148
การศึกษาเปรียบเทียบคําสอนเรื่องกตัญูในลัทธิขงจื๊อกับในพระพุทธศาสนา ที่มีตอครอบครัว A COMPARATIVE STUDY OF KATAÑÑŪ IN CONFUCIANISM AND BUDDHISM ON FAMILY พระมหาวชิรพงษ ปฺาวชิโร (มะพารัมย) วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษา ตามหลักสูตรปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พุทธศักราช ๒๕๕๐ Page 1 of 148 ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

Ū ON FAMILY¸žระมหาวช รพงษ ป าวช (โรมะพาร มย) ว ทยาน พนธ น นสเปวนหน งของการศ กษา

Embed Size (px)

Citation preview

การศึกษาเปรียบเทียบคําสอนเรื่องกตัญูในลัทธิขงจื๊อกับในพระพุทธศาสนา ที่มีตอครอบครัว

A COMPARATIVE STUDY OF KATAÑÑŪ IN CONFUCIANISM AND BUDDHISM ON FAMILY

พระมหาวชิรพงษ ปฺาวชิโร (มะพารัมย)

วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษา ตามหลักสูตรปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต

สาขาวิชาพระพุทธศาสนา บัณฑิตวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พุทธศักราช ๒๕๕๐

Page 1 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

การศึกษาเปรียบเทียบคําสอนเรื่องกตัญูในลัทธิขงจื๊อกับในพระพุทธศาสนา ที่มีตอครอบครัว

พระมหาวชิรพงษ ปฺาวชิโร (มะพารัมย)

วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษา

ตามหลักสูตรปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

พุทธศักราช ๒๕๕๐

(ลิขสิทธิ์เปนของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย)

Page 2 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

A COMPARATIVE STUDY OF KATAÑÑŪ IN CONFUCIANISM AND BUDDHISM ON FAMILY

PHRAMAHĀ WACHIRAPONG PAÑÑĀVAJIRO (MAPARAM)

A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of The Requirement for the Degree of

Master of Arts (Buddhist Studies) Graduate School

Mahachulalongkornrajavidayalaya University

Bangkok Thailand

Page 3 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย อนุมัติใหนับวิทยานิพนธฉบับนี้ เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา

( พระศรีสิทธิมุนี ) คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

คณะกรรมการตรวจสอบวิทยานิพนธ.......................................................ประธานกรรมการ (พระครูปลดัสุวัฒนวชิรคุณ)

………………………………….... กรรมการ (พระมหากฤษณะ ตรุโณ)

……………………………………. กรรมการ (ดร.สุวิญ รักสัตย) ..……………………………………กรรมการ (ดร.สมทิธิพล เนตรนิมิตร)

..…………………………………... กรรมการ (นายกฤต ศรียะอาจ) คณะกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ พระมหากฤษณะ ตรุโณ ประธานกรรมการ ดร.สมิทธิพล เนตรนิมิตร กรรมการ นายกฤต ศรียะอาจ กรรมการ

Page 4 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

ชื่อวิทยานิพนธ : การศึกษาเปรียบเทียบคําสอนเรือ่งกตัญูในลัทธิขงจื๊อ กับในพระพุทธศาสนาที่มีตอครอบครัว

ชื่อผูวิจัย : พระมหาวชิรพงษ ปฺญาวชิโร (มะพารัมย)

ปริญญา : พุทธศาสตรมหาบัณฑิต (พระพุทธศาสนา)

คณะกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ : พระมหากฤษณะ ตรุโณ ป.ธ. ๓, พธ.บ.,พธ.ม., Ph.D. (Phil.) : ดร.สมิทธพิล เนตรนิมิตร ป.ธ.๙, พ.ม.,พธ.บ.,พธ.ม., Ph.D. : นายกฤต ศรียะอาจ ป.ธ. ๔, พธ.บ.(ปรัชญา), พธ.ม. (ปรัชญา)

วันสําเร็จการศึกษา : ๔ มีนาคม ๒๕๕๑

บทคัดยอ งานวิจัยนี้มีจุดมุงหมายเพื่อศึกษาเปรียบเทียบแนวคําสอนเรื่อง “เสี้ยว” ในลัทธิขงจื๊อ และ “กตัญู” ในทางพระพุทธศาสนา จากการศึกษาไดขอสรุปดังนี้

แนวคําสอนเรื่อง “เสี้ยว” และ “กตัญู” มีลักษณะสอดคลองกัน เปนหลักธรรมที่แสดงถึงความสัมพันธระหวางมนุษยตอมนุษย และมนุษยตอสิ่งแวดลอมทั้งทางกายภาพ และทางสังคม ซึ่งทุกฝายตางก็อิงอาศัยกัน อยูในฐานะมีบุญคุณตอกัน และจะตองแสดงออกเปนการตอบแทนในลักษณะใดลักษณะหนึ่งตามสมควรแกโอกาส และสถานะ แมในรายละเอียดจะมีการเนนย้ําที่แตกตางกันบาง แตหลักการของคําสอนก็ยังสอดคลองกัน

การประยุกตใชทางสังคม พบวา ทั้ง “เสี้ยว” ในลัทธิขงจื๊อ และ “กตัญู” ในพระพุทธศาสนา ไดรับการประยุกตใชในสังคมมาตั้งแตอดีต กระทั่งถึงปจจุบัน คุณธรรมขอนี้ไดกลายมาเปน “เสาหลัก” ที่จะชวยพยุง หรือค้ําชูสังคมใหเกิดสันติสุข เกิดความรมเย็น ทั้งในสังคมจีน และสังคมไทย โดยเฉพาะในสังคมไทยปจจุบัน หลักความกตัญูที่มาพรอมกับคนไทยเชื้อสายจีน และหลักความกตัญูที่มาจากพระพุทธศาสนา ไดหลอหลอมเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน จนไมสามารถแยกออกจากกันได

Page 5 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

Thesis Title : A Comparative Study of Kataññū in Confucianism and Buddhism on Family

Researcher : Phramahā Wachirapong Paññāvajiro (Maparam) Degree : Master of Arts (Buddhist Studies) Thesis Supervisory Committee : Phramahā Grissana Taruno Pali III, B.A., M.A., Ph.D. : Dr.Samitthipol Netnimit Pali IX, B.A., M.A., Ph.D. : Mr.Krit Sriya-aj Pali IIII, B.A., M.A. Date of Graduation : March 4, 2008.

ABSTRACT The objective of this research is to comparatively study the gratitude, Kataññutā in Buddhism and Hsiâo in Confucianism. The results of the study can be summed up as follows :- Both Buddhism and Confucianism explain “Kataññutā” and “Hsiâo” in the same meaning that identify the virtue that the people can practice together under the condition of the social relatives as well as the relatives between men and the social environment by means of depending on one another. By nature, men always give and get something from other people all the time, so they must do something in return to other people. Although, in details, Buddhism and Confucianism emphasize some different points, the principles of teaching are still in compliance with each other. From the application of such the doctrine(Kataññutā) to societies, it is found that in Buddhism, the doctrine of Kataññutā is the main pillar to help and to support the societies to be possessed of peaceful happiness in both the Thai and Chinese societies at the present time. Whereas, the Hsiâo in Confucianism is also the main virtue which is also the main pillar helping and supporting the Chinese societies to be in happiness. Thus, the doctrine of Kataññutā and the doctrine of Hsiâo are one and the same doctrines helping the Thai people and the Chinese people to live together happily.

Page 6 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

กิตติกรรมประกาศ

ขอนอบนอมแดคุณพระรัตนตรัย คือ คุณพระพุทธ คุณพระธรรม และคุณพระสงฆที่ทรงพระคุณอันประเสริฐ ขอแสดงความเคารพตอคุณบิดามารดาผูใหกําเนิด ครูอาจารยผูใหวิชาความรู ขอแสดงความเมตตาธรรมตอสรรพสัตวโดยทั่วทุกตัวตน

วิทยานิพนธฉบับนี้กวาจะสําเร็จลงได อาศัยความเมตตาจากผูมีพระคุณหลาย ทานไดใหความชวยเหลือแนะนําใหโอกาสแกผูวิจัย ซึ่งจะขออนุญาตเอยนามทานไว เพ่ือเปนการแสดงออกซึ่งความกตัญูตอทานดังตอไปนี้

ขอบคุณ มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ที่ไดใหโอกาสทางการศึกษาแกผูวิจัยไดมาศึกษาหาความรูทําเขาใจหลักธรรมในพระพุทธศาสนา อันเปนสถาบันที่ทรงคุณคาทางพระพุทธศาสนาสําหรับบุคคลที่สนใจในพระพุทธศาสนาและคนทั่วไป

ขอบคุณ พระมหาตวน สิริธมฺโม แมทานจะละโลกนี้ไปแลวแตทานไดใหคําแนะนําบอกกลาวแกผู วิจัยเปนอยางดียิ่ง ขอทานอาจารยจงไปสูความสงบดีงามในสัมปรายภพเถิด ขอบคุณ พระมหากฤษณะ ตรุโณ ,ดร.สมิทธิพล เนตรนิมิตร , นายกฤต ศรียะอาจ คณะอาจารยที่ปรึกษาที่ไดแนะนําวิธีการทํา ชวยตรวจตรากลั่นกรองจนกระทั่งวิทยานิพนธฉบับนี้สําเร็จลงได ตอองขอขอบพระคุณเปนอยางยิ่ง ขอบคุณ พระมหาโชว ทสฺสนีโย ที่ทานไดชวยแนะนําใหกําลังใจตลอดมาทั้งทุนการศึกษาและกําลังใจ , พระมหากมล ถาวโร ที่ทานชวยแนะนําใหกําลังใจในการเขียนดวยดีตลอดมา ขอขอบคุณทานพระมหาบุญเรือง ปฺญาวชิโร ที่ทานไดชวยแนะนําพรอมไดอาศัยหองทานที่เปนเสมือนหองสมุดหองหนึ่งที่ผูวิจัยไดอาศัยทําการคนควาขอมูลในการเขียน , พระมหาถนอม อานนฺโท , พระมหาบุญเกิด กตเวที ที่ทานไดมีสวนในการแนะนําชวยเหลือในยามทุกขยาก ขอขอบคุณไว ณ โอกาสนี้

ขอบคุณ พระครูโฆษิตบุญญากร(ธนิต โฆสกาโร) เจาอาวาสวัดเทวสุนทร พระคุณทานนอกจากงามดวยจริยวัตรแลว ยังมีเมตตาธรรมสูง ทานอนุเคราะหใหผูวิจัยอยูอาศัยศึกษาเลาเรียนอยางดียิ่งตลอดมา

Page 7 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

เจริญพรขอบคุณ คุณยายเสมอ-พ่ีนงลักษณ มาพุฒ ที่ไดใหการสนับสนุนทุนเพ่ือการศึกษาและปจจัยเพื่อการบริโภคตลอดที่ผูวิจัยอาศัยอยู ณ ที่นี้ ตลอดทั้งคณะอุบาสก-อุบาสิกา คณะกรรมการ ไวยาวัจกร วัดเทวสุนทร ทุกทานที่ใหความอนุเคราะหและเปนกําลังใจในการศึกษาแกผูวิจัย หากขาดซึ่งทุกทานที่เอยมางานนิพนธฉบับนี้คงจะสําเร็จลงไดโดยยากยิ่ง จึงขอขอบคุณทุกทานไว ณ ที่นี้อีกครั้งหนึ่ง

สุดทาย ขอบคุณเพื่อนๆ รุน ๑๕ ทุกรูป/คน ที่คอยใหกําลังใจเปนหวงคอยติดตามถามไถถึงความคืบหนาอยูตลอดเวลา และขอบคุณกับอีกหลายทานที่มีสวนรวมใหกําลังใจ แนะนําบอกกลาวกับผูวิจัยดวยดีมาโดยตลอด คุณคาของผูที่กระทําบุพพการีกรรมไวกอนเชนนี้ควรคาแกการแสดงความสํานึกในบุญคุณและกระทําการตอบแทนเปนอยางยิ่ง ผูวิจัยขอนําความมีเมตตาที่ทุกทานมีใหนี้ไวเปนคุณธรรมเพื่อพัฒนาตนเองและพัฒนางานในครั้งตอๆ ไป

พระมหาวชิรพงษ ปฺญาวชิโร ๔ มีนาคม ๒๕๕๑

Page 8 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

คําอธิบายสัญลักษณและคํายอ

๑. อธิบายคํายอภาษาไทย

ก. คัมภีรพระไตรปฎก ในงานวิจัยนี้ ผูวิจัยใชพระไตรปฎก ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจาสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ พุทธศักราช ๒๕๓๙ ในการอางอิง จะระบุ เลม/ขอ/หนา หลังอักษรยอชื่อคัมภีร ดังตัวอยาง เชน วิ.มหา. ๑/๒๑/๑๘(ไทย) หมายถึง วินัยปฎก มหาวรรค ฉบับภาษาไทย เลมที่ ๑ ขอที่ ๒๑ หนาที่ ๑๘ ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจาสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ พุทธศักราช ๒๕๓๙ เรียงตามลําดับคัมภีรดังนี้

พระวินัยปฎก วิ.มหา. (ไทย) = พระวินัยปฎก มหาวรรค (ภาษาไทย)

พระสุตตันตปฎก ที.ปา. (ไทย) = ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค (ภาษาไทย) สัง.ส. (ไทย) = สังยุตตนิกาย สคาถวรรค (ภาษาไทย) สัง.นิ. (ไทย) = สังยุตตนิกาย นิทานวรรค (ภาษาไทย) อัง.ทุก. (ไทย) = อังคุตตรนิกาย ทุกนิบาต (ภาษาไทย) อัง.ติก. (ไทย) = อังคุตตรนิกาย ติกนิบาต (ภาษาไทย) อัง.จตุก. (ไทย) = อังคุตตรนิกาย จตุกกนิบาต (ภาษาไทย) อัง.ปญจก. (ไทย) = อังคุตตรนิกาย ปญจกนิบาต (ภาษาไทย) ขุ.ขุ. (ไทย) = ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ (ภาษาไทย) ขุ.ธ. (ไทย) = ขุททนิกาย ธรรมบท (ภาษาไทย) ขุ.อิติ. (ไทย) = ขุททกนิกาย อิติวุตตกะ (ภาษาไทย) ขุ.สุ. (ไทย) = ขุททนิกาย สุตตนิบาต (ภาษาไทย) ขุ.เปต. (ไทย) = ขุททกนิกาย เปตวัตถุ (ภาษาไทย) ขุ.ชา. (ไทย) = ขุททกนิกาย ชาดก (ภาษาไทย)

พระอภิธรรมปฎก อภิ.กถา. (ไทย) = อภิธรรมปฎก กถาวัตถุ (ภาษาไทย)

Page 9 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

ข. คัมภีรอรรถกถา ในงานวิจัยนี้ ผูวิจัยใชคัมภีรพระไตรปฎกและอรรถกถาแปล ฉบับมหามกุฎราชวิทยาลัย (ชุด ๙๑ เลม) ในการอางอิงชื่อคัมภีรอรรถกถา อาง เลม/ภาค/หนา เชน ขุ.ชา.อ.

๓/๓/๔๗-๔๘ หมายถึง พระสูตรและอรรถกถาแปล ขุททกนิกาย ชาดก เลมที่ ๓ ภาคที่ ๓

หนาที่ ๔๗-๔๘ ฉบับมหามกุฎราชวิทยาลัย (ชุด ๙๑ เลม) พุทธศักราช ๒๕๔๓ ดังนี้ อรรถกถาพระวินัยปฎก

วิ.มหา.อ. = วินัยปฎก มหาวรรค อรรถกถา อรรถกถาพระสุตตันตปฎก

อัง.เอก.อ. = อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต อรรถกถา ขุ.ขุ.อ. = ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ อรรถกถา ขุ.ธ.อ. = ขุททกนิกาย ธรรมบท อรรถกถา ขุ.วิ.อ. = ขุททกนิกาย วิมานวัตถุ อรรถกถา ขุ.เปต. = ขุททกนิกาย เปตวัตถุ อรรถกถา ขุ.ชา.อ. = ขุททกนิกาย ชาดก อรรถกถา ขุ.ทุก.อ. = ขุททกนิกาย ทุกนิบาตชาดก อรรถกถา ๒. อธิบายคํายอภาษาอังกฤษ

คํายอ คําเต็ม ความหมาย Ch. Chapter บทที่ Cf. Copy from คัดลอกจาก Ibid. Ibiden เรื่องเดียวกัน Pt. Part ตอน Sect. Section สวน Tr. Translated แปล

Page 10 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

สารบัญ เรื่อง หนา บทคัดยอภาษาไทย ก บทคัดยอภาษาอังกฤษ ข กิตติกรรมประกาศ ค คําอธิบายสัญลักษณและคํายอ ง สารบัญ ฉ บทที่ ๑ บทนํา ๑ ๑.๑ ความเปนมาและความสําคัญของปญหา ๑ ๑.๒ วัตถุประสงคของการวิจัย ๓ ๑.๓ ปญหาที่ตองการทราบ ๔ ๑.๔ คําจํากัดความของศัพทที่ใชในการวิจัย ๔ ๑.๕ ทบทวนเอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวของ ๕ ๑.๖ วิธีดําเนินการวิจัย ๘ ๑.๗ ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ ๘ บทที่ ๒ ความกตัญูในลัทธิขงจื๊อกับในพระพุทธศาสนา ๙ ๒.๑ ความกตัญูในลัทธิขงจื๊อ ๙ ๒.๑.๑ นิยามและความหมาย ๙ ๒.๑.๒ ประเภทของความกตัญู ๑๔ ๒.๑.๓ ความสัมพันธระหวางความกตัญูกับหลักคําสอนอื่น ๑๗ ๒.๑.๔ วิธีปลูกฝงความกตัญู ๒๑ ๒.๑.๕ วิธีแสดงความกตัญู ๒๔ ๒.๑.๖ บทบาทและอิทธิพลของความกตัญูที่มีตอสังคม ๓๓ ๒.๒ ความกตัญูในพระพุทธศาสนา ๓๘ ๒.๒.๑ นิยามและความหมาย ๓๘

๒.๒.๒ ประเภทของความกตัญู ๔๐ ๒.๒.๓ ความสัมพันธระหวางความกตัญูกับหลักคําสอนอื่น ๕๐ ๒.๒.๔ วิธีปลูกฝงความกตัญู ๕๓

Page 11 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๒.๒.๕ วิธีแสดงความกตัญู ๕๗ ๒.๒.๖ บทบาทและอิทธิพลของความกตัญูที่มีตอสังคม ๖๓

บทที่ ๓ การประยุกตเรื่องความกตัญูในลัทธิขงจื๊อกับในพระพุทธศาสนา ตอครอบครัว ๖๙ ๓.๑ การประยุกตเรื่องความกตัญูในลัทธิขงจื๊อตอสถาบันครอบครัว ๖๙ ๓.๑.๑ ความสําคัญของครอบครัว ๖๙ ๓.๑.๒ การประยุกตเรื่องความกตัญูตอครอบครัว ๗๑ ๓.๑.๓ การประยุกตเรื่องกตัญูในสังคม ๗๕ ๓.๒ การประยุกตเรื่องความกตัญูในพระพุทธศาสนาตอครอบครวั ๘๗ ๓.๒.๑ ความสําคัญของครอบครัว ๘๗ ๓.๒.๒ การประยุกตเรื่องความกตัญูตอครอบครัว ๘๙

๓.๒.๓ การประยุกตเรื่องความกตัญูในสังคม ๙๕ บทที่ ๔ เปรียบเทียบเรื่องความกตัญูในลัทธิขงจื๊อกับในพระพุทธศาสนา ๑๑๕ ๔.๑ นิยามและความหมาย ๑๑๕

๔.๒ ประเภทของความกตัญู ๑๑๗ ๔.๓ ความสมัพันธระหวางความกตัญูกับหลักคําสอนอื่น ๑๑๗ ๔.๔ วิธีปลูกฝงความกตัญู ๑๑๙ ๔.๕ วิธีแสดงความกตัญู ๑๒๐ ๔.๖ บทบาทและอิทธิพลของความกตัญูที่มีในสังคม ๑๒๑ ๔.๗ ความสําคัญของครอบครัว ๑๒๒ ๔.๘ การประยุกตใชเรื่องความกตัญูตอครอบครัว ๑๒๒ บทที่ ๕ สรุปผลการวิจัย และขอเสนอแนะ ๑๒๗ ๕.๑ สรุปผลการวิจัย ๑๒๗ ๕.๒ ขอเสนอแนะ ๑๒๙ บรรณานุกรม ๑๓๑ ประวัติผูวิจัย ๑๓๖

Page 12 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

บทที ่๑ บทนํา

๑.๑ ความเปนมาและความสําคัญของปญหา

เสี้ยว ตามแนวคําสอนของขงจื๊อ ในภาษาไทยมีความหมายเทากับคําวา กตัญู ถือเปนรากฐานของคุณธรรม มีความสําคัญตั้งแตครอบครัวกระทั่งประเทศ ในระดับครอบครัว ถือวาเปนพื้นฐานเบื้องตนสําหรับการพัฒนาคุณธรรมอื่น ๆ เชน เมตตาธรรม (เหริน), จารีต (หลี่), ความเที่ยงธรรม (อี้), ปญญา (จ๊ือ), ความซื่อสัตย หรือความจงรักภักดี (ซิ่น) เปนตน ในคัมภีรเสี้ยวจิง (The Hsiâo King) ๑ กลาวถึงความสําคัญของความกตัญูวา “บรรดาการกระทําทั้งมวลของมนุษย ไมมีอะไรยิ่งใหญกวาความกตัญู”๒ และของคัมภีรเดียวกันนี้ขงจื๊อไดกลาวถึงเหตุที่วาทําไมบุตรตองมีความกตัญู โดยใหเหตุผลสั้น ๆ วา รางกายของเรา นับตั้งแตปลายผมจรดปลายเทา ลวนไดจากมารดาบิดาทั้งสิ้น ดังนั้น เราจึงไมควรถือสิทธิ์ทําใหไดรับอันตรายหรือบาดเจ็บ ขงจื๊อกลาววา นี่เปนบทเรียนแรกเรื่องความกตัญู บทเรียนตอมาก็คือ การสรางชื่อเสียงใหปรากฏ เมื่อชื่อเสียงปรากฏแลว ก็เทากับเปนการยกยองเชิดชูวงศตระกูล คือเปนการเชิดชูบิดามารดาไปโดยปริยาย ซึ่งขงจื๊อถือวาเปนจุดมุงหมายของความกตัญู๓ เห็นไดวา ความกตัญูตามแนวคําสอนของขงจื๊อมีนัยสําคัญที่นาสนใจแฝงอยู และชวนใหนาศึกษาวิเคราะหในรายละเอียดเปนอยางยิ่ง โดยเฉพาะอยางยิ่งประเด็นเรื่องการใชความกตัญูเปนรากฐานในการพัฒนาครอบครัวและสังคม ขงจื๊อสอนเรื่องความกตัญูวาเปนหนาที่ของบุตรทุกคน ไมเฉพาะขณะที่บิดามารดายังมีชีวิตอยูเทานั้น แตเปนหนาที่ที่บุตรธิดาจะตองแสดงตอบิดามารดาผูกพันตอไปอีกแมกระทั้งในเวลาที่บิดามารดาสิ้นชีวิตลงไปแลว ความกตัญูยังดํารงอยูในรูปของความ

๑ Sonderson Beck, Ethics of Confucius, Mencius and Xun-zi. This chapter is part of the book ANCIENT WISDOM AND FOLLY, Cf. http://san.beck.org/EC14-Confucian.html. ๒ The Hsiâo King, ch. ix. ๓ The Hsiâo King, ch. i.

Page 13 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

เคารพ และการเซนสรวงบูชาบรรพบุรุษอีกดวย ซึ่งถือวาเปนมิติที่สําคัญ ที่กอใหเกิดประเพณีและวัฒนธรรมอันดีงามเปนเอกลักษณของคนจีนมาตราบเทาทุกวันนี้ ความจริงขงจื๊อสอนเรื่องความกตัญู ไมไดจํากัดขอบเขตเฉพาะในสถาบันครอบครัวเทานั้น แตยังขยายวงกวางออกไปสูสังคม ตลอดถึงประเทศชาติดวย จะเห็นไดจากเนื้อหาในแตละบทของคัมภีรเสี้ยวจิง (The Hsiâo King) บทที่ ๒ เปนตนไปถึงบทที่ ๖ ไดพรรณนาถึงความกตัญูตอองคพระประมุขของแผนดิน ซึ่งคนจีนถือวาเปน โอรสสวรรค ความกตัญูตอเจาครองนคร ความกตัญูตอเหลาเสนาอํามาตยชั้นผูใหญ กระทั่งชั้นผูนอย รวมไปถึงความกตัญูตอสามัญชนทั่วไป ยิ่งไปกวานั้น คําสอนเรื่องความกตัญูยังมีลักษณะการโยงถึงพลังทั้ง ๓ อันไดแก ฟา ดิน และมนุษย ดังวจนะของขงจื๊อท่ีวา “ความกตัญูเปนวิถีแหงฟา เปนคุณธรรมแหงดิน และเปนภาระหนาที่ของมนุษย”๔ นอกจากนั้น ความกตัญูยังอาจตีความไดในลักษณะอื่น ๆ อีก เชน เมื่อคนไปถามวา ความกตัญูคืออะไร ขงจื๊อกลับตอบวา อยาทําผิดจารีตประเพณี ศิษยสงสัยก็ถามตอวา ที่วาอยาทําผิดประเพณีหมายความวาอยางไร ขงจื๊อตอบวา ขณะที่พอแมยังมีชีวิตอยูก็ตองปรนนิบัติรับใชทานตามประเพณี เมื่อทานถึงแกกรรม ตองฝงศพและเซนไหวทานตามจารีตประเพณี๕ เปนการเชื่อมโยงหลักกตัญูไปหาจารีตประเพณี การเชื่อมโยงดังกลาวมีนัยสําคัญอยางไรหรือไม ก็เปนประเด็นนาศึกษาเชนกัน สวนในพระพุทธศาสนา เมื่อเพงถึงจริยธรรมระดับรากฐานแลว ความกตัญูถือเปนหลักธรรมที่มีความสําคัญอยางยิ่ง ในพระบาลีบางแหงจึงแสดงความสําคัญของความกตัญูไวหลายลักษณะ เชนบอกวาเปนภูมิของสัตบุรุษ๖ เปนรัตนะอยางหนึ่ง ในบรรดารัตนะ ๕ ประการ ที่เกิดขึ้นยาก หรือหาไดยากในโลก๗

๔ The Hsiâo King, ch. vii. ๕ The Analects, book ii:v. ๖ อัง. เอก. (ไทย) ๒๒/๓๓/๗๗. ๗ รัตนะ ๕ ประการไดแก พระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจา ๑ ผูแสดงธรรมวินัยที่พระตถาคตประกาศแลว ๑ ผูรูแจงธรรมวินัยที่พระตถาคตประกาศไวแลว ๑ บุคคลผูปฏิบัติตามธรรมวินัยที่พระตถาคตประกาศไวแลว ๑ กตัญูกตเวทีบุคคล ๑ (ดู อัง.ปญจก.๒๒/๑๙๕/๓๓๔(ไทย)) และในทุลลภสูตรไดกลาวในลักษณะเดียวกันวา กตัญูกตเวทีบุคคลนั้นหาไดยากในโลก (ดู อัง.เอก. ๒๐/๑๑๕/๓๕๘(ไทย)).

Page 14 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

เรื่องความกตัญูยังมีรายละเอียดที่ควรวิเคราะหอีกหลายประเด็น โดยเฉพาะความกตัญู ในมงคลขอท่ี ๑๑ วาดวยการบํารุงเลี้ยงดูบิดามารดา และความกตัญูในมงคลขอ ที่ ๒๕ พ.อ.ปน มุทุกันตไดกลาววา

“ความกตัญูทั้ง ๒ แหงนี้มีความหมายกวางแคบไมเหมือนกัน กลาวคือ ความกตัญูในมงคลขอ ๑๑ นั้นจะคูกับกตเวที เปนความกตัญูชั้นสามัญ มุงเนนแคเฉพาะบุคคลที่ไดทําคุณแกตนเองเทานั้น สวนความกตัญูในมงคลที่ ๒๕ สูงกวาตรงที่วา แมบุคคลนั้น ๆ จะทําคุณแกตนหรือไมก็ตาม แตเมื่อมีความดี ทําคุณประโยชนแกสังคมแลว ก็อยูในฐานะตองรูคุณคือกตัญู กตัญูในมงคลขอนี้จึงคูกับธัมมัสวนะเปนกตัญูชั้นสัตบุรุษ”๘

จากประเด็นเรื่องเสี้ยวตามแนวคําสอนของขงจื๊อ และความกตัญูตามแนวของพระพุทธศาสนาที่กลาวมา ทําใหผูวิจัยมีความสนใจ และประสงคที่จะศึกษารายละเอียดในแนวคําสอนดังกลาววามีความเหมือนกันหรือแตกตางกันอยางไรบาง โดยเฉพาะความหมายโดยละเอียดของคําสอนดังกลาว ตลอดถึงวิธีการประยุกตคําสอนเรื่องความกตัญูที่มีตอ ครอบครัว พรอมทั้งเปรียบเทียบคําสอนเรื่องความกตัญูในลัทธิขงจื๊อกับในพระพุทธศาสนาที่มีตอครอบครัว ซึ่งจะเปนประโยชนตอการศึกษาสืบตอไป

๑.๒ วัตถุประสงคของการวิจัย

๑. เพื่อศึกษาคําสอนเรื่องความกตัญูในลัทธิขงจื๊อกับในพระพุทธศาสนา ๒ .เพื่อศึกษาการประยุกตคํ าสอนเรื่องความกตัญูในลัทธิขงจื๊อกับในพระพุทธศาสนาที่มีตอครอบครัว ๓. เพ่ือเปรียบเทียบคําสอนเรื่องความกตัญูในลัทธิขงจื๊อกับในพระพุทธศาสนาที่มีตอครอบครัว

๘ ดูรายละเอียดใน พ.อ.ปน มุทุกันต, มงคลชีวิต ภาค ๓. (กรุงเทพ ฯ : พับลิเคชั่น เซนเตอร, ๒๕๑๙), หนา ๑๑๘-๑๒๐.

Page 15 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๑.๓ ปญหาที่ตองการทราบ   ๑. ความกตัญูตามหลักคําสอนในลัทธิขงจื๊อกับในพระพุทธศาสนา

๒. ความกตัญูในลัทธิขงจื๊อกับในพระพุทธศาสนาที่มีตอครอบครัว

๓. ความเหมือนและความแตกตางเรื่องความกตัญูในลัทธิขงจื๊อกับในพระพุทธศาสนาที่มีตอสังคม

๑.๔ คําจํากัดความของศัพทที่ใชในการวิจัย

แนวคําสอนของขงจื๊อ หมายถึงคําสอนในลัทธิขงจื๊อทั้งที่เปนคําสอนของขงจื๊อโดยตรง และคําสอนที่ศานุศิษยรุนหลัง ๆ ไดอธิบายเพิ่มเติม ซึ่งปรากฏอยูคัมภีรทั้งชั้นปฐมภูมิ และทุติยภูมิ ตลอดจนงานนิพนธทุกประเภทที่เกี่ยวของกับเรื่อง “เสี้ยว” ผูวิจัยไดใชหลักการเดียวกันนี้เมื่อกลาวถึง แนวคําสอนของพระพุทธเจาที่เกี่ยวของกับเรื่องความกตัญู

ขงจื๊อ ผูวิจัยใชในความหมาย ๒ ประการ คือ ๑.ใชในฐานะเปนบุคคล ๒. ใชในฐานะเปนลัทธิ หรือศาสนา ซึ่งที่ใดจะมีความหมายลักษณะใดนั้น ขึ้นอยูกับบริบทของคํา ทํานองเดียวกับคําวาพระพุทธศาสนา ในบางกรณีผูวิจัยก็ระบุถึง ๑. ตัวองคกรหรือสถาบัน ๒. ตัวคําสั่งสอน

อิทธิพล ผูวิจัยใชในความหมายเดียวกับ ความสําคัญ ทั้งนี้มีเหตุผลวา สิ่งใดสิ่งหนึ่งจะมีอิทธิพลไดนั้น ยอมแสดงใหเห็นวาสิ่งนั้นมีความสําคัญอยูในตัวของมันเอง สิ่งที่ไมมีความสําคัญยอมไมกอใหเกิดอิทธิพลใด ๆ ได อยางไรก็ตามเมื่อผูวิจัยใชคําวา ความสําคัญ จะจํากัดขอบเขตอยูที่เนื้อหาสาระโดยตรง สวนคําวา อิทธิพล จะใชในกรณีที่เนื้อหาสาระนั้นเขาไปมีบทบาทตอบุคคล หรือสังคมอีกชั้นหนึ่ง ความสําคัญเปนสาเหตุ สวนอิทธิพลเพงไปที่ผล

เสี้ยว ในคําสอนของขงจื๊อ บางครั้งผูวิจัยก็ใช “เสี้ยว” ในกรณีตองการแยกใหเห็นความแตกตางของคํา บางครั้งก็ใช “กตัญู” ในกรณีตองการใหเห็นความเหมือนกันความหมายคําวากตัญูจึงใชระบุถึงคําสอนทั้งของขงจื๊อและพระพุทธศาสนา

พระพุทธศาสนาในวิทยานิพนธนี้ ผูวิจัยหมายเอาพระพุทธศาสนาฝายเถรวาท

ครอบครัว ในที่นี้ผูวิจัยหมายเอาครอบครัวที่เปนองคประกอบของสังคมในระดับพื้นฐาน คือ พอ,แม,ลูก และครอบครัวในระดับมหภาค

Page 16 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

การประยุกตใช หมายถึง การนําหลักนําหลักคําสอนเรื่องความกตัญูไปประพฤติปฏิบัติในชีวิตจริงปรากฏใหเห็นเปนตัวอยางทั้งในอดีต กระทั่งถึงปจจุบัน ซึ่งในที่นี้ ผูวิจัยหมายรวมถึงการนําคําสอนเรื่องความกตัญูไปใชสั่งสอนใหคนมองเห็นความสําคัญ ในลักษณะเปนการชี้ใหเห็นคุณและโทษ เพื่อโนมนาวจิตใจใหนําไปประพฤติปฏิบัติดวย

๑.๕ ทบทวนเอกสารและงานวิจัยที่เก่ียวของ

The Hsiâo King (Classic of Filial Piety), ๙ แปลโดยเจมส เลกก ( James Legge) คัมภีรดังกลาวมีอยูทั้งหมด ๑๘ บท แตละบทก็จะกลาวถึงความกตัญูในลักษณะตาง ๆ เริ่มต้ังแตขอบเขตและความหมายของคัมภีร ความกตัญูตอบุคคลประเภทตาง ๆ เชน ตอพระเจาแผนดิน (The Son of Heaven) ตอเจาผูปกครองรัฐ (The Princes of States) ตอเหลาเสนาอํามาตยระดับสูง (The High Ministers and Great Officers) กระทั่งตอสามัญชนทั่วไปตามฐานะและบทบาทที่เกี่ยวของ

ในคัมภีรดังกลาว ไดยกคุณธรรมเรื่องความกตัญูวา เปนรากฐานแหงคุณธรรมทั้งปวงขงจื๊อใหไดเหตุผลถึงความจําเปนที่ตองมีความกตัญูวา รางกายของเราทั้งหมด ต้ังแตหัวจรดปลายเทา ลวนไดรับมาจากบิดามารดาทั้งสิ้น เราจึงตองกตัญูตอทาน ความกตัญูที่ขงจื๊อกลาวถึงนี้ หมายรวมถึงการดูแลรักษาเนื้อรักษาตัวใหดีดวย

The Li Ki (คัมภีรจารีต) ๑๐ แปลโดย เจมส เลกก (James Legge) ศาสตราจารยทางดานจีนวิทยา คัมภีรดังกลาวนี้ มีผูพยายามนํามาเรียบเรียง (แปล)เปนภาษาไทย เชน ฉบับของเจือจันทน อัชพรรณ “หลี่” มงคลธรรมของจีนโบราณ เปนตน ตัวเนื้อหาของคัมภีรดังกลาว มุงแสดงหลักจารีตที่บุคคลในสังคมควรยึดถือ เปนระเบียบทางสังคมที่มุงขัดเกลาจรรยามารยาทภายนอก แตก็จะมีบางสวนที่กลาวถึงวิธีปฏิบัติตอบิดามารดา ซึ่งเปนสวนหนึ่งของความกตัญู เชน

“ลูก ๆ และลูกสะใภผูมีความกตัญู และมีความเคารพ เมื่อไดรับคําสั่งจากพอแม ไมควรบอกปด หรือผัดวันประกันพรุง จะตองทําใหเสร็จ เมื่อพอแมใหรับประทานหรือ

๙ The Hsiâo King, ch.1:1. ๑๐The Li Ki, Book x,Sect. I,ch. 13,17 อางใน พระมหาบุญเรือง ปาวชิโร (เจนทร), มนุษยนิยมในปรัชญาขงจื๊อ, (กรุงเทพ ฯ : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๔),หนา ๕๑.

Page 17 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

ดื่มสิ่งของใด ๆ แมไมชอบ ก็ตองลองชิมดูกอน หลังจากนั้นจึงคอยรอฟงคําสั่งของทาน” “มาตรวา พอแมไดเสียไปแลว เมื่อลูกมีแนวโนมที่จะกระทําสิ่งที่ดีงาม ลูกควรคิดวา ตนเองจะสามารถรักษาชื่อเสียงที่ดีงามของพอแมดวยวิธีนี้แลว ควรยังความปรารถนานั้นใหสําเร็จ หากมีแนวโนมที่จะกระทําสิ่งที่ไมดีไมงาม เขาควรคิดวา ชื่อเสียงของพอแมจะเสื่อมเสียดวยการทําเชนนั้น เมื่อรูแลวควรยกเลิกความคิดเชนนั้นเสีย”

พระมหาบุญเรือง ปาวชิโร๑๑ไดกลาวไววา คนจีนตั้งแตโบราณมา มีความรูสึกในเรื่องความกตัญูที่ลึกซึ้งมาก โดยไดรับอิทธิพลจากคัมภีรลุนยื้อ ซึ่งบันทึกคําสอนที่สําคัญก็ไดเนนใหเห็นความสําคัญของเสี้ยว ซึ่งมีตอเหริน โดยขงจื๊อกลาววา ความกตัญูและความรักระหวางพี่นองนั้น เปนรากฐานที่สําคัญของเหริน แกนแทของเหรินก็คือ การบํารุงบิดามารดา การบํารุงบิดามารดาเปนเรื่องสําคัญที่สุด เพราะเปนรากฐานของการรับใชทั้งปวง

พระมหาอภิวิชญ ธีรปโ๑๒ กลาววา ความกตัญูที่บุตรธิดาพึงมีตอบิดามารดานั้น ถือไดวาเปนพื้นฐานแหงความดี และเปนบอเกิดแหงคําสินทั้งปวง คือรากฐานของมนุษย ดังที่ขงจื๊อกลาววา ยามพอแมมีชีวิตอยู รูจักปรนนิบัติรับใชทานอยางจริงใจ ยามพอแมจากไป ยังระลึกอาลัยอยูเสมอ บุตรธิดาที่มีความกตัญูจะตองแสดงออกทั้งทางกาย วาจาและใจ การกระทําของมนุษยไมมีอะไรยิ่งใหญกวาการกตัญูกตเวทีตอบิดามาราดา เพราะความกตัญูเปนกฏแหสวรรค เปนความเที่ยงธรรมของโลก และเปนหนาที่ของมนุษยที่พึงปฏิบัติตอกัน

มังคลัตถทีปนี๑๓ งานนิพนธของพระสิริมังคลาจารย สรุปใจความไดวา ความกตัญู หมายถึงความรูจักบุญคุณที่บุคคลอื่นกระทําแลว ไมวามากหรือนอย ทานเรียกวาเปนมงคล เพราะเปนเหตุใหประสบคุณวิเศษมีประการตาง ๆ มีความเปนผูอันบัณฑิตพึง

๑๑ พระมหาบุญเรือง ปาวชิโร, “มนุษยนิยมในปรัชญาขงจื๊อ”, วิทยานิพนธพุทธศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาปรัชญา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๑). ๑๒พระมหาอภิวิชญ ธีรปโ, “การศึกษาเปรียบเทียบปรัชญาการเมืองของขงจื๊อกับพุทธปรัชญาเถรวาท”, วิทยานิพนธพุทธศาสตรมหาบัณฑิต, (สาขาปรัชญา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๒).

๑๓พระสิริมังคลาจารย. มงฺคลตฺถทีปนี , พิมพครั้งที่ ๑๒, (กรุงเทพฯ : มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๓๖).

Page 18 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

สรรเสริญเปนตน ความกตัญูดังกลาวนี้เมื่อเทียบเคียงกับมงคลขอวา การบํารุงบิดามารดา ยอมเห็นวามีความสัมพันธในฐานะเปนบุคคลหนึ่งบุตรธิดาจะตองแสดงความกตัญู ผูวิจัยจะใชแนวทางดังกลาวในการวิเคราะหประเด็นเรื่องความกตัญูในเชิงสัมพันธกับหลักธรรมอื่น ๆ ดวย

มงคลชีวิต พ.อ.ปน มุทุกันต๑๔ ไดอธิบายถึงความแตกตางระหวางความกตัญูที่ปรากฏในมงคลที่ ๑๑ วาดวยการบํารุงบิดามารดา และความกตัญูซึ่งเปนมงคลที่ ๒๕ วา ความกตัญูที่ปรากฏในมงคลที่ ๑๑ นั้นเปนความกตัญูชั้นสามัญ สวนความกตัญูในมงคลที่ ๒๕ นั้น เปนความกตัญูชั้นสัตบุรุษ

ความแตกตางกันคือ ความกตัญูชั้นสามัญเปนความกตัญูจํากัดเฉพาะคนที่ทําคุณแกตน คือจะยอมรับวาใครมีคุณก็ตอเมื่อคนนั้นทําอะไรใหแกตนเองเทานั้น สวนความกตัญูชั้นสัตบุรุษนั้น เพียงแครูวาเขามีคุณงามความดี ไมวาความดีนั้นตนจะไดรับผลหรือไมก็ตาม หรือเขาจะทําใหแกตนหรือไมก็ตาม เขายอมแสดงความกตัญู นอกจากนี้ทานยังต้ังขอสังเกตอีกวา กตัญูประเภทแรกจะตามดวยกตเวทีเสมอ สวนกตัญูชั้นสัตบุรุษนั้นไมคูกตเวที แตคูกับธรรมสวนะ

พระมหาบุญกอง คุณาธโร (มาหา)๑๕ กลาววา มนุษยเปนสัตวสังคม ที่อยูรวมกันแบบอิงอาศัยกับสิ่งที่อยูรอบตัว บุคคลที่มีชีวิตอยูดวยความรูสึกในบุญคุณแลคิดตอบแทนคุณบุคคล สัตว สถาบัน ธรรมชาติแวดลอมและเกื้อกูลสังคมสวนรวมดวยเมตตากรุณา การกระทําเชนนี้ ยอมนําความสุข ความเจริญ และสิริมงคลมาสูชีวิตตน ดวยหลักกตัญู ทางพระพุทธศาสนาสงเสริมความกตัญูกตเวที สอนใหมนุษยรูจักการกระทําหนาที่ของตน เริ่มจากความรับผิดชอบตอตนเอง ตอหนาที่ในครอบครัว

ผูวิจัยจะใชแนวดังกลาวนี้ในการสํารวจดูจากพระบาลี และอรรถกถาอีกชั้นหนึ่งวา มีแนวคําสอนดังกลาวปรากฏอยูในคัมภีรใดบาง และมีลักษณะอยางไร

๑๔ พ.อ.ปน มุทุกันต, มงคลชีวิต, (กรุงเทพ ฯ : พับลิเคชั่น เซนเตอร, ๒๕๑๙).

๑๕พระมหาบุญกอง คุณาธโร (มาหา), “การศึกษาวิเคราะหความกตัญู (กตุตา) ในพระพุทธศาสนาเถรวาท”, วิทยานิพนธพุทธศาสตรมหาบัณฑิต, (สาขาพระพุทธศาสนา บัณฑิตวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๘).

Page 19 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๑.๖ วิธีดําเนินการวิจัย ๑. รวบรวมขอมูลท่ีเกี่ยวของกับเนื้อหาที่ตองการ จากเอกสารทั้งปฐมภูมิ ทุติยภูมิ ๒. ศึกษาและวิเคราะหแนวคําสอนเรื่องเสี้ยวและกตัญูในรายละเอียดจากเอกสารที่เกี่ยวของ ๓. วิเคราะหเปรียบเทียบรายละเอียดแนวคําสอนเรื่องเสี้ยวตามแนวของขงจื๊อและกตัญูตามแนวของพระพุทธศาสนา ๔. สรุป และนําเสนอขอมูลท่ีไดจากการศึกษา

๑.๗ ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ

๑. ทราบคําสอนเรื่องความกตัญูในลัทธิขงจื๊อกับในพระพุทธศาสนา ๒ .ทราบการประยุ กต คํ าสอน เ รื่ อ งคว ามกตัญู ในลั ทธิ ข งจื๊ อ กั บ ในพระพุทธศาสนาตอครอบครัว ๓. ทราบความเหมือนและความแตกตางกันของคําสอนเรื่องความกตัญูในลัทธิขงจื๊อกับในพระพุทธศาสนาที่มีตอครอบครัว

Page 20 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

บทที่ ๒

ความกตัญูในลัทธิขงจื๊อกับในพระพุทธศาสนา

๒.๑ ความกตัญูในลัทธิขงจื๊อ ๒.๑.๑ นิยามและความหมาย คําวา “กตัญู” แปลความหมายมาจากคําวา “เสี้ยว” (Hsiâo)ในภาษาจีน โดยรากศัพท คํานี้ประกอบดวยตัวอักษร ๒ ตัว ตัวหนึ่งอยูดานบน อีกตัวอยูดานลาง อักษรตัวบนมีความหมายวา ผูมีอายุ,ผูมีอาวุโส (elder) สวนตัวลางมีความหมายวา ลูก (son)๑ เมื่อนํามารวมกันจึงบงถึงความหมายที่เนนถึงความสัมพันธทางหนาที่ระหวางบุตรธิดาที่มีตอบิดามารดาของตน คํานี้ เจมส เล็กก (James Legge) ศาสตราจารยทางดานจีนวิทยา ไดแปลเปนภาษาอังกฤษวา “Filial Piety”๒ ซึ่งมีความหมายเดียวกับคําวา กตัญู ในภาษาไทย ขงจื๊อไดอธิบายความหมายของคํานี้ไวนอยมาก ซึ่งสวนใหญมักจะไมใชเปนคําอธิบายความหมายของคําวากตัญูโดยตรง หากแตมุงแสดงถึงพฤติกรรมที่เรียกวา กตัญู เสียเปนสวนมาก ดังนั้นเมื่อจะตั้งคําถามวา ความกตัญูคืออะไร คงตองสรุปเอาจากคําตอบที่ขงจื๊ออธิบายถึงพฤติกรรมของความกตัญู กอนที่จะไดสรุปความหมาย เบื้องตน ผูวิจัยจะประมวลคําอธิบายของขงจื๊อมาเพื่อประกอบการพิจารณาดังนี้ ครั้งหนึ่ง เมื่อมีคนไปถามขงจื๊อวา “กตัญู” คืออะไร ขงจื๊อตอบวา “การไมขัดตอจารีตประเพณี”๓ ลูกศิษยคนหนึ่งไมเขาใจความหมายที่ขงจื๊อพูดจึงถามตอวา การไมขัดตอจารีตประเพณีนั้น หมายความวาอยางไร ขงจื๊อขยายความตอไปอีกวา “ขณะที่พอแมยังมีชีวิต

๑ Stephen F. Teiser, The Spirits of Chinese Religion, in Donald S. Lopez, Jr. Religions of China in Practice. Princeton : Princetion University Press, 1996. (cf. http://acc6.its.brooklyn.cuny.edu/~phalsall/texts/lopez.html). ๒ James Legge tr. Confucian Analects. (cf. http://www.sacred-texts.com/cfu/conf1.htm). ๓ The Analects, book II:V:1 (James Legge แปลคํานี้เปนภาษาอังกฤษวา “It is not being disobedient” เฉพาะคําวา disobedient มีความหมายวา ไมเช่ือฟง หรือ ขัดขืน เปนคําคุณศัพท ที่ผูวิจัยแปลระบุถึงจารีตประเพณีดวยก็เพราะวา คําอธิบายของขงจื๊อชวนใหตีความไดอยางนั้น)

Page 21 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๑๐

อยู ตองปรนนิบัติรับใชทานตามจารีตประเพณี ครั้นทานตายไปแลว ก็ตองจัดการฝงศพทานใหถูกตองตามจารีตประเพณี”๔ เมื่อศิษยคนหนึ่งชื่อ เมิ่งอูปอ ถามขงจื๊อเกี่ยวกับความหมายของ “กตัญู” ขงจื๊อ ตอบไปวา ควรใหบิดามารดาเปนหวงนอยที่สุด เวนแตเรื่องความเจ็บไขไดปวย๕ เมื่อจ่ืออิ๋วถามคําถามเดียวกันนี้ ขงจื๊อตอบไปวา ความกตัญูในปจจุบันมีความหมายแคบํารุงเลี้ยงบิดามารดา แตสุนัขและมา เราก็บํารุงเลี้ยงมันเหมือนกัน การบํารุงเลี้ยงบิดามารดาจึงตองทําดวยความเคารพนับถือ ถาปราศจากความเคารพนับถือแลว มันก็ไมตางจากการเลี้ยงสุนัขและมา๖ บางครั้งขงจื๊อก็อธิบายความหมายของความกตัญูในรูปแบบของการตอบแทน โดยถือวา การตางตอบแทนซึ่งกันและกันนี้เปนหลักใหญและสําคัญสําหรับชีวิต๗ ในสวนของบิดามารดากับบุตร จะพบคุณธรรม ๒ ประการที่ผูกพันทางหนาที่กันอยู และบางครั้งทานก็ใชคุณธรรมนี้แหละเปนเครื่องวัด ดังคําที่สอนในคัมภีรของขงจื๊อท่ีวา “ถาเปนบิดากับบุตรใหสังเกตวาบิดาเมตตาหรือไม และบุตรกตัญูหรือไม”๘ ขอความที่ปรากฏในคัมภีรจารีตที่วา “หากเราสงของกํานัลไปอยางหนึ่ง แตไมไดรับการใหตอบคืนมา เชนนี้ยอมเปนการขัดตอจารีต ขณะเดียวกันหากไดรับของกํานัลอยางหนึ่ง แตเราเองก็ไมไดสงไปตอบแทน เชนนี้ยอมเปนการขัดตอจารีตเชนกัน”๙ ก็สะทอนหลักการ “ตางตอบแทน” เชนกัน ซึ่งหลักการดังกลาวนี้จะครอบคลุมสัมพันธภาพทั้ง ๕ ประเภท กลาวคือ บิดามารดากับบุตรธิดา, ผูปกครองกับประชาชน, สามีกับภรรยา, พ่ีกับนอง, เพ่ือนกับเพื่อน นั่นหมายความวาหากบิดามารดาหยิบยื่นอุปการะตาง ๆ แกบุตรธิดาแลว บุตรธิดาไมกระทําการตอบแทน ก็ยอมขัดตอหลักจารีตเชนเดียวกัน จากการประมวลคําอธิบายที่ขงจื๊อไดกลาวไวในที่ตาง ๆ ขางตน ประมวลความไดวา ความกตัญูนั้น หมายถึง ความสํานึกในภาระหนาที่ที่ลูกจะพึงกระทําแกบิดามารดาของ

๔ The Analects, book II:V:3. ๕ Ibid., book II:VI. ๖ Ibid., book II:VII. ๗ ละเอียด ศิลานอย, ผูแปล. สรางชีวิตและสังคมตามหลักคําสอนของขงจื๊อ. (กรุงเทพ ฯ : สํานักพิมพดอกหญา, ๒๕๓๕),หนา๕๔. ๘ เจาหยุย, ฉางตวนจิง, อธิคม สวัสดิญาณ ผูแปล. (กรุงเทพ ฯ : สํานักพิมพสุขภาพใจ,๒๕๔๐), หนา ๒๙. ๙ The Li Ki, book I, sect.I,pt.I,ch.6:23.

Page 22 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๑๑

ตน ดวยความสํานึกวา ทานทั้งสองนั้นเปนผูใหกําเนิด และเปนผูมีคุณ ในฐานะเปนผูดูแลเลี้ยงดูจนเติบใหญ พรอมทั้งใหการศึกษาอบรม คอยปกปองทะนุถนอม ทําใหบุตรธิดาสามารถดํารงชีวิตอยูในสังคมไดอยางปลอดภัย โดยมีจารีตประเพณีเปนหลักหรือเปนแนวทางในการยึดถือปฏิบัติตามอยางเครงครัด บนพื้นฐานความรูสึกภายในจิตใจที่สํานึกรัก เคารพ และเทิดทูนเหนือสิ่งใด เหมือนอยางที่ Sanderson Beck ไดกลาวไววา “ไมมีขอผูกพันใดที่จะยิ่งใหญไปกวาชีวิตที่บิดามารดามอบให ไมมีความกรุณาใด ๆ ที่ยิ่งใหญไปกวาการดูแลเอาใจใสเลี้ยงดูลูกนอยของตนจนเติบใหญ ผูมีความกตัญูจึงรักบิดามารดาของตนกอนบุคคลอื่นทั้งหมดโดยการเคารพนับถือ และทําใหทานมีความสุข ดูแลเอาใจใสทานในยามเจ็บปวย แสดงความเสียใจเมื่อทานจากไป และเซนไหวทานดวยความเกรงขาม”๑๐ ในคัมภีรกาพยก็มีโคลงบทหนึ่งซึ่งพรรณนาถึงพระคุณของบิดามารดา วาเปนเรื่องที่ยิ่งใหญ ซึ่งมิใชเรื่องที่บุตรธิดาจะกระทําตอบแทนไดหมดงาย ๆ

โอ ขาแตบิดา ผูใหกําเนิดฉัน โอ ขาแตมารดา ผูเฝาคอยประคับประคอง ทานทั้งสองตางเฝาเลี้ยงด ูและคอยอุมช ูเฝาคอยเกื้อการุณย ทานทั้งสองคอยดูแล ไมเคยทอดทิ้ง มือท้ังสองที่คอยโอบอุม หากแมฉันปรารถนาจะตอบแทนความเกื้อการุณยนั้น มันคงเปนเหมือนฟาที่กวางใหญ ยากแทจะเติมเต็ม๑๑

ในคัมภีรจารีตประเพณี ขงจื๊อไดอธิบายถึงเหตุผลท่ีลูกจะตองมีความกตัญูตอบิดามารดาโดยโยงไปหาเหตุผลอันเปนพื้นฐานของชีวิตทุก ๆ คนวา “รางกายของเราทุกสวน เปนตนวา เสนผมทุก ๆ เสน ผิวหนังทุกสวน เราไดจากบิดามารดา”๑๒ เมื่อเปนของที่ไดมาจากบิดามารดาจึงเทากับเปนมรดกชีวิต ซึ่งบุตรธิดาทุกคนจะตองปกปกรักษา หรือคุมครองดูแลใหดี ไมใหเกิดอันตรายหรือบาดเจ็บเพราะการกระทําของตนเอง

๑๐ Sanderson Beck. Ethics of Civilization,Vol.III. (cf. http://san.beck.org/EC-index.html) ๑๑ อางใน พระมหาบุญเรือง ปฺญาวชิโร, มนุษยนิยมในปรัชญาขงจื๊อ, (กรุงเทพ ฯ : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๔), หนา ๖๔. ๑๒ The Hsiâo King, ch.I.

