1.17.8 คณะกรรมการตรวจการจางจะมีอาํนาจในการตรวจสอบและดแูลการดาํเนินงานใหเปนไป ตามแบบและขอกําหนดในสัญญา และสามารถสั่งใหทําการเปลี่ยนแปลง แกไขเพ่ิมเติมหรือตดังานออกเพ่ือใหเปนไปตามเง่ือนไขในแบบและขอกําหนดในสญัญา คณะกรรมการตรวจการจางของการไฟฟานครหลวงหรือควบคุมงานจะสิทธิในการระงับการกอสรางชั่วคราว ถาผูรับจาง ปฏิเสธหรอืไมทําตามคําสั่งเม่ือเกิดความลาชาข้ึนในการกอสรางจะไมสามรถอางความลาชานี้เปนเหตุในการกอสรางได

1.18 แบบและขอมูลท่ีตองสงโดยผูรับจาง 1.18.1 ภายใน 60 วันหลังจากวันเริ่มงานในสัญญา ผูรับจางจะตองสงแบบรายละเอียดการกอสรางทอ

รอยสายไฟฟาใตดินใหการไฟฟานครหลวงตรวจสอบกอนการกอสราง โดยใหสงแบบและรายละเอียดตางๆ จาํนวน 6 ชุด

1.18.2 แบบและเอกสารท่ีตองสงใหการไฟฟานครหลวงอนุมัติ อยางนอยตองประกอบดวย - แผนการจดัการจราจรในขณะกอสราง - แผนท่ีและแบบแสดงพ้ืนท่ีกอสราง - แบบแปลนและ Profile ของแนวทอรอยสายไฟฟาและบอพักท่ีกอสราง - รายละเอียดของทอดัน (Jacking pipe) - รายละเอียดของบอดันและบอรับ (Jacking and receiving shaft) - รายละเอียดการปองกันดินและโครงสรางท่ีจะใชในการกอสรางบอดันและบอรับ - แบบรายละเอียดการสํารวจอุปสรรคใตดินในแนวท่ีจะดันทอ - รายละเอียดการสํารวจคุณสมบัติของดินในแนวท่ีจะดันทอ - รายละเอียดของเครื่องจักรและวิธีการท่ีใชในการดันทอ - รายละเอียดการควบคุมทิศทางและแนวของการดันทอ - รายละเอียดการวางทอรอยสายภายในทอดนัและวธิกีาร Grout

Page 10

กอสรางบอพกัและทอรอยสายไฟฟาใตดิน

- แบบรายละเอียดของ Intermediate tacking - แบบรายละเอียดของเครื่อง Directional drill - แบบรายละเอียดการกอสราง Duct bank และ Manhole

1.18.3 ในการสงมอบงานงวดสุดทาย ผูรับจางจะตองสงแบบ As-built เปนกระดาษไขตามขนาดจริง จาํนวน 1 ชดุ แบบพิมพเขียวจาํนวน 3 ชดุ และ CD ROM ท่ีมีขอมูลของ As-built ท่ีเขียนโดย Auto cad release 14 ข้ึนไป จํานวน 1 ชุด

1.19 รายงานความกาวหนาประจาํเดอืนและการประชุม 1.19.1 ผูรับจางจะตองสงรายงานความกาวหนาประจําเดือนตอการไฟฟานครหลวงภายในวันท่ี 7 ของทุก

เดอืน จํานวน 6 ชุด รายงานจะตองไดรับการยืนยันวาถูกตองจากผูควบคุมงานของการไฟฟานครหลวง และจะตองแสดงถึงงานท่ีไดทําในกิจกรรมตางๆ ท่ีเก่ียวกับการออกแบบ การสั่งซ้ือวัสดุ การติดตั้ง การกอสราง การทดสอบและดําเนินงานตามระบุในสัญญาและครอบคลุมรายการตอไปนี้ - ผงัองคกรของโครงการ (ชื่อและตําแหนง) - แผนงานฉบบัแกไขลาสุด - แผนงานท่ีวางไวและงานท่ีทําไดจริงระหวางชวงเวลาท่ีรายงาน - ความกาวหนาระหวางชวงเวลาท่ีรายงาน และแผนงานสําหรับเดือนตอไป - เวลาเฉลี่ยของแรงงานท่ีใชตอวัน - ปญหาและอุปสรรคท่ีพบ และจะมีผลกระทบตอแผนงานและวิธีท่ีเสนอในการแกไขปญหานัน้ - ภาพถายความกาวหนาของการกอสราง

1.19.2 ในระหวางการปฏบิตังิานตามสญัญา ถาการไฟฟานครหลวงพิจารณาวาผลงานท่ีทาํไดในสวน ใดๆ ของงานไมเปนท่ีนาพอใจหรือดวยเหตุผลอ่ืนท่ีเก่ียวของกับสัญญา การไฟฟานครหลวงมีอิสระท่ีจะจดัใหมีการประชุมพิจารณาในปญหานั้นๆ และตัวแทนของผูรบัจางจะตองเขารวมประชมุดวย

1.19.3 ในระหวางอายุของสัญญา ตัวแทนของผูรับจางหรือบุคคลท่ีเก่ียวของจะตองมีการประชุมกับตวัแทนของการไฟฟานครหลวงทุกสองสปัดาหเพ่ือรายงานผล และทบทวนการทํางานรวมถึงพิจารณาปญหาของงาน

1.20 การยกเลิกสญัญาและการระงับสญัญาโดยการไฟฟานครหลวง 1.20.1 การไฟฟานครหลวงสงวนสิทธิ์ท่ีจะบอกเลิกงานบางสวนหรือท้ังหมดตามท่ีระบุไวในสัญญา โดย

การแจงเปนลายลักษณอักษรตอผูรับจาง และผูรับจางไมมีสิทธิเรียกรองในความสูญเสีย หรือความเสียหายตางๆ

- การไฟฟานครหลวงเห็นวาผูรับจางไมสามารถทํางานไดแลวเสร็จภายในระยะเวลาที่กําหนดในสัญญา

การไฟฟานครหลวงจะยกเลิกสญัญาท้ังหมดเม่ือ

- ผูรบัจางไมสามารถเริม่ทํางานตามแผนการดาํเนินการ (Contract schedule) โดยไมมีเหตุผลท่ีสมควร

- ผูรับจางไมทํางานตามขอกําหนดและ/หรอืคําแนะนาํของการไฟฟานครหลวง กรงุเทพมหานคร สาํนกังานคณะกรรมการจัดระบบการจราจรทางบก และละเลยท่ีจะปฏิบัติตามขอบังคับในสญัญา

- ผูรับจางประพฤติผิดกฎหมายในการปฏิบัติงานของสัญญา - ผูรับจางเปนบุคคลลมละลาย หรือไมสามารถชําระหนี้สินได

Page 11

กอสรางบอพกัและทอรอยสายไฟฟาใตดิน

1.20.2 เม่ือการไฟฟานครหลวงแจงบอกเลิกสัญญากับผูรับจางแลว การไฟฟานครหลวงจะไมจายเงินคากอสรางของงานที่คางอยูและอาจเขาดําเนินการตอเอง หรือจางบุคคลอื่นใหเขาไปดําเนินการจนงานเสร็จ ผูรับจางยินยอมจะดําเนินการตอไป - สงมอบพ้ืนท่ีกอสรางคืนการไฟฟานครหลวง โดยขนยายวัสดุอุปกรณสิ่งกอสรางอ่ืนๆ ซ่ึงไม

เก่ียวกับงานตามสัญญา พรอมทําการซอมทรัพยสินของหนวยงานสาธารณูปโภคตางๆ ใหเสรจ็ภายใน 14 วัน หากครบกําหนดเวลาดังกลาวแลว ผูรับจางจะยอมจายคาปรับใหการไฟฟานครหลวงวนัละ 10,000.- บาท

- จายคาเสยีหายใหการไฟฟานครหลวงในการดําเนนิการเพ่ือใหสามารถทําการกอสรางตอไป จนครบตามสัญญาท่ียกเลิก โดยจายคากอสรางของงานสวนท่ีเหลือเฉพาะสวนท่ีเกินจากจํานวนเงินท่ีเหลือจายของสัญญาท่ียกเลิก และรวมถึงคาดําเนินการตางๆ

- จายคาเสียหายใหกับผูเก่ียวของตางๆ ซ่ึงเปนผลมาจากการไมสมารถดําเนินงานใหเสร็จตามสัญญาของผูรับจาง

- ยอมใหการไฟฟานครหลวงรือ้ถอน ทําลายงานกอสรางท่ีผูรับจางไดดําเนินการไวแลวท้ังหมด หรือบางสวนเพ่ือใหการไฟฟานครหลวงหรือผูรับจางรายใหมสามารถทําการกอสรางตอได

1.21 เหตุสุดวิสัย (Force majeure) ในกรณีท่ีมีเหตุสุวิสัย (Force majeure) และอาจจะเปนผลใหเกิดความลาชาในการกอสรางผูรับจางจะตองแจงตอการไฟฟานครหลวงเปนลายลักษณอักษรถึงสาเหตุของความลาชานั้นทันทีท่ีทราบถึงเหตุนั้น และเม่ือเหตุนั้นสิ้นสุดลงใหแจงการไฟฟานครหลวงรับทราบอีกครั้งภายใน 15 วันนับแต เหตุนั้นไดสิ้นสุดลง หากมิไดแจงภายในเวลาท่ีกําหนดผูรับจางจะยกมากลาวคําอางเพ่ือขอตออายุสัญญาหรือขอขยายระยะเวลาหรือลดคาปรับในภายหลังมิได

1.22 สิทธิในการดําเนินงานหรือใหวัสดุหรืองานกอสรางท่ีไมไดคุณภาพ หากพบวามีการใชวัสดุกอสรางท่ีไมไดคุณภาพ การไฟฟานครหลวงสงวนสิทธิ์ในการใชงานหรือใชวัสดุหรืองานกอสรางนั้นจนกวาจะมีการแกไขขอบกพรองขอผิดพลาดหรือการละเลยนั้นโดยการซอมแซมหรือการทดแทนดวยของใหม ผูรับจางจะตองดําเนินการโดยไมรบกวนการใชงานของการไฟฟานครหลวง

1.23 การทักทวง ถาผูรับจางพิจารณาวางานท่ีสั่งไมอยูในขอบังคับในสัญญา หรือพิจารณาวาบันทึก หรือกฏหรือการไฟฟานครหลวง หรือผูควบคุมงานไมยุติธรรม ผูรับจางจะตองยื่นคําถามท่ีเปนลายลักษณอักษรเก่ียวกับคําสั่งหรือบังทึกหรือกฎนั้นๆ ในทันที เพ่ือท่ีจะขอคําแนะนําหรือคําตัดสินเปนลายลักษณอักษรนี้แลว และเม่ือไดรับคําวินิจฉัยแลวผูรับจางจะตองปฏิบัติตามโดยไมลาชา หากผูรับจางไมยอมรับคําวินิจฉัยภายใน 30 วันหลังจากวันท่ีไดรับคําวินิจฉัยท่ีเปนลายลักษณอักษร (ยกเวนการไฟฟานครหลวงอนุญาตใหเพ่ิมเวลาออกไปกอนหนาท่ีจะเริ่มปฏิบัติงาน) ผูรับจางจะตองยื่นคําทักทวงท่ีเปนลายลักษณอักษรตอการไฟฟานครหลวง โดยระบุใหชัดเจนถึงรายละเอียดการทักทวง ยกเวนการทักทวงท่ีกระทําตามขอกําหนดและภายในระยะเวลาท่ีกําหนดไว ใหถือวาบันทึก กฎ คําแนะนํา หรือคําวินิจฉัยของการไฟฟานครหลวงเปนท่ีสิ้นสุด คําแนะนําหรือคําตัดสินของการไฟฟานครหลวงท่ีอยูในจดหมายนําสงแบบท่ีสงใหผูรับจางจะถือวาเปนคําวินิจฉัยของการทักทวงดวย

Page 12

กอสรางบอพกัและทอรอยสายไฟฟาใตดิน

1.24 ภาษาทางการ ภาษาหนังสือท่ีใชในการติดตอโตตอบกับทางการไฟฟานครหลวงของงานกอสรางใหใชภาษาไทย

1.25 กฎหมายท่ีใช สัญญาจะตองเขียนข้ึนและเปนไปตามกฎหมายของราชอาณาจักรไทย

1.26 ขอบังคับของรัฐ ผูรับจางจะตองปฏิบัติตามกฎหมายท่ีบังคับใชอยูในปจจุบันในประเทศไทย และขอกําหนดกฎหมาย หรือคําสั่งของบานเมือง และขอบังคับทางกฎหมายของหนวยงานรัฐบาลใดๆ ท่ีมีผลหรือใชกับผูรับจาง หรือการปฏิบัติงานของผูรับจางในประเทศไทย

1.27 ลูกจางของผูรับจาง การจางงานของผูรับจางจะตองเปนไปตามขอกําหนดในกฎหมายแรงงานที่ใชอยูในปจจุบันในประเทศไทย ผูรับจางจะตองจายคาแรงในอัตราท่ีตกลงหรือสัญญาในชวงเวลาท่ีตกลงหรือสัญญา ถาผูรับจางไมจายคาแรงใหลูกจางตามท่ีระบุไวในวรรคแรก ผูรับจางยินยอมท่ีจะใหการไฟฟานครหลวงจายคาแรง แทนแกลูกจางในอัตราท่ีตกลงไว และการจายเงินนั้นใหถือวาเปนการจายใหผูรับจาง ในกรณีท่ีผูรับจางไมสามารถปฏิบัติตามขอกําหนดท่ีระบุไวในวรรคสอง จะถือวาผูรับจางละเมิดสัญญา ดังนั้นการไฟฟานครหลวงอาจจะยกเลิกสัญญาได

1.28 ความปลอดภัยและสุขอนามัย 1.28.1 ผูรับจางจะตองปฏิบัติตามกฎหมาย ประกาศ กฎกระทรวง และขอกําหนดตางๆ ของหนวยงาน

ราชการท่ีเก่ียวกับความปลอดภัยและสุขอนามัยท่ีใชในกรุงเทพ ประเทศไทย 1.28.2 ผูรับจางจะตองเก็บรักษาบันทึกท่ีถูกตอง และรายงานตอการไฟฟานครหลวงถึงการตายของ โรคท่ี

เกิดข้ึนจากการทํางานหรือการบาดเจ็บท่ีเกิดข้ึนระหวางการปฏิบัติงานภายใตสัญญา 1.28.3 ผูรับจางจะตองชดใชและรับผิดชอบแทนการไฟฟานครหลวงในความเสียหาย หรือความรับผิด

ชอบตอการบาดเจ็บ การตาย หรือความเสียหายของทรัพยสิน หรือฟองรองเนื่องจากการบาดเจ็บ การตาย หรือความเสียหายของทรัพยสินในกรณีใดก็ตามหรือโดยบุคคลใดก็ตามท่ีเกิดข้ึนเนื่องจากการปฏิบัติงานของผูรับจาง ลูกจางของผูรับจางชวง หรือตัวแทนภายใตสัญญา แตไมรวมถึงการไมสามารถปฏิบัติตามขอบังคับเพ่ือความปลอดภัยท่ีเก่ียวของของผูรับจาง ลูกจางของผูรับจาง ผูรับจางชวงหรือตัวแทน

1.29 ขอมูลราคาของผูรับจาง การไฟฟานครหลวงตลอดจนตัวแทนท่ีไดรับมอบหมายสามารถขอดูบัญชีเงินเดือน บันทึกประวัติพนักงาน ใบสั่งซ้ือวัสดุ บันทึกของเครื่องมือกอสรางเครื่องจักรตางๆ และขอมูลใดๆ เก่ียวของกับการปฏิบัติงานในสัญญาหรือท่ีจําเปนสําหรับการพิจารณาราคาสําหรับงานท่ีทําในสัญญา

1.30 ใบอนุญาตและความรับผิดชอบงาน ผูรับจางจะตองรับผิดชอบในการขอใบอนุญาตในการทํางานจากหนวยงานท่ีเก่ียวของ และจะตองรับผิดชอบตอความเสียหายตอบุคคลหรือทรัพยสินท่ีเกิดข้ึนเนื่องจากความผิดหรือความละเลยของผูรับจางท่ีเก่ียวของกับการทํางาน ผูรับจางจะตองรับผิดชอบวัสดุท่ีจัดสงท้ังหมดและงานท่ีกระทําจนกวาจะไดรับใบตรวจรับงานข้ันสุดทาย (Final acceptance certificate)

1.31 แผนงาน

Page 13

กอสรางบอพกัและทอรอยสายไฟฟาใตดิน

1.32.1 วัสดุและเครื่องมือท้ังหมดจะตองพรอมท่ีจัดสงเขาสถานท่ีกอสรางโดยผูรับจาง เพ่ือท่ีจะสามารถดําเนินการกอสรางไดอยางราบรื่น การท่ีไมสามารถจัดการไดจะไมสามารถอางเปนขอผอนผันขอกําหนดในสัญญาไดไมวากรณีใดๆ

1.32.2 ผูรับจางจะตองเตรียมรายละเอียดของแผนงานรวมท้ังราคากอสรางของแตละงาน และสงใหการไฟฟานครหลวงพิจารณาอนุมัติกอนการกอสราง

1.32 ความเสียหายของทรัพยสนิ ผูรับจางจะตองรับผิดชอบในการจายเงินชดใชในความเสียหายท่ีเกิดข้ึนโดยเร็วตอทรัพยสินของการไฟฟานครหลวงหรือผูอ่ืนเนื่องมาจากการกอสรางนี้ หากไมปฏิบัติตามขอกําหนดนี้การไฟฟานครหลวงจะระงับการจายเงินใหผูรับจางจนกวาจะมีการปฏิบัติตาม

1.33 ไฟฟาและประปา คาใชจายของระบบประปาและไฟฟาและสาธารณูปโภคอ่ืนๆ ท่ีใชในงานกอสรางเปนความรับผิดชอบของผูรับจาง

1.34 การอนุมัติวัสดุ ผูรับจางจะตองเตรียมขอมูลและตัวอยางของวัสดุใหการไฟฟานครหลวงเพ่ือการอนุมัติอยางนอย 21 วันลวงหนากอนการกอสรางจริง ความลาชาในการอนุมัติท่ีเกิดจากการยื่นขออนุมัติชาหรือตัวอยางไมถูกตอง ในสวนของผูรับจางจะไมสามารถเรียกรองขอชดใชหรือขอขยายเวลากอสรางในสัญญาในกรณีของเหตุสุดวิสัย (Force majeure) และผูรับจางไมสามารถจัดหาวัสดุท่ีกําหนดไวจะตองยื่นบันทึกแจงพรอมหลักฐานตอการไฟฟานครหลวงเพ่ือการพิจารณาอนุมัติใหใชวัสดุและเครื่องมือท่ีมีคุณภาพท่ีเทียบเทาหรือดีกวาโดยไมคิดราคาเพ่ิม และจากสาเหตุดังกลาวไมสามารถใชในการขอขยายเวลากอสรางในสัญญา

1.35 คํายืนยัน เพ่ือท่ีจะใหงานไดสําเร็จตามท่ีกําหนดไวในสัญญาและขอกําหนด ถาผูรับจางไมเขาใจหรือสงสัยในงานใดๆ ผูรับจางจะตองขอคําชี้แจงหรือคํายืนยันจากผูควบคุมงานของการไฟฟานครหลวงกอนท่ีจะดําเนินการ

1.36 การขัดแยงกันในเอกสารประกวดราคา หากมีการขัดแยงกันในแบบรายละเอียด ขอกําหนดตางๆ ในเอกสารประกวดราคาการไฟฟานครหลวงจะเปนผูพิจารณาตัดสิน และผูรับจางจะตองปฏิบัติตามโดยไมมีการเปลี่ยนแปลงเงินคาจางและระยะเวลาการกอสรางจากสัญญา

1.37 การไมไดคุณภาพตามท่ีรับประกัน ถาการไฟฟานครหลวงเลือกท่ีจะยอมรับงานท่ีไมไดคุณภาพตามท่ีรับประกันหรือ ไมเปนไปตามขอบังคับในสัญญา โดยอาจจะพิจารณาจากผลการทดสอบจากโรงงาน (Factory test) ผลการทดสอบภาคสนาม (Site test) หรือการปฏิบัติงานภายใตสภาพการใชงานจะตองมีการเปลี่ยนแปลงราคาในสัญญาท่ีเหมาะสมสําหรับงานนั้น โดยการเปลี่ยนแปลงนี้จะไมทําจนกวาผูรับจางไดมีโอกาสซอมแซม ปรับปรุงหรอืแกไขงานหรือสวนท่ีบกพรอง

1.38 การทดสอบเพ่ือการยอมรับ เม่ือการติดตั้ง การทําความสะอาด การแกไข และการทดสอบแตละรายการไดแลวเสร็จ ผูรับจางจะตองทําการทดสอบภาคสนาม และปฏิบัติงานใหไดผลเปนท่ีนาพอใจตอหนาคณะกรรมการตรวจการจางหรือผูแทนของการไฟฟานครหลวง โดยผูรับจางเปนผูออกคาใชจายท้ังหมด ถาผลไมเปนไปตามขอกําหนด ผูรับจางจะตองออกคาใชจายในการแกไขท่ีจําเปน ผลการทดสอบเพ่ิมเติมจะตองแสดงใหเปนท่ีนาพอใจ

Page 14

กอสรางบอพกัและทอรอยสายไฟฟาใตดิน

ตอการไฟฟานครหลวงถึงประสิทธิภาพในการแกไข คาใชจายท้ังหมดท่ีเกิดข้ึนเนื่องจากคาแรง และคาเครื่องมือท่ีจําเปนในการทดสอบและการทดสอบเพ่ิมเติมอยูในความรับผิดชอบของผูรับจางการทดสอบวัสดุท้ังหมดจะตองทําโดยหองทดสอบท่ีผานการเห็นชอบจากการไฟฟานครหลวง

