46
สถานการณ์ระบบบริการสุขภาพและการควบคุมคุณภาพ ตามธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ .. 2552 ผศ.นพ.บวรศม ลีระพันธ์ ประชุมวิชาการ การวิจัยระบบสาธารณสุข ครั้งที3 4 กันยายน 2557 Pix source: Pinaree Chen, 2 nd World Prize (under 9 year-old), One Health Art Contest PMAC 2013

The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control

Embed Size (px)

DESCRIPTION

Panel discussion on the future of Thai health systems: healthcare quality management and control according to the Statute on the National Health System B.E. 2552 ส ถานการณ์ระบบบริการสุขภาพและการควบคุมคุณภาพ ตามธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2552", การอภิปราย “อนาคตระบบสุขภาพไทย สุขภาพคนไทยดีขึ้นหรือแย่ลง”, ประชุมวิชาการ การวิจัยระบบสาธารณสุข ครั้งที่ 3

Citation preview

Page 1: The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control

สถานการณ์ระบบบริการสุขภาพและการควบคุมคุณภาพ  ตามธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2552 

ผศ.นพ.บวรศม ลีระพันธ ์ประชุมวิชาการ การวิจัยระบบสาธารณสุข ครั้งที่ 3 

4 กันยายน 2557 

Pix source: Pinaree Chen, 2nd World Prize (under 9 year-old), One Health Art Contest PMAC 2013  

Page 2: The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control

1.  ภาพอดีตและภาพปัจจุบัน –  แนวคิดในธรรมนูญฯ 2552: หลักการ, เป้าหมาย, มาตรการ 

2.  โอกาสพัฒนา  –  การวัดคุณภาพของบริการสุขภาพ –  กลไกการพัฒนาบริการสุขภาพ: บทเรียนจากต่างประเทศ 

3.  ภาพอนาคต –  การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของคนไทยในการใช้บริการสุขภาพ –  ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย  

Presentation Outline 

Page 3: The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control

แนวคิดในธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2552 

Pix source: online.wsj.com 

Page 4: The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control

ระบบสุขภาพ vs. ระบบบริการสุขภาพ 

Pix source: National Health Commission Office (2012) 

Page 5: The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control

ระบบสุขภาพ vs. ระบบบริการสุขภาพ 

Pix source: WHO’s framework for action. (2007)

Page 6: The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control

ระบบสุขภาพ 

Page 7: The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control

ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในระบบสุขภาพของประเทศไทย 

Pix source: www.nationalhealth.or.th

Page 8: The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control

เป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพของบริการสุขภาพ? 

Pix source: National Health Commission Office (2012) 

•  ระบบบริการสาธารณสุข ปฐมภูมไิด้รับการยอมรับจาก

ประชาชน (respected & trusted primary healthcare

system) 

•  ชุมชนและท้องถิ่นสามารถสร้างเสริมสุขภาพและพึ่งตนเอง

(ability for health promotion & self-reliance) 

•  ระบบบริการสาธารณสุขที่มีหัวใจของความเป็นมนุษยอ์ย่่าง

เป็นรูปธรรมในทุกระดับ (humanized healthcare at

every level) 

“เป้าหมาย” 

Page 9: The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control

หลักการในการพัฒนาคุณภาพของบริการสุขภาพ? 

Pix source: National Health Commission Office (2012) 

“เป็นไปอย่างสอดคล้องกับ ระบบสุขภาพที่พึงประสงค”์ 

•  คุณธรรม จริยธรรม มนุษยธรรม ธรรมาภิบาล

ความรู้และปัญญา 

•  วิถีชีวิตและวัฒนธรรมชุมชน •  การพัฒนาอย่างยั่งยืน •  เศรษฐกิจพอเพียง •  ธรรมาภิบาล •  สิทธิและหน้าที่ด้านสุขภาพตามกฎหมาย 

“หลักการ” 

Page 10: The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control

กลไกการพัฒนาระบบ(บริการ)สุขภาพของไทย? 