Page 23 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๑๒

มองในแงนี้เทากับวา ความกตัญูในความหมายของขงจื๊อ ไมใชเพียงแคการรูคุณ และตอบแทนคุณที่บุตรธิดาจะตองกระทําตอบิดามารดาแตเพียงอยางเดียวเทานั้น แตการดูแลตัวเองใหดี การสรางเนื้อสรางตัว การสรางวงศตระกูลของบุตรธิดาใหมีความมั่นคง หรือมั่งคั่งเปนที่ยกยองของคนในสังคมก็เปนเรื่องของความกตัญูดวยเชนกัน ขงจื๊อเรียกวาเปนเปาหมายสุดทาย (the end) ของความกตัญู๑๓ จริยาชีวิตของขงจื๊อไดสะทอนหลักความกตัญูบนพื้นฐานของจารีตประเพณีตามหลักคําสอนของทานเชนเดียวกัน จะเห็นไดจากชวงวัยเด็กทานกําพราบิดา ความกดดันทางสังคมทําใหทานตองอพยพตามแมไปอยูเมืองอื่น ทําใหไมทราบแมกระทั่งที่ฝงศพบิดาของทาน เมื่อมารดาของทานเสียชีวิต ทานก็นําไปฝงพักไวชั่วคราว เพราะตามจารีตประเพณี สามีภรรยาเมื่อตายไป ศพจะถูกนําไปฝงไวที่เดียวกัน ตอมาภายหลังจึงไดทราบจากทานผูเฒาทานหนึ่งวา ศพบิดาของทานถูกฝงอยูที่ใด ทานจึงนําศพมารดาของทานไปฝงไวที่เดียวกัน๑๔ ขอนี้เปนการยืนยันวา ทานไดปฏิบัติตามหลักคําสอนเรื่องกตัญูที่วา ไดแก “การไมขัดตอจารีตประเพณี”๑๕ และ “ขณะที่พอแมยังมีชีวิตอยู ตองปรนนิบัติรับใชทานตามจารีตประเพณี ครั้นทานตายไปแลว ก็ตองจัดการฝงศพทานใหถูกตองตามจารีตประเพณี”๑๖ พิจารณาจากหลักคําสอน ขงจื๊อใหความสําคัญเรื่องความกตัญูมาก โดยถือวา คําสอนเรื่องความกตัญูนั้นเปนรากฐานแหงคุณธรรมทั้งปวง และถือเปนบทเรียนแรกที่ลูกทุกคนตองยึดถือโดยเครงครัด๑๗ ดังจะเห็นไดจากครั้งหนึ่ง เมื่อนั่งสนทนาอยูกับศิษย ศิษยคนหนึ่งไดยกเรื่องบุรพมหากษัตริยในอดีตที่สามารถปกครองบานเมือง นําพาประเทศชาติใหเกิดสันติสุข มีความรมเย็นได เพราะกษัตริยเหลานั้นมีคุณธรรมอะไรเปนพ้ืนฐาน ขงจื๊อตอบวา “กตัญู”๑๘ และอีกครั้งหนึ่งเมื่อถูกศิษยถาม มีคุณธรรมอื่นอีกไหมที่ยิ่งใหญกวาความกตัญู ขงจื๊อตอบวา “บรรดาสรรพสิ่งที่กอกําเนิดจากฟาและดิน มนุษยประเสริฐที่สุด บรรดาการ

๑๓ The Hsiâo King, ch.I. ๑๔ หล่ี ฉาง จือ, สิน วิภาวสุ แปล, เจาะประวัติขงจื๊อ, (กรุงเทพ ฯ : สํานักพิมพสมาพันธ, ๒๕๓๗, หนา ๔๑. ๑๕ The Analects, books II:V:1. ๑๖ The Analects, book II:V:3. ๑๗ The Hsiâo King, Ch.I. ๑๘ The Hsiâo King, Ch.I.

Page 24 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๑๓

กระทําทั้งหลายของมนุษย ไมมีอะไรยิ่งใหญกวาความกตัญู”๑๙ ดังนั้นขงจื๊อจึงพยายามสั่งสอนลูกศิษยใหตระหนักและใหความสําคัญกับบิดามารดาของตนมาก ดังจะเห็นวา ทานมักจะสั่งสอนลูกศิษยในโอกาสตาง ๆ เสมอ ครั้งหนึ่ง ขงจื๊อเดินทางไปแควนฉี ระหวางทางไดยินเสียงรองไห ฟงแลวเกิดความสลดใจ แตก็ไมเห็นมีงานศพอะไร จึงเดินเขาไปถามชายซึ่งกําลังรองไหอยูวา เหตุใดจึงมารองไหคร่ําครวญเชนนี้ ไดรับคําตอบวา “ขา ฯ มีความผิดสากรรจ ๓ ขอ เพ่ิงจะรูตัว แตเสียใจก็ไมมีประโยชนแลว” เมื่อขงจื๊อถามวา พอจะบอกไดไหมวาเรื่องอะไร ก็ตอบวา “ขา ฯ เอาแตไขวควาแสวงหาความรูในวัยหนุม ทอดทิ้งพอแม ออกทองเที่ยวทั่วแผนดิน กระทั่งขา ฯ กลับบานเกิดก็พบวา พอแมจากโลกไปนานแลว นี่คือเรื่องแรก...” ขงจื๊อไดฟงจบก็หันไปกลาวกับลูกศิษยอยางสะเทือนใจวา “ไดยินชัดหรือไม คํากลาวของชิวอูจ่ือ คือคําเตือนสติที่ดีมาก” ลูกศิษยไดยินเชนนั้นหลายคนไดกลับไปเลี้ยงดูปรนนิบัติบิดามารดาของตน๒๐ มีประเด็นปญหาเกี่ยวกับความหมายของความกตัญูที่ทําใหคนมักปฏิบัติผิดออกนอกลูนอกทาง เชน การอางความกตัญูเพื่อทําความผิดในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง หรือบางคนตีความหมายไปถึงวา ความกตัญูก็คือการทําตามความพอใจของพอแม เปนตน ซึ่งเรื่องดังกลาว ขงจ๊ือบอกวาเปนเรื่องที่ไมถูกตอง ความกตัญู หรือพฤติกรรมที่แสดงออกถึงความกตัญูตองมีความเหมาะสมถูกตองดวย ไมใชสักแตวาทําแลวก็อางวานี่เปนความกตัญู เปนเรื่องที่ไมถูกตอง เชนศิษยคนหนึ่งกลาวถึงเรื่องความกตัญูวา ลูกคลอยตามพอแม คือลูกกตัญู ขุนนางคลอยตามกษัตริยคือจงรักภักดี นี่เปนเรื่องไมตองสงสัย

ขงจื๊อจึงบอกวา “ความคิดของเจานี่ยังต้ืนเขินมาก กษัตริยราชตองมีขุนนางกลาถวายคําทัดทาน ๗ คน จึงจะสามารถเลี่ยงความผิดพลาด อธิราชผูมีรถศึกพันคัน ตองมีขุนนางถวายคําทัดทาน ๕ คน บานเมืองจึงจะไมวิบัติ ขุนศึกผูมีรถรอยคัน ตองมีทหารคนสนิทกลาทัดทาน ๓ คน จึงจะรักษายศศักดิ์ไวได บิดาตองมีลูกกลาทัดทาน จึงจะไมละเมิดจารีตประเพณีกฎหมาย..... จึงกลาวกันวา รูจักแตคลอยตามบิดา หาใชลูกกตัญูไม รูจักแตคลอย

๑๙ The Hsiâo King, Ch.VII. ๒๐ อองซก, อธิคม สวัสดิญาณ แปล, ขงจื๊อฉบับปราชญชาวบาน, (กรุงเทพ ฯ : สํานักพิมพเตาประยุกต,๒๕๔๐), หนา ๖๐-๖๑.

Page 25 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๑๔

ตามองคเหนือหัว หาใชขุนนางตงฉินไม ลูกกตัญูและขุนนางตงฉินที่แทจริง ตองรูจักจําแนกแยกแยะวาอะไรควรหรือไมควรคลอยตาม”๒๑ อยางไรก็ตาม ประเด็นดังกลาวยังมีความขัดแยงกันอยู เพราะบางแหงก็มีคําสอนในเชิงลบอยู เชน สอนใหแกแคนเมื่อมีใครมาทํารายบิดามารดาถึงชีวิต ถึงขนาดวาจะตองไมสามารถอยูรวมโลกกันไดอีกตอไป๒๒

๒.๑.๒ ประเภทของความกตัญู เดิมทีความกตัญูนี้ มุงเฉพาะแตเรื่องภายในครอบครัว คือเปนเรื่องของบุตรธิดาที่ตองกระทําตอบิดามารดาของตน ทั้งในขณะที่มีชีวิตอยู และเมื่อชีวิตหาไมแลวเทานั้น ตอมาขงจื๊อ และสานุศิษยรุนหลัง ๆ ไดนํามาขยายความใหมีขอบเขตกวางขึ้น โดยเฉพาะการนํามาอธิบายใหครอบคลุมสังคมทุกระดับ

ในคัมภีรคําสอนของขงจื๊อ แมจะไมไดจําแนกประเภทของความกตัญูไวชัดเจน แตเมื่อพิจารณาจากเนื้อหาโดยภาพรวมแลว สามารถจําแนกประเภทของความกตัญูออกเปน ๓ ประเภท คือ

๑.ความกตัญูตอบิดามารดาในฐานะผูใหกําเนิด บิดามารดานับเปนผูมีอุปการคุณแกบุตรธิดาที่อยูใกลชิดมากที่สุด หลักคําสอนของขงจื๊อในเรื่องของความกตัญูสวนหนึ่งจึงมุงมายังบิดามารดาโดยตรง และถือเปนบุคคลสําคัญที่บุตรธิดาจะตองเทิดทูนไวเหนือสิ่งใด ดังคํากลาวในคัมภีรจารีตที่วา “เดินไปกาวหนึ่ง บุตรก็ตองไมลืมบิดามารดา หรือพูดอะไรออกมาคําหนึ่ง บุตรก็ตองไมลืมบิดามารดา”๒๓ ความกตัญูตอบิดามารดาถือวาเปนพ้ืนฐานของความกตัญูตอบุคคลอื่น ๆ ดวย หมายความวา ความกตัญูที่บุตรธิดามีตอบิดามารดานั้นจะพัฒนาทําใหบุตรธิดามีความสํานึกกตัญูตอบุคคลอื่นดวย

๒๑ อองซก, ขงจื๊อฉบับปราชญชาวบาน, อางแลว, หนา ๗๒. ๒๒ ละเอียด ศิลานอย, ผูแปล. อางแลว,หนา ๑๔๖. ๒๓ เร่ืองเดียวกัน,หนา ๔๘.

Page 26 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๑๕

๒.ความกตัญูตอบุคคลอ่ืนที่ไมใชบิดามารดา มนุษยตามหลักคําสอนของขงจื๊อมีความสัมพันธตามฐานะ และบนพื้นฐานของ

ความสัมพันธดังกลาว ทําใหเกิดภาระหนาที่ที่จะพึงปฏิบัติในเชิงอิงอาศัยกันและกันตามไปดวย ทุกคนจึงอยูในฐานะตอง “ตางตอบแทน”๒๔ ซึ่งกันและกันบนพื้นฐานของความสัมพันธนั้น ในคัมภีรจารีตจึงไดกลาวถึงความกตัญูในฐานะตาง ๆ เชน ความกตัญูในองคกษัตริย ในเจาผูปกครองรัฐ ในเหลามุขมนตรี ในเหลาขาราชการ ในคณะรัฐบาล ในครูอาจารย เปนตน ขอยกตัวอยางกรณีความกตัญูในองคกษัตริยมากลาว ตามหลักคําสอนของขงจื๊อ กษัตริยดํารงสถานะเปนเหมือนบิดาของประชาชน เปนตัวแทนสวรรค สวรรคสงมาเพื่อปกครอง บําบัดทุกขบํารุงสุขแทน เหตุนั้นทานจึงเรียกกษัตริยวา โอรสสวรรค (The Son of Heaven) ภาระของกษัตริยจึงอยูท่ีการบํารุงเลี้ยงดูประชาชน ซึ่งมองในแงนี้ กษัตริยอยูในฐานะเปนผูมีคุณ ซึ่งประชาชนตองแสดงความจงรักภักดีเปนการตอบแทน๒๕ อนึ่ง ความกตัญูในบุคคลเหลานี้ ไมไดมุงแคใหแตละฝายสํานึกรูภาระหนาที่ที่จะพึงปฏิบัติตอกันในฐานะแหงความสัมพันธเทานั้น แตยังรวมไปถึงวา บุคคลผูอยูในฐานะเหลานี้ ตองแสดงความกตัญูตอบุพการีของตนอีกดวย ทั้งนี้เพื่อเปนแบบอยางแกประชาชนทั่วไปดวย ดังเชนที่กลาวไวในคัมภีรจารีตตอนวาดวยความกตัญูในองคจักรพรรดิ (Son of Heaven) ที่วา

ผูที่รักบิดามารดาของตน ยอมไมมีใครกลาแสดงความรังเกียจ และผูที่เคารพนับถือบิดามารดาของตน ยอมไมมีใครกลาตําหนิ หากความรักและความเคารพขององคจักรพรรดิไดรับการปฏิบัติจนถึงที่สุดดวยการรับใชบิดามารดาของพระองคแลว แบบอยางทางคุณธรรมของพระองคก็จะปรากฏผลตอเหลาประชาชน และพระองคก็จะกลายเปนแบบอยางภายในอาณาจักรทั้ง ๔ ทิศ นี่เรียกวาความกตัญูในองคจักรพรรดิ๒๖

๒๔ The Analects, book IV:XV.

๒๕ The Hsiâo King, ch.III. ๒๖ The Hsiâo King, ch. II.

Page 27 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๑๖

อนึ่ง ภารกิจของผูปกครองนับตั้งแตองคจักรพรรดิ เหลาเสนาอํามาตย ขาราชบริพาร คือการบํารุงดูแลประชาชนใหอยูดีมีความสุข ไมเบียดเบียน กดขี่ เอารัดเอาเปรียบ ใหความเปนธรรม ใหความยุติธรรมแกอาณาประชาราษฎร ผูปกครองที่ทําหนาที่อยางนี้ ยอมอยูในฐานะเปนผูมี “คุณ” ซึ่งเหลาผูอยูใตปกครองตองตระหนักรูในบุญคุณดังกลาวดวยการ “ตอบแทน” ตามภาระหนาที่ของตน ๆ ซึ่งหลักการดังกลาวนี้อยูในเรื่องความกตัญูทั้งสิ้น

มีตัวอยางของการกลาวถึงความกตัญูระหวางผูนอยกับผูใหญ โดยการเชื่อมโยงถึงความกตัญูตอบิดา ซึ่งขอนํามากลาวสนับสนุนขอความขางตนดังนี้

ขณะที่เขาเหลานั้นบํารุงเลี้ยงดูบิดา เขาก็บํารุงเลี้ยงดูมารดาดวย รักทานทั้งสองเทา ๆ กัน เมื่อเขาเหลานั้นบํารุงเลี้ยงดูบิดา เขาก็อุปถัมภค้ําจุนผูปกครองดวย และรักทาน (หมายถึง บิดา,ผูปกครอง-ผูวิจัย) เทา ๆ กัน ดังนั้น โดยหลักแลว ความรักก็คือสิ่งที่บุตรมอบใหแกมารดา และความเคารพนับถือ ก็คือสิ่งที่มอบใหแกผูปกครอง ขณะที่ทั้งความรักและความเคารพนับถือนี้เหลาบุตรธิดามอบใหแกบิดา ดังนั้นเมื่อเขาเหลานั้นรับใชผูปกครองของเขาดวยความกตัญู ยอมไดชื่อวา จงรักภักดี เมื่อเขารับใชเจานายดวยความเคารพ ยอมไดชื่อวา เชื่อฟงทาน การรับใชเจานายโดยไมบกพรองทั้งดานความจงรักภักดีและการเชื่อฟง เขาจึงควรรับเงินเดือนและตําแหนง๒๗

บุคคลผูเปนใหญเหนือประชาชนทั้งหลาย จึงควรที่จะถนอมเลี้ยงเปาหมายที่ชัดเจนที่สุดเอาไว และใหบทเรียนที่ถูกตองที่สุด กับยกยองและเห็นคุณคาของความกรุณา โดยการรักษาประชาชนใหเหมือนบุตร แลวประชาชนทั้งหลายก็จะใชความพยายามลงแรงอยางถึงที่สุด ที่จะทําใหผูเปนใหญเหลานั้นมีความสุขและมีความพึงพอใจ๒๘

ความกตัญูของเหลาขุนนางก็คือการไมหยิ่งยโสหรือจองหอง แตควรเปนผูสุขุมรอบคอบ ทั้งนี้เพื่อรักษาเกียรติยศและชื่อเสียง ความกตัญูของเจาหนาที่บานเมืองอยูที่การไมลุอํานาจใชคําหรือการกระทําขัดแยงกับบุรพมหากษัตริย ความกตัญูของเหลาบัณฑิต คือการมีความรัก

๒๗ The Hsiâo King, ch. V. ๒๘ ละเอียด ศิลานอย, ผูแปล. อางแลว, หนา ๓๒.

Page 28 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๑๗

มารดาและบิดาทั้งของตนเองและเจาผูปกครองของพวกเขาอยางเสมอภาค ทานเหลานั้นแสดงใหเห็นความรักในมารดา เคารพในเจาผูปกครอง และแสดงความรักทั้งความเคารพในบิดาของตน สามัญชนทั่วไปกตัญูโดยการชวยเหลือบิดาโดยการขยันทํามาหากินและรูจักประหยัดในการใชจาย ในสวนรัฐบาล ความกตัญูก็คือการไมทอดทิ้งพนักงานเจาหนาที่ หญิงหมาย ลูกจาง นางสนม อยาใหนอยไปกวาพวกผูดี เหลาบัณฑิต ประชาชน ภรรยา และเด็ก ๆ๒๙

๓. ความกตัญูตอธรรมชาติแวดลอม ในคัมภีรจารีตมีประเพณีวา “การโคนตนไมเพียงตนเดียว หรือการฆาสัตวแมเพียงตัวเดียวในฤดูกาลที่ไมเหมาะสม นับวาเปนสิ่งที่ขัดแยงตอความกตัญูกตเวทีของบุตรที่มีตอบิดามารดา”๓๐ ขอความดังกลาวนี้ แมจะปรากฏใหเห็นเพียงประโยคเดียวในคัมภีรคําสอนทางศาสนาของขงจื๊อ แตก็พอจะสะทอนแนวคิดเรื่องหนาที่ของมนุษยที่จะตองปฏิบัติใหถูกตองตอธรรมชาติแวดลอม เพราะเหตุที่มนุษยก็อยูในฐานเปน “ผูรับ” จากธรรมชาติ ซ่ึงผูรับนี้ตามหลักของการ “ตางตอบแทน” มนุษยก็ตองรูจักทําหนาที่เปน “ผูให” ดวย มิเชนนั้นแลวก็กลายเปนการ “อกตัญู” ตอธรรมชาติแวดลอมไป นอกจากกลาวถึงธรรมชาติแวดลอมดังกลาวแลว ในคัมภีรจารีตยังมีพลัง ๓ ประการในฐานะเปนธรรมชาติสวนหนึ่งดวย พลัง ๓ ประการไดแก ฟา (Heaven) ดิน (Earth) และ มนุษย (Man) ในฐานะเปนวงจรของความมีอยู (circle of being) ซึ่งพลังทั้ง ๓ ประการนี้อิงอาศัยกัน อยูในฐานะเกื้อกูลกัน สะทอนใหเห็นวา มนุษยอาศัยสิ่งนี้ (ฟา,ดิน) เกิดขึ้น๓๑ ซึ่งจะตองสํานึกรูบุญคุณของธรรมชาติที่สรางเรามาดวย

๒.๑.๓ ความสัมพันธระหวางความกตัญูกับหลักคําสอนอื่น ความกตัญูในลัทธิขงจื๊อไมใชหลักธรรมที่ดําเนินไปเพียงลําพัง หากแตมีความเชื่อมโยงกับหลักคําสอนอื่น ๆ ดวย โดยเฉพาะหลักธรรมที่มีความเกี่ยวของโดยตรงที่ขงจื๊อ

๒๙ Sanderson Beck, Ethics of Civilization, Vol. III (Selected Works Vol. X by Pramaha Bunruang Jentorn, Mahachulalongkorn University, 2006), p.๕๐. ๓๐ ละเอียด ศิลานอย, ผูแปล. อางแลว, หนา ๕๒. ๓๑ The Hsiâo King, ch. VII.

Page 29 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๑๘

กลาวถึง ไดแกหลักจารีตประเพณี (หลี่) และหลักเมตตา (เหริน) ซึ่งผู วิจัยจะไดกลาวรายละเอียดตอไป

๑.หลักจารีตประเพณี (หล่ี) หลักการของความกตัญูที่ขงจื๊อสอนไวในคัมภีรลุนยื๊อที่วา “ขณะที่พอแมยังมีชีวิตอยู ตองปรนนิบัติรับใชทานตามจารีตประเพณี ครั้นทานตายไปแลว ก็ตองจัดการฝงศพทานใหถูกตองตามจารตีประเพณี”๓๒ ในคัมภีรเมงจ๊ือก็มีขอความทํานองเดียวกันวา “เมื่อบิดามารดายังมีชีวิตอยู ก็ควรเลี้ยงดูทานตามจารีตประเพณี เมื่อทานตายไปแลว ก็ควรฝงทานตามจารีตประเพณี พรอมทั้งเซนไหวทานตามจารีตประเพณีดวย”๓๓ นอกจากการเซนไหวตามประเพณีดังกลาวแลว หลักคําสอนของขงจื๊อยังใหความสําคัญตอวิญญาณบรรพบุรุษ เปนตนวา เมื่อบิดามารดาสิ้นชีวิตไปแลว ใหบุตรธิดาปฏิบัติตนเสมือนทานยังมีชีวิตอยู โดยการเจริญรอยตามปณิธานของทาน๓๔ หรือการไวทุกขเปนเวลา ๓ ป เปนตน๓๕ หลักการของคัมภีรจารีต ก็คือ การขัดเกลามารยาทจรรยาใหเหมาะสมตามฐานะของตน ๆ นั่นคือบิดามารดาก็ทําหนาที่บิดามารดา บุตรธิดาก็มีหนาที่ตองปฏิบัติในฐานะเปนบุตรธิดา เปนพ่ีนอง ก็มีหนาที่ตองปฏิบัติในฐานะเปนพ่ีเปนนอง๓๖ ถาหากปราศจากจารีตประเพณีเสียแลว มนุษยก็ไมตางอะไรจากสัตว บิดากับบุตรก็อาจจะมีคูนอนเปนคนเดียวกันก็ได๓๗ กฎเกณฑแหงจารีตเปรียบเสมือนรางกาย ถารางกายไมสมบูรณ คนนั้นก็จะไดชื่อวาเปนคนไมสมประกอบ๓๘ และหลักจารีตสวนหนึ่งก็จะสอนหลักการปฏิบัติของลูกตอบิดามารดาวาจะตองทําอยางไรบาง หลักจารีตจึงเปรียบเหมือนเปนประตูที่จะใหความกตัญูสะทอนออกมาเปนรูปธรรม ทั้งทางกาย ทางวาจา และทางใจ

๓๒ The Analects, book II:V:3. ๓๓ The Works of Mencius, book III,ch.II:2.

๓๔ The Analects, book, IV:XX. ๓๕ The Li Ki, book II,sect.I,pt. I:2.

๓๖ F. Max Muller, (ed), The Sacred Books of The East, Vol.XVI, (Delhi : Motilal Banarsidass, 1966) Appendixes I:XXXVII,3. ๓๗ The Li Ki, book I, sect. I, pt. I, ch.V:22. ๓๘ The Li Ki, book VII,sect.II,ch.I.

Page 30 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๑๙

ความเปนจริง คัมภีรจารีตไดแบงวัยชีวิตของมนุษยออกเปนชวง ๆ แลวก็กําหนดหนาที่กวาง ๆ เพื่อเปนแนวทางสําหรับการประพฤติปฏิบัติสําหรับคนทุกคนในสังคมดังนี้

ผูมีอายุ ๑๐ ป เรียกวา เด็ก หนาที่คือตองไปโรงเรียน เมื่ออายุได ๒๐ ป เรียกวา เปนหนุม อยูในชวงวัยรุน เมื่ออายุ ๓๐ เรียกวาอยูในชวง เปนผูใหญเต็มตัว เขาควรมีภรรยา เมื่ออายุได ๔๐ เรียกวาอยูในวัยทํางาน เขาควรมีหนาที่การงาน เมื่ออายุได ๕๐ เรียกวา ยางสูวัยชรา เขาควรไดรับการปลดปลอยจากหนาที่การงานทั้งปวง เมื่ออายุได ๖๐ เรียกวา อยูในวัยชรา ควรทําหนาที่เปนที่ปรึกษาใหคําชี้แนะตาง ๆ เมื่ออายุได ๗๐ เรียกวา ชราภาพแลว เขาควรมอบหมายภาระหนาที่ใหคนอื่นทําแทน เมื่อถึงวัย ๘๐ หรือ ๙๐ เราพูดถึงทานวา เปนคนแกแลว แกมากแลว ถึงแมเขาอาจจะทําความผิดไปบาง ก็ไมจําเปนตองลงโทษทัณฑ เมื่ออายุถึง ๑๐๐ ป เรียกวา เปนผูมีอายุยืน เขาควรไดรับการเลี้ยงดู๓๙

ในสวนที่เกี่ยวของกับความกตัญู หลักจารีต ไดใหรายละเอียดอันเปนแนวทางสําหรับการปฏิบัติไวหลายกรณี การที่ขงจื๊ออธิบายเรื่องความกตัญูวา หมายถึงการปฏิบัติตอบิดามารดาใหสอดคลองกับจารีตจึงเปนเรื่องที่ตองไปศึกษารายละเอียดวา หมายถึงการปฏิบัติอยางไรบาง เชน ในคัมภีรจารีตระบุไววา

สําหรับบุตรธิดาทุกคน สิ่งนี้ถือวาเปนกฎ :- ในยามหนาหนาว ตองจัดแจงที่นอนของทานใหอบอุน ยามหนารอน ก็ตองทําใหเย็น ตกเย็นมา ตองตระเตรียมทุกสิ่งทุกอยางใหเรียบรอย ยามเชามาก็ตองถามถึงสุขภาพอนามัย และเมื่อไปไหนกับทาน ก็หามกอการทะเลาะวิวาท๔๐

บุตรที่มีความกตัญูจะไมกระทําสิ่งตาง ๆ ในที่มืด ทั้งจะไมพยายามทําสิ่งที่จะกอใหเกิดอันตราย ดวยเกรงวา จะทําใหบิดามารดาไดความอับอาย ขณะที่บิดามารดามีชีวิตอยู เขาจะตองไมสาบานใหตัวตาย ทั้งจะไมอางความมั่งคั่งที่มีอยูวาเปนของตัวเอง๔๑

๓๙ The Li Ki, book I, sect.I, pt I, ch 7:27. ๔๐ The Li Ki, book I, sect.I, pt II, ch 2:2. ๔๑ The Li Ki, book I, sect.I, pt II, ch 4:13.

Page 31 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๒๐

ขณะที่บิดามารดายังมีชีวิตอยู ในการรับประทานอาหารมื้อปกติ ทั้งมื้อเชาและเย็น บุตร พรอมดวยภรรยา ควรจะใหบิดามารดารับประทานอาหารทุกอยาง อาหารที่เหลือจากนั้นจึงเปนสวนของตนพรอมดวยภรรยา๔๒

ซึ่งการโยงไปหาหลักจารีตดังกลาวนี้เอง ทําใหแนวคําสอนเรื่องความกตัญูมีความสัมพันธกับหลักจารีตอยางไมสามารถแยกจากกันได

๒.หลักเมตตา (เหริน)

ในคัมภีรลุนยื๊อ และคัมภีรตาง ๆ ที่บันทึกคําสอนของขงจื๊อ หลายแหงที่พรรณนาถึงความสัมพันธระหวางหลักคําสอนเรื่องเมตตาและหลักคําสอนเรื่องความกตัญูวา มีความเกื้อกูลกันในเชิงปฏิบัติมากกวาหลักคําสอนเรื่องอื่นของขงจื๊อ เพราะคุณธรรมทั้งสองประการนี้ ขงจื๊อมุงเนนไปที่สถาบันครอบครัววาเปนปจจัยสําคัญที่จะทําใหคุณธรรมทั้ง ๒ ประการนี้เจริญงอกงามได ดังที่ขงจื๊อกลาวไวในที่ตาง ๆ เชน “ความกตัญูเปนรากฐานของคุณธรรม

ทั้งปวง”๔๓ “ความรักและความเคารพนับถือบิดามารดาที่มีอยูในจิตใจของตนนั่นแหละคือความกตัญู”๔๔ “ความกตัญูตอบิดามารดา เคารพพี่ รักนอง คือรากฐานแหงเมตตา”๔๕ จากขอความขางตน หากเราจะตั้งเปนคําถามตามแบบฉบับของขงจื๊อ เพ่ือเชื่อมโยงระหวางความกตัญูและเมตตา ก็จะไดรูปแบบดังนี้ เมตตา คืออะไร ? คําตอบคือ รักทุกคน๔๖ คนมีเมตตายอมรักคนทุกคน ความรักเริ่มตนจากที่ใดกอน คําตอบ “บิดามารดาของตน” ๔๗ เพราะ “ผูมีเมตตา ยอมไมทอดทิ้งบิดามารดาของตน”๔๘ “รักคนอื่น แตไมรักบิดามารดาของตน ยอมขัดแยงตอ

๔๒ The Li Ki, book X,sect.I,ch.10. ๔๓ The Hsiâo King, ch.1 (เจมส เล็กก ไดขยายความวา คุณธรรมทั้งปวงนั้นไดแก คุณธรรมที่เปนพ้ืนฐานที่สําคัญของขงจื๊อ ๕ ประการ ไดแก เมตตา, ความเที่ยงธรรม, จารีตประเพณี, ปญญา และความซื่อสัตย). ๔๔ Hsieh Yu-wei, Filial Piety and Chinese Society, in Charles A. Moore (ed.). The Chinese Mind. (Hawaii : The University Press of Hawaii, 1974), p.170. ๔๕ The Analects, book I:II:2. ๔๖ The Analects,book XII:XXII:1. ๔๗ Hsieh Yu-wei,op.cit., p.171. ๔๘ The Works of Mencius, book I,Ch.I:5.

Page 32 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๒๑

จริยธรรม เคารพนับถือแตคนอื่น แตไมเคารพนับถือบิดามารดาของตน ยอมขัดตอจารีตประเพณี”๔๙ ความรักจึงตองเริ่มตนแสดงออกที่บิดามารดาของตน๕๐ เราสามารถอธิบายถึงความเชื่อมโยงของหลักเมตตาและหลักกตัญูตอไปไดอีกวา การที่จะทําใหคนทุกคนมีความเมตตาตอเพ่ือนมนุษยไดนั้น จะตองเริ่มตนที่ความรูสึกรักที่ลูกมีตอบิดามารดาของตนเสียกอน นั่นหมายความวา การใสใจทําหนาที่ที่บุตรธิดาจะพึงปฏิบัติตอบิดามารดานั่นเองเปนวิธีพอกพูนความรักใหแนนแฟนยิ่งขึ้น ผลตามมาก็คือ บุตรธิดายอมกตัญูตอบิดามารดา บุตรธิดาที่กตัญูตอบิดามารดา ยอมเปนที่รักของบิดามารดาอยางสุดซึ้งเชนกัน เซียะ ยู-เหวย (Hsieh Yu-wei) ไดอธิบายถึงเหตุผลที่คุณธรรมเรื่องความกตัญูและเมตตามีความสัมพันธโดยใหเหตุผล ๒ ประการ คือ ๑. เมตตาจัดวาเปนคุณธรรมที่สําคัญยิ่งในลัทธิขงจื๊อ ซึ่งความสําคัญดังกลาวนี้ตองมีคุณธรรมอื่นเปนรากฐาน หรือทําใหเมตตาเกิดขึ้น ๒. เมตตาจะตองมีชองทางหรือวิธีการเมื่อนําไปปฏิบัติในสังคม ชองทางหรือวิธีการดังกลาวก็ไดแกความกตัญู๕๑ ดังนั้นเมื่อมีคนไปถามขงจื๊อวา เมตตาหมายถึงอะไร ขงจื๊อ กลับตอบโยงไปหาหลักกตัญูวา “เมื่ออยูบานก็ปรนนิบัติบิดามารดาดวยความเคารพ อยูนอกบานก็ปฏิบัติตอผูอื่นดวยความซื่อสัตย”๕๒ หลักเมตตากับหลักความกตัญูจึงผูกติดกันอยางเห็นไดชัด

๒.๑.๔ วิธีปลูกฝงความกตัญู

ตามแนวคําสอนขงจื๊อการปลูกฝงเรื่องความกตัญูเริ่มมาจากสถาบันครอบครัว ซึ่งในที่นี้ก็ไดแกพอแม จากนั้นก็เปนพี่นองที่อยูในครอบครัวเดียวกัน ในทัศนะของขงจื๊อ ครอบครัวจึงเปนเสมือนโรงเรียนสอนศีลธรรม๕๓ ซึ่งบทเรียนแรกที่ลูก ๆ จะตองเรียนรูก็คือเรื่องความกตัญู

๔๙ Hsieh Yu-wei, Filial Piety and Chinese Society, op.cit., p.172. ๕๐ The Works of Mencius, book III,ch.V:3. ๕๑ Hsieh Yu-wei, op.cit.,p.170. ๕๒ The Analects, book XIII:XIX. ๕๓ พระมหาบุญเรือง ปฺญาวชิโร,อางแลว, หนา ๖๑.

Page 33 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๒๒

ในคัมภีรจารีต ไดระบุถึงวิธีการปลูกฝงความกตัญูไวกระจัดกระจาย แมจะดูไมเปนระบบ แตก็สะทอนใหเห็นถึงบทบาทสําคัญของบิดามารดาวา เปนบุคคลแรกที่จะเปนผูอบรมสั่งสอนบุตรธิดาใหมีความกตัญู ความกตัญูจะบังเกิดขึ้นไดก็ตองอาศัยทานทั้งสองเปนแมพิมพ คอยอบรมสั่งสอน เริ่มต้ังแตทําตัวใหเปนแบบอยางที่ดีงามแกบุตรธิดา ธรรมเนียมจีนจึงมีวิธีการที่จะปลูกฝงคุณธรรมตาง ๆ โดยเริ่มต้ังแตบิดามารดา โดยเฉพาะมารดาในฐานะเปนผูที่จะอยูใกลชิดบุตรธิดามากที่สุด เพราะเปนผูทําหนาที่เลี้ยงดูบุตรธิดาโดยตรง จะตองฝกฝนอบรมตนเองในคุณธรรมเหลานั้นกอน จึงมีธรรมเนียมวา หญิงเมื่อจะแตงงาน จะตองถูกสงไปยังวัดบรรพบุรุษเพื่อเรียนรูหนาที่ของภรรยา รวมทั้งขัดเกลาจิตใจ เพ่ือเตรียมตัวเปนครูของเหลาบุตรธิดา๕๔

ในการสั่งสอนบุตรธิดาใหมีความกตัญูกตเวที บิดามารดาก็ตองอดทน ไมแสดงอาการโกรธเคืองเมื่อยามที่บุตรยังไมมีความกตัญู๕๕ ขณะเดียวกันบุตรธิดาที่ไดรับการสั่งสอน แมถูกบิดาลงโทษถึงขั้นเลือดตกยางออก ก็ไมควรแสดงอาการโกรธเคืองเชนกัน๕๖

วิธีการปลูกฝงความกตัญูในคัมภีรจารีต สวนใหญเปนเรื่องของการลงมือปฏิบัติตอบิดามารดาโดยตรงในลักษณะเหมือนตองการจะย้ําวา บุตรธิดาจะตองทําอยางนี้ ๆ หรือไมควรทําอยางนี้ ๆ ในคัมภีรดังกลาวนี้จึงเตม็ไปดวยขอวัตรปฏิบัติสําหรับการฝกตนเองของบรรดาเหลาบุตรธิดา ซึ่งจะตองดําเนินไปอยางเครงครัด

ผูวิจัยคัดขอความมาจากคัมภีรจารีต แสดงใหเห็นถึงวิธีการปลูกฝงความกตัญูโดยผานวิถีปฏิบัติจนกลายเปนแบบแผนของสังคมดังนี้

ลูก ๆ และรวมถึงภรรยาของลูก ๆ ทั้งหลาย ผูไดชื่อวาเปนผูมีความกตัญูและมีความเคารพเชื่อฟงนั้น เมื่อไดรับคําสั่งจากบิดามารดา ไมควรปฏิเสธ ทั้งไมควรผัดวันประกันพรุง ตองรีบจัดการใหลุลวง เมื่อบิดามารดาใหรับประทานหรือดื่มอะไร แมจะไมชอบสิ่งนั้น ก็จะไมปฏิเสธที่

๕๔ เร่ืองเดียวกัน, หนา ๕๐. ๕๕ The Li Ki, book X, sect.I,ch. 14. ๕๖ The Li Ki, book X, sect.I,ch.15.

Page 34 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๒๓

จะชิมดู พรอมทั้งรอคอยคําสั่งตอไป เมื่อบิดามารดามอบเสื้อผาให แมจะไมถูกใจ ก็ตองนํามาใส พรอมกับรอดูวาทานจะสั่งอยางไร๕๗

ขอความดังกลาวนี้สะทอนถึงการปลูกฝงใหบุตรธิดา รูจักเคารพเชื่อฟง อะไรก็ตามที่เปนสิ่งบิดามารดาหยิบยื่นให บุตรธิดาตองนอมรับดวยความเคารพ แมจะไมชอบใจก็ตาม ซึ่งมุมหนึ่งก็สะทอนใหเห็นวา ในฐานะเปนบุตรธิดา ไมควรทําอะไรใหบิดามารดาขัดเคือง หรือไมพอใจ ตองรูจักถนอมน้ําใจทาน

สายตาของลูกไมควรลืมมองดูบิดามารดาของตน หูของลูกไมควรลืมฟงเสียงบิดามารดาของตน และควรใสใจความประสงค ความตองการ และความปรารถนาของทาน (เมื่อทานตายไปแลว-ผูวิจัย) ก็ยังรักทานไมเสื่อมคลาย ทําเหมือนประหนึ่งทานกลับมชีีวิตใหมอีกครั้ง ใหความเคารพทานเสมือนประหนึ่งวาทานมายืนอยูตรงหนา...๕๘

ขอความดังกลาวนี้แสดงใหเห็นถึงวิธีการปลูกฝงเรื่องความสําคัญของบิดามารดา ขอความที่วา “ไมควรลืมมองดูบิดามารดาของตน...ไมควรลืมฟงเสียงของบิดามารดาของตน” ย้ําเตือนใหลูกไดเกิดจิตสํานึกในการกระทําทุกอยางวา บิดามารดานั้นสําคัญที่สุด ดวยการมองดูหนาจะทําใหทราบจุดประสงค ความตองการของทาน การรูจักฟงเสียงของทาน สะทอนใหเห็นถึงความเชื่อฟง ไมขัด หรือไมฝนความประสงคของทาน

ถาประตูเปดอยู เขาก็ตองปลอยมันเปดเอาไว ถาประตูปดอยู เขาก็ตองปดไวอีกเชนเดิม ถามคีนอื่น ๆ เขามาตามหลังเขา เขาตองไมรีบปดมันดวยความรีบรอนจนเกินไป เขาตองไมเหยียบลงไปบนรองเทา และไมกาวยางขามเสื่อ แตจงดึงรั้งเครื่องแตงกายขึ้นเล็กนอย แลวเคลื่อนกายไปยังมุมหองของเขาอยางรวดเร็ว เขาตองระมัดระวังตอบคําถาม และในการยินยอมหรือเห็นดวย ขณะเมื่อกําลังขึ้นไปยังหองโถง เขาตองยกระดับเสียงพูดของเขาใหดังขึ้นอีก และเมื่ออยูที่นอกประตู ถาหากมีรองเทา ๒ คูวางอยู และมีเสียงลอดออกมาใหไดยิน เขากอ็าจจะเขาไปได แตถาไมไดยินเสียงพูดใด ๆ เขาก็ตองไมเขาไปในประตูนั้น เมื่อเขาประตูไป เขา

๕๗ The Li Ki, book X, sect.I,13. ๕๘ The Li Ki, book XXX,sect. I,4.

Page 35 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๒๔

จะตองทอดสายตาลงต่ํา และขณะที่เขาไป เขาก็ควรยกมือสูงเล็กนอย ทําราวกับวาเขากําลังถือสลักประตูอยู๕๙

ขอความในคัมภีรจารีตดังกลาว สะทอนใหเห็นถึงวิธีการสอนใหบุตรธิดารูจักระมัดระวังตัวในการปฏิบัติตอบิดามารดา ความระมัดระวังดังกลาวนี้ยังแสดงนัยแหงความเคารพ ยําเกรงอยางเห็นไดชัด กิริยามารยาทที่แสดงออก ไมวาจะเปนการกระทํา คําพูด จึงมีลักษณะของความเครงครัด ซึ่งบุตรธิดาตองปฏิบัติตาม อนึ่ง นอกจากวิธีการปลูกฝงเรื่องความกตัญูดังกลาวแลวขางตน หากพิจารณาถึงวิธีการของขงจื๊อในการสั่งสอนจริยธรรมโดยใชคัมภีรชั้นสูงทั้ง ๖ (Six Classices) เปนที่แนนอนวา ในเรื่องคุณธรรมเรื่องความกตัญู ขงจื๊อนาจะใชคัมภีรดังกลาวเปน “อุปกรณ” สําหรับการปลูกฝงคานิยมกตัญูดวยอยางแนนอน เพราะคัมภีรเหลานี้ เนื้อหาบางสวนก็มีความเกี่ยวของกับคําสอนเรื่องกตัญูเชนเดียวกับคัมภีรจารีต ในงานวิจัยเรื่องมนุษยนิยมในปรัชญาขงจื๊อ ผูวิจัยไดยกเอาคัมภีรชั้นสูงทั้ง ๖ ประการ มาสรุปไววา๖๐ เปนคัมภีรที่ขงจื๊อใชเปนสื่อในการสอน กลาวคือ ขงจื๊อใชคัมภีรกาพยสอนเรื่องอุดมคติของชีวิต โดยมีจุดมุงหมายเพื่อชี้แนวทางสูความดี ความรักชาติบานเมือง รักสงบ สันติสุข กตัญูตอบิดามารดา เคารพเจาผูครองนคร คัมภีรประวัติศาสตรถูกใชเปนอุทาหรณใหคนไดเขาใจเหตุการณในอดีต ในลักษณะดีเอาเปนแบบอยาง ชั่วก็เอาเปนเครื่องเตือนสติอนุชนรุนหลัง คัมภีรดนตรี ใชเปนเครื่องมือในการสอนเรื่องประสานสัมพันธทางหนาที่ของคนในสังคม ดนตรีสอนใหรูจักวิธีการปฏิบัติตอบิดามารดา สอนใหเรารูจักรับใชองคประมุข คัมภีรแหงการเปลี่ยนแปลง สอนใหรูถึงพลังของธรรมชาติ ๓ ประการ ไดแก ฟา ดิน และมนุษย ซึ่งอิงอาศัยกันเกิดขึ้น มนุษยเกิดจากฟา อาศัยอยูบนดิน ตองรูจักสํานึกกตัญู คัมภีรชุนชิว ใชสอนหลักการสําคัญแหงเกียรติยศและหนาที่ซึ่งทุกคนจะตองปฏิบัติใหถูกตอง

๒.๑.๕ วิธีแสดงความกตัญู ในคัมภีรลุนยื๊อ ขงจื๊อกลาวถึงวิธีแสดงความกตัญูไวนอยมาก และที่กลาวถึงนั้นก็เปนเพียงการกลาวแบบรวม ๆ ไมไดระบุวิธีการโดยละเอียด เชน กลาววา เมื่อทานมีชีวิตอยู

๕๙ ละเอียด ศิลานอย, อางแลว, หนา ๔๖. ๖๐ ดูรายละเอียดใน พระมหาบุญเรือง ปฺญาวชิโร, “มนุษยนิยมในปรัชญาขงจื๊อ”, อางแลว, หนา ๖๙-๗๕.

Page 36 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๒๕

บํารุงเลี้ยงดูทาน เมื่อทานละชีวิตไปแลว ก็จัดการฝงตามประเพณี นอกจากนั้นก็กลาวถึงการเลี้ยงดูบิดามารดาวาจะตองทําดวยความเคารพ ไมใชสักแตวาใหขาวใหน้ํากินอิ่มแคปากทองเหมือนเลี้ยงสุนัข เลี้ยงสุกร อยางไรก็ตาม เมื่อพิจารณาคัมภีรจารีตประเพณี ซึ่งเปนคัมภีรสําคัญที่เนื้อหาบางสวนไดกลาวถึงวิธีปฏิบัติตนตอบิดามารดาในฐานะเปนลูกกตัญูแลว เราก็จะพบวา ขงจื๊อไดกลาวรายละเอียดไวมากสมควร ซึ่งผูวิจัยขอจัดหมวดหมูเปน ๒ ประเภท ดังนี้

๑. วิธีแสดงความกตัญูตอบิดามารดา วิธีแสดงความกตัญูตอบิดามารดา สามารถแบงออกเปน ๒ ชวงเวลา คือ (ก) เวลาที่บิดามารดายังมีชีวิตอยู (ข) เวลาที่บิดามารดาเสียชีวิตไปแลว ซ่ึงจะไดกลาวในรายละเอียดตอไป

(ก) วิธีแสดงความกตัญูเวลาที่บิดามารดายังมีชีวิตอยู วิธีการแสดงความกตัญูตอบิดามารดาเมื่อทานยังมีชีวิตอยู สามารถแสดงออกไดหลายทาง สามารถรวบรวมวิธีการที่ปรากฏในคัมภีรคําสอนของขงจื๊อ แลวสรุปเปนประเด็นเพื่อความชัดเจนไดดังนี้

๑. การใหความเคารพและเชื่อฟง ความเคารพและเชื่อฟง ถือวาเปนสิ่งสําคัญที่สะทอนใหเห็นถึงความกตัญู ขงจื๊อไดพยายามเนนใหเห็นวา การแสดงออกตอบิดามารดาในทุก ๆ เรื่อง ทุก ๆ กรณี จะตองตั้งอยูบนพื้นฐานของความเคารพและเชื่อฟงโดยปราศจากเงื่อนไข ดังคํากลาวท่ีวา “ในพฤติกรรมโดยทั่ว ๆไป ที่บุตรปฏิบัติตอบิดามารดา บุตรจะตองสําแดงใหเห็นถึงความเคารพนับถืออยางสูงสุด”๖๑ มีตัวอยางของคําสอนของขงจื๊อที่สะทอนใหเห็นวา ความเคารพและเชื่อฟงเปนหัวใจที่สําคัญที่แสดงออกถึงความกตัญู เชน

ในการรับใชบิดามารดา บุตรอาจจะคัดคานทานได แตตองกระทําดวยความสุภาพ เมื่อเห็นวาทานไมกระทําตามคําแนะนําของเขาที่ไดแนะนําไป เขาควรจะยิ่งแสดงความนับถือบูชาใหมากยิ่งขึ้นไปอีก แตทวา

๖๑ ละเอียด ศิลานอย, ผูแปล. สรางชีวิตและสังคมตามหลักคําสอนของขงจื๊อ, (กรุงเทพ ฯ : สํานักพิมพดอกหญา, ๒๕๓๕), หนา ๔๕.

Page 37 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๒๖

ก็ยังไมละทิ้งวัตถุประสงคเดิมของเขาไปเสีย ถาหากบิดามารดาลงโทษเขา เขาจะตองไมยอมใหตัวเองพร่ําบนหรือติเตียนบิดามารดาของเขา๖๒

ในการรับใชบิดา บุตรควรตักเตือนถึงความผิดของทาน แตก็ไมควรกระทําการอยางเปดเผยหรือโจงแจง เขาควรจะรอคอยและบํารุงเลี้ยงดูทานในทุก ๆ ทางเทาที่จะทําได โดยไมเห็นแกเหน็ดเหนื่อย ควรเลี้ยงดูทานอยางขยันขันแข็งตราบเทาถึงวาระสดุทายแหงชีวิต หลังจากนั้นจึงไวทุกขใหแกทานเปนเวลา ๓ ป๖๓

ลูกเมื่อจะไปตางถิ่น ควรตองแจงสถานที่ที่จะไปนั้นใหบิดามารดาทราบกอน และเมื่อกลับมา จะตองรายงานใหทานทราบกอนเชนกัน ในการสนทนากับทาน จะตองไมใชคําวา “คนแก” เอยถึงทาน๖๔

จะเห็นไดวา พ้ืนฐานของการเลี้ยงดูบิดามารดาในคําสอนของขงจื๊อ ความเคารพเชื่อฟงเปนสิ่งสําคัญมาก ในคัมภีรลุนยื๊อ ขงจื๊อเปรียบเทียบการบํารุงเลี้ยงดูบิดามารดาโดยปราศจากความเคารพนับถือวา ไมตางอะไรกับการเลี้ยงมา หรือเลี้ยงสุนัข๖๕

๒. การบํารุงเล้ียงดู

ในคัมภีรจารีต ไดแสดงถึงวิธีการเลี้ยงดูบิดามารดาไวหลายอยาง ทั้งในความหมายของการเลี้ยงดูทางดานรางกายคือ การบํารุงเลี้ยงดูใหอยูดีมีสุข มีสุขภาพพลานามัยสมบูรณ และการบํารุงเลี้ยงดูทางดานจิตใจ คือทําใหทานสบายใจ ไมมีเรื่องใหตองกังวลใจ หรือเดือดรอนใจเพราะการกระทําของบุตรธิดา ทั้งในยามที่ทานอยูเปนปกติ และในยามที่ทานเจ็บไขไดปวย ตัวอยางที่คัดมาจากคัมภีรจารีตที่ระบุถึงการเลี้ยงดูบิดามารดาในแงมุมตาง ๆ สะทอนใหเห็นวา เปนภาระอันยิ่งใหญที่บุตรธิดาตองใหความสําคัญ เชน

๖๒ ละเอียด ศิลานอย. อางแลว, หนา ๔๕. ๖๓ The Li Ki, book II, sect.I,pt.I:2. ๖๔ The Li Ki, book I,sect.I,pt.II,ch.4:5-6. ๖๕ The Analects, book II:VII.

Page 38 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๒๗

บุตรควรบํารุงเลี้ยงดูทานในทุก ๆ ทางเทาที่จะทําได โดยไมเห็นแกเหน็ดเหนื่อย ควรเลี้ยงดูทานอยางขยันขันแข็งตราบเทาถึงวาระสุดทายแหงชีวิต หลังจากนั้นจึงไวทุกขใหแกทานเปนเวลา ๓ ป๖๖

ทุก ๆ ๕ วัน บุตรธิดาควรเตรียมน้ําอุนใหทานอาบ, และทุก ๆ ๓ วัน บุตรธิดาควรเตรียมน้ําสําหรับชําระศีรษะ หากแมวา ในระหวางนั้น หนาของบิดามารดาสกปรกอยู บุตรธิดาควรเอาน้ําอุนซึ่งไดจากน้ําซาวขาวใหทานลาง ถาเผื่อวาเทาทั้งสองของทานสกปรก บุตรธิดาควรเตรียมน้ํารอนใหทานลาง๖๗

ในขณะที่บิดามารดายังมีชีวิตอยู บุตรไมควรไปตางแดนที่อยูไกล แตถาหากจําเปนตองไป ก็ตองแจงสถานที่ที่จะไปใหทานทราบกอน๖๘

ในคัมภีรประวัติศาสตร ไดแสดงถึงวิธีการแสดงความกตัญูวาเริ่มตนที่การรูจักรับใชบิดามารดา ตอไปก็รับใชประเทศชาติ และประการสุดทายสรางอะไรสําหรับตัวเองเพื่อใหชื่อเสียงนั้นดํารงคงอยูหรือเปนที่เชิดหนาชูตา๖๙ ซึ่งขอความดังกลาวก็สอดคลองกับหลักปฏิบัติที่กลาวไวในคัมภีรจารีตที่วา การทําใหชื่อเสียงขจรขจายเปนที่ยกยองของคนในสังคมเปนเปาหมายสุดทายของความกตัญู๗๐ ในคัมภีร เมง จ๊ือกลาวถึงการบํารุง เลี้ ยงดูบิดามารดาวา เปนแกนแทของมนุษยธรรม๗๑ และถือวา ในบรรดาการรับใชทั้งหลาย การรับใชบิดามารดาถือเปนเรื่องสําคัญ

๖๖ The Li Ki, book II, sect.I,pt.I:2. ๖๗ The Li Ki, book X, sect.L,ch.11. ๖๘ The Analects, book IV:XIX. ๖๙ จํานงค ทองประเสริฐ, ผูแปล. บอเกิดลัทธิประเพณีจีน, (กรุงเทพ ฯ :โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณ-ราชวิทยาลัย, ๒๕๓๗), หนา ๓๓๗. ๗๐ The Hsiâo King, ch.I. ๗๑ The Works of Mencius, book IV:27.

Page 39 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๒๘

ที่สุด๗๒ ในคัมภีรลุนยื๊อกลาวถึงการรับใชบิดามารดาวาเปนเรื่องที่บุตรจะตองทําอยางสุดความสามารถ๗๓

๓. การชวยเหลือกิจการงานของทาน ในคัมภีรจารีต ไดระบุถึงการรับใช หรือการชวยเหลือกิจการงานของบิดามารดาวา เปนภาระของลูกทุกคน เมื่อบิดามารดาสั่งใหทํางานอยางใดอยางหนึ่ง จะตองไมมีการผัดวันประกันพรุง จะตองรีบทําใหสําเร็จ๗๔ ผูไดชื่อวาลูกกตัญูจึงมีหนาที่สําคัญในการชวยเหลือกิจการงานของบิดามารดา และใหถือวาเปนเรื่องสําคัญเหนือสิ่งอื่นใด

๔. การชวยดํารงวงศตระกูล การชวยดํารงวงศตระกูลสามารถทําไดหลายอยาง เชน การประพฤติตนอยูในคุณธรรมความดีงามทั้งหลาย ไมทําความเสื่อมเสีย หรือประพฤติไปในทางเสียหายซึ่งจะทําใหสงผลเสียหายตอวงศตระกูล หรืออาจจะมุมานะสรางเนื้อสรางตัวใหเปนที่ปรากฏในสังคมจนไดรับการยกยอง สงผลใหชื่อเสียงของวงศตระกูลพลอยไดรับการยกยองตามไปดวย ดังที่ปรากฏขอความในคัมภีรจารีตที่วา

มาตรแมวา เมื่อบิดามารดาตายไปแลว บุตรมีแนวโนมที่จะทําสิ่งที่ดีงาม ก็ควรคิดวา ดวยวิธีนี้ตนเองจะชวยรักษาชื่อเสียงของบิดามารดาได เขาก็ควรทําสิ่งนั้นใหสําเร็จใหจงได หากบุตรมีแนวโนมที่จะทําสิ่งที่ไมดี ก็ควรคิดวา ดวยวิธีนี้ตนเองจะทําลายชื่อเสียงของบิดามารดา เขาจะตองลมเลิกความตั้งใจนั้นเสีย๗๕

ดวยไมทําใหตัวเองตองเสื่อมเสียหรือนาอับอาย และดวยไมทําใหบิดามารดาตองละอายใจ นั่นจึงจะเรียกไดวา เปนความกตัญูของบุตรที่มีตอบิดามารดาอยางแทจริง๗๖

๗๒ The Works of Mencius, book IV:19. ๗๓ The Analects, book I:VII. ๗๔ The Li Ki, book X,sect.I,ch 13. ๗๕ The Li Ki, book X,sect.I, ch.17. ๗๖ ละเอียด ศิลานอย, ผูแปล.อางแลว,หนา ๔๘.