1.39 การทําความสะอาดสถานท่ีกอสราง หลังการกอสรางแลวเสร็จผูรับจางจะตองทําความสะอาดสถานท่ีกอสราง โดยเคลื่อนยายเศษวัสดุและถมท่ีท่ีขุด และรักษาสถานท่ีกอสรางใหอยูในสภาพท่ีสะอาดและถูกสุขลักษณะ พรอมใหการไฟฟานครหลวงเขาใชงาน

1.40 ความรับผิดชอบของผูรับจางภายหลังจากเสร็จงาน ในกรณีท่ีพบขอบกพรองหรือความเสียหายของงานภายในระยะเวลาสองปนับจากวันท่ีออกใบรับงานข้ันสุดทายและเปนความผิดพลาดของผูรับจาง หรือเนื่องจากวัสดุเครื่องมือหรืองานฝมือท่ีไมไดคุณภาพ ผูรับจางจะตองแกไขขอบกพรองหรือความเสียหายนั้นดวยความรวดเร็ว ถาผูรับจางไมเริ่มดําเนินการแกไขภายใน 7 วัน นับจากวันท่ีไดรับหนังสือแจงจากการไฟฟานครหลวง หรือไมสามารถทําการแกไขใหสําเร็จไดภายในเวลาท่ีกําหนดให โดยการไฟฟานครหลวงสงวนไวซ่ึงสิทธิท่ีจะจางผูรับจางรายใหมเพ่ือดําเนินการแกไขตอ และเรียกเก็บคาใชจายจากผูรับจาง

1.41 สถานท่ีปฏิบัติงานและการเตรียมการ 1.41.1 ผูรับจางจะตองสรางหรือจัดหาสํานักงานสนาม 1 แหง และจะตองอยูบริเวณใกลเคียงท่ีจะ

กอสราง มีขนาดพ้ืนท่ีไมนอยกวา 25 ตารางเมตร เหมาะสมกับการปฏิบัติงานของเจาหนาท่ีการไฟฟานครหลวง มีโทรศัพทสายตรง 1 เลขหมาย โทรสาร 1 เครื่อง หองน้ํา หองสวมและครุภัณฑท่ีจําเปน และตองจัดสรางหรือจัดหาใหกอนลงมือกอสราง

1.41.2 ผูรับจางจะตองเตรียมในสวนความรับผิดชอบของผูรับจางในการเตรียมพ้ืนท่ีจัดเก็บกลางแจงใหเพียงพอสําหรับการจัดเก็บวัสดุและเครื่องมือในสถานท่ีกอสราง และสําหรับสํานักงานชั่วคราวระหวางการปฏิบัติงานตามสัญญา

1.41.3 ผูรับจางจะตองจัดหาและบํารุงรักษาโครงสรางชั่วคราวท้ังหมด ซ่ึงรวมถึงโกดัง ท่ีพักคนงานท่ีเก็บของ เปนตน ผูรับจางจะตองจัดหาสํานักงานของผูรับจางในสถานท่ีกอสราง พรอมกับโทรศัพท และโทรสาร เพ่ือท่ีการไฟฟานครหลวงสามารถติดตอผูรับจางหรือตัวแทนของผูรับจางไดตลอดเวลา

1.41.4 ผูรับจางจะตองจัดหาเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัยเพ่ือดูแลและรักษาความปลอดภัยของเครื่องมือและวัสดุ

1.41.5 ผูรับจางจะตองจัดหาและบํารุงรักษาหองน้ําของผูรับจางเอง ท้ังนี้จะไมอนุญาตใหผูรับจางหรือพนักงานของผูรับจางใชสถานท่ีเก็บของ และหองน้ําของการไฟฟานครหลวง

1.41.6 ผูรับจางจะตองจัดหาเครื่องมือ วัสดุ นั่งราน รั้ว ไฟสัญญาณเตือน อุปกรณกอสราง เครื่องอัดลม เครื่องมือทดสอบ และเครื่องมือวัดท่ีกําหนดใชงาน

1.41.7 สิ่งประกอบชั่วคราวตางๆ ท่ีระบุไวในขางตน จะตองขนยายออกโดยผูรับจางหลังจากเสร็จงานกอสรางแลว เวนแตการไฟฟานครหลวงจะไดระบุไวเปนอยางอ่ืน

1.42 แผนงานเวลา 1.42.1 ผูรับจางจะตองยื่นรายละเอียดแสดงแผนงานตามสัญญาภายใน 30 วัน หลังจากทําสัญญาใน

รูปแบบของแผนภูมิ Gantt chart เพ่ือท่ีการไฟฟานครหลวงจะไดใหความเห็นหรืออนุมัติ ผูรับจางจะตองเตรียมสําเนาของแผนภูมิท่ีไดรับการอนุมัติตามคําขอของการไฟฟานครหลวง

Page 15

กอสรางบอพกัและทอรอยสายไฟฟาใตดิน

1.42.2 แผนงานท่ีจัดสงใหอยูในรูปของ Critical path network และจะตองแสดงถึงการเชื่อมตอระหวางข้ันตอนและหมวดงานในสัญญา นอกเหนือจากนี้ผูรับจางจะตองเตรียมและยื่นรายละเอียดโครงขายงานยอยของข้ันตอนการทํางานตามแผนสัญญา โดยครอบคลุมถึงการประกอบ การทดสอบและการดําเนินงาน ในเวลาใดก็ตามท่ีอยูระหวางการดําเนินงานตามสัญญา ถาพบสิ่งจําเปนท่ีตองการทําการแกไขแผนงานท่ีไดรับการอนุมัติแลว ผูรับจางจะตองแจงตอการไฟฟานครหลวงและยื่นแผนงานท่ีแกไขเพ่ือขออนุมัติ การขออนุมัติขอเปลี่ยนแปลงใดๆ ในแผนงานจะไมถือวาเปนการอนุมัติ ขยายเวลากําหนดวันเสร็จงาน

1.43 แผนการจัดการจราจร นอกเหนือจากขอกําหนดในการเสนอราคาท่ีผูรับจางจะตองยื่นรายละเอียดแสดงแผนการจัดจราจร เม่ือไดรับการพิจารณาผูเสนอราคาจะตองใหความรวมมือในการเขารวมประชุมและชี้แจงตอหนวยงานท่ีรับผิดชอบในการอนุมัติการกอสรางเพ่ือใหไดมาซ่ึงใบอนุญาตในการกอสรางและการเขาพ้ืนท่ีทํางานตอหนวยงานตางๆ เชน กรุงเทพมหานคร กรมทางหลวง สํานักงานคณะกรรมการจัดระบบการจราจรทางบก กองบัญชาการตํารวจนครบาล สถานีตํารวจทองท่ี และหนวยงานอ่ืนๆ และ

ตองดําเนินการแกไขแผนการจัดจราจรท่ีเสนอใหเปนไปตามขอกําหนดของหนวยงานนั้นๆ โดยไมมีการเพ่ิมราคาคากอสรางและจํานวนวันลาในการกอสราง

ในเวลาใดก็ตามท่ีอยูระหวางการดําเนินการงานตามสัญญา ถาพบสิ่งจําเปนท่ีตองทําการแกไขแผนการจัดจราจรจากท่ีไดรับการอนุมัติแลว ผูรับจางจะตองแจงตอการไฟฟานครหลวงและยื่นแผนงานท่ีแกไขเพ่ือขออนุมัติ การอนุมัติขอเปลี่ยนแปลงใดๆ ในแผนงานจะไมถือวาเปนการอนุมัติขยายเวลากําหนดวันเสร็จงาน

เม่ือดําเนินการกอสรางไปแลวจักตองทําการจัดทําแผนจราจรใหทันสมัยอยูเสมอตามสภาพการจราจรและความตองการของหนวยงานนั้นๆ โดยไมมีการเพ่ิมราคากอสรางและจํานวนวันในการกอสราง

1.44 ปายการทํางานและเครื่องหมายเตือน ผูรับจางจะตองทําและติดตั้งปายการทํางานและเครื่องหมายเตือนท่ีสามารถมองเห็นไดงายท้ังกลางวันและกลางคืน โดยเฉพาะอยางยิ่งปายการทํางานและเครื่องหมายเตือนจะตองเปนไปตามขอกําหนด เครื่องหมายและสัญญาสําหรับการสรางถนนและซอมแซมตามมาตรฐานฉบับลาสุดของกรมทางหลวง กรุงเทพมหานครและการไฟฟานครหลวง รวมท้ังงานสาธารณูปโภคของราชการและรัฐวิสาหกิจ ของสํานักงานปองกันอุบัติภัยแหงชาติ (National safety council) ผูรับจางจะตองรับผิดชอบอยางเต็มท่ีในกรณีท่ีเกิดอุบัติเหตุหรือความเสียหายตอทรัพยสินหรือคนงานของผูรับจางหรือตอบุคคลอ่ืนหรือทรัพยสินของบุคคลอ่ืน

2. การปองกันส่ิงแวดลอมและความปลอดภัย 2.1 ขอกําหนดท่ัวไป

2.1.1 ขอกําหนดในบทนี้ ใหใชบังคับกับงานกอสรางบอพักและทอรอยสายไฟฟาใตดินวิธี Pipe-jacking Horizontal directional drilling และ Open cut และงานอ่ืนๆ ท้ังหมด

2.1.2 ผูรับจางจะตองปฏิบัติตามกฎหมาย ขอบังคับ และคําสั่งของหนวยงานราชการท่ีเก่ียวของท่ีเก่ียวกับสิ่งแวดลอม ความปลอดภัย และสุขภาพ ท่ีใชปฏิบัติในกรุงเทพมหานคร

2.1.3 ผูรับจางจะตองจัดทําบันทึกและรายงานตอการไฟฟานครหลวงถึงกรณีเสียชีวิต โรคท่ีเกิดเนื่องจากการทํางานกอสราง หรือการไดรับบาดเจ็บท่ีเกิดข้ึนในระหวางการปฏิบัติงานตามสัญญา

2.2 การปองกันโครงสรางท่ีมีอยู

Page 16

กอสรางบอพกัและทอรอยสายไฟฟาใตดิน

2.2.1 ผูรับจางจะตองรักษาและสงวนสภาพแวดลอม เชน ตนไม พุมไม รั้ว เสา รวมท้ังทรัพยสินอ่ืนๆ และสิ่งกอสรางอ่ืนๆ ยกเวนไดรับคํายินยอมใหเคลื่อนยายไดจากการไฟฟานครหลวง ถาจําเปนตองทําการขุดราก หรือตัดพุมไม จะตองกระทําภายใตการควบคุมของการไฟฟานครหลวง

2.2.2 ผูรับจางจะตองจัดการดําเนินการกอสรางสิ่งคํ้ายันชั่วคราว การปองกันและการบํารุงรักษาท่ีเพียงพอของโครงสรางท้ังใตดินและบนดิน การระบายน้ํา ทอน้ําเสีย ทอน้ํา และสิ่งกีดขวาง อ่ืนๆ ท่ีพบในระหวางการกอสราง และเปนผูออกคาใชจายภายใตการกําหนดของการไฟฟานครหลวง

2.2.3 ถาตนไม พุมไม รั้ว ทางเดิน ขอบทาง รางระบายน้ํา เสา หรือทรัพยสินอ่ืนๆ และโครงสรางท้ังใตดินและบนดินเกิดความเสียหาย เคลื่อนยาย หรือรบกวนโดยผูรับจางทรัพยสินและโครงสรางเหลานั้นจะตองทดแทนหรือซอมแซมโดยคาใชจายของผูรับจาง

2.3 ระดับความดังของเสียง 2.3.1 หามทํางานใดๆ ในสถานท่ีดําเนินการสงเสียงในระดับเกินกวา 85 dB (A) เม่ือวัดท่ีระยะหาง 1

ม. จากผิวอางอิงของการทํางานแนะแนวราบ และภายใตสภาวะแวดลอมท่ีเหมาะสมในขอกําหนดการทดสอบของ ISO3746 "Acoustic determination of sound power levels of noise services-survey methods"

2.3.2 สําหรับรายการหลักของงานกอสราง ผูรับจางจะตองจัดหาใบรับรองจากผูผลิตในการทดสอบระดับความดังของเสียงท่ีเกิดจากการกอสราง หรือใบรับรองการทดสอบสําหรับรายการท่ีคลายคลึงกัน ถารายการตามมาตรฐานท่ีผลิตไมเปนไปตามขอกําหนดขางตนนี้ ผูรับจางจะตองลดระดับความดังของเสียงโดยปรับปรุงหรือจัดหาท่ีเก็บเสียง หรือติดตั้งวัสดุเก็บเสียงในรายการนั้นจนกวาเปนไปตามขอกําหนดขางตน โดยท่ัวไปจะไมยอมรับการใชมานหรือสิ่งคลายคลึงกัน

2.3.3 เครื่องจักร เชน Compressor เครื่องยนตดีเซล เครื่องเปาลม เปนตน ท่ีไมสามารถลดระดับเสียงไดต่ํากวา 85 dB (A) ณ จุดหาง 1 ม. จะตองติดตั้งในหองแยกท่ีทําดวยหรือมีวัสดุเก็บเสียงในพ้ืนท่ีนั้นผูรับจางจะตองติดตั้งเครื่องหมายเตือนท่ีทางเขาเพ่ือระบุถึงการตองสวมเครื่องปองกันเสียง และจะตองจัดหาเครื่องปองกันเสียง 2 ชุดไวในท่ีเก็บท่ีเหมาะสม

2.4 ความปลอดภัย 2.4.1 งานท่ีแลวเสร็จจะตองไมมีลักษณะท่ีเปนอันตรายตอคนงาน ผูคุมงาน ผูเยี่ยมชมหรือบุคคล

อ่ืนๆ ท่ีอยูในบริเวณกอสราง ผูรับจางจะตองจัดเตรียมเครื่องมือปองกันความปลอดภัยทางไฟฟา ฉนวนกันความรอน เครื่องมือลดระดับเสียง เครื่องหมายเตือนตางๆ สีระบุความปลอดภัยและสิ่งท่ีคลายกัน

2.4.2 จะตองจัดหาเครื่องปองกันท่ีเพียงพอในการปองกันอุบัติเหตุตอบุคคลท่ีเกิดจากการสัมผัสชิ้นสวนท่ีหมุนเครื่องจักรท่ีมีอันตราย ระบบพ้ืนผิวท่ีรอน วัสดุท่ีมีกระแสไฟฟาและสวนประกอบทีมีอันตรายอ่ืนๆ เครื่องปองกันจะตองแข็งแรง ม่ันคง และไมเคลื่อนยายระหวางการปฏิบัติการบํารุงรักษาและการตรวจสอบปกติ เครื่องปองกันนั้นอาจจะทําจากขดลวดโลหะ หรือวัสดุท่ีทนตอการกัดกรอน การเปดชิ้นสวนท่ีหมุนจะตองเปนไปตามการทดสอบท่ีระบุไวใน BS5490 : 1977 โดยจะตองไมสัมผัสสวนท่ีกําลังเคลื่อนไหวใดๆ

Page 17

กอสรางบอพกัและทอรอยสายไฟฟาใตดิน

2.4.3 เครื่องปองกัน ถาจําเปนตองตอเขากับเครื่องจายกระแสไฟฟาเพ่ือปองกันการใชเครื่องจักร (ยกเวนเม่ือเครื่องปองกันอยูในตําแหนงท่ีเหมาะสมแลว) จะตองจัดหาเครื่องมือหยุดการทํางานฉุกเฉินไวในตําแหนงท่ีติดกับบริเวณท่ีทําการผลิตตามขอกําหนด

3. การแกไขปญหามลพิษดานฝุนละอองจากการกอสรางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล 3.1 ขอกําหนดท่ัวไป

3.1.1 ขอกําหนดในบทนี้ ใหใชบังคับกับงานกอสรางบอพักและทอรอยสายไฟฟาใตดินวิธี Pipe-jacking Horizontal directional drilling และ Open cut

3.1.2 ผูรับจางจะตองปฏิบัติงานตามเง่ือนไขและขอกําหนดการแกไขปญหามลพิษดานฝุนละอองจากการกอสรางอยางเครงครัด รวมท้ังสวนท่ีเก่ียวของกับสิ่งแวดลอม ความปลอดภัยและสุขภาพในขณะปฏิบัติงาน

3.2 การปองกันมลพิษดานฝุนละอองจากการกอสรางหรือรื้อถอนอาคาร โดยผูรับจางจะตองปฏิบัติตามเง่ือนไข และขอกําหนดดังตอไปนี้ 3.2.1 ในการกอสรางจะตองจัดใหมีรั้วทึบชั่วคราว สูงไมนอยกวา 1-2.5 เมตร ปดก้ันตามแนวเขตท่ี

ติดตอกับท่ีสาธารณะ ถนน หรือท่ีดินตางเจาของหรือผูครอบครอง เพ่ือปองกันไมใหเศษดินเลน กรวด หิน ทราย เล็ดลอดออกมานอกเขตพ้ืนท่ีกอสราง ซ่ึงเม่ือรถวิ่งผานจะทําใหเกิดการฟุงกระจายได

3.2.2 จัดใหมีผาหรือวัสดุท่ีคลายกันก้ันตัวอาคารความสูงเทากับความสูงของอาคารขณะกอสรางหรือรือ้ถอน

3.2.3 จัดใหมีปลองชั่วคราวสําหรับท้ิงของและเศษวัสดุตางๆ จากตัวอาคารสูพ้ืนดิน ซ่ึงกอนจะท้ิงควรฉีดพรมน้ํากอน

3.2.4 ไมยินยอมใหมีการกองวัสดุกอสรางหรือเศษวัสดุจากการรื้อถอนตางๆ ในท่ีสาธารณะ 3.2.5 ทางเขาออกสถานท่ีกอสรางควรปดทึบ เปดเฉพาะเม่ือมีรถเขาออก และพ้ืนผิวทางเขาออกให

ทําดวยวัสดุถาวร เชน ยางแอสฟสท 3.2.6 ใหทําการฉีดพรมน้ําวัสดุกอสรางตางๆ ในสถานท่ีกอสรางเพ่ือมิใหฟุงกระจาย 3.2.7 เก็บกวาดลางทําความสะอาดพ้ืนท่ีโดยรอบท้ังภายในและภายนอกบริเวณสถานท่ีกอสรางทุก

วัน 3.2.8 จัดใหมีทางระบายและท่ีกักเก็บน้ําท้ิงในพ้ืนท่ีกอสรางไมใหรั่วไหลลงบนถนน 3.2.9 ผูรับจางตองดําเนินการตามเง่ือนไขและขอกําหนดดังกลาวขางตน อยางเครงครัด

3.3 การปองกันมลพิษดานฝุนละอองจากการกอสรางถนน โดยผูรับจางจะตองปฏิบัติตามเง่ือนไข และขอกําหนดดังตอไปนี้ 3.3.1 เตรียมการกอสรางทุกอยางใหพรอม เชน กําลังคน เครื่องจักร วัสดุ เครื่องหมาย ปายและ

ไฟสัญญาณ สํานักงานสนาม การประสานงาน ฯลฯ 3.3.2. จัดทําแผนงานกอสราง แผนการจราจร ฯลฯ พรอมติดตาม วิเคราะหประเมินผลการ

ดําเนินงานเปนระยะๆ 3.3.3. ใหทําการฉีดพรมน้ําบนถนนท่ีกอสรางยังไมแลวเสร็จ หรือทางเบี่ยงชั่วคราวท่ีมีผิวเปนดินลูกรัง

หรือหินคลุกดวยน้ําเปนระยะๆ เพ่ือลดการฟุงกระจายของฝุนละออง 3.3.4 เม่ือทุบถนนแลวยังไมมีการขุดจะตองปูแอสพัสทไวกอนจนกวาจะมีการขุดถนน 3.3.5 การขุดถนนและถมกลับ เพ่ือเปดการจราจรจะตองปูยางแอสฟสทชั่วคราว กรณีไมเปด

การจราจรตองพนยางน้ํา

Page 18

กอสรางบอพกัและทอรอยสายไฟฟาใตดิน

3.3.6 ใหปรับผิวถนนดวยวัสดุก่ึงถาวรเปนการชั่วคราว เชน ยางแอสฟสทในขณะท่ียังรอการติดตั้งหรือยายระบบสาธารณูปโภคตางๆ

3.3.7 กรณีรื้อยายทางเทาแลวไมสามารถกอสรางไดภายในวันเดียวจะตองพนยางน้ําสาดทรายทับหนากรวดเพ่ือกันฝุนละออง

3.3.8 จัดใหมีทางระบายน้ําขัง และท่ีกักเก็บน้ําท้ิงในพ้ืนท่ีกอสรางโดยเร็ว 3.3.9 ตองควบคุมดูแลกองวัสดุใหอยูในแนวเขตกอสรางและตองไมใหเกิดปญหาดานการจราจร การ

ระบายน้ํา ฝุนละอองและความเดือดรอนแกประชาชนท่ีสัญจรไปมา 3.3.10 ผูรับจางตองดําเนินการตามเง่ือนไขและขอกําหนดดังกลาวขางตนอยางเครงครัด

3.4 การปองกันมลพิษดานฝุนละอองในการขนสงวัสดุกอสรางตางๆ โดยผูรับจางจะตองปฏิบัติตามเง่ือนไข และขอกําหนดดังตอไปนี้ 3.4.1 การบรรทุกขนสงวัสดุตางๆ ไมวาจะเปน หิน ทราย หรือคอนกรีต ตองจัดใหรถนั้นมีสภาพท่ี

ปองกันมิใหวัสดุตกหลนบนถนนหรือปลิวฟุงกระจาย 3.4.2 ทางเขาออกสถานท่ีกอสรางควรปดทึบ เปดเฉพาะเม่ือมีรถเขาออกและพ้ืนผิวทางเขาออกให

ทําดวยวัสดุถาวร เชน ยางแอสฟสท 3.4.3 ควรลางทําความสะอาดลอรถและสวนอ่ืนท่ีมีเศษวัสดุเกาะติดอยูกอนออกจากสถานท่ีกอสราง

