9
www.ssru.ac.th รายวชา ETT๑๐๐๖ สาขาวชา เทคโนโลยไฟฟาอุตสาหกรรม คณะมหาวทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา วทยาลัย เทคโนโลยอุตสาหกรรม/ มคอ. (/๒๕๖๐) ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา . คณะ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิชา เทคโนโลยีไฟฟ้า (แขนงเทคโนโลยีพลังงาน) หมวดทีข้อมูลทั่วไป . รหัสและชื่อรายวิชา ETT1006 เขียนแบบวิศวกรรม (Engineering Drawing) . จำนวนหน่วยกิต (--) . หลักสูตรและประเภทของรายวิชา วิทยาศาสตร์บัณฑิต สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า (แขนงเทคโนโลยีพลังงาน) ประเภทของรายวิชา .2 วิชา พื้นฐานวิชาชีพ กลุ่มวิชาบังคับเรียน . อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน อาจารย์อภิรักษ์ ธิตินฤมิต . ภาคการศึกษา/ชั้นปีท่เรียน ภาคการศึกษาทีชั้นปีท. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisite) ไม่มี . รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co-requisites) ไม่มี . สถานที่เรียน ห้องเรียน ๔๒/๔๒๒๓ (.๑๓-๑๗) คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา . วันที่จัดทำหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด วันที๒๘ กรกฎาคม .. ๒๕๖๐

TQF3 Aphirak Thi 2560-1 ETT1006 Engineering Drawing · 2017-08-07 · เทคนิคการร่าง เรขาคณิตประยุกต์ การเขียนรูปภาพและแบบออโธกราฟิก

  • Upload
    others

  • View
    0

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: TQF3 Aphirak Thi 2560-1 ETT1006 Engineering Drawing · 2017-08-07 · เทคนิคการร่าง เรขาคณิตประยุกต์ การเขียนรูปภาพและแบบออโธกราฟิก

www.ssru.ac.th รายวิชา ETT๑๐๐๖ สาขาวิชา เทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม คณะมหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา วิทยาลัย เทคโนโลยีอุตสาหกรรม/

มคอ. ๓ (๑/๒๕๖๐)

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา .

คณะ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิชา เทคโนโลยีไฟฟ้า (แขนงเทคโนโลยีพลังงาน)

หมวดที่ ๑ ข้อมูลทั่วไป ๑. รหัสและชื่อรายวิชา

ETT1006 เขียนแบบวิศวกรรม (Engineering Drawing)

๒. จำนวนหน่วยกิต ๓(๒-๒-๕)

๓. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา วิทยาศาสตร์บัณฑิต สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า (แขนงเทคโนโลยีพลังงาน) ประเภทของรายวิชา ข.2 วิชา

พื้นฐานวิชาชีพ กลุ่มวิชาบังคับเรียน

๔. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน อาจารย์อภิรักษ์ ธิตินฤมิต ๕. ภาคการศึกษา/ชั้นปีที่เรียน ภาคการศึกษาที่ ๑ ชั้นปีที่ ๑ ๖. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisite) ไม่มี ๗. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co-requisites) ไม่มี ๘. สถานที่เรียน ห้องเรียน ๔๒/๔๒๒๓ (อ.๑๓-๑๗) คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

๙. วันที่จัดทำหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด วันที่ ๒๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๐

Page 2: TQF3 Aphirak Thi 2560-1 ETT1006 Engineering Drawing · 2017-08-07 · เทคนิคการร่าง เรขาคณิตประยุกต์ การเขียนรูปภาพและแบบออโธกราฟิก

www.ssru.ac.th รายวิชา ETT๑๐๐๖ สาขาวิชา เทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม คณะมหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา วิทยาลัย เทคโนโลยีอุตสาหกรรม/

มคอ. ๓ (๑/๒๕๖๐)

หมวดที่ ๒ จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ ๑. จุดมุ่งหมายของรายวิชา เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจในโปรแกรมพื้นฐาน และหลักการเขียนแบบวิศวกรรม ตลอดจน

สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้ โดยแยกเป็นประเด็นได้ดังนี้

๑.๑ เพื ่อให้นักศึกษามีคุณธรรม จริยธรรมในตนเอง มีวินัย ตรงต่อเวลา เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ

๑.๒ เพื ่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในเรื ่องของโปรแกรมพื้นฐานและหลักการเขียนแบบวิศวกรรม สามารถนาไปประยุกต์ใช้การปฏิบัติงานจริงได้อย่างเหมาะสม

๑.๓ เพื่อให้นักศึกษามีความสามารถในโปรแกรมพื้นฐานและหลักการเขียนแบบวิศวกรรม โดยการอ้างอิงหลักการและทฤษฎีได้อย่างถูกต้อง

๑.๔ เพื่อให้นักศึกษาฝึกทักษะการทำงานเป็นกลุ่มและการเป็นผู้นำกลุ่มที่ดีในการท างานที่ได้รับมอบหมาย

๑.๕ เพื่อให้นักศึกษาฝึกใช้ทักษะในการวิเคราะห์เชิงปริมาณ เช่น โปรแกรมพื้นฐาน และหลักการเขียนแบบวิศวกรรม

๒. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องการเขียนแบบวิศวกรรม ตลอดจนสามารถนำความรู้ที่ได้รับ

ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้ โดยแยกเป็นประเด็นได้ดังนี้ ๒.๑ เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องของโปรแกรมและหลักการเขียนแบบวิศวกรรม ๒.๒ เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำความรู้ทางด้านโปรแกรมและการเขียนแบบวิศวกรรม สามารถสร้าง

นวัตกรรมเทคโนโลยีไฟฟ้าได้

หมวดที่ ๓ ลักษณะและการดำเนินการ ๑. คำอธิบายรายวิชา

เทคนิคการร่าง เรขาคณิตประยุกต์ การเขียนรูปภาพและแบบออโธกราฟิก ภาพตัด ภาพด้านพิเศษ การสร้างแผ่นคลี่ การกำหนดขนาดและความคลาดเคลื่อน การเขียนอักษรเชิงวิศวกรรม คอมพิวเตอร์ช่วยงานออกแบบ

Sketching techniques, applied geometry, pictorials and orthographic drawing, section views, auxiliary views, pattern development, dimension and tolerance setting, engineering lettering, computer-aided design

Page 3: TQF3 Aphirak Thi 2560-1 ETT1006 Engineering Drawing · 2017-08-07 · เทคนิคการร่าง เรขาคณิตประยุกต์ การเขียนรูปภาพและแบบออโธกราฟิก

www.ssru.ac.th รายวิชา ETT๑๐๐๖ สาขาวิชา เทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม คณะมหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา วิทยาลัย เทคโนโลยีอุตสาหกรรม/

มคอ. ๓ (๑/๒๕๖๐)

๒. จำนวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา

บรรยาย (ชั่วโมง)

สอนเสริม (ชั่วโมง)

การฝึกปฏิบัติงานภาคสนาม/การฝึกงาน

(ชั่วโมง)

การศึกษาด้วยตนเอง (ชั่วโมงต่อสัปดาห์)

๒ ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ไม่มี ๒ ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ๕ ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ๓. จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล

จัดให้นักศึกษาสอบถามในช่วงวันพุธเวลา ๐๙.๐๐ – ๑๓.๐๐ น หรือภายหลังจากการเรียนการสอน เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำวิธีการไปปรับปรุงทักษะในการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ เพื่อให้เข้าใจง่าย และถูกต้องตามหลักการ พร้อมทั้งแนะนำวิธีการค้นหา และศึกษาด้วยตนเองเป็นรายบุคคล

หมวดที่ ๔ การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา

รายวิชา คุณธรรม จริยธรรม

ความรู ้ทักษะ ทางปัญญา

ทักษะทางความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และความรับผิดชอบ

ทักษะการวิเคราะห ์เชิงตัวเลข การสื่อสารและ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

