29

TMT journal - MAY 2013

Embed Size (px)

DESCRIPTION

ในวารสารเทคโนโลยีเครื่องจักรกลประจำเดือนพฤษภาคมนี้ ก็ยังคงมีข่าวสารทางเศรษฐกิจและข่าวสารเครื่องจักรกลที่น่าสนใจมาให้ท่านผู้อ่านได้ติดตาม นอกจากนี้ในส่วนเนื้อหาก็จะประกอบด้วย เรื่อง เครื่องจักรกลอุตสาหกรรม ภาวะเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมเดือนมีนาคม และสรุปสถานการณ์เครื่องจักรกลในไตรมาศแรกของปี และเราก็ได้แทรกคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาอุตสาหกรรมเคร

Citation preview

Page 1: TMT journal - MAY 2013
Page 2: TMT journal - MAY 2013

- ขาวเศรษฐกิจ Page 2

- ขาวเครื่องจักรกล Page 4

- บทความ “เครื่องจักรกลอุตสาหกรรม” Page 7 - ภาวะเศรษฐกิจ Page 8

- ภาวะอุตสาหกรรม Page 11 - สรุปสถานการณอุตสาหกรรมเครื่องจักรกลไตรมาศ 1/56 Page 21 - คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการพัฒนาอุตสาหกรรม

เครื่องจักรกลแหงชาติ Page 25

สวัสดีทานผูอานทุกทาน ในเดือนพฤษภาคมนี้ มีการจัดงานที่เกี่ยวกับอุตสาหกรรมเคร่ืองจักรกลคร้ัง

ใหญ คือ งาน Intermach 2013 ณ ไบเทค บางนา ซึ่งแนนอนวาทานผูอานทุกทานคงไดมีโอกาสไปเขารวมในงานนี้ และในชวงวันที่ 24 ก็เปนวันสําคญัทางศาสนาอีกวันหนึง่ของชาวพุทธ นั่นคือ วันวิสาขบชูา

หลายๆทานคงมีโอกาสไดไปทําบญุ ทางคณะผูจดัทํากข็อตั้งจิตอธิษฐานใหผลบญุเหลานั้นสงกลับไปยงัทาน

ผูอานใหประสบแตความสุขตลอดทั้งป

ในวารสารเทคโนโลยีเคร่ืองจกัรกลประจําเดือนพฤษภาคมนี้ กย็ังคงมีขาวสารทางเศรษฐกจิและขาวสาร

เคร่ืองจกัรกลที่นาสนใจมาใหทานผูอานไดติดตาม นอกจากนี้ในสวนเนื้อหาก็จะประกอบดวย เร่ือง

เคร่ืองจกัรกลอุตสาหกรรม ภาวะเศรษฐกจิและอุตสาหกรรมเดือนมีนาคม และสรุปสถานการณเคร่ืองจักรกลใน

ไตรมาศแรกของป และเราก็ไดแทรกคําส่ังแตงตั้งคณะกรรมการพัฒนาอุตสาหกรรมเคร่ืองจักรกลแหงชาติ มา

ใหทานผูอานไดรับทราบกันอีกดวย เราหวังเปนอยางยิง่วาวารสารฉบับนี้จะเปนประโยชนกับทานผูอานทุกๆ

ทาน ซึง่ทานผูอานก็สามารถติชมหรือใหคําแนะนํามาได เพื่อรวมกนัเปนสวนหนึ่งในการพัฒนาอุตสาหกรรม

เคร่ืองจกัรกลตอไป

Page 3: TMT journal - MAY 2013
Page 4: TMT journal - MAY 2013

จากการรายงานของสํานักงานศุลกากร ยอดการสงออกและนําเขาของจีนในเดือนเมษายน 2013 เมื่อเทียบกับเดือนเมษายน 2012 ขยายตัวรอยละ 14.7 และ 16.8 เทียบกับเดือนมีนาคม 2013 ที่ขยายตัวรอยละ 10 และ 14.1 ตามลําดับ สงผลใหเกินดุลการคา 18,160 ลานเหรียญสหรัฐ ฯ ขณะที่ชวง 4 เดือนแรกของปน้ี ภาคการสงออก และนําเขามีการขยายตัวเชนกันที่รอยละ 17.4 และ 10.6 การสงออกไปยังกลุมประเทศประชาคมอาเซียน ซึ่งเปนคูคาใหญที่สุดอันดับ 3 ของจีน ในป 2012 พบวา การสงออกเดือนเมษายน 2013 เมื่อเทียบกับเดือนเมษายน 2012 และเดือนมีนาคม 2013 ขยายตัวรอยละ 37.2 และ 11.6 ขณะที่การสงออกเดือนเมษายน 2013 ไปยังสหรัฐ ฯ, สหภาพยุโรป และญ่ีปุน ชะลอตัว นักเศรษฐศาสตรบางรายใหความเห็นวา อัตราการขยายตัวภาคการนําเขาระดับสูงในเดือนเมษายนน้ัน มีปจจัยหลักจากเศรษฐกิจของจีนที่ฟนตัวขึ้น (แมวาไมสดใสนัก) และเงินหยวนแข็งคาขึ้น สําหรับครึ่งหลังของป 2013 คาดวาการนําเขาจะมีอัตราขยายตัวคงที ่ที่ประมาณรอยละ 16