Pix source: greenpeace.org; twirlit.com; who.int/bulletin; cha-amcity.go.th

•  มุ่งเน้นการสร้างธรรมาภิบาล รวมทั้งการมีส่วนร่วมและการพึ่งตนเองของชุมชนและท้องถิ่น และไม่มุ่งเน้นผลประโยชน์ 

•  มุ่งเน้นการพัฒนาระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิและการสร้างเสริมสุขภาพ 

Page 11: The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control

โอกาสพัฒนา 

Pix source: online.wsj.com 

Page 12: The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control

Source :influxentrepreneur.com/wendyelwell/ 

“Up and Down the Ladder of Abstraction” 

นามธรรม (Abstract):  •  แนวคิด (concepts) 

•  ทฤษฎี (theories) •  หลักการ (principles) 

•  กลยุทธ ์(strategies) 

รูปธรรม (Concrete):  •  เป้าหมาย (goals)  •  รูปแบบ/โครงสร้างการจัดบริการฯ (structure) 

•  นโยบายสาธารณะเพื่อควบคุมและส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพบริการฯ (public policy) 

•  การวัดคุณภาพบริการฯ (measurement) 

Page 13: The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control

Source: WHO (2000). The World Health Report 2000. Pix source: buelahman.files.wordpress.com

Page 14: The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control

Health System’s Performance

Pix source: WHO (2000). World Health Report 2000.

Page 15: The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control

AUS CAN FRA GER NETH NZ NOR SWE SWIZ UK US

OVERALL RANKING (2013) 4 10 9 5 5 7 7 3 2 1 11

Quality Care 2 9 8 7 5 4 11 10 3 1 5

Effective Care 4 7 9 6 5 2 11 10 8 1 3

Safe Care 3 10 2 6 7 9 11 5 4 1 7

Coordinated Care 4 8 9 10 5 2 7 11 3 1 6

Patient-Centered Care

5 8 10 7 3 6 11 9 2 1 4

Access 8 9 11 2 4 7 6 4 2 1 9

Cost-Related Problem 9 5 10 4 8 6 3 1 7 1 11

Timeliness of Care 6 11 10 4 2 7 8 9 1 3 5

Efficiency 4 10 8 9 7 3 4 2 6 1 11

Equity 5 9 7 4 8 10 6 1 2 2 11

Healthy Lives

4 8 1 7 5 9 6 2 3 10 11

Health Expenditures/Capita, 2011** $3,800 $4,522 $4,118 $4,495 $5,099 $3,182 $5,669 $3,925 $5,643 $3,405 $8,508

COUNTRY RANKINGS

Top 2*

Middle

Bottom 2*

EXHIBIT ES-1. OVERALL RANKING

Notes: * Includes ties. ** Expenditures shown in $US PPP (purchasing power parity); Australian $ data are from 2010.Source: Calculated by The Commonwealth Fund based on 2011 International Health Policy Survey of Sicker Adults; 2012 International Health Policy Survey of Primary Care Physicians; 2013 International Health Policy Survey; Commonwealth Fund National Scorecard 2011; World Health Organization; and Organization for Economic Cooperation and Development, OECD Health Data, 2013 (Paris: OECD, Nov. 2013).

Pix source: http://www.commonwealthfund.org/publications/fund-reports/2014/jun/mirror-mirror

The Commonwealth Fund’s Ranking of Healthcare Systems: Overall Ranking (2014)

Page 16: The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control

นิยามของ “คุณภาพของบริการสุขภาพ” 

IOM (2002) 

High-quality healthcare should be: •  Safe •  Timely •  Effective •  Efficient •  Equitable •  Patient-centered 

•  The Institute of Medicine (IOM) definition of “healthcare quality”: The degree to which health services for individuals and populations increase the likelihood of desired health outcomes and are consistent with current professional knowledge (IOM, 1990). 

•  Thus, the nature of healthcare problems is one of overuse, misuse, and underuse of healthcare services (Chassen et al. 1998). 