Page 40 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๒๙

ในคําสอนของขงจื๊อ การที่บุตรธิดาตางมุมานะสรางเนื้อสรางตัวจนมีฐานะมั่นคง ทําใหชื่อเสียงของวงศตระกูลเปนที่ประจักษแกสาธารณะ ถือวาเปนจุดมุงหมายสําคัญของความกตัญู ทานเรียกวาเปนเปาหมายสูงสุด หรือเปาหมายสุดทายของความกตัญู๗๗

(ข) วิธีแสดงความกตัญูเวลาที่บิดามารดาเสียชีวิตไปแลว วิธีการแสดงความกตัญูตอบิดามารดาเมื่อทานเสียชีวิตไปแลว เทาที่สํารวจพบในคัมภีรคําสอนทางศาสนาของขงจื๊อกลาวไวเพียง ๓ วิธี คือ

๑) การไวทุกข๗๘ การไวทุกข เปนการแสดงออกถึงความกตัญู เปนการแสดงออกถึงความรูสึกภายในจิตใจของผูเปนบุตรธิดาตอการสูญเสียบิดามารดา ดังนั้นในชวงของการไวทุกข บุตรธิดาทุกคนตองไมทําตัวใหสนุกสนานรื่นเริง ไมแตงตัวดวยสีฉูดฉาด ทั้งไมกินอาหารที่มีรสเลิศ เปนระยะเวลา ๓ ป เงื่อนไขของระยะเวลา ๓ ปที่กําหนดนี้ ขงจื๊อใหเหตุผลวา เราทุกคนเกิดมา ภายในระยะเวลา ๓ ปนั้น เปนชวงเวลาที่ชวยเหลือตัวเองไมได ตองอยูในออมกอดของบิดามารดาตลอดเวลา หากไมมีทานคอยประคับประคองเลี้ยงดูแลว ชีวิตก็หามีไม ดังนั้นการไวทุกขเปนระยะเวลา ๓ ป จึงเปนเรื่องที่บุตรธิดาทุกคนตองยึดถือปฏิบัติอยางเครงครัด

๒) การจัดฝงศพตามจารีตประเพณี๗๙ ในคัมภีรลุนยื๊อไมไดใหรายละเอียดวิธีการฝงศพตามจารีตประเพณีวาฝงอยางไร แตมีเรื่องเลาวา ครั้งที่ขงจื๊อเปนขุนนางในตําแหนงหัวหนาขุนนางทองที่ ขงจื๊อไดชวยสรางจารีตเรื่องการฝงศพ และถือเปนแบบอยางมาจนถึงปจจุบนั ธรรมเนียมการฝงศพทานแสดงไวดังนี้

“กําหนดใหใชโลงไม ชั้นในหนา ๔ นิ้ว ชั้นนอกหนา ๕ นิ้ว บรรจุศพกลบฝงตามลักษณะนูนเวาธรรมชาติของเนินเขาพื้นภูมิ ไมกอดินสราง

๗๗ The Hsiâo King, ch.I. ๗๘ The Analects, book XVII:XXI. ๗๙ The Analects, book II:V:3.

Page 41 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๓๐

สุสานเปนพิเศษ และไมปลูกตนสนเปนเครื่องหมายหนาหลุมศพ”๘๐ “มีคําถามวา การฝงศพตามประเพณีเกี่ยวของอยางไรกับความกตัญู ขอนี้ขงจื๊อไมไดแสดงไวโดยตรง แตก็มีคําตอบตามแบบฉบับความเชื่อของคนจีนที่สอนกันสืบ ๆ มาวา “การฝงศพเปนการแสดงน้ําใจกตัญูของบุตร พิธีวันเกิดเปนการแสดงน้ําใจรักของบิดามารดา สวนพิธีแตงงานก็เปนเพื่อตนเอง และเปนการจัดขึ้นเพื่อชื่อเสียงของคนทั้งบาน”๘๑ “การฝงศพบิดามารดาเปนเรื่องสําคัญ เพราะวาพิธีการฝงศพเปนการแสดงความกตัญูกตเวทีอยางสูงสุดอยางหนึ่งที่บุตรพึงมีตอบิดามารดา”๘๒ การที่คําสอนขงจื๊อใหความสําคัญเรื่องจารีตประเพณี ก็เพราะเหตุวา จารีตประเพณีนั้นเปรียบเหมือนระเบียบสังคม ทําใหสังคมนั้นมีหลักในการยึดถือ ดังนั้นการดําเนินการใด ๆ ก็ตาม หากขัดแยงกับจารีตประเพณีอันดีงามงามแลว ยอมสอใหเห็นวา ผูปฏิบัตินั้นขาดความเคารพ และอาจจะถูกตําหนิจากสังคม ซึ่งยอมสงผลเสียตอบุตรธิดา รวมกระทั่งผูที่ตายไปแลวดวย สอดคลองกับคํากลาวขางตนที่วา “การฝงศพเปนการแสดงน้ําใจกตัญูของบุตร” ดังนั้นการกระทําใหถูกตองตามจารีตประเพณีจึงเปนมาตรฐานของการแสดงออกถึงความกตัญูอีกวิธีหนึ่งที่สามารถจะวัดกันไดเปนรูปธรรม

๓) การเซนไวตามจารีตประเพณี๘๓ การเซนไหวบรรพบุรุษนับเปนประเพณี และเอกลักษณที่สําคัญของคนจีน ซึ่งไดรับการสั่งสอนและถือปฏิบัติมาเปนระยะเวลานาน ขงจื๊อเมื่อมีคนไปถามวา ความกตัญูคืออะไร ทานกลับตอบสั้น ๆ แตก็มีความหมายแฝงอยูซึ่งสามารถปฏิบัติไดชั่วชีวิตของบุตรธิดาวา เมื่อบิดามารดายังมีชีวิตอยูก็ดูแลเลี้ยงดูทานตามจารีตประเพณี เมื่อทานตายไปแลวก็จัดการฝงศพ และทําการเซนไหวตามประเพณี๘๔ ในคัมภีรลุนยื๊อแมจะไมไชคัมภีรที่อธิบายถึงประเพณีการเซนไหวโดยตรง แตก็มีการกลาวถึงการเซนไหวหลายแหง โดยหัวใจหลักของการเซนไหวเหลานั้นอยูที่ ๑) การระลึก

๘๐ อองซก, ขงจื๊อฉบับปราชญชาวบาน, อางแลว, หนา ๑๗. ๘๑ จําลอง พิศนาคะ, เคล็ดลับการคาของคนจีน, (กรุงเทพ ฯ : สํานักพิมพขาวฟาง, ๒๕๔๐), หนา ๑๙๙. ๘๒ เร่ืองเดียวกัน, หนา ๑๓๕. ๘๓ The Works of Mencius, book III, ch. II:2. ๘๔ The Analects, book II:V.

Page 42 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๓๑

และแสดงออกซึ่งความเคารพอยางจริงใจตอบิดามารดา แมในยามที่ทานจากไปแลว๘๕ ๒) ลักษณะอาการที่แสดงออก บงบอกถึงความจริงใจ และมีความเคารพประหนึ่งวาบรรพบุรุษมายืนอยูตรงหนา๘๖ ๓) ถูกตองตามจารีตพิธี เชน การเซนไหวของจักรพรรดิต้ังเครื่องเซนอยางหนึ่ง การเซนไหวบรรพบุรุษของสามัญชนตั้งเครื่องเซนอีกอยางหนึ่ง จะนํามาปะปนกันไมได๘๗

๔) การสืบสานเจตนารมณของทานอยางไมเสื่อมคลาย การสืบสานเจตนารมณของบิดามารดา หมายถึงการยืนหยัดอยูในสิ่งดีงามที่บิดามารดาไดทําเอาไว ไมเปลี่ยนแปลงหรือแกไข ในคัมภีรลุนยื๊อไดกลาวยกยองเมิ่งจวงจื่อ ผูเปนอํามาตยแควนลู วาทําในสิ่งที่คนอื่นทําไดยากยิ่งนั่นคือ การไมยอมเปลี่ยนแปลงขุนนางเกาที่บิดาไดแตงตั้งเอาไว และไมเปลี่ยนแปลงระเบียบแบบแผนการปกครองที่บิดาไดวางเอาไว๘๘ การท่ีบุตรไมยอมเปลี่ยนแปลง ยังคงดําเนินการตามหลักการที่ถูกตองของบิดามารดาไวแมทานจะลวงลับไปแลว เปนวิธีวัดถึงความกตัญูของบุตรธิดาอีกประการหนึ่ง๘๙

๒. วิธีแสดงความกตัญูตอบุคคลอ่ืนนอกเหนือจากบิดามารดา ตามแนวคําสอนขงจื๊อ ไมใชเฉพาะบิดามารดาเทานั้นที่มีบุญคุณตอเรา หากแตคนทุกคนนั้น เมื่อมาอยูรวมกันในสังคม ยอมอยูในฐานะพึ่งพาอาศัย หรืออิงอาศัยกันและกันอยูตลอดเวลา เชน พระเจาแผนดินในฐานะผูปกครองแผนดินก็ตองอิงอาศัยเหลาอํามาตยราชบริพาร อาศัยประชาราษฎร ในขณะเดียวกัน เหลาอาณาประชาราษฎรก็พ่ึงพาอาศัยพระเจาแผนดิน อาศัยเหลาอํามาตยราชบริพาร ในคัมภีรจารีตไดแสดงหลักของความกตัญูไวครอบคลุมสัมพันธภาพทางสังคม รวมไปถึงหลักกฎเกณฑของสากลจักรวาลดวย ขอใหพิจารณาขอความตอไปนี้

จารีตพิธีตาง ๆ ขึ้นอยูกับพ้ืนฐาน ๓ ประการ คือ ฟาและดิน ซึ่งเปนแหลงกําเนิดชีวิต ๑ บรรพบุรุษทั้งหลายผูเปนแหลงกําเนิดแหงเผาพันธุ

๘๕ The Analects, book I:IX.. ๘๖ The Analects, book III:XII. ๘๗ The Analects, book III:I,II. ๘๘ The Analects, book XIX:XVIII. ๘๙ The Analects, book IV:XX.

Page 43 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๓๒

มนุษยทั้งหลาย ๑ พระมหากษัตริยและครูบาอาจารยผูเปนบอเกิดแหงรัฐบาล ๑ ถาไมมีฟาและดินเสียแลว ชีวิตจะเกิดมาจากไหนเลา ? ถาไมมีบรรพบุรุษเสียแลว อนุชนทั้งหลายจะเกิดมาจากที่ไหนเลา ? ถาไมมีพระมหากษัตริยและครูอาจารยแลว รัฐบาลจะเกิดมาจากที่ไหนเลา ? ถาหากในบรรดาพื้นฐานอยางใดอยางหนึ่งขาดหายไป คงจะไมมีมนุษยหรือมนุษยจะไมมีสันติสุขอยางใดอยางหนึ่งโดยแท ดังนั้นหลักการหลี่ก็คือการรับใชฟาเบื้องบน รับใชดินในเบื้องตํ่า ทั้งเปนการใหเกียรติบรรพบุรุษและเปนการยกยองพระมหากษัตริยและครูบาอาจารยทั้งหลายนั่นเอง๙๐

จากหลักการดังกลาว สะทอนใหเห็น “บุญคุณ” การตอง “ทดแทน” บุญคุณอยูในตัว ประเด็นสําคัญที่ตามมาคือ มีวิธีการแสดงความกตัญูในบุคคลเหลานี้อยางไรบาง คําตอบตอปญหานี้ ตองพิจารณาในรายละเอียดของคําสอนที่ขงจื๊อแสดงไวในคัมภีรตาง ๆ ซึ่งผูวิจัยขอนํามาเปนตัวอยางประกอบบางสวน

ในการรับใชเจาผูครองนคร เขาควรจะคัดคานทานอยางเปดเผย และอยางรุนแรง โดยไมตองซุกซอนหรือปดบัง เขาควรจะรอคอย และเลี้ยงดูทานในทุก ๆ ทางเทาที่จะกระทําได และก็ใหเปนไปตามกฎเกณฑหรือขอจํากัดอันไดวางเอาไวแลวดวย เขาควรจะรับใชทานอยางขยันขันแข็งจนกระทั่งทานสิ้นชีพลง และจากนั้นใหแตงกายไวทุกขแกทานประมาณ ๓ ป ตามกฎที่ไดวางเอาไว ...

...ในการรับใชครูอาจารย มันก็ไมใชธุระอะไรของเขาที่จะตองไปติเตียนหรือวิจารณในความผิดนานาของทาน เขาควรจะรอคอยและรับใชทานในทุก ๆ ทาง โดยไมมีขอจํากัดใด ๆ และควรเขาไปรับใชทานอยางไมรูจักเหน็ดเหนื่อย จนกระทั่งทานสิ้นชีพลง และหลังจากนั้นก็ใหไวทุกขแกทานดวยใจเปนระยะเวลา ๓ ป๙๑

จากตัวอยางขางตนจะแสดงใหเห็นวา วิธีการแสดงความกตัญูนั้น สามารถทําไดทั้งโดย ๑) การตักเตือนเมื่อเห็นวาการกระทําของทานจะนําไปสูความเสียหายตอ

๙๐ จํานงค ทองประเสริฐ, “ปรัชญาจีน” ใน ทรงวิทย แกวศรี, บรรณาธิการ. มหาจุฬา ฯ วิชาการ : ปรัชญาบุรพทิศ, (กรุงเทพ ฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๒), : ๑๖๒. ๙๑ ละเอียด ศิลานอย, อางแลว, หนา ๔๔.

Page 44 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๓๓

บานเมือง ๒) บํารุงหรือใหการสนับสนุนในกิจการตาง ๆ ที่ผูปกครองทํา ๓) รับใชดวยแรงกายในภารกิจตาง ๆ ๔) ไวทุกขยามที่ทานจากไป ๔) ไมวิพากษวิจารณใหทานเสียหาย หลักคําสอนของขงจื๊อมนุษยเกี่ยวโยงกันหรือสัมพันธกันตามฐานะ เชน บิดามารดากับบุตร ผูปกครองกับผูถูกปกครอง สามีกับภรรยา เพื่อนกับเพื่อน พ่ีกับนอง ซึ่งคูแหงความสัมพันธดังกลาวยอมเกื้อกูลประโยชนแกกันไมทางใดก็ทางหนึ่ง ทุกคนจงึอยูในฐานะมีบุญคุณตอกัน และมีหนาที่ตองตอบแทนคุณซึ่งกันและกัน เชน ผูปกครองแสดงความกตัญูตอผูถูกปกครองดวยการใหความเปนธรรม ไมกดขี่ขมเหง ไมเอารัดเอาเปรียบ ขณะที่ผูถูกปกครองก็แสดงความกตัญูดวยการทํางานรับใชดวยความซื่อสัตยภักดี เปนตน

๒.๑.๖ บทบาทและอิทธิพลของความกตัญูที่มีตอสังคม จากหลักคําสอนของขงจื๊อท่ีวา “การกระทําของมนุษยทั้งหมดทั้งสิ้น ไมมีการกระทําใดยิ่งใหญเกินไปกวาความกตัญูกตเวทีของบุตรที่มีตอบิดามารดา ในความกตัญูกตเวทีของบุตรที่มีตอบิดามารดา ไมมีอะไรย่ิงใหญเกินไปกวาการเคารพนับถือและยําเกรงบิดาของตน” ๙๒ แสดงใหเห็นวา ขงจื๊อยกยองคุณธรรมเรื่องความกตัญูมากกวาคุณธรรมใด ๆ ทั้งสิ้น และจากคําสอนนี้เอง ไดสงผลตอสังคมมากที่สุด และดวยความกตัญูนี้เองไดกลายเปนสัญญลักษณเชิงบวกที่สําคัญของสังคมจีน ยากที่จะหาสังคมใดเทียบได ดังคํากลาวของหลิน ปนที่วา “หากถือเอาธรรมเนียมจีนเปนตัวต้ังแลว ก็จะพบวา ความกตัญูกตเวทีตอพอแมบังเกิดเกลา เคารพเทิดทูนเมื่อทานยังมีชีวิตอยู และเซนไหวบูชาดวงวิญญาณเมื่อทานลวงลับไปแลวนั้น เปนแกนกลางของแบบแผนสังคมจีนเลยทีเดียว”๙๓ ขณะที่ ศาสตราจารย ดร. ลูเชี่ยน ดับเบิ้ลยู. พาย ไดกลาวถึงความกตัญูวาเปนมรดกที่ขงจื๊อสรางเอาไว และกลายเปนหลักศิลาฤกษแหงอารยธรรมจีนเลยทีเดียว๙๔ อีกทั้งคัมภีรเสี้ยวจิง ซึ่งเปนคัมภีรวาดวยความกตัญูก็กลายตํารา หรือแบบอยางของการเลี้ยงเด็กของชาวจีนมาหลายยุคหลายสมัย๙๕

๙๒ เร่ืองเดียวกัน, หนา ๖๔. ๙๓ หลิน ปน, อ่ึงตี่เก้ีย, เกษียร เตชะพีระ แปล. (กรุงเทพ ฯ : สํานักพิมพคบไฟ, ๒๕๔๐),หนา ๓๗. ๙๔ คณิน บุญสุวรรณ, ผูแปล. จีนสามยุค, (กรุงเทพ ฯ : สํานักพิมพสุขภาพใจ, ๒๕๔๗),หนา ๑๒๐. ๙๕ เร่ืองเดียวกัน, หนา ๑๓๕.

Page 45 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๓๔

ความกตัญูไดแสดงบทบาทสําคัญในสังคมจีนนับตั้งแตอดีต กระทั่งปจจุบันหลาย ๆ ดาน ซึ่งในที่นี้ ผูวิจัยขอจําแนกไว ๓ ดาน

ก. ดานสังคม

จากการที่สังคมจีนไดยึดถือเรื่องความกตัญูเปนแกนหลักของจริยธรรม ทําใหสังคมจีนนับตั้งแตระดับครอบครัว กระทั่งถึงประเทศชาติมีเอกลักษณพิเศษ ซึ่งพบไดยากในสังคมอื่น คําวา กตัญู จึงเปนเสมือนคําศักดิ์สิทธิ์ที่ทําใหลูกหลานจีนทุกคนตองเทิดทูนไวเหนือสิ่งอื่นใด ซึ่งบางครั้งก็ทําใหดูเหมือนวา “เกินเลย” กรอบแหงความดีงามไป เชนกรณีตัวอยางเมื่อมีปญหาถามขึ้นวา บุตรควรจะทําอยางไรกับฆาตกรที่ฆาบิดามารดาของตน ขงจื๊อก็ตอบวา “เขาควรจะหลับนอนบนกองฟางโดยใชโลหเปนหมอน เขาไมควรรับตําแหนงงานในสํานักงานของรัฐ เขาตองตกลงใจที่จะไมใชชีวิตอยูรวมฟาเดียวกับฆาตกรผูนั้น และถาเขาพบฆาตกรในทองตลาดหรือในศาล เขาตองไมกลับไปเอาอาวุธ แตจะตรงเขาไปตอสูกับฆาตกรทันที”๙๖ อยางไรก็ตาม เมื่อพิจารณาในแงบวก ความกตัญู ไดมีบทบาทสําคัญในสังคมจีน ดังคํากลาวที่วา “คําสอนของขงจื๊อเปนเรื่องของวิถีชีวิตและการดํารงชีวิตในกระแสชีวิตประจําวัน ซึ่งแทรกอยูในสายเลือดของชาวจีนตลอดมากวาสองพันปมาแลว”๙๗ ในงานวิจัยเรื่อง “มนุษยนิยมในปรัชญาขงจื๊อ” ผูวิจัยไดกลาวถึงลักษณะที่สําคัญของครอบครัวของคนจีนไว ๔ ประการ๙๘ ประการแรก บิดาเปนผูนําและเปนใหญในครอบครัวแตเพียงผูเดียว ประการที่สอง เปนครอบครัวขนาดใหญ คนจีนมีธรรมเนียมนิยมอาศัยอยูในครอบครัวเดียวกัน แมบุตรธิดาจะแตงงานไปแลวก็ตาม ทําใหเกิดลักษณะที่สําคัญที่เรียกวา “หาชั่วคนรวมเรือน และสามชั่วคนครบถวนสมบูรณ” ซึ่งหมายถึงวา มี ปู ทวด พอ ลูก หลาน เหลน อาศัยอยูในบานเดียวกัน มีความเคารพกันตามลําดับอาวุโส

๙๖ละเอียด ศิลานอย, ผูแปล. อางแลว,หนา ๑๔๖. ๙๗ เร่ืองเดียวกัน, หนา ๖. ๙๘ พระมหาบุญเรือง ปฺญาวชิโร, อางแลว, หนา ๗๙-๘๐.

Page 46 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๓๕

ประการที่สาม ยึดถือความกตัญูเปนเรื่องสําคัญสูงสุด บุตรธิดาที่ถูกตราหนาวา “อกตัญู” ในสังคมจีนถือวาเปนเรื่องที่รายแรงมาก ความกตัญูเปนแกนกลางที่สําคัญของครอบครัว ประการที่สี่ ครอบครัวเปนพ้ืนฐานทางสังคม ใหความสําคัญแกครอบครัวเปนลําดับสูงสุด สมาชิกภายในครอบครัวชวยเหลือเกื้อกูลกันทํานอง “มีสุขรวมเสพ มีทุกขรวมตาน” ลักษณะพิเศษขอนี้สงผลถึงการทําธุรกิจดวย นั่นคือธุรกิจของคนจีนมักทําแบบครอบครัว ผูวิจัยไดสรุปใหเห็นวา ลักษณะเดนที่สําคัญของครอบครัวของคนจีนทั้ง ๔ ประการนี้ ความกตัญูนับวามีสวนสําคัญที่ทําใหเกิดลักษณะดังกลาว โดยเฉพาะเรื่องความเปนปกแผนภายในครอบครัว ดังคํากลาวของปราชญทานหนึ่งที่วา

“การที่คนจีนหยั่งรากฝงลึกในภูมิลําเนาของตัวเอง การที่เขาไมชมชอบจากบานเกิดบรรพชนของตนไปอยางยิ่ง ลวนเปนแงมุมสะทอนถึงความสําคัญที่เขาใหกับครอบครัว การทุมเทอุทิศตัวใหกับหมูบานถิ่นกําเนิดเปนสิ่งที่สืบเนื่องขยายออกไปจากความกตัญูกตเวทีของเขา การแสดงความเอาใจใสหวงใยพอแมผูชราเมื่อยามทานมีชีวิตอยู การรําลึกไวอาลัยทานอยางถูกตองเหมาะสมเมื่อทานลวงลับไป การประกอบพิธีกรรมเบื้องหนาศาลบรรพชน การไปเยี่ยมเซนไหวฮวงซุยของครอบครัว ทั้งหลายทั้งปวงเหลานี้เปนหนาที่หลักของลูกกตัญู ซึ่งไมมีทางทําไดเลยหากมีอันตองพลัดพรากจากบานไป”๙๙

ข. ดานการเมือง ในคัมภีรเสี้ยวจิง (The Hsiâo King) มีขอความวา

“บุคคลผูมีความกตัญูตอบิดามารดาและสมานฉันทตอพ่ีนอง นอยนักที่จะตอตานผูปกครองของตน และบุคคลผูไมตอตานผูปกครองของตน ไมมีเลยที่จะกอความวุนวายขึ้นในรัฐ ดังนั้นวิญูชนจึงมุงสนใจในสิ่งที่ เปนรากฐาน และเมื่อรากฐานตั้งมั่นแลว วิถีก็ดําเนินไปตามครรลอง ความกตัญูรูคุณตอบิดามารดา และความสมานฉันทตอพ่ีนอง

๙๙ หลิน ปน, อึ่งต่ีเกี้ย, อางแลว, หนา ๕๓.

Page 47 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๓๖

เหลานี้ยังมิใชรากฐานของการกระทําแหงมนุษยธรรมทั้งหมดอีกหรอกหรือ”๑๐๐

ในทัศนะของขงจื๊อ คนที่ไมสามารถสอนใหสมาชิกในครอบครัวปฏิบัติตามคําสอนของเขาได เขายอมไมสามารถสั่งสอนใหคนในชาติปฏิบัติตามคําสั่งสอนของเขาไดเชนกัน ดังนั้นคนที่จะมาทําหนาที่เปนนักปกครองทั้งหลายจึงตองเรียนรูหลักการปกครองต้ังแตอยูในครอบครัวของตนเสียกอน ครั้งหนึ่งมีคนถามขงจื๊อวา ทําไมไมทํางานดานการเมือง ขงจื๊อกลับตอบวา “คัมภีรชูจิง (Shu Ching) กลาวถึงความกตัญูไวอยางไร ?- ตองเปนผูมีความกตัญู ตองปฏิบัติหนาที่ในฐานะเปนพ่ีเปนนองกันใหดี ปฏิบัติเชนนี้ไดยอมชื่อวาทํางานดานการเมือง”๑๐๑ ขอนี้แสดงใหเห็นวา รากฐานของการเมืองการปกครองตามแนวของขงจื๊อมีครอบครัวเปนรากฐาน ซึ่งแนนอนวา การสรางความสงบสุขภายในครอบครัว ยอมตองอาศัยคุณธรรมที่เปนรากฐานอันไดแก ความรัก ความเคารพเชื่อฟง การรับใช ซึ่งเปนสวนหนึ่งหรือรูปแบบหนึ่งของความกตัญู

“ประเพณีที่บุตรจะตองมีความกตัญูตอบิดามารดานั้น เปนเรื่องทางการเมืองอยางชัด ๆ ทีเดียวในฐานะเปนกําลังฝายอนุรักษนิยมที่มีอํานาจอยูในราชสํานัก นับวาเปนเครื่องหมายแหงการแสดงความเคารพตอบรรพบุรุษในราชวงศของตนเอง โดยเฉพาะอยางยิ่งตอผูที่ต้ังราชวงศซึ่งกษัตริยจะยังคงตองรักษาสถาบันตาง ๆ ที่ไดรับสืบทอดมานั้นไวโดยไมเปลี่ยนแปลง โดยเฉพาะในยุคหลัง ๆ ความกตัญูที่บุตรจะตองมีตอบิดามารดานี้ ไดพิสูจนใหเห็นวาเปนเครื่องกีดขวางการปฏิรูปทางการเมืองไดอยางชะงัดทีเดียว ผูที่ชอบเปลี่ยนแปลงจะไมสามารถลมเลิกสิ่งที่ราชวงศไดเคยประพฤติปฏิบัติมากอนแลวไดงาย ๆ เลย เพราะถาหากทําเชนนั้น ก็จะกลายเปนวาไมมีความกตัญูตอบรรพบุรุษขององคจักรพรรดิไป”๑๐๒

๑๐๐ The Hsiâo King, ch.I,2. ๑๐๑ The Analects, book II:XXI. ๑๐๒ จํานงค ทองประเสริฐ, ผูแปล.,อางแลว, หนา ๒๓๕.

Page 48 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๓๗

ขอความดังกลาวนี้ก็สะทอนถึงอิทธิพลของความกตัญูที่มีตอการเมืองการปกครอง โดยเฉพาะในแงของการที่จะเปลี่ยนแปลงจารีตประเพณีบางอยางทางการเมืองที่มีมาแตโบราณนั้น ไมใชสิ่งที่จะกระทําไดโดยงาย

ค. เศรษฐกิจ

หลักการสําคัญของความกตัญู และถือเปนเปาหมายสูงสุด (the end) ของความกตัญูที่กลาวไวในคัมภีรเสี้ยวจิง (The Hsiâo King) คือการสรางชื่อเสียงวงศตระกูลใหปรากฏ๑๐๓ ไดกลายเปนกุญแจสําคัญไขไปสูความสําเร็จทางธุรกิจของคนจีน ดังมีงานวิจัยหลายชิ้นพยายามศึกษาผลเพื่อคนหาปจจัยท่ีเอื้อตอความสําเร็จในการประกอบธุรกิจของคนจีนในดินแดนตาง ๆ

“ในสังคมของชาวจีนที่ดํารงระบบครอบครัวใหญ และอุดมคติของลัทธิขงจื๊อ การแสดงความกตัญูกตเวทีตอบิดามารดา เปนทัศนะที่ตกทอดสืบเนื่องกันมาอยางไมตองสงสัย ยามใดที่ถูกกลาวหาวาเปนบุตรอกตัญู บุคคลที่อยูใกลเคียงโดยรอบลวนแตพากันไมยอมใหอภัยเขา ผลที่สุด ยอมเปนผลกระกระเทือนตอกิจการคาของเขา”๑๐๔

จากคํากลาวขางตนนี้ ยอมแสดงใหเห็นวา ความกตัญูมีบทบาทสําคัญในการดําเนินธุรกิจของคนจีนเปนอยางมาก แสดงใหเห็นวา คนจีนนั้นมี “จารีต” อันไดแกความกตัญู เปนบรรทัดฐานสําคัญในการควบคุมพฤติกรรมของคนในสังคม โดยเฉพาะมาตรการ “ควํ่าบาตร” ไมยอมคบคาสมาคมดวย พฤติกรรมดังกลาวนี้ไมใชเปนแคชาวจีนในประเทศจีนเทานั้น หากแตครอบคลุมชาวจีนที่อยูในประเทศอื่น ๆ ดวย ความสํานึกในดานความกตัญู ทําใหคนจีนระมัดระวังในการประกอบกิจกรรมตาง ๆ ทั้งนี้ดวยเกรงวาจะกระทบกระเทือนถึงความรูสึกของบิดามารดาดวย สอดคลองกับคํากลาวของชาวจีนที่ใชชีวิตอยูในญี่ปุนทานหนึ่งกลาวไววา “สิ่งที่ชาวจีนภาคโพนทะเลไกลหนักใจมากที่สุด ไมมีอะไรเกินกวาการนําความเดือดรอนกลุมใจมาใหบิดามารดา”๑๐๕

๑๐๓ The Hsiâo King, ch.I. ๑๐๔ จําลอง พิศนาคะ, อางแลว, หนา ๓๐. ๑๐๕ เร่ืองเดียวกัน, หนา ๒๑๖.

Page 49 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๓๘

๒.๒. ความกตัญูในพระพุทธศาสนา ๒.๒.๑ นิยามและความหมาย ในพระไตรปฎกแมไมไดมีอรรถาอธิบายความกตัญูไวโดยตรง แตก็สามารถสรุปความไดวา หมายถึง การรูจักบุญคุณที่ผูอื่นไดกระทําแกตน และกระทําตอบแทน เชนกรณีตัวอยางของพระสารีบุตรตอบแทนคุณของราธะพราหมณ ที่เคยถวายขาวทัพพีหนึ่งแกตนดวยการเปนอุปชฌายบวชให ซึ่งพระพุทธเจายกยองพฤติกรรมเชนนี้วาเปนความกตัญูกตเวที๑๐๖ หรือกรณีที่พระพุทธเจาตรัสไวในบาลีปุตตสูตร เกี่ยวกับการที่บุตรธิดาตอบแทนคุณบิดามารดาดวยการเลี้ยงดู ชวยกิจการงาน เชื่อฟงในโอวาท ดํารงวงศตระกูลวาเปนความกตัญูกตเวที๑๐๗

เปนที่นาสังเกตวา คําวา กตัญูที่ใชในพระบาลีมักจะมีคําวา กตเวที ตามหลัง หรือรวมอยูดวยเสมอ ซึ่งเทากับเปนการบงบอกถึงความหมายของความกตัญูวา ไมใชเพียงแครูคุณคนเทานั้น หากแตมีภาระหนาที่ตองทําตอบแทนคุณนั้นดวย กตัญูจึงจะมีความหมายสมบูรณ ดังนั้นทานจึงอธิบายรวมเปนคําเดียววา “บุคคลผูรูอยู ใหผูอื่นรูอยูซึ่งอุปการะที่บุพพการีทําไวกอนโดยความเปนอุปการะ ใหเปนไปโดยสมควรแกอุปการะที่คนอื่นทําไวแลว ชื่อวา กตัญูกตเวที”๑๐๘ ในคัมภีรอรรถกถาทานอธิบายความหมายของความกตัญูในลักษณะคลายกันเชน “ความรูจักอุปการคุณที่ผูใดผูหนึ่งทํามาแลว ไมวามากหรือนอย โดยระลึกนึกถึงเนืองๆ ชื่อวา กตัญุตา”๑๐๙ ซึ่งหากจะพิจารณาความหมายเทาที่ปรากฏ ก็อาจจะทําใหเห็นวา กตัญูนั้นมีความหมายเพียงแควา “การรูจักคุณคน” เทานั้น แตความจริงหาเปนเชนนั้นไม เพราะคําอธิบายที่ทานขยายความตอ รวมทั้งตัวอยางประกอบ ยอมมีนัยแหงการ “ตอบแทน” ตามมาดวยอยูนั่นเอง นอกจากการอธิบายความกตัญูในลักษณะดังกลาวแลว ในปรมัตถโชติกา อรรถกถาขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ ยังไดขยายความกตัญูออกไปถึงการระลึกนึกถึงบุญกุศลที่

๑๐๖ วิ.มหา. (ไทย) ๔/๖๙/๙๗. ๑๐๗ อัง.ปญจก. (ไทย) ๒๒/๓๙/๖๐-๖๑.

๑๐๘ มหามกุฎราชวิทยาลัย, มังคลัตถทีปนีแปล เลม ๔, (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพมหามกุฎราชวิทยาลัย, ๒๕๓๖), หนา ๑๑๙.

๑๐๙ ขุ.ขุ.อ. ๑/๑/๒๐๒ , มังคลัตถทีปนีแปล เลม ๔, หนา ๑๑๓.

Page 50 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๓๙

คนเราแตละคนไดทํามาแลวในอดีตวา บุญกุศลเหลานั้นก็มีสวนชวยปองกันทุกขภัยตาง ๆ มีความทุกขในนรกเปนตน การระลึกถึงบุญกุศลในลักษณะเชนนี้ทานก็เรียกวา กตัญู๑๑๐ อนึ่ง เมื่อสํารวจคัมภีร หรือหนังสือรุนหลังๆ มา ทานไดใหความหมายของความกตัญูในลักษณะที่คลายกับความหมายที่พบในพระบาลีและคัมภีรอรรถกถา ผูวิจัยคัดมาเปนตัวอยางเพื่อศึกษาเปรียบเทียบดังนี้ พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถานใหความหมายไววา กตัญู (ผู)รูอุปการะทานที่ทําให ผูรูคุณทาน ซึ่งทานแยกศัพทวา กต หมายถึง อุปการะที่ทานทําแลว + ู แปลวา ผูรู โดยคํานี้มักจะมาคูกับ กตเวที ๑๑๑ พระธรรมปฎก (ป.อ.ปยุตฺโต) ไดใหความหมายของความกตัญูซึ่งมาคูกับกตเวทีวา “ผูรูอุปการะที่ทานทําแลวและตอบแทน แยกออกเปน ๒ คือ กตัญู รูคุณทาน กตเวที ตอบแทนหรือสนองคุณทาน ความกตัญูกตเวทีวาโดยขอบเขตแยกเปน ๒ ระดับ คือ กตัญูกตเวทีตอบุคคลผูมีคุณความดีหรืออุปการะตอตนเปนสวนตัวอยางหนึ่ง กตัญูกตเวทีตอบุคคลผูไดบําเพ็ญประโยชนหรือมีคุณความดีเกื้อกูลแกสวนรวม”๑๑๒ ป.หลงสมบุญ ไดใหความหมายของคําวากตัญูไววา กตัญู (วิ) ผูรูซึ่งอุปการะอันบุคคลอื่นทําแลวแกตนโดยปกติ วิ. กตํ อุปการํ ชานาติ สีเลนาติ กตฺู. ผูมีปกติรูซึ่งอุปการะอันบุคคลอื่นทําแกตน วิ. กตํ ชนิตุ สีลมสฺสาติ กตฺู. ผูรูซึ่งอุปการะอันบุคคลอื่นทําแลวแกตน วิ. กตํ อุปการํ ชานาติ กตฺู. ผูรูคุณทาน. กตปุพฺโพ, ญา ญาเณ, รู.๑๑๓ (ญา ธาตุ ในความรู ลง รู ปจจัย) พระธรรมธีรราชมหามุนี (โชดก ญาณสิทฺธิ ป.ธ.๙) ไดใหความหมายของความกตัญูไว ๒ ความหมาย คือ

๑. กตัญู แปลวา ผูรูอุปการะคุณที่คนอื่นทําแลวแกตน หมายความวาผูใดทําคุณใหแกตน มากก็ตาม นอยก็ตาม ระลึกถึงอยูบอยๆ เปนผูไมลืมบุญคุณของผูมีคุณแกตัว

๑๑๐ ขุ.ขุ.อ. ๑/๑/๒๐๒. ๑๑๑ ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒, (กรุงเทพมหานคร: ศิริวัฒนาอินเตอรพริ้นท. ๒๕๔๖), หนา ๖. ๑๑๒ พระธรรมปฎก (ปอ. ปยุตฺโต), พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับประมวลธรรม, พิมพครั้งที่ ๑๐, (มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๖), หนา ๒. ๑๑๓ พันตรีป. หลงสมบุญ, พจนานุกรม มคธ-ไทย, (กรุงเทพมหานคร : อาทรการพิมพ, ๒๕๔๐), หนา ๕๐๑.

Page 51 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๔๐

๒. กตัญู แปลวา ผูรูบุญตางๆ ที่ตนทําไวแลววาเปนของดี มีอุปการะแท หมายความวา บุญทั้งหลายมีอุปการะแกสัตวทั้งหลายมาก เพราะนําสรรพสัตวไปสูสุคติ และปองกันทุกขตางๆ มีทุกขในอบายเปนตน ความระลึกถึงอุปการะของบุญจึงชื่อวา กตัญู๑๑๔

พระธรรมกิตติวงศ (ทองดี สุรเตโช),ราชบัณฑิต ไดใหคําอธิบายความหมายของกตัญูวา “ผูรูสึกถึงบุญคุณที่เขาทําแกตน คือผูระลึกรูวา ใครเคยทําดีเคยชวยเหลือเกื้อกูลตนมา ก็ยอมรับและไมลืมบุญคุณของผูนั้น รวมถึงผูที่รูสึกถึงบุญคุณของสัตว บุญคุณของที่อยูอาศัย บุญคุณของธรรมชาติสิ่งแวดลอมที่ชวยใหตนไดรับความสะดวกสบาย อยูเย็นเปนสุขตลอดมา๑๑๕ จากที่กลาวมาขางตน สรุปความไดวา ความกตัญู หมายความถึง การรูจักระลึกนึกถึงในอุปการคุณ หรือบุญคุณที่ไดรับจากบุคคลใดบุคคลหนึ่ง และหมายรวมเอาถึง จากสิ่งที่มีชีวิตและไมมีชีวิตอื่น ๆ ที่อยูในฐานะมีคุณแกตนจะมากจะนอยก็ตาม แลวหาโอกาสตอบแทนอุปการคุณนั้นตามกําลัง และความสามารถอยางถึงที่สุด ซึ่งในทางพระพุทธศาสนาถือวามีความสําคัญมาก ทานสอนไมใหละเลยโดยเด็ดขาด แมจะเปนเรื่องเล็กนอยก็ตาม ในบาลีบางแหงถึงกับบอกวา “บุรุษพึงพักอยูในเรือนของบุคคลใดตลอดราตรีหนึ่ง หรือพึงไดขาวน้ําในที่ใด ไมควรคิดชั่วตอบุคคลนั้นแมดวยใจ”๑๑๖ เพราะการทําเชนนั้น เทากับเปนการขัดกับหลัก “กตัญู” ซึ่งทานบอกวาเปนเรื่องที่ “นาติเตียนคนที่ไมรูคุณที่เขาทําแลว ผูไมทําคุณใหใคร และผูไมทําตอบแทนคุณที่เขาทํากอน ความกตัญูไมมีในคนใด การคบคนนั้นยอมไรประโยชน”๑๑๗

๒.๒.๒ ประเภทของความกตัญู จากการศึกษาความหมายของความกตัญูทั้งในคัมภีรบาลี คัมภีรอรรถกถา ตลอดคัมภีรรุนหลัง พิจารณาโดยรวมแลว สรุปประเภทความกตัญูได ๒ ประเภท คือ ๑. ความกตัญูตอบุคคล

๑๑๔ พระธรรมธีรราชมหามุนี (โชดก ญาณสิทธิ ป.ธ.๙), มงคล ๓๘, (กรุงเทพมหานคร : หจก.การพิมพพระนคร, ๒๕๓๖), หนา ๑๗๗. ๑๑๕ พระธรรมกิตติวงศ, (ทองดี สุรเตโช ป.ธ.๙,ราชบัณฑิต). คําวัด เลม ๔, (กรุงเทพ ฯ : สํานักพิมพชอระกา, ๒๕๔๖), หนา ๑. ๑๑๖ ขุ.เปต.อ. ๒/๒/๒๓๖. ๑๑๗ ขุ.ชา.อ. ๓/๔/๔๒๙.

Page 52 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๔๑

๒. ความกตัญูตอสิ่งที่ไมใชบุคคล ไดแก สัตว วัตถุ สิ่งของ สถานที่ บุญกุศล ผูวิจัยจะไดวิเคราหรายละเอียดประเภทของความกตัญูทั้งสองนี้ตอไป

๑. ความกตัญูตอบุคคล ในคัมภีรบาลี และคัมภีรอรรถกถา ทานไดระบุถึงบุคคลที่อยูในฐานะตองแสดงความกตัญู พรอมทั้งเหตุผลประกอบดังตอไปนี้ ๑.๑ บิดามารดา บิดามารดาในบาลีทานจัดเปนบุพพการี๑๑๘ หมายถึงผูทําอุปการะกอน คือเปนผูประพฤติประโยชนแกบุตรธิดาเปนคนแรก เริ่มตั้งแตเปนผูใหกําเนิด ใหการเลี้ยงดู ใหการศึกษา ในพระบาลีทานจึงบอกวา เปนผูมีอุปการะมาก และเปนผูแสดงโลกนี้แกบุตรธิดา๑๑๙ มารดาบิดาจึงนับเปนบุคคลสําคัญ ในหลักทิศ ๖ ทานถือบิดามารดาวาเปนทิศเบื้องหนา๑๒๐ ซึ่งมีความหมายหลายประการ เชน ๑) สําคัญเปนลําดับแรก ๒) ทานอยูเบื้องหนา คอยดูแล ปกปองบุตรธิดาตลอดเวลา ๓) ใหบุตรธิดาดูแลเลี้ยงดูบิดามารดาใหดี เพราะทานเปนเสมือนหนาตาของเรา

ในคัมภีรบาลีทานใชสรรพนามเรียกชื่อบิดามารดาไวหลายประเภท เชน พรหม บุรพเทพ บุรพาจารย อาหุไนยบุคคล๑๒๑ ซึ่งแตละชื่อก็สะทอนใหเห็นบทบาทหนาที่ที่สําคัญที่บิดามารดาปฏิบัติตอบุตรธิดา ในขุททกนิกาย ชาดก ทานไดพรรณนาถึงพระคุณของบิดามารดาที่มีตอบุตรธิดาตั้งแตแรกเริ่มโดยลําดับ ผูวิจัยคัดมาเปนตัวอยางดังนี้ “มารดาเมื่อหวังผลคือบุตร จึงนอบนอมเทวดาทั้งหลาย

และไดถามถึงฤกษยาม ฤดู และปทั้งหลาย เมื่อมารดานั้นมีระดู การตั้งครรภจึงมีได เพราะการตั้งครรภนั้น มารดาจึงมีการแพทอง เพราะเหตุนั้น บัณฑิตจึงเรียกทานวา สุหทา หญิงผูมีใจดี มารดาประคับประคองครรภอยูหนึ่งปหรือหยอนกวาบาง

๑๑๘ อภิ.กถา. (ไทย) ๓๗/๑๑๕๗/๔๗๔.

๑๑๙ อัง.ติก. (ไทย) ๒๐/๓๑/๑๘๓. ๑๒๐ ที.ปา. (ไทย) ๑๑ /๒๖๖/๒๑๒. ๑๒๑ ขุ.อิติ. (ไทย) ๒๕/๑๐๖/๔๘๕.

Page 53 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๔๒

แลวจึงคลอดบุตร เพราะเหตุนั้น มารดาจึงชื่อวา หญิงผูใหกําเนิดบุตร เพราะเหตุนั้นบัณฑิตจึงเรียกทานวา ชเนตตี หญิงผูยังบุตรใหเกิด เมื่อบุตรรองไห มารดาก็ปลอบโยนใหยินดี ดวยน้ํานมบาง ดวยการรองเพลงกลอมบาง ดวยการกอดไวแนบอกบาง เพราะเหตุนั้น บัณฑิตจึงเรียกทานวา โตเสนตี หญิงผูยังบุตรใหราเริงยินดี ฯลฯ

บุตรที่มารดาเลี้ยงดูมาแลวดวยความยากลําบากเชนนี้ ไมบํารุงเลี้ยงดูมารดา บุตรนั้นชื่อวา ประพฤติผิดในมารดา ยอมเขาถึงนรก บุตรที่บิดาเลี้ยงดูมาแลวดวยความยากลําบากเชนนี้ ไมบํารุงเลี้ยงดูบิดา บุตรนั้นชื่อวา ประพฤติผิดในบิดา ยอมเขาถึงนรก๑๒๒

ในอรรถกถา ทานไดเนนย้ําถึงความสําคัญของบิดามารดาไวในฐานะสูง เชนแมกระทั่งอาหารบิณฑบาตที่ภิกษุรับมาจากชาวบานยังไมไดแตะตองหรือลงมือฉัน จะยกอาหารน้ันใหบิดามารดารับประทานกอนก็ได ไมมีโทษทางพระวินัย ทั้งไมเปนการทําศรัทธาไทยใหตกไป๑๒๓ คือไมทําใหวัตถุหรือไทยธรรมที่ชาวบานถวายนั้นมีคานอยลงไปแตอยางใด ซึ่งเปนการตอกย้ําถึงความสําคัญของบิดามารดา ขณะเดียวกันก็เทากับเปนการแสดงเหตุผลวา ทําไมบิดามารดาจึงอยูในฐานะเปนผูที่บุตรธิดาตองแสดงกตัญูกตเวทีตลอดชีวิต ๑.๒ ครู อุปชฌาย อาจารย ครู อุปชฌาย อาจารย อยูในฐานะเปนที่พ่ึงพาอาศัยของศิษยที่ตองการความรูเพ่ือพัฒนาชีวิตของตนเองใหกาวหนา ทานจึงเปรียบครู อุปชฌาย อาจารย เปนเหมือนทิศเบื้อง

๑๒๒ ขุ.ชา. (ไทย) ๒๘/๑๖๕-๑๘๓/๘๑-๘๔. ๑๒๓ มหามกุฏราชวิทยาลัย, มังคลัตถทีปนีแปล เลม ๒, (กรุงเทพ ฯ : มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๓๗), หนา ๒๑๐.

Page 54 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๔๓

ขวา๑๒๔ ทานเปนผูที่คอยเพงโทษ คอยสั่งสอน ตักเตือน๑๒๕ ในสิ่งที่ถูกที่ควร ใหความรู และแสดงความประพฤติที่ดีงามใหกับศิษยไดนําไปใชดําเนินชีวิตในทางที่ถูกตองดีงาม เชน ทานแนะนําในสิ่งที่ดี ใหต้ังใจเรียน บอกความรูทุกอยางที่มี ยกยองใหปรากฏแกคนทั่วไป อีกทั้งทานคอยเปนที่ปรึกษาใหในยามที่ศิษยมีปญหา เปนตน ซึ่งหนาที่เหลานี้ ยอมสะทอนใหเห็นบทบาทสําคัญของ “ครู” ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผูที่เปนศิษย ๑.๓ สมณพราหมณ สมณพราหมณในทางพระพุทธศาสนาทานจัดเปนทิศเบื้องบน๑๒๖ เพราะเปนเพศที่สูง อยูในฐานะเปนที่เคารพกราบไหวของคนทั่วไป ทานจัดอยูในกลุมของบุคคลที่มีอุปการะตอกุลบุตรกุลธิดาหลายประการ เชน หามไมทําความชั่ว ใหต้ังอยูในความดี อนุเคราะหดวยน้ําใจที่ดีงาม ชี้ทางสวรรคให๑๒๗ เปนตน ในคัมภีรพระบาลี ทานแสดงหลักอันหนึ่งซึ่งสะทอนใหเห็นความจริงวา คฤหัสถผูครองเรือน กับสมณพราหมณผูละจากเรือนไปแลว อยูในฐานะพึ่งพาอาศัยกันกลาวคือ สมณพราหมณพ่ึงปจจัย ๔ จากชาวบาน ขณะเดียวกัน ชาวบานก็อาศัยสมณพราหมณพอกพูนกุศล และทางสวรรค ตลอดจนแทงตลอดมรรคผลอยางใดอยางหนึ่ง ทั้งสองจึงอยูในฐานะมีอุปการะมากตอกัน๑๒๘ มองอีกมุมหนึ่ง สมณพราหมณอยูในฐานะเปนผูเสียสละความสุขสวนตน มุงแสวงหาความหลุดพนเพื่อตนเองแลว ต้ังตนที่ดีงามนั้นเพื่อใหเปนไปเพื่อการสงเคราะห อนุเคราะหชาวบานใหเจริญรอยตามความดีงามนั้นโดยไมจํากัดเฉพาะบุคคลใดบุคคลหนึ่ง สมณพราหมณจึงอยูในฐานะเปนบุคคลสาธารณะ กิจกรรมของทานจึงเปนกิจกรรมที่เปนไปเพื่อประโยชนแกสาธารณชน ดังนั้นทานจึงอยูในฐานะมีอุปการคุณแกชนหมูมาก ซึ่งก็ควรไดรับความกตัญูตอบแทนเชนกัน เหมือนกรณีที่พระเจาปสเสนทิโกศลแสดงกตัญูตอพระพุทธเจาดวยทรงกระทําความเคารพพระพุทธเจาอยางยิ่ง๑๒๙

๑๒๔ ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๒๖๘/๒๑๓. ๑๒๕ วิ. มหา. (ไทย) ๔/๖๔/๗๙-๘๐. ๑๒๖ ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๒๖๖/๒๑๒. ๑๒๗ ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๒๗๒/๒๑๖. ๑๒๘ ขุ.อิติ. (ไทย) ๒๕/๑๐๗/๔๘๖. ๑๒๙ ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๑๑๗/๘๘.

Page 55 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๔๔

๑.๔ บุพพการีบุคคลทั่วไป คําวา บุพพการีบุคคลทั่วไปนี้หมายความถึงคนที่ทําคุณ หรือมีคุณอยางใดอยางหนึ่ง ถามองในมุมแคบก็จะมุงถึงบุคคลที่ทําคุณประโยชน หรือมีอุปการะแกเราอยางใดอยางหนึ่ง ถามองในมุมกวางก็เพงถึงผูมีอุปการคุณตอโลก หรือตอสังคมโดยสวนรวม แมจะไมไดทําคุณ หรืออุปการะอยางใดอยางหนึ่งแกเราในทางตรง แตเราก็ไดรับประโยชนโดยออมจากผลแหงการกระทําของทาน เชน พระเจาแผนดิน ปราชญ บัณฑิตทั้งหลายที่มีความคิดที่ดีงาม ชวยสรางสรรคสังคม ประเทศชาติใหมีความเจริญงอกงาม ทําใหเกิดสันติสุข บุคคลเหลานี้ในทางพระพุทธศาสนาถือวาเปนบุคคลที่ตองระลึกถึงบุญคุณ และตอบแทนคุณทั้งสิ้น

โดยท่ีสุดเราไดรับประโยชนจากใคร ก็ควรหาโอกาส หาจังหวะตอบแทนบุญคุณโดยวิธีใดวิธีหนึ่งตามสมควร ขอนี้องคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจาก็ทรงปฏิบัติเชนกัน ตัวอยางเชนกรณีที่พระองคไดรับการอุปฏฐากดูแลจากปญจวัคคียเมื่อคราวบําเพ็ญทุกกิริยา ครั้นไดบรรลุธรรมแลวก็ทรงดําหริเห็นคุณของปญจวัคคียวา “ภิกษุปญจวัคคียมีอุปการะแกเรามากที่ไดเฝาปรนนิบัติเราผูมุงหนาบําเพ็ญเพียรมา ถากระไร เราจะพึงแสดงธรรมแกปญจวัคคียกอน”๑๓๐

๒. ความกตัญูตอสิ่งที่ไมใชบุคคล ไดแกสัตว วัตถุ สิ่งของ สถานที่ บุญกุศล ๒.๑ สัตวเลี้ยงที่มีคุณ หลักความกตัญูในทางพระพุทธศาสนา ไมไดจํากัดอยูแคบุคคลตอบุคคลเทานั้น แตยังครอบคลุมถึงสัตวเลี้ยงตาง ๆ ดวย เพราะสัตวเลี้ยงบางชนิด บางประเภทก็จัดอยูในกลุมที่มีอุปการหรือมีคุณตอมนุษย เชน ชาง มา โค กระบือ เปนตน มนุษยอาศัยแรงงานจากสัตวเหลานี้ในการประกอบอาชีพ การเลี้ยง หรือการดูแลเอาใจใส ไมใชงานจนเกินกําลังก็สะทอนใหเห็นถึงความระลึกนึกถึงบุญคุณของสัตวเลี้ยงเหลานี้ดวย ดังกรณีองคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจาที่บรรยายวา เมื่อครั้งเสวยพระชาติเปนพระโพธิสัตว ไดเลี้ยงดูโคถึกชื่อนันทวิสาลตัวหนึ่งอยางดี ขณะที่โคนันทวิสาลนั้นก็สํานึกบุญคุณของพระโพธิสัตว จึงหาวิธีการตอบแทนเชนกัน๑๓๑ ซึ่งกรณีดังกลาวนี้ สะทอนใหเห็นถึงอุปการคุณที่ทั้งคนและสัตวตางก็สํานึกรูบุญ และกระทําตอบแทนกันและกัน

๑๓๐ วิ.มหา. (ไทย) ๔/๑๐/๑๖. ๑๓๑ วิ.มหา.อ. ๒/๒/๑๒๘.

Page 56 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๔๕

๒.๒ ที่อยู ที่อาศัย ที่อยูอาศัยนับเปนหนึ่งในปจจัย ๔ ที่มีความจําเปนสําหรับชีวิต อาจกลาวไดวาเปนทุกสิ่งทุกอยางสําหรับชีวิต ในบาลีพระผูมีพระภาคเจาจึงอุปมาเปรียบเทียบการใหที่อยูอาศัยวาเปนเหมือนการใหทุกสิ่งทุกอยาง๑๓๒ ที่อยูอาศัยจึงนับเปนสิ่งที่มีคุณ เพราะเอื้ออํานวยความสุขให อยางนอยท่ีสุดก็ไดอาศัยเปนที่หลับนอน เปนที่กันแดด กันฝน ปองกันเหลือบ ยุง สัตวรายตาง ๆ ได ซึ่งหลักความกตัญูตามแนวของพระพุทธศาสนาก็คือ สถานที่ใดก็ตามที่เคยไดอาศัย ไดพักพิงไมวาจะเปนการชั่วคราว หรือเปนการถาวรก็ตาม ทานบอกวาไมควรทําลายสถานที่นั้น หรือไมควรทําใหเกิดความเสื่อมเสียตอสถานที่นั้น โดยที่สุดแมอาศัยรมเงาไมใดเปนที่หลบแดด หลบฝน ก็ไมควรหักกิ่งไมนั้น๑๓๓ ๒.๓ สิ่งสาธารณะประโยชน สิ่งสาธารณประโยชนในความหมายนี้ ไดแกสิ่งที่เอื้ออํานวยประโยชนแกคนโดยสวนรวม ทั้งที่มนุษยสรางขึ้น หรือสิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เชน ศาลาสาธารณประโยชน ถนน ไฟฟา ประปา แหลงน้ํา ปาไม ฯลฯ สิ่งเหลานี้เอื้อประโยชนแกมนุษยทั้งทางตรงและทางออม หากเกิดความเสียหายก็ยอมกระทบตอคนเปนจํานวนมาก หลักของพระพุทธศาสนา แมจะไมไดพูดถึงความกตัญูตอสิ่งสาธารณะประโยชนเหลานี้โดยตรง แตก็มีกลาวถึงโดยออม อยางนอยก็สามประการ ประการแรก ชี้ใหเห็นวา สิ่งเหลานี้เปนสิ่งสําคัญ ใครก็ตามที่ไดสราง หรือจัดทําสิ่งเหลานี้เพ่ือประโยชนแกคนหมูมาก ทานถือวา ผูนั้นจะไดกุศลตลอดไป บาลีทานเรียกวา นิพัทธกุศล คือบุญกุศลที่ใหผลเนืองนิตย ทั้งกลางวันและกลางคืน๑๓๔ ประการที่สอง ใครก็ตามที่ไมรูคุณคาทําลายสิ่งสาธารณะประโยชนเหลานี้ ยอมประสบบาปกรรมเปนอันมาก เชน กรณีเจาศากยะซึ่งเปนพระญาติของพระพุทธเจาที่ในอดีตชาติเคยโปรยยาพิษลงแมน้ํา ชาติตอมาจึงประสบผลกรรมถูกฆาเชือดคอตาย๑๓๕ ประการสุดทาย หลักการของพระพุทธศาสนาถือวา สรรพสิ่งทั้งหลายดํารงอยูไดโดยพื้นฐานของการอิงอาศัยกันและกัน เราจึงอยูในฐานะทั้งเปนผูรับ และเปนผูใหซึ่งกันและกันอยูตลอดเวลา บนพื้นฐานของหลักการดังกลาว เมื่อเราไดรับประโยชนจากสิ่ง

๑๓๒ สัง.ส. (ไทย) ๑๕/๔๒/๕๘. ๑๓๓ ขุ.เปต. (ไทย) ๒๖/๒๕๙-๒๖๔/๒๗๙-๒๑๐. ๑๓๔ สัง.ส. (ไทย) ๑๕/๔๗/๖๑. ๑๓๕ ขุ.ธ.อ. ๑/๒/๕๐.