โดยอาจใชน้ําฉีดลางหรือทําเปนบอตื้นๆ เพ่ือใหรถวิ่งผานกอน 3.4.4 ใหทําการฉีพพรมน้ําบนถนนท่ีกอสรางยังไมแลวเสร็จหรือทางเบี่ยงชั่วคราวท่ีมีผิวดินเปนลูกรัง

หรือหินคลุกดวยน้ําเปนระยะๆ เพ่ือลดการฟุงกระจายของฝุนละออง 3.4.5 เก็บกวาดลางทําความสะอาดพ้ืนท่ีโดยรอบ ท้ังภายในและภายนอกบริเวณสถานท่ีกอสรางทุก

วัน 3.4.6 ผูรับจางตองดําเนินการตามเง่ือนไข และขอกําหนดดังกลาวขางตนอยางเครงครัด หากผูรับจางฝาฝนไมปฏิบัติใหเปนไปตามขอ 3.1, 3.2, 3.3 และ 3.4 อันเปนเหตุใหเกิดมลพิษดานฝุนละอองและการไฟฟานครหลวงไดแจงหรือมีหนังสือแจงไปยังผูรับจาง หากผูรับจางไมยอมดําเนินการหรือเพิกเฉย การไฟฟานครหลวงมีสิทธิสั่งใหผูรับจางหยุดทํางานท่ีจางไดทันที และมีสิทธิ์รื้อถอน โยกยายเครื่องมือเครื่องใชหรือวัสดุท่ีใชในการกอสราง หรือกระทําการใดๆ เพ่ือบรรเทาหรือขจัดอุปสรรคตอการแกไขปญหามลพิษดานฝุนละอองบริเวณดังกลาวใหถูกตอง โดยผูรับจางตองเปนผูออกคาใชจายเพ่ือดําเนินการขางตนท้ังสิ้นนอกจากนั้นการไฟฟานครหลวงยังมีสิทธิท่ีจะบอกเลิกสัญญานี้ไดอีกดวย

Page 19

กอสรางบอพกัและทอรอยสายไฟฟาใตดิน

บทท่ี 2 ขอกําหนดงานดานไฟฟา

1. ขอกําหนดทอรอยสายสําหรับการกอสรางทอรอยสายไฟฟาใตดิน

1.1 ขอกําหนดของทอรอยสายสําหรับการกอสรางทอรอยสายไฟฟาใตดินโดยวิธีดันทอ (Pipe-jacking) - ทอรอยสาย (Conduit) เปนชนิด Filament-wound reinforced thermosetting resin

conduit (RTRC) มีขนาดมิติ (Dimension) ตามท่ีระบุไวในมาตรฐาน NEMA TC14-1984 Part B

(1) การตอทอ (Joining) จะตองเปนแบบ Gasket type joints โดยไมใช Compound ซ่ึงเปน Adhesive หรอื Sealant

(2) ขนาดทอ Nominal size 5 นิ้วแบบ Standard wall (Type SW) 1.2 ขอกําหนดของทอรอยสายสําหรับการกอสรางทอรอยสายฟาใตดิน โดยวิธีขุดเปดหุมดวยคอนกรีต

(Open-cut method with concrete encasement)

- ทอรอยสาย (Conduit) การตอทอ (Joining) และขนาดทอตามท่ีระบุไวในขอ 1.1 1.3 ขอกําหนดทอรอยสายสําหรับกอสรางทอรอยสายไฟฟาใตดินโดยวิธี Horizontal directional

drilling 1.3.1 ทอเปนชนิด High density polyethylene pipe (HDPE.) มีคุณสมบัติตามมาตรฐานมอก.

982-2533 และตองมีคา Short-term modulus of elasticity ไมนอยกวา 110,000 psi (ปอนดตอตารางนิ้ว) ตาม ASTM : F 1962-99 กําหนดใหใชงานดังนี้

(1) ใชทอชนิด PN 10 ในบริเวณท่ีมีความลึกจากหลังทอถึงผิวดินหรือผิวถนนไมเกิน 6.00 ม.

(2) ใชทอชนิด PN 12.5 ในบริเวณท่ีมีความลึกจากหลังทอถึงผิวดินหรือผิวถนมากกวา 6.00 ม. แตไมเกิน 11.00 ม.

(3) ในการกอสรางลอดใตคลองใหใชทอชนิด PN 10 ในบริเวณท่ีมีความลึกจากหลังทอถึงผิวน้ําไมเกิน 6.00 ม. และใชทอชนิด PN 12.5 ในบริเวณท่ีมีความลึกจากหลังทอถึงผิวน้ํามากกวา 6.00 ม.แตไมเกิน 11.00 ม.

1.3.2 กําหนดใหทอเปนเสนเดียวตลอดความยาว ยกเวนกรณีตอทอข้ึน Riser (ตอกับ Elbow) และตามขอกําหนดในบทท่ี 3

1.3.3 ขนาดเสนผานศูนยกลางภายนอกทอ (OD) ไมนอยกวา 160 มม. 1.3.4 ผูรับจางสงผลการทดสอบคา Short-term modulus of elasticity ของทอ ซ่ึงทดสอบจาก

สถาบันกลางและนาเชื่อถือมาให กฟน.พิจารณา โดยผลการทดสอบนั้นตองมีอายุไมเกิน 3 ป นับจากวันท่ีสถาบันท่ีเปนกลางลงนามในรายงานผลการทดสอบ ถึงวันท่ีเสนอราคา

1.4 ขอกําหนดอุปกรณประกอบ (Fitting) สําหรับข้ึน Riser (Elbow 90o) 1.4.1 จุดตอทอ Main duct กับ Elbow 90o จะตองออกแบบใหผนงัทอภายในของ Main duct และ

Elbow 90o เรียบเสมอผิวไมเปนตะเข็บหรือชองวางท่ีทําใหการลากสาย Cable สะดุดและเปนอันตรายตอ Jacket ของ Cable และยังตองมีวิธีปองกันน้ําปูนหรือเศษหิน เศษดินเขาท่ีรอยตอทอดวย เชน Gasket O-ring Silicone rubber tape เปนตน

1.4.2 กรณี Main duct เปนทอตามขอ 1.1 และ 1.2

Page 20

กอสรางบอพกัและทอรอยสายไฟฟาใตดิน

(1) ระบบสายปอน 12 & 24 kV ใหใช Elbow 90o ชนิด Filament-wound reinforced thermosetting resin conduit (RTRC.) ขนาด Nominal size 5 นิ้วแบบ Heavy wall (Type HW) มีขนาดมิติตามท่ีระบุไวในมาตรฐาน NEMATC14-1984 Part B จุดตอทอ Main duct กับ Elbow 90o ใหเปนไปตามท่ีระบุไวในขอ 1.4.1

(2) ระบบสายสง 69 & 115 kV ใหใช Elbow 90o ชนิด Filament-wound reinforced thermosetting resin conduit (RTRC.) ขนาด Nominal size 6 นิ้วแบบ Heavy wall (Type HW) มีขนาดมิติตามท่ีระบุไวในมาตรฐาน NEMATC14-1984 Part B จุดตอทอ Main duct กับ Elbow 90o ใหเปนไปตามท่ีระบุไวในขอ 1.4.1

1.4.3 กรณี Main Duct เปนทอชนิด HDPE. ตามขอ 1.3

- ทอ Riser ใหใช Elbow 90o ชนิด High-density polyethylene (HDPE.) มีขนาดเสนผานศูนยกลางภายนอกทอไมนอยกวา 160 มม. ความหนาไมนอยกวา Class PN 10 หรอืมีความหนาเทากับ Main duct เชนเดียวกับขอ 1.3 และมีรัศมีความโคงไมนอยกวา 60 นิ้ว สําหรับสายสง 69-115 kV. และมีรัศมีความโคงไมนอยกวา 48 นิ้ว สําหรับสายปอน 12-24 kV. จุดตอทอ Main duct กับ Elbow 90o ใหเปนไปตามท่ีระบุไวในขอ 1.4.1

2. การสนับสนุนผลิตภัณฑในประเทศ ทอรอยสาย (Conduit) และอุปกรณประกอบ (Fitting) จะตองผลิตในประเทศไทย โดยกระบวนงานข้ึนรูป

ตองกระทําในโรงงานในประเทศ และเง่ือนไขและสิทธิตางๆ เปนไปตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ.2535 และท่ีแกไขเพ่ิมเติมสวนท่ี 2 วาดวยการใชพัสดุท่ีผลิตในประเทศและกิจการของคนไทย 3. การทดสอบ

3.1 ทอรอยสาย (Conduit) และการตอทอ (Joining) ตามขอ 1.1 และ 1.2 จะตองผานการทดสอบคุณสมบัติทอตามท่ีกําหนดไวในภาคผนวก 2-1 นอกจากนี้จะตองมีการทดสอบเลียนแบบการกอสรางใชงานจริง ตามวิธีท่ีการไฟฟานครหลวงกําหนด ซ่ึงจะประกอบดวยวิธีติดตั้งทอ วิธีตอทอ วิธีดัดทอ ฯลฯ เพ่ือใหการไฟฟานครหลวงตรวจสอบและยอมรับวาใชงานไดจริงกอนการกอสรางดวย

3.2 ทอรอยสาย (Conduit) และอุปกรณประกอบ (Fitting) หากเปนชนิด (Type) และรุน (Model) ท่ีการไฟฟานครหลวงยอมรับใหใชสําหรับการกอสรางวิธีตางๆ แลวจะไดรับการยกเวนไมตองทดสอบเลียนแบบการกอสรางใชงานจริงของวิธีนั้นอีก

3.3 ทอรอยสาย (Conduit) และอุปกรณประกอบ (Fitting) หากเปนชนิด (Type) และรุน (Model) ท่ีการไฟฟานครหลวงไมเคยยอมรับมากอน จะตองสงรายงานผลการทดสอบคุณสมบัติทอตามท่ีระบุในมาตรฐานท่ีอางถึง และตองทําการทดสอบเลียนแบบการกอสรางใชงานจริงตามวิธีท่ีจะนําไปใชงานใหการไฟฟานครหลวงตรวจสอบและยอมรับกอน จึงจะนํามาใชงานกอสรางได

3.4 การทดสอบเลียนแบบการกอสรางใชงานจริง 3.4.1 การกอสรางวิธี Open-cut จะทําการทดสอบแบงเปน 2 ลักษณะคือ

(1) กอสราง Duct bank หุมคอนกรีตขนาด 4 ทอ ยาว 50 เมตร ดัดโคงในแนวราบและตอข้ึน Riser

(2) การสราง Duct bank หุมคอนกรีตขนาด 24 ทอ แนวตรง เปนระยะทาง 12 เมตร 3.4.2 การกอสรางวิธี Pipe jacking จะทําการทดสอบโดยทําการกอสรางตามแนวปฏิบัติของการ

ไฟฟานครหลวงคือ

Page 21

กอสรางบอพกัและทอรอยสายไฟฟาใตดิน

(1) ติดตั้งตัวประกับทอ (Spacer) สําหรับยึดทอรอยสายจํานวน 12 ทอ ในทอดันคอนกรีตเสนผานศูนยกลางภายใน 1.0 เมตร ยาว 18 เมตร ยึดตัวประกับทอรอยสายกับทอดันคอนกรีตใหแข็งแรงและติดตั้งทอรอยสาย จํานวน 12 ทอ

(2) อุด Grout ภายในทอดันคอนกรีตในขอ (1) ภายในครั้งเดียวดวย Flowable fill mortar ตามท่ีการไฟฟานครหลวงกําหนด

3.4.3 การทดสอบทอรอยสายไฟฟาใตดินในขอ 3.4.1 และ 3.4.2 จะทําการตรวจสอบทุกทอโดยลาก Mandrel ลกูบอล สายทดสอบ 3-1/C 400 sq.mm. XLPE 12/20 kV และโดยระบบโทรทัศนวงจรปด (CCTV)

3.4.4 ผูเสนอขอทดสอบทอรอยสายจะตองทําการกอสรางตามรายละเอียดท่ีการไฟฟานครหลวงกําหนด และตองรับผิดชอบคาใชจายท้ังหมด รวมถึงการจัดหาสถานท่ีทดสอบ และคาดําเนินการของการไฟฟานครหลวง

3.5 เอกสารประกอบการพิจารณาการเสนอขอใชทอและวิธีการตอทอตองประกอบดวยเอกสารไมนอยกวานี้คือ 3.5.1 คุณสมบัติทอ (Specification) 3.5.2 มาตรฐานการผลิตของทอและการตอทอ 3.5.3 ขอกําหนดการใชงานของทอ (Application) 3.5.4 Test Report ตามรายการในภาคผนวก 2-1 ท่ีไดรับการ Certify จากสถาบันท่ีเปนกลางและ

นาเชื่อถือ โดย Test report จะตองมีอายุไมเกิน 3 ป นับจากวันท่ีสถาบันกลางลงนามถึงวันเสนอราคา เอกสารดังกลาวตองเปนภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ และเปนฉบับสมบูรณท่ี Effective โดยตองไดรับการยอมรับอยางเปนทางการ ท้ังนี้จะตองสงเอกสารใหการฟานครหลวงพิจารณาในวันเสนอราคา หรือสงมาใหครบถวนภายใน 7 วัน นับจากวันท่ีการไฟฟานครหลวงแจง

Material Design ภาคผนวก 2-1

Standard Reference

Type/Class Test report และหัวขอทดสอบ

Filament-Wound Reinforced Thermosetting Resin (RTRC)

NEMA TC14-1984 SW - Heat distortion - Tensile strength - Stiffness - Impact resistance - Dimension - Joint pull-out resistance

4. วิธีการตรวจสอบทอรอยสายไฟฟาใตดิน วัตถุประสงค การตรวจสอบทอรอยสายไฟฟาใตดินตามขอกําหนดในบทนี้ ใหบังคับใชกับงานตรวจสอบทอรอยสายไฟฟา

ใตดินเพ่ือตรวจสอบสภาพทอกอนใชงาน และตรวจรับงานกอสรางหลังจากผูรับจางไดทําการกอสรางแลวเสร็จตามขอบเขตของสัญญา

4.1 การตรวจสอบคุณภาพทอรอยสายไฟฟาท่ีสถานท่ีกอสราง

Page 22

กอสรางบอพกัและทอรอยสายไฟฟาใตดิน

คณะกรรมการตรวจการจาง หรือผูควบคุมงานจะสุมตรวจทอรอยสายไฟฟาท่ีนํามาสง ณ สถานท่ีกอสรางทุกงวด โดยจะตรวจสอบรอยละ 10 ของปริมาณทอท่ีผูรับจางนําสงแตละครั้ง และตรวจสอบอยางนอย 3 ขอดังนี้

(1) ทําการตรวจสอบสภาพท่ัวไปดวยสายตา เชน สี ขนาด แถบแสดงการผลิตอยูในสภาพท่ีดี

(2) วัดขนาด ความหนา เสนผานศูนยกลางของทอ (ID, OD) (3) ใชลูกบอลไมกลึง ขนาดเสนผานศูนยกลางไมนอยกวา 95% ของเสนผานศูนยกลาง

ภายในของทอตามมาตรฐานนั้นใสไปในทอเพ่ือทดสอบความกลมภายในของทอ (ตรวจสอบเฉพาะทอท่ีใชกอสรางตามวิธีในขอ 1.1 และขอ 1.2)

ท้ังนี้ถาผลการทดสอบดังกลาวขอใดขอหนึ่งไมผาน การไฟฟานครหลวงจะถือวาทอท่ีสงมาท้ังหมดไมผานการตรวจสอบ และผูรับจางจะตองสงทอชุดใหมมาแทน

4.2 ขอกําหนดการตรวจสอบทอรอยสายไฟฟาใตดิน เม่ือผูรับจางไดทําการกอสรางเสร็จเรียบรอยในแตละชวงบอหรือข้ึน Riser ผูรับจางจะตองดําเนินการลางทําความสะอาดและทดสอบทอรอยสายฯ ทุกทอ ซ่ึงมีข้ันตอนวิธีการดําเนินการดังนี้ 4.2.1 การลางทําความสะอาดทอรอยสายฯ ใหดําเนินการดังนี้

(1) ใชถุงพลาสติกสี่มุมเปนรมใสเขาไปในทอรอยสาย ตามดวยเชือกไนลอนขนาด Ø 1/8 นิ้ว แลวฉีดน้ําจากเครื่องสูบน้ําเพ่ือดันรมใหโผลอีกดานหนึ่ง

(2) รอยเชือกไนลอนขนาด Ø 1/2 นิ้วหรือโตกวาเขาในทอรอยสายโดยผูกเขากับเชือกไนลอนขนาด Ø 1/8 นิ้ว ตามขอ (1) แลวดึงรอยในทอ

(3) ทําความสะอาดทอรอยสายดวยผากระสอบหรือ Flexible cleaner ซ่ึงมีขนาดตามแบบ 08A4-20-1269 SH.1 Rev.1 โดยผูกเขากับเชือกไนลอน Ø 1/2 นิ้ว ตามขอ (2) ลากผานตลอดแนวทอ พรอมท้ังฉีดน้ําลางทําความสะอาดตามไปดวย กรณีลากไมผานใหทําการตรวจสอบหาสาเหตุและตองทําการแกไขจนสามารถผานได

(4) กรณีไมสามารถดําเนินการตาม (1) ผูรับจางสามารถใช Rod duct (PVC) สอดเพ่ือรอยเชือกก็ได ท้ังนี้ตองอยูในดุลพินิจของการไฟฟานครหลวงกอนดําเนินการ

4.2.2 เม่ือดําเนินการตามขอ 4.2.1 เสร็จแลวใหทําการทดสอบแนวทอรอยสายดวย Mandrel ดังนี้ (1) ทดสอบโดยใช Mandrel ซ่ึงมีขนาดเล็กกวาเสนผานศูนยกลางภายในของทอ 12.0 มม.

ตามแบบเลขท่ี 08A4-1268 SH.1 Rev.4 ลากผานทอรอยสาย โดยผูกเขากับเชือกไนลอน Ø 1/2 นิ้ว ตามขอ 4.2.1 (2) โดยใชแรงดึงไมเกิน 100 Kg. ถาไมสามารถลาก Mandrel ผานไดตลอดหรือแรงดึงสูงเกิน 100 Kg. ผูรับจางจะตองตรวจสอบและแกไขทอรอยสายจนสามารถลาก Mandrel ผานไปได

(2) ทดสอบทอ Elbow 90o ข้ึนเสา Riser Pole ใหใช Mandrel ขนาดเล็กกวาเสนผานศูนยกลางภายในของทอ 12.0 mm. ตามแบบ 08A4-1268 SH.1 Rev.4 ลากทดสอบเฉพาะทอ Elbow ท่ีจุดข้ึนเสา Riser Pole เทานั้น

(3) กรณีทดสอบไมผานตามท่ีกําหนด (1) และ (2) ผูรับจางตองทําการแกไขและซอมแซมทอรอยสายท่ีทดสอบ Mandrel ไมผานตามท่ีกลาวขางตนใหผานตามขอกําหนด และตองทดสอบดวยสาย 3-1/C, 400 SQ.MM. XLPE 12/20 kV ยาว 5.00 ม. ทุกทอท่ีทําการซอมเพ่ือตรวจสอบสภาพผิวเปลือกสาย โดยเปลือกสายท่ีทดสอบตองไมมีรอยถลอก รอยขูด หรือชํารุด ท้ังนี้ การไฟฟานครหลวงขอสงวนสิทธิ์ท่ีจะพิจารณาการ

Page 23

กอสรางบอพกัและทอรอยสายไฟฟาใตดิน

ตรวจสอบสภาพผิวเปลือกสาย ผูรับจางตองยอมรับและปฏิบัติตามเง่ือนไขโดยไมเรียกรองความเสียหายใดๆ ท้ังสิ้น

(4) เม่ือดําเนินการเสร็จและผานการทดสอบแลว ผูรับจางตองทําการอุดปลั๊กทอรอยสายทุกทอทันที โดยใชปลั๊กอุดตามแบบมาตรฐานของการไฟฟานครหลวง และขนาดตองใหเหมาะสมกับทอรอยสายชนิดนั้นๆ พรอมท้ังรอยเชอืกไนลอน Ø 1/8 นิ้ว ไวดวยทุกทอ

4.2.3 การทดสอบทอรอยสายซ่ึงกอสรางโดยวิธี Horizontal directional drilling หากการไฟฟานครหลวงพิจารณาแลวเห็นวาจําเปนตองทําการทดสอบ โดยวิธีอ่ืนเพ่ิมเติมนอกเหนือจากท่ีกําหนดไวแลว การไฟฟานครหลวงขอสงวนสิทธิ์ท่ีจะสั่งการใหผูรับจางดําเนินการ รวมท้ังคาใชจายเปนของผูรับจางท้ังสิ้น เชน การทดสอบแรงดันเพ่ือตรวจสอบรอยรั่วของทอหรือการทดสอบ การเสียรูปของทอ เปนตน

การตรวจสอบทอรอยสายไฟฟาใตดิน หามผูรับจางใชวัสดุ อุปกรณ หรือเครื่องมือท่ีใชสําหรับทดสอบอันจะทําใหทอรอยสายท่ีกอสรางไวเสียหาย หรือชํารุดได ท้ังนี้ วัสดุอุปกรณและเครื่องมือเครื่องใชตองไดรับความเห็นชอบจากการไฟฟานครหลวงกอนดําเนินการ

หมายเหตุ

คาใชจายการตรวจสอบทอรอยสายไฟฟาใตดินนี้ผูรับจางเปนผูรับผิดชอบท้ังสิ้น การดําเนินการในขอ 4.2.2 (3) ผูรับจางตองรีบเขามาดําเนินการแกไขใหแลวเสร็จ พรอมสง

รายงานผลการทดสอบ โดยละเอียดใหการไฟฟานครหลวงพิจารณาภายใน 30 วัน นับจากวันรายงานผลการทดสอบจากผูควบคุมงานของการไฟฟานครหลวง หากไมสามารถดําเนินการใหแลวเสร็จภายในเวลาท่ีกําหนด การไฟฟานครหลวงขอสงวนสิทธิ์ในการพิจารณาเรียกรองคาเสียหายตางๆ ท่ีเกิดข้ึนจากเหตุดังกลาวท้ังหมด