Pix$source:$nap.edu$

Page 17: The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control

การวัดคุณภาพของระบบบริการสุขภาพ 

Pix source: National Health Commission Office (2012) 

Page 18: The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control

การวัดคุณภาพของระบบบริการสุขภาพ 

•  ความปลอดภัย (Safety) •  ความทันเวลา (timeliness) 

•  ความเป็นธรรม (Equity) •  ประสิทธิผล (effectiveness)  

•  ประสิทธิภาพ (efficiency) 

•  การมีผู้ป่วยเป็นศูนย์กลางในการจัดบริการสุขภาพ (patient-centeredness) 

Source: Adapted from Mayberry et. al (2006)

Page 19: The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control

มาตรฐานคุณภาพของการจัดบริการสุขภาพ 

สำหรับประชากรเฉพาะกลุ่ม •  คุณภาพในการดูแลระยะเฉียบพลัน (acute care) •  คุณภาพในการดูแลระยะฉุกเฉิน (emergency care) 

•  คุณภาพในการดูแลระยะเรื้อรัง (chronic care) •  คุณภาพในการดูแลระยะยาว (long-term care) 

•  คุณภาพในการดูแลประคับประคองและการดูแลระยะสุดท้าย (palliative care) 

•  คุณภาพของระบบบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ (primary care)  

Pix source: Hirshon et al. (2013), Canadian Palliative care Association (2004), ems.gov/whatisems.htm, improvingchroniccare.org

Page 20: The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control

กลไกการพัฒนาคุณภาพของระบบบริการสุขภาพ:  บทเรียนจากต่างประเทศ 

Pix source: online.wsj.com 

Page 21: The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control

“แค่ทำหน้าที่ตามวิชาชีพให้ดีเป็นการทำงานคุณภาพแล้ว” Pix source: kevin.lexblog.com 

กลไก #1: ส่งเสริมความเป็นมืออาชีพ (Professionalism) 

Page 22: The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control

Source: amazon.com, matichonbook.com

Disclaimer: This is obviously my self-advertisement!

Page 23: The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control

Pix source: businessandcharitableorganizations.wikispaces.com/Regulation 

กลไก #2: ควบคุมคุณภาพ (Regulation & Control) 

“ควบคุม ตรวจสอบ ออกใบอนุญาต” 

Page 24: The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control

Pix source: community.homeaway.com 

กลไก #3: สร้างการแข่งขัน (Competition) 

“สร้างการแข่งขันที่เป็นธรรมเพื่อกระตุ้นการพัฒนาคุณภาพ เพื่อแย่งชิงส่วนแบ่งการตลาดและแรงจูงใจทางการเงินอื่นๆ” 

Page 25: The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control

Pix source: kevin.lexblog.com 

กลไก #4: สร้างสถาบันทางสังคม (Institutionalization) 

“พัฒนาให้การจัดบริการสุขภาพอย่างมีคุณภาพกลายเป็นกฎ กติกา มารยาทพื้นฐานในสังคม

มีผลต่อชื่อเสียง สถานะในสังคมของผู้ให้บริการสุขภาพ” 

Page 26: The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control

สถาบันทางสังคม (social institutions):  

•  “a complex of positions, roles, norms and values lodged in particular

types of social structures” 

บทบาทของสถาบันทางสังคม (Roles of Social Institutions):  

•  สร้างกฎ กติกา มารยาทในสังคม (Set social norms) 

•  ติดตามและควบคุมการปฏิบัติในสังคม (Monitor & control social practices) 

•  ส่งเสริมการปฏิบัติที่ดี มีคุณภาพ (Promote good practices)  

•  สร้างความรู้และมาตรฐาน (Create new knowledge/best practices) 

 

สถาบันทางสังคม 

Source: ดัดแปลงจาก Turner (1997); สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ (2556)  

Page 27: The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control

บทบาทของสถาบันทางสังคม 

•  ให้รางวัล สร้างชื่อเสียง ภาพลักษณ์ ให้ผู้ให้บริการสุขภาพที่มีคุณภาพ  

Page 28: The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control

บทบาทของสถาบันทางสังคม 

•  ให้้ข้อมูลด้านคุณภาพของผู้ให้บริการสุขภาพแก่สาธารณะ (เช่น การพัฒนา Healthcare provider’s Report Cards) 

Pix source: healthgrades.com 

Page 29: The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control

บทบาทของสถาบันทางสังคม 

Pix source:; drscore.com; mnhealthscore.org 

•  Health insurance’s report cards •  Hospital’s report cards •  Primary care clinic's report cards •  Physician’s report cards!