๑ ๒ ๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๑ ๒ ๓ EET1006 เขียนแบบวิศวกรรม ● ○ ● ○ ○ ○ ○ ● ● ○ ○ ○ ●

๑. คุณธรรม จริยธรรม

๑.๑ คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา

- มีวินัย ซื่อสัตย์สุจริตและเสียสละ (๑) (●) - มีความรับผิดชอบต่อสวัสดิภาพ และความปลอดภัยต่อตนเอง และผู้อื่น (๒) (○)

๑.๒ วิธีการสอน

- มีการสอดแทรกเรื ่องคุณธรรม จริยธรรม การเสียสละและความซื ่อสัตย์สุจริต พร้อม

ยกตัวอย่างในชีวิตประจำวันประกอบ

- กำหนดหลักเกณฑ์ต่าง ๆ เช่น การให้นักศึกษาเข้าเรียนตรงต่อเวลาแต่งตัวเป็นระเบียบ

ถูกต้องตามมหาวิทยาลัย

- การยกตัวอย่างและยกย่องนักศึกษาที่ดีในชั้นเรียน

- ให้นักศึกษามีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมาย รวมถึงทำงานเป็นทีม และมีความซื่อสัตย์ในการสอบ ตรงต่อเวลาและรับผิดชอบสิ่งที่ได้กระทำลงไป

Page 4: TQF3 Aphirak Thi 2560-1 ETT1006 Engineering Drawing · 2017-08-07 · เทคนิคการร่าง เรขาคณิตประยุกต์ การเขียนรูปภาพและแบบออโธกราฟิก

www.ssru.ac.th รายวิชา ETT๑๐๐๖ สาขาวิชา เทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม คณะมหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา วิทยาลัย เทคโนโลยีอุตสาหกรรม/

มคอ. ๓ (๑/๒๕๖๐)

๑.๓ วิธีการประเมินผล

- ประเมินจากการตรงต่อเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน ร้อยละ ๘๐

- ประเมินการส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย ตามกฎเกณฑ์ที่อาจารย์ผู้สอนกำหนด

รวมถึงสามารถทำงานเป็นทีมได้อย่างมีประสิทธิภาพ

- มีการอ้างอิงเอกสารที่ทำรายงานหรือทำการบ้านที่ถูกต้อง

- ไม่มีการทุจริตในการสอบ

๒. ความรู้

๒.๑ ความรู้ที่ต้องได้รับ

- มีความรู้และความเข้าใจในหลักการ และทฤษฎี ของเนื้อหาในรายวิชา (๑) (●) - มีความรู้ ความเข้าใจต่อกฎหมาย ระเบียบและข้อบังคับวิชาชีพในปัจจุบัน (๒) (○) - บูรณาการความรู้เพื่อต่อยอดองค์ความรู้ หรือทำโครงงาน หรืองานวิจัย (๓) (○) ๒.๑.๑ มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีรวมถึงวิธีการใช้โปรแกรมในการเขียนแบบ ๒.๑.๒ สามารถวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายปัญหา รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมในการแก้ไขปัญหา ๒.๑.๓ มีประสบการณ์ในการพัฒนาและ/หรือการประยุกต์ความรู้ในสาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรมกับงานจริงได้

๒.๑.๔ สามารถบูรณาการความรู้เพื่อต่อยอดองค์ความรู้ หรือทาโครงงาน หรืองานวิจัย ๒.๒ วิธีการสอน

๒.๒.๑ การบรรยาย ยกตัวอย่างกรณีศึกษา หลักการวิเคราะห์ถาม – ตอบในชั้นเรียน ๒.๒.๒ การใช้คอมพิวเตอร์และภาพฉายตัวอย่าง และชิ้นส่วนหรืออุปกรณ์ตัวอย่างในการ

มองภาพ 2 และ 3 มิติ ๒.๒.๓ นักศึกษาไปค้นคว้าเพิ่มเติม และจัดทำเป็นรายงานตลอดจนนำเสนอรายงานในชั้น