Thailand Machinery Technology journal - May 2013

Page 5: TMT journal - MAY 2013

สํานักขาวตางประเทศรายงานวา

ธนาคารกลางสหรัฐ (เฟด) ไดออกมา

เปดเผยตัวเลขเศรษฐกิจ โดยระบุวา

ภาระหนี้ของภาคครัวเรอืนสหรัฐ ในไตร

มาส 1/2556 ลดลง 1% จากไตรมาส 4

ปที่แลว มาอยูที่ 11.23 ลานลาน

ดอลลาร ต่ํากวาระดับสูงสุดที่ 12.68

ลานลานดอลลารในชวงไตรมาส 3 ของ

ป 2551 ซึ่งเปนชวงที่วิกฤตการเงินเริ่ม

ทวีความรุนแรง

ทั้งนี้ หนี้สินจากสินเชื่อเพ่ือที่อยู

อาศัยลดลงมากที่สุด โดยลดลงแตะ

7.93 ลานลานดอลลาร จากระดับ 8.03

ลานลานดอลลาร ขณะที่หนี้สินจากบัตร

เครดิตลดลง 1.9 หมื่นลานดอลลาร

แตะที่ 6.60 แสนลานดอลลาร

นอกจากนี ้ อัตราการผิดนัดชําระ

หนี้ยังลดลงทุกภาคสวนดวย โดยอัตรา

การผิดนัดชําระหนี้จากสินเชื่อบาน

ลดลงมาอยูที่ 5.4% จาก 5.6% อัตรา

ผิดนัดชําระหนี้จากสินเชือ่ที่ใชบาน

ปลอดจํานองเปนหลักประกัน (home equity loan) ลดลงเหลือ 3.2% จาก 3.5% อัตราการผิดนัดชําระหนี้บัตร

เครดิตลดลงแตะ 10.2% จาก 10.6%

และอัตราการผิดนัดชําระหนี้เงินกูเพ่ือ

การศึกษาลดลงเหลือ 11.2% จาก

11.7%

Thailand Machinery Technology journal - May2013

Page 6: TMT journal - MAY 2013

เนช่ันแนล อินสทรูเมนทส (NI)

รวมกบัมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ บริษัท กาวหนาอิเลคท

ริค แอนด บิสสิเนส จํากัด และบริษัท มัทนี

ภัณฑ จํากัด ติดต้ังหองปฏิบัติการตรวจสอบ

สภาพเครื่องจักรที่ทันสมัยในกรุงเทพฯ โดย

มีการลงนามบันทกึความ เขาใจระหวาง

พันธมิตรทั้งสีร่ายในวันน้ีที่ คณะครุศาสตร

อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระ

จอมเกลาพระนครเหนือ เนช่ันแนล อินสทรูเมนทส ติดต้ังหองปฏิบัติการตรวจสอบ

สภาพเครื่องจักรที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี

พระจอมเกลาพระนครเหนือ เปนแหง แรกในเอ เชียตะวันออก เฉียงใต หองปฏิบัติการน้ี

จะเปนศูนยอบรมที่สมบรูณใชสําหรบัเปน

หองปฏิบัติ การเกี่ยวกับการตรวจสอบสภาพ

เครื่องจักร และ การใหบริการระดับมือ

อาชีพ เชน การวิเคราะหความผิดพลาดของเครื่องยนต การซอมแซมเครื่องยนต และการติดตามตรวจสอบ หองปฏิบัติการฯ จะ

ชวย ใหบริษัทตางๆ สามารถเขาสูระบบการ

ผลิตขนาดใหญและอุตสาหกรรมอื่นๆ รวมถึง ใหขอมูลกับผูมสีวนเกี่ยวของทางวิชาการ

ที่สนใจวาเทคโน โลยีการตรวจสอบสภาพเครื่องจักรจะสามารถขับเคลื่อน

ประสิทธิภาพในการดํา เนินงาน ลดคาใช

จาย และเพิ่มความปลอดภัยในสถานที่ทํางานไดอยาง ไร

เนชั่น แนล อนิสทรู เมนทส

ติดตั้งหองปฏิบตั ิการตรวจสอบสภาพ เคร่ืองจักรในประ เทศ ไทย เปน แหง แรก ในเอ เชียตะวันออก เฉียง ใต

บมจ. แอล.วี. เทค โน โลยี (LVT) แจงตลาดหลกัทรัพย แหงประ เทศ ไทย (ตลท.) วา บริษัท Falcon Cement

Company ประ เทศบาห เรน ได เซ็นสัญญาวาจางบริษัท ให เปน ผูออก แบบงานดานวิศวกรรม และจัดหา เครื่องจักร

อุป กรณ สําหรับ โรงงานบดปูนซ ีเมนต 70 ตันตอช่ัว โมง ระยะ เวลา โครง การ 16 เดือน มูลคา 9 ลานดอลลารสหรัฐ หรือประมาณ 270 ลานบาท โดยนาย แฮนส จอร แกน เนียล เซน ผูกอต้ัง และกรรม การ ผูจัด การ ใหญ LVT กลาววา ความสํา เร็จ ในครั้งน้ีมาจาก ความมุงมั่น และต้ัง ใจของบริ ษัท ใน การ เรงหางาน ใหมอยางตอ เน่ือง โดย ใน เดือน

ธ.ค.2555 บริษัทมีมูลคางานทีร่อรบัรูราย ได (Backlog) 1,645 ลานบาท และนับต้ัง แตตนป 2556 ถึงปจจุบัน ได

งาน ใหม เขามา 1,500 ลานบาท สงผล ใหมูลคางานที่อยูระหวางรอรบัรูราย ไดอยูที่ 3,145 ลานบาท

Thailand Machinery Technology journal - May 2013

Page 7: TMT journal - MAY 2013

นายอารักษ สุขสวัสด์ิ กรรม การ ผูจัด การ บมจ. อสีต โคสท เฟอรนิ เทค (ECF) เปด เผยวา บริษัทอยู

ระหวางดํา เนิน การขยายกําลัง การผลิต เฟอรนิ เจอร ไมปาติ เคิล บอรด ใช เงินลงทุนสําหรบัพัฒนา เครื่องจกัร

ประมาณ 50 ลานบาท จะ ทํา ใหบริษัทมกีําลัง การผลิต เพิ่มข้ึนอีกประมาณ 15% เพื่อรองรับคําสั่งซื้อจาก

ลูกคา ทั้ง ใน และตางประ เทศที ่เพิม่สูงข้ึน อยางตอ เน่ือง “กอนหนาน้ี เรามีออร เดอร เขามา เปนจํานวนมาก แตผลิต ไม เพียงพอกับ ความตอง การ หลังบริษัท เขาจดทะ เบียน ในตลาดหลกัทรัพย เอ็ม เอ ไอ ไดนํา เงินระดมทุนที ่ไดจาก การ เสนอขายหุนมาซื้อ เครื่องจักร เพื่อปรับ ปรุง การผลิต ให เปน Semi-automatic มาก