กรณีท่ีทดสอบไมผานและมีความจําเปนทําใหไมสามารถทําการซอมแซมได (สําหรับวิธี Pipe jacking และวิธี Open cut) ผูรับจางตองดําเนินการดังนี้ (1) ใหผูรับจางเสนอการกอสรางแนวอ่ืนหรือกอสรางวิธีอ่ืนทดแทน แลวทําการทดสอบตาม

ขอกําหนดเชนเดียวกัน โดยผูรับจางรับผิดชอบคาใชจายและคากอสรางทดแทนท้ังหมด จะเรียกรองจากการไฟฟานครหลวงมิได

(2) ในกรณีท่ีหากดําเนินการตามขอ (1) แลวจะทําใหเกิดความเสียหายตอโครงสรางอ่ืนสูงมาก หรือกอใหเกิดผลเสียตอภาพลักษณของการไฟฟานครหลวงอยางรุนแรง การไฟฟานครหลวงจะพิจารณาหักลดเงินคากอสรางลงตามสัดสวนของคากอสรางทอรอยสายไฟฟาใตดินตามราคาตอหนวยในใบเสนอราคา คิดเปน

สัดสวนจํานวนทอท่ีทดสอบไมผานเทียบกับจํานวนทอท้ังหมดตลอดแนวการกอสราง โดยยึดถือประโยชนสูงสุดของการไฟฟานครหลวงเปนสําคัญ ท้ังนี้จํานวนทอท่ีทดสอบไมผานตองไมเกิน 10% ของจํานวนทอท่ีกอสรางและตองไมมีผลกระทบตอการใชงานตามแผนงานโครงการของการไฟฟานครหลวงดวย หากการทดสอบทอท่ีไมผานเกิน 10% ของจํานวนทอท้ังหมด การไฟฟานครหลวงจะไมตรวจรับงานของผูรับจาง

Page 24

กอสรางบอพกัและทอรอยสายไฟฟาใตดิน

Page 25

กอสรางบอพกัและทอรอยสายไฟฟาใตดิน

Page 26

กอสรางบอพกัและทอรอยสายไฟฟาใตดิน

บทท่ี 3 ขอกําหนดงานดานโยธา

1. ขอกําหนดท่ัวไป 1.1 ขอกําหนดท่ัวไป

ขอกําหนดท่ัวไปในบทนี้ ใหบงัคับใชสําหรับงานกอสรางบอพักสายไฟฟาใตดิน (Manhole) ทอรอยสายไฟฟาใตดิน (Duct Bank) และงานอ่ืนท่ีเก่ียวของ นอกจากรายการประกอบเฉพาะท่ีระบุเปนอยางอ่ืน

1.2 ขอกําหนดสําหรับงานคอนกรีตและคอนกรีตเสริมเหล็ก 1.2.1 ปูนซีเมนต

- ปูนซีเมนตท่ีใชในงานกอสรางท้ังหมด ถาแบบหรือรายการประกอบแบบเฉพาะไมไดกําหนดวาเปนปูนซีเมนตประเภทใด ใหถือวาเปนปูนซีเมนตปอรตแลนดประเภทหนึ่ง ตามมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม มอก.15 เลม 1 เชน ปูนซีเมนตตราชางของบริษัท ปูนซีเมนตไทย จํากัด ปูนซีเมนตตราพญานาคสีเขียวของบริษัท ชลประทานซีเมนต จํากัด ปูนซีเมนตตราเพชรของบริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จํากัด หรือปูนซีเมนต ของบริษัทอ่ืนๆ ท่ีมีการรับรองตาม มอก.

- ถาจะใชปูนซีเมนตชนิดแข็งตัวเร็วในงานกอสรางของโครงสราง ใหใชปูนซีเมนตปอรต แลนดประเภทสาม ตามมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม มอก.15 เลม 1 เชนปูนซีเมนตตราเอราวัณของบริษัท ปูนซีเมนตไทย จํากัด ปูนซีเมนตตราพญานาคแดงของบริษัท ชลประทานซีเมนต จํากัด ปูนซีเมนตตราสามเพชรของบริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จํากัด เปนตน

- ตองเปนปูนซีเมนตที่บรรจุถุงเรียบรอยหรอืเปนปูนซีเมนตที่เก็บในภาชนะบรรจุของบริษัทผูผลิต

- ปูนซีเมนตบรรจุถุงจะตองเก็บไวในสถานท่ีแหง คลมุปกปดมิดชิดจากฝนและความชื้นหรือในโรงท่ีมีหลังคาคลุม มีฝาก้ันกันฝนไดดี ท่ีเก็บตองยกพ้ืนสูงกวาพ้ืนเดิมอยางนอย 30 ซม.

- หามใชปูนซีเมนตตางประเภทผสมคอนกรีตปนกัน หรือเทติดตอกันในขณะท่ีสวนท่ีเทไวกอนซ่ึงปูนซีเมนตตางประเภทกันยังไมแข็งตัว

1.2.2 ทราย ตองเปนทรายน้ําจืดท่ีหยาบ คม แข็งแกรง และสะอาด ปราศจากวัสดุอ่ืนเจือปน เชน เปลอืกหอย ดินเถาถาน และสารอินทรียตางๆ และตองผานการทดสอบคุณสมบัติดังตอไปนี้ - คาพิกัดความละเอียด (Fineness modulus) ตองไมนอยกวา 2.3 และไมเกิน 3.1 - ขนาดของเม็ดซ่ึงผานตะแกรงเบอร 200 ไมเกิน 4.0% - สารอินทรียตองผานการทดลองโดยใชน้ํายาโซเดียมไฮดรอกไซด - ขนาดของทราย (Grading) ทรายตองมีขนาดตั้งแต 5 มม. ลดหลั่นลงไปจนถึงขนาดรูตะแกรง

เบอร 100 โดยยอมใหมีสวนลอดตะแกรงเบอร 100 ไมเกิน 10% - กอนใชตองรอนผานตะแกรงขนาด 5 มม.

1.2.3 หิน - หินท่ีใชตองแข็งแกรง ทนทาน เหนียว ไมผุ และสะอาด ปราศจากวัสดุอ่ืนเจือปนตองมีรูปราง

เหลี่ยมสวนแบนเรียวนอย ความถวงจําเพาะของหินไมนอยกวา 2.6 - ขนาดของหิน (Grading)

Page 27

กอสรางบอพกัและทอรอยสายไฟฟาใตดิน

• หินเบอร 1 หินท่ีมีขนาดใหญสุด 20 มม. ยอมใหมีสวนคางตะแกรง 20 มม. ไดไมเกิน 2% และมีขนาดเล็กลดหลั่นลงไปจนถึงขนาด 5 มม. และยอมใหมีสวนลอดตะแกรง 5 มม. ไดไมเกิน 5%

• หินเบอร 2 หินท่ีมีขนาดใหญสุด 38 มม. ยอมใหมีสวนคางตะแกรง 38 มม. ไดไมเกิน 2% และมีขนาดเล็กลดหลั่นลงไปจนถึงขนาด 10 มม. และยอมใหมีสวนลอดตะแกรง 10 มม. ไดไมเกิน 5%

• กอนนําไปใชผสมคอนกรตี ตองลางน้ําใหสะอาดปราศจากสิ่งสกปรก 1.2.4 น้ํา

น้ําท่ีใชผสมคอนกรตีตองเปนน้ําจืด ใสสะอาด ใชดื่มได หรือน้ําประปาปราศจากน้ํามัน กรด ดาง เกลือ และสารอินทรียตางๆ ซ่ึงอาจทําใหคุณภาพของคอนกรีตลดลงได

1.2.5 สวนผสมและกําลังคอนกรีต สวนผสมของคอนกรีต ผูรับจางจะตองเปนฝายเสนอและทดลองทําสวนผสมข้ึนถึงสวนผสมที่เหมาะแกคุณภาพของวัสดุเปนคราวๆ ไป การทดลองหาสวนผสมจะตองทําลวงหนากอนใชงานคอนกรีตจริงๆ ในระยะเวลาอันสมควร และจะตองแจงถึงอัตราสวนผสมที่ผานการทดลองและตัดสินใจใชใหผูวาจางทราบกอน อยางไรก็ดีการแจงสวนผสมใหทราบนี้ ไมเปนการทําใหผูรับจางพนภาระความรับผิดชอบในเรื่องคอนกรีตไมไดกําลังตามตองการ คอนกรตีจะตองมีคุณสมบตัิตามตารางขางลางนี้ และหากไมมีกําหนดเปนอยางอ่ืน คอนกรีตท่ีใชในโครงสรางท่ัวไปใหใชชนิด ค1

ชนิดของคอนกรีต จํานวนปูนซีเมนตทีตองใชตอคอนกรีต 1 ม.3 ตองไมนอยกวา

แรงอัดประลัยต่ําสุดของแทงคอนกรีตทรงกระบอกขนาด 15 x 30 ซม. อายุ 28 วัน

ค1 325 กก. 240 กก.ซม.2

การเลือกสวนผสมใหถือหลักดังนี้ ก. ปูนซีเมนตตองมีปริมาณเพียงพอเพ่ือใหไดกําลังตามตองการและความคลองตัวในการเท

(Workability) ข. น้ําใหมีปรมิาณนอยท่ีสุดเพียงเพ่ือใหคอนกรตีมีความขนพอเหมาะ ไมเหลวเกินไป ค. สวนผสมตองสมํ่าเสมอเพ่ือใหไดกําลังท่ีแนนอนโดยตลอด ในกรณีทีจ่ะใชคอนกรีตผสมเสร็จ (Ready mixed concrete) สวนผสมของคอนกรตี

ยอมใหเปลี่ยนแปลงไดบาง ท้ังนี้ข้ึนอยูกับบริษัทผูผลิต แตคาแรงอัดประลัยต่ําสุดของแทงคอนกรตี รูปทรงกระบอกขนาด ∅ 15 x 30 ซม. จะตองมีคาไมนอยกวาท่ีกําหนด กอนท่ีจะนํามาใชจะตองสงรายการคํานวณสวนผสมและผลการทดสอบคาแรงอัดต่ําสุดใหผูวาจางพิจารณาเห็นชอบ

สําหรับคอนกรีตท่ีใชกับโครงสรางสวนเก็บน้ําและดาดฟา ใหผสมน้ํายากันซึมตามปริมาณท่ีบริษัทผูผลิตกําหนดและไดรับการอนุมัติจากผูควบคุมงานดวย

♦ การผสมคอนกรีตดวยโม การผสมคอนกรตีใหผสมดวยเครื่องผสมซ่ึงหมุนไมเร็วกวา 30 รอบ/นาทีเครื่องผสมจะตอง

สะอาดปราศจากคอนกรีตท่ีแข็งตัวแลวอยูในเครื่องผสมเปนอันขาด ผูรับจางจะตองทํากระบะสําหรับตวงหินทรายใหเรียบรอย หรือโดยวิธีชั่ง คอนกรีตเม่ือผสมเสร็จแลวจะตองใชใหหมด

Page 28

กอสรางบอพกัและทอรอยสายไฟฟาใตดิน

ภายใน 30 นาที หรือภายในระยะเวลา Initial setting time หามใชคอนกรีตท่ีผสมไวนานเกินกําหนดนี้เปนอันขาด ยกเวนกรณีท่ีใช Retarding agent ถามีความจําเปนตองผสมดวยมือ จะตองขออนุญาตเปนคราวๆ ไป และตองไดรับความเห็นชอบจากผูควบคุมงานกอน

♦ การเทคอนกรีต - ผูรับจางตองตรวจดูแบบหลอและการวางเหล็กเสริมวาม่ันคง

และถูกตองตามแบบรายละเอียด พรอมท้ังทําความสะอาดใหปราศจากเศษวัสดุท่ีอยูในแบบท่ีจะเทอุดรอยรั่วตางๆ เพ่ือมิใหน้ําปูนหนีออกเสร็จเรียบรอยแลวตองไดรับความเห็นชอบจากผูควบคุมงานของผูวาจางแลว จึงจะทําการเทคอนกรีตได

- การลําเลียงและการเทคอนกรีตจะตองทําดวยความระมัดระวังไมใหเกิดการแยกตัวของคอนกรีต คอนกรีตท่ีผสมแลวตองรีบนําไปเทลงในแบบโดยเร็วและตองระมัดระวงัมิใหเหล็กเสริมเคลื่อนหรือเปลี่ยนไปจากตําแหนงเดิม

- การเทคอนกรีต จะตองใชเครื่องสั่น (Vibrator) ใหคอนกรตีแนนตัว ประสิทธิภาพของเครื่องสั่นจะตองเหมาะสมกับชนดิของงาน

- เม่ือการเทคอนกรีตสวนใดจะเทรวดเดียวจนเสร็จไมไดก็ใหหยุดเทใหตรงตามท่ีระบุไวในขอกําหนดหรือตามท่ีผูควบคุมงานเห็นชอบ

- เม่ือจะเทคอนกรีตตอจากท่ีหยุดไว ใหทําความสะอาดดวยแปรงลวด ราดน้ําใหเปยกแลวใชน้ําผสมซีเมนตในอัตราสวนเทาๆ กัน ราดใหท่ัวหนาท่ีจะเทตอ แลวจึงเทอนกรีตตอไปได

- ในการเทคอนกรีตจะตองทําการทดสอบการยุบตัวของคอนกรีต (Slump test) ทุกครั้งท่ีเปลี่ยนอัตราสวนผสมของน้ํากับปูนซีเมนต หรอืผูควบคุมงานเห็นวาคอนกรีตขนหรือเหลวเกินไป

วิธีทดสอบการยุบตัวของคอนกรีตใหปฏิบัติดังนี้ นําคอนกรีตท่ีจะทดสอบบรรจุลงในแบบเหล็กรูปกรวยกลมตัดปลายสูง 30 ซม. ขนาด

เสนผาศูนยกลางท่ีฐานลาง 20 ซม. เสนผาศูนยกลางท่ีปลายบน 10 ซม. มีมือจับขางนอก 2 ขาง กอนท่ีจะบรรจุคอนกรีตลงในกรวยเพ่ือการทดสอบ ถามีหินหรือกรวดกอนโตกวาขนาด 30 มม. ตองเอาออก

การบรรจุลงในกรวยใหบรรจุเปน 3 ชั้น ของแบบทุกๆ ชั้น กระทุง 25 ครั้ง ดวยแทงเหล็กขนาดเสนผาศูนยกลาง 15 มม. ปลายกลมมน ยาว 32 ซม. เม่ือยกกรวยออกแลวใหวัดระยะการยุบตัวคอนกรีตรูปกรวย และเอาไปเทียบกับสวนสูงของกรวย การยุบตัวของคอนกรีตท่ีใชไดคือ

ประเภทของงาน การยุบตัว (Slump) ซม. สูงสุด ต่ําสุด

ถนนและลาน 7.5 4 บอพักฯ และทอรอยสายไฟฟาใตดิน 12 7.5

- หามเทคอนกรีตในขณะท่ีฝนตก เวนแตจะมีท่ีปองกัน

♦ การบมคอนกรตี เม่ือคอนกรีตเริ่มแข็งตัวแลวตองปองกันมิใหถูกกระทบกระเทือนโดยเฉพาะภายในระยะ เวลา

24 ชม. แรก และจะตองทําการบมคอนกรตีทันทีโดยใชน้ํารดใหเปยกชุมอยูตลอดเวลา

Page 29

กอสรางบอพกัและทอรอยสายไฟฟาใตดิน

และเม่ือถอดแบบหลอดานขางออกแลว ใหใชทรายหรือกระสอบปานชุบน้ําใหชุมคลมุไว และคอยราดน้ําใหทรายหรือกระสอบเปยกชุมอยูตลอดเวลาเปนเวลาติดตอกันไมนอยกวา 7 วนั

การใชสารเคมีบมคอนกรีต สามารถใชแทนวิธีการขางตนได โดยตองทําแทงคอนกรีตตัวอยางทดสอบอีกหนึ่งชุด ทําการทดสอบควบคูไปกับแทงคอนกรีต ตัวอยางท่ีบมโดยวิธีปกติ ผลการทดสอบกําลังอัดประลัยต่ําสดุของแทงคอนกรีตจะตองมีคาไมนอย กวาท่ีกําหนดไวข้ันตน และตองไดรับความเห็นชอบจากผูควบคุมงานกอน

♦ การแตงหนาคอนกรตี เม่ือถอดแบบหลอออกแลว มีรูพรุนหรือผิวดานหนาคอนกรีตขรขุระใหซอมแซมใหเรียบรอย

โดยตองไดรับความเห็นชอบจากผูควบคุมงานกอน ถาหากคอนกรีตมีรูโพรงมากจนอาจเปนอันตราย ตอโครงสราง ผูควบคุมงานจะเปนผูพิจารณาใหรื้อท้ิงแลวทําการหลอใหมซ่ึงผูรับจางจะตองดําเนินการใหโดยไมบิดพริ้ว และการไฟฟานครหลวงจะไมเพ่ิมเงินและเวลาให

♦ ระยะหุมของคอนกรตี ถามิไดแสดงไวในแบบรายละเอียดแลว ใหใชสวนหุมคอนกรีตจากผิวแบบถึงผิวนอกเหล็กเสริมดังตอไปนี้

พ้ืนหรือผนัง 2.5 ซม. ทอรอยสายไฟฟาใตดิน 5 ซม.

สําหรับโครงสรางอ่ืนท่ีมิไดกําหนดไวใหเปนไปตามขอ 3408 ของมาตรฐาน วสท.1007-34

♦ การหลอตวัอยางคอนกรีตและการทดสอบ - เพ่ือเปนการตรวจคุณภาพของคอนกรตีวาจะดีพอหรือไม ผูรับจางตองหลอแทงคอนกรตี

ลงในแบบเหล็กรูปทรงกระบอก (Cylinder) ตามกรรมวิธีมาตรฐาน วสท. ท่ีเตรียมไว มีขนาดเสนผาศูนยกลาง 15 ซม. สูง 30 ซม. ตอหนาผูควบคุมงานซ่ึงจะเปนผูสุมตัวอยางคอนกรีตท่ีกําลังใชงานกอสรางนั้น

- การเก็บตัวอยางคอนกรีตและการทดสอบ ใหเก็บทุกวันท่ีมีการเทคอนกรีตและตองเก็บอยางนอย 3 กอน สําหรับทดสอบกําลังคอนกรีตเม่ืออายุ 28 วัน หากผูรับจางประสงคจะดําเนินการข้ันตอไปใหเร็วข้ึน ผูรับจางสามารถจะเก็บตัวอยางเพ่ิมอีก 3 กอน เพ่ือทดสอบกําลังเม่ือคอนกรีตอายุ 7 วัน

- เม่ือแทงคอนกรีตอายุครบ 24 ชั่วโมง ใหนําแทงคอนกรตีไปบมโดยจัดการใหแทงคอนกรีตชุมน้ําอยูตลอดเวลา และดําเนินการสงไปใหสถาบันของทางราชการทําการทดสอบ และใหสถาบันนั้นสงผลการทดสอบท้ังหมดใหผูวาจางโดยตรง คาใชจายในการนี้ ผูรับจางจะตองเปนผูออกเองท้ังสิน้

- การพิจารณาผลการทดสอบ คอนกรีตท่ีหลอแลวจะยอมรับไดตอเม่ือผลการทดสอบแทงคอนกรีตทดลองมาตรฐานท่ีเก็บมาท้ังสามกอนเม่ืออายุครบ 28 วันนั้นตรงตามความตองการขอใดขอหนึ่งดังตอไปนี้ ♦ กําลังอัดประลัยของแทงคอนกรตีแตละแทงจะตองไมต่ํากวาเกณฑท่ีกําหนด ไวใน

ตารางขอ 1.2.5 ♦ กําลังอัดประลัยของแทงคอนกรตีแตละแทงท่ีไดจากการทดลอง อนโุลมใหต่ํากว

าเกณฑท่ีกําหนดไวในตารางขอ 1.2.5 ไมเกิน 10% แตเม่ือเฉลี่ยจากตัวอยางท้ัง 3 แทงจะตองไดกําลังอัดประลัยสูงกวาเกณฑท่ีกําหนดไวไมนอยกวา 5%

Page 30

กอสรางบอพกัและทอรอยสายไฟฟาใตดิน

ในกรณีทีมีการทดสอบคากําลังอัดประลัยของแทงคอนกรีตเม่ืออายุ 7 วันคากําลังอัดประลัยของแตละกอนจะตองไมนอยกวา 70% ของคาท่ีกําหนดเม่ืออายุครบ 28 วัน อยางไรก็ตาม การพิจารณาตัดสินกําลังอัดประลัยข้ันสุดทายถือเม่ือกอนคอนกรีตอายุครบ 28 วันเปนเกณฑ หากปรากฏวา คากําลังอัดประลัยของผลการทดสอบดังท่ีไดกลาวมาแลวไมเปนไปตามท่ีไดกําหนดไว ผูรับจางตองสกัด หรือรื้อสวนท่ีเทคอนกรีตไปแลวนั้นออกเสีย แลวจัดการหลอใหมโดยใชคอนกรีตซ่ึงมีคุณภาพไดกําลังอัดประลัยไมต่ํากวาท่ีกําหนดไวในขอ 1.2.5 หรือผูควบคุมงานโดยความเห็นชอบของผูออกแบบของการไฟฟานครหลวง อาจจะใหทําการทดสอบกําลังอัดประลัยของคอนกรีตจากโครงสรางท่ีเทแลว โดยทําการเจาะคอนกรีตจากโครงสรางนั้นๆ แลวนํามาหากําลังอัดอีกครั้งหนึ่ง ผลการทดสอบกําลังอัดท่ีไดจากการเจาะแตละตัวอยางจะตองไมต่ํากวา 85% ของกําลังอัดประลัยท่ีกําหนดไว หรือโดยวิธีการทดสอบโดยใช Rebound hammer ผลการทดสอบใหเปนไปตามความเห็นชอบของผูควบคุมงานของการไฟฟานครหลวง ในกรณีท่ีผลการทดสอบในครั้งนี้ไมไดตามเกณฑดังกลาวแลว ผูรับจางสัญญาวายอมรื้อสวนท่ีเทคอนกรีตไปแลวนั้นออกเสียทันที แลวจัดการหลอใหมหรือดําเนินการอยางใดอยางหนึ่งตามท่ีการไฟฟานครหลวงเห็นสมควร โดยไมคิดคาจางเพ่ิมเติมแตอยางใด การจัดหาเครื่องมือสําหรับเจาะทดสอบรวมท้ังคาใชจายตางๆ อันจะพึงมี ผูรับจางจะตองรับผิดชอบท้ังสิ้น