เรียน ๒.๓ วิธีการประเมินผล

๒.๓.๑ ทดสอบโดยข้อเขียน และการประเมินผลจากรายงานที่ได้รับมอบหมาย ๒.๓.๒ ประเมินจากการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน

๓. ทักษะทางปัญญา ๓.๑ ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา

- มีทักษะการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ (๑) (○) - มีทักษะการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ (๒) (○) - มีทักษะการปฏิบัติงานในวิชาชีพ (๓) (●) ๓.๑.๑ สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาโปรแกรมพื้นฐานและหลักการเขียนแบบวิศวกรรม โดยการอ้างอิงหลักการและทฤษฎีได้อย่างถูกต้อง

๓.๑.๒ สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการได้๓.๑.๓ สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะทักษะการปฏิบัติงานในวิชาชีพ

Page 5: TQF3 Aphirak Thi 2560-1 ETT1006 Engineering Drawing · 2017-08-07 · เทคนิคการร่าง เรขาคณิตประยุกต์ การเขียนรูปภาพและแบบออโธกราฟิก

www.ssru.ac.th รายวิชา ETT๑๐๐๖ สาขาวิชา เทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม คณะมหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา วิทยาลัย เทคโนโลยีอุตสาหกรรม/

มคอ. ๓ (๑/๒๕๖๐)

๓.๒ วิธีการสอน ๓.๒.๑ สอนและฝึกให้ใช้โปรแกรมพื้นฐาน และทักษะการเขียนแบบวิศวกรรม จาก

กรณีศึกษาไว้แล้วโดยให้ไปค้นคว้าจากเอกสารต่าง ๆ รวมการค้นคว้าฐานข้อมูล ๓.๒.๒ การนาเสนอผลงานและการอภิปรายกลุ่ม

๓.๓ วิธีการประเมินผล ๓.๓.๑ ทดสอบโดยข้อเขียน และสังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในการอภิปรายปัญหาใน

ชั้นเรียน ๓.๓.๒ ดูจากรายงาน การนำเสนอรายงานและการมีส่วนร่วมในการเสนอข้อคิดเห็นในชั้น

เรียน ๔. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ

๔.๑ ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา - มีความรับผิดชอบและแสดงบทบาทที่เหมาะสมในการทำงานร่วมกับผู้อื่น (๑) (●) - มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาและสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม (๒) (○) ๔.๑.๑ มอบหมายงานเป็นกลุ่มฝึกทักษะการเป็นผู้นำกลุ่ม และสมาชิกที่ดีโดยมีการสลับกัน

เป็นหัวหน้ากลุ่มในการทำงานที่ได้รับมอบหมาย ๔.๑.๒ มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม

๔.๒ วิธีการสอน ๔.๒.๑ ใช้การสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญเป็นเครื่องมือ โดยกำหนดให้นักศึกษาทำงานกลุ่ม

หรือโครงงานในลักษณะของการทางานเป็นทีม ๔.๒.๒ โดยกำหนดกิจกรรมให้มีการทำงานเป็นกลุ่ม การทำงานที่ต้องประสานงานกับเพื่อน

ในชั้นเรียน ๔.๒.๓ เรียนรู้จากกรณีศึกษา เรื่องปัญหาความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในการปฏิบัติงาน

๔.๓ วิธีการประเมินผล - ผู้สอนประเมินจากกระบวนการทำงาน และผลงานที่ได้จากงานกลุ่ม

- ผู้เรียนด้วยกันประเมิน - ประเมินตัวเอง

๕. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ๕.๑ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

- เลือกและประยุกต์ใช้เทคนิคทางสถิติหรือคณิตศาสตร์เพื่อตัดสินใจ (๑) (○) - ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อรวบรวมข้อมูล ประมวลผล แปลความหมายและ เสนอข้อมูลสารสนเทศ (๒) (○)