Page 30: The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control
Page 31: The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control

•  ภาครัฐ (Government), ภาคธุรกิจ (Private/Business),  

ภาคประชาสังคม (Third Sectorม Civil Society, Social Enterprise):  

 

สถาบันทางสังคมในประเทศไทย? 

Pix source: rdjconsultants.com/third_sector; changefusion.org;  

Page 32: The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control

สถาบันทางสังคมในศตวรรษที่ 21? 

Page 33: The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control

Pix source: http://www.techinasia.com/thailand-18-million-social-media-users-in-2013/ 

สถาบันทางสังคมในศตวรรษที่ 21? 

Page 34: The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control

ระบบสุขภาพ vs. ระบบบริการสุขภาพ 

Pix source: Health Systems Global (2014) 

Page 35: The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control

มองอนาคต 

Pix source: online.wsj.com 

Page 36: The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control

Gap Analysis 

Pix source: National Health Commission Office (2012) 

•  มีคุณภาพ (quality) •  มีประสิทธิภาพ (efficient) 

•  มีประสิทธิผล (effective) •  ไม่แพง (inexpensive)*** 

•  มีหัวใจของความเป็นมนุษย์ (humanized)  

•  ไม่มุ่งเน้นผลประโยชน ์เชิงธุรกิจ (not-for-profit)*** 

•  สุขภาพดีอย่างถ้วนหน้า (good heath for all) 

•  อปท.และชุมชนมีบทบาทร่วมจัดบริการสาธารณสุขปฐมภูมิ

และการพึ่งตนเอง

(community involvement in self-care and provision

of primary care)*** 

“หลักการ” 

Page 37: The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control

Gap Analysis 

Pix source: National Health Commission Office (2012) 

•  ให้รัฐสนับสนุนอปท.ที่มีศักยภาพในการจัดบริการ

สาธารณสุข 

•  ให้รัฐส่งเสริมการจัดบริการสำหรับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ 

•  ให้รัฐส่งเสริมบริการสาธารณสุขที่มีหัวใจแห่งความเป็นมนุษย์ 

•  ให้รัฐรณรงค์สร้างค่านิยม สร้างความสัมพันธ์ที่ดี และเยียวยา

อย่างสมานฉันท์ 

•  ไม่ให้รัฐสนับสนุนการลงทุนในระบบบริการสาธารณสุขที่เน้น

ผลประโยชน์เชิงธุรกิจ 

•  ให้รัฐสร้างกลไกระดับชาติ กำกับดูแลการพัฒนาคุณภาพ 

“มาตรการ” 

Page 38: The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control

•  ระบบบริการสุขภาพที่พึงประสงค์เกิดจากการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง (CQI) ไม่ใชก่ารควบคุมคุณภาพหรือการประกันคุณภาพ (QC/QA) 

– QC เป็นแนวคิดที่ล้าสมัย (outdated) มีหลักฐานว่าใช้ไม่ได้ผลในระบบที ่

ซับซ้อนที่มีการปรับตัวอยู่ตลอดเวลา (complex adaptive systems) เช่น ระบบบริการสุขภาพ 

– QA ใช้ได้ผลในการควบคุมและตรวจสอบปัจจัยนำเข้า (input) และกระบวนการ (process) แต่มีข้อจำกัดในการควบคุมและตรวจสอบผลลัพธ์

(outcomes) ของระบบที่มีความสลับซับซ้อน 

กลไกการพัฒนาคุณภาพของระบบบริการสุขภาพ 

Page 39: The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control

•  การส่งเสริมการแข่งขันเพื่อพัฒนาคุณภาพบริการสุขภาพ: 

– พัฒนาระบบบริการสุขภาพบนแนวคิดพื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์ – ต้องมีการลดข้อจำกัดของการแข่งขันจากภาวะตลาดล้มเหลว (market

failure) หรือภาวะการแข่งขันที่ไม่สมบูรณ ์(imperfect competition) ซึ่งเป็นปัญหาเฉพาะของการบริการสุขภาพ ได้แก่ ข้อมูลอสมมาตร (asymmetric

information) การผูกขาดของผู้ให้บริการสุขภาพ (monopoly) หรือการผูกขาดในตลาดแรงงานในบางพื้นที่ (monopsony) เช่น ในเขตชนบท 