Page 57 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๔๖

ใด ยอมตองสํานึกรู และหาทางตอบแทนสิ่งนั้นตามโอกาสอันสมควร ซึ่งประเด็นสุดทายนี้ พระธรรมปฎก (ป.อ.ปยุตฺโต) ไดเสริมความไววา

“เมื่อกลาวถึงหลักธรรมในทางพระพุทธศาสนาเองแท ๆ เรื่องระบบของการพึ่งพาอาศัยกันนี้ทานย้ํามาก แตนอกจากการพึ่งพาอาศัยกันแลว สิ่งสําคัญอยางหนึ่งก็คือ ความรูสึกที่ดีงามตอกันระหวางมนุษยตอมนุษย และมนุษยตอพืช และสัตวทั้งหลาย ความรูสึกที่ดีงามอยางหนึ่งไดแกคุณธรรมที่เรียกวา “ความกตัญู”๑๓๖

๒.๔ บุญกุศล พระพุทธศาสนาถือวา การจะไดเกิดเปนมนุษยนั้นตองอาศัยบุญกุศลเปนปจจัยหนุนนํา๑๓๗ หากไมมีบุญกุศลหนุนนํา ยอมไมสามารถเกิดเปนมนุษยได บางครั้งทานจึงอุปมาการได เกิดมาเปนมนุษยว า เปรียบเสมือนเขาโค สวนการไดไปเกิดเปนสัตวอื่น ๆ เปรียบเสมือนขนโค ซึ่งแสดงใหเห็นวา การไดเกิดมาเปนมนุษยจึงไมใชเรื่องงาย ครั้นเกิดมาแลว จะเลี้ยงชีวิตใหอยูรอดปลอดภัยก็เปนเรื่องยากอีกเชนกัน๑๓๘ ที่เปนเชนนี้เพราะบุญกุศลของคนเราแตละคนทํามาไมเหมือนกัน บุญกุศลจึงอยูในฐานะเปนสิ่งมีอุปการะ เพราะชวยปองกัน ชวยสงเสริม หนุนนําใหชีวิตมีความสุข การระลึกถึงบุญที่ตนไดเคยทําไวแลวจึงถือวาเปนการกตัญูดวยเชนกัน๑๓๙ อนึ่ง ความกตัญูทั้งหมดตามที่กลาวมานี้ มีความกตัญูตอบิดามารดาเปนจุดเริ่มตน กลาวคือ บุคคลจะไดชื่อวาเปนผูมีความกตัญูนั้น ตองเริ่มตนจากการปลูกฝงภายในครอบครัว ขอนี้จึงเปนภาระอันสําคัญยิ่งของผูที่เปนบิดามารดา เพราะหากสถาบันครอบครัวไมไดทําหนาที่ในการอบรมสั่งสอน หรือฝกฝนอบรมเรื่องความกตัญูแลว เด็กจะไมสามารถพัฒนาความกตัญูตอบุคคลอื่น ๆ ได ดังนั้น เมื่อกลาวถึงความกตัญู ทานจึงมักจะกลาวเนน หรือเริ่มตนกลาวกันที่ครอบครัวกอนเปนลําดับแรก ในคัมภีรบาลี และอรรถกถาก็มีเรื่องความกตัญูที่เกี่ยวของกับบิดามารดามากกวาเรื่องอื่น ๆ

๑๓๖ พระธรรมปฎก, (ป.อ.ปยุตฺโต), คนไทยกับปา, หนา ๒๑. ๑๓๗ ขุ.ธ. (ไทย) ๒๕/๑๐-๑๖/๑๘-๒๐. ๑๓๘ ขุ.ธ. (ไทย) ๒๕/๑๘๒/๙๐. ๑๓๙ ขุ.ขุ.อ. ๑/๑/๒๐๒.

Page 58 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๔๗

อนึ่ง ในยุคตอมา ไดมีนักปราชญ หรือผูรูทางพระพุทธศาสนานําความกตัญูมาจําแนกอีกในหลายประเภท ซึ่งหากมองเพียงตัวเลขที่แบงออกไปก็อาจจะเกิดความขัดแยงกันวา ทําไมในพระไตรปฎกแบงอยางนี้ ทําไมอรรถกถาจารยจึงแบงอยางนี้ หรือในยุคตอมาจึงแบงเทานี้ จํานวนไมเทากัน ประเด็นดังกลาวนี้หากเราไปพิจารณารายละเอียดก็จะเห็นวา ไมมีความขัดแยงกันเลยในเนื้อหา หากจะตางก็เปนวิธีการแบงหรือการนําเสนอ ผูวิจัยจะยกตัวอยางการแบงอีกประเภทหนึ่งซึ่งมีในยุคตอมา

ตัวอยางที่ ๑ “ความกตัญูทานแบงออกเปน ๔ ประเภท ไดแก๑๔๐

๑. ความกตัญูตอบุคคล ไดแก พระพุทธเจา พระสงฆ บิดามารดา ครูอาจารย และญาติ

๒. ความกตัญูตอสถาบัน ไดแก สถาบันชาติ สถาบันศาสนา และสถาบันพระมหากษัตริย

๓. ความกตัญูตอสัตว ไดแก สัตวดิรัจฉาน เชน ชาง มา วัว ควาย สุนัข ๔. ความกตัญูตอธรรมชาติสิ่งแวดลอม

ตัวอยางที่ ๒ “ความกตัญูนั้น มี ๖ มิติ หรือมี ๖ ระดับ ต้ังแตแคบที่สุดขยายกวางออกไปเรื่อย ๆ ดังนี้๑๔๑

มิติที่ ๑ “กตัญูตอตนเอง” คนที่รักตัวเองใชวาจะดีกับตัวเองเปน รางกายเปรียบเหมือนคนรับใชผูซื่อสัตย เราจึงตองดูแลใหสวัสดิการเขาบาง การไมนําสิ่งมีพิษเขาสูรางกาย ไมวาจะเปนการกิน การดื่ม การเสพย การสูบทั้งหลาย แมแตความคิดที่จะมาคิดทํารายทําลายตัวเองใหทอแท หมดกําลังใจ

๑๔๐ สมเด็จพระมหาวีรวงศ (พิมพ ธมฺมธโร), มงคลยอดชีวิตฉบับสมบูรณ, (กรุงเทพมหานคร : ธรรมสภา, ๒๕๒๘),หนา ๔๕๐. ๑๔๑ http://www.thaweeyont.com/knowledge_of_detail.asp?k_id=18.,(เขาเมื่อ วันที่ ๒๐ ธันวาคม ๒๕๔๙)

Page 59 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๔๘

มิติที่ ๒ “กตัญูตอคูชีวิต” เมื่อแตงงานกันไปนาน ๆ ความเอื้ออาทรก็จะคอย ๆ หายไป เคยดูแลซึ่งกันและกันก็จะหายไป กลายเปนเฉื่อยชา ทนอยูกันไป คุยกันเริ่มนอยคํา คุยแตละครั้งเหมือนตะคอก เหมือนเหาใสกัน! การระลึกถึงความดีในอดีตของเขาก็จะทําใหจิตใจออนโยน เกิดความปรารถนาดีตอคูของเรา หากคนใกลชิดนอนเตียงเดียวกันเปนพอแมของลูกเรา ยังไมเห็นความดีกลับเห็นคนอื่นดีกวา นับเปนเรื่องที่นาตกใจ ทําไมคิดชั่วขนาดนี้ได

มิติที่ ๓ “กตัญูตอบุพพการี” ทุกศาสนาบัญญัติเหมือนกันทั้งสิ้น การรายกับพอแมเปนบาปกรรมที่เลวหนัก ชั่วชาเลวทราม เกิดผลวิบากรุนแรงเหลือเกิน ขนาดจะบรรลุมรรคผลก็ยังถูกปดกั้น! ผูละเมิดมิติที่ 3 ชีวิตแมจะร่ํารวยแตทานจะไมมีความสุขตลอดกาล พอแมก็คือตนกําเนิดชีวิตของเรา การรายกับทานจึงเปรียบประดุจรายกับตัวเอง เมื่อเรายังรายกับตัวเอง จะไปใหใครมาดีกับเรา

มิติที่ ๔ “กตัญูตอเพื่อนรวมงาน” ระลึกเสมอ เห็นบุญคุณของเพื่อนรวมงานทุกคน แมจะระดับตํ่ากวาเรา ทุกคน ทุกระดับ มีบุญคุณตอเราทั้งสิ้น งานของเราจะลุลวงไดอยางไรถาขาดคนเหลานี้ บริษัทนี้ ออฟฟศนี้ ตองมีการแบงหนาที่การงานเพื่อประสิทธิภาพ ขาดใครจึงไมได แมจะเปนนักการภารโรงก็ตามเถอะ

มิติที่ ๕ “กตัญูตอคนในสังคม” ออมแขนของเราแผกวางออกไป กวาจะเติบโตทุกวันนี้ ลวนตองพ่ึงพาทุกฐานะทุกอาชีพในสังคม ขาวของเครื่องใช อาหารการกิน แมมีเงินใชวาจะไดเลย กระบวนการสายพานการผลิตของกินของใชมีมากมายมหาศาล มีบุคคลรับหนาที่แบงงานกันเปนทอด ๆ แคขาวสุกจานเดียว ลองหลับตานึกดูวา ผานคนผลิตมากี่มากนอย? คิดใหได คิดใหไกล ความเยอหยิ่งถือตัวจะไดลดราวาศอก! ขอบคุณผูมีพระคุณทั่วแผนดิน…ทั่วโลกนี้!

มิติที่ ๖ “กตัญูตอโลก”บานหลังเล็กตางชวยกันปดกวาดเช็ดถู แลวบานหลังใหญ เราไดชวยอยางไร? ปรากฏการณเรือนกระจก คือภัยที่ประกาศทาชนเผาพันธุมนุษย ความรอนที่เพิ่มทวีกอเกิดภัยธรรมชาติมากมายมหาศาล การบริโภคของเราตองทําลายทรัพยากรมากมาย ยิ่งบริโภคก็ยิ่งเผาผลาญ หากจะชวยโลกแบบคนตัวเล็ก คงไมตองประชุม

Page 60 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๔๙

แตลงมือทันที นั่นก็คือ “ประหยัด” ทุกเรื่อง ไมวาจะเปนอาหารการกิน การใชน้ํา ใชไฟ ฯลฯ ใชใหนอยลง หากทุกคนชวยกัน โลกใบนี้ก็จะแตกตายชาลง

ตัวอยางที่ ๓ สรุปความวา ความกตัญูกตเวที สามารถแบงเปน ๕ ประเภท คือ๑๔๒ ๑. กตัญูตอบุคคล ๒. กตัญูตอสัตว ๓. กตัญูตอวัตถุ ๔. กตัญูตอตนเอง ๕. กตัญูตอธรรม” นอกจากความกตัญูในลักษณะดังกลาวแลว มีการแบงความกตัญูอีกลักษณะหนึ่ง กลาวคือ๑๔๓

๑. ความกตัญูทั่วไป ๒. ความกตัญูของสัตบุรุษ

โดยทานไดอธิบายเพิ่มเติมวา ความกตัญูในมงคลสูตรขอการบํารุงเลี้ยงบิดามารดานั้น (มงคลชีวิตขอที่ ๑๑) เปนความกตัญูขั้นสามัญ ซึ่งคูกับกตเวที หมายถึงรูอุปการะที่คนอื่นทําใหเรา แลวเราก็ตอบแทน เปนเรื่องธรรมดาทั่วไป สวนความกตัญู (มงคลชีวิตขอ ๒๕) ของสัตบุรุษนั้นสูงไปกวานั้น คือ ไมวาเราจะไดรับผลประโยชนนั้นหรือไมก็ตาม แตเราก็มองเห็นประโยชนที่คนอื่นกระทํา กตัญูประเภทนี้จึงไมไดคูกับกตเวที แตคูกับ ธรรมสวนะ คือการฟง หรือรับเอาความดีของคนอื่นนั้นมาเปนเครื่องดําเนินรอยตาม อยางไรก็ตาม การอธิบายลักษณะนี้ ผูวิจัยเห็นวา แมจะเขาใจได และทําใหเห็นความแตกตาง ระหวางมงคลขอ ๑๑ และขอ ๒๕ แตประเด็นปญหาก็มีอยู มงคลทั้ง ๒ ขอดังกลาวนี้ แตกตางกันโดยสิ้นเชิงจนจําเปนตองอธิบายจําแนกความกตัญูออกเปน ๒ ประเภทเลยหรือ สําหรับผูวิจัยมองไมเห็นความจําเปน เหตุผลก็คือ ในมงคลขอ ๑๑ ที่กลาวถึง

๑๔๒ โกวิทย ราชิวงค, “หลักคําสอนเรื่องความกตัญูกตเวทีในพระพุทธศาสนา : กรณีศึกษาทัศนะของคนชราวาดวยการทอดทิ้งบุพการีในสังคมไทย”, วิทยานิพนธปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชาศาสนาเปรียบเทียบ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล, ๒๕๔๕), หนา ๑๗. ๑๔๓ พ.อ.ปน มุทุกันต, มงคลชีวิต, (กรุงเทพ ฯ : พับลิเคชั่น เซ็นเตอร จํากัด, ๒๕๑๙), หนา ๑๐๘-๑๒๔.

Page 61 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๕๐

การบํารุงบิดามารดานั้นเปนเรื่องที่จํากัดลงเฉพาะบิดามารดากับบุตรเทานั้น พระองคจึงไมเรียกมงคลขอนี้วา กตัญู แตเรียกวา การบํารุงบิดามารดา การบําร ุงเล้ียงดูบิดามารดานี้เปนสวนหนึ่ง และถือเปนจุดเริ่มตนของความกตัญู ความกตัญูจึงไมไดพูดถึงแคบิดามารดาเทานั้น แตจะตองรวมไปถึงสังคมทั้งหมดซึ่งตางก็อยูในฐานะที่พึ่งพาอาศัยกัน ไดทําประโยชน และไดรับประโยชนของกันและกันอยูทุกฝาย เทากับเปน “หนี้” บุญคุณตอกันและกัน ซ่ึงจําเปนตองแสดงออกโดยการตอบแทนดวยวิธีใดวิธีหนึ่ง

๒.๒.๓ ความสัมพันธระหวางความกตัญูกับหลักคําสอนอื่น กตัญู แมจะมีความหมาย และความสมบูรณอยูในตัวเอง แตกตัญูก็มีความสัมพันธกับหลักธรรมอื่นทั้งโดยตรง และโดยออม ในวิทยานิพนธนี้ ผูวิจัยจะกลาวเฉพาะที่เกี่ยวของโดยตรง สวนที่เกี่ยวของโดยออมนั้นจะไมนํามากลาว เนื่องจากเห็นวา แมจะไมไดกลาวถึง ก็มีความหมายแฝงอยูในกลุมอยูแลว หลักธรรมที่มีความเกี่ยวของกับกตัญูโดยตรงไดแก ๑.คารโว คารโว ถือวาเปนหัวขอธรรมอันหนึ่งในมงคลสูตร๑๔๔ ตามศัพท แปลวา “ความเคารพ” ความเคารพเปนความรูสึกสํานึกในบุญของบุพพการีนําไปสูการปฏิบัติตอบแทนดวยความรูสึกสํานึกรักนั้นตามหนาที่ที่พึงปฏิบัติ เชน หลักทิศ ๖๑๔๕ ซึ่งสะทอนใหเห็นถึงหนาที่ตามโครงสรางทางสังคมที่ตางคนตางมีหนาที่ตองปฏิบัติที่ดีงามตอกันแลว ก็จะเห็นวา ใครก็ตามที่ทําอุปการะกอน ผูนั้นก็จัดวาเปนบุพพการี ดังนั้น เราจึงกลาวไดวา บิดามารดาเปนบุพพการีของบุตรธิดา เพราะบิดามารดาทําอุปการะแกบุตรธิดากอน ครู อุปชฌาย อาจารยเปนบุพพการีของศิษย เพราะครู อุปชฌาย อาจารยมีอุปการะแกศิษยกอน สมณพราหมณ เปนบุพพการีแกอุบาสกอุบาสิกา เพราะสมณพราหมณทําอุปการะแกอุบาสกอุบาสิกากอน มิตรสหายที่ทําอุปการะแกมิตรสหายกอน เปนบุพพการีของมิตรสหายที่รับอุปการะนั้นโดยตรง เราไดเขาไปอาศัยอยูในชายคาบานใด เจาของชายคาบานนั้นชื่อวาเปนบุพพการีของเรา เพราะเจาของชายคาบานนั้นมีอุปการะแกเรากอน ผูใด สิ่งใดก็ตามที่ทําอุปการะกอน ผูนั้น สิ่งนั้นก็ไดชื่อวาเปน บุพพการี ซึ่งเมื่อมีบุพพการีหรือผูทําอุปการะกอนแลว ก็ตองมีการระลึก หรือรู ๑๔๔ พระธรรมวิสุทธิกวี, อุดมมงคลในพระพุทธศาสนา, (กรุงเทพ ฯ : ธรรมสภา จัดพิมพ, ๒๕๔๘), หนา ๒๘. ๑๔๕ ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๒๖๖-๒๗๒/๒๑๒-๒๑๖.

Page 62 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๕๑

สํานึกในอุปการะนั้น ก็หมายถึง ความกตัญู ซึ่งจะเกิดขึ้นไดนั้นก็มาจากจิตที่สํานึกรักเคารพในบุญคุณของบุพพการีที่ไดไวกอนแลว ซึ่งก็คือความเคารพยําเกรง ซึ่งก็หมายถึง คารโวนั่นเอง คุณเมื่อเพงแงที่เกี่ยวของกับความกตัญู ตัวความเคารพจะทําหนาที่ในการสมาน ทําใหเกิดความรักระหวางกันและกัน ทําใหคุณธรรมคือความกตัญูไดแสดงตนออกมา เชน บุตรธิดาที่มีความเคารพตอบิดามารดา ก็จักเชื่อฟงคําสั่งสอน ไมทําใหบิดามารดาไดรับความเดือดรอน บุตรธิดาที่มีความเคารพในบิดามารดา ยอมปฏิบัติตอบิดามารดาดวยความรัก ความยําเกรง เปนตน ๒. กตเวที กตเวที ตามศัพทหมายถึง ผูประกาศคุณทาน๑๔๖ คํานี้ มีความเชื่อมโยงกับหลักกตัญูเปนอยางมาก อาจกลาวไดวา เปนคําหนึ่งที่จะทําใหความกตัญูมีความหมายสมบูรณในเชิงปฏิบัติ เพราะเปาหมายของความกตัญูนั้น ไมใชเพียงแคสอนใหคน “รู” หรือ “ระลึก” ถึงอุปการะที่คนอื่นกระทําแกตนเองเทานั้น หากแตมุงสอนให “ทําตอบแทน” อุปการะนั้นดวย และการทําตอบแทนนี้เองที่ทานเรียกวา กตเวที ดังนั้นคําวา กตัญูจึงมักจะมาคู หรือมาพรอมกับกตเวทีเสมอ ตัวอยางในกรณีมาคูกัน ทานจะเขียนติดกันเปนศัพทเดียวกันวา กตัญูกตเวที ในกรณีมาพรอมกัน แมทานจะเขียนแยกกัน แตเมื่อกลาวถึงความกตัญู ก็จะมีคําวา กตเวที ตามมาดวยเสมอ ขอใหสังเกตการใชคําทั้งสองนี้ในพระบาลี

ดีละ ๆ สารีบุตร จริงอยู สัตบุรุษทั้งหลายเปนผูกตัญูกตเวที สารีบุตร ถาเชนนั้น เธอจงใหพราหมณนั้นบรรพชาอุปสมบทเถิด๑๔๗

ภิกษุทั้งหลาย ความกตัญูบางอยาง ความกตเวทีบางอยาง พึงมีแกสุนัขจิ้งจอกแกนั้น แตความกตัญูบางอยาง ความกตเวทีบางอยาง ไมพึงมีในภิกษุบางรูป ผูปฏิญาณวาเปนศากยบุตรในธรรมวินัยนี้เลย๑๔๘

จากตัวอยางขางตน ทําใหเห็นวา ความกตัญู และกตเวทีนั้นมีความสัมพันธกันแนนแฟน เราอาจกลาวไดวา ความกตัญูจะสมบูรณไมไดเลย หากไมมีกตเวทีเขามาเสริม

๑๔๖ พระอุดรคณาธิการ และคณะ, อางแลว, หนา ๑๓๙. ๑๔๗ วิ.มหา. (ไทย) ๔/๖๙/๙๗. ๑๔๘ สัง.นิ. (ไทย) ๑๖/๖๘๕/๒๗๔.

Page 63 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๕๒

กตัญูนั้นเปนจิตใหสํานึกรับรู หรือระลึกรูอยูภายใน สวนกตเวทีนั้นเปนขั้นตอนของการประกาศจิตสํานึกรับรู หรือระลึกรูซึ่งอยูภายในนั้นออกมาภายนอก ซึ่งการประกาศตามความหมายของพระพุทธศาสนานี้ก็คือการลงมือกระทําตอบแทนตามสมควรแกกรณี และโอกาส อนึ่ง นอกจากหลักธรรมที่ เกี่ยวของโดยตรง ๒ ประการดังกลาวแลว ยังมีหลักธรรมที่มีสวนชวยสนับสนุน หรือสงเสริมใหมีความกตัญูอีกมาก ยกตัวอยางกรณีงานวิจัยของพระมหาบุญกอง คุณาธโร ที่ไดศึกษาวิเคราะหความกตัญูในพระพุทธศาสนาเถรวาท บทที่ ๓ ของงานวิจัยชิ้นนี้ ไดประมวลหลักธรรมที่ชวยสงเสริมใหเกิดความกตัญู๑๔๙ ไวดังนี้

๑. พรหมวิหาร ๔ ๒. สังคหวัตถุ ๔ ๓. ฆราวาสธรรม ๔ ๔. โภคอาทิยะ ๕ ๕. สาราณียธรรม ๖ ๖. ทิศ ๖ ๗. สัปปุริสธรรม ๗ ๘. ความไมประมาท

นอกจากนั้น ในงานวิจัยของโกวิทย ราชิวงค ไดแสดงหลักธรรมที่สัมพันธกับหลักกตัญูที่ตางออกไปจากที่ไดกลาวมาแลว กลาวคือ ความกตัญูนั้นเก ี่ยวของกับหลักธรรม ๒ ประการ คือ สัมมาทิฏฐิ และกรรม โดยใหคําอธิบายวา “ถาหากบุคคลไมเห็นบุญคุณบิดามารดาผูใหกําเนิดชีวิตและใหการเลี้ยงดู ก็คงเปนการยากที่จะมองเห็นคุณคาของคนอื่นหรือส่ิงอ่ืน ซ่ึงถือเปนมิจฉาทิฏฐิ มีโทษมาก ในสวนของความสัมพันธกับหลักกรรมคือ ความกตัญูกตเวที สงผลใหบุคคลที่กตัญูไดรับยกยอง เปนคนดี มีความเจริญกาวหนาในโลกนี้ และเมื่อส้ินชีวิตไปแลว ก็ไดขึ้นสวรรค”๑๕๐

๑๔๙ พระมหาบุญกอง คุณาธโร (มาหา), “การศึกษาเชิงวิเคราะหความกตัญู (กตฺุตา) ในพระพุทธศาสนาเถรวาท”, วิทยานิพนธพุทธศาสตรมหาบัณฑิต, (สาขาพระพุทธศาสนา : บัณฑิตวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๘), หนา ๖๘. ๑๕๐โกวิทย ราชิวงค, อางแลว, หนา ๙๕.

Page 64 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๕๓

อนึ่ง ผูวิจัยไมกลาวในรายละเอียดของหัวขอธรรมเหลานี้ ดวยมีเหตุผลอยู ๒ ประการ ๑) มีรายละเอียดแลวในงานวิจัยชิ้นดังกลาว ผูสนใจสามารถศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได ๒) ผูวิจัยเชื่อวา ไมใชมีเฉพาะหมวดธรรมที่กลาวถึงขางตนนี้เทานั้นที่ชวยสงเสริมความกตัญู การนําเสนอเพียง ๘ หัวขอจึงเปนเพียงตัวอยางสวนหนึ่ง แตครั้นจะนํามาเสนอใหครบ ก็เปนเรื่องที่ เปนไปไดยาก เพราะความกตัญูนั้นเปนหลักธรรมที่กวางขวาง เชื่อมโยงกับหลักธรรมอื่น ๆ อีกมาก

๒.๒.๔ วิธีปลูกฝงความกตัญู แมในคัมภีรพระบาลี และคัมภีรอรรถกถาจะไมไดแสดงวิธีปลูกฝงความกตัญูไวโดยตรง เปนระบบ และชัดเจน แตเมื่อศึกษาและวิเคราะหในรายละเอียดแลว ก็พอท่ีจะสามารถประมวลนํามาสรุปเปนประเด็นสําคัญไดดังนี้

๑. วิธีปลูกฝงโดยเนนการปฏิบัติที่ดีงามตอกันตามบทบาทหนาที่ หากสํารวจโครงสรางทางหนาที่ของบุคคลจากคัมภีรบาลีทั้งในสวนที่เปนพระวินัย และพระสูตร รวมท้ังคัมภีรอรรถกถาโดยแยบคายแลวจะพบวา ขอบัญญัติทางพระวินัย และขอธรรมหลายอยางที่สงเสริมการปฏิบัติหนาที่ใหถูกตองดีงามตอกันตามฐานะแหงความสัมพันธนั้น มีสวนสําคัญอยางยิ่งในการชวยสงเสริม และปลูกฝงความกตัญูใหเกิดขึ้นในจิตใจ พิจารณาในประเด็นขอบัญญัติทางพระวินัย โดยเฉพาะเรื่องของการอยูรวมกันเปนหมูเปนคณะของภิกษุสงฆ หลักสําคัญอยางหนึ่งที่ทรงบัญญัติไวก็คือการอยูรวมกันดวยความรัก ความปรารถนาดี เอื้อเฟอ เกื้อกูลซึ่งกันและกันระหวางพระเถระ มัชฌิมะ และพระนวกะ พระพุทธเจาจึงทรงบัญญัติบทบาทหนาที่ ซึ่งเรียกวา “วัตร” สําหรับประพฤติปฏิบัติตอกัน ยกตัวอยางเชน อุปชฌายวัตร สัทธิวิหาริกวัตร ฯลฯ อุปชฌายทําหนาที่เหมือนเปนบิดาของสิทธิวิหาริก ดังพระพุทธพจนที่วา “เราอนุญาตอุปชฌาย อุปชฌายจักเขาไปตั้งจิตสนิทสนมในสัทธิวิหาริกฉันบุตร สัทธิวิหาริกจักเขาไปตั้งจิตสนิทสนมในอุปชฌายฉันบิดา เมื่อเปนเชนนี้ อุปชฌายและสัทธิวิหาริกจักมีความเคารพ ยําเกรง ประพฤติกลมเกลียวกัน”๑๕๑ อุปชฌายยอมสงเคราะหสัทธิวิหาริกดวยอุเทส ปริปุจฉา โอวาท และอนุศาสน รวมทั้งความจําเปนพ้ืนฐานอื่น ๆ เชน บิณฑบาต เสนาสนะ บริขาร ดูแลยามเจ็บไข ๑๕๑ วิ.มหา. (ไทย) ๔/๖๕/๘๑.

Page 65 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๕๔

สัทธิวิหาริกเมื่อไดรับอุปการะจากอุปชฌายเชนนี้แลว ยอมสํานึกรูในอุปการะ และทําตอบแทนดวยการอุปฏฐากบํารุงตามสมควรแกหนาที่ของตนเอง๑๕๒ พิจารณาในแงของธรรม มีหลักธรรมหลายชุดที่พระพุทธเจาทรงแสดงไว และสะทอนใหเห็นถึงบทบาทหนา ซึ่งเมื่อฝายหนึ่งปฏิบัติหนาที่ในลักษณะที่เปนอุปการะอยางใดอยางหนึ่งแลว อีกฝายหนึ่งตองสํานึกรู และตอบแทนอุปการะนั้นตามสมควรแกกรณี เชน หลักทิศ ๖๑๕๓ ซึ่งจับคูความสัมพันธของบุคคลในสังคมเปน ๖ ชุด คือ บิดามารดากับบุตรธิดา ครูอาจารยกับศิษย สามีกับภรรยา มิตรสหายกับมิตรสหาย นายกับทาสกรรมกร สมณพราหมณกับกุลบุตร

๒. วิธีปลูกฝงโดยแสดงตัวอยางที่ดีงามใหบุคคลไดถือเปนแบบอยาง การปลูกฝงความกตัญูโดยการแสดงตัวอยางที่ดีงามดานความกตัญู นับเปนวิธีการหนึ่งที่พบเห็นบอยในคัมภีร แมในระดับบาลี แตคัมภีรอรรถกถานั้นมีใหเห็นเปนจํานวนมาก ยกตัวอยางเรื่องชาดกตาง ๆ ซึ่งมุงแสดงจริยาวัตรของพระโพธิสัตวในอดีตที่เปนแบบอยางดานความกตัญู ดังขอสังเกตที่ทานผูรูไดกลาวไววา “เรื่องชาดกนี่ก็ถือวา เปนวรรณคดีในทางพระพุทธศาสนา เปนนิทานสอนใจ เปนนิทานชนิดสั้น ชนิดปานกลาง ชนิดยาว มีมากมาย ถึง ๕๐๐ เรื่อง นิทาน ๕๐๐ เรื่องนี้ มีคุณธรรมคือ ความกตัญูกตเวที แฝงอยูในเกือบทุกเรื่องก็วาได”๑๕๔ เพ่ือสนับสนุนขอสังเกตดังกลาว ผูวิจัยไดสํารวจคัมภีรอรรถกถาทั้งชาดก และอรรถกถาอื่น ๆ พบตัวอยางที่สอนใจเรื่องความกตัญู ไมเฉพาะในแงของบุคคลเทานั้น แมสัตวเดรัจฉานทานก็นํามาแสดงไวเปนนิทานสอนใจ ใหคนไดยึดถือเปนแบบอยาง เชน กรณีสุวรรณสามชาดก๑๕๕ ซึ่งเลาถึงอดีตชาติของพระโพธิสัตวที่เสวยพระชาติเปนสุวรรณสาม ไดปรนนิบัติบิดามารดาซึ่งตาบอดจนเกียรติศัพทเลื่องลือขจรขจายทั้งในหมูมนุษยและเทวดา ตัวอยางของสุวรรณสามชาดกสะทอนใหเห็นวา คนที่มีความกตัญูกตเวทีนั้น “ตกน้ําไมไหล

๑๕๒ ดูบทบาทหนาที่ของสัทธิวิหาริกที่ตองตออุปชฌายโดยพิสดารใน วิ.มหา. (ไทย) ๔/๖๖/๘๒-๘๘. ๑๕๓ ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๒๔๔/๒๐๐,๒๖๖-๒๗๒/๒๑๒-๒๑๖. ๑๕๔ พระเทพวิสุทธิเมธี, (ปญญานันทภิกขุ). กตัญูกตเวที เปนเคร่ืองหมายของคนดี, (กรุงเทพ ฯ : สํานักพิมพธรรมสภา, ๒๕๓๖), หนา ๖. ๑๕๕ ขุ.ชา.อ. ๔/๒/๑๖๘-๒๑๓.

Page 66 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๕๕

ตกไฟไมไหม” สุวรรณสาม แมตกอยูในอันตรายถึงชีวิต แตอานุภาพของความกตัญูทําใหกลับฟน รอดชีวิตขึ้นมาได ในอรรถกถานันทิยชาดก๑๕๖ พระโพธิสัตวกําเนิดเปนวานร แมมีบริวารถึง ๘๔,๐๐๐ ก็ละบริวารท้ังหมดใหนองวานรผูเปนนองดูแล สวนตนเองละบริวารมาปรนนิบัติมารดาตาบอด ครั้งหนึ่งมีนายพรานมาลาสัตว เห็นพระโพธิสัตวและมารดาก็ยิงดวยลูกศร พระโพธิสัตวไดสละชีวิตตน โดยขอรองใหนายพรานนั้นยิงตนเองเพียงผูเดียว อยายิงมารดาเลย เพราะมารดาทุพพลภาพ แตนายพรานใจหยาบชา ไมยอมฟงจึงโกงธนูยิง วานรผูเปนนองเห็นดังนั้นจึงออกมาจากที่ซอน ขอรองอยายิงมารดาตนเอง เพราะทานชราภาพแลว ขอใหยิงตนเองแทน แตนายพรานก็ไมฟง ไดยิงวานรผูเปนนอง และมารดาของวานรนั้นตาย จากนั้นก็หาบกลับบาน ครั้งนั้นทานเลาวา เกิดฟาผาที่บานนายพรานนั้น ทําใหเกิดไฟไหมตายคากองเพลิงทั้งนายพราน ภรรยา และบุตร ในอรรถกถามาตุโปสกชาดก๑๕๗ มีการบรรยายถึงพระโพธิสัตวเสวยพระชาติเปนพระยาชางเผือก มีรูปงาม นาชม เปนที่ปรารถนา มีบริวาร ๘๐,๐๐๐ เชือก สวนมารดาของพระโพธิสัตวนั้นตาบอด พระยาชางนั้นละโขลงชางผูเปนบริวารทั้งหมด พามารดาหลีกเรนอยูเพียงลําพัง บํารุง ปรนนิบัติมารดา เมื่อถูกนายพรานจับไปถวายพระราชา ก็ไมยอมบริโภคอาหารจนซูบผอม พระราชาไดเสด็จมาสอบถาม ไดความวา ที่ไมยอมบริโภคอาหารเพราะวาหวงมารดาตาบอด ไมมีใครเลี้ยงดู พระราชาไดทราบวา พระยาชางโพธิสัตวนั้นเลี้ยงดูมารดาของตน จึงรับสั่งใหปลอยตัวกลับไปหามารดา อรรถกถาอังคุตตรนิกาย๑๕๘ ไดพรรณนาถึงความกตัญูกตเวทีของพระสารีบุตรเมื่อครั้งถือกําเนิดเปนชาง วันหนึ่งพลั้งถูกตอแหลมตําเทาไดรับความทุกขเวทนาอยางหนัก ครั้งนั้นเห็นชางไมเขาปา จึงไดเดินตามไป และไดอาศัยชางไมนั้นถอนเสี้ยนตอที่ตําเทานั้น ชางระลึกถึงอุปการคุณจึงมอบลูกชางใหแกนายชางเพื่อคอยรับใชในงานตาง ๆ

๑๕๖ ขุ.ทุก.อ. ๓/๓/๓๘๙-๓๙๔. ๑๕๗ ขุ.ชา.อ. ๓/๖/๔-๑๑. ๑๕๘ อัง.เอก.อ. ๑/๑/๔๙๕-๔๙๘.

Page 67 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๕๖

๓. วิธีปลูกฝงโดยการยกยองบุคคลที่มีความกตัญูใหปรากฏ ขณะเดียวกันก็ตําหนิคนที่ขาดความกตัญู วิธีการดังกลาวนี้ พบเห็นบอยครั้ง ทั้งในบาลีพระอรรถกถา โดยเฉพาะพระเถระที่เปนแบบอยางทางดานความกตัญูที่พระพุทธเจายกยอง และสรรเสริญตอหนาเหลาภิกษุสงฆไดแกพระสารีบุตร๑๕๙ สวนพระเถระที่ เปนแบบอยางดานอกตัญูไมรูคุณคน ซึ่งพระพุทธเจาตําหนิ ไมใหถือเปนแบบอยางไดแก พระเทวทัต๑๖๐ ขอความท่ีปรากฏในพระบาลีตอไปนี้ ไดแสดงการตําหนิคนอตัญูไมรูคุณวาไมนาคบคาสมาคมดวย

ผูไมรูอุปการคุณที่คนอื่นทําแลว ผูไมเคยทําความดีอยางใดอยางหนึ่งแกใคร ผูไมตอบแทนอุปการคุณที่ผูอื่นทําใหแลว นาตําหนิ ความกตัญูไมมีในผูใด การคบหาผูนั้นก็ไรประโยชน๑๖๑

พระอานนทก็นับเปนพระเถระรูปหนึ่งที่พระพุทธเจาทรงยกยองใหปรากฏในหมูสงฆวาเปนผูมีความกตัญูกตเวที ควรแกการเปนแบบอยาง ครั้งหนึ่งทานทําเรื่องที่ “คาดไมถึง” คือถวายผา ๕๐๐ ผืนแกภิกษุหนุมรูปหนึ่ง ซึ่งมีอุปการะแกทานในฐานะเปนผูดูแล อุปฏฐากทาน ทําใหทานไดรับการตําหนิจากสงฆวา “เห็นแกหนา” พระพุทธเจาจึงทรงชี้แจงแทน พรอมทั้งสรรเสริญพระอานนทวา ที่ทําเชนนั้น ไมใชทําไปเพราะเหตุแกหนา แตเปนเพราะทานมีความกตัญูตอพระหนุมรูปนั้น๑๖๒ จุดมุงหมายของการสรรเสริญ และยกยองคนที่มีความกตัญู ก็เพื่อจะไดเปนแบบอยาง ขณะเดียวกันการตําหนิคนที่อกตัญู ก็เพื่อแสดงใหเห็นวา คนอกตัญูนั้นเปนบุคคลนารังเกียจ ไมควรคบคาสมาคมดวย ซึ่งบางครั้งทานกลาวถึงคนกตัญูวา เปรียบเหมือนถูกจับโยนลงสูนรก๑๖๓

๑๕๙ ดูตัวอยางคําสรรเสริญเหลานี้ใน อัง. เอก.อ. /๑ /๑ /๔๙๕-๔๙๙, ขุ.ธ.อ. /๑ /๒ / ๒๘๖-๒๙๐ เปนตน. ๑๖๐ ดูตัวอยางการตําหนิเหลานี้ในอรรถกถาชวสกุณชาดก (ขุ.ชา.อ./๓/๔/ ๔๒๗-๔๒๙),อรรถกถานิโครธชาดก (ขุ.ชา.อ. ๓/ ๕/ ๘๕๓-๘๖๔), อรรถกถาสีลวนาคชาดก (ขุ.ชา.อ./๓/๒/ ๑๘๒-๑๘๘) เปนตน. ๑๖๑ ขุ.ชา. (ไทย) ๒๗/๓๑/๑๖๒. ๑๖๒ ขุ.ทุก.อ. ๓/๓/๔๗-๔๘. ๑๖๓ อัง.จตุกก. (ไทย) ๒๑/๒๑๓/๓๓๓.

Page 68 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๕๗

๔. วิธีการปลูกฝงโดยการแสดงใหเห็นถึงความสําคัญของความกตัญู มีขอความหลายอยางในพระบาลี ที่ไดแสดงใหเห็นถึงความสําคัญของความกตัญู เชน การบอกวา ความกตัญูนั้นเปนภูมิของสัตบุรุษ๑๖๔ ความกตัญูเปนมงคลชีวิตสูงสุด๑๖๕ ทรงแนะนําใหภิกษุประพฤติปฏิบัติตาม ดังพระพุทธพจนที่วา “ดูกรภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุนั้น เธอทั้งหลายพึงศึกษาอยางนี้วา เราทั้งหลายจักเปนผูกตัญูกตเวที และอุปการะแมเพียงเล็กนอยที่บุคคลอื่นกระทําในเราทั้งหลายจักไมเสื่อมสูญไป เธอทั้งหลายพึงศึกษาอยางนี้”๑๖๖ ในที่บางแหงตรัสวา คนที่อกตัญูนั้นไมควรบรรลุปฐมฌาน๑๖๗ ไมลอยน้ําดีกวาคนอกตัญู๑๖๘ เปนตน

๒.๒.๕ วิธีแสดงความกตัญู ความกตัญูเปนหลักธรรมที่มีความหมายกวางมากในเชิงปฏิบัติ เพราะสรรพสิ่งทั้งหลายในโลกนี้ ไมวาจะเปนมนุษย สัตว ธรรมชาติแวดลอม เปนตน ลวนอิงอาศัยกัน เนื่องดวยกัน ไมทางใดก็ทางหนึ่ง พิจารณาจากกรอบของมนุษย มนุษยเองก็อยูในฐานะอาศัยผูอื่น สิ่งอื่น สัตวอื่น เพ่ือการดํารงอยู เพ่ือการเจริญเติบโต เพื่อความกาวหนา เพ่ือความมั่นคง เพ่ือความอยูรอดปลอดภัย การแสดงหลักเกณฑหรือวิธีแสดงความกตัญูที่เปนภาพรวมรวมกันจากโครงสรางแหงความสัมพันธที่เนื่องดวยกันทั้งหมดจึงทําไดโดยยาก ดังนั้นเมื่อสํารวจพระบาลี อรรถกถา จึงไมพบวิธีดังกลาว อีกประการหนึ่ง หากพิจารณาจากความหมายของความกตัญู จะเห็นวา มีความหมายกวางขวางมาก ครอบคลุมความสัมพันธทุกระดับ และทุกประเภท ทั้งในแงของสังคม และสิ่งแวดลอม การแสดงความกตัญูจึงตองดําเนินไปตามลักษณะแหงความสัมพันธนั้น ๆ ดวย ดังที่ทานผูรูไดแสดงไววา “ในแงของความเปนจริงของธรรมชาติทั้งปวง ธาตุทั้ง

๑๖๔ อัง.ทุก. (ไทย) ๒๐/๓๓/๗๗. ๑๖๕ ขุ.ขุ. (ไทย) ๒๕/๙/๘. ๑๖๖ สัง.นิ. (ไทย) ๑๖/๒๓๔/๓๒๓. ๑๖๗ อัง.ปญจก. (ไทย) ๒๒/๒๖๔/๓๙๗. ๑๖๘ ขุ.ชา. (ไทย) ๒๗/๗๓/๓๐.

Page 69 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๕๘

ปวง คน สัตว ลวนมีอุปการคุณตอคนเราทุกคน เพียงแตเปนไปทางตรงหรือโดยทางออมเทานั้น”๑๖๙ วิธีการแสดงความกตัญูที่ปรากฏในคัมภีรบาลี และอรรถกถาอาจสรุปหลักการใหญไดแตเพียงวา ผูใดก็ตาม สิ่งใดก็ตามที่มีอุปการะ หรือมีคุณตอมนุษย ไมวาจะโดยทางตรงหรือทางออม มนุษยจะตองรูตระหนักรู ใหความสําคัญตอผูนั้น หรือสิ่งนั้น พรอมหาทางทําตอบแทนอุปการะดวยวิธีการอยางใดอยางหนึ่งตามสมควรแกสถาน และโอกาส ซึ่งตัวอยางดังกลาวนี้ อาจเห็นบอยมากในคัมภีรพระบาลี และอรรถกถา ยกตัวอยางในคัมภีรทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค ทานไดแสดงวิธีการตอบแทนบุญคุณจากชุดแหงความสัมพันธทางสังคมทั้ง ๖ ประการที่เรียกวา ทิศ ๖ ดังนี้๑๗๐ (ชุดที่ ๑) บุตรพึงบํารุงมารดาบิดาผูเปนทิศเบื้องหนาโดยหนาที่ ๕ ประการคือ ๑. ทานเลี้ยงเรามา ราจักเลี้ยงทานตอบ ๒. จักทํากิจของทาน ๓. จักดํารงวงศตระกูล ๔. จักประพฤติตนใหเหมาะสมที่จะไดเปนทายาท ๕. เมื่อทานลวงลับไปแลว ทําบุญอุทิศสวนกุศลใหทาน มีขอความควรแทรกเขามาในขอความนี้เล็กนอยวา วิธีการตอบแทนคุณของบิดามารดานั้น พระพุทธเจาตรัสวา ไมใชเปนเรื่องที่จะกระทําไดงาย ๆ ดังที่มีพระพุทธพจนตรัสไวในคัมภีรอังคุตตรนิกาย ทุกนิบาตวา “การตอบแทนแกทานทั้งสองเราไมกลาววาเปนการทําไดโดยงาย ทานทั้งสองคือใคร คือ มารดาและบิดา ถึงบุตรจะมีอายุ ๑๐๐ ป มีชีวิตอยู ๑๐๐ ป ประคับประคองมารดาดวยบาขางหนึ่ง ประคับประคองบิดาดวยบาขางหนึ่ง ปฏิบัติทานทั้งสองดวยการอบกลิ่น การนวด การใหอาบน้ํา และการบีบนวด และแมทานทั้งสองนั้นจะถายอุจจาระและปสสาวะลงบนบาทั้งสองของเขานั่นแล การกระทําอยางนั้นยังไมชื่อวาอันบุตรไดทํา หรือทําตอบแทนแกมารดาและบิดาเลย ถึงบุตรจะสถาปนามารดาและบิดาไวในราชสมบัติซึ่งเปนเจาเหนือหัวแหงแผนดินใหญที่มีรัตนะ ๗ ประการมากมายนี้ การกระทํานั้นยังไมชื่อวาอันบุตรไดทํา หรือทํา

๑๖๙ พระเทพดิลก(ระแบบ ฐิตญาโณ). เพื่อความสวัสดีในที่ท้ังปวง, (กรุงเทพ ฯ : พรศิวการพิมพ, ๒๕๔๗), หนา ๖๐. ๑๗๐ ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๒๖๖-๒๗๒/๒๑๒-๒๑๖.

Page 70 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๕๙

ตอบแทนแกมารดาและบิดาเลย ขอนั้นเพราะเหตุไร เพราะมารดาและบิดามีอุปการะมาก บํารุงเลี้ยง แสดงโลกนี้แกบุตรทั้งหลาย สวนบุตรคนใดใหมารดาและบิดาผูไมมีศรัทธา สมาทาน ต้ังมั่น ดํารงอยูในสัทธาสัมปทา ใหมารดาและบิดาผูทุศีล สมาทาน ต้ังมั่น ดํารงอยูในสีลสัมปทา ใหมารดาและบิดาผูตระหนี่ สมาทาน ต้ังมั่น ดํารงอยูในจาคสัมปทา ใหมารดาและบิดาผูไมมีปญญา ใหสมาทาน ต้ังมั่น ดํารงอยูในปญญาสัมปทา ดวยเหตุเพียงเทานี้แล การกระทําอยางนี้ชื่อวาอันบุตรไดกระทําและกระทําตอบแทนแกมารดาและบิดา”๑๗๑ มารดาบิดาผู เปนทิศเบื้องหนา บุตรบํารุงโดยหนาที่ ๕ ประการนี้แล ยอมอนุเคราะหบุตรดวยหนาที่ ๕ ประการคือ ๑. หามไมใหทําความชั่ว ๒. ใหต้ังอยูในความดี ๓. ใหศึกษาศิลปวิทยา ๔. หาภรรยา (สามี) ที่สมควรให ๕. มอบทรัพยสมบัติใหในเวลาอันสมควร (ชุดที่ ๒) ศิษยพึงบํารุงอาจารยผูเปนทิศเบื้องขวา โดยหนาที่ ๕ ประการ คือ ๑. ลุกขึ้นยืนรับ ๒. เขาไปคอยรับใช ๓. เชื่อฟง ๔. ดูแลปรนนิบัติ ๕. เรียนศิลปวิทยาโดยเคารพ อาจารยผูเปนทิศเบื้องขวา ศิษยบํารุงโดยหนาที่ ๕ ประการนี้แล ยอมอนุเคราะหศิษยดวยหนาที่ ๕ ประการ คือ ๑. แนะนําใหเปนคนดี ๒. ใหเรียนดี ๓. บอกความรูในศิลปวิทยาทุกอยางดวยดี ๔. ยกยองใหปรากฏในมิตรสหาย

๑๗๑ อัง.ทุก. (ไทย) ๒๐/๓๔/๗๗.

Page 71 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๖๐

๕. ทําความปองกันในทิศทั้งหลาย (ชุดที่ ๓) สามีพึงบํารุงภรรยาผูเปนทิศเบื้องหลังโดยหนาที่ ๕ ประการคือ ๑. ใหเกียรติยกยอง ๒. ไมดูหมิ่น ๓. ไมประพฤตินอกใจ ๔. มอบความเปนใหญให ๕. ใหเครื่องแตงตัว ภรรยาผูเปนทิศเบื้องหลัง สามีบํารุงโดยหนาที่ ๕ ประการนี้แล ยอมอนุเคราะหสามีดวยหนาที่ ๕ ประการ คือ ๑. จัดการงานดี ๒. สงเคราะหคนขางเคียงดี ๓. ไมประพฤตินอกใจ ๔. รักษาทรัพยที่สามีหามาได ๕. ขยันไมเกียจครานในกิจทั้งปวง (ชุดที่ ๔) กุลบุตรพึงบํารุงมิตรสหายผูเปนทิศเบื้องซายโดยหนาที่ ๕ ประการคือ ๑. การให (การแบงปนสิ่งของให) ๒. กลาววาจาเปนที่รัก ๓. ประพฤติตนใหเปนประโยชน ๔. วางตนสม่ําเสมอ ๕. ไมพูดจาหลอกลวงกัน มิตรสหายผู เปนทิศเบื้องซาย กุลบุตรบํารุงโดยหนาที่ ๕ ประการนี้แล ยอมอนุเคราะหกุลบุตรดวยหนาที่ ๕ ประการ คือ ๑. ปองกันมิตรผูประมาทแลว ๒. ปองกันทรัพยของมิตรผูประมาทแลว ๓. เมื่อมีภัยก็เปนที่พ่ึงพํานักได ๔. ไมละทิ้งในยามอันตราย ๕. นับถือตลอดถึงวงศตระกูลของมิตร

Page 72 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๖๑

(ชุดที่ ๕) นายพึงบํารุงทาส กรรมกรผูเปนทิศเบื้องลางโดยหนาที่ ๕ ประการ คือ ๑. จัดการงานใหตามสมควรแกกําลัง ๒. ใหอาหารและคาจาง ๓. ดูแลรักษายามเจ็บไข ๔. ใหอาหารมีรสแปลก ๕. ใหหยุดงานตามโอกาส ทาสกรรมกรผู เปนทิศเบื้องลาง นายบํารุงโดยหนาที่ ๕ ประการนี้แล ยอมอนุเคราะหนายดวยหนาที่ ๕ ประการ คือ ๑. ต่ืนขึ้นทํางานกอนนาย ๒. เลิกงานเขานอนทีหลังนาย ๓. ถือเอาแตของที่นายให ๔. ทํางานใหดีขึ้น ๕. นําคุณของนายไปสรรเสริญ (ชุดที่ ๖) กุลบุตรพึงบํารุงสมณพราหมณผูเปนทิศเบื้องบนโดยหนาที่ ๕ ประการ คือ ๑. จะทําสิ่งใด ก็ทําดวยเมตตา ๒. จะพูดสิ่งใด ก็พูดดวยเมตตา ๓. จะคิดสิ่งใด ก็คิดดวยเมตตา ๔. เปดประตูตอนรับ ๕. ถวายปจจัยเครื่องยังชีพ สมณพราหมณผูเปนทิศเบื้องบน กุลบุตรบํารุงโดยหนาที่ ๕ ประการนี้แล ยอมอนุเคราะหกุลบุตรดวยหนาที่ ๖ ประการ คือ ๑. หามไมใหทําความชั่ว ๒. ใหตั้งอยูในความดี ๓. อนุเคราะหดวยน้ําใจอันดีงาม ๔. ใหไดฟงสิ่งที่ยังไมเคยฟง ๕. อธิบายสิ่งที่เคยฟงแลวใหเขาใจแจมแจง ๖. บอกทางสวรรคให

Page 73 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๖๒

จากตัวอยางวิธีการแสดงความกตัญูตอผูมีคุณในหลักธรรมชุดทิศ ๖ นี้ กลาวถึงเฉพาะในแงของวิธีแสดงความกตัญูตอบุคคลเทานั้น ไมครอบคลุมถึงสิ่งมีคุณอื่น ๆ เชน สัตวเลี้ยง บุญกุศล วัตถุ สิ่งของ สถานที่ เปนตน แสดงใหเห็นวา วิธีแสดงความกตัญูดังกลาวนี้ เปนเพียงวิธีหนึ่งในหลาย ๆ วิธีซึ่งทานตองการแสดงใหดูเปนตัวอยางเทานั้น ความที่พระบาลีแสดงวิธีการแสดงความกตัญูไวเพียงเทานี้ อาจารยรุนหลังตอมาอาจเห็นวายังไมครบ หรือยังนอยไป หรือตองการขยายความใหชัดเจนขึ้น จึงมีการจําแนกแยกแยะออกไปอีกหลายลักษณะหลายประเภท จะขอนํามากลาวในที่พอเปนแนวทางสําหรับการศึกษา ๑ กรณีตัวอยาง “ประเภทและพฤติกรรมของความกตัญูกตเวทีที่เราจะตองแสดงออกใหปรากฏนั้นมีอยู ๓ ดานที่ควรศึกษา คือ ๑. ความกตัญูตอบุคคล คือ บุพพการี ครู-อาจารย และผูอื่นที่ทําประโยชนให โดยมีพฤติกรรม คือ ๑.๑ แสดงความเคารพนับถือยกยองเชิดชู ไมลบหลูดูหมิ่น ๑.๒ ชักนําคนอื่นใหนิยมยินดีในการทําคุณความดีตอบแทนผูมีพระคุณ ๑.๓ ปฏิบัติตอผูมีพระคุณดวยความซื่อตรง ไมมีลับลมคมใน หรือมีสิ่งใดแอบแฝงอยูเบื้องหลัง ๑.๔ ไมละทิ้งผูมีพระคุณในคราวที่ผูมีพระคุณเดือดรอน ลําบาก ๑.๕ เคารพรักใคร ไวใจ และเชื่อถือในผูมีพระคุณที่ไมผิดศีลธรรม ๑.๖ ไมทําตนใหเปนที่เสื่อมเสียแกวงศตระกูลและผูมีพระคุณ ๑.๗ ทําใหผูมีพระคุณสุขใจ อิ่มใจ และไมคิดรายตอผูมีพระคุณ ๒. ความกตญัูกตเวทีตอสัตว โดยมีพฤติกรรมคือ ๒.๑ ไมประพฤติเหี้ยมโหดตอสัตวที่มีบุญคุณ ๒.๒ ใชดวยความกรุณาปราณี ไมใชเกินกําลัง ๒.๓ ไมปลอยใหอดอยาก อิดโรย ๒.๔ บํารุงเลี้ยงดูปรนเปรอใหเปนสุข ใหไดกิน ไดนอน พักผอนตามวาระ ๒.๕ ใหการดูแลรักษาไมทอดทิ้งเมื่อเจ็บปวย ๒.๖ ไมผลักไสไลสง หรือทําลาย เมื่อสัตวนั้นไมสามารถทําประโยชนได

Page 74 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๖๓

๓. ความกตัญูกตเวทีตอสถาบันและสิ่งแวดลอม ไดแก ครอบครัว โรงเรียน ประเทศชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย ทรัพยากรธรรมชาติ และสาธารณสมบัติ มีพฤติกรรมคือ ๓.๑ จงรักภักดีตอประเทศชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย ๓.๒ เชิดชูชาติ และรักษาเกียรติของประเทศชาติ ๓.๓ ทะนุบํารุงพระพุทธศาสนา ๓.๔ หมั่นประกอบกิจอันเปนหนาที่ของตน เพ่ือใหคนมีหลักฐาน และประเทศชาติรุงเรือง ๓.๕ รักษาและสงวนทรัพยากรธรรมชาติ ๓.๖ เพิ่มเติมและบํารุงทรัพยากรธรรมชาติใหมีปริมาณและคุณภาพเพิ่มขึ้น ๓.๗ รักษาเกียรติยศ และนําชื่อเสียงมาสูครอบครัว โรงเรียน และประเทศชาติ ๓.๘ แสดงความเคารพสถาบันศักดิ์สิทธิ์ทางศาสนา”๑๗๒ ซึ่งถือไดวา สิ่งที่แสดงเพิ่มเติมมานั้น ก็ยังมีความสอดคลองกับหลักกตัญูที่ทานไดแสดงไวในคัมภีรบาลี และอรรถกถาอยูนั่นเอง เพียงแตมาขยายประเด็นเพิ่มเติมเพื่อใหเกิดความชัดเจน มุงใหเกิดผลในทางปฏิบัติมากขึ้น

๒.๒.๖ บทบาทและอิทธิพลของความกตัญูที่มีตอสังคม ความกตัญูแมจะไมใชหลักธรรมที่เปนหัวใจสําคัญของพระพุทธศาสนาเมื่อ

เทียบกับอริยสัจ ๔ หรือ ปฏิจจสมุปบาท แตในแงโครงสรางทางสังคม ความกตัญูก็มีบทบาทสําคัญไมนอย และถือเปนหลักธรรมที่มีการนํามาพูดนํามากลาวกันมากที่สุดในบรรดาหลักธรรมทั้งหลายทางพระพุทธศาสนา ทั้งนี้เพราะถือวาเห็นหลักธรรมที่จะชวยใหเกิดความสงบสุขของคนในสังคมไมวาจะระดับครอบครัว ระดับองคกรหรือสถาบัน หรือแมแตในระดับปจเจกชนตอปจเจกชน ดังจะเห็นวา ไดมีการนําพระบาลีที่วา “ความกตัญูเปนภูมิของสัตบุรุษ”๑๗๓ ก็ถูกนํามาขยายความเปนเกณฑตัดสินทางจริยธรรมในสังคมตอมาวา

๑๗๒ กระทรวงศึกษาธิการ, แนวทางการพัฒนาจริยธรรมไทย, (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพการศาสนา, ๒๕๒๓), หนา ๑๕๐-๑๕๑. ๑๗๓ อัง.ทุก. (ไทย) ๒๐/๓๓/๗๗.