- สื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพและเหมาะสม (๓) (●) โครงงานที่มอบหมายจะมีส่วนที่ต้องใช้ทักษะในการวิเคราะห์เชิงปริมาณ เช่น โปรแกรมพื้นฐาน และหลักการเขียนแบบวิศวกรรม

Page 6: TQF3 Aphirak Thi 2560-1 ETT1006 Engineering Drawing · 2017-08-07 · เทคนิคการร่าง เรขาคณิตประยุกต์ การเขียนรูปภาพและแบบออโธกราฟิก

www.ssru.ac.th รายวิชา ETT๑๐๐๖ สาขาวิชา เทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม คณะมหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา วิทยาลัย เทคโนโลยีอุตสาหกรรม/

มคอ. ๓ (๑/๒๕๖๐)

๕.๒ วิธีการสอน ๕.๒.๑ มีการเสนองานกลุ่มหรือโครงงานต่อชั้นเรียน พร้อมข้อเสนอแนะเพื่อเน้นให้นักศึกษา

ใช้ภาษาที่ถูกต้อง ชัดเจนและกระชับ ๕.๒.๒ ในการค้นคว้านั้นส่วนหนึ่งนักศึกษาจะต้องค้นคว้าจากวารสารหรือฐานข้อมูลที่เป็น

ภาษาอังกฤษ ๕.๒.๓ ในการนำเสนอนั้นจะต้องใช้ Power point นำเสนอ

๕.๓ วิธีการประเมินผล ๕.๓.๑ ประเมินจากผลงานที่ต้องวิเคราะห์โดยใช้ทฤษฎี ๕.๓.๒ ประเมินจากภาษาที่ใช้ในการเขียนรายงานและการนำเสนอในชั้นเรียน ๕.๓.๓ ประเมินจากการนำเสนอข้อมูลอย่างเป็นระบบ โดยอาจนำเสนอในรูปของตัวเลข

กราฟหรือตาราง

หมวดที่ ๕ แผนการสอนและการประเมินผล

๑. แผนการสอน สัปดาห ์ที่

เนื้อหา จำนวนคาบ

กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อที่ใช ้ ผู้สอน

๑. บทที ่๑ ความรู้เบื้องต้น การติดตั้งโปรแกรมการเขียนแบบ

๑. ผู้สอนแจ้งรายละเอียดของรายวิชา แบ่งกลุ่มรายงาน,บรรยาย , ยกตัวอย่าง ๒. การบรรยาย / ถาม-ตอบ