1.2.6 แบบหลอ - แบบหลอตองทําจากวัสดุท่ีแข็งแรง ไมผุ ไมคดงอ อาทิ เชน เหล็ก ไม ฯลฯ แบบหลอตองเขา

แบบใหสนิทเพ่ือกันน้ําปูนรั่ว และผิวดานในของแบบท่ีถูกกับคอนกรตีตองเรียบ และตองลางใหสะอาดกอนลงมือเทคอนกรีตเสมอ

- แบบหลอและนั่งรานรองรับคอนกรีตเหลว จะตองม่ันคงแข็งแรงพอ รับน้ําหนกัและแรงสัน่สะเทือนเม่ือใชเครื่องเขยาคอนกรตีไดโดยไมทรุดตัวหรือแอนตัวจนเสียระดับหรือแนว หลังจากเทคอนกรีตแลวหากเกิดการเสียระดับหรือแนว หรือผิดขนาดจนเห็นวาจะเกิดผลเสียหาย ผูรับจางจะตองทุบทําลายชิ้นสวนนั้นท้ังชิ้นแลวหลอใหมใหถูกตอง โดยจะคิดมูลคาเพ่ิมเติมอยางใดอยางหนึ่งจากผูวาจางไมได ท้ังนี้มิไดทําใหผูรับจางพนความรับผิดชอบตอผลเสียหายใด ๆ ท่ีอาจจะเกิดจากการทุบทําลายชิ้นสวนนั้นๆ

- แบบหลอจะถอดออกไมไดจนกวาจะไดกําหนดเวลาการถอดแบบ ตองไมใหคอนกรตีไดรับความกระเทือน และใหถือกําหนดเวลาการถอดแบบดังตอไปนี้

♦ แบบขางเสา แบบขางคาน ขางกําแพง และฐานราก 2 วัน ♦ แบบลางรองรับพ้ืนและคาน 14 วัน ♦ เม่ือถอดแบบลางแลวใหคํ้าตามจุดตางๆ ท่ีเหมาะสมไวอีก 14 วัน

ท้ังนี้ใหยกเวนในกรณีที่ใชปูนซีเมนตปอรตแลนดชนิดแข็งตัวเร็ว (ประเภท 3 ตามมอก.15 เลม 1) หรือคอนกรีตซ่ึงผสม Accelerator ใหถอดแบบไดท้ังหมดเม่ือคอนกรีตมีอายุครบ 7 วัน

♦ ถาจําเปนตองเปลี่ยนแปลงเวลาในการถอดแบบตามขอ 1.2.6 ใหอยูในดุลพินิจของผูควบคุมงานของการไฟฟานครหลวงรวมกับผูออกแบบ

♦ แบบหลอท่ีรื้อออกแลว กอนท่ีจะนํามาใชใหมจะตองทําความสะอาดและตกแตงใหเรียบรอยเสียกอนจึงจะนําไปใชไดอีก

Page 31

กอสรางบอพกัและทอรอยสายไฟฟาใตดิน

1.3 ขอกําหนดสําหรับงานเหล็กเสริมคอนกรีต 1.3.1 เหล็กเสนเสริมคอนกรีต

ตองเปนเหล็กเสนใหมท่ีไมเคยใชงานมากอน ตองมีผิวสะอาดไมมีสนิมขุม ไมเปอนน้ํามัน ไมมีรอยแตกราว และตองมีคุณภาพตามมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม หรือเปนชนิดท่ีสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ อุตสาหกรรมรับรองดังนี้ - เหล็กเสนกลม (Plain round bar) ตองมีคุณสมบัติตามท่ีระบุไวใน มอก.20/2527 - เหล็กขอออย (Deformed bar) ตองมีคุณสมบัติตามท่ีระบุไวใน มอก.24/2536 หากไมมีการ

กําหนดชั้นคุณภาพของเหล็กขอออยไวในแบบกอสราง ใหใชชั้นคุณภาพไมต่ํากวา SD 30 ตาม มอก.24/2536 ถาใชเหล็กท่ีมาตรฐานสูงกวาทดแทน ใหยึดถือตามมาตรฐานมอก. ชั้นนั้นๆ

1.3.2 การเก็บรักษาเหล็กเสริม บริเวณท่ีเก็บเหล็กเสริมตองยกพ้ืนใหพนดินอยางนอย 20 ซม. และตองมีหลงัคาปองกันน้ําคาง น้ําฝน ใหเก็บรักษาเหล็กเสริมใหพนสิ่งสกปรก เชน ดิน สี น้ํามัน ฯลฯ

1.3.3 การดัดเหล็กเสริม - หามดัดเหล็กเสริมโดยวิธีเผาใหรอน - การดัดเหล็กเสริม ถาไมระบุไวในแบบรายละเอียด ใหเปนไปตามผนวก ก. - วิธีการตัดดวยความรอน ไฟฟา-แกส (การตัดใหเผื่อจากรอยท่ีจะตัดออกไป 5 ซม.)

1.3.4 การตอเหล็กเสริม - เหล็กเสริมของคาน-พ้ืน นอกจากท่ีเปนคานยื่น หรือพ้ืนยื่น หรือท่ีระบุไวในแบบรายละเอียด

จะตองตอในตําแหนงดงัตอไปนี้ - เหล็กลางของคาน-พ้ืน ใหตอท่ีระยะไมเกิน 1/3 ของชวงคานจากหนาเสา - เหลก็บนของคาน-พ้ืน ใหตอท่ีระยะไมเกิน 1/3 ของชวงกลางคาน-พ้ืน สําหรับเหล็กเสาใหตอ

ตรงจุดหลังพ้ืน และใหเปนไปตามผนวก ก. - รอยตอของเหล็กเสริมแตละเสนท่ีอยูขางเคียง ตองไมอยูในแนวเดียวกันเกิน 50% ของ

ปริมาณเหล็กเสริมท้ังหมด รอยตอทุกรอยตองไดรับการตรวจสอบและเห็นชอบจากผูควบคุมงานกอนเสมอ

- การตอเหล็กเสริมอาจทําไดหลายวิธีคือ ♦ การตอโดยวิธีการวางทาบเหลื่อมกัน สําหรับเหล็กเสนกลมใหวางทาบโดยใหเหลื่อม

กัน มีระยะยาวไมนอยกวา 48 เทาของเสนผาศูนยกลางของเหล็กเสนนั้นและปลายของเหล็กท่ีตอจะตองดัดงอขอตามผนวก ก. ขอ 1. สวนขอออยใหวางทาบกันมีระยะไมนอยกวา 36 เทาของเสนผาศูนยกลางของเหล็กขอออยนั้น โดยมิตองงอขอ

♦ การตอโดยวิธีการเชื่อมดวยไฟฟา การตอเหล็กเสริมดวยวิธีเชื่อมดวยไฟฟา ใหเชื่อมดวยวิธชีนปลายตอปลาย ตามผนวก ข. และจะตองเปนไปตามมาตรฐานของการเชื่อม เสร็จแลวรอยตอจะตองรบัแรงเคนดึง (Tensile stress) ไดไมนอยกวา 1.25 เทาของแรงเคนดึงของเหล็กเสนตามท่ีไดกําหนดไวในขอ 1.3.1 และผูรับจางจะตองสงตัวอยางรอยเชื่อมและผลการทดสอบแรงเคนดึงของรอยเชื่อมจากหนวยงานท่ีเชื่อถือไดตอผูวาจางรอยเชื่อมใดๆ ท่ีเปนท่ีสงสัย ผูวาจางอาจสั่งใหทําการแกไขใหมได

♦ การตอโดยวิธีอ่ืน

Page 32

กอสรางบอพกัและทอรอยสายไฟฟาใตดิน

การตอเหล็กเสริมดวยวิธีอ่ืน นอกจากการวางเหลื่อมกันและการเชื่อมดวยไฟฟา จะตองไดรับความเห็นชอบจากผูออกแบบ โดยผูรับจางตองเสนอวิธีการ และรายงานผลการทดลองอยางละเอียดมาเพ่ือใหผูออกแบบพิจารณา

1.4 ขอกําหนดสําหรับการควบคุมคุณภาพ มาตรฐานการควบคุมคุณภาพ หมายถึง การควบคุมท้ังในสถานท่ีกอสรางและในหองปฏิบัติการทดลองเพ่ือควบคุมการใชวัสดุกอสรางใหมีคุณสมบตัทิางวศิวกรรมเปนไปตามท่ีกําหนดไว และเพ่ือควบคุมคุณภาพของงานกอสรางอันหมายรวมถึงฝมือชาง รูปลักษณะสิ่งกอสราง ความม่ันคงแข็งแรง และวิธีการทํางานใหเปนไปอยางถูกตองแลวเสร็จตามหลักวิชาการ แบบ และสัญญา 1.4.1 การทดสอบคุณสมบัติของวัสดุตามมาตรฐานนี้ เปนหนาท่ีของผูรับจางจะตองจัดเตรียม และนําส

งเพ่ือการตรวจสอบคุณภาพของวัสดุ โดยนําสงใหสถาบันของทางราชการทําการทดสอบและใหสถาบันนั้นสงผลการทดสอบท้ังหมดใหการไฟฟานครหลวงทราบโดยตรง คาใชจายในการนี้ท้ังสิ้น ผูรับจางเปนผูออก

1.4.2 วัสดุกอสรางทุกชนดิ ท้ังวัสดุธรรมชาติ และผลิตภัณฑอ่ืนๆ จะตองมีคุณสมบัติตามท่ีกําหนดไว หามนําวัสดุท่ียังไมไดผานการทดสอบ วามีคุณภาพใชได ไปใชในงานกอสรางเปนอันขาดกอนท่ีผูรับจางจะลงมือทําการกอสรางจะตองสงตัวอยางวัสดุตางๆ เพ่ือทําการทดสอบเสียกอน ผลการทดสอบจะตองไดเกณฑตามท่ีกําหนดไว จึงจะถือวาวัสดุนั้นๆ มีคุณสมบัติใชได

1.4.3 การเก็บตัวอยางเพ่ือสงทดสอบ ใหวิศวกรผูควบคุมงานของผูวาจางเปนผูสุมชี้เพ่ือเก็บตัวอยางตอหนาผูแทนของผูรับจาง และหนาท่ีในการเก็บตัวอยางเปนของผูรับจาง

1.4.4 การนําสงวัสดุเพ่ือทดสอบ ใหผูควบคุมงานเปนผูสงวัสดุตางๆ โดยผูรับจางจะตองเปนภาระในการจัดหายานพาหนะนําสงถึงสถานท่ีทําการทดสอบ ปริมาณกําหนดการสงวัสดุเพ่ือสงทดสอบใหเปนตามรายการขางลางนี้ แตการสุมตัวอยางเพ่ือทดสอบอาจจะทํามากกวานี้ก็ได ถาผูออกแบบหรือผูควบคุมงานเห็นสมควร

วัสดุ ปริมาณ กําหนดการจัดเตรียมและนําสง การบรรจ ุหิน 40 ลิตร กอนใชงานและทุกครัง้ท่ีสัง่มาใช

งานทุกประเภท ถุงหรือลังไมหรือลังโลหะ

ทราย 40 ลิตร เชนเดียวกับหิน เชนเดียวกับหิน คอนกรีต 3 กอน ตามขอ 1.2.5

มาตรฐานงานคอนกรีต และคอนกรีตเสริมเหล็ก

ทุกวันท่ีเทคอนกรีตโครงสราง ถังไมหรือถังโลหะ มีทรายซ่ึงหุมคอนกรีตโดยรอบ

เหล็กเสริมคอนกรีต

ขนาดละ 3 ทอน ยาวทอนละ 0.90 ม.

กอนใชงานแตละครั้งท่ีสั่งมาใชทุกๆ ขนาด

ผูกขนาดละมัดๆ ละ 3 ทอน

1.4.5 การทดสอบชั้นทรายถมท่ี ลูกรัง และชั้นหินคลุก - ชั้นทรายถมท่ีตองทําการทดสอบความแนนในการบดอัดอยางนอย 1 จุด ตอพ้ืนท่ี 400 ตรม.

และทุกเศษของ 400 ตรม. ของแตละชั้น จํานวนจุดท่ีตองทําการทดสอบอาจจะมากกวานี้ก็ได ถาผูควบคุมงานเห็นสมควร

- ชั้นลูกรัง ผูรับจางตองทําการทดสอบความแนนในการบดอัดอยางนอย 1 จุด ตอพ้ืนท่ี 200 ตรม. และทุกเศษของ 200 ตรม. ของแตละชั้น จํานวนจุดท่ีตองทําการทดสอบอาจจะมากกวานี้ก็ได ถาผูควบคุมงานเหน็สมควร

Page 33

กอสรางบอพกัและทอรอยสายไฟฟาใตดิน

- ชั้นหินคลุก จํานวนจุดท่ีผูรับจางตองทําการทดสอบเชนเดียวกับชั้นลูกรัง 1.4.6 การสุมทดสอบทอรอยสายไฟฟา

- กอนการตรวจสอบรับงานงวดสุดทายและภายในชวงระยะเวลาของการรับประกันความชํารุดบกพรองของงานจาง ผูรับจางตองทําการสุมทดสอบทอรอยสายไฟฟาโดยใหดําเนินการตามรายละเอียดท่ีการไฟฟานครหลวงเปนผูกําหนด โดยผูรับจางเปนผูรับผิดชอบคาใชจายและเวลาท้ังหมด

- รายละเอียดการทดสอบทอรอยสายฯ มีดังนี้ ♦ จํานวนทอรอยสายฯ ท่ีตองทําการทดสอบอยางนอย 6 ทอ ♦ ตําแหนงทอรอยสายฯ ท่ีตองทําการทดสอบ ใหทําการทดสอบแถวบน 2 ทอ แถว

กลาง 2 ทอ และแถวลาง 2 ทอ หรือตามท่ีการไฟฟานครหลวงเห็นสมควร ♦ การทดสอบดังกลาวจะตองทดสอบตลอดแนวจากบอพักฯ ถึงบอพักฯ

1.5 งานซอม การซอมถนน ทางเทา คันหิน และอ่ืนๆ ใหผูรับจางซอมตามแบบมาตรฐานของหนวยงานท่ีเปนผูรับผิดชอบในเสนทางหรือถนนนั้นๆ ในกรณีที่มิไดกําหนดเปนอยางอ่ืนใหดําเนินการจัดซอมเปนไปตามหลักและวิธีประสานงานเก่ียวกับการขุด และจัดซอมถนนของหนวยงานสาธารณูปโภค ในเขตกรุงเทพมหานคร เวลาและคาใชจายท่ีเกิดข้ึนอยูในความรับผิดชอบของผูรับจาง

1.6 ขอกําหนดสําหรับการกอสรางทางเชื่อมถนนสาธารณะ ผูรับจางเปนผูวางแผนและดําเนินการกอสรางทางเชื่อมพรอมประสานงานกับหนวยงานท่ีดูแลรับผิด ชอบสถานท่ีนั้นๆ โดยท่ีคาธรรมเนียมในการขออนุญาต คารื้อยายสาธารณูปโภคตางๆ และเวลาท่ีเกิดข้ึนเปนภาระของผูรับจาง

1.7 เวลาในการกอสราง 1.7.1 งานกอสรางท่ีไมอยูในทางจราจรหรืออยูในทางท่ีปดก้ันการจราจร ซ่ึงการทํางานจะไมทําให

การจราจรติดขัด ใหปฏิบัติงานไดตลอด 24 ชั่วโมง 1.7.2 งานกอสรางท่ีอยูในทางจราจรและจะทําใหการจราจรติดขัด ใหปฏิบัติงานไดเฉพาะชวงเวลา

22.00 น. ถึง 05.00 น. ของวันรุงข้ึน หรือ ใหปฏิบัติงานไดเฉพาะชวงเวลาท่ีไดรับอนุมัติจากหนวยงานตางๆ ท่ีรับผิดชอบในการอนุมัติใบอนุญาตในการกอสรางและการเขาพ้ืนท่ี และหลังจากพนเวลาท่ีกําหนดแลวใหปรับผิวการจราจรใหเสร็จเรียบรอย และสามารถใชในการ จราจรไดดี โดยใชฝาปดหลุมบอพักตามแบบมาตรฐานของการไฟฟานครหลวง หรือรูปแบบอ่ืนท่ีเหมาะสมมีความแข็งแรงซ่ึงผูรับจางตองเสนอรปูแบบพรอมรายการคํานวณใหการไฟฟานครหลวงพิจารณาอนุมัติกอนดําเนินการ

1.7.3 งานกอสรางท่ีสามารถปฏิบัติไดใตฝาปดมาตรฐานและจะไมกีดขวางการจราจรแลว ก็ใหปฏิบัติไดตลอดเวลา

1.8 รายละเอียดการปองกัน Sheet pile ท่ีใชกันดิน ตองเปน Sheet pile เหล็กท่ีสภาพแข็งแรงใชงานได และตองตอกชดิกันพรอมคํ้ายันใหแนนหนา ไมใหเกิดความเสียหายตองานกอสรางและสิ่งอ่ืนๆ โดยท่ี Sheet pileท่ีใชตองมีความหนาไมนอยกวา 9 มม. ความยาวของ Sheet pile สวนท่ีอยูใตกนรอง ตองไมนอยกวา 3/4 เทา ของความลกึของรองท่ีขุด และผูรับจางตองเสนอรายการคํานวณลักษณะรายละเอียดพรอมวิธกีารของ Sheet pile section การตอก Sheet pile การขุดดิน การคํ้ายัน การกลบรอง การถอน Sheet pile มาเพ่ือรับการ Approve จากผูควบคุมงานของการไฟฟานครหลวงกอนจึงจะเริ่มดําเนินการได

Page 34

กอสรางบอพกัและทอรอยสายไฟฟาใตดิน

2. ขอกําหนดการกอสรางบอพักและทอรอยสายไฟฟาใตดิน โดยวิธีขุดเปด (Open Cut) 2.1 ขอกําหนดท่ัวไป

2.1.1 กอนทําการขุดแนวรองทอหรอืหลมุบอพักสายไฟฟาใตดิน ผูรับจางตองแจงตอผูควบคุมงานลวงหนากอนในเวลาไมนอยกวา 5 วันทําการ

2.1.2 การจมบอพักฯ (MH.) จะตองจมใหแลวเสร็จ และปดดวยฝาปดมาตรฐานใหรถวิ่งไดภายในเวลา 05.00 น. ของวันรุงข้ึนของคืนท่ีเริ่มจมบอพักฯ หากไมสามารถจมไดภายในเวลากําหนดจะตองทําเปน Slice manhole และจมแตละทอน พรอมปดดวยฝาปดมาตรฐานใหรถวิ่งไดภายในเวลาดังกลาวซ่ึงรอยตอระหวางทอนจะตองกันน้ําได

2.1.3 การปองกันน้ําซึมผานหรือไหลเขามาในบอพักฯ - ใหผูรับจางออกแบบรอยตอระหวาง Manhole element ใหปองกันไมใหน้ําซึมผาน โดยใหผู

รับจางเสนอ Shop drawing และวัสดุท่ีใชจะเปน Sealant มาใหการไฟฟานครหลวงพิจารณาอนุมัติกอนดําเนินการ และหากยังมีน้ําไหลซึมเขามาในบอพักฯ อีกผูรับจางตองรับผิดชอบและดําเนินการแกไขโดยไมมีการเพ่ิมคากอสรางและเวลา

- ใหผูรับจางออกแบบสวนผสมคอนกรีต (Mixed design) โดยเฉพาะ Water/Cement ratio ท่ีเหมาะสมพรอมแนบ Standard อางอิงเพ่ือประกอบการพิจารณา และหากยังมีน้ําไหลซึมเขามาในบอพักฯ อีก ผูรับจางตองรับผิดชอบและดําเนินการแกไขโดยไมมีการเพ่ิมคากอสรางและเวลา

2.1.4 ระหวางการกอสราง ผูรับจางตองจดัใหมีและติดตั้งเครื่องหมายสัญญาณตางๆ ใหเห็นเดนชัด ไดท้ังกลางวันและกลางคืน โดยตองปฏิบัติตามรายละเอียดการติดตั้งเครื่องหมายและสัญญาณ สําหรับงานจัดสรางซอมถนนและงานสาธารณูปโภคของหนวยงานราชการและรัฐวิสาหกิจของสํานักปองกันอุบัติภัยและ/หรือจัดทําตามคําแนะนําของเจาพนักงานจราจรท้ังนี้ ผูรับจางตองจัดเจาหนาท่ีคอยดูแลรักษาใหอยูในสภาพพรอมท่ีจะใชงานไดตลอดเวลาและใหอยูในตําแหนงแนวท่ีกําหนดไวอยางครบถวน ในกรณีดงักลาวขางตนในขอ 2.1.3 ถาผูรับจางฝาฝนไมปฏิบัติใหถูกตองครบถวนตามท่ีระบุไวไมวาจะเนื่องมาจากเหตุใดก็ตาม ผูวาจางสงวนสิทธิ์ทีจะตองดําเนินการปรับเปนรายวันๆ ละ 3,000 บาท (สามพันบาทถวน) โดยหักจากเงินงวดนั้นๆ นับตั้งแตวันท่ีผูควบคุมงานของการไฟฟานครหลวงไดแจงใหผูรับจางไดทราบเปนลายลกัษณอักษรจนถึงวันกอนท่ีผูรับจางไดดําเนินการใหถูกตองเรียบรอย