Page 75 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๖๔

“นิมิตฺตํ สาธุรูปานํ กตฺูกตเวทิตา ความกตัญูกตเวทีเปนเครื่องหมายของคนดี” โดยทานไดใหเหตุผลทําไม ความกตัญูกตเวทีจึงเปนเครื่องหมายของคนดีวา “เมื่อคนมีความกตัญูเปนพ้ืนฐานแลว คุณความดีทั้งหลายก็ไหลไปรวมอยูที่คนนั้น เหมือนลําธารทุกสายไหลลงสูแมน้ําใหญ”๑๗๔ การใหเหตุผลดังกลาวนี้ สอดคลองกันหลายแหง ผูวิจัยยกตัวอยางอีกแหงที่ทานกลาวไววา “กตัญู เปนรากฐานใหญที่จะเกิดอะไร ๆ ขึ้นในโลก เราจะไปรักสิ่งอื่น รักตนไม รักธรรมชาติ รักแมน้ําลําคลอง รักประเทศชาติบานเมือง มันตองเริ่มตนแตตรงนี้กอน ถาตรงนี้ดีแลว อะไร ๆ ก็ดีหมด”๑๗๕

ความกตัญูจึงเปรียบเหมือนเสาหลักของสังคม ถาเสาหลักแข็งแรง สังคมก็ดํารงอยูได ถาเสาหลักไมแข็งแรง สังคมก็มีปญหา ความกตัญูจึงเปนสิ่งจําเปนที่ขาดไมได ซึ่งสะทอนใหเห็นบทบาทสําคัญของความกตัญูที่มีตอสังคม ดังขอความที่ทานไดแสดงไววา “ในสังคมไทย ความกตัญูนี้เปนธรรมะที่คนไทยเราเขาใจไดไมยาก เพราะไดมีการสั่งสอนลูกหลานกันมาใหลูกหลานมีความกตัญู”๑๗๖ หากขยายความขอนี้ใหเห็นชัด เราสามารถสืบคนคําสอนเกี่ยวกับความกตัญู โดยเฉพาะความกตัญูตอบิดามารดา ซึ่งถือเปนคําสอนทางศีลธรรมที่คนทุกระดับรับนํามาสั่งสอนบุตรหลานของตน หรือสอนคนในสังคมใหมีความกตัญู นับตั้งแตเจาฟาเจาแผนดิน พระสงฆ ปราชญบัณฑิตทั้งหลาย ตางก็ออกมาสอน มาแสดงเรื่องความกตัญูเรื่อยมาตั้งแตอดีต กระทั่งปจจุบัน ขอความที่คัดมาขางลางนี้ เปนตัวอยางของคําสอนเรื่องความกตัญู สะทอนใหเห็นวา ความกตัญูนั้นมีอิทธิพลสําคัญ

มาตุบูชา ขาขอนอมเศียรอภิวาทน แทบบาทบิดาคุณมหันต อีกทั้งมารดาคุณอนันต เฉกฉันทบุตรผูภักดี ต้ังแตเยาวเบาปญญา ไดพ่ึงมารดาเฉลิมศรี

๑๗๔ สมเด็จพระมหาวีรวงศ (พิมพ ธมฺมธโร). มงคลยอดชีวิต เลม ๒, (กรุงเทพ ฯ : ชวนการพิมพ, ๒๕๑๗), หนา ๘๘. ๑๗๕ พระเทพวิสุทธิเมธี (ปญญานันทภิกขุ), กตัญูกตเวที เปนเคร่ืองหมายของคนดี, (กรุงเทพ ฯ : ธรรมสภา จัดพิมพ, ๒๕๓๖), หนา ๒๕. ๑๗๖ พ.สถิตวรรณ (นามแฝง), อุดมมงคลในพระพุทธศาสนา เลม ๒, (กรุงเทพ ฯ : ธรรมสภา จัดพิมพ, ๒๕๔๘), หนา ๖.

Page 76 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๖๕

บิดาวอนวาดาตี หวังใหบุตรดีสมใจ คอยตั้งระวังอันตราย จะคิดลําบากกายนั้นหาไม สูถนอมกลอมเกลี้ยงเลี้ยงไว หวังใหสุขีมีหนาตา เมื่อยามผันแปรแชเชือน หมั่นเตือนแตมสอนวอนวา ฝกหัดดัดแปลงกิริยา เสี้ยมสอนวาจาสอนใจ ควรจะรูสึกกตัญู รูจักบุญคุณผูใหญ ทดแรนแทนคุณทานไซร ใหเปนเยี่ยงกตเวที แมทานพิโรธโกรธขึ้ง ควรคํานึงความผิดของเรานี่ แกไขใหกลับเปนดี ใหเปนที่ตองใจทุกสิ่งอัน ทานจะวาไรไมควรเถียง ทานบมี ลําเอียงเปนแมนมั่น รักเราจึงเฝารําพัน ชี้แจงสิ่งสรรพใหเราฟง คุณลนพนยิ่งกวาชนปวง ยิ่งกวาจอมสรวงสุดขลัง ควรคิดผูกจิตยืนยัง ควรตั้งรักไว ไมวายเอย ฯ๑๗๗ นี้เปนบทพระราชนิพนธในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ชื่อวา “มาตุบูชา” ซึ่งทรงใชพระพุทธพจนตอทายชื่อบทพระนิพนธของพระองควา พฺรหฺมาติ มาตาปตโร ซึ่งแสดงใหเห็นถึงอิทธิพลของความกตัญูในอีกลักษณะหนึ่ง

ขาขอนบชนกคุณ ชนนีเปนเคามูล ผูกอบนุกูลพูน ผดุงจวบเจริญวัย ฯ ฟูมฟกทะนุถนอม บบําราศนิราไกล แสนยากเทาใดใด บคิดยากลําบากกาย ฯ ตรากทนระคนทุกข ถนอมเลี้ยงฤรูวาย ปกปองซึ่งอันตราย จนไดรอดเปนกายา ฯ เปรียบหนักชนกคุณ ชนนีคือภูผา ใหญพ้ืนพสุธรา ก็บเทียบบเทียมทัน ฯ เหลือท่ีจะแทนทด จะสนองคุณานันต

๑๗๗ สัมพันธ กองสมุทร, บรรณาธิการ, แมจา เร่ืองสั้นวรรณกรรมอมตะ, (กรุงเทพ ฯ : สํานักพิมพดอกโมกข, ๒๕๔๖), หนา ๑๕.

Page 77 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๖๖

แทบูชไนยอัน อุดมเลิศประเสริฐคุณ ฯ๑๗๘ เปนบทพระนิพนธของพระยาศรีสุนทรโวหาร (นอย อาจารยางกูร) ซึ่งเปนที่รูจักกันแพรหลาย เพราะเปนบทที่ทางกระทรวงศึกษาธิการกําหนดใหนักเรียนไดทองเปนอาขยาน โดยมีจุดมุงหมายเพื่อใหเกิดความสํานึกกตัญูตอบิดามารดา ความกตัญูกับครอบครัวสังคมไทยนั้นเปนเรื่องที่มีการปลูกฝงกันมานานแลวต้ังแตอดีต กระทั่งถึงปจจุบัน สังคมไทยใหการยกยองบุตรธิดา หรือบุคคลที่มีความกตัญูวาเปนคนดี และตัวอยางที่ดีงาม ควรแกการยกยอง ดังจะเห็นไดจากมีการคัดเลือกบุตรธิดาที่มีความกตัญู และกระทําการยกยองในระดับตาง ๆ ในระดับชาติก็มีการนํารางวัลพระราชทานมามอบใหเปนเกียรติประวัติ ถือวาเปนรางวัลสําคัญสูงสุดและนํามาซึ่งความปลาบปลื้มยินดีสําหรับผูที่ไดรับ อยางกรณีนองเปล-กุลปรียา วิริยะอมรชัย นักเรียนชั้น ม. ๔ โรงเรียนวัดนวลนรดิศ ๑ ในจํานวน ๑๔๒ คนของนักเรียนรางวัลพระราชทานประจําป ๒๕๔๗ ไดแสดงความรูสึกในโอกาสที่เขารับรางวัลพระราชทานจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ที่ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา เมื่อวันที่ ๑๓ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๔๘ “สิ่งที่ทําใหไดรับรางวัลอันทรงเกียรติ อาจเปนเพราะความกตัญูที่มีตอพอแม เนื่องจากพอแมแยกทางกัน บวกกับเปนลูกคนเดียว ทําใหตอนเย็นและวันหยุดจะชวยแมขายอาหารตามสั่งบริเวณซอยเทอดไท ๔๙ นอกจากนี้ สามารถเก็บเงินคาขนมที่แมใหใชจายแตละวันตลอด ๓ ปที่เรียนอยูในระดับมัธยมศึกษาตอนตนดวยการฝากไวกับธนาคารของโรงเรียน จนมีเงินเหลือเก็บกวา ๒ หมื่นบาท ซึ่งไดมอบใหแมหมดทุกบาทเพื่อนําไปใชจายในชีวิตประจําวัน อีกทั้งยังมี เงินเหลือเก็บจากคาขนมที่ เก็บหอมรอมริบมาตั้งแตระดับประถมศึกษาปที่ ๑ จนถึงมัธยมศึกษาปที่ ๒ โดยฝากไวกับธนาคารนอกโรงเรียน ไดจํานวนเงินทั้งสิ้น ๕ หมื่นกวาบาท ทําใหสามารถซื้อคอมพิวเตอรใหตัวเองไดโดยไมตองรบกวนเงินจากแม” “สิ่งที่ยอดติดไวในใจเสมอคือความกตัญู และมีแมเปนแบบอยางของความเขมแข็ง เมื่อแมยังสูกับการเลี้ยงลูกเพียงลําพัง เพราะฉะนั้นในฐานะที่เปนลูกจะตองเขมแข็ง เพื่อเลี้ยงดูแมใหยิ่งกวาที่แมเขมแข็ง ดังนั้นเมื่อโตขึ้นอยากจะเปนแพทยเพ่ือรักษาแมที่เจ็บขา

๑๗๘ เรื่องเดียวกัน, หนา ๑๖.

Page 78 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๖๗

จากการยืนขายอาหารวันละ ๑๓ ชั่วโมง ไดนอนเพียง ๓ ชั่วโมงตอวัน และสิ่งที่ตองการมากที่สุดตอนนี้คือ อยากใหแมหายเจ็บ”๑๗๙ กรณีตัวอยางขางตนนี้ หากเราจะนํามาวิเคราะห เราจะพบวา ผลของความกตัญูที่นองกุลปริยามีตอมารดาของตนเอง สงผลดีหลายประการ ประการที่ ๑ ดานครอบครัว ครอบครัวมีความรัก ความอบอุน ทั้งนี้เพราะฝายมารดาก็ประพฤติตนเหมาะสม อยูในฐานะเปนบูชนียบุคคล เปนแบบอยางที่ดีใหแกบุตรสาวของตน ขณะเดียวกันบุตรสาวไดซึมซับแบบอยางที่ดีงามนั้น สะทอนตอบดวยการแสดงความรูสึก สํานึกคุณ และชวยเหลือกิจการงานของมารดาของตนดวยความเขมแข็ง ประการที่ ๒ ดานเศรษฐกิจ ความกตัญูของนองกุลปริยา สงผลดีตอระบบเศรษฐกิจภายในครอบครัว ทําใหรูจักประหยัดอดออม เพราะมองเห็นวา เงินทุกบาททุกสตางคที่ตนไดมานั้น ไดมาดวยหยาดเหงื่อแรงงานของมารดา ตองรูจักใชเพื่อใหมารดานั้นลําบากนอยลง ซึ่งเทากับเปนการชวยเบาภาระของมารดาในทางออม ประการที่ ๓ ดานการศึกษา ความกตัญูสงผลใหนองกุลปริยาตั้งใจศึกษาเลาเรียน โดยมีปณิธานที่จะเปนแพทย เพ่ือรักษาขาของคุณแมที่เจ็บเนื่องจากตองยืนขายอาหารวันหนึ่งประมาณ ๑๓ ชั่วโมง เปนระยะเวลาหลายป อนึ่ง นอกจากความกตัญูจะมีบทบาทและอิทธิพลตอสังคมโดยตรงดังกลาวเปนตัวอยางแลว ในแงของประเพณีวัฒนธรรมอันดีงามของไทยหลายประการ ก็ไดรับอิทธิพลจากคําสอนเรื่องความกตัญูเปนพ้ืนฐานที่สําคัญ ดังที่มีผูรูไดต้ังขอสังเกตไววา

สังคมไทยมีประเพณีใหความสําคัญตอความกตัญูกตเวที ความกตัญูเปนบอเกิดแหงความรักความผูกพัน ความเอื้ออาทร และความปรารถนาดีตอกัน วิถีชีวิตของสังคมไทยมีการอยูรวมกันเปนกลุม เปนครอบครัวใหญ เนนการพึ่งพาอาศัยกันและกัน การชวยเหลือเกื้อกูลกัน แตละคนในครอบครัวมีความรับผิดชอบตอกัน และตองชวยเหลือกันทํางานตามบทบาทหนาที่ที่ตนเองรับผิดชอบ อันสงผลให เกิด

๑๗๙ http://db.once.go.th/thsied_news/indexl.php?id=23616, ( อางจากหนังสือพิมพคมชัดลึก ฉบับที่ ๑๓๔๒ ประจําวันที่ ๑๗ มิถุนายน ๒๕๔๘, หนา ๑๒.)

Page 79 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๖๘

ขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามของสังคม และขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามของสังคมไทย ลวนแตมีความกตัญูเปนที่ต้ังสําคัญ๑๘๐

ดังนั้นเราจะเห็นไดวาในสังคมไทย คําที่ถือวามงคลสูงสุด ก็คือคําวา “กตัญูรูคุณ” ขณะเดียวกัน คําที่เปนอัปมงคล เปนที่ดูหมิ่นเหยียดหยามมากที่สุดคําหนึ่งก็คือคําวา “อกตัญู” หรือ “เนรคุณ” ซึ่งแสดงใหเห็นถึงอิทธิพลของความกตัญูที่มีตอสังคมวาเปนเรื่องสําคัญ โดยเฉพาะกับผูที่ไดชื่อวาเปนผูใหกําเนิด อันไดแกบิดามารดา ถือวาเปนเรื่องเสียหายรายแรงมาก บางครั้งทานก็ใชคําเรียกลูกที่มีลักษณะดังกลาววา “ลูกทรพี” ซึ่งหมายถึงลูกที่ไมรูจักบุญคุณของพอแม ทํารายพอแม ทําใหพอแมไดรับความทุกขกายทุกขใจ

๑๘๐ พุทธทาสภิกขุ, กตัููกตเวทีเปนรมโพธิ์รมไทรของโลก, (พระนคร : ธรรมสภา, ๒๕๓๖), หนา ๒.

Page 80 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๖๙

บทที่ ๓

การประยุกตเรื่องความกตัญูในลัทธิขงจื๊อกับในพระพุทธศาสนาตอครอบครัว 

๓.๑ การประยุกตเรื่องความกตัญูในลัทธิขงจื๊อตอครอบครัว ๓.๑.๑ ความสําคัญของครอบครัว ในลัทธิขงจื๊อ ครอบครัวมีความสําคัญมาก ไมวาในแงสังคม เศรษฐกิจ การเมือง การศึกษา ครอบครัวอยูในฐานะเปนจุดศูนยกลางทั้งสิ้น ดังคํากลาวที่วา “สาระสําคัญของคําสอนของขงจื๊อก็คือแนวความคิดเกี่ยวกับความสําคัญสูงสุดของสถาบันครอบครัว”๑ จากสถาบันครอบครัวนี้เอง ขงจื๊อโยงไปหากลไกอื่น ๆ ทางสังคม ไมวาจะเปนการศึกษา ก็เริ่มตนที่สถาบันครอบครัว ครอบครัวเปนโรงเรียนสอนศีลธรรม๒ พอแมเปน “ครู” คนแรก ทําหนาที่อบรมกิริยามารยาท จารีตประเพณีที่ดีงามทางสังคมใหลูก ลูกตองเคารพ เชื่อฟง ซึ่งบนพ้ืนฐานหลักการดังกลาว ขงจื๊อก็โยงไปหาการเมือง โดยมองวา รัฐก็คือครอบครัวขนาดใหญ ประชาชนภายในรัฐก็คือพ่ีนองเดียวกัน ประมุขของรัฐก็คือบิดาของประชาชน ประชาชนจึงตองเคารพ และเชื่อฟงผูปกครองหรือประมุขของรัฐเหมือนเคารพและเชื่อฟงบิดา ครอบครัวจึงเปนองคประกอบสําคัญของสังคม ชาวจีนไมถือวาปจเจกชนแตละคนเปนหนวยของสังคม แตถือครอบครัวเปนหนวยของสังคมแทน และถือวา ชีวิตทางการเมืองของประเทศไมไดใหปจเจกชนรับผิดชอบทําหนาที่ใหบริการแกประเทศชาติ แตใหครอบครัวรับหนาที่นั้น๓ หลักคําสอนลัทธิขงจื๊อจึงใหความสําคัญแกครอบครัว และยึดถือความผูกพันกับครอบครัวอยางลึกซึ้ง ในคัมภีรตาสุยทานจึงกลาวประมวลสรุปโยงการเมืองการปกครองรัฐไปหาสถาบันครอบครัวไวดังนี้

๑ พรรณี ฉัตรพลรักษ. “ แนวความคิดดั้งเดิมของชาวจีน” , ใน ศรีสุรางค พูนทรัพย, บรรณาธิการ. อารยธรรมตะวันออก, พิมพครั้งที่ ๔ . (กรุงเทพ ฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, ๒๕๓๖), : ๑๗๖. ๒ อางใน พระมหาบุญเรือง ปฺญาวชิโร, มนุษยนิยมในปรัชญาขงจื๊อ, (กรุงเทพ ฯ : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๔), หนา ๖๑. ๓ ศรีสุข ทวิชาประสิทธิ์, “ลักษณะสังคมจีนยุคเกา”, ใน ศรีสุรางค พูนทรัพย, บรรณาธิการ. อารยธรรมตะวันออก, พิมพครั้งที่ ๔ . (กรุงเทพ ฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, ๒๕๓๖), : ๑๘๓.

Page 81 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๗๐

คนโบราณที่ปรารถนาจะแสดงตัวอยางคุณความดีใหปรากฏอยางชัดแจงไปทั่วโลกนั้น ในเบื้องแรกจะตองตั้งรัฐบาลที่ดีขึ้นในแวนแควนของตนเสียกอน เมื่อปรารถนาที่จะปกครองแวนแควนของตนใหดี ในเบื้องแรกจะตองจัดการครอบครัวของตนใหเปนระเบียบเสียกอน ในการที่จะจัดครอบครัวของตนใหมีระเบียบไดนั้น เบื้องตน จะตองปลูกฝงนิสัยที่ดีใหแกบุคคลทั้งหลายในครอบครัวเสียกอน เมื่อปรารถนาที่จะเพาะนิสัยท่ีดีใหแกบุคคลเหลานั้น จะตองทําจิตใจของคนเหลานั้นใหถูกเสียกอน ในการที่จะทําจิตใจคนเหลานั้นใหถูก จะตองแสวงหาความจริงใจในความคิดของบุคคลเหลานั้นกอน ในการที่จะสรางความจริงใจในความคิดของบุคคลเหลานั้น จะตองขยายความรูของคนเหลานั้นใหมากขึ้นเสียกอน การขยายความรูขึ้นอยูกับการวิเคราะหสิ่งทั้งหลาย เพราะวาเมื่อสิ่งทั้งหลายไดรับการวิเคราะหแลวเทานั้น ความรูจึงจะขยายออกไปได ตอเมื่อความรูขยายออกไปแลวเทานั้น ความคิดจึงจะมีความจริงใจ ตอเมื่อความคิดมีความจริงใจเทานั้น จิตใจจึงจะไดรับการแกไขใหถูกตองได ตอเมื่อจิตใจไดรับการแกไขใหถูกตองเทานั้น คนของเราจึงจะไดชื่อวาไดปลูกฝงนิสัยไวดีแลว ตอเมื่อคนเราไดรับการปลูกฝงนิสัยไวดีแลวเทานั้น ครอบครัวของเราจึงจะมีระเบียบ ตอเมื่อครอบครัวมีระเบียบแลวเทานั้น รัฐจึงจะชื่อวามีการปกครองครองที่ดี ตอเมื่อรัฐมีการปกครองที่ดีเทานั้น โลกจึงจะประสบซึ่งสันติสุข๔

จากขอความที่คัดมาขางตน แสดงใหเห็นถึงความสําคัญของสถาบันครอบครัว และทําใหมองเห็นความเชื่อมโยงของสถาบันครอบครัวกับสถาบันอื่น ๆ ในสังคม โดยเฉพาะสถาบันทางการเมือง และสถาบันการศึกษาซึ่งแฝงอยูในกระบวนของการขัดเกลาจรรยามารยาทที่ดีงาม โดยเฉพาะในสวนของสถาบันทางการเมือง ขงจื๊อกลาวเชื่อมโยงกับสถาบันครอบครัวอยางชัดเจนวา ถากตัญูตอพอแม รักใครกลมเกลียวในหมูพ่ีนองไดแลว ก็ยอม

๔ อางใน จํานงค ทองประเสริฐ,ผูแปล. บอเกิดลัทธิประเพณีจีน ภาค ๑-๓. (กรุงเทพ ฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๗), หนา ๑๖๔.

Page 82 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๗๑

สงผลตอการปกครอง ขณะเดียวกัน ผูใดก็ตามที่สามารถทําใหชนชั้นปกครองที่มีลักษณะเชนนี้ เขาผูนั้นก็ยอมมีสวนชวยในการปกครองประเทศเชนกัน๕

๓.๑.๒ การประยุกตเรื่องความกตัญูตอครอบครัว หัวขอยอยในการวิจัยดังกลาวนี้ ต้ังอยูบนพื้นฐานของแนวความคิดที่วา ขงจื๊อไดใหความสําคัญตอสถาบันครอบครัว และหนึ่งในคําสอนสําคัญที่มุงตรงตอครอบครัวก็คือเรื่องความกตัญู จากคําสอนดังกลาวนี้ ทําใหผูวิจัยต้ังคําถามซอนขึ้นมาเพื่อนําไปสูประเด็นที่ตองการทราบตอไปอีกวา ในคัมภีรคําสอนทางศาสนาของลัทธิขงจื๊อ มีรองรอยของการนําหลักความกตัญูไปใชในบรรดาหมูประชาชน หรือสานุศิษยมากนอยประการใดบาง ในหัวขอนี้จึงมุงสํารวจคัมภีรหลัก ๆ เพื่อดูตัวอยางของการประยุกตหลักกตัญูเพื่อนําไปใชในชีวิตจริง เริ่มตนจะพิจารณาตัวอยางจากคัมภีรลุนยื๊อ (The Analects) ซึ่งถือวาเปนคัมภีรชั้นตน ๆ ที่เชื่อวาเปนคําสอนของขงจื๊อจริง ๆ ในบทที่ ๔ ขอ ๑๘ ขงจื๊อไดกลาวถึงความกตัญูดวยการดูพฤติกรรมของผูที่เปนลูก เชน เรื่องการรับใชพอแม การตักเตือนดวยความเคารพหากทานผิดพลาด แมทานจะไมรับฟง ก็ไมควรแสดงความโกรธเคือง ตองเคารพนอบนอม ไมควรแสดงความนอยอกนอยใจใหทานเห็น๖ ขอที่ ๑๙ บทเดียวกันก็แสดงถึงพฤติกรรมของบุตรวา ไมควรเดินทางไปไหนไกล ๆ ถือวาถาจะไปก็ตองแจงสถานที่ที่จะไปใหทานทราบ๗ พฤติกรรมของลูกเปนอยางไรขณะที่พอแมมีชีวิตอยู เมื่อทานลวงลับไปแลว พฤติกรรมเปนอยางไร ก็เปนอีกวิธีหนึ่งที่จะทําใหทราบถึงความกตัญูในตัวลูกได๘ ในบทที่ ๘ ขอ ๓ เจิงจ่ือลมปวยลง จึงไดเรียกลูกศิษยมาที่ขาง ๆ เตียง พรอมกับดึงผาหมออก พรอมกับกลาวกับศิษยใหดูที่มือ ดูเทาวามีสวนไหนบุบสลายบาง๙ ความหมายที่เจิงจื่อตองการแสดงใหศิษยเห็นดังกลาวนี้จะเชื่อมโยงเรื่องหลักความกตัญู กลาวคือในคัมภีรกตัญูบทแรก ๆ นั้น เนนไปที่ใหลูกดูแลรักษาอวัยวะ หรือรางกายของตนเองใหดี

๕ The Analects, Book 2:21. ๖ The Analects, Book 4:18. ๗ The Analects, Book 4:19. ๘ The Analects, Book 4:20. ๙ The Analects, Book 8:3.

Page 83 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๗๒

เพราะถือวาเปนสมบัติล้ําคาที่รับมาจากบิดามารดา ใครทําไดอยางนี้ถือวาเริ่มตนเปนผูมีความกตัญู ซึ่งขอนี้สะทอนใหเห็นถึงการนําหลักกตัญูมาประยุกตใชไดอยางดีที่สุดตัวอยางหนึ่ง เกณฑเรื่องการไวทุกขใหแกบิดามารดา ๓ ป ยังคงเปนประเด็นที่มีการกลาวถึง และนํามาวิจารณพฤติกรรมของผูคนในสังคม โดยเฉพาะมีคนเห็นแยงวานานเกินไป ระยะเวลาดังกลาวนี้หากไมทบทวน อาจจะทําใหประเพณีดังกลาวเสื่อมไปก็ได ดังนั้นนาจะลดลงเหลือแคปเดียว ซึ่งแสดงใหเห็นวา การไวทุกข ๓ ป ตามเหตุผลท่ีขงจื๊อวา บุตรตองอยูในออมอกของมารดาอยางนอย ๓ ป จึงจะชวยเหลือตัวเองได การไวทุกข ๓ ปจึงชอบดวยหลักการและเหตุผล ซึ่งคําสอนดังกลาวนี้ ยังคงมีอิทธิพลตอสังคมอยู แมระยะเวลาในการไวทุกขจะลดลงตามลําดับมาก็ตาม ในบทที่ ๑๙ ขอ ๑๘ ไดกลาวสรรเสริญการกระทําของเมิ่งจวงจื่อ ซึ่งเปนอํามาตยแควนหลู เมื่อมารับตําแหนงแทนบิดาก็กระทําในสิ่งที่คนอื่นทําไดยาก เมื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมความกตัญูอื่น ๆ ของคนทั่วไป กลาวคือไมเปลี่ยนแปลงขุนนางเกาที่บิดาแตงตั้งเอาไว และไมเปลี่ยนแปลงระเบียบแบบแผนการปกครองของบิดา ซึ่งในทัศนะของเจิงจ่ือถือเปนเรื่องที่ทําตามยากมาก๑๐ ครั้งหนึ่งลูกศิษยถามขงจื๊อวา จะใชคําพูดเพียงคําเดียวแทนคาการปฏิบัติที่ครอบคลุมตลอดชีวิตไดหรือไม ขงจื๊อบอกวา คํานั้นนาจะเปน “การตอนแทน”๑๑ หากเราพิจารณาความหมายของคํานี้ใหดี เราก็จะพบวา บนพื้นฐานของการตอบแทนนั้น มีรากฐานมาจากหลักกตัญูในความหมายที่ขงจื๊อใชอยูนั่นเอง เพราะหลักกตัญูแทจริงแลวก็เปนเรื่องของการ “ตอบแทน” บุญคุณ หรืออุปการะที่ตนไดรับจากบุคคลใดบุคคลหนึ่ง นับตั้งแตวงแคบ เชน บิดามารดา ครู อาจารย มิตร เปนตน กระทั่งขยายกวางออกไป เชน แผนดินที่อาศัย ชาติบานเมือง ซึ่งอยูในฐานะเปนผูมีคุณ หรือสิ่งมีคุณ เทาที่ไดยกตัวอยางบางสวนในคัมภีรลุนยื๊อมา แมจะไมทั้งหมด แตเราก็เห็นรองรอยของการประยุกตใชหลักกตญัูในบรรดาลูกศิษยที่ใกลชิดขงจื๊อ ตลอดคนในสังคมไดในระดับหนึ่ง ซึ่งจากตัวอยางเบื้องตนนี้ ทําใหเราเห็นความเครงครัด และความกวางขวางของความกตัญู ขงจื๊อจึงถือวาเปนเรื่องที่สําคัญที่สุดเรื่องหนึ่งในสังคม

๑๐ The Analects, Book 19:18. ๑๑ The Analects, Book 15:23.

Page 84 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๗๓

คัมภีรตอมาที่ผูวิจัยไดลองสํารวจเรื่องการประยุกตหลักกตัญูก็คือคัมภีรเสี้ยวจิง (The Hsiâo King) คัมภีรนี้แมจะมีผูต้ังขอสังเกตวา ใชคําสอนขงจือ๊แทจริงหรือไม แตเราก็เห็นรองรอยของขงจื๊อในคัมภีรนี้ ซึ่งแสดงใหเห็นถึงความเกี่ยวของที่ขงจื๊อมีตอคัมภีรนี้ และทานเองก็ยึดแนวคําสอนจากคัมภีรไปใชสอนสานุศิษยอยูเนือง ๆ โดยเฉพาะหลักจารีต ซึ่งเปนเรื่องใหญของคัมภีรนี้๑๒ ดังคํากลาวของขงจื๊อท่ีวา “ปณิธานของฉันดูไดจากคัมภีรชุนชิว หลักศีลธรรมจรรยาของฉันดูไดจากคัมภีรเสี้ยวจิง”๑๓ ผูวิจัยละประเด็นที่เปนปญหาที่มาของคัมภีรไว พิจารณาเฉพาะที่เกี่ยวของกับการประยุกตใชหลักกตัญูเทานั้น ในคัมภีรนี้ไดกลาวถึงความกตัญู ๒ ลักษณะ อยางแรกเปนคําอธิบายความหมาย และความสําคัญของความกตัญู ลักษณะตอมาจะเปนการจําแนกแยกแยะวิธีการแสดงความกตัญูในฐานะตาง ๆ โดยเริ่มจากวิธีแสดงความกตัญูตอบิดามารดา ตอเจาฟาเจาแผนดิน ตอเหลาอํามาตยราชบริพาร ตลอดถึงบุคคลทั่วไปที่อยูในฐานะผูมีคุณ ซึ่งถือวาเปนการประยุกตหลักกตัญูเพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุดแกบุคคลทุกฝายในฐานะเปนองคาพยพที่สําคัญที่จะชวยทําใหสังคมโดยภาพรวมเกิดความสุข ผูอยูในฐานะดังกลาวขางตนยอมมีความแตกตางกัน การแสดงความกตัญูของบุคคลเหลานี้จึงมีวิธีปฏิบัติที่แตกตางกันไปดวย การประยุกตหลักความกตัญูมาใชใหถูกหนาที่ หรือฐานะของตนจึงเปนสิ่งสําคัญ เชน ทานแสดงความกตัญูในโอรสสวรรค (กษัตริย) ไววา ผูอยูในฐานะเปนโอรสสวรรคนั้น ถือวาอยูในฐานะสูงสง พฤติกรรมที่แสดงออกจึงเปนเสมือนแบบอยางใหคนไดยึดถือปฏิบัติตามดวย กษัตริยองคใดรักและเทิดทูลบูชาบิดามารดาของพระองค กษัตริยพระองคนั้นยอมไมมีราษฎรคนไหนกลาแสดงความรังเกียจ และดูหมิ่นดูแคลน และความรักและความเคารพนับถือท่ีมีตอบิดามารดานั้น ก็จะ

๑๒ เดิมทีคัมภีรกตัญู (The Hsiao King) เปนสวนหน่ึงของคัมภีรจารีต (The Li Ki) ตอมามีบางทานแยกออกมากลาวตางหาก จึงทําใหดูเหมือนวามีสองคัมภีร ๑๓ James Legge ถอดความหมายตอนนี้จากภาษาจีนเปนภาษาอังกฤษวา My aim is seen in the Khun Khiu; my (rule of) conduct is in the Hsiao King) ดูบทนําใน The Hsiao King, Ch.1:2 (cf. http://www.sacred-texts.com/cfu/sbe03/sbe03177.htm).

Page 85 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๗๔

สงผลใหพระองคมีตอประชาชนดวย ดังคํากลาวของขงจื๊อท่ีวา “เบื้องสูงเคารพผูเฒา เบื้องต่ําก็จะกตัญูตอผูเฒามากขึ้น เบื้องสูงเคารพผูอาวุโส เบื้องต่ําก็จะเคารพรักผูอาวุโสดวย”๑๔ การปฏิบัติเชนนี้ของโอรสสวรรคจึงถือวาเปนความกตัญูตอแผนดิน หรือไพรฟาประชาชน ซึ่งตามหลักคําสอนของขงจื๊อ ประชาชนนั้นเปรียบเหมือนน้ํา กษัตริย หรือผูปกครองนั้นเปรียบเหมือนเรือ น้ําทําใหเรือลอยได ขณะเดียวกันก็ทําใหจมไดเชนกัน๑๕ ประชาชนจึงอยูในฐานะผูมีคุณตอเจาฟาเจาแผนดินดวย ซึ่งขอนี้ผูเปนเจาปกครองก็ตองตระหนัก ใหความสําคัญ ดวยการบําบัดทุกข บํารุงสุขแกประชาชนตามฐานะหนาที่ของตน คัมภีรสุดทาย๑๖ที่จะกลาวถึงในที่นี้คือคัมภีรจารีต (The Li Ki หรือ The Book of Propriety) ซึ่งเปนคัมภีรที่กลาวถึงกฎศีลธรรมจรรยา และขงจื๊อใหความสําคัญสูงสุด ขงจื๊อถือวา กฎศีลธรรมจรรยานั้นเปรียบเหมือนรางกาย ถารางกายผูใดไมสมประกอบผูนั้นก็ยอมไดชื่อวาอยูในฐานะที่ไมสมบูรณ๑๗ ไมสามารถทําบางสิ่งบางอยางที่คนปกติทั่วไปทําได ความกตัญูที่ปรากฏในคัมภีรเลมนี้สวนใหญไมใชเปนเรื่องที่มุงอธิบายความหมาย หากแตเปนการนําเสนอวิธีการแสดงความกตัญูในโอกาสตาง ๆ เชน ถาจะกตัญูตอบิดามารดาจะตองทําอยางไรบาง ถาจะกตัญูตอประเทศชาติบานเมือง ทําอยางไรบาง ผูวิจัยถือวา การแสดง หรือการจําแนกในลักษณะเชนนี้ เปนการนําเสนอหลักประยุกตเพื่อใหเปนแนวทาง และเปนมาตรฐานใหคนไดถือปฏิบัติใหเปนรูปธรรม ตอไปนี้เปนตัวอยางบางตอนของการแสดงความกตัญู

ยามที่บิดามารดาเจ็บไขไดปวย บุตรชาย-หญิงที่กําลังอยูในวัยรุนไมควรใชหวี ยามเดินก็ไมควรเดินกระแทกพื้น ไมควรพูดเรื่องไรสาระหาประโยชนไมได ไมควรถือเครื่องดีดสีตีเปาในมือ ไมควรเปลี่ยนรสชาติอาหารทุกมื้อกระทั่งลิ้นรับรสเปลี่ยนไป ไมควรดื่มกระทั่งภาพลักษณ

๑๔ เจาหยุย, ฉางตวนจิง, อธิคม สวัสดิญาณ ผูแปล. (กรุงเทพ ฯ : สํานักพิมพสุขภาพใจ, ๒๕๔๐),หนา ๑๓๙. ๑๕ อูจิง, คัมภีรฮองเต, อธิคม สวัสดิญาณ ผูแปล. (กรุงเทพ ฯ : สํานักพิมพดอกหญา, ๒๕๔๐), หนา ๒๓. ๑๖ คัมภีรที่สําคัญในลัทธิขงจื๊อมีทั้งหมด ๑๐ คัมภีร ผูวิจัยนํามากลาวในที่นี้เพียง ๓ คัมภีรเทานั้น เพราะหากนํามากลาวทั้งหมด เนื้อความก็เฝอ ๑๗ The Li Ki, Book. VII,Sect. II.

Page 86 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๗๕

เปลี่ยนไป ไมควรหัวเราะจนเห็นฟน ไมควรแสดงความโกรธกระทั่งแสดงถอยคําหยาบคายออกมา๑๘

เมื่อบิดามารดาปรารถนาจะนั่งในที่ใดก็ตาม ลูก และลูกสะใภควรนําเสื่อมาให พรอมทั้งถามวาจะใหปูตรงไหน ถาทานปรารถนาจะนอน ลูกคนโตสุดเปนผูนําเสื่อมา แลวถามทานวา จะวางเทาไปทางทิศไหน สวนลูกคนเล็กสุดใหนําตั่งเล็ก ๆ มาเพื่อใหทานรองเวลาเหยียดเทา๑๙

ยามที่บิดามารดายังมีชีวิตอยู ในระหวางมืออาหารแตละมือ ไมวาจะเปนเชาหรือเย็น ลูกและลูกสะใภจัดแจงใหทานรับประทานจนอิ่มแลวตนเองกับภรรยาจึงคอยรับประทานสวนที่เหลือจากทาน๒๐

จากตัวอยางโดยสังเขปเทาที่กลาวมานี้ แสดงใหเห็นไดในระดับหนึ่งวาในคัมภีรลัทธิขงจื๊อ มีรองรอยของการประยุกตใชหลักกตัญูในหลาย ๆ ลักษณะ ซึ่งแสดงใหเห็นถึงการใหความสําคัญกับหลักคําสอนของขงจื๊อไดอีกทางหนึ่งดวย การที่ขงจื๊อเนนเรื่องความกตัญูเปนเรื่องสําคัญ ก็เพราะวา ความกตัญูนี้จะเปนรากฐานที่จะทําใหทุกฝายตางเห็นอกเห็นใจกัน เขาอกเขาใจ รักใครปรองดองกันฉันทพ่ีนอง อันจะนํามาซึ่งความสงบสุขของคนในสังคม ซึ่งขงจื๊อก็เห็นวา ไมมีอะไรที่จะสอนใหคนมีความรักใครปรองดองกันไดดีเทากับความกตัญู๒๑

๓.๑.๓ การประยุกตใชเรื่องความกตัญูในสังคม ในหัวขอการประยุกตใชเรื่องความกตัญูนี้ เราจําเปนตองพิจารณาสังคมจีนนับตั้งแตอดีต กระทั่งถึงปจจุบัน โดยในวิทยานิพนธนี้ ผูวิจัยศึกษาทั้งในสังคมจีน และคนจีนสังคมไทยไปพรอม ๆ กัน ก. การประยุกตใชเรื่องความกตัญูในสังคมจีน ในสังคมจีน ความกตัญูถือวาเปนคุณธรรมแกนกลางที่เชื่อมโยงความสัมพันธตาง ๆ ทางสังคมอยางโดดเดนที่สุดหลักธรรมหนึ่ง ไมวาจะในแงสังคม การเมืองการปกครอง

๑๘ The Li Ki, Book. I,Pt. IV,1. ๑๙ The Li Ki, Book X, Sect.I,8. ๒๐ The Li Ki, Book X, sect.I,10. ๒๑ The Hsiâo King, Ch. XII.

Page 87 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๗๖

เศรษฐกิจ การศึกษา การสาธารณสุข ความกตัญูลวนมีบทบาทที่สําคัญยิ่ง ทั้งในอดีต กระทั่งถึงปจจุบัน เพ่ือใหเห็นภาพที่ชัดเจน จะไดนํามาพิจารณาเปนประเด็น ๆ ไป

๑. ในแงสังคม ในแงสังคม ผูวิจัยศึกษาจากรองรอยที่ไดมีการบันทึกไวจากที่ตาง ๆ ซึ่งแสดงใหเห็นถึงพฤติกรรมของความกตัญูจนเปนที่กลาวขาน และยกยองเปนที่ปรากฏวาเปนแบบอยางที่ดีงามแกอนุชนรุนหลัง

เรื่องแรก

เปนเรื่องราวที่เกิดขึ้นในสมัยชุนชิว เปนยุคกอนหนาที่ขงจื๊อจะถือกําเนิดขึ้น ผูวิจัยยกเรื่องนี้ขึ้นมากลาวเปนเบื้องตนเพราะตองการแสดงใหเห็นวา เรื่องความกตัญูนี้เปนเรื่องเกาที่ไดรับการปลูกฝงมาตั้งแตโบราณมาแลว และขงจื๊อเองก็นํามาเนนย้ําเพื่อใหคนไดตระหนักถึงความสําคัญ โดยพยายามเชื่อมความสัมพันธในหลายมิติทางสังคม โดยไมผูกติดคับแคบอยูเฉพาะเรื่องระหวางบุตรธิดากับบิดามารดาเทานั้น มีเรื่องวา ทั่มจือเปนผูมีความกตัญูตอบิดามารดายิ่งนัก มารดาเขาปวยกระเสาะกระแสะ และเปนโรคตามาชานาน ทั่มจือพยายามหาซินแสมารักษาหลายรายก็ไมหาย อยูมาวันหนึ่งมีคนมาบอกวา ถาเอาน้ํานมกวางมาหยอดตาใหมารดาก็จะหาย ทั่มจือใหคนไปหาซื้อแมกวางมาเพื่อจะไดรีดนมแตก็หาไมได ตนเองจึงไดไปขอยืมหนังกวางจากพรานปาเอามาคลุมตัว แลวก็บุกเขาไปในปาหลายวัน พบฝูงกวางเขาก็เล็ดลอดเขาไปปะปนอยูในฝูงกวาง แลวรีดเอานมกวางใสกระปอง เวลาเดียวกันก็มีนายพราน ๒ คนมาดักซุมยิงกวาง เขาเกือบถูกนายพรานยิงดวยลูกธนูเพราะความสําคัญผิด เดชะบารมีความกตัญูของเขาชวยคุมครองจึงพนภัยอยางหวุดหวิด เมื่อพรานทั้งสองทราบวาเขาคือทั่มจือที่เอาหนังกวางมาคลุมตัวแอบเขาไปรีดน้ํานมกวางเพื่อทํายารักษาตามารดา ก็ยอตัวคุกเขาคํานับดวยความเคารพ ตอมาพฤติกรรมดังกลาวไดลวงรูถึงชาวบาน ทุกคนตางพากันยกยองสรรเสริญในความกตัญู ทําใหเขาเปนที่เคารพยําเกรงตอผูคนทั้งหลายมากยิ่งขึ้น๒๒

๒๒ ร. บุนนาค, เรียบเรียง. ๒๔ ยอดกตัญู, (กรุงเทพ ฯ : ธรรมสภา จัดพิมพ, มปป.), หนา ๓๗.

Page 88 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๗๗

เรื่องที่ ๒ เกิดขึ้นในยุคสมัยขงจื๊อมีชีวิตอยู และขงจื๊อไดกลาวสรรเสริญเรื่องนี้ในหมูศิษยของตนใหถือเอาเปนเยี่ยงอยาง เรื่องมีอยูวา จือเคียน กําพรามารดาแตเยาว บิดาแตงงานใหมกับนางมั่งสี และมีบุตรดวยกัน ๒ คน นางมั่งสีไมคอยชอบจือเคียน และมักหาเรื่องกลั่นแกลงอยูตลอดเวลา บางครั้งก็หาเรื่องใหสามีดุดาเฆี่ยนตีเนือง ๆ แตเมี่ยนเต็กผูเปนบิดาเปนคนมีเหตุมีผล จิตใจหนักแนน จึงปลอบโยนภรรยาดวยเหตุผลวา “จือเคียนยังเล็กนัก แมจะไมใชเลือดเนื้อเชื้อไขของนาง แตเขาก็เปนเลือดเนื้อของพี่ ความจริงแลวจือเคียนก็รักนางเหมือนแมจริง ๆ และรักนองทุกคน เจาเฆี่ยนตีลูกอยางหาความผิดมิไดนั้นเปนการสมควรแลวหรือ แลวจะใหลูกหันหนาไปหาใคร พ่ึงแม แมก็เกลียดชัง พ่ึงพอพอก็ดุราย ทางที่ดีควรจะสงสารเอ็นดูมนั” แตถึงกระนั้นนางก็หาคลายความชิงชังไม กาลเวลาผานไปยางฤดูหนาว จือเคียนอายุได ๑๓ ขวบ นางมั่งสี มารดาเลี้ยงก็ทําเสื้อกันหนาวใหบุตรสวมใสคนละตัว วันหนึ่งหิมะตกหนัก อากาศหนาวจัด บิดาใชจือเคียนใหขับรถนั่งไปกิจธุระ ระหวางทางจือเคียนหนาวสั่นสะทานจนมือเทาชา จนบังคับบังเหียนรถไมได ทําใหบังเหียนหลุดจากมือ เมี่ยนเต็กสังเกตเห็นรอยเสื้อขาด ซับในกรึงดวยโลฮั้วแทนที่จะเปนกรึงดวยสําลี ทําใหตานทานความหนาวไมได ก็สงสัยวาภรรยาแสรงทําดีดวยประสงครายตอบุตรของเขา เมื่อกลับมาถึงบานเมี่ยนเต็กจึงตรวจดูเสื้อท่ีนางทําใหบุตรที่เหลือพบวาเปนสําลีทั้งหมด ทําใหเขาเกิดความแคนใจยิ่งนักที่นางไมฟงคําตักเตือนของตน อีกทั้งยังคงแสดงความไมเปนธรรมกับลูกเหมือนเดิม เมี่ยนเต็กจึงไดขับไลนางออกจากบาน จือเคียนทราบขาวจึงรีบวิ่งไปคุกเขาตอหนาบิดาพรอมกับกลาววา “แมอยู ลูกหนึ่งหนาว แมไป สามลูกโดด” แลวก็ออนวอนบิดาวาอยาขับไลมารดาเลย โดยอางวา ถาแมไปนองทั้งสองก็จะลําบาก ตัวเขาจะออกจากบานเสียเองมารดาจะไดสบายใจ นางมั่งสีไดยินลูกเลี้ยงกลาวเชนนั้นก็น้ําตาไหล ซาบซึ้งในมโนธรรมของลูกเลี้ยง พรอมทั้งสํานึกผิด ใหจือเคียนอดโทษให และนับตั้งแตบัดนั้นเปนตนมา นางก็รักจือเคียนเหมือนลูกในไส เหตุการณนี้ลวงรูถึงขงจื๊อ ขงจื๊อสรรเสริญวา จือเคียนเปนบุตรที่มีความ

Page 89 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๗๘

กตัญูเปนอยางยิ่ง ควรถือเอาเปนยิ่งอยาง จือเคียนภายหลังตอมาไดเปนปราชญ ๑ ใน ๗๒ คนของลัทธิขงจื๊อ๒๓

เรื่องที่ ๓ เกิดขึ้นในสมัยราชวงศเสวยถาง เกิดขาศึกมาประชิดบานเมือง จําเปนตองมีการเกณฑประชาชนไปเปนทหารเพื่อตานขาศึกทุกบาน บานของมุหลานมีชายเพียงคนเดียวเทานั้นคือบิดาซึ่งทานก็อายุมากแลว ทั้งสุขภาพก็ไมคอยดีนัก มุหลานสํานึกในความกตัญู ตองการแบงเบาภาระผูเปนบิดา จึงปลอมตัวเปนชาย และเปนทหารอยูในสนามรบเปนระยะเวลา ๑๒ ป โดยไมมีใครทราบเลยวาเปนหญิง อยูมาวันหนึ่งเมื่อความจริงปรากฏ เกียรติประวัติของเธอจึงเลื่องระบือไปทั่วทุกสารทิศ ความทราบถึงองคจักรพรรดิ พระองคจึงมีพระบรมราชโองการใหรับเขาวังเพื่อเปนสนม นางทราบขาวจึงไดฆาตัวตาย องคจักรพรรดิทรงสลดพระทัยเปนอยางยิ่ง จึงไดทรงพระราชทานบรรดาศักดิ์ใหเปน “เซี่ยวแลวเจี้ยงจวิน” หมายถึงแมทัพผูเปยมไปดวยกตัญูกตเวทิตาธรรม๒๔ งานนิพนธเรื่องมนุษยนิยมในปรัชญาขงจื๊อ ผูวิจัยไดกลาวถึงลักษณะครอบครัวของคนจีนตั้งแตอดีตถึงปจจุบันไว ๔ ประการ คือ๒๕ ๑. พอเปนผูนําและเปนใหญแตเพียงผูเดียว วัฒนธรรมจีนอาศัยเพศเปนเครื่องกําหนดสถานภาพของบุคคล เพศชายจะมีบทบาทและความสําคัญมากกวาเพศหญิง แนวความคิดดังกลาวขยายขอบเขตไปถึงการเมืองการปกครองดวย การเมืองการปกครองของจีนสวนใหญเปนเรื่องของผูชาย ผูหญิงทําหนาที่เฉพาะภายในบานเทานั้น ๒. เปนครอบครัวขนาดใหญ หรือครอบครัวขยาย คนจีนนิยมอาศัยอยูในครอบครัวเดียวกัน แมลูก ๆ จะแตงงานไปแลวก็ตาม ครอบครัวจีนเปนไปในลักษณะที่วา หาชั่วคนรวมเรือน และสามชั่วคนครบถวนสมบูรณ ซึ่งหมายถึงปู ทวด พอ ลูก และหลาน อาศัยอยูในบานเดียวกัน มีการเคารพกันตามลําดับอาวุโส ผูใหญมีหนาที่อบรมสั่งสอนผูนอย ผูนอยเคารพและเชื่อฟงผูใหญ ตางใหเกียรติกันและกัน อยูรวมกันอยางมีความสุข

๒๓ ดูรายละเอียดใน ร. บุนนาค, เรียบเรียง. ๒๔ ยอดกตัญู, (กรุงเทพ ฯ : ธรรมสภา จัดพิมพ, มปป.), หนา ๒๙-๓๐. ๒๔ ภาพแสดงคุณธรรมแปดประการคําสอนของขงจื๊อ ใน สิน วิภาวสุ ผูแปล. เจาะประวัติขงจื๊อ, (กรุงเทพ ฯ : สํานักพิมพสมาพันธ จํากัด, ๒๕๓๗),หนา ๑๒. ๒๕ พระมหาบุญเรือง ปฺญาวชิโร, อางแลว, หนา ๗๙-๘๐.

Page 90 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๗๙

๓. ยึดความกตัญูเปนเรื่องสําคัญสูงสุด ความกตัญูเปนบทเรียนแรกที่บุตรธิดาจะตองเรียนรู ในสังคมจีน บุตรธิดาที่ถูกตราหนาวาเปนคนอกตัญู ถือวาเปนเรื่องรายแรงมาก ความกตัญูเปนคุณธรรมที่เปนแกนกลางของครอบครัว ในขณะเดียวกันก็ขยายขอบเขตไปยังสังคม และการเมืองดวย ภายใตบรรยากาศดังกลาว การเคารพเชื่อฟงบิดามารดาจึงเปนเรื่องสําคัญมาก แมในยามทานลวงลับไปแลว ผูเปนบุตรธิดาก็ตองปฏิบัติเสมือนหนึ่งวาทานยังมีชีวิตอยู ๔. ครอบครัวเปนพ้ืนฐานทางสังคม คนจีนแมจะมีสถานะทางสังคมแตกตางกัน แตสิ่งหนึ่งที่เหมือนกันก็คือการใหความสําคัญแกสถาบันครอบครัว ยึดถือความผูกพันภายในครอบครัวเปนเรื่องสําคัญ สมาชิกในครอบครัวชวยเหลือเกื้อกูลกัน เขาทํานอง “มีสุขรวมเสพ มีทุกขรวมตาน” อิทธิพลขอนี้ ขยายขอบเขตไปถึงการทําธุรกิจการงานดวย สังเกตไดจากธุรกิจที่ดําเนินการโดยคนจีน มักจะเปนธุรกิจแบบครอบครัว ผูวิจัยเห็นวา จากลักษณะที่สําคัญของสังคมจีนดังกลาวขางตน บางขอแสดงใหเห็นถึงอิทธิพลของความกตัญูอยางเห็นไดชัด โดยเฉพาะขอ ๓, ขอ ๒, และขอ ๔ ตามลําดับ

ความกตัญูกตเวทีตอพอแมบังเกิดเกลา เคารพเทิดทูนเมื่อทานยังมีชี วิตอยู และเซนไหวดวงวิญญาณเมื่อทานลวงลับไปแลวนั้น เปนแกนกลางของแบบแผนสังคมจีน...คําขวัญ คําเรียกรองซึ่งบรรพบุรุษผูลวงลับทิ้งไว มุงปลุกเราใหอนุชนรุนหลังแสวงหาชื่อเสียงอันรุงโรจนยิ่งขึ้นอีก๒๖

มีขอสังเกตหลายประการเกี่ยวหลักกตัญูที่เกี่ยวของกับสังคมจีน เชน การที่คนจีนหยั่งรากฝงลึกในภูมิลําเนาของตัวเอง การที่คนจีนไมชอบจากบานเกิดบรรพชนของตน การทุมเทอุทิศตัวเองใหกับหมูบานถิ่นเกิด การแสดงความเอาใจใสหวงใยบิดามารดาผูชราเมื่อยามทานมีชีวิต การรําลึกไวอาลัยทานอยางถูกตองเหมาะสมเมื่อทานลวงลับไปแลว การประกอบพิธีเบื้องหนาศาลบรรพชน การไปเยี่ยมเซนไหวฮวงซุยของครอบครัว เปนตน ซึ่งทั้งหมดนี้คนจีนถือวาเปนหนาที่หลักของลูกที่มีความกตัญูจะตองปฏิบัติ หลิน ปนจึงแสดงอุปมาเปรียบเทียบวา ความกตัญูรูคุณดังกลาวนี้เปนเหมือนสมอหลักที่ตอกตรึงฝงแนนคน

๒๖ หลิน ปน. อ่ึงตี่เก้ีย : เร่ืองราวของชาวจีนโพนทะเลทั่วโลก, เกษียร เตชะพีระ, ผูแปล. (กรุงเทพ ฯ : สํานักพิมพคบไฟ, ๒๕๔๐), หนา ๓๗.