ข้ึน เพื่อผลิต ให เพียงพอกับ ความตอง การของลูกคา ซึ่งขณะน้ี ได เริ่มม ีการติดต้ัง เครื่องจักร ไปบาง แลว คาด

วาจะ เริม่ผลิตสินคา ไดภาย ใน ไตรมาส 2/56 น้ี ซึ่งจะชวย ให การผลิตมีประสทิธิภาพมากข้ึน และลดตนทุน

ดาน แรงงานดวย เชนกัน"นายอารักษ กลาว

บริษัท Sheffield-based laser และ บริษัท Charles Day (Steels) รวมกันลงทุนกวา 1.5 ลานยูโร สําหรับ

เครื่องตัดชนิด Fiber laser จํานวน 2 เครื่อง หลังจากผานบันทึกขอตกลงทางดานการสนับสนุนเงินทุนกบับริษัท

HSBC และทางรัฐบาล โดยทาง HSBC มีเงินทุนสําหรับการสนับสนุนผูประกอบการขนาดเลก็ และขนาดกลาง เพื่อการ

ลงทุนและขยายกจิการ โดยการลงทุนในครั้งน้ีเปนการลงทุนเพื่อเปดฐานทางธุรกจิไปยังตลาดใหม และยังชวยให

สามารถตัดทองแดง และทองเหลือง ซึ่งเปนตลาดที่กําลงัมีทิศทางที่ดีในยุโรปในชวงน้ี นอกจากประสิทธิภาพของ

เครื่องจักรทีม่ากข้ึน การลงทุนดังกลาวจะสามารถทาํใหราคาตนทุนในการผลิตลดลงอกีทางหน่ึง เพราะตัวเครื่องจกัรที่

เปนระบบอัตโนมัติ ทําใหลดตนทุนในสวนของบุคคลลงไปไดจํานวนมาก

Thailand Machinery Technology journal - May 2013

Page 8: TMT journal - MAY 2013
Page 9: TMT journal - MAY 2013

เครื่องจักรกลเปนสวนสําคัญในการผลิต

สินคาอุตสาหกรรมเกือบทกุประเภท และยัง

กอใหเกิดความเช่ือมโยงไปขางหนาและขางหลงั

กับสาขาการผลิตอื่นอีกมาก เปนพื้นฐานอัน

สําคัญในการพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศ

อยางไรก็ตาม การพัฒนาอุตสาหกรรม

เครื่องจักรกลยังมสีภาพไรทิศทาง รัฐบาลเองก็

ยังไมมีนโยบายสงเสริมและพฒันาอุตสาหกรรม

เครื่องจักรกลโดยตรง ทําใหอุตสาหกรรมยังไม

สามารถแขงขันกบัตางประเทศได ในปจจบุัน

ประเทศยังอาศัยการนําเขาเครื่องจักรจาก

ตางประเทศอยูมาก ดังน้ันเพื่อใหการพัฒนา

อุตสาหกรรมเครื่องจักรกลเปนไปในแนวทางที่

เหมาะสม และสอดคลองกับการพัฒนาประเทศ

เครื่องจักรกลอุตสาหกรรม หมายถึง

เครื่องจักรที่ใชในการผลิตสําหรับอุตสาหกรรม

ตาง ๆ และสวนประกอบ ไดแก เครื่องจักรที่ใช

ในอุตสาหกรรมแปรรปูทางการเกษตร

อุตสาหกรรมอาหาร อุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ

อุตสาหกรรมกระดาษ อุตสาหกรรมตัดเย็บหนัง

และอุตสาหกรรมเซรามิค สวนอุตสาหกรรม

เครื่องมือกล ที่สําคัญ คือ เครื่องมือกลใน

อุตสาหกรรมโลหะ (Metal Casting)

อุตสาหกรรมข้ึนรูปโลหะ (Press Working)

อุตสาหกรรมตีข้ึนรูป (Forging) อุตสาหกรรม

ตัดผิวงาน (Machining) อุตสาหกรรมโลหะ

แผนและการเช่ือม (Sheet Work and

Welding) อุตสาหกรรมอบชุปโลหะดานความ

รอน (Heat Treatment) และอุตสาหกรรม

แมพิมพ (Mold and Die Working)

Thailand Machinery Technology journal - May 2013

Page 10: TMT journal - MAY 2013

Thailand Machinery Technology journal - May 2013

Page 11: TMT journal - MAY 2013

Thailand Machinery Technology journal - May 2013

Page 12: TMT journal - MAY 2013

Source: Bank of Thailand

Thailand business confidence index

Remark

>50 แสดงถึงแนวโนมการขยายตัว 50 แสดงถึงแนวโนมทรงตัว <50 แสดงถึงแนวโนมการหดตัว

55.5

54.4 54.7

55.8

30

40

50

60

70

Jan

Feb

Mar

Apr

May

Jun

Jul

Aug

Sep

Oct

Nov

Dec

Jan

Feb

Mar

Apr

May

Jun

Jul

Aug

Sep

Oct

Nov

Dec

Jan

Feb

Mar

Apr

May

Jun

Jul

Aug

Sep

Oct

Nov

Dec

Jan

Feb

Mar

2010 2011 2012 2013 Business confidence index Business confidence index next 3 months

Thailand Machinery Technology journal - May 2013

Page 13: TMT journal - MAY 2013
Page 14: TMT journal - MAY 2013

มูลคาการนําเขาเคร่ืองจักรกลและช้ินสวนของไทย ซ่ึง

ประกอบดวย 3 กลุมผลิตภัณฑหลัก ไดแก 1) เคร่ืองมือกล 2) เคร่ืองจักรกลการเกษตร 3) เคร่ืองจักรกลอุตสาหกรรม ในเดือนมีนาคม

2013 เทากับ 31,688 ลานบาท หดตัวลงถึงรอยละ 37.9 จากเดือนมีนาคม

2012 ขณะที่ มูลคาการสงออกในกลุมเคร่ืองจักรกลและช้ินสวนของ

ไทยในเดือนมีนาคม 2013 เทากับ 19,489 ลานบาท หดตัวเล็กนอย รอยละ

1.1 จากเดือนมีนาคม 2012 ขณะเดียวกัน เปนระดับการสงออกที่ตํ่ากวา

เดือนเดียวกันของป 2011 ถือเปนการหดตัวที่ดําเนินมาตอเน่ือง 2 ป เมื่อพิจารณาระดับดุลการคาของกลุมอุตสาหกรรมเคร่ืองจักรกล