2.1.5 ถามีตนไมซ่ึงจําเปนตองตัดเพ่ือใหงานดําเนินไปดวยความเรียบรอย ผูรับจางตองขออนุมัติจากการไฟฟานครหลวงกอน เม่ือไดรับอนุมัติแลวจึงจะดําเนินการได และหากเกิดความเสียหายข้ึนกับตนไมตนใดเนื่องจากงานกอสรางรายนี้ ผูรับจางตองรับผิดชอบท้ังสิ้น ท้ังนี้หากมิไดระบุไวเปนอยางอ่ืน

2.1.6 หากมีสิ่งกอสราง ของเดิมสวนใดสวนหนึ่งเกิดการทรุด ชํารุดเสียหาย อันเนื่องมาจากการกอสรางรายนี้ ผูรับจางตองชดใชหรือดําเนินการซอมแซมใหอยูในสภาพเดิมทุกประการ

2.1.7 การกอสรางบริเวณทางแยก ทางเขาออก ทางท่ีมีการจราจรคับค่ัง หรอืกอสรางขามถนนผูรับจางตองจดัใหการจราจรผานไปมาไดสะดวก โดยการปูแผนเหล็กใหแข็งแรงตามแบบมาตรฐานของการไฟฟานครหลวง

2.1.8 ในกรณีฉุกเฉินและเจาหนาท่ีตํารวจหรือหนวยงานราชการใดๆ สัง่ใหหยุดงานกอสรางชั่วระยะ วลาหนึ่ง ผูรับจางตองปฏิบัติตามอยางเครงครดั

Page 35

กอสรางบอพกัและทอรอยสายไฟฟาใตดิน

2.1.9 สรางหรือจัดหาสํานักงานสนาม 1 แหง และตองอยูบรเิวณใกลเคียงท่ีจะกอสรางมีขนาดพ้ืนท่ีไมนอยกวา 25 ตารางเมตร เหมาะสมกับการปฏิบัติงานของเจาหนาท่ีการไฟฟานครหลวงไดมีโทรศัพทสายตรง 1 เลขหมาย โทรสาร 1 เครื่อง หองน้ํา หองสวม และครภุัณฑท่ีจําเปนและตองจดัสรางหรือจัดหาใหกอนลงมือกอสราง

2.1.10 ผูรับจางตองจัดหาเครื่องมือ เครื่องใช วัสดุอุปกรณ และชางฝมือท่ีมีประสิทธิภาพท่ีใชในการกอสรางไวใหพรอมและเพียงพอ พรอมท่ีจะปฏิบัติงานไดทันที

2.1.11 ผูรับจางตองแตงตั้งตัวแทนผูมีอํานาจแทนผูรับจาง และตองมีวิศวกรโยธาตามท่ีแตงตัง้และไดรับความเห็นชอบประจําสถานท่ีกอสรางอยางนอยภาคีวิศวกร 1 นาย/วัน ตลอดเวลาการกอสราง

2.2 การดําเนินการกอสราง 2.2.1 การวางผัง กําหนดแนวกอสราง การทําระดับ และการสํารวจท่ัวไป รวมถึงขนาดและทิศทาง

ของสิ่งกอสรางท้ังหมด เปนหนาท่ีของผูรับจางตองจัดทําเองท้ังสิ้นใหถูกตองตามแบบแปลนพรอมท้ังสํารวจอุปสรรคท่ีเห็นไดเสนอมาใหการไฟฟานครหลวงเห็นชอบกอนภายใน 15 วันและตองไดรับการตรวจสอบกอนจึงจะดําเนินการตอไปได การไฟฟานครหลวงมีสิทธิยายหรือเปลี่ยนแปลงผังหรือแนวกอสรางเปนอยางอ่ืนได ท้ังนี้เพ่ือใหงานกอสรางดําเนินไปไดดวยดี

2.2.2 การขุดทําลายถนนท่ีเปนคอนกรีตหรือแอสฟลทและ/หรือทางเทา เพ่ือดําเนินการกอสรางนั้น ผูรับจางตองใชเครื่องมือกลท่ีเหมาะสมเทานั้น โดยขุดและทําลายกวางออกไปไดอีกขางละ 30 ซม. โดยนับจากขอบนอกของสิ่งกอสรางนั้น

2.2.3 กอนการขุดดินเพ่ือการใดๆ ซ่ึงอาจทําใหถนนทางเทาและ/หรือสิ่งกอสรางเดิมในบรเิวณใกลเคียงทรุด ผูรับจางตองจัดทํากําแพงกันดินชั่วคราวโดยการตอก Sheet pile ตามรายละเอียดการปองกันดินพัง การขนดินท่ีขุดข้ึนมาเปนหนาท่ีของผูรับจาง และหามมิใหกองรุกล้ําผิวจราจร หรอืในกรณีไมมีที่กองผูรับจางตองรีบจัดการขนยายออกไปทันที หากมิไดกําหนดไวเปนอยางอ่ืน หามมิใหขุดทําลายถนน และ/หรอืทางเทาท้ิงคางไวโดยมิไดดําเนินการอยางหนึ่งอยางใด

2.2.4 เม่ือขุดดินไดขนาดและระดับท่ีกําหนดแลว หากมีเลนใหโกยเลนออกถึงระดับดินแข็ง แลวใสทรายกระทุงแนนหนาอยางนอย 10 ซม. จากนั้นจึงเทคอนกรีตหยาบหนาอยางนอย 5 ซม. (เวนแตในแบบจะระบุไวเปนอยางอ่ืน) เม่ือคอนกรีตหยาบแข็งตัวแลว จึงจะดําเนินการกอสรางสวนอ่ืนตอไปได

2.2.5 กอนการเทคอนกรีตหุมทอรอยสายไฟฟาใตดิน ตองไดรับการตรวจสอบและเห็นชอบจากผูควบคุมงานของการไฟฟานครหลวงเสียกอน จึงจะดําเนินการได

2.2.6 กอนจะกลบรองทอในแตละชวงของการกอสราง ผูรับจางตองทําการตรวจสอบทอตามวิธีการตรวจสอบทอรอยสายไฟฟาใตดินเพ่ือมิใหมีการอุดตันภายในทอ หากพบวามีการอุดตันหรือไมเรียบรอย ผูรับจางตองรีบดําเนินการแกไขใหเรียบรอยและจะตองไดรับอนุมัติจากผูควบคุมงานการไฟฟานครหลวงกอนจึงจะกลบรองทอได

2.2.7 การกลบรองทอและหลมุบอพักฯ ใหใชทรายกลบพรอมบดอัดแนนเปนชั้นๆ (หากมิไดกําหนดไวเปนอยางอ่ืน) โดยดําเนินการตามรายการมาตรฐานของหนวยงานท่ีเปนผูรับผิดชอบในเสนทางหรือถนนนั้นๆ จนถึงระดับชั้นพ้ืนฐาน (Base course)

2.2.8 วางทอรอยสายฯ โดยใชแผนประกับรองทอตัวลาง โดยวางหางกันระยะ 100 ซม. ขนาดของแผนประกับคอนกรตีควรเลอืกใหมีความกวาง และความสูงท่ีเหมาะสมตามแบบท่ีกําหนด การ

Page 36

กอสรางบอพกัและทอรอยสายไฟฟาใตดิน

วางตองวางใหตรงกันทุกอัน โดยวางแผนประกับคอนกรีตตัวบนวางอยูบนแผนประกับตัวลาง และหามวางแผนประกับคอนกรีตกดลงบนทอโดยตรงเด็ดขาดเพราะทออาจเสียหายได

2.2.9 กอนการเทคอนกรีตควรตรวจดูใหแนใจวาไมมีการเคลื่อนท่ีของแนวทอ ขณะท่ีทําการเทคอนกรีตท่ีบริเวณปลายทอตองอุดดวยวัสดุอุดทอใหแนนเพ่ือปองกันสิง่ใดๆ เขาไปในทอ

2.1.10 การใชเครื่องสั่นคอนกรีตตองไมใหหัวสั่นคอนกรีตโดนทอโดยตรง การเทคอนกรีตควรใชรางคอนกรีตคอยๆ เทคอนกรีตตลอดแนวทอรอยสายไฟฟาใตดิน รางท่ีใชเทคอนกรีตดูตามขอกําหนดหรือใชถัง (Bucket) สําหรับเทคอนกรีต

2.1.11 รอคอนกรีตแข็งตัวจึงทําการทดสอบดวยอุปกรณการทดสอบทอ (Mandrel) เพ่ือมิใหมีการอุดตันภายในทอกอนกลบทอรอยสายไฟฟาใตดินชวงนั้นๆ ถาเกิดมีการอุดตันตองทําการแกไขกอนท่ีจะดําเนินการในสวนตอไป

3. ขอกําหนดสําหรับงานดันทอใตดิน (Underground Pipe Jacking) 3.1 ขอกําหนดท่ัวไป

3.1.1 ผูรับจางจะตองยืน่แผนงานและรายละเอียดของเครื่องมือและอุปกรณ วัสด ุและวิธีการกอสรางตอการไฟฟานครหลวง และตองไดรับการอนุมัติจากการไฟฟานครหลวงกอนท่ีจะดําเนินการใดๆ การอนุมัติโดยการไฟฟานครหลวงจะตองไมถือวาเปนการพนความรับผิดชอบของผูรับจางจากความเสียหาย ประสิทธิภาพ ความเชื่อถือได และความเปนไปไดของวิธีการกอสรางท่ีใชในการปฏิบัติงานใหแลวเสร็จใหมีผลเปนท่ีนาพอใจ

3.1.2 โดยท่ัวไปแลวดินจะอยูในสภาพท่ีไมคงตัว ณ ผิวหนาท่ีดันทอ (Jacking) เพ่ือปองกันการทรุดตัวของพ้ืนดินเหนือท่ีดําเนินการดันทอ (Jacking) และการเคลื่อนตัวของดินรอบขาง ทางเลือกหนึ่งคือการฉีดสารเคมีท่ีเหมาะสม เพ่ือรักษาสภาพดินของผิวหนาท่ีดันทอ (Jacking) วิธีท่ีตองสูบน้ําออกจากดินหรือวิธีท่ีทําใหเกิดการทรุดตัวของดินจะไมเปนท่ียอมรับ

3.1.3 ผูรับจางจะตองตรวจสอบการเคลื่อนตัว หรือการทรุดตัวของสิ่งกอสรางสาธารณูปโภคตางๆและผิวถนนติดตามในระหวางการดําเนินงานดันทอ (Jacking) และรายงานตอการไฟฟานครหลวง ถาการไฟฟานครหลวงเห็นวาการเคลื่อนตัวหรือการทรุดตัว ท่ีเกิดข้ึนอาจจะทําใหเกิดความเสียหาย ผูรับจางจะตองดําเนินการปองกันโดยทันทีในการเคลื่อนตัวทรุดตัวหรือความเสียหาย ผูรับจางจะตองออกคาใชจายในการซอมแซมและปรับปรุงโครงสรางหรือผิวถนนใหเปนท่ีพอใจของการไฟฟานครหลวง

3.1.4 ผูรับจางจะตองรับผิดชอบตอการตรวจสอบสถานที่และอุปสรรคใตดินดวยตนเองถึงสภาพท่ีจะดําเนินงาน และรายละเอียดท่ีจําเปนใดๆ ในการดําเนินงานกอสรางตามลําดับการละเลยในรายละเอียดใดๆ จะไมถือวาเปนการพนความรับผิดชอบจากการดําเนินงานท้ังหมดใหเปนท่ีนาพอใจ การไฟฟานครหลวงจะไมรับผิดชอบใดๆ ในคาใชจายหรือคํารองใดๆ ของผูรับจางในการหาขอมูล

3.1.5 การใชพ้ืนท่ีสําหรับการทํางานกอสรางบอดัน (Jacking pit) บอผาน (Intermediate pit) และบอรับ (Receiving pit) ใหผูรบัจางเปนผูดําเนินการออกแบบ การใชพ้ืนท่ีสําหรับการกอสรางกรรมวิธีการดันทอ การขนยายดินออก โดยท่ีจะตองใหมีผลกระทบตอการจราจรนอยท่ีสุดโดยตองเสนอแบบใหการไฟฟานครหลวงพิจารณาอนุมัติกอนดําเนินการ

3.1.6 การอนุมัติแบบ วัสด ุวิธีการกอสราง และอ่ืนๆ จะไมถือวาเปนการพนจากขอกําหนดและความรับผิดชอบ ของผูรับจาง หากเกิดความเสียหายใดๆ เกิดข้ึน

Page 37

กอสรางบอพกัและทอรอยสายไฟฟาใตดิน

3.1.7 วัสดุกอสรางท้ังหมดและผลิตภัณฑอ่ืนๆ ท่ีใชจะตองเก็บตัวอยางและทดสอบโดยหองทดสอบหรอืสถาบันท่ีไดรับความเห็นชอบจากการไฟฟานครหลวงกอน โดยผูรับจางเปนผูออกคาใชจายท้ังสิ้น

3.1.8 ในกรณีท่ีผูรับจางอางอิงมาตรฐานหรือ Code เพ่ือประกอบการคํานวณ การกอสราง การทดสอบและการขออนุมัติวัสดุใดๆ ใหผูรับจางสงมาตรฐานหรือ Code นั้นๆ มาใหการไฟฟานครหลวงพิจารณาอนุมัติกอนดําเนินการ

3.2 การสํารวจขอมูลใตดิน ผูรับจางจะตองทําการสํารวจขอมูลใตดินตามสภาพจริงของพ้ืนท่ีกอสรางภายใน 30 วันนับจากวันเริ่มทํางาน ผูรับจางจะตองสงรายงานผลการสํารวจขอมูลของสิ่งกอสรางหรืออุปสรรคใตดิน เชน แนวทอประปา ทอระบายน้ํา ทอรอยสายโทรศัพท และอ่ืนๆ เพ่ือเปนขอมูลในการพิจารณาออกแบบและแนวทางการกอสรางตอไป

3.3 มาตรฐานอางอิง - มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม (มอก.) - วศิวกรรมสถานแหงประเทศไทย (วสท.) - American concrete institute (ACI.318) - American society for testing material (ASTM.) - British standard

3.4 ขอกําหนดวัสดุ 3.4.1 คอนกรตี

กําหนดใหใชคากําลังอัดประลัยของคอนกรีตรูปทรงกระบอก ขนาดเสนผาศูนยกลาง 15 x 30 ซม. ท่ีอายุ 28 วัน ตามข้ันตอนและกรรมวิธีทดสอบมาตรฐาน วสท. 1008-38 เปนเกณฑกําหนดดังนี้ - ไมนอยกวา 400 ksc. สําหรับทอดัน (Jacking pipe) - ไมนอยกวา 240 ksc. สําหรับบอพักฯ บอดัน และบอผาน

3.4.2 เหล็กเสริมคอนกรีตสําหรับบอพักฯ บอดัน และบอผาน - เหล็กขอออย (Deformed bar) ใหใชชั้นคุณภาพตามมาตรฐาน มอก.24-2536 - เหล็กเสนกลม (Plain round bar) ใหใชชั้นคุณภาพตามมาตรฐาน มอก.20-2527

3.5 ขอกําหนดในการออกแบบ 3.5.1 ผูรับจางจะตองเปนผูออกแบบ คํานวณโครงสรางของบอพักฯ (Manhole) ทอดัน (Jacking

pipe) ระบบปองกันดินพัง (Sheet pile) และงานอ่ืนท่ีเก่ียวของ เสนอใหการไฟฟานครหลวงพิจารณาเห็นชอบกอนดําเนินการ

3.5.2 Design theory ใหใช Working stress design method สําหรับงานคอนกรีตเสริมเหล็กท้ังหมด ยกเวนทอดัน (Jacking Pipe)

3.5.3 รายการคํานวณ ใหเปนตัวพิมพ เสนอใหการไฟฟานครหลวงพิจารณาเห็นชอบกอนดําเนินการ 3.5.4 วิศวกรผูออกแบบคํานวณโครงสราง ตองเปนสัญชาติไทย อยางต่ําสามัญวิศวกรลงนามรับรอง

ในแบบและรายการคํานวณ 3.6 ทอดัน (Jacking pipe)

3.6.1 ทอดัน (จะตองเปนทอคอนกรีตเสริมเหล็ก หลอสําเร็จ และไดรับการเห็นชอบจากการไฟฟานครหลวงกอนดําเนินการ การผลิต การทดสอบทอ และสิ่งพิเศษอ่ืนๆ จะตองเปนไปตาม

Page 38

กอสรางบอพกัและทอรอยสายไฟฟาใตดิน

มาตรฐาน BS 5911 : Part 120 : 1989 BS 556 AS 1342 หรือมาตรฐานเทียบเทาท่ีเปนท่ียอมรับ ระยะหุมคอนกรตีจะตองไมนอยกวา 30 มม.

3.6.2 ผูรับจางจะตองรับผิดชอบ ดําเนินการออกแบบงาน และวิธีกอสราง แตจะตองเปนไปตามขอบังคับของ ขอกําหนดและแบบ

3.6.3 ทอดัน (Jacking pipe) ผูรับจางจะตองออกแบบการเสรมิเหลก็ใหเพียงพอเพ่ือรับแรงตางๆ ท่ีเกิดข้ึนจากการขนสง การดัน แรงดันดิน แรงดันน้ํา และแรงอ่ืนๆ ในการทํางานในระดับความลึกท่ีใช โดยไมมีรอยปริแตกหรือบิดเบี้ยว Load factor ท่ีใชในการคํานวณออกแบบตองไมนอยกวา 2.0

3.6.4 การทดสอบทอดัน (Jacking pipe) ผูรับจางจะตองดําเนินการทดสอบทอดันตามรายละเอียดและกรรมวิธีตามมาตรฐาน British standard BS 5911 Part 120 ดังนี้ - Hydrostatic test - Crushing test - Joint face strength test - Shear test - Load test การทดสอบท้ังหมดดังกลาวนี้ ผูรับจางจะตองออกคาใชจายเอง และทํารายงานสรุปผลการทดสอบสงใหการไฟฟานครหลวงพิจารณาอนุมัติกอนดําเนินการ

3.6.5 มาตรฐานอางอิงในขอกําหนดนี้ เขียนไวเปนตัวยอ (เชน BS 2494) ชื่อเต็มของมาตรฐานเหลานั้นมีดังตอไปนี้

มาตรฐาน BS 1449 : Part 2 เหล็กไรสนิม (Stainless steel) และแผนเหล็กกันความรอน

หัวขอ

(Sheet and strip) BS 5911 : Part 120 ทอคอนกรตีหลอสําเร็จ (Fitting and ancillary product :

Reinforced Jacking pipe with flexible joints) BS 2494 Elastometic joint rings for pipework and pipe line BS 4045 Epoxide resin pri-impregnated glass fiber fabrics BS 4360 เหลก็โครงสรางท่ีเชื่อมได

3.6.6 ผูรับจางจะตองยื่นรายละเอียดท้ังหมดของขอเสนอสําหรับทอดัน โดยใหรายละเอียดแบบแสดงขนาดการเสริมเหล็กและรอยตอ รายการคํานวณ พรอมกับชื่อของระบบท่ีเสนอ และผูผลิต สถานท่ีผลิต และข้ันตอนในการผลิตตอการไฟฟานครหลวงเพ่ือขอเห็นชอบ แรงงานและวสัดุท้ังหมดท่ีใชในการผลิตจะตองไดรับการเห็นชอบจากการไฟฟานครหลวง ซ่ึงการไฟฟานครหลวงสามารถเขาทําการตรวจสอบวัสดุท่ีใชและข้ันตอนในการผลิตในโรงงานได

3.6.7 ทอดันจะตองมีสภาพท่ีสมบูรณเพียงพอ กอนท่ีจะใชในการกอสราง การเคลื่อนยายทอจะตองทําดวยความระมัดระวังเพ่ือปองกันการแตกหกัของปลายทอ การไฟฟานครหลวงอาจจะเพิกถอนทอใด ๆ ท่ีพิจารณาแลววาไมเหมาะสมสําหรับงาน และทอท่ีโดนเพิกถอนเหลานี้จะตองถูกขนยายออกจากสถานท่ีกอสรางโดยทันทีหลังจากการทดสอบในโรงงาน และกอนที่จะขนยายทุกทอ และสวนประกอบพิเศษจะตองทําเครื่องหมายตามมาตรฐานท่ีใชนอกเหนือจากนั้นแตละทอจะตองทําเครื่องหมายดวยหมายเลขตามลําดับของการผลิต ใบรับรอง การทดสอบจะต

Page 39

กอสรางบอพกัและทอรอยสายไฟฟาใตดิน

องเปนไปตามรายการมาตรฐานการทดสอบ และใบรบัรองของการทดสอบจากผูผลิตท่ีเก่ียวของจะตองเสนอใหการไฟฟานครหลวงพิจารณาอนุมัติกอนดําเนินการ

3.6.8 ปลอก (Collars) สําหรับการเชื่อมตอทอจะตองประกอบจากสิ่งใดสิ่งหนึ่งตอไปนี้ - แผนเหลก็โครงสรางท่ีสามารถใชเชื่อมไดตามมาตรฐาน BS 4360 เกรด 43A หรือเทียบเทา - แผนเหล็กไรสนิม ตามมาตรฐาน BS 1449 : Part 2 เกรด 3165321 หรือเทียบเทา - พลาสติกเสริมใยแกว ตามมาตรฐาน BS 5480 : Part 1 หรือ BS 4045 หรือเทียบเทา

สําหรับทอปลอกเหล็ก (Steel Collar Pipe) ปลอก (Collars) จะตองหลนตลอดแนวและยึดติดอยางม่ันคงกับทอ แตจะตองไมติดกับวัสดุเสริมหรือวัสดุท่ีใช ปลายทอท้ังสองขางของปลอกรอยตอ (Collar joint pipe) จะตองปดใหสนิท