อภิรักษ์

๒. บทที ่๒ ทฤษฎี หลักการพื้นฐานและเครื่องมือในโปรแกรม

บรรยาย , ยกตัวอย่างPowerPointแบบฝึกหัด/ถาม-ตอบ

อภิรักษ์

๓. บทที ่๒ ทฤษฎี หลักการพื้นฐานและเครื่องมือในโปรแกรม

บรรยาย , ยกตัวอย่างPowerPointแบบฝึกหัด/ถาม-ตอบ

อภิรักษ์

๔. บทที ่๓ การสร้างเทมเพลสและกาหนดมาตราส่วน ๔

บรรยาย , ยกตัวอย่างPowerPointแบบฝึกหัด/ถาม-ตอบ

อภิรักษ์

๕. บทที ่๔ รูปแบบเลขาคณิตพื้นฐานและการประยุกต ์ ๔

บรรยาย , ยกตัวอย่างPowerPointแบบฝึกหัด/ถาม-ตอบ

อภิรักษ์

๖. บทที ่๔ รูปแบบเลขาคณิตพื้นฐานและการประยุกต ์ ๔

บรรยาย , ยกตัวอย่างPowerPointแบบฝึกหัด/ถาม-ตอบ

อภิรักษ์

๗. บทที ่๕ การเขียนภาพวาดบนระนาบ

บรรยาย , ยกตัวอย่างPowerPointแบบฝึกหัด/ถาม-ตอบ

อภิรักษ์

๘. สอบกลางภาคเรียน

๙. บทที ่๖ การเขียนภาพ Isometric 2 มิติและ 3 มิติ ๔

บรรยาย , ยกตัวอย่างPowerPointแบบฝึกหัด/ถาม-ตอบ

อภิรักษ์

๑๐. บทที ่๗ การเขียนภาพฉาย 2 มิต ิ ๔

บรรยาย , ยกตัวอย่างPowerPointแบบฝึกหัด/ถาม-ตอบ

อภิรักษ์

Page 7: TQF3 Aphirak Thi 2560-1 ETT1006 Engineering Drawing · 2017-08-07 · เทคนิคการร่าง เรขาคณิตประยุกต์ การเขียนรูปภาพและแบบออโธกราฟิก

www.ssru.ac.th รายวิชา ETT๑๐๐๖ สาขาวิชา เทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม คณะมหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา วิทยาลัย เทคโนโลยีอุตสาหกรรม/

มคอ. ๓ (๑/๒๕๖๐)

สัปดาห ์ที่

เนื้อหา จำนวนคาบ

กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อที่ใช ้ ผู้สอน

๑๑. บทที ่๘ การเขียนภาพฉาย 3 มิต ิ ๔

บรรยาย , ยกตัวอย่างPowerPointแบบฝึกหัด/ถาม-ตอบ

อภิรักษ์

๑๒. ฝึกทักษะการเขียนแบบวิศวกรรมด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร ์

บรรยาย , ยกตัวอย่างPowerPointแบบฝึกหัด/ถาม-ตอบ

อภิรักษ์

๑๓. ฝึกทักษะการเขียนแบบวิศวกรรมด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร ์

บรรยาย , ยกตัวอย่างPowerPointแบบฝึกหัด/ถาม-ตอบ

อภิรักษ์

๑๔. ฝึกทักษะการเขียนแบบวิศวกรรมด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร ์

บรรยาย , ยกตัวอย่างPowerPointแบบฝึกหัด/ถาม-ตอบ

อภิรักษ์

๑๕. ฝึกทักษะการเขียนแบบวิศวกรรมด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร ์

บรรยาย , ยกตัวอย่างPowerPointแบบฝึกหัด/ถาม-ตอบ

อภิรักษ์

๑๖. ทบทวนพื้นฐานการใช้คอมพิวเตอร์ในการเขียนแบบ การพิมพ์แบบและอื่น ๆ

บรรยาย , ยกตัวอย่างPowerPointแบบฝึกหัด/ถาม-ตอบ

อภิรักษ์

๑๗. สอบปลายภาคเรียน

๒. แผนการประเมินผลการเรียนรู้

ผลการเรียนรู้ วีธีการประเมินผลการเรียนรู้ สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วน ของการประเมินผล

๑.๓.๒, ๑.๓.๓, ๒.๓.๑,๓.๓.๑ สอบกลางภาค สอบปลายภาค

๘ ๑๗

๒๕ ๒๕

๑.๓.๒, ๒.๓.๒, ๓.๑.๑,๓.๑.๒,

๓.๒.๒, ๔.๑.๑,๔.๑.๒, ๔.๒.๑,

๔.๒.๒,๔.๒.๓, ๕.๒.๑,

๕.๒.๒,๕.๒.๓

รายงานกลุ่ม นำเสนอรายงานแบบฝึกหัดและใบงาน

ตลอดเทอม ๔๐

๑.๓.๑, ๑.๓.๒, ๒.๓.๒,๓.๒.๒,

๓.๓.๑, ๔.๓.๑,๔.๓.๒, ๕.๓.๒,

๕.๓.๓

มีส่วนร่วมในห้องเรียน ตลอดเทอม ๑๐

*มีโบนัสร้อยละ ๓ สำหรับนักศึกษาที่แต่งกายถูกต้องตามระเบียบของสถาบันทุกครั้ง และขาดเรียนไม่เกิน ๒ครั้ง