– แรงจูงใจทางการเงิน เช่น การจ่ายเงินตามสมรรถภาพการทำงาน (P4P) อาจมีผลข้างเคียงที่ไม่ต้องการ เช่น การทำงานดีเฉพาะรายการที่มีการวัดผล

(“teaching to the test”)  

กลไกการพัฒนาคุณภาพของระบบบริการสุขภาพ 

Page 40: The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control

•  ส่งเสริมบทบาทของสถาบันทางสังคม (ทั้งในภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม) ในการพัฒนาระบบบริการสุขภาพที่พึงประสงค ์ผ่าน

กลไกทางสังคมต่างๆ ได้แก:่  

–  การกำหนดทิศทาง กฎเกณฑ์ มาตรฐาน เป้าหมายของการพัฒนา –  การสร้างระบบข้อมูล เพื่อควบคุม กำกับ ดูแล –  การส่งเสริมกระตุ้นการพัฒนาคุณภาพ ผ่านกลไกทางการเงินและกลไกอื่นๆ

(เช่น ชื่อเสียง การลดข้อมูลอสมมาตร) 

–  การสร้างองค์ความรู ้การส่งเสริมการเรียนรู ้

กลไกการพัฒนาคุณภาพของระบบบริการสุขภาพ 

Page 41: The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control

1.  ธรรมนูญฯ ควรส่งเสริมการพัฒนาทุกมิติทางคุณภาพ และสามารถใช้มิติทางคุณภาพเป็นตัวชี้วัดระยะกลางของความสำเร็จในการพัฒนา

ระบบบริการสุขภาพที่พึงประสงค์ได้  

–  ไม่ควรมุ่งเน้นเฉพาะเรื่องธรรมาภิบาลแต่เพียงอย่างเดียว 2.  ธรรมนูญฯ ควรม ี“หลักการ เป้าหมาย มาตรการ” ที่ชัดเจนมากขึ้น

(เช่น เข้าใจตรงกัน ไม่ขัดแย้งกันเอง) เป็นรูปธรรมมากขึ้น (เช่น วัดได้)

และมีความจำเพาะต่อประเด็นในการพัฒนาบริการสุขภาพมากขึ้น  

–  ระบบบริการสุขภาพที่มรีาคาไม่แพง อาจไม่สอดคล้องกับระบบที่มีประสิทธิผลหรือประสิทธิภาพ/ความคุ้มค่า (ราคาไม่แพงในมุมมองของใคร) 

–  ระบบบริการสุขภาพทีเ่ท่าเทียมอาจเป็นระบบบริการสุขภาพทีไ่ม่เป็นธรรม 

Recommendations I 

Page 42: The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control

3.  ธรรมนูญฯ ควรส่งเสริมการสร้างกลไกอื่นๆ นอกจาก“การควบคุม” คุณภาพของระบบบริการสุขภาพด้วยกลไกภาครัฐ 

–  การส่งเสริมการแข่งขันอย่างเป็นธรรมโดยภาครัฐ –  การสร้างมาตรฐาน ความชอบธรรม และการกำกับดูแลโดยภาคประชาสังคม 

4.  ธรรมนูญฯ ควรส่งเสริมบทบาทของภาคส่วนอื่นๆ นอกจากภาครัฐในการพัฒนาคุณภาพของระบบบริการสุขภาพ เช่น สถาบันทางสังคมทั้งในภาคธุรกิจและภาคประชาสังคม 

–  ไม่ให้รัฐส่งเสริมบริการสุขภาพที่เป็นธุรกิจแสวงหากำไรผ่านกลไกทางภาษี  –  ให้รัฐส่งเสริมบริการสุขภาพที่เป็นธุรกิจเพื่อสังคมผ่านกลไกภาษี 

Recommendations II 

Page 43: The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control

Food-for-Thought 

Pix source: online.wsj.com

Page 44: The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control

“If I had asked people what they wanted, they would have said faster horses.”

--Henry Ford

Page 45: The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control

Pix source: www.dennisgruending.ca

“The best way to predict the future is to create it.”

--Peter F. Drucker

Page 46: The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control

Q& A Discussions 

Pix source: online.wsj.com