จะพบวา ประเทศไทยขาดดุลการคาในเดือนมีนาคม 2013 จํานวน 12,199

ลานบาท ลดลงถึงรอยละ 53.4 จากคาเฉลี่ยการขาดดุลการคาในระดับ

26,206 ลานบาทตอเดือน โดยมีปจจัยหลักมาจากการนําเขาในเคร่ืองจักรกล

ทั้ง 3 กลุมผลิตภัณฑหลักที่หดตัวลงอยางตอเน่ืองต้ังแตตนปที่ผานมา แตจาก

ปญหาคาเงินบาทที่มีแนวโนมวาจะแข็งคาขึ้นอยางตอเน่ืองในอนาคต รวมถึง

โครงการเก่ียวกับโครงสรางพ้ืนฐานสาธารณูปโภคจากภาครัฐที่มีความ

จําเปนตองใชเคร่ืองจักรกลที่มีประสิทธิภาพสูง ก็อาจทําใหมูลคาการนําเขา

เคร่ืองจักรกลจากตางประเทศกลับมาสูงขึ้นได

รูป: สรุปการนําเขา-สงออกเครื่องจักรกลของไทยเดือนมีนาคม 2013 (ลานบาท)

Page 15: TMT journal - MAY 2013

Jan Feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep Oct Nov Dec Jan Feb Mar

Import 443,258 39,781 43,540 51,031 45,603 47,693 44,961 45,533 44,888 39,373 45,426 52,470 36,072 536,371 42,096 34,183 31,688 107,967

Export 251,289 14,928 17,060 19,698 19,199 20,756 21,047 18,384 18,665 18,767 19,236 18,015 16,142 221,896 14,849 14,728 19,489 49,066

Trade balance -191,969 -24,853 -26,480 -31,333 -26,404 -26,937 -23,914 -27,149 -26,223 -20,606 -26,190 -34,455 -19,930 -314,475 -27,246 -19,455 -12,199 -58,901

20132013

Machinery Industry 2011

20122012

Jan Feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep Oct Nov Dec Jan Feb Mar

Import 90,312 8,121 10,436 12,311 10,439 9,873 8,300 9,259 9,490 8,110 10,876 9,617 6,833 113,665 7,938 6,287 6,024 20,250

Export 26,102 1,035 1,087 1,953 1,333 1,376 1,730 1,652 1,324 1,430 1,418 1,562 1,428 17,328 1,063 1,123 1,529 3,715

Trade balance -64,210 -7,086 -9,349 -10,358 -9,106 -8,497 -6,570 -7,607 -8,166 -6,680 -9,458 -8,055 -5,406 -96,338 -6,875 -5,164 -4,495 -16,534

201320132011

2012Machine Tool 2012

Jan Feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep Oct Nov Dec Jan Feb Mar

Import 31,604 1,356 1,318 1,482 1,299 1,759 1,335 1,639 1,780 1,347 1,776 1,856 1,381 18,328 1,374 1,291 1,182 3,846

Export 13,385 671 688 894 676 891 846 723 800 970 985 1,241 1,003 10,387 973 801 973 2,747

Trade balance -18,219 -685 -631 -588 -623 -868 -489 -916 -980 -377 -791 -615 -378 -7,941 -401 -489 -209 -1,099

20132013

Agricultural Machinery 2011

20122012

Jan Feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep Oct Nov Dec Jan Feb Mar

Import 321,343 30,304 31,786 37,238 33,865 36,061 35,326 34,635 33,618 29,916 32,774 40,997 27,858 404,378 32,784 26,606 24,482 83,871

Export 211,802 13,222 15,286 16,852 17,190 18,489 18,470 16,009 16,541 16,367 16,833 15,212 13,712 194,182 12,814 12,804 16,986 42,604

Trade balance -109,541 -17,082 -16,500 -20,386 -16,675 -17,572 -16,856 -18,626 -17,077 -13,549 -15,941 -25,785 -14,147 -210,196 -19,970 -13,802 -7,496 -41,268

20132013

Industrial Machinery 2011

20122012

ตาราง : สรุปการนําเขา-สงออกเครื่องจักรกลของไทยเดือนมีนาคม 2013 (ลานบาท)

ตาราง : สรุปการนําเขา-สงออกเครื่องมือกลของไทยเดือนมีนาคม 2013 (ลานบาท)

ตาราง : สรุปการนําเขา-สงออกเครื่องจักรกลอุตสาหกรรมของไทยเดือนมีนาคม 2013 (ลานบาท)

ตาราง : สรุปการนําเขา-สงออกเครื่องจักรกลเกษตรของไทยเดือนมีนาคม 2013 (ลานบาท)

Page 16: TMT journal - MAY 2013

2013 2012 2011

Mar Mar Mar

เครื่องมือ 521 719 526 -28%

เครื่องมือกล 5,503 11,592 6,470 -52.5%

เครื่องจักรงานเกษตรกรรม 1,008 1,313 2,207 -23.2%

เครื่องจักรงานปศุสัตว 174 169 231 3.0%

เครื่องจักรงานโลหกรรม หรือหลอโลหะ 535 687 487 -22.1%

เครื่องจักรที่ใชในอุตสาหกรรมทั่วไป 11,492 19,216 16,300 -40.2%

เครื่องจักรอุตสาหกรรมกระดาษและสิ่งพิมพ 2,484 2,700 2,520 -8.0%

เครื่องจักรอุตสาหกรรมกอสราง 5,433 7,437 4,468 -27.0%

เครื่องจักรอุตสาหกรรมเครื่องหนัง 7 59 24 -87.4%

เครื่องจักรอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ 849 949 1,020 -10.6%

เครื่องจักรอุตสาหกรรมแปรรูปอาหาร 412 344 498 19.8%

เครื่องจักรอุตสาหกรรมไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส 334 609 335 -45.1%