Page 91 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๘๐

จีนใหติดอยูกับถิ่นกําเนิดของตนเอง๒๗ ทุกคนในครอบครัวที่พอมีฐานะอยูบางจะตองจัดใหมีฮวงซุยของตนเอง และถาเกิดมีใครพลัดบานไปตายในตางถิ่นตางแดน ทางครอบครัวก็จะพยายามทุกวิถีทางที่จะขนยายศพกลับมาฝงที่สุสานบรรพชนใหจงได เหลานี้ลวนเปนผลที่เกิดจากความกตัญูทั้งสิ้น

๒. ในแงการเมืองการปกครอง มีขอสังเกตเกี่ยวกับเรื่องความสัมพันธระหวางความกตัญูกับการเมืองการปกครองวา

ประเพณีที่บุตรจะตองมีความกตัญูตอบิดามารดานั้นเปนเรื่องการเมืองอยางชัด ๆ ทีเดียวในฐานะเปนกําลังฝายอนุรักษนิยมที่มีอํานาจอยูในราชสํานัก นับวาเปนเครื่องหมายแหงการแสดงความเคารพตอบรรพบุรุษในราชวงศของตน โดยเฉพาะอยางยิ่งตอผูที่ต้ังราชวงศ ซึ่งกษัตริยจะตองรักษาสถาบันตาง ๆ ที่ไดรับสืบตอมานั้นไวโดยไมเปลี่ยนแปลง โดยเฉพาะในยุคหลัง ๆ ความกตัญูที่บุตรจะตองมีตอบิดามารดานี้ ไดพิสูจนใหเห็นวาเปนเครื่องกีดขวางการปฏิรูปทางสถาบันไดอยางชะงัดทีเดียว ผูที่ชอบเปลี่ยนแปลงจะไมสามารถเลิกลมสิ่งที่ราชวงศไดเคยประพฤติปฏิบัติมากอนแลวไดงาย ๆ เพราะหากทําเชนนั้น ก็จะกลายเปนวา ไมมีความกตัญูตอบรรพบุรุษขององคจักรพรรดิไป๒๘

จากขอความดังกลาว แสดงใหเห็นความจริงอยางนอย ๒ ประการ ประการแรกมีการนําความกตัญูไปประยุกตใชในระบบการเมืองการปกครอง ประการตอมา ความกตัญูดังกลาวชวยปองกันการปฏิวัติ การเปลี่ยนแปลง การลมเลิกจารีต หรือธรรมเนียมอันเปนสิ่งที่บรรพบุรุษไดวางเปนแบบแผนไวแลว ความกตัญูตอบิดามารดาจึงมีผลถึงตอความคิดและการปฏิบัติในทางการเมืองดวย ขอนี้เราสามารถพิจารณาขอเท็จจริงทางประวัติศาสตรชวงใดชวงหนึ่งของจีนดูก็จะเห็นชัด

๒๗ เร่ืองเดียวกัน, หนา ๕๓.

๒๘ จํานงค ทองประเสริฐ, ผูแปล. บอเกิดลัทธิประเพณีจีน ภาค ๑-๔, (กรุงเทพ ฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๗), หนา ๒๓๕.

Page 92 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๘๑

ตัวอยางประวัติศาสตรในชวงราชวงศฮั่น ซึ่งถือวาเปนยุคทองของลัทธิขงจื๊อ ในยุคนี้บรรดาองคจักรพรรดิ และเหลาเสนาอํามาตยทั้งหลายลวนแลวแตสนับสนุนลัทธิขงจื๊อทั้งสิ้น๒๙ ความกตัญูไดเขามามีบทบาทสําคัญกลาวคือ กษัตริยจะไดขึ้นครองราชยสมบัติก็ตอเมื่อพระราชบิดาสวรรคตแลวเทานั้น รัชทายาทที่มีความกตัญูจะไมมีทางทําการโคนอํานาจพระราชบิดาของตนลงแลวสถาปนาตนเองขึ้นเปนกษัตริยแทน เพราะหากทําเชนนั้นก็เทากบัเปนการอกตัญู ขาดการยอมรับและมักไดรับการประณามจากประชาชน ในความเปนจริงแลว หลักคําสอนของขงจื๊อมีความเชื่อมโยงกับสถาบันการเมืองมาอยางลึกซึ้ง คัมภีรคําสอนทางศาสนาของขงจื๊อ กลายเปนคัมภีรใชสําหรับการสอบคัดเลือกเขาสูระบบราชการมาหลายยุคหลายสมัย สวนหนึ่งคําสอนของขงจื๊อจึงมีอิทธิพลตอการบริหารประเทศทั้งโดยตรง และโดยออม

๓. ในแงเศรษฐกิจ เนื่องจากสถาบันครอบครัวของจีนมีฐานะเปนหนวยทางเศรษฐกิจดวย ดังนั้นการอภิปรายถึงอิทธิพลคําสอนของขงจื๊อท่ีมีตอเศรษฐกิจจึงตองเริ่มพิจารณาจากคําสอนซึ่งเกี่ยวของกับสัมพันธภาพภายในครอบครัวเปนรากฐาน โดยเฉพาะคุณธรรมที่สําคัญยิ่ง และถือเปนแกนหลักของครอบครัวก็คือความกตัญูกตเวที๓๐ ในบทที่ ๑ แหงคัมภีรกตัญู (The Hsiâo King) เองก็ไดตอกย้ําความสําคัญนี้ดวยการกลาววา จุดเริ่มตนของความกตัญูคือการดูแลชีวิต รางกายตัวเองใหปลอดภัย ไมใหเกิดอันตราย ขณะที่เปาหมายสูงสุดของความกตัญูก็อยูที่บุตรสามารถสรางชื่อเสียงแกวงศตระกูลของบิดามารดาใหขจรขจายเปนที่ยอมรับนับถือของคนทั้งหลาย๓๑ จากบทที่ ๑ ของคัมภีรกตัญู แมทานจะแสดงไวเพียงแค ๒ ประการ คือ ๑) การรักษาสุขภาพพลานามัย ๒) การสรางฐานะชื่อเสียงใหปรากฏ แตทั้งสองประการนี้ ยอมมีความเกี่ยวของกับเศรษฐกิจโดยตรง ประเด็นแรก การรักษาสุขภาพพลานามัยใหสมบูรณ แข็งแรง ปราศจากโรคภัยไขเจ็บ มีผลอยางไรตอเศรษฐกิจ ขอนี้หากเราไปศึกษาแนวความคิดของชาวจีนอยางถองแทแลว

๒๙ พระมหาบุญเรือง ปฺญาวชิโร, อางแลว, หนา ๘๒. ๓๐ เร่ืองเดียวกัน, หนา ๘๘. ๓๑ The Hsiao King, Ch. I.

Page 93 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๘๒

จะเห็นไดวา คนจีนนั้นถือวา “รางกายมีสุขภาพอันดีเปนตนทุนที่สําคัญที่สุด”๓๒ ประเด็นดังกลาวนี้ยอมเปนที่ประจักษดวยเหตุผลโดยไมยาก เพราะคนเรานั้นสุขภาพรางกายนั้นถือวาเปนเรื่องสําคัญ หากแมสุขภาพรางกายไมเอื้ออํานวย เชน เจ็บปวยออด ๆ แอด ๆ ประเภทสามวันดี สี่วันไข การจะประกอบสัมมาอาชีพเพื่อใหเกิดความมั่นคง หรือมั่งคั่งในครอบครัวยอมเปนไปไดยาก ซ้ํารายบางทีอาจตองสูญเสียทางดานเศรษฐกิจ ตองเสียเงินเสียทองในการรักษาเนื้อรักษาตัว พวกคนจีนจึงใหความสําคัญกับสุขภาพรางกายเปนอยางมาก โดยเฉพาะเรื่องอาหารการกิน จะพิถีพิถันเปนกรณีพิเศษ ประเด็นที่สอง เรื่องการสรางฐานะทางครอบครัวใหมั่นคง มีชื่อเสียงเปนที่ปรากฏ ในแงที่เกี่ยวของกับความกตัญู บุตรที่มีความกตัญูยอมพยายามสรางเนื้อสรางตัวดวยความขยันขันแข็ง เพ่ือความมั่นคงของครอบครัว ความกตัญูทําใหเขาไดรับความเชื่อถือทางธุรกิจดวย ตรงกันขามบุตรคนใดอกตัญู ไมรูคุณบิดามารดา บุตรคนนั้นยอมถูกทอดทิ้ง แมในทางธุรกิจยอมไมมีใครปรารถนาจะทํามาคาขายดวย ในแงสังคมก็จะไมเปนที่เชื่อถือ เปนที่รังเกียจของคนทั้งหลาย เพราะคนจีนถือวา บรรดาคนเลวทั้งหลาย คนเลวที่สุดก็คือคนอกตัญู๓๓

๔. ในแงการศึกษา หากพิจารณาจากกรอบของความกตัญูที่วา การสรางชื่อเสียงวงศตระกูลใหเปนที่เชิดหนาชูตาของคนทั้งหลาย เปนเปาหมายสูงสุด การศึกษานับเปนวิถีทางหนึ่งที่จะชวยเชิดหนาชูตาของวงศตระกูลได แมอยูในฐานะยากจน แตหากไดรับการศึกษาอยางดี ยอมมีโอกาสไดเขารับราชการ มีตําแหนงหนาที่การงานสูงสง โดยสวนตัวของขงจื๊อเองทานใหความสําคัญเกี่ยวกับการศึกษามาก โดยทัศนะสวนตัวของทาน คนแตละคนแมจะมีสูง มีตํ่าตามฐานะ แตถาเปนเรื่องการศึกษาแลว ทุกคนมีสิทธิ์เทาเทียมกัน๓๔ ดังนั้นทานจึงเปนบุคคลแรกในประวัติอารยธรรมของจีนที่ไดดําเนินกิจกรรมในดานการศึกษา ทานไดปลุกจิตสํานึกใหหนุมสาวหันมาสนใจศึกษาหาความรู โดย

๓๒ จําลอง พิศนาคะ, เรียบเรียบ. เคล็ดลับการคาของคนจีน, (กรุงเทพ ฯ : สํานักพิมพขาวฟาง, ๒๕๔๐), หนา ๔. ๓๓ พระมหาบุญเรือง ปฺญาวชิโร, อางแลว, หนา ๙๐. ๓๔ The Analects, Book 15:39.

Page 94 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๘๓

เฉพาะที่ผูที่มุงหวังความเจริญกาวหนาในราชการ ขอนี้ก็เปนปจจัยสําคัญที่ทําใหตอมา คําสอนของทานไดเปนแบบฉบับของตําราเรียนที่ใชในการสอบคัดเลือกผูที่จะเขารับราชการนับชวงเวลาหลายราชวงศ เชน ราชวงศซุย ถัง ซอง หงวน เหม็ง เช็ง เปนตน ซึ่งในยคุนี้เองทําใหเกิดตํานานของการสอบ “จอหงวน” การสอบจอหงวน เปนระบบการสอบคัดเลือกเพื่อหาคนที่มีความรูความสามารถไปรับใชชาติบานเมืองตั้งแตระดับตน ๆ กระทั่งถึงขั้นสูงสุด คือไดเขาไปรับราชการในรั้วในวัง ซึ่งถือวาเปนความหวังสูงสุดของคนในสังคม เพราะจะไดเปนขุนนางที่มีบทบาทสําคัญ ซึ่งแนนอน ผูผานเขามาถึงจุดนี้ ยอมทําใหครอบครัว ชื่อเสียงของวงศตระกูลพลอยเปนที่รูจักไปดวย เปาหมายสุดทายจึงมามีความเกี่ยวของกับความกตัญูอยางเห็นไดชัด

๕. ในแงการสาธารณสุข คนจีนใหความสําคัญกับสุขภาพอนามัยมาก เพราะเขาถือวา การจะตอบแทนบิดามารดาไดนั้น ถาหากสุขภาพรางกายของตนเองไมดีเสียแลว ยอมสงผลตอบิดามารดาอยางนอย ๒ ประการ คือ ๑) ทําใหทานเปนหวง และ ๒) เมื่อสูญเสียสุขภาพที่ดีไปแลว ก็ยอมสูญเสียโอกาสที่จะไดแสดงความกตัญู ในคําสอนของขงจื๊อ มีขอความหลายแหงในคัมภีรที่แสดงความหวงใยเรื่องสุขภาพเชื่อมโยงไปยังเรื่องความกตัญูดวย โดยเฉพาะในบทแรกของคัมภีรกตัญู (The Hsiâo King) ไดกลาววา การดูแลรักษาสุขภาพรางกายใหดี เปนบทเรียนแรกของการแสดงความกตัญู๓๕ คําสอนดังกลาวนั้น ไดถูกนํามาตอกย้ําใหหนักยิ่งขึ้น ถึงกับตอมามีคํากลาวที่วา “ใครทําตัวไมเหมาะสม กินตะกละตะกลาม ทําใหเกิดโรค จบชีวิตลงไปในวันอันไมสมควร คนนั้นชื่อวา อกตัญู”๓๖ ขอความดังกลาวนี้แมจะเปนขอความที่เกิดขึ้นมาใหม แตถาจะยอนรอยอดีตกลับไปดูรองรอยในคําสอนของขงจื๊อก็จะเห็นชัดเจนวา ขอความในลักษณะดังกลาวนี้ มีสอนมานับพันปแลว เพียงแตถูกนํามาปรับปรุงแลวนําไปพูดใหมเทานั้น

ข. การประยุกตใชเรื่องความกตัญูในสังคมไทย ในสังคมไทย แมคนไทยสวนใหญจะนับถือพระพุทธศาสนา แตอิทธิพลแนวคําสอนของขงจื๊อท่ีมีตอสังคมไทยก็มีไมใชนอย ทั้งนี้เพราะเหตุวา คนไทยไดรับเอาประเพณีและ

๓๕ The Hsiâo King, Ch. I. ๓๖ สิน วิภาวสุ, ปรัชญาการดํารงชีพ, (กรุงเทพ ฯ : สํานักพิมพวังเดิม,๒๕๔๒), หนา ๒๓.

Page 95 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๘๔

วัฒนธรรมหลายอยางจากคนจีน อาจจะกลาวไดวา เปนรองก็เฉพาะแตพระพุทธศาสนาเทานั้น ดังนั้นจึงไมใชเรื่องแปลกที่เราจะไดพบขอความที่บงบอกถึงอิทธิพลของคําสอนเรื่องความกตัญูซึ่งถอดแบบมาจากคําสอนของขงจื๊ออยางเดนชัดจนสามารถระบุไดวา คําสอนเรื่องความกตัญูที่สอนในลักษณะนี้ ไมใชไดรับอิทธิพลจากพระพุทธศาสนาอยางแนนอน ขอใหพิจารณาดูตัวอยางตอไปนี้

คนโบราณกลาววา รางกายของคนเราไดรับจากพอแม เริ่มตนจากฟาดิน มีบิดามารดาและฟาดินเปนเหตุปจจัยจึงเกิดมา ไดรับการเลี้ยงดูและอบรม แมวาจะเปนของ ๆ ตนเอง หากแตจะอยูรอดดวยตนเองก็หาไม ชวิีตของเราฟาดินไดประทานมา บิดามารดาเปนผูใหกําเนิด ดังนั้นเราตองทะนุถนอมรางกายของเรา ใหความสนใจในการปองกันชีวิต รักษาสุขภาพ รางกายของเราลวนมีพ้ืนฐานมาจากฟาดินและบิดามารดา เมื่อสูญเสียรางกาย ก็หมดโอกาสจะไดแสดงความกตัญูกตเวที....สิ่งทั้งหลายทั่วรางกายก็ไดรับจากพอแม แมกระทั่งผิวหนัง เสนผมก็ไดมาจากพอแม ดวยเหตุนี้ เราจึงไมมีเหตุผลอันใดที่จะปลอยรางกายของเราใหไดรับอันตราย ไมมีเหตุผลอันใดที่จะไมแสดงความกตัญูกตเวที๓๗

เหตุผลที่เราสามารถยืนยันไดวา คําสอนเชนนี้มาจากอิทธิพลของขงจื๊อก็เพราะวา เมื่อนําขอความดังกลาวขางตนไปเปรียบเทียบกับบทที่ ๑ ของคัมภีรกตัญู (The Hsiâo King) แลวก็จะเห็นวาขอความนั้นลงรอยกันอยางชัดเจน มีขอสังเกตหลายประการในสังคมไทยที่เกี่ยวของกับการประยุกตใชความกตัญู โดยเฉพาะคนไทยที่มีเชื้อสายจีน ซึ่งแสดงออกมาในรูปของจารีต ประเพณี ความเชื่อ ซึ่งผสานกลมกลืนกลายเปนเอกลักษณเฉพาะสําหรับคนไทยเชื้อสายจีนจนเปนที่ประจักษโดยทั่วไปนับตั้งแตอดีตกระทั่งถึงปจจุบัน ๑. วันเช็งเมง เปนวันที่คนไทยเชื้อสายจีนจะไดไหวบรรพบุรุษ เปนเทศกาลที่จะไดแสดงออกถึงความเคารพตอบรรพบุรุษที่ลวงลับไปแลว เมื่อถึงวันดังกลาว คนไทยที่มีเชื้อสายจีนก็จะพากันไปยังสุสานบรรพบุรุษ พรอมทั้งชวยกันทําความสะอาดสุสาน และทําการเซนไหวดวยอาหาร เครื่องดื่ม ผลไม เพื่อเปนการระลึกนึกถึงบรรพบุรุษ

๓๗ สิน วิภาวสุ, อางแลว, หนา ๒๓.

Page 96 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๘๕

ที่มาของวันดังกลาวมีเรื่องราวที่สะทอนใหเห็นถึงความกตัญูอยางชัดเจน จ่ิงกงจื้อหรือเจาชายจิ่ง ซึ่งเปนพระราชโอรสของแควนเฉิน ถูกเนรเทศจากเมืองไปนานถึง ๑๙ ป เมื่อไดกลับมาเปนใหญโดยมีตําแหนงเปนจ่ิงบุงกง ก็ทรงอยากตอบแทนบุญคุณผูที่เคยมีอุปการะแกพระองคมากอน จึงทรงออกประกาศใหคนที่เคยชวยเหลือพระองคไดมาแสดงตนเพื่อเขารับรางวัลตามสมควรแกอุปการะ ปรากฏวาในวันที่จ่ิงบุงกง ทรงประกาศพระราชโองการออกไป หลายคนที่เคยมีอุปการะตอพระองคก็ไดออกมาแสดงตนและรับรางวัลความดีความชอบ ยกเวนไกจ้ือชุน เกิดไมสบาย มารู เรื่องนี้อีกทีก็ตอเมื่อเหตุการณผานไปแลว มีเรื่องวา ในชวงที่จ่ิงบุงกงตกระกําลําบาก ตองอดมื้อกินมื้อ ไกจ้ือชุนไดเลี้ยงอาหารพระองคมื้อหนึ่ง เปนมื้อสําคัญ เพราะอาหารมื้อนั้นปรุงดวยเนื้อนองของไกจ้ือชุน ไกจ้ือชุน เมื่อพลาดรางวัล ก็ไมไดนอยเนื้อตํ่าใจ เขากลับบอกวา ทุกอยางเปนลิขิตสวรรค เพ่ือนของไกจ้ือชุน นึกสงสารและตองการชวยไกจ้ือชุน จึงไดเขียนจดหมายติดประกาศแทนไกจ้ือชุนความวา ....จ่ิงบุงกง.... ชางนาละอายนักที่ขุนนางและทหารผูมียศตําแหนง ตางพากกันไดเลื่อนยศตําแหนงเปนใหญเปนโตยิ่งขึ้น แตขานอยผูเปนเพียงชาวบานธรรมดา มีบุญคุณแควา สละเนื้อชิ้นนอยจากนองขา จึงไมสมควรไดรับรางวัลแทนคุณ ....ไกจ้ือชุน........ จ่ิงบุงกงเมื่อเห็นประกาศนั้นก็นึกไดทันที จึงสั่งใหทหารตามไกจ้ือชุน ซึ่งกอนหนานั้น เขาไดพามารดายายไปอยูในปา เพราะเห็นวา เมื่อตนเองไมมีวาสนาแลว ก็ควรจะไปตามทาง ดํารงชีวิตแบบชาวนาผูสันโดษตามปาตามเขา การคนหาไกจ้ือชุน และมารดาของเขาจึงเกิดขึ้น แตการจะหาคน ๒ คนในปาใหญไมใชเรื่องงายเลย เมื่อทางการคนหาอยูหลายวันไมพบ จึงมีคนเสนอความคิดวา ถาเกิดจุดไฟเผาปา ไกจ้ือชุนผูกตัญูตอมารดาก็คงจะแบกมารดาของเขาหนีไฟออกมาเองนั่นแหละ แตนาเสียดาย ไฟไดไหมปาอยูหลายวันจึงสงบ ปาถูกเผาทุกตารางพื้นที่โดยไมมีว่ีแววของไกจ้ือชุนเลย เมื่อไฟมอดสนิท ทหารจึงพากันออกสํารวจ และสิ่งที่ทุกคนเห็นแลวทําใหเกิด

Page 97 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๘๖

รูสึกสลดใจก็คือ ที่ใตตนสนใหญตนหนึ่ง มีซากรางดําเปนตอตะโกของไกจ้ือชุน โดยรางของมารดาเกาะหลังอยู เขากําลังพยายามแบกมารดาหนีไฟ แตคงไมทัน จึงถูกไฟครอกตายพรอมกัน สถานที่แหงนี้ชาวบานเรียกกันตอมาวา ไกฮิว แปลวา สถานที่ตายของไก จ่ิงบุงกงเสียใจมาก มีพระราชโองการใหทุกวันของปนี้ หามมีการจุดไฟ เพ่ือระลึกนึกถึงไกจ้ือชุนที่เสียชีวิตเพราะไฟ ตอมาก็เกิดธรรมเนียมวา ชาวบานจะงดกินเนื้อสัตวดวย ครั้นเวลาผานไป ก็เกิดธรรมเนียมที่กลายเปนการไปไหวบรรพบุรุษที่สุสาน ซึ่งดั้งเดิมมักฝงกันที่ชายปา ในชวงวันใดก็ไดใน ๑๕ วันแรกของเดือน ๓ ที่คนจีนเรียกวาเทศกาลเช็งเมง๓๘ ๒. สารทจีน ตรงกับวัน ๑๕ ค่ํา เดือน ๗ ของทุกป วันนี้เปนวันที่คนจีนเชื่อวา เปนวันที่ผูมีหนาที่ดูแลโลกและนรกจะทรงตรวจดูบัญชีดีและบัญชีชั่วเพื่อแยกคนสงไปเกิดใหถูกตามบุญกรรมที่ตนทําเอาไว จึงเกิดธรรมเนียมทําบุญอุทิศสวนกุศลใหกับผีบรรพชนที่ลวงลับไปแลว เมื่อถึงวันดังกลาวนี้ เหลาวิญญาณตาง ๆ จะไดรับอนุญาตใหไปรับเครื่องเซนจากลูกหลานได สวนผีที่ไมมีญาติก็จะไปรับจากคนที่มาทําทานทั่วไป คติธรรมเนียมสารทจีนจึงดูคลาย ๆ กับสารทของไทยหลายพื้นที่ คือเปนเรื่องปรารภบุญกุศลเพื่ออุทิศใหกับบรรพบุรุษของตน ซึ่งถือเปนการแสดงออกถึงความกตัญูอีกทางหนึ่ง นอกจากนั้น อิทธิพลของคําสอนเรื่องกตัญู ยังแทรกอยูในงานวรรณกรรมอื่น ๆ ซึ่งสะทอนใหเห็นความพยายามที่จะนําคําสอนมาประยุกตใหเกิดผลเชิงปฏิบัติในสังคม ยกตัวอยางงานแปลและเรียบเรียงของ ดร.สารสิน วีระผล และคณะ ซึ่งไดรวบรวมคําสอนที่ทรงคุณคาในสังคมจีนมาถายทอดเปนภาษาไทย งานชิ้นนี้มีชื่อวา คัมภีรคุณธรรมสําหรับเยาวชน หลายตอนของหนังสือเลมนี้ ลวนคัดมาจากคัมภีรอันเปนคําสอนหลักในลัทธิขงจื๊อ ผูวิจัยคัดมาเปนตัวอยางพอสังเขปดังนี้

เมื่อบิดามารดาเรียก รีบขานรับโดยไมรีรอ เมื่อบิดามารดามีคําสั่ง ใหดําเนินการทันทีโดยไมเกียจคราน คําสั่งสอนของบิดามารดา ตองรับฟงดวยความเคารพ สวนคํากลาวตักเตือนของบิดามารดาใหนอมรับดวยด ี

ยามฤดูหนาว อากาศเย็นยะเยือก ตองดูแลที่นอนของบิดามารดาใหอบอุน เมื่อถึงฤดูรอน อากาศอบอาว ตองดูแลใหบิดามารดามีที่นอนเย็น

๓๘ จิตรา กออนันตเกียรติ, ธรรมเนียมจีน, (กรุงเทพ ฯ : สํานักพิมพอมรินทรพริ้นติ้ง, ๒๕๔๖), หนา ๖๐-๖๔.

Page 98 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๘๗

สบาย ตอนเชาตองถามทุกขสุขบิดามารดา ย่ําค่ํา ตระเตรียมที่นอนใหบิดามารดาอยางเรียบรอย

เมื่อจะไปนอกบาน ตองบอกกลาวบิดามารดา และเมื่อกลับมาถึงบานใหรีบไปบอกบิดามารดา ทานจะไดไมตองกังวลใจ ตัวเราเองตองมีที่อยูอาศัยถาวร การงานตองมั่นคง ไมเปลี่ยนงานงาย ๆ

แมเรื่องเล็กนอย จงอยาทําโดยพลการ มิฉะนั้น จะไมสอดคลองกับประเพณี และการเปนลูกที่ดี แมวาสิ่งของอาจจะเล็กนอย ก็อยาเก็บไวโดยพลการ บิดามารดาจะเสียใจ สิ่งใดที่บิดามารดาชอบ ใหพยายามรักหาใหครบครัน สิ่งใดที่บิดามารดาเกลียดชัง ใหขจัดทิ้งไป๓๙ จากตัวอยางที่กลาวมาขางตนทั้งหมดนั้น เปนวิธีการประยุกตใชเรื่องความ

กตัญูตามหลักคําสอนในลัทธิขงจื๊อท่ีมีความชัดเจนในเรื่องของการประพฤติปฏิบัติใหเห็นเปนตัวอยางของบุคคลที่มีความกตัญูและลักษณะการแสดงออกถึงวิธีการประยุกตใชความกตัญูในแงตางๆ ใหปรากฏเห็นทั้งในอดีตและปจจุบันวาวิธีการอยางนี้ หรือลักษณะอยางนี้ คือ การประยุกตใชความกตัญูในแบบตาง ๆ ซึ่งก็มีปรากฏตามตัวอยางที่ผูวิจัยไดยกมากลาวไวแลวขางตน

๓.๒ การประยุกตคําสอนเรื่องความกตัญูในพระพุทธศาสนาตอครอบครัว ๓.๒.๑ ความสําคัญของครอบครัว ในสังคมไทย ครอบครัวถือวาเปน “สถาบัน” หนึ่งทางสังคม เรียกวา สถาบันครอบครัว แสดงใหเห็นวา ครอบครัวนั้นเปนโครงสรางทางสังคมระดับพื้นฐานที่สําคัญที่สามารถสงผลกระทบตอประเทศชาตโิดยรวมทั้งในแงบวกและลบ

วาโดยองคประกอบ ครอบครัวประกอบดวยบุคคลดังนี้ ๑) สามีภรรยา ๒) บุตร ๓) บริวารชน ขอ ๑,๒ มีความหมายมองเห็นเปนตัวตนชัดเจนแลว สวนขอท่ี ๓ จําเปนตองขยายความเพิ่มเติม เพราะคําวาบริวารนั้นมีความหมายคอนขางกวางขวาง คําวา “บริวารชน” ในบริบทของครอบครัว หมายถึงคนอื่นๆ ที่อาศัยอยูในครอบครัว เชน พอตา แมยาย พอสามี แมภรรยา พ่ีนองขางฝายสามีและภรรยา หลานๆ คนใช

๓๙ ดร.สารสิน วีระผล, ผูแปลและเรียบเรียง. คัมภีรคุณธรรมเยาวชน, (ปทุมธานี : วิถีเรียนรู จํากัด, ๒๕๔๘), หนา ๑๐.

Page 99 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๘๘

ลูกจางและคนประเภทอื่นอีก คือนอกเหนือจากสามีภรรยากับบุตรแลว นับเปนบริวารชนทั่งสิ้น๔๐ ซึ่งการขยายความเชนนี้ ทําใหเราเห็นวา ครอบครัวนั้นไมใชเปนแคเรื่องสามี ภรรยา และบุตรเทานั้น แตรวมถึงทุกคนที่อาศัยอยูรวมชายคาเดียวกัน หลักคําสอนในทางพุทธศาสนาถือวาครอบครัวมีความสําคัญเปนอยางยิ่ง เพราะเปนสถาบันที่ใหการอบรมสั่งสอนบุตรหลานเปนอันดับแรกและมีความใกลชิดกันที่สุด ผูที่เปนบิดามารดาไดรับยกยองวาเปนครูคนแรกของบุตร เพราะไดสั่งสอนบุตรของตนเริ่มตั่งแตการหัดพูด หัดเรียกแม-พอ หัดคลาน เดิน กิริยามารยาท ทุกอยาง โดยนําเอาหลักคําสอนทางพระพุทธศาสนามาเปนแบบอยางหรือเปนแมแบบในการอบรมสั่งสอนบุตรหลาน เมื่อสถาบันครอบครัวมั่นคงเข็มแข็ง มีภูมิคุมกันจากสิ่งไมดีตางๆ ก็จะเปนผลดีตอสังคม ประเทศชาติ จากขอความที่ผูวิจัยกลาวมาขางตนนั้น สามารถศึกษารายละเอียดได จากพระดํารัสที่องคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจาตรัสแก สิงคาลกมาณพ เรื่องทิศ ๖๔๑ ไดแจกแจงหนาที่บุคคลในฐานะตางๆ ที่จะพึงปฏิบัติตอกัน นอกจากนั้นแลวยังไดตรัสถึงหลักธรรมสําหรับผูครองเรือนไวมากมาย เชน หลักธรรมของผูครองเรือน๔๒ ปฏิปทาอันสมควรแกคฤหัสถ๔๓ หลักการใชจายทรัพยที่ถูกตอง๔๔ สุขของคฤหัสถ๔๕ ธรรมเครื่องยึดเหนี่ยว๔๖ ตระกูลต้ังอยูไมไดนานเพราะเหตุ ๔๔๗ หลักธรรมของผูครองเรือน (นัยท่ี ๑)๔๘ หลักธรรมของผูครองเรือน (นัยท่ี ๒)๔๙ ทั้งนี้หลักธรรมเหลานี้ลวนมีจุดมุงหมายเพื่อใหชีวิตครอบครัวมีความเปนปกแผน มีความมั่นคง ดํารงตนอยูในสังคมไดอยางปกติสุข ชีวิตครอบครัวตองไมเกลือก

๔๐ พ.อ.ปน มุทุกันต, เรือนชั้นใน-ชั้นนอก, (กรุงเทพมหานคร : อมรการพิมพ, ๒๕๑๘),หนา ๒๒. ๔๑ ดูรายละเอียดใน ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๒๖๗-๒๗๒/๒๑๒-๒๑๖. ๔๒ ขุ.สุตต. (ไทย) ๒๕/๑๙๐/๕๔๕. ๔๓ อัง.จตุกก. (ไทย) ๒๑/๖๐/๙๙. ๔๔ อัง.จตุกก. (ไทย) ๒๑/๖๑/๑๐๓-๑๐๔. ๔๕ อัง.จตุกก. (ไทย) ๒๑/๖๒/๑๐๕. ๔๖ อัง.จตุกก. (ไทย) ๒๑/๒๕๖/๓๗๓. ๔๗ อัง.จตุกก. (ไทย) ๒๑/๒๕๘/๓๗๕. ๔๘ ขุ.ชา. (ไทย) ๒๘/๑๔๕๔/๔๑๐. ๔๙ ขุ.ชา. (ไทย) ๒๘/๑๔๕๕/๔๑๑.

Page 100 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๘๙

กลั้วอบายมุขอันเปนหนทางแหงความเสื่อม ดังพระดํารัสวา ดูกอนคฤหบดีบุตร ผูครองเรือนไมควรเสพปากทางแหงความเสื่อม ๖ประการ คือ๕๐ ๑. การหมกมุนในการเสพของมึนเมาคือสุราและเมรัยอันเปนเหตุแหงความประมาท เปนอบายมุขแหงโภคะทั้งหลาย ๒. การหมกมุนในการเที่ยวไปตามตรอกซอกซอย ในเวลากลางคืน เปนอบายมุขแหงโภคะทั้งหลาย ๓. การเที่ยวดูมหรสพ เปนอบายมุขแหงโภคะทั้งหลาย ๔. การหมกมุนในการเลนการพนันอันเปนเหตุแหงความประมาท เปนอบายมุขแหงโภคะทั้งหลาย ๕. การหมกมุนในการคบคนชั่วเปนมิตร เปนอบายมุขแหงโภคะทั้งหลาย ๖. การหมกมุนในความเกียจคราน เปนอบายมุขแหงโภคะทั้งหลาย จากประมวลหลักธรรมดังกลาวมาขางตน สะทอนใหเห็นวา มีชุดคําสอนจํานวนหนึ่งของพระพุทธศาสนาที่มุงตรงไปยังสถาบันครอบครัว ซึ่งหนึ่งจํานวนนั้น ความกตัญูกตเวทีนับเปนเรื่องใหญเรื่องหนึ่ง ซึ่งจะไดพิจารณาในสวนของการประยุกตใชในสังคมสืบตอไป

๓.๒.๒ การประยุกตใชเรื่องความกตัญูตอครอบครัว ในคัมภีรพระพุทธศาสนามีตัวอยางเรื่องการแสดงความกตัญูมากมาย ทั้งพระพุทธเจาก็ตรัสไวเปนบรรทัดฐานสําหรับการปฏิบัติผิดในเรื่องนี้ไววา “คนพาลผูไมเฉียบแหลม เปนอสัตบุรุษ ปฏิบัติผิดในบุคคล ๒ จําพวก ยอมบริหารตนใหถูกกําจัด ถูกทําลาย มีความเสียหาย ถูกผูรูติเตียน และประสพสิ่งที่ไมใชบุญเปนอันมาก”๕๑ ผูวิจัยนําตัวอยางการประยุกตความกตัญูในคัมภีรมาเสนอพอเปนตัวอยาง ดังนี้

เรื่องที่ ๑ พระสารีบุตรรูอุปการคุณของพราหมณและของพระอัสสชิผูเปนอาจารย ไดแสดงความกตัญูกตเวทีใหปรากฏและเปนแบบอยางแกอนุชนรุนหลัง ที่จะพึงประพฤติปฏิบัติตามดังนี้

๕๐ ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๒๔๗/๒๐๒. ๕๑ อัง.ทุก. (ไทย) ๒๐/๑๓๗/๑๑๘.

Page 101 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๙๐

พราหมณคนหนึ่งเขาไปหาภิกษุทั้งหลายขอการบรรพชา เมื่อไมไดจึงตรอมใจจนซูบผอม หมองคล้ํา ซีดเหลือง เสนเอ็นขึ้นสะพรั่ง พระผูมีพระภาคทราบเรื่องตรัสเรียกประชุมสงฆแลวตรัสถามวา ภิกษุรูปใดระลึกถึงอุปการะพราหมณนี้ไดบาง พระสารีบุตรรับวาทานระลึกได เมื่อทานบิณฑบาตในกรุงราชคฤห พราหมณไดถวายภิกษาหนึ่งทัพพี พระผูมีพระภาคทรงสรรเสริญพระสารีบุตรวา ดีละๆ ชื่อวาสัตบุรุษทั้งหลายเปนผูกตัญูกตเวที๕๒ พระสารีบุตรเคารพในพระอัสสชิผูอาจารย ไดยินวา ทานพระสารีบุตรนั้น จําเดิมแตกาลที่ทานฟงธรรมในสํานักของพระอัสสชิเถระแลวบรรลุโสดาปตติผล สดับวา " พระเถระยอมอยูในทิศใด" ก็ประคองอัญชลีไปทางทิศนั้น นอนหันศีรษะไปทางทิศนั้นแลภิกษุทั้งหลายกลาววา " พระสารีบุตรเปนมิจฉาทิฏฐิ ถึงวันนี้ก็เที่ยว นอนนอมทิศทั้งหลายอยู" ดังนี้แลวกราบทูลเนื้อความนั้นแดพระศาสดา พระศาสดารับสั่งใหเรียกพระเถระมาแลวตรัสถามวา สารีบุตรไดยินวา เธอเที่ยวนอบนอมทิศทั้งหลายอยู จริงหรือ เมื่อพระเถระกราบทูลวา พระเจาขา พระองคเทานั้นยอมทรงทราบความเปนคืออันนอบนอมหรือไมนอบนอมทิศทั้งหลาย ของขาพระองค เมื่อพระสารีบุตรกราบทูลดังนั้น พระศาสดาจึงตรัสรับรองวา " ภิกษุทั้งหลาย สารีบุตรยอมไมนอนนอมทิศทั้งหลาย แตเพราะความที่เธอฟงธรรมจากสํานักของพระอัสสชิเถระ แลวบรรลุโสดาปตติผลจึงนอบนอมอาจารยของตน; เพราะวา ภิกษุอาศัยอาจารยใด ยอมรูธรรม,ภิกษุนั้นพึงนอบนอมอาจารยนั้นโดยเคารพ เหมือนพราหมณนอบนอมไฟอยูฉะนั้น๕๓ เรื่องนี้เปนการชี้ใหเห็นถึงวิธีการแสดงความกตัญูของพระสารีบุตรที่มีความสํานึกในบุญคุณที่ทานทั้งสอง คือ ราธะพราหมณที่ไดเคยถวายอาหารหนึ่งทัพพี และทานพระอัสสชิที่ไดแสดงธรรมใหฟงแลวเกิดความรูเห็นตามธรรม ทานเกิดความกตัญูตอบแทนพราหมณนั้นดวยการบวชให และเคารพในพระอัสสชิที่เปนอาจารยสอนอันแสดงใหเห็นถึงหนาที่ที่ศิษยพ่ึงปฏิบัติ๕๔ตอครูอาจารยของตน จนทานไดบรรลุธรรม คือบรรลุเปนพระอรหันตในเวลาตอมา

๕๒ วิ.มหา. (ไทย) ๔/๖๙/๙๗. ๕๓ ขุ.ธ. (ไทย) ๒๕/๓๙๒/๑๕๖, ขุ.ธ.อ. ๑/๒/๔/๔๔๔. ๕๔ ที.ปา.๑๑/๒๖๘/๒๑๓.

Page 102 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๙๑

เรื่องที่ ๒ พระอานนทหลังจากไดผาสาฎกที่พระราชาถวาย ๕๐๐ ผืน แลว ทานมีลูกศิษยทั้งหมด ๕๐๐ รูป ภิกษุหนุมรูปหนึ่งมีอุปการะแกพระเถระมาก เชน กวาดบริเวณสถานที่ เขาไปตั้งน้ําใชน้ําฉันถวายไมสีฟน น้ําลางหนาและน้ําสรง ชําระลางวัจจกุฏี จัดเรือนไฟและเสนาสนะ นวดมือ นวดเทา นวดหลังเปนตน เมื่อทานจะตอบแทนบุญคุณพระภิกษุหนุมรูปนั้น ทานจึงถวายผา ๕๐๐ ผืน แกเธอ ทําใหเกิดเสียงวิพากษวิจารณวาทานเห็นแกหนา กระทั่งเหลาศิษยคนอื่น ๆ ไดนําเรื่องไปกราบทูลตอพระผูมีพระภาคเจาวา พระอริยสาวกชั้นโสดาบัน ยังมีการใหเพราะเห็นแกหนาอยูหรือ พระผูมีพระภาคเจาตรัสวา ดูกอนภิกษุทั้งหลาย พระอริยสาวกใหเพราะเห็นแกหนานั้นไมมี ภิกษุทั้งหลายกราบทูลวา ขาแตพระองคผูเจริญ พระเถระผูเปนธรรมภัณฑาคาริก (คลังธรรม) อุปชฌายะของขาพระองคทั้งหลาย ใหผาสาฎก ๕๐๐ ผืนราคาหนึ่งพันแกภิกษุรูปเดียวเทานั้น พระศาสดาตรัสวา ภิกษุทั้งหลาย อานนทมิไดใหแกภิกษุเพราะเห็นแกหนา แตวาภิกษุหนุมรูปนั้นมีอุปการะแกเธอมาก เพราะฉะนั้นเธอคิดเห็นดวยอํานาจอุปการะของผูอุปการะแกตนวา ขึ้นชื่อวา ผูมีอุปการะเราควรทําอุปการะตอบดวยอํานาจคุณและดวยอํานาจการกระทําอันเหมาะสม จึงไดใหดวยความกตัญูกตเวที ดวยประการฉะนี้๕๕ ในเรื่องนี้มีขอนาสังเกตอยูวา พระอานนทมีเจตนาเพียงแคตองการตอบแทนคุณภิกษุรูปนั้นเทานั้น และทานก็ทราบวา ศิษยของตนผูนี้ แมจะไดผาถึง ๕๐๐ ผืน ก็จะไมเก็บไวใชผู เดียวอยางแนนอน อยางไรเสียเธอก็จะตองนําไปแจกเพื่อนรูปอื่น ๆ ซึ่งก็มีคาเชนเดียวกับที่พระอานนทแจก การมอบใหภิกษุรูปนี้แจกแทนจึงเทากับเปนการยก หรือใหเกียรติทานในฐานะผูมีคุณ ซึ่งขอนี้ก็ปรากฏชัดวา ภายหลังภิกษุรูปนั้นก็นําผาไปแจกจายแกภิกษุรูปอื่น ๆ จนหมด

เรื่องที่ ๓ เมื่อครั้งที่พระศาสดาประทับอยูที่พระวิหารเชตวัน ภิกษุทั้งหลายไดไปรองเรียนพระผูมีพระภาคเจาวา มีภิกษุรูปหนึ่งมีพฤติกรรมไมเหมาะสม บิณฑบาตมาแลว นําไปใหคฤหัสถ ทําใหชาวบานเสื่อมศรัทธา ขอใหพิจารณาลงโทษดวย พระศาสดาไดทราบขอรองเรียนเชนนั้น จึงรับสั่งใหประชุมสงฆ และตรัสเรียกภิกษุรูปนั้นมาสอบถามวา จริงหรือ

๕๕ ขุ.ชา.อ. ๓/ ๓ / ๔๗-๔๘.

Page 103 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๙๒

ภิกษุไดทราบวา เธอเลี้ยงคฤหัสถ ภิกษุรูปนั้นจึงกราบทูลวาไดทําเชนนั้นจริง เมื่อพระองคตรัสถามวา คฤหัสถที่เธอบิณฑบาตเลี้ยงเปนอะไรกับเธอ เมื่อเธอทูลวา เปนมารดาบิดาของขาพระองคพระเจาขา จึงตรัสวา ดีแลวดีแลวภิกษุ เธอรักษาวงศของโบราณกบัณฑิตทั้งหลายไว เพราะวาโบราณกบัณฑิตทั้งหลาย แมเกิดในกําเนิดเดียรัจฉาน ก็ไดใหแมชีวิตแกมารดาบิดาทั้งหลาย๕๖ เรื่องนี้แสดงใหเห็นวา ความจริงแลว การแสดงความกตัญูไมไดจํากัดอยูเฉพาะสถานะที่เหมือนกันเทานั้น แมตางสถานะกันกอสามารถที่จะแสดงความกตัญูตอกันได เชนกับเรื่องนี้พระภิกษุรูปหนึ่งมีความสํานึกในบุญคุณของมารดาบิดาจึงกระทําการตอบแทนดวยการนําอาหารบิณฑบาตมาเลี้ยงดูมารดาบิดาของตนซึ่งไมเปนการยังศรัทธาของทายกใหตกไป

เรื่องที่ ๔ หมอชีวกโกมารภัจ เปนหมอที่มีชื่อเสียงสมัยพุทธกาล และเปนหมอประจําพระองคของพระผูมีพระภาคเจา ครั้งหนึ่งเมื่อเรียนจบวิชาการแพทยใหม ๆ ไดรักษาเศรษฐีทานหนึ่งจากโรคที่เปนเรื้อรัง รักษาไมหาย มีหมอหลายคนไดพยายามมารักษาให สุดทายเมื่อตรวจดูอาการแลว ตางก็บอกบายเบี่ยงและขอตัวกลับเนื่องจากเห็นวา “หมดทาง” เยียวยาแลว หมอชีวกโกมารภัจตรวจดูอาการก็ทราบทันทีวาเศรษฐีทานนี้เปนโรคอะไร และถาไมรีบรักษาก็จะตายภายในหาวันเจ็ดวันอยางที่หมอคนกอน ๆ พูดไว ทานจึงลงมือรักษาอาการ จากนั้นไมนานเศรษฐีทานนั้นก็หายขาดจากโรคดังกลาว สรางความยินดีปรีดาแกเศรษฐี ตลอดบุตรและภรรยาเปนอยางมาก เศรษฐีไดมอบเงินจํานวน ๑๖,๐๐๐ กหาปณะ พรอมทาส ทาสี และรถมา เปนคาตอบแทน หมอชีวกโกมารภัจไดนําคารักษาทั้งหมดนี้ไปถวายแดพระเจาอภัย เปนการทดแทนพระคุณที่ตนรอดชีวิตมาไดเพราะอาศัยพระเจาอภัยนี้เปนผูเก็บมาชุบเลี้ยง จากการที่ตนถูกแมนําไปทิ้ง พระเจาอภัยเห็นความกตัญู และเพื่อจะแสดงความกตัญูของหมอชีวกใหเปนที่ปรากฏ พระองคไมทรงรับเงินรางวัลนั้น แตมอบใหหมอชีวกคืน และใหนําไปสรางบานอยูในวังของพระองค๕๗

๕๖ ขุ.ชา.อ. ๓/๕/๑๐๕. ๕๗ วิ.มหา. (ไทย) ๕/๓๓๐/๑๘๔-๑๘๕.

Page 104 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๙๓

เรื่องนี้ถามองในแงของการดําเนินชีวิต เปนการนําเอาหลักของความกตัญูมาใชในการดําเนินชีวิตไดอยางดีดวยการใชวิชาที่เรียนมาใหเกิดประโยชนสูงสุด และสํานึกในบุญคุณของผูที่เคยอุมชูเลี้ยงดูตนมา นําเอาสิ่งที่ไดมาจากการประกอบอาชีพใหแกผูมีพระคุณดวยความกตัญูรูสํานึกในบุญคุณแลวทําตอบแทน

เรื่องที่ ๕ ในสาลิเกทารชาดก๕๘ บรรยายถึงนกแขกเตาพระโพธิสัตวซึ่งเลี้ยงพอแม แมในยามมีภัย แตดวยอานิสงสแหงความกตัญูรู จึงรอดพนจากภัยคือความตาย อีกทั้งยังทําใหเกิดความสวัสดีทั้งแกตนเอง และบริวาร พระโพธิสัตวของเราเสวยพระชาติเปนนกแขกเตา เมื่อบิดามารดาแกเฒาแลว จึงรับตําแหนงหัวหนาฝูงแทนบิดา ต้ังแตนั้นมาพระโพธิสัตวก็ทําหนาที่เปนผูนํา พานกแขกเตาผูเปนบริวารหาอาหาร พรอมกันนั้นก็ใหบิดามารดาพักอยูที่รัง สวนตนเองก็คาบอาหารมาปอนทุกวัน วันหนึ่ง พระโพธิสัตวนําบริวารลงกินขาวสาลีพราหมณผูหนึ่งซึ่งอยูไมไกลพระนคร คนเฝานาเห็นนกแขกเตาจํานวนมากลงกินขาวสาลี แมจะไลดวยวิธีการตาง ๆ ก็ไมสามารถเอาชนะฝูงนกจํานวนมากมายขนาดนั้นได จึงไดไปบอกพราหมณวา ตนจนปญญาที่หามนกแขกเตาไวได จึงขอลาออกจากการทําหนาที่ จากนั้นก็เลาเรื่องประหลาดใหฟงเกี่ยวกับนกแขกเตาตัวหนึ่งที่ตนเห็นมา คือตัวอื่น ๆ เพียงแคจิกกินพออิ่มแลวก็บินจากไป แตนกแขกเตาตัวดังกลาวนั้น กลับใชเทา และจะงอยปากคาบเมล็ดขาวสาลีไปดวย พราหมณไดยินดังนั้นจึงสนใจ และใหคาจางคนเฝานาชวยจับนกตัวนั้นใหได คนเฝานาพยายามอยูหลายวัน ในหนึ่งก็โชคดี สามารถจับนกแขกเตาพระโพธิสัตวได พรอมกับนําไปมอบใหพราหมณ พราหมณเมื่อเห็นนกแขกเตาพระโพธิสัตวแลวก็สอบถามวา ทําไมละโมบ กินอิ่มแลวยังคาบติดไมติดมือไปอีก ไมกระทําเกินไปหรอกหรือ ? นกแขกเตาพระโพธิสัตวจึงเรียนตามความจริงวา เมล็ดขาวสาลีที่ตนคาบไปนั้น ไมไดคาบไปเพื่อตนเอง แตนําไปใหบิดามารดาซึ่งแกชราแลว พราหมณไดยินดังนั้นจึงเกิดความพอใจ เมื่อจะบูชาความกตัญูของนกแขกเตาโพธิสัตวจึงใหพรโดยการยินยอมใหพระโพธิสัตวพรอมดวยบริวารสามารถลงกินขาว

๕๘ ดูรายละเอียดใน ขุ.ชา.อ. ๖/๑/ ๓๕๒-๓๕๙

Page 105 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๙๔

สาลีที่ไรของตนไดทั้งหมด แตพระโพธิสัตวก็ขอเพียงรับเล็กนอยพอใหบริวารของตนไดกินประทังชีวิตไปเทานั้น เรื่องนี้สะทอนใหเห็นความสันโดษรูจักประหยัดอดออมรับสิ่งของแตเพียงพอเพ่ือตนเองและครอบครัวเทานั้นไมตองการมากไปจนเกินความจําเปน ทําใหสามารถดํารงชีวิตดวยความสุข ไมลําบากดวยอาหาร อันนี้ก็เปนเพราะการรูสํานึกในบุญคุณของบิดามารดาของตน จนบุคคลอื่นมองเห็นคุณธรรมขอนี้แลวไดใหในสิ่งที่ตองการนั่นก็คือ ขาวสาลีเพื่อนําไปเลี้ยงดูมารดาบิดาของตนตามตองการอันเปนการแสดงใหเห็นถึงความกตัญูที่นํามาประยุกตใชในชีวิต แมในเรื่องนี้จะกลาวถึงเรื่องของสัตวก็ตาม แตก็เปนตัวอยางที่แสดงใหเห็นถึงความกตัญูในแงนี้ได

เรื่องที่ ๖ เรื่องเกี่ยวกับราชสีห ซึ่งออกลาเหยื่อบริเวณริมหนองน้ํา แตวาเผอิญวันนั้นกระโจนใสกวางตัวหนึ่งซึ่งหากินอยูใกลริมน้ํา แตเกิดพลาดทา เทาหนาทั้งสองเกิดจมลงไปในรองแผนดินที่แยกออกเพราะน้ําแหง และไมสามารถดึงออกมาได ทําใหไดรับความเจ็บปวด นอนหอบแผหมดกําลังอยูบริเวณนั้นหลายวัน วันหนึ่งสุนัขจิ้งจอกผานมา เห็นเขา ตอนแรกก็ตกใจกลัว ทําทาจะวิ่งหนี แตก็ไดยินเสียงรองของราชสีหใหชวย ครั้งแรกสุนัขจ้ิงจอกก็ลังเลใจ คิดวา ถาเกิดชวยราชสีหออกมาได ตนเองก็คงจะถูกขยําเปนแน เมื่อเห็นสุนัขจ้ิงจอกลังเลอยูอยางนั้น ราชสีหจึงพูดใหคํามั่นสัญญาวาจะไมทําอันตราย และจะสนองคุณครั้งนี้ตลอดชีวิต สุนัขจิ้งจอกไดฟงคําออนวอนของราชสีห ประกอบกับเห็นสภาพตอนนั้นแลวก็อดสงสารไมได จึงรับปากจะชวย จากนั้นจึงเดินไปยังหนองน้ํา และออกแรงคุยจนเปนรองลึก ทําใหน้ําไหลมาตามรองลึกนั้น สุนัขจิ้งจอกพยายามอยูนาน กระทั่งถึงตัวราชสีห

เมื่อน้ําไหลมาตามรองที่สุนัขจิ้งจอกคุยไว ดินก็เกิดการออนตัวตามดวย ในที่สุดราชสีหก็สามารถขยับเทาหนาของตนออกจากรองอยางงายดาย หลังจากออกไดแลว ก็ลงลางตัวท่ีหนองน้ํา ขึ้นมาพักพอสมควรแลว จึงออกลาเหยื่อ และนํามากิน พรอมกับแบงใหสุนัขจ้ิงจอก พรอมกับบอกกับสุนัขจิ้งจอกวา ต้ังแตบัดนี้เปนตนไป ตนจะเปนผูหาเลี้ยงสุนัขจิ้งจอกเอง ๕๙

๕๙ ขุ.ชา.อ. ๓/๓/๔๘-๕๐

Page 106 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๙๕

ต้ังแตนั้นมา สุนัขจิ้งจอกก็ไดรับการเลี้ยงดูจากราชสีห ทําใหชี วิตมีความสะดวกสบาย ไมตองลําบากดวยการลาอาหารอีกตอไป

จากตัวอยางที่กลาวมาทั้งหมดนี้ ทําใหมองเห็นถึงวิธีการประยุกตใชเรื่องความกตัญูซึ่งปรากฏในรูปของการปฏิบัติหนาที่ในชีวิตประจําวันอยางเปนรูปธรรมตามโครงสรางของสังคมเชนการเลี้ยงดูบิดามารดาใหมีความสุขตามความเหมาะสม การชวยเหลือกิจการงานของบิดามารดาญาติพ่ีนอง การรูจักรักษาสุขภาพของตนเอง ดวยการออกกําลังกายทุกวัน การแสดงความรักสามัคคีในหมูคณะเปนตน เหลานี้แลวแตเปนวิธีการประยุกตที่แสดงผลออกมาในรูปของการปฏิบัติที่มีความความกตัญูเปนหลักทั้งนั้น อีกทั้งการปฏิบัติหนาที่เหลานี้ยอมทําใหมองเห็นวิธีการประยุกตความกตัญุในแงตางๆได ไมวาจะเปนในแงของสังคม การศึกษา เศรษฐกิจ การปกครอง และสาธารณสุขไดแมจะไมเห็นชัดเจน แตก็พอประมวลไดวาตัวอยางหรือหลักการนี้คือการประยุกตใชเรื่องความกตัญู

๓.๒.๓ การประยุกตเรื่องความกตัญูในสังคม ในอดีตที่ผาน ความกตัญูมีความสําคญัตอสังคม ในวิทยานิพนธนี้ ผูวิจัยแสดงตัวอยางการประยุกตใชความกตัญูในอดีต มากลาวไวเพื่อเปนเครื่องย้ําวาหลักคําสอนเรือ่งความกตัญูมีการประยุกตใชมาตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบันทั้งในสังคมที่เปนตนกําเนิดของพระพุทธศาสนาคือชมพูทวีป๖๐ และในสงัคมไทย ดังนี้

ก. อินเดีย พระพุทธศาสนาอุบัติขึ้นมาในประเทศอินเดีย และมีอิทธิพลตอสังคมอินเดียในยุคนั้นเปนอยางมาก เราก็สามารถสืบสาวเรื่องราวของการนําหลักธรรมเรื่องความกตัญูไปประยุกตในสังคมไดพอสมควร ผูวิจัยยกมาเปนตัวอยางดังนี้

ตัวอยางที่ ๑ ในประวัติศาสตรพระพุทธศาสนา เมื่อราวพุทธศักราช ๒๐๐ กวา ป ในคราวที่ทําสังคายนาครั้งที่ ๓ พระเจาอโศกมหาราช ไดแสดงความกตัญูตอพระโมคคัลลีบุตรติสสเถระ

๖๐ ชมพูทวีป คือ ประเทศอินเดียในปจจุบัน (ดูรายละเอียดใน พุทธประวัติเลม ๑ (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพมหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๔๑), พิมพครั้งที่ ๕๓,. หนา ๑-๒).