Page 8: TQF3 Aphirak Thi 2560-1 ETT1006 Engineering Drawing · 2017-08-07 · เทคนิคการร่าง เรขาคณิตประยุกต์ การเขียนรูปภาพและแบบออโธกราฟิก

www.ssru.ac.th รายวิชา ETT๑๐๐๖ สาขาวิชา เทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม คณะมหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา วิทยาลัย เทคโนโลยีอุตสาหกรรม/

มคอ. ๓ (๑/๒๕๖๐)

หมวดที่ ๖ ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน

๑. ตำราและเอกสารหลัก ๑. เอกสารประกอบการสอนโปรแกรมและการเขียนแบบพื้นฐาน

๒. เอกสารและข้อมูลสำคัญ

- เว็บไซต์ teacher.ssru.ac.th/Aphirak.th - อนุชา วัฒนาภา และสุทธิพงษ์ โสภา และพลศักดิ์ เลิศหิรัญปัญญา (2553) - Fundamental ofEngineering Drawing, Mc Graw-Hill, กรุงเทพฯ

๓. เอกสารและข้อมูลแนะนำ -

หมวดที่ ๗ การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของรายวิชา

๑. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา การประเมินประสิทธิผล จัดทำขึ้นโดยใช้กิจกรรมการระดมความคิดของนักศึกษา ดังนี้ ๑.๑ การสนทนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับขอบข่ายและวิธีการสอนระหว่างอาจารย์กับนักศึกษา ๑.๒ การให้นักศึกษาร่วมกันออกแบบประเมินอาจารย์และแบบประเมินตนเอง ๑.๓ แบบประเมินผู้สอนตามเกณฑ์ของมหาวิทยาลัย

๒. กลยุทธ์การประเมินการสอน การใช้กลยุทธ์การเก็บข้อมูลเพื่อการประเมินการสอน ดังนี้ ๒.๑ การแสดงความคิดเห็นของนักศึกษาที่มีต่ออาจารย์ ๒.๒ ผลการเรียนของนักศึกษา ๒.๓ การทวนสอบผลการเรียนรู้ของนักศึกษา ๒.๔ การทวนสอบผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา

๓. การปรับปรุงการสอน ๑. ตรวจปรับโดยอาศัยผลจากข้อ 2 ปรับปรุงวิธี/กิจกรรมการสอน เอกสารประกอบการสอนและสื่อ๒. ประชุมปรึกษาหารือนาเสนอปัญหาและวิธีแก้ไขในที่ประชุมอาจารย์ประจาหลักสูตร/สาขาวิชา

๔. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา ๑. ใช้การสังเกตพฤติกรรม สัมภาษณ์ ประเมินผลงานระหว่างภาคและผลการสอบย่อย เพื่อปรับ

พฤติกรรมผู้เรียนและปรับปรุงวิธีจัดการเรียนการสอนในภาคการศึกษาปัจจุบัน ๒. พิจารณาผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวังของรายวิชาโดยผู้สอน ๓. ประชุมระดับผู้รับผิดชอบหลักสูตร พิจารณาผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาโดยภาพรวมและรายบุคคล

และใช้กลไกระดับคณะโดยการประชุมพิจารณาของกรรมการประจำคณะ

Page 9: TQF3 Aphirak Thi 2560-1 ETT1006 Engineering Drawing · 2017-08-07 · เทคนิคการร่าง เรขาคณิตประยุกต์ การเขียนรูปภาพและแบบออโธกราฟิก

www.ssru.ac.th รายวิชา ETT๑๐๐๖ สาขาวิชา เทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม คณะมหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา วิทยาลัย เทคโนโลยีอุตสาหกรรม/

มคอ. ๓ (๑/๒๕๖๐)

๕. การดำเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา (อธิบายกระบวนการในการนำข้อมูลที่ได้จากการประเมินจากข้อ ๑ และ ๒ มาวางแผนเพื่อปรับปรุง

คุณภาพ) สาขาวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดยพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดย

นักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินของภาควิชา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานรายวิชา เสนอต่อที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงพร้อมนำเสนอสาขาวิชา / คณะ เพื่อใช้ในการสอนครั้งต่อไป

***********************