เครื่องจักรอุตสาหกรรมยางหรือพลาสติก 1,816 4,024 2,048 -54.9%

เครื่องจักรอุตสาหกรรมสิ่งทอ 691 898 1,054 -23.1%

เครื่องจักรอุตสาหกรรมเหมืองแร 429 315 335 36.2%

Total Machine Tool 6,024 12,311 6,996 -51.1%Total Agricultural Machinery 1,182 1,482 2,438 -20.2%

Total Industrial Machinery 24,482 37,238 29,089 -34.3%Total Import 31,688 51,031 38,523 -37.9%

Import %13/12

ตาราง: รายละเอียดการนําเขาเครื่องจักรกลของไทย เดือนมีนาคม 2013 (ลานบาท)

รูป : การนําเขาเครื่องจักรกลของไทยในกลุมผลิตภัณฑหลัก (ลานบาท)

Thailand Machinery Technology journal - May 2013

Page 17: TMT journal - MAY 2013

จากยอดรวมการนําเขาเคร่ืองจักรกลและชิ้นสวน พบวาในเดือนมีนาคม 2013 การนําเขา

เคร่ืองมือกลคดิเปนสัดสวนรอยละ 19.01 ของการนําเขาทั้งหมด ขณะทีก่ารนําเขาเคร่ืองจักรกลการเกษตร

และการนําเขาเคร่ืองจกัรกลอุตสาหกรรมคิดเปนสัดสวนรอยละ 3.73 และ 77.26 ของการนําเขาทั้งหมด

และเม่ือเปรียบเทยีบกบัเดือนมีนาคม 2012 จะเห็นไดวาทั้ง 3 กลุมมียอดการนําเขาลดลง โดยเคร่ืองมือกลเปนกลุมที่มีการนําเขาหดตัวลงมากที่สุดคดิเปนสัดสวนรอยละ 51.1 ขณะที่การนําเขาเคร่ืองจกัรกล

การเกษตรและการนําเขาเคร่ืองจักรกลอุตสาหกรรมหดตัวลงคิดเปนสัดสวนรอยละ 20.2 และ 34.3 ตามลําดับ กลุมเคร่ืองมือกล พบวา สินคาเคร่ืองมือกลเปนกลุมหลักของการนําเขา โดยมียอดนําเขาใน

เดือนมีนาคม 2013 ที่ 5,503 ลานบาท จากยอดนําเขารวมของกลุมเคร่ืองมือกล 6,024 ลานบาท ในกลุมเคร่ืองจักรกลการเกษตร พบวา เคร่ืองจกัรงานเกษตรกรรมเปนกลุมหลักของการ

นําเขา โดยมียอดนําเขาในเดือนมีนาคม 2013 ที่ 1,008 ลานบาท จากยอดนําเขารวมของกลุม

เคร่ืองจกัรกลการเกษตร 1,182 ลานบาท ในกลุมเคร่ืองจักรกลอุตสาหกรรม พบวา เคร่ืองจกัรที่ใชในอุตสาหกรรมทั่วไปเปนกลุมหลัก

ของการนําเขา โดยมียอดนําเขาในเดือนมีนาคม 2013 ที่ 11,492 ลานบาท จากยอดนําเขารวมของกลุม

เคร่ืองจกัรกลอุตสาหกรรม 24,482 ลานบาท และมีเคร่ืองจักรอุตสาหกรรมกอสรางเปนสินคานําเขาสําคัญ

อันดับสองของกลุมอุตสาหกรรมเคร่ืองจักรกล โดยมียอดนําเขาในเดือนมีนาคม 2013 ที่ 5,433 ลานบาท

Thailand Machinery Technology journal - May 2013

Page 18: TMT journal - MAY 2013

2013 2012 2011

Mar Mar Mar

เครื่องมือ 198 160 193 23.7%

เครื่องมือกล 1,332 1,793 1,553 -25.7%

เครื่องจักรงานเกษตรกรรม 938 849 1,267 10.5%

เครื่องจักรงานปศุสัตว 35 45 42 -22.2%

เครื่องจักรงานโลหกรรม หรือหลอโลหะ 1,824 173 547 952.8%

เครื่องจักรที่ใชในอุตสาหกรรมทั่วไป 8,426 7,356 9,482 14.5%

เครื่องจักรอุตสาหกรรมกระดาษและสิ่งพิมพ 1,515 3,583 3,234 -57.7%

เครื่องจักรอุตสาหกรรมกอสราง 3,540 4,177 3,682 -15.3%

เครื่องจักรอุตสาหกรรมเครื่องหนัง 3 0 1 560.0%

เครื่องจักรอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ 262 216 258 21.6%

เครื่องจักรอุตสาหกรรมแปรรูปอาหาร 155 112 66 37.6%

เครื่องจักรอุตสาหกรรมไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส 49 106 43 -53.9%

เครื่องจักรอุตสาหกรรมยางหรือพลาสติก 264 316 170 -16.4%

เครื่องจักรอุตสาหกรรมสิ่งทอ 704 670 721 5.0%

เครื่องจักรอุตสาหกรรมเหมืองแร 245 142 168 72.3%Total Machine Tool 1,529 1,953 1,746 -21.7%

Total Agricultural Machinery 973 894 1,309 8.9%Total Industrial Machinery 16,986 16,852 18,372 0.8%

Total Export 19,489 19,698 21,427 -1.1%

Export %13/12

ตาราง : รายละเอียดการสงออกเครื่องจักรกลของไทย เดือนมีนาคม 2013 (ลานบาท)

รูป: การสงออกเครื่องจักรกลของไทยในกลุมผลิตภัณฑหลัก (ลานบาท)

Thailand Machinery Technology journal - May 2013

Page 19: TMT journal - MAY 2013

สําหรับการสงออกเคร่ืองจกัรกลและชิ้นสวน พบวาในเดือนมีนาคม 2013 การสงออกเคร่ืองมือกลคิด

เปนสัดสวนรอยละ 7.84 ของการสงออกทั้งหมด ขณะทีก่ารสงออกเคร่ืองจักรกลการเกษตรและการสงออก