Page 107 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๙๖

และพระพุทธศาสนา หลังจากที่พระองคไดฟงพระธรรมเทศนาจากพระเถระ เกิดความเลื่อมใสในหลักคําสอนของพระพุทธศาสนา โดยรับเปนผูอุปถัมภการทําสังคายนา และยังทรงสงสมณทูตไปประกาศพระพุทธศาสนาในแควนและประเทศตางๆ รวม ๙ สายดวยกัน๖๑ สรุปผลงานทางดานพระพุทธศาสนาของพระเจาอโศกมหาราชที่พระองคทรงแสดงออกซึ่งความกตัญูตอพระสงฆและพระพุทธศาสนา มีดังนี้๖๒ ๑.รับเอาคติธรรมของพระพุทธศาสนาเปนหลักในการปกครองราชอาณาจักร เชิดชูพระพุทธศาสนาเปนศาสนาประจําชาติ แกไขประเพณีดังเดิมใหเขากับหลักศาสนา สรางสาธารณประโยชนมากมาย ๒. ทรงเปนองคอุปถัมภการทําสังคายนาครั้งที่ ๓ ๓. ทรงเผยแผพระพุทธศาสนา ดวยการทรงสงสมณทูตไปประกาศศาสนาในประเทศตาง ๆ ทําใหพระพุทธศาสนาแผขยายเขามาถึงประเทศไทยในปจจุบัน ๔. ทรงสรางพุทธเจดีย และเสาศิลาจารึกแสดงหลักฐานไว ทําใหอนุชนรุนหลังไดทราบวา ประจักษพยานทางโบราณวัตถุเหลานั้น เปนเครื่องยืนยันความมีอยูจริงขององคศาสดา ตลอดพระธรรมคําสั่งสอนของพระองคไดเคยทําหนาที่กลอมเกลาจิตใจผูคนในแถบนี้มาแลว ๕. ทรงบํารุงพระสงฆ ถวายทานแกพระสงฆประมาณวันละ ๑๐,๐๐๐ รูป และทรงสราง อโศการาม

ตัวอยางที่ ๒ พระเจาหรรษ วรรธนะ (ประมาณ พ.ศ. ๑๑๐๐) ทรงเลื่อมใสในพระพุทธศาสนาตองการจะออกผนวช แตดวยสถานการณทางบานเมืองบังคับ ทําใหพระองคตองขึ้นครองราชย เลากันวา แมพระองคจะทรงนับถือพระพุทธศาสนา แตความที่บรรพบุรุษของพระองคนับถือลัทธิไศวะมากอน พระองคก็ไมทอดทิ้งศาสนาเดิมของบรรพบุรุษทั้งนี้ดวยความกตัญูกตเวทิตาตอบุรพมหากษัตริยในอดีต บั้นปลายชีวิต ไดทรงสละราชสมบัติ ทานสมณะเหี้ยจังซึ่งมีความคุนเคยกับพระองคมาก ไดบันทึกไววา พระเจาหรรษวรรธนะ ไดขอ

๖๑ พระอุดรคณาธิการ (ชวินทร สระคํา), ประวัติศาสตรพุทธศาสนาในอินเดีย, (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๔), พิมพครั้งที่ ๒,. หนา ๒๓๕-๒๓๗. ๖๒เรื่องเดียวกัน, หนา ๓๖๘-๓๗๐.

Page 108 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๙๗

ฉลองพระองคเกา ๆ คืนจากพระกนิษฐภคีนีของพระองค จากนั้นก็ทรงฉลองพระองคเกา ๆ นั้น เดินบูชาพระพุทธเจาในสถานที่ตาง ๆ ๑๐ แหง ผลงานที่สําคัญที่ฝากไวเปนมรดกที่พระองคไดอุทิศตอพระพุทธศาสนามีดังนี้

๑. ทรงบํารุงพระพุทธศาสนา ๒. ทรงใหความอุปถัมภบํารุงมหาวิทยาลัยนาลันทา

๓. ทรงสรางพระสถูปหลายพันองค ริมฝงแมน้ําคงคา ๔. ทรงสรางโรงทานเปนที่แจกทาน เชน อาหาร น้ําดื่ม และยา แกคนจนและคนเจ็บไข ๕. ทรงประพันธบทละครหลายเรื่อง ๖. ทรงมีความสัมพันธไมตรีทางการทูต และการพระศาสนากับประเทศจีน ๗. ทรงสงเสริมการประพันธและโปรดนักปราชญ ๖๓ นอกจากนั้น หลักฐานอันหนึ่งที่สามารถชี้ใหเห็นวา สังคมอินเดียในสมัยพุทธกาลนั้น ใหความสําคัญเรื่องความกตัญูมาก ถึงขนาดวา บุตรคนใดใชสอยทรัพยที่เปนของบิดามารดา แตไมเลี้ยงบิดามารดา บุตรคนนั้นจะตองถูกประหารชีวิต๖๔ ซึ่งเรื่องนี้สะทอนใหเห็นวา บุตรที่อกตัญูนั้น จะอยูในสังคมไมไดเลย ยิ่งกวานั้นยังตองรับโทษสถานหนักอีกดวย

ตัวอยางที่ ๓ ในยุคตอมา ทานอนาคาริกะ ธัมมปาละ ชาวลังกา เกิดความสังเวชสลดใจที่เห็น

พระเจดียพุทธคยา อยูในสภาพทรุดโทรม จึงไดปฏิญาณตนตอพระเจดียมหาโพธิ์วาจะฟนฟูพระพุทธศาสนาในอินเดีย ตอมาไดกอต้ังสมาคมมหาโพธิ์ขึ้นที่เมือง โคลัมโบ ประเทศลังกา และไดสงพระ ๔ รูปมาประจําที่พุทธคยา เพื่อประกาศพระศาสนา นางแมรี่ อี. ฟอสเตอร หรือ โฮโนลูลู เลื่อมใสในธัมมปาละ ไดยอมตนเปนพุทธศาสนิกชนและไดบริจาคเงินเกือบ ๑ ลานรูป ใหแกธัมมปาละ หลังจากนั้นทานธัมมปาละไดเดินทางกลับมาอินเดีย และเมื่อ

๖๓ อางแลว. หนา ๓๙๒-๓๙๓. ๖๔ ขุ.ธ.อ. ๑/๒/๙๑.

Page 109 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๙๘

พ.ศ. ๒๔๔๕ ไดกอต้ังสมาคมมหาโพธิ์ขึ้นอีกหลายแหง แตนั้นมากิจการของสมาคมไดเจริญขึ้นเรื่อยๆ จนมีสาขาอยูตามหัวเมืองใหญๆ ทั่วไปอินเดีย๖๕

ข.สังคมไทย ความกตัญูนับวาเปนรากฐานที่สําคัญของสังคม นับตั้งแตอดีตกระทั่งปจจุบัน พิจารณาในแงสถาบันครอบครัวแลว ก็ตองถือวา ครอบครัวในสังคมไทยดํารงเปนปกแผน มีความรมเย็นเปนสุขอยูไดก็โดยอาศัยหลักความกตัญูเปนแกนกลาง ความเดนชัดในเรื่องนี้ แมชาวตางชาติที่มีโอกาสเขาในประเทศไทย หรือมีโอกาสไดรูจักคนไทย ก็มักจะไดเห็นอุปนิสัยของคนไทยในเรื่องดังกลาว และตางก็กลาวยกยองชมเชยในคุณลักษณะที่ดีงามดังกลาวนี้ ผูวิจัยสรุปเปนตัวอยางดังนี้ ใน ป พ.ศ. ๒๒๓๑ มองสิเออร เดอ ลา ลูแบร ซึ่งเปนเอกอัครราชทูตชาวฝรั่งเศส ซึ่งไดเดินทางมาเจริญสัมพันธไมตรีกับพระเจาแผนดินสยาม คือสมเด็จพระนารายณมหาราช ทานไดบันทึกถึงนิสัยของคนไทยในครั้งนั้นไวดังนี้

กรุงศรีอยุธยาประเทศสยามนั้น ชาวไทยมีนิสัยใจคอความประพฤติในความรูสึกวา บุตรมีความรักใครเคารพอยูในโอวาทบิดามารดา เปนคนวางายสอนงาย เชื่อถอยฟงคําบิดามารดาสั่งสอน สวนบิดามารดาก็วางตนอยูในศีลธรรม มีน้ําใจดี มีความเมตตากรุณา ใหความเอ็นดูออนโยนตอบุตร ไมขมขูบังคับบุตรจนเกินไป วางตนใหเปนที่รักใครนับถือ ทําตนเปนที่พ่ึงของบุตร จะกลาวถอยคําอันใดก็ลวนแตมีเหตุผลทางศีลธรรม ฉะนั้นโอวาทของบิดามารดาทั่วไปของชาวไทย จึงมีอานุภาพ เปนคําประกาศิตที่บุตรจําตองปฏิบัติ เพราะเปนการฝกฝนใหเปนคนดี บิดามีอํานาจปกครองรับผิดชอบในครอบครัว หากบุตรไปกอเหตุรายมีคดีอาญาใด ๆ เกิดขึ้นในแผนดินแลว ถาบุตรหนีไปตามจับไมได บิดามารดาก็จะรวมรับโทษถูกเฆี่ยนโบยและถูกจองจํา จนกวาบุตรจะเขามามอบตัวรับโทษเพื่อถายแทนบิดามารดา สวนบุตรเมื่อหลบหนีพนไปแลว เมื่อไดทราบวาบิดามารดาตองรับโทษแทนตัวก็มีจิตใจสงสาร ไมสามารถจะ

๖๕ เรื่องเดียวกัน, หนา ๒๙๖-๒๙๘.

Page 110 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๙๙

หลบหลีกตอไป ดวยความรักใครเคารพกตัญูก็หวนกลับมามอบตัว แมจะถูกโบยถูกฆาก็ยอมรับชะตากรรม ใหทางการพิจารณาโทษของตนตอไป๖๖

ในขอความขางตนที่ยกมานี้ชี้ใหเห็นถึงคําสอนเรื่องความกตัญูที่บงบอกวาบุตรถึงแมจะตนจะไดกระทําความผิดอยางรายแรง แตเมื่อสํานึกเห็นถึงบุญคุณของบุพพการีบุคคลคือพอแม ไดรับความเดือนรอนเพราะตนเอง ตองกลับมารับกรรมที่ตนเองทําลงไป ไมอยากใหพอแมตองลําบากใจกับการประพฤติของตน ซึ่งเปนสิ่งปรากฏใหเห็นอยูมากในสังคมไทย หรือแมแตในวรรณกรรมของไทย อันเปนการบงบอกถึงการแสดงความกตัญู อีกเรือง คือนักเรียนไทยคนหนึ่ง ไปศึกษาตางประเทศ ไดเชาบานของสามีภรรยาชราคูหนึ่งอยู เมื่ออยูในบานเชา นักเรียนไทยผูนี้ก็ไดปฏิบัติกับสามีภรรยาคูนี้เหมือนเปนญาติผูใหญ ทําใหเปนที่รักของสามีภรรยาคูนี้มาก ตอมาเมื่อฝายสามีเสียชีวิต นักเรียนไทยผูนี้จึงไดทราบวา ความจริงแลวหญิงชรามีบุตรธิดาหลายคน แตละคนก็มีการงานทํา มีรถขับทุกคน แตบุตรเหลานั้น เมื่อจัดการศพบิดาเสร็จแลว ก็ไมไดเหลียวแลแมผูแกชรา ตางคนก็ตางแยกยายกลับถิ่นลําเนาของตนในตางรัฐ ปลอยใหมารดาอยูทามกลางความโศกเศราอยางเดียวดายเหมือนเปนคนอื่น นักเรียนไทยผูนี้จึงเปนฝายตองคอยปลอบโยน และชวยเหลือหญิงชรานี้ ทําใหนางรักนักเรียนไทยผูนี้เหมือนลูก ภายหลังจากสามีนางไดถึงแกกรรมลง ทําใหความเปนอยูเริ่มฝดเคือง ถึงกับตองขายบาน เพื่อนําเงินไปฝากธนาคารเพื่อกินดอกเบี้ย และตัวเองก็ไปหาบานเชาอยู นักเรียนไทยผูนี้ก็ตามไปเชาบานอยูดวย พรอมทั้งใหความชวยเหลือ อยางไรก็ตามความเปนอยูก็ยังฝดเคืองอยู นักเรียนไทยผูนี้จึงแนะนําใหนางมีจดหมายไปขอความชวยเหลือจากบรรดาลูก ๆ ของนาง แตนางก็ไมกลา เกรงจะผิดหวัง นักเรียนไทยผูนี้จึงบอกวา

ตามประเพณีของไทยเรานั้น บุตรจะตองเลี้ยงดูบิดามารดาเมื่อเวลาแกเฒาเปนการตอบแทนที่บิดามารดาเลี้ยงบุตรมา และใหการศึกษา ถาบุตรมีฐานะดี ก็จะนําบิดามารดาไปอยูรวมบานใหความสุขสบาย ฉะนั้นการที่ออกปากกับบุตรนั้นไมเปนสิ่งควรละอาย บิดาผมเคยเลี้ยงดูคุณปู

๖๖ อางใน ท. เลียงพิบูลย, “ความกตัญู”, บทความตีพิมพเปนอนุสรณเนื่องในงานฌาปนกิจศพนางเลียบ เหลาบุญมี, (พระนคร : โรงพิมพชวนการพิมพ,๒๕๑๒), หนา ๙๑.

Page 111 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๑๐๐

คุณยาใหมีความสุขมาแลว และก็ไดสั่งสอนใหลูก ๆ ปฏิบัติตาม แมผมจะมาศึกษาอยูในอเมริกาแลว บิดาผมก็ยังตักเตือนทางจดหมาย ใหรักศีลธรรมและประเพณีไวเสมอ๖๗

เรื่องนี้แสดงใหเห็นวา ขนบธรรมเนียมประเพณีของไทยเราตั้งแตโบราณ มักจะสอนใหบุตรมีความเคารพนับถือบิดามารดา มีความกตัญูกตเวที ใหความเคารพนับถือผูสูงอายุเหมือนญาติสนิท เมื่อจะทําสิ่งใดพอที่จะชวยเหลือไดก็ใหความชวยเหลือดวยความเคารพ และเต็มใจ ไมมีความรังเกียจ ซึ่งสะทอนใหเห็นถึงการประยุกตใชเรื่องความกตัญูในสังคมไทยไดเปนอยางดีขอนี้สอดคลองกับงานวิจัยชิ้นหนึ่งที่ไดสรุปเกี่ยวประเด็นเรื่องนี้ไววา

สังคมไทยมีประเพณีใหความสําคัญตอความกตัญูกตเวที ความกตัญูเปนบอเกิดความรักความผูกพัน ความเอื้ออาทร และความปรารถนาดีตอกัน วิถีชีวิตของสังคมไทยมีการอยูรวมกันเปนกลุม เปนครอบครัวใหญ เนนการพึ่งพาอาศัยกันและการชวยเหลือเกื้อกูลกัน แตละคนในครอบครัวมีความรับผิดชอบตอกันและตองชวยเหลือกันทํางานตามบทบาทหนาที่ที่ตนเองรับผิดชอบ อันสงผลใหเกิดขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามของสังคม และขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามของไทย ลวนมีความกตัญูเปนที่ต้ังสําคัญ๖๘

มีหลักฐานหลายประการที่สามารถบงชี้ไดเชนนั้น ทั้งในสามัญชนคนธรรมดา รวมไปจนถึงเจาฟาพระมหากษัตริยลวนไดรับการปลูกฝงเรื่องความกตัญูเขาสูจิตใจมาต้ังแตโบราณแมตราบเทาถึงปจจุบัน ขอความในหลักศิลาจารึกพอขุนรามคําแหงมหาราช กษัตริยสมัยกรุงสุโขทัย สะทอนใหเห็นถึงความกตัญูวา เปนหลักใหญ และหลักสําคัญในการยึดเปนแนวทางในการดําเนินชีวิตของพระองค

๖๗ ท. เลียงพิบูลย, “ความกตัญู” อางแลว, หนา ๙๖. ๖๘ พระมหาคํากอง คุณาธโร (มาหา), “การศึกษาเชิงวิเคราะหความกตัญูในพระพุทธศาสนาเถรวาท”, วิทยานิพนธมหาบัณฑิต, (สาขาวิชาพระพุทธศาสนา : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๘), หนา ๑๐๒.

Page 112 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๑๐๑

เมื่อชั่วพอกู กูบําเรอตอพอกู กูไดตัวเนื้อตัวปลากูเอามาแกพอกู กูไดหมากสมหมากหวาน อันใดกินอรอยดีกูเอามาแกพอกู กูไปตีหนังวังชางได กูเอามาแกพอกู กูไปทบานทเมือง ไดชางไดงวง ไดปวไดนาง ไดเงินไดทอง กูเอามาเวนแกพอกู พอกูตายยังพ่ีกู กูพร่ําบําเรอแกพ่ีกู ดังบําเรอแกพอกู พ่ีกูตายจึงไดเมื่อแกกูทั้งหลาย๖๙

จากขอความดังกลาวแสดงใหเห็นวา พระมหากษัตริย ก็ทรงดํารงตนเปนแบบอยางในเรื่องความกตัญูใหพสกนิกรของพระองคไดถือเปนแบบอยางนับเปนระยะเวลาอันยาวนานตราบเทาถึงปจจุบัน เราสามารถศึกษาพระจริยาวัตรดานนี้ของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว รัชกาลปจจุบันก็จะเห็นชัดเจนในความกตัญูของพระองค แสดงใหเห็นไดชัดเจนวา พระองคก็ทรงไดรับการอบรมเลี้ยงดู เพาะบมนิสัยความกตัญูจากสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีเปนอยางดี

เมื่อครั้งที่สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี (สมเด็จยา)ประชวร พักรัษาพระองคอยูที่โรงพยาบาลศิริราช พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวไดเสด็จไปเยี่ยม คอยดูแลไมเวนแตละวัน เหตุการณครั้งนี้ มีผูรับใชใกลชิดไดบรรยายไววา “ในหลวง นอกจาก จะเปนยอดพระมหากษัตริยของโลก เปน The King of Kings แลว ในหลวง ของเรายังเปนกษัตริยยอดกตัญูดวย ความหวังของแมทั้ง ๓ หวัง ในหลวงปฏิบัติไดครบถวนสมบูรณ เปนตัวอยางที่ดีที่สุดใหแกพวกเรา ในหลวงทํากับแมยังไง ตอนเล็ก ๆ แมประคองเราสอนเราเดิน หัดใหเราเดิน เพราะฉะนั้น ตอนนี้แมแกแลว เราตองประคองแมเดิน เพ่ือเทิดพระคุณทาน ไมตองอายใคร เปนภาพที่ประทับใจมาก เจาฟาเจาแผนดิน ทานกตัญูตอแม ประคองแมเดิน ประชาชนที่มาเฝารับเสด็จ สองขางทาง ฝงนี้ ๕,๐๐๐ คน ฝงนูน ๘,๐๐๐ คน ยกมือขึ้นสาธุ แซซองสรรเสริญ "กษัตริยยอดกตัญู"

ตอนนี้เราขยับเขาไปใกล ๆ หนอย ไปดูตอนกินขาวทุกครั้งที่ในหลวงไปหาสมเด็จยา ในหลวงตองเขาไปกราบ ที่ตักแลวสมเด็จยาก็จะดึงตัวในหลวงเขามากอด กอดเสร็จก็หอมแกม ใครเคยเห็นภาพสมเด็จยาหอมแกมในหลวงบาง ภาพนี้ถาใครมีตองเอาไปใสกรอบ เปนภาพความรักของแมที่มีตอลูกอยางยอดเยี่ยม ตอนสมเด็จยาหอมแกมในหลวง อาจารยคิดวา แกมในหลวง คงไมหอมเทาไร เพราะไมไดใสน้ําหอม แตทําไม สมเด็จยาหอม

๖๙ เร่ืองเดียวกัน, หนา ๙๐.

Page 113 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๑๐๒

แลวชื่นใจ เพราะ ทานไดกลิ่นหอม จากหัวใจในหลวง หอมกลิ่นกตัญู ไมนึกเลยวาลูกคนนี้ จะกตัญูขนาดนี้ จะรักแมมากขนาดนี้

ตัวแมเองคือ สมเด็จยาไมไดเปนเชื้อพระวงศ เปนคนธรรมดาสามัญชน เปนเด็กหญิงสังวาลย เกิดหลังวัดอนงค... เหมือนเด็กหญิงทั่วไป เหมือนพวกเราทุกคนในที่นี้ ในหลวงหนะ เกิดมาเปนพระองคเจา เปนลูกเจาฟา ปจจุบันเปนกษัตริย เปนพระเจาแผนดินอยูเหนือหัว แตในหลวงที่เปนพระเจาแผนดิน กมลงกราบคนธรรมดาที่เปนแม หัวใจลูกที่เคารพแม กตัญูกับแมอยางนี้ หาไมไดอีกแลว

กลางคืน ในหลวงไปอยูกับสมเด็จยา คืนละหลายชั่วโมง ไปใหความอบอุนทุกคืน ลองหันมาดูตัวเราเองซิ ตอนพอแมปวย โผลหนาเขาไปดูหนอยนึง ถามวาตอนนี้ อาการเปนยังไง? พอแมยังไมทันตอบเลย ฉันมีธุระ งานยุง ตองไปแลว โผลหนาไปใหเห็น พอแคเปนมารยาท แลวก็กลับ เราไมไดไปเพราะความกตัญู เราไมไดไปเพื่อ ทดแทนพระคุณทาน นาอายไหม? ในหลวงเสด็จไปประทับกับแม ตอนแมปวย ไปทุกวันไปใหความอบอุน ประทับอยูวันละหลายชั่วโมง นี่คือสิ่งที่ในหลวงทํา คราวหนึ่งในหลวงปวย สมเด็จยาก็ปวย ไปอยูศิริราชดวยกัน อยูคนละมุมตึก ตอนเชาในหลวงเปดประตูออกมา พยาบาลกําลัง เข็นรถสมเด็จยา ออกมารับลมผานหนาหองพอดี ในหลวง พอเห็นแม รีบออกจากหอง มาแยงพยาบาลเข็นรถ มหาดเล็ก กราบทูลวา ไมเปนไร ไมตองเข็น มีพยาบาลเข็นใหอยูแลว ในหลวงมีรับสั่งวา

"แมของเรา ทําไมตองใหคนอื่นเข็นเราเข็นเองได " นี่ขนาดเปนพระเจาแผนดิน เปนกษัตริย ยังมาเดินเข็นรถใหแม ยังมาปอนขาว ปอนน้ําใหแม ปอนยาใหแม ใหความอบอุนแกแม เลี้ยงหัวใจแม ยอดเยี่ยมจริง ๆ เห็นภาพนี้แลว ซาบซึ้ง

วันนั้น ในหลวงเฝาสมเด็จยา อยูจนถึงตี ๔ ตี ๕ เฝาแมอยูทั้งคืน จับมือแมกอดแม ปรนนิบัติแม จนกระทั่ง "แมหลับ" จึงเสด็จกลับพอถึงวัง เขาโทรศัพทมาบอกวา สมเด็จยาสิ้นพระชนม ในหลวง รีบเสด็จกลับไปศิริราช เห็นสมเด็จยานอนหลับตาอยูบนเตียง ในหลวง ทํายังไงครับ ? ในหลวงตรงเขาไป คุกเขา กราบลงที่หนาอกแม พระพักตรในหลวงตรงกับหัวใจแม "ขอหอมหัวใจแมเปนครั้ง สุดทาย " ซบหนานิ่งอยูนาน แลวคอย ๆ เงยพระพักตรขึ้น น้ําพระเนตรไหลนอง

ตอไปนี้ จะไมมีแมใหหอมอีกแลว เอามือกุมมือแมไว มือนิ่ม ๆ ที่ ไกวเปลนี้แหละ ที่ปนลูกจนไดเปนกษัตริย เปนที่รักของคนทั้งบานทั้งเมือง ชีวิตลูก แมปน

Page 114 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๑๐๓

มองเห็นหวี ปกอยูที่ผมแม ในหลวงจับหวี คอย ๆ หวีผมใหแม หวี... หวี...หวี..หวีใหแมสวยที่สุด แตงตัวใหแมใหแมสวยที่สุด ในวันสุดทาย ของแม เปนภาพที่ประทับใจอาจารยเปนที่สุด เปนสุดยอดของลูกกตัญู หาที่เปรียบไมไดอีกแลว กษัตริยยอดกตัญู”๗๐ นอกจากพระจริยาวัตรดังกลาว หากเราพิจาณาจารีตประเพณีที่เกี่ยวเน่ืองกับความกตัญูซึ่งไดถือปฏิบัติสืบกันมา ไดแกงานที่พระมหากษัตริยทรงบําเพ็ญในฐานะที่พระองคทรงเปนผูปกครองสูงสุดของประเทศ เปนการบําเพ็ญกุศลอุทิศถวายแดบุรพมหากษัตริยไทยในอดีต และพระบรมวงศานุวงศที่เสด็จสวรรคต เรียกพระราชพิธีนี้วา พระราชกุศลทักษิณานุประทานพระบรมอัฐิสมเด็จพระบรมราชบุรพการี๗๑ ซึ่งถือปฏิบัตินับตั้งแตผูปกครองประเทศ จนถึงประชาชนทั่วไป คือวันที่ระลึกจักรีบรมราชวงศ ต้ังแตป พ.ศ. ๒๔๖๒ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๖ไดพระราชทานพระราชวโรกาสใหประชาชนไทยไดแสดงกตเวทิตาคุณตอพระมหากษัตริยในพระบรมราชจักรีวงศทุกรัชกาล โดยทรงพระกรุณาโปรกเกลาฯ ใหต้ังพระราชพิธีวันที่ระลึกมหาจักรีบรมราชวงศขึ้น สวนประชาชนทั่วไป ความกตัญูก็มีบทบาทสําคัญ ในสังคมไทยจึงมีประโยคหนึ่งซึ่งใชเปนมาตรฐานวัดคาความเปนคนดี นั่นคือ “นิมิตฺต สาธุรูปาน กตฺูกตเวทิตา ความกตัญูกตเวทีเปนเครื่องหมายของคนดี”๗๒ ดังนั้นผูใดก็ตามที่มีลักษณะตรงกันขามกับมาตรฐานนี้ ผูนั้นยอมไดรับการเหยียดหยาม ดูหมิ่นดูแคลน ไมเปนที่ตองการคบหาจากใคร ๆ คําวา “เนรคุณ” “ไมรูคุณคน” “กินบนเรือน ขี้รดหลังคา” เปนตน ซึ่งแสดงถึงความเปนคนอกตัญูจึงเปนคํา “เลวราย” ที่สุดคําหนึ่งในสังคมไทย บิดามารดา ครูอุปชฌายอาจารยจึงมักจะยกเรื่องความกตัญูสอนบุตรหลาน หรือลูกศิษยของตนเสมอ ๆ ความกตัญูนั้น แมไมใชคําสอนที่เปนหลักการใหญเมื่อเปรียบเทียบกับอริยสัจ ๔, ปฏิจจสมุปบาท ๑๒, อริยมรรคมีองค ๘ ก็ตาม แตก็เปนคําสอนที่มีการนํามากลาวสอนมากที่สุดเรื่องหนึ่ง อาจจะเรียกไดวา สอนกันต้ังแตในระดับบาน โรงเรียน วัด หนวยงาน

๗๐ http://watsunmamout.igetweb.com/index.php?mo=3&art=28899 (เขาถึงเมื่อวันที่ ๘ สิงหาคม ๒๕๕๐) ๗๑รองศาสตราจารย สมปราชญ อัมมะพันธ , ประเพณีและพิ ธีกรรมในวรรณคดีไทย , (กรุงเทพมหานคร : โอ.เอส. พริ้นต้ิง เฮาส. ๒๕๓๖), หนา ๖๑. ๗๒ มหามกุฏราชวิทยาลัย,พุทธศาสนสุภาษิต เลม ๑, (กรุงเทพ ฯ : มหามกุฎราชวิทยาลัย, ๒๕๒๓),หนา ๓๔.

Page 115 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๑๐๔

องคกร สถาบัน อาจจะเรียกไดวา เปนคําสอนสามัญที่จําเปนหรับคนทุกคน ทุกระดับ ทุกเพศ ทุกวัย ทุกอาชีพ และผูที่ทําหนาที่สอนความกตัญูจึงไมไดผูกขาดอยูแตเฉพาะพระสงฆ ผูวิจัยขอคัดมาเปนตัวอยาง เพื่อแสดงใหเห็นวา ความกตัญูเปนเรื่องสําคัญในสังคมไทย

ตัวอยางที่ ๑ คัดเลือกลูกที่มีความกตัญูกตเวทีอยางสูงตอแมเพื่อเขารับรางวัลในงานวันแมแหงชาติ นายชนะ นาคสุริยะ รองผูวาราชการจังหวัดแมฮองสอน แจงวาสภาสังคมสงเคราะหแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภกําหนดจัดใหมีการคัดเลือกบุคคลที่มีคุณสมบัติเปนลูกที่มีความกตัญูกตเวทีอยางสูงตอแมในงานวันแมแหงชาติประจําป ๒๕๕๐ รวม ๕ ประเภท ไดแก ประเภทนักเรียน /นักศึกษา ขาราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ นักรอง/นักแสดง/ศิลปน สื่อมวลชน และประชาชนทั่วไป เพ่ือพิจารณาคัดเลือกเขารับโลรางวัลเกียรติคุณลูกที่มีความกตัญูกตเวทีอยางสูงตอแม ในโอกาสวันแมแหงชาติ ประจําป ๒๕๕๐ จังหวัดแมฮองสอน ขอเชิญหนวยงาน องคกร และบุคคลผูสนใจ สงเรื่องจริงของผูมีคุณสมบัติ เพ่ือเขารับการพิจาณาวาเปนลูกท่ีมีความกตัญูกตเวทีอยางสูงตอแม ดังนี้ ตองเปนลูกที่ใหการดูแลเอาใจใสและปฏิบัติตอแมเปนอยางดีและสม่ําเสมอ ตองชวยเหลือภารกิจและการงานของแม ประพฤติตนตามคําสั่งสอนของแม ดํารงตนอยูในศีลธรรมและเชิดชูวงศตระกูล และตองบําเพ็ญตนเปนประโยชนจนเปนที่ยอมรับของสังคม สอบถามรายละเอียดเพ่ิมเติมไดที่ สํานักงานจังหวัดแมฮองสอน สาศากลางจังหวัด ในเวลาราชการ๗๓

ตัวอยางที่ ๒

ความกตัญูบวกดวยแรงศรัทธากอเกิดคุณแกผูปวยผูยากไร เปนขาวที่คอนขางพิเศษ เมื่อทางโรงพยาบาลไดรับแจงจาก นพ.วีระยุทธ เชาวปรีชา ศัลยแพทยกระดูกและขอ และผูอํานวยการแพทย วา คุณประกฤต (แสง-ชูโต) เรืองศุข จะบริจาคเครื่อง Endoscopicts CP Release System Set (เครื่องมือผาตัดนิ้วมือชา) มูลคา ๑๑๐,๐๐๐ บาท ใหกับ โรงพยาบาลวิภาวดี พลเอก นพ.สิงหา เสาวภาพ ประธานกรรมการบริษัทฯ เปนผูรับมอบเครื่องมือ

๗๓ http://www.prdnorth.in.th/ct/news/viewnews.php?ID=070601134001,(เขาเมื่อวันที่ ๒๗ ตุลาคม ๒๕๕๐).

Page 116 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๑๐๕

ดังกลาว ณ หองประชุมชั้น ๔ โดยคุณประกฤตไดสมทบเงินกองทุนเริ่มตนใหอีก ๒๐,๐๐๐.- บาท และตั้งชื่อกองทุนนี้วา กองทุนแสง-ชูโต (สกุลเดิมของคุณประกฤต) เพ่ือเปนกองทุนชวยเหลือผูปวยท่ีเปนโรค “นิ้วมือชา” ซึ่งตองใชเครื่อง Endoscopicts CP Release System Set ทําการผาตัด คุณประกฤตเลาความเปนมาของการบริจาคเครื่องมือนี้วา “ภรรยาผม เปนโรคนิ้วมือชา เปนทั้ง ๒ ขางเลย ตอนแรกก็ไมรูวาเปนอะไร รูแตวาชาที่มือบอย ๆ จะเปนพัก ๆ หยิบจับอะไรก็รวงหลน”

“มันเปน ๆ หาย ๆ มานานพอควรคะ” คุณแสงดาว ภรรยาคุณประกฤตเลาตอ “แตชวงหลัง ๆ รูสึกวาเปนปญหามาก จะทําอะไรก็ไมสะดวก เลยมาหาคุณหมอวีระยุทธ ที่ รพ.วิภาวดี” “คุณหมอ วีระยุทธ ก็เลยผาตัดใหเพราะเปนมากแลว พอผาตัดเสร็จปุบมีความรูสึกวามือหายชาทันทีเลยคะ” คุณแสงดาวยืนยันวา เปนอยางนั้นจริง ๆ แตการผาตัดครั้งนั้นก็ลวงเลยมาปเศษแลว แตทําไมคุณประกฤตจึงตองการบริจาคเครื่อง Endoscopicts ในตอนนี้ “คือวันที่ ๑๑ กุมภาพันธ เปนวันคลายวันเกิดคุณพอบุญธรรมของผม (คุณยงศิลป เรืองศุข) ซึ่งทานเสียชีวิตไป ๑๙ ปแลว” คุณประกฤตเริ่มเลาตอ “ทุกป ผมจะไปทําสังฆทานใหทานตามวัดตาง ๆ ปนี้ก็เหมือนกัน บังเอิญผมเองมาปวยอยูที่ รพ.วิภาวดี หลายวันแลว เปนโรคหัวใจกับเบาหวาน คุณหมอจีระศกัดิ์ (หัวใจ) กับคุณหมอทองคํา (เบาหวาน) ดูแลอยู ผมก็ขออนุญาตคุณหมอจีระศักดิ์จะออกจาก รพ. ไปทําบุญใหคุณพอท่ีวัด ก็ลงลิฟตมาชั้น G เดินผานหนาหองตรวจคุณหมอวีระยุทธ ก็เกิดปงไอเดียขึ้นมา” “ทําไมเราตองทําสังฆทานเหมือนเดิมทุกป” คุณประกฤตวา “คุณพอ (บุญธรรม) ผมสอนผมเสมอวา ใหทําบุญและชวยเหลือคนอื่น ๆ ผมจึงคิดวาวิธีทําบุญแบบอื่นก็มี บวกกับความศรัทธาในตัวคุณหมอวีระยุทธที่ทานเกงมาก รักษาโรคนิ้วมือชาใหภรรยาผมหายขาด ก็เลยคิดวาอยากซื้อเครื่องมือผาตัดชิ้นน้ี ไวชวยเหลือ คนอื่น ๆ ที่เปนโรคเดียวกับภรรยาของผม” “วันนั้น ผมก็เลยนั่งรอพบคุณหมอวีระยุทธเหมือนคนไขคนอื่น ๆ เพียงแตผมไมไดตรวจโรค แตผมขอบริจาคเครื่องมือแพทย” คุณประกฤตหัวเราะ เพราะคนไขคุณหมอวีระยุทธเยอะมากในวันนั้น

ในที่สุดโรงพยาบาลวิภาวดี ก็ไดรับบริจาคเครื่อง Endoscopicts CP Release System Set ในนามคุณยงศิลป เรืองศุข ผูเปนคุณพอบุญธรรมของคุณประกฤต และเงินกองทุนเริ่มตนในนามกองทุนแสง-ชูโต ซึ่งเปนตระกูลท่ีคุณประกฤตถือกําเนิด เพ่ือการชวยเหลือผูปวยโรค “นิ้วมือชา” คุณประกฤตไดทําบุญใหกับคุณพอยงศิลป ดวยความรัก

Page 117 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๑๐๖

ความกตัญูที่มีอยู บวกกับแรงศรัทธาในตัวของ นพ.วีระยุทธ เชาวปรีชา ศัลยแพทยกระดูกและขอ และผูอํานวยการแพทย รพ.วิภาวดี ซึ่งคุณประกฤตบอกวา จะไมหยุดการชวยเหลือผูปวยในกองทุนแสง-ชูโตเพียงแคนี้อยางแนนอน เปนกุศลอันประเสริฐ และกอเกิดคุณคามหาศาลแกผูปวยอยางแทจริง๗๔

จากตัวอยางนํามาแสดงโดยยอเพียง ๒ เรื่องนี้ ผูวิจัยนํามาลงทั้งหมดโดยไมไดตัดขอความใด ๆ ออกเพื่อเปนขอมูลประกอบการศึกษา และวิเคราะหตอไป ตัวอยางที่ ๑ แมไมไดกลาวถึงความกตัญูโดยตรง แตก็เปนกิจกรรมที่สะทอนใหเห็นถึงการประยุกตใชความกตัญูในสังคมไทยไดเปนอยางดี โดยที่หนวยงานดังกลาวนี้ไดกําหนดจัดใหมีการคัดเลือกบุคคลที่มีคุณสมบัติเปนลูกที่มีความกตัญูกตเวทีอยางสูงตอแม ในงานวันแมแหงชาติ ประจําป ๒๕๕๐ รวม ๕ ประเภท ไดแก ประเภทนักเรียน /นักศึกษา ขาราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ นักรอง/นักแสดง/ศิลปน สื่อมวลชน และประชาชนทั่วไป เพื่อพิจารณาคัดเลือกเขารับโลรางวัลเกียรติคุณลูกที่มีความกตัญูกตเวทีอยางสูง กรณีตัวอยางเปนขาวในจังหวัดแมฮองสอน แตตนเรื่องของกิจกรรมนี้ คือสภาสังคมสงเคราะหแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ กิจกรรมการคัดเลือกลูกกตัญูทํากันทุกจังหวัด ทั่วประเทศ ในสวนกลางจัดขึ้นที่สวนอัมพร วันที่ ๑๒ สิงหาคม ๒๕๕๐ มีกิจกรรมหลายอยางที่มุงยกยองเชิดชูความกตัญูใหเปนที่ปรากฏ เชน การคัดเลือกแมตัวอยางที่สามารถอบรมสั่งสอนลูกใหเปนคนดี การคัดเลือกลูกตัวอยางที่มีความกตัญูตอบิดามารดา๗๕ ในแงนี้ทําใหเรามองเห็นภาพโดยรวมของสังคมไทยเกี่ยวกับเรื่องความกตัญูไดเปนอยางดีวา ไดมีความพยายามที่จะปลูกฝงคุณคาเรื่องความกตัญูในรูปแบบตาง ๆ๗๖

๗๔ http://www.vibhavadi.com/web/events_detail.php?id=77 , (เขาเมื่อวันที่ ๒๗ ตุลาคม ๒๕๕๐).

๗๕ http://www.royalthaipolice.go.th/showdetial.php?news_ID=314, (เขาเมื่อวันที่ ๒๗ ตุลาคม ๒๕๕๐). ๗๖ เชนกรณีมีการต้ังเปนชมรมลูกกตัญู ซึ่งมีหลักการอยูที่ความพยายามจะทําใหสังคมไทยซึ่งกําลังเปลี่ยนแปลงดวยการพัฒนาที่เนนแตทางดานเศรษฐกิจ ทําใหผูคนเริ่มละเลยวัฒนธรรมอันดีงาม โดยเฉพาะคุณคาเรื่องความกตัญูภายในสังคมที่เริ่มถดถอยลงตามลําดับ ดูรายละเอียดใน http://community.thaiware.com/index.php?s=66bda83239bd25c83a99682ab236aad3&showtopic=295351&st=0&p=1774394&#entry1774394, (เขาเมื่อวันที่ ๒๗ ตุลาคม ๒๕๕๐).

Page 118 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๑๐๗

สวนตัวอยางที่ ๒ เปนเรื่องของการตอบแทนคุณ (๑) คุณหมอที่ชวยรักษาโรคนิ้วมือชาจนหายขาด (๒) คุณพอบุญธรรมที่ลวงลับไปแลว เปนการประยุกตหลักความกตัญูกับการทําบุญเขาเปนเรื่องเดียวกัน

จากกรณีตัวอยางที่ ๒ หากเรานํามาพิจารณาในแงของประเพณี และวัฒนธรรมไทย เราก็จะเห็นวา มีบุญประเพณีหลายอยางในสังคมไทยที่สะทอนถึงการประยุกตใชหลักความกตัญู

ตัวอยาง งานทําบุญอุทิศอันเปนสื่อเพ่ือแสดงออกซึ่งความกตัญูกตเวที ที่ประชาชนชาวไทยทํากัน และทําทุกภาคสวนของประเทศก็คือ งานทําบุญสารท ซึ่งนิยมทํากลางเดือน ๑๐ เพราะถือกันวา ในวันกลางเดือน ๑๐ นี้ เปนวันผีญาติและมิใชญาติมาคอยรับอาหารที่ทํากันในคราวนี้ เมื่อผูใดไมทําบุญขาวสารท ถือวา ผูนั้นขาดความกตัญูตอบิดามารดา และญาติพ่ีนองที่ลวงลับไปจะไดรับความเดือดรอน เพราะผีที่ลวงลับไปจะใหภัยตางๆ๗๗

ภาคใตเรียกประเพณีนี้วา “วันชิงเปรต” เปนการทําบุญเพื่ออุทิศสวนกุศลใหกับเปรตชนหรือบรรพบุรุษผูลวงลับไปแลว “กําหนดทํา ๒ ครั้ง คือ วันแรม ๑ ค่ํา เดือน ๑๐ เปนวันรับตายาย หรือวันรับเปรต สวนวันแรม ๑๕ ค่ํา เดือน ๑๐ เปนวันสงตายาย หรือวันสงเปรต เชื่อวาในวันแรม ๑ ค่ํา เปนวันที่ยมบาลจะปลอยใหเปตชนมาเยี่ยมลูกหลาน ลูกหลานก็จะทําบุญเลี้ยงสงอีกครั้งหนึ่ง๗๘

นอกจากประเพณีประเพณีวันสารทแลว ยังมีประเพณี และกิจกรรมอื่น ๆ ที่สามารถเชื่อมโยงถึงหลักความกตัญูในสังคมไทย เชน ประเพณีลอยกระทง, ประเพณีสงกรานต, ประเพณีการบวชเรียนของชายไทยที่มีอายุครบ ๒๐ ป, ประเพณีบุญคูณลานของชาวภาคอีสาน, ทําเนียมการสรางวัด สรางเจดียสถาน สรางถาวรวัตถุเพ่ืออุทิศสวนกุศลใหกับบุพพการี, กิจกรรมการทําวัตรอุปชฌาย ครูบาอาจารยของพระสงฆ, กิจกรรมการไหวครูของศิษย, การทําบุญอายุ, การทําบุญบาน, การทําบุญแมโพสพ เปนตน

๗๗ แปลก สนธิลักษณ, พิธีกรรมและประเพณี, (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพกรมศาสนา,๒๕๔๒),หนา ๗๓. ๗๘ สมปราชญ อัมมะพันธ , รองศาสตราจารย , ประเพณีและพิ ธีกรรมในวรรณคดีไทย ,(กรุงเทพมหานคร : โอ.เอส. พริ้นต้ิง เฮาส. ๒๕๓๖), หนา ๙๑.

Page 119 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๑๐๘

จึงเห็นไดวา ในครอบครัวของสังคมไทย ความกตัญูไมใชเพียงแคเปนคําสอนที่สอนกันดวยปากตอ ๆ กันมาเทานั้น หากแตถูกนําไปประยุกตใชในวิถีชีวิตจากคนรุนหนึ่งสูคนอีกรุนหนึ่ง บุตรหลานของคนไทยทุกคน มักจะไดรับการสั่งสอนเรื่องความกตัญู ทั้งนี้ไมเฉพาะตอบิดามารดาของตนเทานั้น หากแตมีความหมายกวางไปถึงบุคคลอื่น สัตวอื่น หรือแมแตวัตถุ สิ่งของ สถานที่ ซึ่งมีอุปการคุณแกเขาในทางใดทางหนึ่ง ซึ่งหากจะพิจารณาในเชิงปฏิบัติแลว ความกตัญูไดถูกสอนขยายวงกวางเปนลําดับตามวัย เชน เริ่มตนชีวิตเริ่มที่บาน เราก็สอนใหมีความกตัญูตอบิดามารดา เติบโตขึ้นมาหนอยเขาโรงเรียน เราก็สอนใหมีความกตัญูตอโรงเรียน ตอสถาบันที่ตนเรียนอยู ออกจากโรงเรียนมีงานทํา เราก็สอนใหกตัญูตอองคกร ตอหนวยงาน ตอเพ่ือนรวมงาน ตอเจานายผูบังคับบัญชาผูมีพระคุณ ขยายไปเรื่อย ๆ จนถึงสอนใหกตัญูตอชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย กตัญูตอแผนดิน ซึ่งแสดงใหเห็นวา คนไทย สังคมไทยนั้นดํารงอยูไดตราบเทาทุกวันนี้ก็โดยอาศัยหลักความกตัญู ซึ่งสอดคลองกับผลการสํารวจ และการเปดเผยของผูอํานวยการสํานักเอแบคโพลลที่ระบุวา ความกตัญูเปนคุณธรรมอันดับหนึ่งของคนในสังคมไทย๗๙

อดีตนายกรัฐมนตรีของไทย พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ไดเคยแสดงวิสัยทัศนในการพัฒนาประเทศดานดานตาง ๆ เชน ดานการเมือง การเศรษฐกิจ การศึกษา ดานเทคโนโลยี เปนตน บรรดาวิสัยทัศนเหลานั้น มีอยูตอนหนึ่งทานไดกลาวถึงความสําเร็จในการพัฒนาประเทศโดยเชื่อมโยงหลักความกตัญูวา

ความสําเร็จของคนไทยในชีวิตสวนใหญ สวนหนึ่งที่เปนหัวใจสําคัญ คือ ความกตัญู เพราะเรื่องนี้คนไทย มีเหนือกวาหลาย ๆ ประเทศ

ความกตัญูที่สําคัญที่สุดคือตอพอแมที่เลี้ยงดูเรามา ใหกําเนิดเรามา ความกตัญูท่ีสําคัญยิ่งไปกวานั้นคือความกตัญูตอแผนดินเกิด คือบานเกิดเมืองนอนของเรา๘๐

ดวยวิสัยทัศนดังกลาว คําขวัญวันเด็กประจําปที่อดีตนายกรัฐมนตรีทานนี้มอบใหแกเด็กคือ “รักชาติ รักพอแม รักเรียน รักสิ่งดี ๆ อนาคตดีแนนอน” โดยในสวนของรักพอแม ทานไดอธิบายเพิ่มเติมวา “หมายถึงความกตัญูตอพอแม รักและเคารพเชื่อฟงพอแม

๗๙ http://www.drkalaya.com/education.php?newsid=580 (อางอิงจากหนังสือพิมพไทยโพสต ฉบับวันที่ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๕๐) ๘๐http://account.payap.ac.th/book_t/bigguy.html#bugguy8, (เขาเมื่อวันที่ ๒๗ ตุลาคม ๒๕๕๐).

Page 120 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๑๐๙

เพราะพอแมรักลูกมากที่สุด”๘๑ ทานตองการใหเด็กมีความกตัญู เพราะทานมองเห็นวา เด็กที่มีความกตัญูจะเปนดีที่มีจิตใจดี จากตัวอยางที่กลาวมา สิ่งที่สะทอนใหเห็นชัดเจนที่สุดก็คือ ทุกภาคสวนตางก็พยายามที่ปลูกฝงเรื่องความกตัญูใหกลับคืนสูสถาบันครอบครัว เพราะความกตัญูรูคุณนี้ เปนคุณธรรมที่ตองเริ่มจากสถาบันครอบครัว ปญหาสังคมที่กําลังเผชิญอยูเวลานี้ สวนหนึ่งมาจากความลมสลายของสถาบันครอบครัว ความรัก ความผูกพันระหวางพอแมและลูกเริ่มถูกแทรกแซงจากปจจัยทางสังคมหลายประการ ทําใหพฤติกรรมทางสังคมเปลี่ยนแปลงไปในทางที่จะกอใหเกิดความเสียหาย ซึ่งทวีความรุนแรงขึ้น หลายหนวยงาน ทั้งภาครัฐ และภาคเอกชนจึงพยายามชวยกันปลูกฝงคานิยมดังกลาวโดยวิธีการตาง ๆ สังคมไทยไดมีการนําเอาหลักของความกตัญูในพระพุทธศาสนามาประยุกตใชในการดําเนินชีวิตกันอยางแพรหลายและยาวนาน ในรูปแบบของการปฏิบัติหนาที่ตางตอบแทนซึ่งกันและกันที่เรียกวาหลักทิศ ๖๘๒ จนเปนวิถีชีวิตของคนในสังคมหลอหลอมเปนขนบธรรมเนียมประเพณีที่ผูคนพึ่งปฏิบัติตอกันทั้งในแงของการอยูรวมกันในสังคม เศรษฐกิจ การศึกษา การเมืองการปกครอง และสาธารณสุขซึ่งในพระพุทธศาสนาแมจะไมมีการกลาวถึงการนํามาประยุกตในแงตางๆ ไวตรงๆ อยางชัดเจนแตพอจะสรุปไดจากการปฏิบัติซึ่งนํามากลาวไวดังนี้ ๑.ในแงสังคม บุคคลในสังคมมีหนาที่ที่พ่ึงปฏิบัติตอกัน เมื่อปฏิบัติแลวก็จะเกิดผลที่ดีตอกันตามมา เชน บุตรธิดาที่เชื่อฟงบิดามารดา ตามหนาที่ ๕ ประการ๘๓ คือ ๑) ทานเลี้ยงเรามา เราเลี้ยงทานตอบ ไมปลอยใหทานตองอดอยาก คอยดูแลเอาใจใสอยางใกลชิด ใหทานไดรับความสุขสบายตามสมควรแกฐานะ ๒) ทํากิจของทาน ไมนิ่งดูดายในกิจธุรการงานของทาน เพื่อแบงเบาภาระหนาที่ของทาน ทานจะไดสบายกายสบายใจ ๓) ดํารงวงศตระกูล เปนการรักษาชื่อเสียงของทานไมใหเสียงหายจากการประพฤติปฏิบัติที่ไมนําความเสื่อมเสียมาใหแก

๘๑http://region1.prd.go.th/primeminister/data/prime100147.htm, ( เข า เมื่อ วันที่ ๒๗ ตุลาคม ๒๕๕๐). ๘๒ ที.ปา.๑๑/๒๔๔/๒๐๐. ๘๓ ที.ปา.๑๑/๒๖๖/๒๑๒.

Page 121 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๑๑๐

วงศตระกูล ๔) ประพฤติตนใหเหมาะสมกับการที่จะเปนทายาทสืบสกุล ใชจายทรัพยแตพอควรตามฐานะดวยคิดถึงความเหน็ดเหนื่อยของบิดามารดาในยามที่ทานแสวงหาทรัพยมาเลี้ยงดูเรา ๕) เมื่อทานเสียไปแลว ก็ทําบุญอุทิศใหทานตามประเพณีทางศาสนาและฐานะของตน เมื่อไดกระทําการตอบแทนเชนนี้ยอมเปนเหตุนําพาใหครอบครัวมีความสัมพันธที่ดีตอกัน นําความสุขสงบมาสูครอบครัว เมื่อครอบครัวมีความสุข ชุมชนสังคมก็มีความสุข ปราศจากปญหาของความขัดแยงแตกแยกในสังคม ทําใหคนในสังคมมีความเมตตาเอื้ออาทรตอกันและกันนําพาใหสังคมอยูอยางมีความสันติสุข๘๔ การอยูรวมกันในครอบครัวและสังคมจะมีความสงบสุขรมเย็นไดนั้น ทุกคนตองมีความเคารพย้ําเกรงกัน ปฏิบัติตนตามกฎระเบียบขอบังคบของสังคมอยางถูกตองเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน จึงจะอยูกันอยางมีความสงบสุข ซึ่งสิ่งนี้เองเปนการสะทอนใหเห็นถึงหลักของความกตัญู ในสวนของการแสดงความเคารพย้ําเกรงตอกันใหเกียรติกัน ดังเชนเรื่องของพระสารีบุตรที่มีความเคารพนับถือในพระอัสสชิที่เคยแสดงธรรมแกตนจนไดบรรลุโสดาปตติผล เมื่อทานไดยินวาพระอัสสชิพํานักอยูในทิศทางไหน จะกราบไหวพรอมทั้ง นอนหันหัวไปในทิศทางนั้น เปนการแสดงความเคารพตอผูมีพระคุณเปนเหตุใหทานตอมาไดรับการยกยองจากพระศาสดาวาเปนผูมีความกตัญูกตเวที ๒.ในแงการเมืองการปกครอง สังคมจะมีความสงบเรียบรอย เกิดจากคนในสังคมไมกอความวุนวาย ทําความเสียหายใหเกิดขึ้นแกถิ่นฐานประเทศชาติ แกสังคม หรือแกสถาบันที่ตนไดอยูอาศัย ในขณะเดียวกันตองใชสติปญญาในการดูแลรักษาสรางสรรคความเจริญงอกงามความกาวหนาใหแกประเทศชาติบานเมืองและสถาบันที่เราอยูอาศัย ดวยการชวยรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีที่ดีงาม รักษากฎหมายและระเบียบวินัยของสังคม๘๕ สิ่งเหลานี้เปนการสํานึกในหนาที่ สํานึกในบุญคุณซึ่งก็คือความกตัญู การปฏิบัติหนาที่ที่พ่ึงปฏิบัติในการอยูรวมกันถือวาเปนการตอบคุณแทนของแผนดิน

๘๔ พระมหาอุดม สารเมธี, กตัญูกตเวทิตา การรูจักตอบแทนคุณ., (กรุงเทพฯ : สํานักพิมพระฆังทอง, ๒๕๔๘),หนา ๓๒-๓๓. ๘๕ เรื่องเดียวกัน,หนา ๓๖-๓๗.