3.6.9 ผูรับจางจะตองใชแหวนดันทอ (Jacking ring) ซ่ึงอาจจะทําจากเหล็กหรือคอนกรีต และจะตองใชตลอดเวลาในขณะท่ีกําลังดันทอ แหวนดันทอจะชวยกระจายแรงดันใหเทากันรอบผนังทอ

3.6.10 ผูรับจางจะตองใชโครงดันทอ (Jacking frame) ในขณะปฏิบัติงาน โครงดันทอจะตองออกแบบใหกระจาย แรงเคน (Stresses) จากเครื่องดัน (Jack) ไปสูแหวนดันทอใหเทากัน

3.6.11 ขนาดและความคลาดเคลื่อนท่ียอมให (Dimensions and tolerances) ของทอดัน ใหเปนไปตามมาตรฐาน BS 5911 : Part 120 : 1989

3.6.12 รายละเอียด ข้ันตอน และวิธีการตรวจสอบ (Inspection procedures) ของทอดัน ใหเปนไปตามมาตรฐาน BS 5911 : Part 120 : 1989

3.7 การดําเนินการดันทอ (Jacking) 3.7.1 ผูรับจางจะตองรับผิดชอบท้ังหมดท้ังวัสดุ เครื่องมือ และสิ่งอํานวยความสะดวกท่ีเก่ียวของกับ

การดัน (Jacking) ทอดัน 3.7.2 กอนท่ีจะเริ่มงาน ผูรับจางจะตองจัดทําแผนแสดงรายละเอียดของการดําเนินงานดันทอ

(Jacking) ท้ังหมดตอการไฟฟานครหลวงเพ่ือขอรับความเห็นชอบ การเห็นชอบแผนงานนี้ไมถือวาเปนการพนจากความรับผิดชอบของผูรับจาง ในการดําเนินงานใหมีผลเปนท่ีนาพอใจ

3.7.3 ถามีการใชสารเคมีเพ่ือใหมีเสถียรภาพ สารเคมีนั้นจะตองฉีดดวยแรงดันเขาไปในสวนท่ีอยูเหนือทอท่ีดัน (Jacking Pipe) เพ่ือเสริมความมีเสถียรภาพของดิน สารเคมีท่ีใชจะตองมีการแสดงถึงผลสําเร็จท่ีผานมาในการใชเสริมความมีเสถียรภาพของดินในลักษณะท่ีคลายกับทอท่ีถูกดัน (Jacking Pipe)

3.7.4 ถามีการใชสิ่งปองกันทางกล (Machine shield) ผูรับจางจะตองพิสจูนวาสิ่งปองกันทางกลชนิดนั้นไดเคยมีการใชเปนผลสําเร็จมาแลวในงานดินท่ีคลายกับงานนี้ ผูปฏิบัติการงานสิ่งปองกันนี้ จะตองเปนผูเชี่ยวชาญพิเศษและมีประสบการณในการใชเครื่องมือนั้น

3.7.5 ขอตอท่ีจะใชในการตอกับ (Resilient packing) จะตองสามารถรับมุมท่ีเปลี่ยนไปไดถึง 0.5 องศา โดย - ไมเกิดความเสียหายตอทอหรือสูญเสียกําลังของโครงสราง - ไมมีการไหลเขาของดิน/น้ําใตดินสูงสุด ท่ีอนุญาตเพ่ือสรางความม่ันใจ วาดวยมุมท่ีเปลี่ยนไป

ท่ี 0.5 องศาและดวยวัสดุ Resilient packing แรงดันสูงสุดท่ีเกิดข้ึนท่ีขอตอผิวแผนรองรับจะตองไมเกิน 30 นิวตัน/ตร.มม.

3.7.6 ทอจะตองถูกดันไปในแนวท่ีไดแนวและระดับความคลาดเคลื่อนสูงสุดท่ียอมใหในการวางแนวเสนผาศูนยกลางของทอจากแนวเสนผาศูนยกลางท่ีออกแบบคือ 100 มม. ในแนวราบ และ 50 มม. ในแนวดิง่แตจะตองไมมีการลมไปขางหลัง (Backfall) ณ จุดใดๆ ทอใดก็ตามท่ีไมไดวางใน

Page 40

กอสรางบอพกัและทอรอยสายไฟฟาใตดิน

ตําแหนงท่ีถูกตองตองยายออกและวางใหม หรือปรับตําแหนงใหถูกหรือการไฟฟานครหลวงยอมรับ

3.7.7 ชิ้นสวน Packing ของวัสดุท่ีรับแรงอัดไดจะตองใสไวในทุกรอยตอ รายละเอียดของชิ้นสวน Packing นี้จะตองยื่นตอการไฟฟานครหลวงเพ่ือขออนุมัติกอนดําเนินการ

3.7.8 ผูรับจางจะตองติดตั้งและเคลื่อนยาย Thrust blocks หรือรายการใดๆ ก็ตามท่ีอาจจะกําหนดในการดันทอใหเคลื่อนท่ีไปขางหนาตามท่ีกําหนด บอดันทอ (Jacking pit) จะตองติดตั้งดวยรางเหล็ก หรือคานท่ีหุมดวยคอนกรีต รางหรือคานนี้จะใชในการติดตั้งและวางแนวเริ่มตนของแตละทอระหวางการดําเนินการดัน (Jacking)

3.7.9 ผูรับจางจะตองเสนอรายละเอียดตางๆ ตอการไฟฟานครหลวงเพ่ือขออนุมัติกอนดําเนินการโดยผูรับจางจะตองรับผิดชอบตอการออกแบบและกอสรางของการดัน (Jacking) และบอรบั (Receiving pits) กําแพงใชดัน (Thrusting wall) การติดตั้งเครื่องมือดันทอ (Jacking) แผงกันดิน (Sheeting) คํ้ายัน (Bracing) เปนตน และรับผิดชอบตอการดันทอใหมีประสิทธิภาพรายละเอียดท่ีสมบูรณของขอเสนอรวมถึงชุดเครื่องดันทอ (Plant) เครื่องเจาะ (Shield Machine)เครื่องมือและอุปกรณ ข้ันตอนการปฏิบัติการ บอใชดันทอ (Jacking pit) และบอดันทอเสริม(Intermediate pit) เปนตน อยางไรก็ตามการพิจารณาแผนงานจะไมถือวาเปนการพนจากความรับผิดชอบของผูรับจางในการจัดหาบอท่ีใชดันทอ (Jacking pit) ท่ีปลอดภัย

3.7.10 การแกไขปญหาเก่ียวกับอุปสรรคใตดินตามแนวการดันทอท่ีกีดขวางหัวเจาะจะตองไมมีการเปดขุดถนนใดๆ ท้ังสิ้น

3.7.11 ถาจําเปน shield จะตองประกอบดวย Steering jack สําหรับการปรับแนวรายการท่ีใชรองรับผิวหนาท่ีขุดจะตองมีไว Shield จะตองประกอบดวยสายสื่อสารกับผิวพ้ืนดิน เครื่องมือตรวจกาซท่ีอยูในสภาพดีจะตองเก็บไวใน Shield ตลอดเวลาระหวางท่ีมีคนอยูใน Shield หลายๆ จุดสําหรับการทํางานหลอลื่นจะตองมีไวภายใน Shield เพ่ือท่ีจะเตรียมรองรับพ้ืนดินไดทันทีถาจําเปน

3.7.12 จะตองมีการวางตําแหนงอิเลคโทรนิคท่ีเปนอิสระตอกันอยางนอยสองตําแหนง และใชระบบวางแนว Shield

3.7.13 มุมท่ีเปลี่ยนไปท่ีวัดจากจุดเปลี่ยนระหวางแกนตามยาวของสองทอท่ีติดกัน จะตองไมเกิน 0.5 องศา ถามุมท่ีเปลี่ยนไปเกินกวาท่ีกําหนดให ทอนั้นจะตองถูกทําลายออกและวางแนวใหมท่ีถูกตองกอนท่ีจะดันไปมากกวานี้ หรอืจะยอมใหดันตอในแนวและระดับท่ีตกลงไวท่ีไมเกินกวาแรงดัน Jacking สูงสุด ท่ียอมใหสําหรับสวนท่ีเหลือของการดันหรือยอมใหดันหรือเจาะโดยวิธีอ่ืน

3.7.14 ถาสวนใดๆ ของอุโมงคเคลื่อนผิดไปจากแนวท่ีออกแบบไวภายใน ความคลาดเคลื่อนท่ียอมให Shield จะตองบังคับไปในทิศทางท่ีปรบัแนวทีละนอย เพ่ือใหกลับสูแนวท่ีถูกตอง

3.7.15 ระหวางการดําเนินการดันทอ ผูรับจางจะตองสงรายงานการปฏิบัติงานประจําวัน (Daily report) ท่ีแสดงรายละเอียดของการทํางาน เชน ความลึกของแนวการดันทอ ระยะในแนวระดับและแนวดิ่ง แรงดันในการดันแตละชวง อัตราความกาวหนาของการปฏิบัติงานดันทอ ปริมาณดินท่ีขุดออก และปริมาณ Bentonite ท่ีใชในการหลอลื่น สงใหผูควบคุมงานของการไฟฟานครหลวงทราบ

Page 41

กอสรางบอพกัและทอรอยสายไฟฟาใตดิน

3.7.16 เปนความรับผิดชอบของผูรับจางในการรับรองวาอุโมงคท่ีกอสรางเสร็จสามารถกันน้ําไดถาเกิดรอยรั่วกอนการใชงานหรือระหวางชวงบํารุงรักษา ผูรับจางจะตองทําการซอมแซมท่ีจําเปนท่ีทําใหกันน้ําได โดยผูรับจางเปนผูออกคาใชจาย

3.7.17 การกําหนดแนวท่ีจะดันทอ โดยปกติจะกําหนดท่ีความลึกไมนอยกวา 4.00 เมตร จากผิวดินในกรณีท่ีจําเปนตองเบี่ยงหลบอุปสรรคโดยตองดันท่ีระดับลึกกวา จะตองใหการไฟฟานครหลวงอนุมัติแบบกอน

3.8 กําแพงรับแรงดันทอ (Thrust wall) กําแพงรับแรงดันทอ (Thrust Jacking rig reaction surface) จะตองอยูเปนปกติในท่ีเสมอกําแพงรับแรงดนัทอ (Thrust) จะตองแข็งแรงเพียงพอท่ีจะรบัแรงดนั (Jacking) สูงสุดท่ียอมใหอยางตอเนื่องโดยไมเคลื่อนท่ี ถาเสนอใชปลายทอ (Tail Tunnel) เปนดานรับแรงดัน (Jacking) สูงสุดท่ียอมใหจะตองไมเกินคาท่ีนอยท่ีสุดตอไปนี้

- แรงท่ีกลาวถึงในขอ 3.6.10 - 50% ของผลรวมของแรงดนั Jacking สูงสุดท่ีบันทึกท่ี Jacking rig ท่ีใชในการกอสราง

ปลายทอ (Tail Tunnel) หรือ - ถารอยแตกของ Tail Tunnel ไดถูกอุดถึง 100% ของผลรวมของแรง jacking สูงสุดท่ี

บันทึกท่ี Jacking ring ท่ีใชในการกอสราง Tail Tunnel การออกแบบกําแพง Thrust และงานอ่ืนๆ ท่ีเก่ียวของกับงานชั่วคราวจะตองกระทําเพ่ือปองกันความเสียหายตอสวนใดๆ ของงานถาวร ชองวางระหวางผิวดินท่ีใชแรงรบั Jacking และกําแพง Thrust จะตองอุดท้ังหมดดวย Grouting materials ผูรับจางจะตองทําการวัดท่ีจําเปนใดๆ เพ่ือเปนการปองกันความเสียหาย หรือความสูญเสียของผิวดินท่ีรับแรงระหวางการกอสรางงานชั่วคราวและถาวรจากสิ่งใดๆ ก็ตามท่ีอาจจะเกิดข้ึนการไหลเขาของน้ําท่ีทําใหดินออน หรือการสูญเสียของดินขนาดละเอียดจากขนาดหยาบ

3.9 ระบบการดัน (Thrust) Jacking ring จะตองสงถายแรง Thrust ไปยังทอโดยผาน Thrust ring และ Packing จะตองดันThrust ไปยัง Thrust ring โดยวิธีสมมาตร การดันเสริมจะตองใชในกรณีท่ีแรงเสียดทานหรือสาเหตุอ่ืนๆท่ีผลใหแรง Jacking ไมยอมรับ ถาใช Spacer block จะตองเปนของท่ีปราศจากรอยบิดเบี้ยวใดๆ Thrustring ท้ังหมด จะตองเปนของท่ีปราศจากรอยบิดเบี้ยวใดๆ และแข็งแรงเพียงพอท่ีจะถายน้ําหนักจาก Jackไปยัง Packing นอกเหนือจากท่ี Shield แตละกลุมของ Jack จะตองตอกันเพ่ือม่ันใจไดวาน้ําหนกัถายลงอยางเทากันไปสู Thrust ring jack แตละตวัจะตองประกอบดวย Load cell ณ จุด Jacking ring และจดุ Intermediate jack เครื่องมือบันทึก Thrust อัตโนมัติท่ีใชดู Load cell ในแตละ Jack จะตองจัดหาใหพรอมกับเครื่องมือวัดแรงดัน สําเนาของบันทึกนี้ท่ีระบุหนวย ของการวัดอยางชัดเจนจะตองยื่นตอผูควบคุมงานของการไฟฟานครหลวงทุกวัน แรง Jacking จะตองไมเกินกวาแรง Jacking ท่ียอมให โดยข้ึนอยูกับการคํานวณท่ียื่นเสนอโดยผูรับจาง และไดรับความยินยอมจากวิศวกรของการไฟฟานครหลวง และโดยการพิจารณาในพฤติกรรมของรอยตอของทอ ณ จุดท่ีมุมเปลี่ยนไปสูงสุดท่ียอมใหของ 0.50 องศา ดวย Bearing stress สูงสุดท่ียอมให พรอมกับความสัมพันธของ Stress-strain ท่ีไดจากการทดสอบแรดอัด Packing

3.10 บอพักสายไฟฟาใตดิน (Manhole) 3.10.1 ขนาดของบอพักฯ จะตองมีขนาดไมเลก็กวาขนาดท่ีการไฟฟานครหลวงกําหนด

Page 42

กอสรางบอพกัและทอรอยสายไฟฟาใตดิน

3.10.2 วิธีการกอสรางใหกอสรางโดยวิธีจมบอ (Sinking caisson method) ยกเวนกรณีท่ีไดรับการเห็นชอบจากการไฟฟานครหลวงใหใชวิธีอ่ืน

3.10.3 บอพักฯ ท่ีเปน Jacking และ Receiving shaft ผูรับจางจะตองจัดทํารายการคํานวณเพ่ือ พิสูจนวาโครงสรางจะสามารถรับแรงดันตางๆ ท่ีเกิดข้ึนไดโดยปลอดภัย

3.10.4 บอพักฯ ทุกบอพักฯ ใหมีการติดตั้งชองข้ึนลงฝาบอพรอมบันไดจากพ้ืนถนนลงไปถึงพ้ืนลางของบอ โดยใหทําเปนบันไดทําดวยเหล็กชุบสังกะสี (Galvanize) ความหนาไมนอยกวา 120 ไมครอน และใหมีระบบการตอลงดิน (Ground) เพ่ือความปลอดภัยดวย ท้ังนี้ผูรับจางจะตองเสนอรูปแบบและวิธีการติดตั้งใหการไฟฟานครหลวงพิจารณาอนุมัติกอนดําเนินการติดตั้ง

3.10.5 บอพักทุกบอจะตองติดตั้ง Pulling iron Cable rack Ground rod และ Anchor bolt ตามมาตรฐานของการไฟฟานครหลวง โดยผูรับจางจะตองเสนอวิธีการติดตั้งใหการไฟฟานครหลวงพิจารณาอนุมัติกอนดําเนินการกอสรางบอพักฯ

3.10.6 การเอียงของบอพักฯ ทุกชนิด (บอพักฯ บอดัน บอรบั และบอผาน) ผูรับจางจะตองดําเนินการกอสรางดวยความระมัดระวัง และปองกันไมใหบอพักฯ เกิดการทรุดเอียงจากสาเหตุใดก็ตามคาความเอียงของบอพักฯ ท่ียอมใหจะตองไมเกิน 1 :50 (ดูภาคผนวก ก) หากคาความเอียงของบอพักฯ ท่ีกอสรางมากกวาคากําหนดนี้ ผูรับจางจะตองเปนผูรับผิดชอบดําเนินการแกไข และหากไมสามารถแกไขไดผูรับจางยนิยอมใหการไฟฟานครหลวงหักลดเงินคากอสรางบอพักฯนี้ ลงไมนอยกวา 20% ในกรณีที่การไฟฟานครหลวงยอมรับงานกอสรางบอพักฯ นี้ และผูรับจางตองทําการทุบสกัดบอพักฯ นั้นออกแลวดําเนินการกอสรางใหม

3.10.7 การปองกันน้ําซึมผาน หรอืไหลเขามาในบอพักฯ - ใหผูรับจางออกแบบรอยตอระหวาง Manhole element ใหปองกันไมใหน้ําซึมผาน โดยให

ผูรับจางเสนอ Shop drawing และวัสดุท่ีใชจะเปน Sealant มาใหการไฟฟานครหลวงพิจารณาอนุมัติกอนดําเนินการ และหากยังมีน้ําไหลซึมเขามาในบอพักฯ อีก ผูรับจางตองรับผิดชอบและดําเนินการแกไขโดยไมมีการเพ่ิมคากอสรางและเวลา

- ใหผูรับจางออกแบบสวนผสมคอนกรีต (Mixed design) โดยเฉพาะ Water/Cement ratio ท่ีเหมาะสมพรอมแนบ Standard อางอิงเพ่ือประกอบการพิจารณา และหากยังมีน้ําไหลซึมเขามาในบอพักฯ อีก ผูรับจางตองรับผิดชอบและดําเนินการแกไขโดยไมมีการเพ่ิมคากอสรางและเวลา

3.11 ทอรอยสายไฟฟาใตดิน (Duct bank) 3.11.1 ทอรอยสายฯ จะตองติดตั้งในทอดัน (Jacking pipe) โดยไมสงผลกระทบตอการจราจร 3.11.2 ตําแหนงของทอรอยสายฯ ผูรับจางจะตองควบคุมการติดตั้งใหทอรอยสายฯ วางอยูใน

ตําแหนงท่ีถูกตองตามท่ีออกแบบไว 3.11.3 ภายหลังการติดตั้งไดเสร็จสมบูรณระหวางสองบอพักฯ จะตองมีการทดสอบทอรอยสายฯ ท่ี

วางตามขอกําหนดมาตรฐานของการไฟฟานครหลวง 3.12 การอุด (Grouting) ดวย Flowble fill mortar

3.12.1 ระหวางทอดันและทอรอยสายฯ ใหอุดดวย Flowble fill mortar โดยมีขอกําหนด ดังนี้ Cement content ตองไมนอยกวา 50 kg/m3 Standard cylinder strength ท่ี 28 วัน ตองไมนอยกวา 45 ksc Density ตองไมนอยกวา 1,500 kg/m3

Page 43

กอสรางบอพกัและทอรอยสายไฟฟาใตดิน

ผูรับจางตองเสนอสวนผสมของ Flowble fill mortar เพ่ือขอความเห็นชอบจากการไฟฟานครหลวงกอนดําเนินการ

3.12.2 การใชสารผสมเพ่ิมเพ่ือชวยเพ่ิม Workability ของคอนกรีตโดยทําเปน Flow concrete ผูรับจางจะตองเสนอคุณสมบัติทาง และคุณสมบัติทางกายภาพ มาใหการไฟฟานครหลวงพิจารณาอนุมัติกอนดําเนินการ

3.12.3 กอนทําการ Grouting ผูรับจางตองแจงใหผูควบคุมงานตรวจสอบการจัดเตรียมเครือ่งมืออุปกรณและวัสดุสวนผสมตางๆ ขณะทําการ Grouting ผูรับจางจะตองควบคุมแรงดนัใหเปนไปอยางสมํ่าเสมอ และภายหลังจากท่ีทําการ Grouting ไดสิ้นสุดลง รูท่ี Grouting จะตองตกแตงใหเรียบรอยโดยปราศจากชองวาง หรือรอยแยก

3.12.4 เครื่องมือสําหรับผสมและอุดจะตองเปนชนิดท่ีไดรับการอนุมัติจากการไฟฟานครหลวง และมีความสามารถในการผสมวัสดุท่ีใชอุด ไดอยางมีประสิทธิภาพ และสามารถอุดรอยตอไดอยางตอเนื่อง

3.12.5 ผูรับจางจะตองทําการ Grouting ใหเต็มชองวางระหวางทอดันกับทอรอยสายฯ โดยตรวจสอบปริมาตร จากรูปแบบท่ีติดตั้ง

3.12.6 การวางแนวทอรอยสายระหวางบอ ตําแหนงหนาตางของแตละทอรอยสายจะตองอยูในตําแหนงเดียวกันหลังจากการ Grouting แลว

3.13 การจํากัดการทรุดตัว 3.13.1 วิธีการสรางอุโมงคโดยผูรับจาง จะตองเปนวิธีท่ีทําใหการทรุดตัวเริ่มตนท่ีวัดโดยตรงจากผิว

เหนือ Shield ระหวางการเจาะอุโมงคโดยวิธีดันทอไมเกิน 50 มม. และการทรุดตัวของผิวหนาสูงสุด หลังจากการอุดชองวางสวนทายจะตองไมเกิน 100 มม. หลังจากนั้นจะตองเสริมพ้ืนดินใหไดระดับเดิม

3.13.2 อยางไรก็ตาม สําหรับหนาตัดของทอภายใตถนนในเสนทางของแนวทอและผิวถนน ผูรับจางจะตองทําใหการจราจรเคลื่อนท่ีไดโดยสะดวก