เคร่ืองจกัรกลอุตสาหกรรมคิดเปนสัดสวนรอยละ 5 และ 87.15 ของการสงออกทั้งหมด และเม่ือเปรียบเทยีบกบัเดือน

มีนาคม 2012 พบวาการสงออกขยายตัวในกลุมเคร่ืองจกัรกลการเกษตรและเคร่ืองจักรกลอุตสาหกรรมในอัตรารอย

ละ 8.9 และ 0.8 ตามลําดับ ในทางกลับกนั กลุมเคร่ืองมือกลมียอดการสงออกหดตัวลงถึงรอยละ 21.7 ในกลุมเคร่ืองมือกล พบวา สินคาเคร่ืองมือกลเปนกลุมหลักของการสงออก โดยมียอดสงออกในเดือน

มกราคม 2013 ที่ 1,332 ลานบาท จากยอดสงออกรวมของกลุมเคร่ืองมือกล 1,529 ลานบาท ในกลุมเคร่ืองจักรกลการเกษตร พบวา เคร่ืองจักรงานเกษตรกรรมเปนกลุมหลักของการสงออก โดยมี

ยอดสงออกในเดือนมกราคม 2013 ที่ 938 ลานบาท จากยอดสงออกรวมของกลุมเคร่ืองจักรกลการเกษตร 973 ลานบาท ในกลุมเคร่ืองจักรกลอุตสาหกรรม พบวา เคร่ืองจักรที่ใชในอุตสาหกรรมทั่วไปเปนกลุมหลักของการ

สงออก โดยมียอดสงออกในเดือนมกราคม 2013 ที่ 8,426 ลานบาท จากยอดสงออกรวมของกลุมเคร่ืองจักรกล

อุตสาหกรรม 16,986 ลานบาท และมีเคร่ืองจกัรอุตสาหกรรมกอสรางเปนสินคาสงออกสําคัญอันดับสองของกลุม

อุตสาหกรรมเคร่ืองจกัรกล โดยมียอดสงออกในเดือนมกราคม 2013 ที่ 3,540 ลานบาท

Thailand Machinery Technology journal - May 2013

Page 20: TMT journal - MAY 2013

“สถานการณลาสุดพบวา

กลุมประเทศสําคัญใน

อุตสากรรมเคร่ืองจักรกล

อาเซียน มีดัชนีผลผลิต

เคร่ืองจักรกลในทิศทางที่

หดตัวลง เม่ือเทียบกับ

ชวงเดียวกันของปที่แลว”

124.2

105.7

40

60

80

100

120

140

160

180

Jan

Feb

Mar

A

pr

May

Ju

n Ju

l A

ug

Sep

Oct

N

ov

Dec

Ja

n Fe

b M

ar

Apr

M

ay

Jun

Jul

Aug

Se

p O

ct

Nov

D

ec

Jan

Feb

Mar

A

pr

May

Ju

n Ju

l A

ug

Sep

Oct

N

ov

Dec

Ja

n Fe

b M

ar

2010 2011 2012 2013 ME Singapore

148.5

120.0

40

60

80

100

120

140

160

180

Jan

Feb

Mar

A

pr

May

Ju

n Ju

l A

ug

Sep

Oct

N

ov

Dec

Ja

n Fe

b M

ar

Apr

M

ay

Jun

Jul

Aug

Se

p O

ct

Nov

D

ec

Jan

Feb

Mar

A

pr

May

Ju

n Ju

l A

ug

Sep

Oct

N

ov

Dec

Ja

n Fe

b

2010 2011 2012 2013 ME Malaysia

94.3 85.3

40

60

80

100

120

140

160

180

Jan

Feb

Mar

A

pr

May

Ju

n Ju

l A

ug

Sep

Oct

N

ov

Dec

Ja

n Fe

b M

ar

Apr

M

ay

Jun

Jul

Aug

Se

p O

ct

Nov

D

ec

Jan

Feb

Mar

A

pr

May

Ju

n Ju

l A

ug

Sep

Oct

N

ov

Dec

Ja

n Fe

b

2010 2011 2012 2013 ME Philippines

Thailand Machinery Technology journal - May 2013

Page 21: TMT journal - MAY 2013

ดัชนีผลผลิตเครื่องจักรและอุปกรณ เดือน มี.ค. 56 ขยายตัว 3.8% YoY และขยายตัว 11.2% MoM หากพิจารณา Q1/56 ขยายตัว 11.7% YoY ขยายตัวติดตอกันเปน ไตรมาสท่ี 4 และขยายตัว 15.9% QoQ ท้ังน้ี สูงกวาคาเฉล่ียในชวง เดียวกันของป 46-55 อยูถึง 32.6% และสูงกวาชวงเดียวกันของป 51 อยู 3.7% ชวงป 47-56 ในแตละป ดัชนีผลผลิตหมวดเครื่องจักรและอุปกรณ เดือน มี.ค. สูงกวาเดือนกอน โดยขยายตัวเฉล่ีย 17.3% MoM

Thailand Machinery Technology journal - May 2013

Page 22: TMT journal - MAY 2013

อัตราการใชกําลังการผลิตหมวดเครื่องจักรและอุปกรณ เดือนมี.ค. 56 อยูท่ี 86.1% เพ่ิมขึ้นจาก 81.4% และ 76.6% ในชวงเดียวกัน ของปกอน และเดือนกอน ตามลําดับ หากพิจารณา Q1/56 เฉล่ีย 79.8% เพ่ิมขึ้นจาก 70.3% และ 67.4% ในชวงเดียวกันของปกอน และไตรมาสกอน ตามลําดับ ท้ังน้ี สูงกวาคาเฉล่ียในชวงเดียวกันของ ป 46-55 ท่ี 65.1% มาก และสูงสุดเม่ือเทียบกับชวงเดียวกันของ ป 46-55 ชวงป 47-56 ในแตละป อัตราการใชกําลังการผลิตหมวดเครื่องจักร และอุปกรณ เดือน มี.ค. สูงกวาเดือนกอน โดยเฉล่ีย 9.6%

Thailand Machinery Technology journal - May 2013

Page 23: TMT journal - MAY 2013

การนําเขาในอุตสาหกรรม

เครื่องจักรกลทั้ง 3 กลุมหลัก มี

ทิศทางที่หดตัวลงเมื่อเทียบกับ

ไตรมาศกอน(ไตรมาศ 4/55)

และหดตัวลงอยางมากเมื่อ

เทียบกับชวงเดียวกันของปที่

แลว (ไตรมาศ 1/55)

Page 24: TMT journal - MAY 2013

Import 2013 2012 2011

%13/12 Jan-Mar

Jan-Mar

Jan-Mar

เคร่ืองมือ 1,755 2,404 1,446 -27% เคร่ืองมือกล 18,495 28,464 17,741 -35.0% เคร่ืองจกัรงานเกษตรกรรม 3,481 3,689 6,405 -5.6% เคร่ืองจกัรงานปศุสัตว 365 467 458 -21.7% เคร่ืองจกัรงานโลหกรรม หรือหลอโลหะ 1,578 1,687 1,255 -6.5% เคร่ืองจกัรท่ีใชในอุตสาหกรรมทัว่ไป 40,070 49,964 42,254 -19.8% เคร่ืองจกัรอุตสาหกรรมกระดาษและส่ิงพิมพ 7,929 7,580 7,076 4.6% เคร่ืองจกัรอุตสาหกรรมกอสราง 17,725 19,175 12,181 -7.6% เคร่ืองจกัรอุตสาหกรรมเคร่ืองหนงั 85 196 69 -56.9% เคร่ืองจกัรอุตสาหกรรมบรรจุภณัฑ 3,764 3,090 3,215 21.8% เคร่ืองจกัรอุตสาหกรรมแปรรูปอาหาร 1,604 1,133 1,364 41.6% เคร่ืองจกัรอุตสาหกรรมไฟฟ าและอิเลก็ทรอนิกส 713 1,737 1,160 -59.0% เคร่ืองจกัรอุตสาหกรรมยางหรือพลาสติก 6,503 11,343 5,559 -42.7% เคร่ืองจกัรอุตสาหกรรมส่ิงทอ 2,472 2,466 2,475 0.2% เคร่ืองจกัรอุตสาหกรรมเหมืองแร 1,429 957 1,029 49.3%

Total Machine Tool 20,250 30,868 19,187 -34.4% Total Agricultural Machinery 3,846 4,156 6,862 -7.5% Total Industrial Machinery 83,871 99,328 77,639 -15.6%

Total Import 107,967 134,352 103,688 -19.6%

ตาราง : รายละเอียดการนําเขาเครื่องจักรกลของไทยไตรมาส 1 (ลานบาท)

จากตาราง พบวา การนําเขาเครื่องจกัรกลในกลุมเครื่องมือกลในไตรมาศ 1/56 มีมูลคา

การนําเขาท่ีระดับ 20,250 ลานบาท หดตวัลงถึงรอยละ 34.4 ในสวนของกลุมเครื่องจกัรกลการเกษตร

และเครื่องจักรกลอุตสาหกรรม มีมูลคาการนําเขาท่ีระดับ 3,846 ลานบาท และ 83,871 ลานบาท

ตามลําดับ เม่ือเทียบกับชวงเดียวกันของปท่ีแลว พบวา กลุมเครื่องจักรกลการเกษตรมีระดับการนาํเขาท่ี

หดตัวลงรอยละ 7.5 และกลุมเครื่องจักรกลอุตสาหกรรมหดตัวลงรอยละ 15.6

เม่ือพิจารณาถึงภาพรวมในไตรมาศแรกของป 2556 จะพบวา มีมูลคาการนาํเขาท่ีระดับ

107,967 ลานบาท หดตัวลงรอยละ 19.6 เม่ือเทียบกับชวงเดียวกันของปท่ีแลว โดยกลุมอุตสาหกรรม

เครื่องจักรกลหลักท่ีมีการนําเขาสูงสุด คือ กลุมเครื่องจกัรกลอุตสาหกรรม

Page 25: TMT journal - MAY 2013

การสงออกอุตสาหกรรม

เคร่ืองจักรกลในกลุมเคร่ืองจักรกล

เกษตรมีทิศทางท่ีขยายตัวขึ้น แตใน

กลุมเคร่ืองมือกลและเคร่ืองจักรกล

อุตสาหกรรมยังคงหดตัวลงเล็กนอย

เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปท่ี

แลว (ไตรมาศ 1/55)

Page 26: TMT journal - MAY 2013

Export 2013 2012 2011

%13/12 Jan-Mar

Jan-Mar

Jan-Mar

เคร่ืองมือ 549 414 366 32.6% เคร่ืองมือกล 3,167 3,661 4,163 -13.5% เคร่ืองจกัรงานเกษตรกรรม 2,687 2,128 3,224 26.3% เคร่ืองจกัรงานปศุสัตว 60 124 88 -51.4% เคร่ืองจกัรงานโลหกรรม หรือหลอโลหะ 2,377 416 1,198 471.1% เคร่ืองจกัรท่ีใชในอุตสาหกรรมทัว่ไป 22,185 20,830 26,897 6.5% เคร่ืองจกัรอุตสาหกรรมกระดาษและส่ิงพิมพ 4,301 8,106 8,809 -46.9% เคร่ืองจกัรอุตสาหกรรมกอสราง 9,351 11,359 10,622 -17.7% เคร่ืองจกัรอุตสาหกรรมเคร่ืองหนงั 24 7 4 216.7% เคร่ืองจกัรอุตสาหกรรมบรรจุภณัฑ 526 674 558 -22.1% เคร่ืองจกัรอุตสาหกรรมแปรรูปอาหาร 404 288 156 40.3% เคร่ืองจกัรอุตสาหกรรมไฟฟ าและอิเลก็ทรอนิกส 176 153 104 14.6% เคร่ืองจกัรอุตสาหกรรมยางหรือพลาสติก 685 985 434 -30.5% เคร่ืองจกัรอุตสาหกรรมส่ิงทอ 1,817 2,129 2,014 -14.6% เคร่ืองจกัรอุตสาหกรรมเหมืองแร 760 411 413 84.7%