3.13.3 ผูรับจางจะตองอธบิายวาจะใชการวัดวิธีการใดท่ีจะไมสงผลกระทบตอการจราจร 3.14 ระบบไฟฟาของอุปกรณ เครื่องมือท่ีใชในงานกอสราง

การติดตั้งอุปกรณใหแสงสวางและกําลังไฟสําหรับงานกอสราง จะตองมีอุปกรณปองกันไฟฟารั่วลงดินผูรับจางจะตองใชชางไฟฟาท่ีมีใบอนุญาตในการรับผิดชอบงานไฟฟาท้ังหมด

3.15 การทดสอบ ภายหลังการกอสรางงานดันทอไดแลวเสร็จสมบูรณจะตองมีการทดสอบ การทดสอบการรั่วซึมของน้ําจะตองทําท่ัวท้ังทอท่ีดัน หรือบางสวนท่ีเห็นชอบโดยวิศวกรของการไฟฟานครหลวงจะไมมีการทดสอบสวนของทอท่ีดันใดๆ ภายในสิบสี่วันหลังจากการกอสรางทอท่ีดันแลวเสร็จ ไมวาจะเปนการทดสอบท้ังหมดหรือบางสวนงานจะตองถูกทดสอบเปนเวลาหาวัน ระหวางเวลานั้นชองเปดเขาและออกจะตองถูกปดหมด การทดสอบการรั่วซึมของน้ําจะดูจากน้ําท่ีตกคางอยูในระบบ หลังจากท่ีสิ้นสุดของระยะเวลาการทดสอบจะถือวาผานการทดสอบการรั่วซึมของน้ําถา

- การไหลเขาของน้ําสูทอไมเกินอัตรา 2.0 Litre/Hour/Linear meter/Meter of nominal bore ระหวางระยะเวลาของการทดสอบ

- ไมมีรอยรั่วท่ีเห็นไดบนผิวของงาน ณ เวลาท่ีสิ้นสุดของการทดสอบ ถางานนั้นไมผานการทดสอบการรั่วซึมของน้ํา ไมวาดวยเหตุผลใดก็ตาม ผูรับจางจะตองซอมแซมท่ีจําเปนโดย

Page 44

กอสรางบอพกัและทอรอยสายไฟฟาใตดิน

ความเหน็ชอบของวศิวกรของการไฟฟานครหลวง ในวิธีท่ีเสนองานจะตองถูกทดสอบใหมจนกวาจะผานการทดสอบ

- ภายหลังการกอสรางไดแลวเสร็จสมบูรณ ทอท้ังหมดจะตองถูกทดสอบใหมตามขอกําหนดของการไฟฟานครหลวง

3.16 การควบคุมและตรวจสอบคุณภาพงานกอสราง 3.16.1 การทรุดตัวหรือโกงตัวของถนนสาธารณะเนื่องจากไดรับผลกระทบจากกรรมวิธีการดันทอผู

รับจางจะตองปองกันมิใหเกิดข้ึน หากเกิดความเสียหายดังกลาวผูรับจางจะตองเปนผูรับผิดชอบในการแกไขใหไดตามมาตรฐานของหนวยงาน ผูรับผิดชอบคาใชจายและเวลาท่ีเพ่ิมข้ึนเปนภาระของผูรับจางท้ังสิ้น

3.16.2 การปรับปรุงคุณภาพดิน (Soil improvement) ใหผูรับจางเสนอรายละเอียดและวิธีการดําเนินการ การปรับปรุงคุณภาพดินท่ีจะนํามาใชในงานตามสัญญานี้ ใหการไฟฟานครหลวงพิจารณาอนุมัติกอนดําเนินการ

4. ขอกําหนดสําหรับงานเจาะวางทอใตดิน (Horizontal Directional Drilling) 4.1 ขอกําหนดท่ัวไป

4.1.1 ผูรับจางจะตองยื่นเสนอแผนงานและรายละเอียดของเครื่องมือและอุปกรณ วัสดุ และวิธีการกอสราง และตองไดรับการอนุมัติจากการไฟฟานครหลวงกอนท่ีจะดําเนินการใดๆ การอนุมัติโดยการไฟฟานครหลวงจะตองไมถือวาเปนการพนความรับผิดชอบของผูรับจางจากความเสียหาย ประสิทธิภาพความเชื่อถือได และความเปนไปไดของวิธีการกอสรางท่ีใชในการปฏิบัติงาน ใหแลวเสร็จใหมีผลเปนท่ีนาพอใจ

4.1.2 ผูรับจางจะตองรับผิดชอบตอการตรวจสอบสถานที่ดวยตนเองถึงสภาพท่ีจะดําเนินงานและรายละเอียดท่ีจําเปนใดๆ ในการดําเนินงานกอสราง การละเลยในรายละเอียดใดๆ จะไมถือวาเปนการพนความรับผิดชอบจากการดําเนินงานท้ังหมดใหเปนท่ีนาพอใจ การไฟฟานครหลวงจะไมรับผิดชอบใดๆ ในคาใชจายหรือคํารองใดๆ ของผูรับจางในการหาขอมูล

4.1.3 ความเสียหายใดๆ ก็ตามท่ีเกิดข้ึนเนื่องจากการกอสราง ผูรับจางตองเปนผูรับผิดชอบท้ังสิ้น 4.1.4 ผูรับจางจะตองรับผิดชอบท้ังหมดตอวัสดุ อุปกรณ เครื่องมือ ตลอดจนอุปกรณอํานวยความ

สะดวกอ่ืนๆ ท่ีจําเปนตองใชสําหรับการกอสรางในงาน Horizontal directional drilling โดยการไฟฟานครหลวงสามารถเขาตรวจสอบไดตลอดเวลา

4.1.5 ในการประสานงานขออนุญาตตางๆ เปนหนาท่ีของผูรับจางตองดําเนินการติดตอ ติดตามและประสานงานกับหนวยงานเจาของพ้ืนท่ีหลังจากลงนามในสัญญาแลว เพ่ือใหไดรับหนังสืออนุญาตรวมถึงคาใชจายท่ีเกิดข้ึน โดยการไฟฟานครหลวงจะเปนผูออกหนงัสือขออนุญาตตอหนวยงานเจาของพ้ืนท่ีใหเทานั้น

4.1.6 กรณีท่ีจําเปนตองรื้อยายอุปสรรคตางๆ ท่ีกีดขวางการกอสรางท้ังบนดินและใตดินเปนหนาท่ีและความรับผิดชอบของผูรับจางในการดําเนินการ ประสานงาน การรื้อยาย การสรางกลับคืน

4.1.7 กรณีท่ีมีขอขัดแยงใดๆ ระหวางขอกําหนด สัญญา แบบ รายละเอียด ใหอยูในดุลพินิจของการไฟฟานครหลวง ผูรับจางตองปฏิบัติตามคําวินิจฉัยของการไฟฟานครหลวงโดยไมมีการเพ่ิมเงินและเวลา

4.1.8 กรณีเกิดเหตุใดๆ ก็ตามท่ีทําใหไมสามารถดําเนินการกอสรางโดยวิธ ีHorizontal directional drilling ได ผูรับจางจะตองเปนผูรับผิดชอบในการตรวจสอบหาสาเหตุโดยจัดทําแบบแสดงรายละเอียดของปญหาหรืออุปสรรคตางๆ หรือ ฯลฯ ท่ีทําใหไมสามารถดําเนินการไดตามท่ี

Page 45

กอสรางบอพกัและทอรอยสายไฟฟาใตดิน

กําหนด พรอมท้ังเสนอวิธีแกไขหรือเปลี่ยนวิธีกอสรางโดยวิธีอ่ืนท่ีเหมาะสมกับสภาพพ้ืนท่ี โดย ตองสามารถใชงานไดผลดีไมดอยกวาเดิม เสนอใหการไฟฟานครหลวงพิจารณากอนดําเนินการ

4.2 การกอสรางติดตั้งทอดวยวิธ ีHorizontal directional drilling 4.2.1 ผูรับจางจะตองสํารวจขอมูลสิ่งกีดขวางใตดินตามสภาพจริงของพ้ืนท่ีกอสราง ภายใน 30 วัน

นับจากวันเริ่มงาน ผูรับจางตองสงรายงานผลการสํารวจขอมูลของสิ่งกอสรางหรืออุปสรรคใตดิน เชน แนวทอประปา ทอระบายน้ํา ทอรอยสายโทรศัพท และอ่ืนๆ เพ่ือเปนขอมูลประกอบในการออกแบบและแนวทางกอสรางตอไป

4.2.2 ผูรับจางตองจัดทําแบบรายละเอียดการกอสราง โดยแสดงรายละเอียดสาธารณูปโภคท้ังหมดแนวระดับทอรูปแบบการวางทอ พรอมรูปตัดตางๆ เสนอขอความเห็นชอบจากการไฟฟานครหลวงกอนการดําเนินการ การกําหนดระดับและรูปแบบของแนวทอจะตองถูกออกแบบใหมีระยะความปลอดภัยจากสายเคเบิ้ลเดิมและสาธารณูปโภคอ่ืนแนวทอจะตองไมหักเหจากแนวเดิมเกินกําหนด ระยะทอแตละกลุมท่ีมีการเจาะมากกวาหนึ่งแนวจะตองไมเกิดความเสี่ยงตอความเสียหายเม่ือมีการปฏิบัติงาน

4.2.3 การกอสรางในบริเวณท่ีมีความลึกนอกเหนือจากท่ีไดกําหนดไวในบทท่ี 2 ผูรับจางตองแสดงการคํานวณ การออกแบบ และการติดตั้งทอรอยสายใหมีความทนทานตอแรงกดและแรงดึงท้ังในสภาวะขณะท่ีทําการกอสราง และทนตอ Traffic load รวมน้ําหนักของชั้นดิน และสิ่งตางๆ ท่ีกระทําตอทอรอยสายใน Post installation case โดยทอไมเสียรูป ซ่ึงกําหนดคา Safety factor ไมนอยกวา 2.0

4.2.4 ระดับและแนวทอท่ีทําการเจาะ ตองเปนไปตามขอกําหนดของหนวยงานเจาของพ้ืนท่ีและหนวยงานท่ีเก่ียวของโดยตองไดรับความเห็นชอบจากการไฟฟานครหลวงกอนดําเนินการในกรณีทอลอดใตผิวการจราจร จะตองลกึไมนอยกวา 3 เมตร ท่ีจุดต่ําสดุของแนวทอ

4.2.5 การไฟฟานครหลวงพิจารณาจํากัดแรงดึงของทอไมเกิน 50% ของจดุแตกหกัของทอ การตรวจสอบแรงดึงตองกระทําตลอดเวลาท่ีทําการดึงทอ และผูรับจางตองเสนอวิธีแกในกรณี ท่ีแรงดึงเกินท่ีกําหนดใหการไฟฟานครหลวงพิจารณากอนการดําเนินการ

4.2.6 ผูรับจางจะตองจัดหาถังดักโคลนท่ีเคลื่อนยายได หรือทําการกอสรางบอดักโคลนชั่วคราวเพ่ือเพ่ือรองรับของเหลวสวนเกินระหวางการเจาะ หลังจากท่ีทําการเจาะเสร็จเรียบรอยแลว ผูรับจางจะตองกําจัดเศษวัสดุ รวมท้ังของเหลวสวนเกินระหวางการเจาะใหเรียบรอย ตามขอกําหนดของหนวยงานเจาของพ้ืนท่ีท่ีทํางาน

4.2.7 การติดตั้งทอข้ึนเสา Riser ใหดําเนินการติดตั้งตามแบบมาตรฐานของการไฟฟานครหลวงโดยขนาดของทอจะตองสอดคลองกับวัสดุท่ีใช

4.2.8 ผูรับจางตองเสนอวิธีการตรวจสอบท้ังระหวางการติดตั้งทอและหลังการติดตั้งทอแลวเสรจ็เพ่ือใหสามารถตรวจสอบแนวระดับความลึกไดถูกตอง

4.2.9 หลังจากการกอสรางทอรอยสายใตดินแลวเสร็จ ผูรับจางตองทําการทดสอบทอตามขอกําหนดการทดสอบ กรณีการไฟฟานครหลวงพิจารณาแลวเห็นวาจําเปนตองทดสอบทอโดยวิธีอ่ืนเพ่ิมเติม ผูรับจางตองปฏิบัติตามโดยคาใชจายเปนของผูรับจางท้ังสิ้น

4.2.10 ผูรับจางตองจดัทําแผนปายเตือนขนาดเหมาะสม ทําดวยโลหะสแตนเลส แสดงวามีแนวทอรอยสายไฟฟาท่ีระดับความลึกตามท่ีเจาะติดท่ีเสาไฟฟาตนท่ีใกลท่ีสุด เพ่ือเปนเครื่องหมายเตือนหนวยงานอ่ืนหรือผูปฏิบตัิงานใหระวงักอนทํางาน

Page 46

กอสรางบอพกัและทอรอยสายไฟฟาใตดิน

4.2.11 หลังจากท่ีไดดําเนินการวางทอและผานการทดสอบแลว ผูรับจางจะตองจดัทําแบบแสดงแนวการวางทอท่ีแสดงระดบัความลกึและทิศทางของทอตามจริงเปน As built drawing

4.2.12 ผูรับจางจะตองจัดเตรียม Fluid-mixing systems สําหรับอัดฉีดไปในรูเจาะ พรอมกับการทํางานดันทอดวยวิธ ีHorizontal directional drilling ท้ังนี้เพ่ือควบคุมไมใหรูเจาะยุบตัว

4.2.13 รอยตอของทอ ใหตอทอไดเฉพาะในกรณีท่ีมีความจําเปนดานการปฎิบัติงานกอสรางเทานั้นคุณภาพของรอยตอตองไมนอยกวาคุณภาพของรอยตอมาตรฐานของผูผลิต และตองไดรับความเห็นชอบจากการไฟฟานครหลวงกอนการดําเนินการ

5. ขอกําหนดการเจาะทดสอบคุณสมบัติดิน (SOIL–TESTING) 5.1 ผูรับจางตองวางผังกําหนดตําแหนงท่ีจะเจาะทดสอบใหถูกตอง ตามแบบท่ีกําหนดทุกหลุม และทําการ

วัดระดับพ้ืนดินเดิมกอนทําการเจาะทดลอง แลวบันทึกไว 5.2 หลุมเจาะนํา และปลอกเหล็กกันดินพังในหลุม (Steel casing) ตองใหอยูในแนวดิ่ง ผูรับจางตองเพ่ิม

จํานวนปลอกเหล็กกันดินพังลงไปตามท่ีเห็นสมควร 5.3 กระบอกเหล็กสําหรับเก็บตัวอยางดิน (Thin-wall sampling tube) ตองเปนปลอกเหลก็กลมขนาด

เสนผาศูนยกลางภายในไมเล็กวา 7.5 เซนติเมตร มีความยาว 75 เซนติเมตร เปนปลอกเหลก็ใหมไม เคยใชงานมากอนและไมเปนสนิมหรือบุบเบี้ยว

5.4 เครื่องเจาะดิน ตองประกอบดวยเครื่องยนต และโครงปนจัน่ท่ีมีกําลังและน้ําหนักเพียงพอท่ีจะทําการเจาะใหถึงระดับความลึกตามท่ีกําหนดไดดี และมีระบบไฮโดรลิกซ่ึงสามารถกดกระบอกเก็บตัวอยางดิน ลงไปไดโดยสมํ่าาเสมอ

5.5 ความลึกของหลุมเจาะ 16 เมตร 5.6 จํานวนและตําแหนงของหลมุเจาะ ใหเจาะทดสอบคุณสมบัติดิน จํานวนของหลุมเจาะเทากับจํานวน

ของบอพักฯ ตามตําแหนงท่ีแสดงไวในแบบ หรือตําแหนงท่ีใกลเคียงกับบอพักฯ โดยตองไดรับความเห็นชอบ จากผูควบคุมงานกอนดําเนินการ

5.7 การทดลองหาคุณสมบัติดินในหลุมเจาะ (In-situ tests) ผูรับจางตองทําการดังนี้ 5.7.1 In-situ vane shear test ใหทําการหาคา In-situ vane shear ในชั้น Soft clay และในชั้น

Medium clay ทุก ๆ ระยะไมเกิน 2.0 เมตร ทุกหลุมเจาะ 5.7.2 Standard penetration test ใหทําการทดลองในหลุมเจาะหาคา Blow count ดวยหัวเจาะ

ชนิด Split spoon sampler เก็บตัวอยางดินท่ีเหลือใหบรรจุใสถุงพลาสติกพรอมเขียนปายชื่อกํากับไว

5.8 การเก็บตัวอยางดิน (Undisturbed soil sampling) ผูรับจางตองทําการเก็บตัวอยางดินจากทุกหลุมเจาะดวย กระบอกเก็บตัวอยางดินท่ีระบุไวในขอ 5.3 และใหใชเครื่องท่ีประกอบดวย Hydraulic jack กดกระบอก เก็บตัวอยางจนไดดินเต็มกระบอก โดยใหกดลงชาๆ สมํ่าเสมอ โดยพยายามไมใหเกิดแรงสัน่สะเทือน หรอืใหมีไดนอยท่ีสุด 5.8.1 ใหผูรับจางเก็บตัวอยางดิน Undisturbed soil sample จากชั้นดิน Soft clay Medium clay

Stiff clay ท่ีทุกๆ ระยะไมเกิน 2.00 เมตร จนถึงระดับท่ีกําหนด ท้ังนี้ตองเก็บตัวอยางดินไมนอยกวา 9 ตัวอยางจากแตละหลุม

5.8.2 ใหผูรับจางทําความสะอาดภายนอกกระบอกเก็บดินทันที สังเกตและบันทึกลักษณะดินท่ีปลายกระบอกเก็บดินเพ่ือประกอบในการทํา Boring log ในรายงานและใหเก็บตัวอยางดินจากปลายกระบอกดินนี้ทันทีในตลับสําหรับหาคาความชื้น (Natural moisture content) ชั่งน้ําหนกัแลวเก็บไวดําเนินการในหองทดลองและใหทําการปองกันความชื้นสูญเสียไปจากดินภายใน

Page 47

กอสรางบอพกัและทอรอยสายไฟฟาใตดิน

กระบอกโดยใชกระดาษไขและข้ีผึ้งเหลวปดปลายท้ังสองขางของกระบอก ผูรับจางตองใชข้ีผึ้งเหลืองชนิดท่ีไมหดตัวเม่ือแข็ง หรือแตกเม่ือเก็บกระบอกดินไวนานๆ

5.8.3 ผูรับจางตองจัดทําปายชื่อระบุชนิดของดิน ความลึกท่ีเก็บตัวอยางดินได ชื่อของหลุมเจาะวันท่ี ท่ีเจาะแลวนําไปเก็บรักษาไวอยางดี โดยไมทําใหกระบอกเก็บดนิถูกระทบกระแทก ตกหรือบุบท้ังในระหวางการขนสงและเก็บรกัษา

5.8.4 เม่ือจะนําตัวอยางดนิไปทดลองในหองปฏิบัติการ ใหผูรับจางใชเลื่อยตัดเหล็กตัดกระบอกเก็บดินออกออกเปนทอนๆ ละไมเกิน 20 เซนติเมตร แลว Extrude ตัวอยางดินออกจากกระบอกดินเพ่ือนําไปทดลองตอไป ตัวอยางดินสวนท่ีเหลือตองทําการหลอข้ีผึ้งปดกระบอกกันการสูญเสียความชื้นไวดวย

5.9 การทดลองในหองปฏิบัติการ (Laboratory test) ใหผูรับจางนําตัวอยางดินท่ีไดจากขอ 5.8 ไปทําการทดลองในหองปฏิบัติการดังนี้ 5.9.1 หาคา Unit weight nature content จากกระบอกเก็บตวัอยางดินซ่ึงเก็บจากชั้นดินทุกชั้นใน

หลุมเจาะทุกหลุม และผูรับจางทําการทดลองไมนอยกวา 9 ตัวอยางในแตละชั้นดิน คํานวณหาคา Natural void ratio และหาคา Degree of saturation ในทุกชั้นดินในทุกหลุมเจาะ

5.9.2 หาคา Atterberg limits (L.L. P.L P.I.) ของตวัอยางดินจากทุกชั้นดินในหลุมเจาะทุกหลุม แตตองการทดลองใหไดไมนอยกวา 9 ตัวอยางตอหนึ่งหลุมเจาะ

5.9.3 ทํา Grain size analysis จากตัวอยางดินท่ีเจาะเก็บไดทุกชั้นดินจากทุกหลุมเจาะแตตองไมนอยกวา 5 ตัวอยางดินตอหนึ่งหลุมเจาะ

5.9.4 ทําการทดลอง Unconfined-compression test จากตัวอยางดินจากหลุมทุกชั้นดิน แตตองไมนอยกวา 9 ตัวอยางตอหนึ่งหลุมเจาะ

5.10 ผูรับจางตองสรุปรวมผลและทํารายงานการทดลองจากการเจาะและทดสอบดินท่ีไดกระทํามาท้ังหมดดังนี้ 5.10.1 Boring logs ทุกหลุมเจาะ แสดงชั้นดินพรอมคําบรรยายยอยๆ ทุกชั้น แสดงคา Unit

weight Natural moisture content In-situ vane strength และ Standard penetration test results ตามความลึกตลอดหลุมเจาะ

5.10.2 กราฟแสดงคา Atterberg limits ท่ีความลึกตางๆ ตลอดหลุมเจาะ 5.10.3 ผลการทํา Grain size analysis 5.10.4 ผลการทํา Unconfined compression test ซ่ึงแสดง

- ชื่อตัวอยาง หลุมเจาะ ความลึกท่ีเก็บตัวอยางได - Moisture content Unit weight - Stress-strain curver

5.10.5 ขอสังเกตและการเสนอแนะในทางวิศวกรรมท่ีเปนประโยชนกับการออกแบบโครงสรางและฐานราก โดยอาศัยผลการทดลองครั้งนี้ ใหเสนอรายการดังกลาว จํานวน 4 ชุด และตนฉบับอีก 1 ชุดดวย