Total Machine Tool 3,715 4,075 4,529 -8.8% Total Agricultural Machinery 2,747 2,252 3,311 22.0% Total Industrial Machinery 42,604 45,359 51,209 -6.1%

Total Export 49,066 51,686 59,050 -5.1%

ตาราง : รายละเอียดการสงออกเครื่องจักรกลของไทยไตรมาส 1 (ลานบาท)

จากตาราง พบวา การสงออกเคร่ืองจักรกลในกลุมเคร่ืองจักรกลเกษตรในไตรมาศ

1/56 มีมูลคาการสงออกที่ระดับ 2,747 ลานบาท ขยายตวัถึงรอยละ 22.0 ในสวนของกลุมเคร่ืองมือกล

และเคร่ืองจกัรกลอุตสาหกรรม มีมูลคาการสงออกที่ระดบั 3,715 ลานบาท และ 42,604 ลานบาท ตามลําดับ เม่ือเทยีบกับชวงเดียวกันของปที่แลว พบวา กลุมเคร่ืองมือกลมีระดับการสงออกที่หดตัวลง

รอยละ 8.8 และกลุมเคร่ืองจักรกลอุตสาหกรรมหดตัวลงรอยละ 6.1

เม่ือพิจารณาถึงภาพรวมในไตรมาศแรกของป 2556 จะพบวา มีมูลคาการสงออกที่

ระดับ 49,066 ลานบาท หดตัวลงรอยละ 5.1 เม่ือเทียบกับชวงเดียวกันของปที่แลว โดยกลุมอุตสาหกรรมเคร่ืองจกัรกลหลักที่มีการสงออกสูงสุด คือ กลุมเคร่ืองจักรกลอุตสาหกรรม

Page 27: TMT journal - MAY 2013

ดวยการพัฒนาภาคอุตสาหกรรมมีความจําเปนอยางยิ่งที่ตองมีรากฐานการพัฒนา

เคร่ืองจักรกลที่เขมแข็งและสามารถสนับสนุนภาคอุตสาหกรรมในประเทศได โดยเฉพาะอยางยิ่งเพ่ือ

การสนับสนุนและเอ้ือประโยชนใหกับการดําเนินธุรกิจในกลุมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

(SMEs) การพัฒนากลุมสินคา OTOP และการยกระดับอุตสาหกรรมการเกษตร แปรรูป

การเกษตร และอาหารแปรรูป ดังน้ัน กระทรวงอุตสาหกรรม จึงเห็นสมควรใหแตงต้ังคณะกรรมการพัฒนาอุตสาหกรรม

เคร่ืองจักรกลแหงชาติ เพ่ือกําหนดทิศทางและแผนงานการพัฒนาอุตสาหกรรมเคร่ืองจักรกลของ

ประเทศที่มีทิศทางที่สอดคลองรวมกันระหวางภาครัฐและภาคเอกชน เพ่ือเพ่ิมขีดความสามารถใน

การแขงขันที่ยั่งยืน มุงเนนการใชองคความรูและการพัฒนาทุนทางสังคมที่มีคุณภาพ ตลอดจน

กระจายผลประโยชนจากการพัฒนารวมกัน เพ่ือสรางความเขมแข็งของปจจัยสนับสนุนดานการพัฒนา

ทรัพยากรมนุษย โครงสรางพ้ืนฐาน และการพัฒนาดานงานวิจัย งานออกแบบและการผลิต เพ่ือ

พัฒนาเคร่ืองจักรที่สอดคลองกับความตองการภายในประเทศ โดยมีองคประกอบและ องคประกอบ ๑. รองปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม (นายพสุ โลหารชุน) ประธานกรรมการ ๒. ผูอํานวยการสํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม รองประธานกรรมการ ๓. อธิบดีกรมสงเสริมอุตสาหกรรม กรรมการ ๔. กรรมการผูจัดการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม กรรมการ แหงประเทศไทย

๕. ผูอํานวยการสถาบันไทย-เยอรมัน กรรมการ ๖. ผูอํานวยการสํานักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม กรรมการ ๗. ผูอํานวยการสํานักนโยบายและยุทธศาสตร กรรมการ สํานักงานปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม ๘. ประธานกลุมอุตสาหกรรมเคร่ืองจักรกลการเกษตร กรรมการ ๙. ประธานกลุมอุตสาหกรรมเคร่ืองจักรกลและโลหะการ กรรมการ ๑๐. นายกสมาคมเคร่ืองจักรกลไทย กรรมการ ๑๑. ผูอํานวยการสถาบันเหล็กและเหล็กกลาแหงประเทศไทย กรรมการและเลขานุการ

Page 28: TMT journal - MAY 2013

อํานาจหนาท่ี

๑. จัดทําวิสัยทัศน และกลยุทธการพัฒนาอุตสาหกรรมเคร่ืองจักรกลและเคร่ืองจักรกลการเกษตร

เพื่อรองรับการพัฒนาธุรกิจในกลุมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (SMEs) การพัฒนากลุมสินคา

OTOP และการยกระดับอุตสาหกรรมการเกษตร แปรรูปการเกษตร และอาหารแปรรูป

๒. ศึกษาและกําหนดบทบาทการทํางานของศูนยเคร่ืองจักรกลแหงชาติในระยะ ๓ ป ท่ีเปนรูปธรรม

มีตัวช้ีวัด (KPI) ท่ีชัดเจนในระดับกลุมเคร่ืองจักรท่ีสําคัญ กลุมอุตสาหกรรม และผลกระทบในเชิง

เศรษฐกิจ พรอมกรอบงบประมาณในการดําเนินงาน

๓. กําหนดขอบเขตความรับผิดชอบและขอบขายความเช่ือมโยงในการดําเนินงานแบบบูรณาการของ

หนวยงานเครือขายภายในกระทรวงอุตสาหกรรม และ หนวยงานเครือขายภายนอกกระทรวง

อุตสาหกรรม

๔. แตงต้ังคณะอนุกรรมการเพื่อดําเนินงานในสวนท่ีเกี่ยวของ

๕. ปฏิบัติงานอื่นๆ ตามท่ีปลัดกระทรวงอุตสาหกรรมมอบหมาย

Page 29: TMT journal - MAY 2013