Page 122 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๑๑๑

ความกตัญูทําใหคนอยูรวมกันในสังคมอยางมีความเชื่อใจกันดั่งเปนมิตรสหายกัน ก็ดวย ๑)ปองกันคนผูประมาทแลว ๒)ปองกันทรัพยของผูประมาทแลว ๓)เมื่อมีภัยเปนที่พ่ึงพํานักได ๔)เมื่อมีกิจที่จําเปนเกิดขึ้น ก็ชวยเหลือในกิจนั้นได๘๖ สิ่งเหลานี้เกิดจากความสํานึกในภาระหนาที่ที่ไดปฏิบัติตอกันดวยความเปนมิตรกัน เปนการแสดงความกตัญญตอกันในการที่จะอยูรวมกันในสังคม ชวยกันดูแลซึ่งกันและกันใหมีความสุข ถาจะกลาวอีกอยางหนึ่ง การรูจักหนาที่ของตนที่ดวยการประพฤติปฏิบัติตามหนาที่ของนายจาง คือ ๑)จัดการงานใหทําตามกําลังความเหมาะสม ๒)ใหอาหารและคาจาง ๓)ดูแลรักษาพยาบาลยามเจ็บปวย ๔)ใหรางวัลตามความเหมาะสม ๕)ใหหยุดตามโอกาสที่สมควร๘๗ ดังนี้ไดอยางเปนธรรม ลูกจางก็จะเกิดความรักสํานึกในบุญคุณของนายจางทําหนาที่ตอบแทนคุณใหกับนายจางอยางเต็มกําลังไมบกพรองตอหนาของตน ต่ืนแตเชาเขางานกอนเวลา เลิกงานตรงเวลา ถือเอาแตของที่นายให นําคุณของนายไปสรรเสริญเปนตน ยอมทําใหเกิดความสบายใจตอกันและกันเหลานี้คือการรูสึกนึกในบุญคุณของกันและกันแลวทําตอบแทนซึ่งก็คือความกตัญูนั่นเองเปนการนําไปสูการปกครองที่ดีดวยผูอยูใตบังคับบัญชาคือลูกจางรูสํานึกถึงบุญคุณแลวทําตอบแทนตามหนาที่อยางเหมาะสม ๓.ในแงเศรษฐกิจ ความกตัญูกับครอบครัวสังคมไทยนั้นเปนเรื่องที่มีการปลูกฝงกันมานานแลวต้ังแตอดีต กระทั่งถึงปจจุบัน สังคมไทยใหการยกยองบุตรธิดา หรือบุคคลที่มีความกตัญูวาเปนคนดี และตัวอยางที่ดีงาม ควรแกการยกยอง ดังจะเห็นไดจากมีการคัดเลือกบุตรธิดาที่มีความกตัญู และกระทําการยกยองในระดับตาง ๆ ในระดับชาติก็มีการนํารางวัลพระราชทานมามอบใหเปนเกียรติประวัติ ถือวาเปนรางวัลสําคัญสูงสุดและนํามาซึ่งความปลาบปลื้มยินดีสําหรับผูที่ไดรับ อยางกรณีนองเปล-กุลปรียา วิริยะอมรชัย นักเรียนชั้น ม. ๔ โรงเรียนวัดนวลนรดิศ ๑ ในจํานวน ๑๔๒ คนของนักเรียนรางวัลพระราชทานประจําป ๒๕๔๗ ไดแสดงความรูสึกในโอกาสที่เขารับรางวัลพระราชทานจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ที่ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา เมื่อวันที่ ๑๓ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๔๘

๘๖ ที.ปา.๑๑/๒๖๑/๒๑๐. ๘๗ ที.ปา.๑๑/๒๗๑/๒๑๕.

Page 123 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๑๑๒

“สิ่งที่ทําใหไดรับรางวัลอันทรงเกียรติ อาจเปนเพราะความกตัญูที่มีตอพอแม เนื่องจากพอแมแยกทางกัน บวกกับเปนลูกคนเดียว ทําใหตอนเย็นและวันหยุดจะชวยแมขายอาหารตามสั่งบริเวณซอยเทอดไท ๔๙ นอกจากนี้ สามารถเก็บเงินคาขนมที่แมใหใชจายแตละวันตลอด ๓ ปที่เรียนอยูในระดับมัธยมศึกษาตอนตนดวยการฝากไวกับธนาคารของโรงเรียน จนมีเงินเหลือเก็บกวา ๒ หมื่นบาท ซึ่งไดมอบใหแมหมดทุกบาทเพื่อนําไปใชจายในชีวิตประจําวัน อีกทั้งยังมี เงินเหลือเก็บจากคาขนมที่ เก็บหอมรอมริบมาตั้งแตระดับประถมศึกษาปที่ ๑ จนถึงมัธยมศึกษาปที่ ๒ โดยฝากไวกับธนาคาร ไดจํานวนเงินทั้งสิ้น หาหมื่นกวาบาท ทําใหสามารถซื้อคอมพิวเตอรใหตัวเองไดโดยไมตองรบกวนเงินจากแม” “สิ่งที่ยอดติดไวในใจเสมอคือความกตัญู และมีแมเปนแบบอยางของความเขมแข็ง เมื่อแมยังสูกับการเลี้ยงลูกเพียงลําพัง เพราะฉะนั้นในฐานะที่เปนลูกจะตองเขมแข็ง เพ่ือเลี้ยงดูแมใหยิ่งกวาที่แมเขมแข็ง ดังนั้นเมื่อโตขึ้นอยากจะเปนแพทยเพื่อรักษาแมที่เจ็บขาจากการยืนขายอาหารวันละ ๑๓ ชั่วโมง ไดนอนเพียง ๓ ชั่วโมงตอวัน และสิ่งที่ตองการมากที่สุดตอนนี้คือ อยากใหแมหายเจ็บ”๘๘ กรณีตัวอยางขางตนนี้ หากเราจะนํามาวิเคราะห เราจะพบวา ผลของความกตัญูที่นองกุลปริยามีตอมารดาของตนเอง สงผลดีหลายดาน ในแงดานเศรษฐกิจเอง ความกตัญูของนองกุลปริยา สงผลดีตอระบบเศรษฐกิจภายในครอบครัว ทําใหรูจักประหยัดอดออม เพราะมองเห็นวา เงินทุกบาททุกสตางคที่ตนไดมานั้น ไดมาดวยหยาดเหงื่อแรงงานของมารดา ตองรูจักใชเพื่อใหมารดานั้นลําบากนอยลง ซึ่งเทากับเปนการชวยเบาภาระของมารดาในทางออม อันนี้เพราะเชื่อฟงพอแมที่ทานกลาวสอนเปนคุณคาของการรูจักประหยัด รูจักชวยเหลือกิจการงานของทานเปนการชี้ชัดวานองเขาเปนคนดีมีความกตัญูนั่นเอง ๔.ในแงการศึกษา การศึกษาเปนกิจกรรมที่กอใหเกิดความเจริญ ความดีงาม ความถูกตองมากยิ่งขึ้นกวาเดิม นั่นคือ การศึกษาเปนกิจกรรมการพัฒนา พัฒนาทั้งความคิด ความรู ความชํานาญ อารมณ ความรูสึกตาง ๆ ใหมีคุณภาพสูงขึ้น คนจะพัฒนาการศึกษาไดดียอมตองเปนคนที่มีความเชื่อฟง ดูแลปรนนิบัติ รับใช และตั้งใจเรียน๘๙ ครูอาจารยจึงจะถายทอดความรู ยกยอง

๘๘ http://db.once.go.th/thsied_news/indexl.php?id=23616, ( อางจากหนังสือพิมพคมชัดลึก ฉบับ ประจําวันที่ ๑๗ มิถุนายน ๒๕๔๘, หนา ๑๒.) ๘๙ ที.ปา. ๑๑/๒๖๘/๒๑๓.

Page 124 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๑๑๓

และทําความปองกันใหปรากฏซึ่งเหลานี้เปนสิ่งที่อาจารยมอบใหแกศิษยผูมีความกตัญูกตเวที เหตุนั้นเองในปจจุบันจึงมีพิธีกรรมมากมายที่กลาวถึงหรือเกี่ยวเนื่องกับการศึกษา ในที่นี้ผู วิจัยยกกรณีถึงการที่มีวันครูมีพิธีไหวครู อันเปนการแสดงถึงความกตัญูตอครูบาอาจารย เมื่อลูกศิษยเคารพในครูบาอาจารย เชื่อฟงถอยคําทั้งพอแมครูบาอาจารยต้ังใจเรียนก็ทําใหเปนคนเรียนดี ประสบความสําเร็จในหนาที่การงานในชีวิต ก็ดวยความสํานึกในบุญคุณของครูอาจารยที่ไดถายทอดความรูแกตน จึงไดประพฤติตอบแทนคุณนั้นดวยการตั้งใจศึกษา ไมเปนคนดื้อรั้น ขยันอดทน เปนคนดีสิ่งเหลานี้ลวนเกิดมาจากความเปนกตัญูรูคุณทั้งสิ้น ๕.ในแงสาธารณสุข แมจะไมมีความชัดเจน แตก็พอเทียบเคียงไดวาความกตัญูตอบิดามารดาเปนตนนั้น เอื้ออํานวยใหสุขภาพของผูมีคุณธรรมขอนี้มีสุขภาพกายและจิตแจมใสดีงามอันเปนเหตุผลของความสบายใจในการไดทําความดีใหปรากฏดวยการทําหนาที่ของบุตรธิดาที่ดี เชน ชวยกิจการงานของครอบครัว ต้ังใจศึกษาเลาเรียน ดํารงวงศตระกูล ไมทําใหครอบครัวเสียชื่อเสียงเปนตน ๙๐ ในพระพุทธศาสนาเองไดกลาวประโยชนที่จะตองทําเพื่อตนเอง คือการรูจักตอบแทนคุณตอตนเองดวยความสุขขั้นตนคือการที่บุคคลรูจักถนอมรักษารางกายของตนเองอยางถูกตองตามหลักโภชนาการ คือ การใชสติพิจาณาปจจัย ๔ กอนบริโภค การอยูในสภาพแวดลอมที่ดีมีอากาศบริสุทธิ์ มีอารมณแจมใส มีอาชีพสุจริต และออกกําลังกายอยางสม่ําเสอม๙๑ การประพฤติปฏิบัติเชนนี้เปนการแสดงความกตัญู โดยคํานึกถึงสุขภาพพลานามัยซึ่งก็คือเรื่องสาธารณสุขนั่นเอง เมื่อบุคคลมีสุขภาพรางกายสมบูรณดี สภาพจิตใจยอมเหมาะแกการปฏิบัติธรรมเพื่อทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน คือประโยชนในปจจุบัน สัมปรายิกัตถประโยชน ประโยชนในอนาคต และปรมัตถประโยชน คือประโยชนอยางประเสริฐ คือ ความหลุดพน สิ่งนี้มีเพราะความกตัญูตอตนเอง จากตัวอยางที่กลาวมาแลวขางตนเปนการประยุกตใชเรื่องความกตัญูที่มีตอครอบครัว ดวยการแสดงความสํานึกในบุญคุณของบุพพการีบุคคลที่ทานไดทําไวแกตนแลวตอบแทนบุญคุณตามโอกาสชี้ใหเห็นถึงการนําหลักของความกตัญูมาใชในการดําเนินชีวิต

๙๐ ดูรายละเอียดใน ที.ปา. ๑๑/๒๖๖-๒๗๒/๒๑๒-๒๑๖. ๙๑ เรื่องเดียวกัน,หนา ๔๐-๔๑

Page 125 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๑๑๔

ตามหนาที่ของแตละบุคคลตามโครงสรางของสังคมซึ่งปรากฏอยูในวิถีของการประพฤติปฏิบัติตางตอบแทนซึ่งกันและกัน เชน การเชื่อฟง การแสดงความเคารพ การตั้งตนใหอยูในความดี การรับใช การรูจักคบหา การปองกันตัวเองจากอบายมุขทั้งหลายเปนตน ในพระพุทธศาสนาแมจะไมไดกลาวถึงเรื่องเหลานี้ไวอยางชัดเจนแตในวีถีชีวิตของคนไดนําหลักความกตัญูมาใชสรางความสัมพันธในครอบครัวใหแนนแฟนกลมเกลียวเปนอันหนึ่งอันเดียวกันและหลักความกตัญูนี้เองถูกนํามาประยุกตใชกับชีวิตของคนในสังคมไดอยางดียิ่งจนเกิดเปนขนบธรรมเนียมประเพณีขึ้นในสังคมอยางมากมาย เชน ประเพณีไหวครู ประเพณีทําบุญอุทิศและประเพณีทางศาสนาอีกมากมาย ซึ่งเหลานี้ลวนเกิดสํานึกรับผิดชอบตอหนาที่ของตนเองที่มีตอตนเอง และหนาที่ที่ตนเองมีตอผูอื่นในสังคมซึ่งไดแกความรูสํานึกในบุญคุณ(แลวทําตอบแทน)คือ”กตัญู”อันจะชวยใหเกิดความสันติสุขแกครอบครัวและสังคมประเทศชาติ

Page 126 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๑๑๕

บทที่ ๔

เปรียบเทียบเรื่องความกตัญูในลัทธิขงจื๊อกับในพระพุทธศาสนา

๔.๑ นิยามและความหมาย

พิจารณาจากบทนิยามและความหมาย ทั้งขงจื๊อและพระพุทธเจา ไมไดนิยาม หรือแสดงความหมายของคําวา กตัญู ไวโดยตรง ที่มีกลาวถึงก็คือการแสดงลักษณะของความกตัญูวา หมายถึงพฤติกรรมเชนนี้ ๆ ซึ่งการแสดงลักษณะพฤติกรรมของความกตัญูดังกลาวนี้ พบเห็นไดทั่วไป ทั้งในหลักคําสอนของขงจื๊อและพระพทุธเจา อยางไรก็ตาม ในสวนของพระพุทธศาสนา แมพระพุทธเจาจะไมไดนิยามความหมายเอาไวโดยตรง แตก็มีบทนิยามความหมายของความกตัญูปรากฏอยูในคัมภีรอรรถกถา โดยทานไดนิยามความหมายไวสั้น ๆ วา “บุคคลผูรูอยู ใหผูอื่นรูอยูซึ่งอุปการะที่ บุพพการีทําไวกอนโดยความเปนอุปการะ ใหเปนไปโดยสมควรแกอุปการะที่คนอื่นทําไวแลว ชื่อวา กตัญูกตเวที”๑ เมื่อพิจารณาโดยภาพรวม กตัญูในพระพุทธศาสนา มีความหมายวา การระลึกนึกถึงในอุปการคุณ หรือบุญคุณที่ไดรับจากผูใดผูหนึ่ง สิ่งใดสิ่งหนึ่ง จะมากจะนอยก็ตาม แลวหาโอกาสตอบแทนอุปการคุณนั้นตามกําลัง ความสามารถ และตามโอกาสอันควร ความหมายดังกลาวนี้ เมื่อมองจากมุมมองของขงจ๊ือสรุปไดวา หมายถึง ความสํานึกในภาระหนาที่ที่ลูกจะพึงกระทําแกบิดามารดาของตน ดวยความสํานึกวา ทานทั้งสองนั้นเปนผูใหกําเนิด และเปนผูมีคุณ ในฐานะเปนผูดูแลเลี้ยงดูจนเติบใหญ พรอมทั้งใหการศึกษาอบรม คอยปกปองทะนุถนอม ทําใหบุตรธิดาสามารถดํารงชีวิตอยูในสังคมไดอยางปลอดภัย โดยมีจารีตประเพณีเปนหลักหรือเปนแนวทางในการยึดถือปฏิบัติตามอยางเครงครัด บนพื้นฐานความรูสึกภายในจิตใจที่สํานึกรัก เคารพ และเทิดทูนเหนือสิ่งใด จากความหมายดังกลาว มีขอควรสังเกตที่ทําใหเห็นความเหมือน และความแตกตางกันระหวางพระพุทธศาสนา และลัทธิขงจื๊อดังนี้

๑ มหามกุฎราชวิทยาลัย, มังคลัตถทีปนีแปล เลม ๔, (กรุงเทพ ฯ : มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๓๒), หนา ๑๑๙.

Page 127 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๑๑๖

ก. สวนที่เหมือนกัน ๑. ความกตัญูเปนหลักธรรมที่แสดงถึงความจริงตามธรรมชาติที่วา “ไมมีสิ่งใดสามารถดํารงอยูไดเพียงลําพัง” มนุษยก็ไมสามารถดํารงอยูไดเพียงลําพัง ทุกคนอยูในฐานะตอง “อาศัย” ผูอื่นอยูตลอดเวลา มนุษยกําเนิดมาก็ตองอาศัยบิดามารดาเลี้ยงดูในเบื้องตน ซึ่งการเลี้ยงดูนี้ถือเปน “หนาที่” และเมื่อเกิดหนาที่แลว ความ “ผูกพัน” ก็ตามมา นั่นคือบุตรธิดาที่ไดรับการเลี้ยงดูมาแลว ตองสํานึกในความดํารงอยูของตนวา ที่เปนไปได หรือดํารงอยูไดนั้น เพราะ “อาศัย” บิดามารดาดังกลาว ซึ่งบนพื้นฐานของความผูกพันดังกลาวนี้ ก็เกิดหนาที่ของบุตรธิดาตามมา การที่บุตรธิดาสํานึกรูภาระหนาที่ดังกลาว และกระทําตอบแทนตามสมควรนี้ พระพุทธศาสนาเรียกวา “กตัญู” ขณะที่ขงจื๊อเรียกวา “เสี้ยว” ซึ่งมีความหมายเดียวกัน ๒. ทั้งพระพุทธเจาและขงจื๊อ ไมไดนิยามความหมายของความกตัญูไวโดยตรง แตเมื่อพิจารณาจากบริบทตาง ๆ ที่เกี่ยวของ ทั้งที่เปนคําอธิบายจากสาวก หรือศิษยรุนหลังก็ตาม สิ่งที่เรียกวา กตัญู ก็ตาม เสี้ยวก็ตาม สื่อความหมายถึงสิ่งเดียวกัน นั่นคือ ความกตัญูนั้นเปนเรื่องของการตอบแทนบุญคุณผูที่มีคุณ

ข. สวนที่แตกตางกัน ความกตัญูในหลักคําสอนของจื๊อมุงเนนเฉพาะในสวนของสังคมมนุษยเปนหลัก กลาวอีกแงหนึ่ง ความกตัญูเปนเรื่องระหวางมนุษยกับมนุษยที่จะพึงปฏิบัติตอกัน แมจะมีกลาวถึงความกตัญูตอธรรมชาติอยูบางในคัมภีรจารีต๒ ก็ถือวาเปนเรื่องที่ไมไดเนนความสําคัญนัก ขณะที่พระพุทธศาสนาแมจะเนนเอาสังคมมนุษยเปนหลักสําคัญ แตก็ไมไดทอดทิ้งประเด็นความกตัญูตอสิ่งอื่น เปนตนวา สัตว สิ่งของ สถานที่ ซึ่งตามหลักของพระพุทธศาสนาแลว หากมีบุญคุณตอมนุษยแลว มนุษยตองแสดงความกตัญูตอบแทนตามสมควร ดวยวิธีที่แตกตางกันออกไปตามสถานะ เชน เราอาจตอบแทนบุญคุณบิดามารดาดวยการ เคารพ เชื่อฟง เลี้ยงดูทานใหไดรับความสุข เราอาจจะตอบแทนบุญคุณสัตวที่มีคุณ เชน วัว ควาย เราก็อาจจะตอบแทนคุณโดยการไมใชแรงงานเกินกําลัง ไมกระทําทารุณ หรือ ตอบแทนบุญคุณที่อยูอาศัย ดวยการดูแลรักษา ไมทําลาย หรือทําใหเกิดความเสียหาย เปนตน

๒ อางใน ละเอียด ศิลานอย, ผูแปล. สรางชีวิตและสังคมตามหลักคําสอนของขงจื๊อ, (กรุงเทพ ฯ : สํานักพิมพดอกหญา, ๒๕๓๕),หนา ๕๒.

Page 128 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๑๑๗

๔.๒ ประเภทของความกตัญู การแบงประเภทของความกตัญูในคําสอนของขงจื๊อ และคําสอนของพระพุทธศาสนา แมจะมีจํานวนการแบงหัวขอยอยไมเทากัน กลาวคือ ในคําสอนของขงจื๊อแบงประเภทของความกตัญูออกเปน ๓ ประเภท ไดแก ๑) ความกตัญูตอบิดามารดา ๒) ความกตัญูตอบุคคลอื่นที่มิใชบิดามารดา ๓) ความกตัญูตอธรรมชาติ ในสวนของพระพุทธศาสนา แบงความกตัญูออกเปน ๒ ประเภท ไดแก ๑) ความกตัญูตอบุคคล ๒) ความกตัญูตอสิ่งที่ไมใชบุคคล ไดแกสัตว วัตถุ สิ่งของ สถานที่ บุญกุศล แตเมื่อพิจารณาในรายละเอียดแลว ความกตัญูตอบุคคลในคําสอนของพระพุทธศาสนาก็เขากันไดกับความกตัญูตอบิดามารดา และความกตัญูตอบุคคลอื่นที่มิใชบิดามารดาในคําสอนของขงจื๊อ ความกตัญูตอธรรมชาติในคําสอนของขงจื๊อ ก็เปนสวนหนึ่งของเรื่องความกตัญูตอสิ่งที่ไม ใชบุคคลในพระพุทธศาสนา เพี ยงแต ในรายละเอี ยดของประเด็นดั งกล าวนี้ พระพุทธศาสนาจําแนกสัตว วัตถุ สิ่งของ สถานที่ และบุญกุศล ขณะที่คําสอนของขงจื๊อใชคํากลาง ๆ วา ธรรมชาติ ซึ่งตีความไดครอบคลุมถึงสิ่งที่พระพุทธศาสนากลาวถึงก็ได แตขอนี้ไมมีรายละเอียดกลาวไว เพราะอยางที่ไดกลาวขางตนแลววา ขงจื๊อเนนเฉพาะความกตัญูในสวนที่เกี่ยวของกับคนในสังคมเทานั้น

๔.๓ ความสําคัญสัมพันธระหวางความกตัญูกับหลักคําสอนอื่น หลักความกตัญูในคําสอนของขงจื๊อผูกติดอยูกับหลัก “หลี่” และ “เหริน” หลี่ คือหลักจารีตประเพณีที่เปนแบบแผน แบบอยางทางสังคม ขณะที่เหริน คือหลักเมตตาธรรม อันไดแกความรัก ความปรารถนาดีตอกัน หรือตอเพ่ือนมนุษย อยางที่ขงจื๊อไดกลาวไววา “ขณะที่พอแมยังมีชีวิตอยู ตองปรนนิบัติรับใชทานตามจารีตประเพณี ครั้นทานตายไปแลว ก็ตองจัดการฝงศพทานใหถูกตองตามจารีตประเพณี”๓ และ “ความรักและความเคารพนับถือบิดามารดาที่มีอยูในจิตใจของตนนั่นแหละคือความกตัญู”๔ ทําใหมองเห็นวา รูปแบบหรือบรรทัดฐานที่เรียกวา ความกตัญูนั้น มีมากอนแลวในรูปที่เรียกวา จารีตประเพณี ดังนั้นหากพิจารณาจากกรอบของจารีตประเพณี (หลี่) เราก็จะเห็นกรอบของความกตัญู (เสี้ยว) เชน

๓ The Analects, book II:V:3. ๔ Hsieh Yu-wei, Filial Piety and Chinese Society, in Charles A. Moore (ed.). The Chinese Mind. (Hawaii : The University Press of Hawaii, 1974), p.170.

Page 129 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๑๑๘

จารีตประเพณีบอกวา เมื่อบิดามารดายังมีชีวิตอยู ตองรับใชทาน เมื่อทานตายไปก็ตองจัดการศพใหถูกตอง หลักจารีตประเพณีจะเปนตัวกําหนดวา บิดามารดามีหนาที่อะไร บุตรธิดามีหนาที่อะไร เปนชุดแหงความสัมพันธที่จะตองปฏิบัติใหถูกตอง หากคนละทิ้งจารีตประเพณีดังกลาวนี้ คนก็ไมตางอะไรจากสัตว๕ จารีตจึงเปนเหมือนเข็มทิศ ที่ชวยบอกทางใหคนสามารถปฏิบัติตามหลัก “กตัญู” ไดอยางถูกตอง โดยมีความรัก ความปรารถนาดีตอกันเปนพ้ืนฐานของจิตใจ หันมาพิจารณาหลักการเรื่องความกตัญูในพระพุทธศาสนา กตัญูในทางพระพุทธศาสนาไมได “ผูกติด” กับหลักจารีตประเพณี หรือหลักเมตตาธรรมเหมือนหลักความกตัญูในคําสอนของขงจื๊อ แตความกตัญูในพระพุทธศาสนาก็มีชุดแหงความสัมพันธหลักหลักการอื่น ๆ ดวย ซึ่งถือวาเชื่อมโยงกัน ไมสามารถแยกจากกันได นั่นคือหลักที่เรียกวา “คารโว”หรือความรพซึ่งเปนหนาที่ที่บุคคลจะพึงสํานึกทําตามจารีตประเพณี และ “กตเวที” กลาวคือ เมื่อเราเอยถึงความกตัญู ยอมเปนอันกลาวถึงสัมพันธภาพระหวางมนุษยตอมนุษยที่จะพึงปฏิบัติตอกัน โดยคนแรกนั้นอยูในฐานะเปนผูทําคุณประโยชนเกื้อกูล คนที่สองอยูในฐานะเปนผูรับประโยชนนั้น เรียกวามี “ผูให” กับมี “ผูรับ” ใครทําหนาที่ให “กอน” เราเรียกวา “บุพพการี” ใครเปนผูรับ ผูนั้นมีภารผูกพันอยูภายในจิตใจที่ตองสํานึกรูบุญคุณที่ตนไดรับนั้น ซึ่งเรียกวา กตัญู และเมื่อสํานึกรูแลว ก็ตองหาวิธีการตอบแทนใหเหมาะ ซึ่งเรียกวา กตเวที คารโว ,บุพพการี, กตัญู, กตเวที จึงมีความสัมพันธกัน มีหลักการที่เชื่อมโยงกัน คือ บุพพการีเปนผูเริ่มตน กตัญู, กตเวที เปนผูตามมาทําหนาที่เสริมใหเกิดความสมบูรณ คารโวเปนตัวเชื่อมใหมีความสัมพันธกัน ยกตัวอยางกรณีบิดามารดาทําอุปการะแกบุตรธิดากอน บุตรธิดาจึงอยูในฐานะที่ตองกตัญ ูและกตเวที ฐานะแหงความสัมพันธจึงจะสมบูรณ และความกตัญูที่บุตรธิดาแสดงตอบออกมานั้นก็ดวยจิตสํานึกในบุญคุณที่บุพพการีทําไวกอน จิตสํานึกในบุญคุณนี้เกิดจากความที่บุตรธิดามีความเคารพยําเกรงดวยรูบุพพการิยกรรมที่ผูมีพระคุณไดทําไวแกตนกอน ตามจารีตประเพณีของสังคมบุตรธิดาจะมีความสํานึกในบุญคุณของบิดามารดาแลวทําตอบแทนในบุญคุณนั้นก็เพราะมีความสํานึกรักเคารพนับถือและยําเกรงตอผูมีพระคุณซึ่งไดแก “คารโว”นั่นเอง

๕ The Li Ki, book I, sec. I, pt. I, ch.5:22.

Page 130 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๑๑๙

๔.๔ วิธีปลูกฝงความกตัญู

ทั้งขงจื๊อและพระพุทธศาสนาเห็นตรงกันวา ความกตัญูนั้นตองเริ่มที่สถาบันครอบครัว บิดามารดาตองทําหนาที่ปลูกฝงคุณธรรมขอนี้ทั้งโดยการอบรมสั่งสอน กระทําตนใหเปนตัวอยางที่ดีงาม ขณะเดียวกันก็ฝกฝนใหบุตรธิดาของตนเจริญรอยตามแบบอยางที่ถูกตองดีงามนั้น เนื่องจากความกตัญูนั้นเปนเรื่องใหญ และเรื่องสําคัญ อีกทั้งหลักการปฏิบัติก็กวาง ครอบคลุมชีวิตทั้งชีวิต ทั้งขงจื๊อและพระพุทธศาสนาจึงไมไดกลาวถึงวิธีการปลูกฝงความกตัญูเปนการเฉพาะ แตหากมีความประสงคจะประมวลจากเนื้อหาคําสอนในคัมภีรโดยตรง ก็พอสรุปหลักการใหญใหเห็นกวาง ๆ วา ทั้งขงจื๊อและพระพุทธศาสนามีวิธีการปลูกฝงความกตัญูในลักษณะที่คลาย ๆ กัน กลาวคือ ๑. การสงเสริมใหปฏิบัติหนาที่ตอกันดวยความถูกตอง เชน บิดามารดาที่ปฏิบัติตนไดถูกตอง เปนแบบอยางที่ดีงาม ยอมชวยสงเสริมใหบุตรเกิดความรัก และมีความกตัญูรูคุณตอบแทน ซึ่งวิธีการดังกลาวนี้ มีกลาวไวมากในคัมภีรทั้งของขงจื๊อและของพระพุทธศาสนา ๒. ยกตัวอยางของบุคคลผูมีความกตัญูเปนที่ปรากฏใหยึดถือเปนแบบอยาง ซึ่งวิธีการดังกลาวนี้ มีปรากฏใหเห็นชัดเจนมากทั้งในคําสอนของขงจื๊อ และพระพุทธศาสนา ทั้งขงจื๊อและพุทธเจามักจะสรรเสริญบุคคลที่มีความกตัญูใหสานุศิษย และพระสาวกฟงอยูเสมอ ขณะเดียวกันภายในครอบครัว บิดามารดาก็อาจจะปฏิบัติในทํานองเดียวกันได ๓. ชี้ใหเห็นถึงความสําคัญของความกตัญู ขณะเดียวกันก็แสดงโทษของความ “อกตัญู” วาจะสงผลอยางไรบาง ดังที่ขงจื๊อกลาวไววา “บรรดาสรรพสิ่งที่กอกําเนิดจากฟาและดิน มนุษยประเสริฐที่สุด บรรดาการกระทําทั้งหลายของมนุษย ไมมีอะไรยิ่งใหญกวาความกตัญู”๖ และ พระพุทธเจาตรัสไววา “ความกตัญูนั้นเปนภูมิของสัตบุรุษ”๗หรือ “ความกตัญูเปนมงคลชีวิตสูงสุด”๘ เปนตน

๖ The Hsiâo King, Ch.VII.

๗ อัง.ทุก. (ไทย) ๒๐/๓๓/๗๗. ๘ ขุ.ขุ. (ไทย)๒๕/๙/๘.

Page 131 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๑๒๐

๔.๕ วิธีแสดงความกตัญู จากการศึกษาวิ เคราะห วิธีแสดงความกตัญูทั้ งในสวนของขงจ ื๊อและ

พระพุทธศาสนามีความคลายคลึงกันมาก โดยเฉพาะในสวนที่เกี่ยวของกับบุพพการีอันไดแกบิดามารดา โดยทั้งขงจื๊อและพระพุทธศาสนาไดกําหนดวิธีการแสดงความกตัญูไว ๒ ชวง ไดแก ๑) ชวงที่ทานยังมีชีวิตอยู และ ๒) ชวงที่ทานละโลกนี้ไปแลว ชวงที่ทานมีชีวิตอยู ก็สอนคลาย ๆ กัน กลาวคือ เปนหนาที่ของบุตรธิดาตองมีความเคารพเชื่อฟง อยูในโอวาท ชวยกิจการงาน ต้ังตนใหอยูในมารยาทที่ดีงาม ดูแลเอาใจใสความเปนอยูของบิดามารดา ทะนุถนอมน้ําใจทาน ซึ่งทั้งขงจื๊อและพระพุทธศาสนาก็เนนและถือเปนเรื่องสําคัญยิ่งสําหรับผูที่ไดชื่อวาเปนบุตรธิดา ชวงท่ีทานละโลกนี้ไปแลว แมวิธีการจะแตกตางกัน แตในสวนหลักปฏิบัติที่ขงจื๊อสอนไววา “จัดการศพทานตามประเพณี” และสิ่งที่พระพุทธศาสนาสอนไววา “ทําบุญอุทิศสวนกุศลใหทาน” ก็มีเปาหมายอันเดียวกัน และถือแนวทางการปฏิบัติเชนนี้วาเปนวิธีการแสดงความกตัญูตอบุพพการีของตนเหมือนกัน ความแตกตางประเด็นนี้หากจะมีก็คงมีเพียงประเด็นปลีกยอยท่ีเปนรายละเอียดของวิธีการปฏิบัติ เชน ขงจื๊อไดสอนเกี่ยวกับการปฏิบัติตอบุพพการีที่ลวงลับไปแลวโดย ๑) การไวทุกขเปนระยะเวลา ๓ ป ๒) การฝงศพทานตามประเพณี ๓) การเซนไหวตามประเพณี ๔) การสืบสานเจตนารมณของทานไมเสื่อมคลาย แตทั้ง ๔ ประการนี้ เมื่อนําไปเทียบกับหลักการในทิศ ๖ ในสวนที่เกี่ยวของกับบิดามารดาแลว ก็สามารถอนุโลมเขากันไดดังนี้ ๑. การไวทุกขเปนระยะเวลา ๓ ป การผังศพทานตามประเพณี และการเซนไหวตามประเพณี สงเคราะหเขาในหลักคําสอนของพระพุทธศาสนาที่วา “เมื่อทานลวงลับไปแลว ทําบุญอุทิศสวนกุศลไปให” ๒. การสืบสานเจตนารมณของทานไมเสื่อมคลาย สงเคราะหเขาไดกับหลักคําสอนของพระพุทธศาสนาที่วา “ดํารงวงศตระกูล” การสืบสานเจตนารมณของบิดามารดากับการดํารงควงศตระกูลนั้นตั้งอยูบนหลักการเดียวกัน ในสวนอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของกับบิดามารดา แตอยูในฐานะเปนผูมีคุณ ก็อยูในหลักการรวม ๆ ที่วา “บุญคุณตองทดแทน” แมวิธีการจะไมไดถูกกําหนดไวเปนการเฉพาะ อันเนื่องจากความเปนไปไดในหลายวิธีในการปฏิบัติ ดังนั้นในประเด็นดังกลาวนี้ ทานจึงไมไดแสดงรายละเอียด

Page 132 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๑๒๑

๔.๖ บทบาทและอิทธิพลของความกตัญูที่มีตอสังคม มีสวนที่คลายคลึงกันมากเมื่อกลาวถึงบทบาทและอิทธิพลของความกตัญูที่มี

ตอสังคม เพราะทั้งขงจื๊อและพระพุทธศาสนาตางก็ใหความสําคัญตอคําสอนดังกลาว ดังที่ขงจื๊อกลาวไววา “การกระทําของมนุษยทั้งหมดท้ังสิ้น ไมมีการกระทําใดยิ่งใหญเกินไปกวาความกตัญูกตเวทีของบุตรที่มีตอบิดามารดา ในความกตัญูกตเวทีของบุตรที่มีตอบิดามารดา ไมมีอะไรยิ่งใหญเกินไปกวาการเคารพนับถือและยําเกรงบิดาของตน” ๙ ขณะที่พระพุทธศาสนาก็ยืนยันความสําคัญของความกตัญูวา “เปนภูมิของสัตบุรุษ”๑๐ ซึ่งมีผูรูไดขยายความตอไปอีกวา “กตัญู เปนรากฐานใหญที่จะเกิดอะไร ๆ ขึ้นในโลก เราจะไปรักสิ่งอื่น รักตนไม รักธรรมชาติ รักแมน้ําลําคลอง รักประเทศชาติบานเมือง มันตองเริ่มตนแตตรงนี้กอน ถาตรงนี้ดีแลว อะไร ๆ ก็ดีหมด”๑๑ ดังนั้นเราจึงใชความกตัญูเปนเครื่องวัดความดีของคนในสังคม ดังบาลีวา “นิมิตฺตํ สาธุรูปานํ กตฺูกตเวทิตา”๑๒

การใหความสําคัญดังกลาว ไดชวยสรางบรรทัดฐานใหแกสังคม สงผลใหบุคคลในสังคมนั้นไดตระหนักในคุณคาแหงความกตัญู ใคร หรือผูใดก็ตามที่ปฏิบัติตนขัดแยงกับหลักการดังกลาวนี้ ยอมไดรับการประณาม การดูถูกเหยียดหยาม หรือเปนที่รังเกียจของคนในสังคม

ความกตัญูทั้งในคําสอนของขงจื๊อ และคําสอนของพระพุทธศาสนาเมื่อพิจารณาในแงของสังคม จึงถือเปนเสมือนเสาหลักของสังคม ซึ่งหากโคนลงมาเมื่อใด สังคมโดยภาพรวมก็จะลมสลายทันที เพราะทั้งขงจื๊อและพระพุทธศาสนาเชื่อมันวา สถาบันแรกที่จะชวยหลอหลอมจิตใจของคนใหเปนคนดีมีศีลธรรม การยกฐานะความสําคัญของบิดามารดาในฐานะเปน “ครูคนแรก” และ “เปนพรหม” ยอมเปนการตอกย้ําบทบาทหนาที่นี้ไดเปนอยางดี ซึ่งก็สอดคลองกับหลักการของขงจื๊อท่ีถือครอบครัวเปนเสมือน “โรงเรียนสอนศีลธรรม”๑๓

๙ ละเอียด ศิลานอย, ผูแปล. อางแลว, หนา ๖๔. ๑๐ อัง.ทุก. (ไทย) ๒๐/๓๓/๗๗. ๑๑ พระเทพวิสุทธิเมธี (ปญญานันทภิกขุ), กตัญูกตเวที เปนเคร่ืองหมายของคนดี, (กรุงเทพ ฯ : ธรรมสภา จัดพิมพ, ๒๕๓๖), หนา ๒๕. ๑๒ มหามกุฏราชวิทยาลัย, พุทธศาสนสุภาษิต เลม ๑, (กรุงเทพ ฯ : มหามกุฎราชวิทยาลัย, ๒๕๓๒),หนา ๓๔. ๑๓ อางใน พระมหาบุญเรือง ปฺญาวชิโร, มนุษยนิยมในปรัชญาขงจื๊อ, (กรุงเทพ ฯ : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๔), หนา ๖๑.

Page 133 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๑๒๒

๔.๗ ความสําคัญของครอบครัว ในประเด็นนี้ ทั้งขงจื๊อและพระพุทธศาสนาไมไดมีความเห็นแตกตางกันเลย กลาวคือ ทั้งสองตางก็ใหความสําคัญแกครอบครัว ซึ่งถือวาเปนหนวยเล็กที่สุด และมีบทบาทสําคัญที่สุดของสถาบันทางสังคม ทั้งนี้เพราะมนุษยทุกคนมีจุดเริ่มตนที่ครอบครัว ไมวาพระราชา หรือยาจกเข็ญใจ ลวนตองเติบโตจากออมอก หรือออมกอดของบิดามารดาเปนลําดับแรก หลักการที่สําคัญในคําสอนของขงจื๊อตอไปนี้ยอมเปนเครื่องยืนยันไดเปนอยางดี

คนโบราณที่ปรารถนาจะแสดงตัวอยางคุณความดีใหปรากฏอยางชัดแจงไปทั่วโลกนั้น ในเบื้องแรกจะตองตั้งรัฐบาลที่ดีขึ้นในแวนแควนของตนเสียกอน เมื่อปรารถนาที่จะปกครองแวนแควนของตนใหดี ในเบื้องแรกจะตองจัดการครอบครัวของตนใหเปนระเบียบเสียกอน ในการที่จะจัดครอบครัวของตนใหมีระเบียบไดนั้น เบื้องตน จะตองปลูกฝงนิสัยที่ดีใหแกบุคคลทั้งหลายในครอบครัวเสียกอน..... ตอเมื่อคนเราไดรับการปลูกฝงนิสัยไวดีแลวเทานั้น ครอบครัวของเราจึงจะมีระเบียบ ตอเมื่อครอบครัวมีระเบียบแลวเทานั้น รัฐจึงจะชื่อวามีการปกครองครองที่ดี ตอเมื่อรัฐมีการปกครองที่ดีเทานั้น โลกจึงจะประสบซึ่งสันติสุข๑๔

ขณะที่พระพุทธศาสนาเองก็มีหลักการที่คลาย ๆ กัน แมจะไมมีพระดํารัสเกี่ยวกับเรื่องนี้โดยตรง แตจากการประมวลคําสอนที่เกี่ยวของกับสถาบันครอบครัวแลว ก็ทําใหเห็นไดชัดวา พระพุทธศาสนาใหความสําคัญในเกี่ยวกับสถาบันครอบครัวไมยิ่งหยอนไปกวาขงจื๊อ

๔.๘ การประยุกตใชเรื่องความกตัญูในครอบครัว หัวขอการประยุกตใชเรื่องความกตัญูในครอบครัว ผูวิจัยต้ังกรอบยอยไปอีกเพื่อใหครอบภาพครอบคลุมบริบทที่เกี่ยวของใหมากที่สุด โดยไดพิจารณาจากกรอบดังนี้ ๑. ดูการประยุกตใชในครอบครัวจากบริบทของคัมภีรวา ในคัมภีรทั้งของขงจื๊อและพระพุทธศาสนามีรองรอยของการประยุกตใชความกตัญูในลักษณะใดบาง ๒. ดูการประยุกตใชในครอบครัวจากบริบทของสังคมวา สังคมไดนําหลักความกตัญูไปใชมากนอยเพียงใด โดยในสวนนี้ จะขยายประเด็นครอบคลุมถึง ๑) ดานสังคมโดย

๑๔ อางใน จํานงค ทองประเสริฐ,ผูแปล. บอเกิดลัทธิประเพณีจีน ภาค ๑-๓, (กรุงเทพ ฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๗), หนา ๑๖๔.

Page 134 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๑๒๓

ภาพรวม ๒) ดานการปกครอง ๓) ดานเศรษฐกิจ ๔) ดานการศึกษา ๕)ดานสาธารณสุข สวนของขงจื๊อผูวิจัยพิจารณาทั้งสังคมจีน และสังคมไทยซึ่งไดรับอิทธิพลจากคําสอนของขงจื๊อ สวนของพระพุทธศาสนา ก็พิจารณาจากสังคมอินเดียบางสวน และมาเนนหนักที่สังคมไทย วามีการประยุกตใชความกตัญูในลักษณะใดหรือไม จากการศึกษาพบวา มีการประยุกตใชคําสอนเรื่องความกตัญูในสังคมอยางกวางขวาง ทั้งในคัมภีรคําสอนทั้งของขงจื๊อ และพระพุทธศาสนา และในแงของสังคม ความกตัญูไดถูกนําไปสั่งสอนใหบุตรธิดายึดมั่นมาโดยลําดับ ต้ังแตอดีตกระทั่งถึงปจจุบัน โดยที่ความกตัญูที่มีตอครอบครัวดังกลาวนี้ สามารถเชื่อมโยงวิถีชีวิตไดอยางครบทุกดาน กลาวคือ ในแงของสังคม บุตรธิดาที่มีความกตัญู ยอมไดรับการยกยอง และเชิดชูของผูคนในสังคม ย่ิงไปกวานั้น สังคมยังไดสรางประเพณี วัฒนธรรมขึ้นมาเพื่อเชื่อมโยงกับหลักธรรมความกตัญูดังกลาวนี้ดวย เชน ในสังคมจีนมีประเพณีเช็งเม็ง ประเพณีการไหวบรรพบุรุษ ในสังคมไทยก็มีประเพณีทําบุญอุทิศสวนกุศลใหบุพพการี ประเพณีสงกรานต มีวันแม วันพอ เปนตน โดยมีจุดมุงหมายเพื่อปลุกสํานึกจิตใจของผูที่เปนบุตรธิดาใหมองเห็น ความสําคัญของบุพพการีของตน ในแงของการปกครอง มีการประยุกตใช โดยถือวา ผูปกครองนั้นเปรียบเหมือนบิดา ประชาราษฎรทั้งหลายเปรียบเหมือนบุตรธิดา ในฐานะเปนบุตรธิดา ก็จะตองเคารพ บูชา เชื่อฟงผูปกครอง พรอมที่จะเสียสละเพื่อชาติบานเมือง การปกครองในลักษณะนี้มีปรากฏในสังคมไทยมากอน โดยเรียกการปกครองนี้วา “การปกครองแบบพอปกครองลูก” พิจารณาจากสวนที่เกี่ยวของกับครอบครัว การสืบทอดตําแหนงทางการปกครอง ความกตัญูก็มีสวนสําคัญที่ชวยปองกันไมใหเกิดการ “ชิงบัลลังก” หรือ “กอการปฏิวัติรัฐประหาร” โดยเฉพาะในกรณีระหวางพระราชโอรสกับพระเจาแผนดินในฐานะที่เปนพระราชบิดา ทั้งนี้เพราะสังคมสวนใหญไมยอมรับพฤติกรรมเชนนั้น ในแงเศรษฐกิจ และการศึกษาก็พบวา ความกตัญูมีสวนสําคัญผลักดันใหบุตรธิดา ต้ังใจศึกษาเลาเรียนใหมีความรู มีความบากบั่น อดทนสรางเนื้อสรางตัวใหเปนที่ยกยองเชิดชูแกวงศตระกูล โดยเฉพาะในประเด็นดังกลาวนี้ ครอบครัวของสังคมจีนจะมีความเขมขนมาก เพราะถือวาความกตัญูนี้เปนพ้ืนฐานสําคัญของธุรกิจ การสรางชื่อเสียงใหปรากฏแกสาธารณชนถือวาเปนอุดมการณสูงสุดของความกตัญูตามแนวคําสอนของขงจื๊อ

Page 135 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๑๒๔

ประเด็นเรื่องการประยุกตใชความกตัญูในครอบครัวท้ังในสวนที่เปนหลักคําสอนของขงจื๊อ และคําสอนของพระพุทธศาสนา ไมไดมีความแตกตางกันแตอยางใด

สรุปตารางเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกตางคําสอนเรื่องกตัญู

ประเด็นเปรียบเทียบ พระพุทธศาสนา ขงจื๊อ บทนิยามและความหมาย -ไมไดนิยามความหมายไว

โดยตรง เนื้อหาที่ปรากฏในคัมภีร เปนลักษณะของการแสดงถึงพฤติกรรม - พบคํานิยามในอรรถกถา และคําอธิบายความหมายไวหลายลักษณะในเวลาตอมา - ต้ังอยูบนรากฐานที่วาสรรพสิ่งในโลกอิงอาศัยกัน และพ่ึงพาอาศัยกัน สรรพสิ่งทั้งห ล า ย า จึ ง อ ยู ใ น ฐ า น ะ มีบุญคุณตอกันและกันไมทางใดก็ทางหนึ่ง - กตัญูในพระพุทธศาสนาครอบคลุมทั้งสิ่งที่มีชีวิต-ไมมีชีวิต, บุคคล-สัตว

- ไมไดนิยามความหมายไว เนื้อหาเกี่ยวกับความกตัญู เ ป น ลั ก ษ ณ ะ แ ส ด ง ถึ งพฤติกรรม - คัมภีร รุนหลังก็มุ งแสดงพฤติกรรมของความกตัญู - อัตภาพรางกายของบุตรธิดา ไดมาจากบิดามารดา จึงเปนหนาที่ของบุตรธิดาตองดูแลรักษา และรับใชบิดามารดา -ก ตัญู ในคํ า สอนขงจื๊ อมุง เนนเฉพาะสังคมมนุษยเปนสําคัญ

ประเภทของความกตัญู -มีการแบงประเภทของความกตัญู และประเภทที่แบงนั้นครอบคลุมบุคคล สัตว สิ่งของ สถานที่ บุญกุศล

- มีการแบงประเภทของความกตัญู โดยแยกประเภทบุคคลออกเปนบิดามารดา,ผูที่มิใชบิดามารดา ,ธรรมชาติแวดลอม

ความสัมพันธระหวางคําสอนอื่น

- เนื้อหาคําสอน ไมอิงหลักจารีตประเพณี

- เนื้อหาคําสอน อิงอาศัยหลักจารีตประเพณี (หลี่) ไมสามารถแยกออกจากกันได

Page 136 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๑๒๕

- มี ค ว า ม สั ม พั น ธ กั บหลักธรรมอื่นหลายประการ เชน กตเวที,และหลักคารวะ,หลักทิศ ๖ เปนตน

- มีความสัมพันธกับหลักคําสอนอื่ น เ ช น หลี่ (จารี ตประ เพณี ) เหริน ( เมตตาธรรม)

วิธีปลูกฝงความกตัญู -ครอบครัวคือสถาบันแรกที่ปลูกฝงความกตัญู -ไมไดกลาวถึงวิธีการปลูกฝงค ว ามกตั ญู ไ ว เ ป น ก า รเฉพาะ แตสามารถประมวลเ นื้ อ ห า จ า ก คั ม ภี ร โ ด ยภาพรวมได - วิธีการมีหลากหลาย เชน สงเสริมการปฏิบัติหนาที่, ยกยองเชิดชูให เปนที่ปรากฏ , ชี้ใหเห็นถึงความสําคัญ

-ครอบครัวคือสถาบันแรกที่ปลูกฝงความกตัญู -ไมไดกลาวถึงวิธีการปลูกฝงค ว ามกตั ญู ไ ว เ ป น ก า รเฉพาะ แตสามารถประมวลได จ ากคัมภี ร คํ าสอนทางศาสนา -วิธีการมีหลากหลายกัน มีทั้งสงเสริม, ยกยอง, และแสดงใหเปนความสําคัญของความกตัญู

วิธีแสดงความกตัญู -มีวิธีการแสดงความกตัญูตอบิดามารดาทั้ งในยามที่ทานมีชีวิตอยู และละโลกนี้ไปแลว

- มีวิธีการแสดงความกตัญูตอบิดามารดาทั้ งในยามที่ทานมีชีวิตอยู และละโลกนี้ไปแลว

บทบาทสําคัญที่มีตอสังคม - ความกตัญูถือวาเปนภูมิข อ ง สั ต บุ รุ ษ ห รื อ ค น ดีทั้ งหลาย มีก ารใช ความกตัญูเปนเครื่องวัดความดีของคนในสังคม - เปนเสาหลักที่จะชวยพยุงใหสังคมอยูรอด

- ถือความกตัญูสิ่งสําคัญสูงสุดกวาการกระทําใด ๆ - เปนเสาหลักทางสังคม ขาดค ว า ม ก ตั ญ ู สั ง ค ม ก็เดือดรอน

Page 137 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๑๒๖

การประยุกตใชเรื่องความกตัญูในครอบครัว

-มีการนําไปประยุกตใชในครอบครัว ในสังคมอย างแพรหลาย แมจะไมไดระบุใหชัดเจนเปนการจําเพาะลงไป ใ น แ ง ข อ ง ก า ร เ มื อ ง เศรษฐกิจ การศึกษา และสาธารณสุขก็ตาม แตความกตัญูก็แสดงบทบาทสําคัญในการชวยจรรโลงสังคมครอบครัว ตลอดจนสถาบันตาง ๆ ภายในชาติ -มีประ เพณีอัน เกี่ ยว เนื่ อ ง หรือแสดงใหเห็นถึงความกตัญู

-มีการนําไปประยุกตใชในหลาย ๆ ดาน มีการระบุไวชั ด เ จ น ไ ม ว า จ ะ ใ น แ งครอบครัว สังคม การเมือง เศรษฐกิ จ การศึกษาและสาธารณะสุข ความกตัญูลวนเขาไปมีบทบาทสําคัญทั้งสิ้น -มีประ เพณีอัน เกี่ ยว เนื่ อ ง หรือแสดงใหเห็นถึงความกตัญู

Page 138 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๑๒๗

บทที่ ๕

สรุปผลการวิจัย และขอเสนอแนะ ๕.๑ สรุปผลการวิจัย จากการศึกษาเปรียบเทียบคําสอนเรือ่ง “เสี้ยว” ในลัทธิขงจื๊อ กับคําสอนเรื่อง “กตัญู” ในพระพุทธศาสนา มีขอสรุปดังนี้ ก. ในแงความหมาย เสี้ยว และ กตัญู มีความหมายเดียวกัน สื่อถึงลักษณะพฤติกรรมแบบเดียวกัน กลาวคือ เปนเรื่องความรูสึกสํานึกในบุญคุณ หรืออุปการะอยางใดอยางหนึ่งระหวางสัมพันธภาพที่มนุษยมีตอกัน และหาทางตอบแทนอุปาการะของอีกฝายที่มีตอตนนั้นในทางใดทางหนึ่งตามสมควรแกฐานะ และโอกาส แมกรณีดังกลาวนี้ขงจื๊อจะใหน้ําหนักมาท่ีสัมพันธภาพระหวางมนุษยตอมนุษยดวยกัน ขณะที่พระพุทธศาสนาขยายขอบเขตไปถึงสัตว สิ่งของ สถานที่ ตลอดถึงสิ่งมีคุณอื่น ๆ ก็ตาม ถึงกระนั้นความหมายก็ไมไดแตกตางกันแตประการใด ข. ในแงความสําคัญของคําสอน ลัทธิขงจื๊อถือ “เสี้ยว” เปนหนึ่งในคุณธรรมหลัก ๕ ประการ๑ ซึ่งอาจจะเรียกไดวา เปนคุณธรรมหลักที่เปน “หัวใจ” ของคําสอน ขณะที่พระพุทธศาสนา “กตัญู” ไมไดอยูในฐานะเปน “หัวใจ” คําสอน แตถึงกระนั้นก็ตาม ในแงของสังคม ความกตัญูก็เปนหลักธรรมที่สําคัญที่จะชวยจรรโลงสังคมใหเกิดสันติสุข และถูกนับเขาเปน ๑ ในบรรดามงคลสูงสุด ๓๘ประการดวย ค. ในแงการปลูกฝงและวิธีการแสดงความกตัญู ทั้งขงจื๊อและพระพุทธศาสนามีความเห็นสอดคลองกันวา ครอบครัวมีบทบาทสําคัญยิ่งในการปลูกฝงคานิยมเรื่องกตัญู บิดามารดาเปรียบเหมือนครูคนแรกที่สอนหลักคุณธรรมขอนี้ จากนั้นก็เปนเรื่องของสังคมแวดลอมที่จะตองชวยกันปลูกฝงโดยการทํา

๑ คุณธรรมหลัก ๕ ประการไดแก ๑) เหริน (เมตตาธรรม) ๒) หล่ี (จารีตประเพณี) ๓) เสี้ยว (กตัญู) ๔) จุงหยุง (ทางสายกลาง) และ ๕) จื๊อ (ปญญา)

Page 139 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๑๒๘

ใหเห็น ทําใหดู ทําใหเปนแบบอยาง วิธีการปลูกฝงไมมีรูปแบบที่ตายตัวท้ังในคําสอนของขงจื๊อและพระพุทธศาสนา ในแงการแสดงความกตัญู ทั้งขงจื๊อและพระพุทธศาสนาก็ไมไดแสดงรูปแบบที่ตายตัว หากแตเสนอไวกวาง ๆ เพื่อเปนแนวทางสําหรับการประพฤติปฏิบัติเทานั้น เชนบอกวา ใหดูแลเลี้ยงดูทาน ก็ไมไดระบุวาเลี้ยงดูแบบไหน อยางไรบาง คงใหเปน “สํานึกรู” ของผูที่เปนบุตรธิดาเองวา จะทําอะไรที่เปนการเลี้ยงดูทานไดบาง หรือหากจะมีระบุไวบางในบางกรณี ก็เปนเฉพาะเรื่อง เฉพาะกรณีไป ซึ่งการที่ทานไมไดระบุรูปแบบตายตัวลงไปเชนนี้ แสดงใหเห็นวา หลักการตอบแทนตอผูมีพระคุณนั้นเปนเรื่องที่สามารถทําไดอยางกวางขวาง ง. ในแงการประยุกตใชในครอบครัวและสังคม จากการศึกษาพบวา หลักคําสอนเรื่อง “เสี้ยว” ในลัทธิขงจื๊อ และ “กตัญู” ในพระพุทธศาสนา ไดรับการประยุกตใชในสังคมนับตั้งแตอดีต กระทั่งถึงปจจุบัน คุณธรรมขอนี้ไดกลายมาเปน “เสาหลัก” ที่จะชวยพยุง หรือค้ําชูสังคมใหเกิดสันติสุข เกิดความรมเย็น ทั้งในสังคมจีน และสังคมไทย โดยเฉพาะในสังคมไทยปจจุบัน หลักความกตัญูที่มาพรอมกับคนไทยเชื้อสายจีน และหลักความกตัญูที่มาจากพระพุทธศาสนา ไดหลอหลอมเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน จนไมสามารถแยกออกจากกันได เพราะหลักการของธรรมขอนี้มีเนื้อหาสาระอยางเดียวกันนั่นเอง รองรอยที่ปรากฏในคัมภีร ตลอดจนรองรอยจากจารีตประเพณี วัฒนธรรมทั้งในลัทธิขงจื๊อและพระพุทธศาสนา ผูวิจัยไดพบรองรอยของคําสอน และตัวอยางของบุคคลกตัญูที่ ได รับการยกยอง และถือ เปนแบบอย างทางสั งคม โดยเฉพาะในคัมภีรพระพุทธศาสนา พบทั้งในคัมภีรบาลี และพบมากในคัมภีรอรรถกถา ในสวนที่เกี่ยวของกับจารีต ประเพณี หรือวัฒนธรรมอันเปนวิถีชีวิตของสังคมจีน และสังคมไทย แสดงใหเห็นวา สังคมไดยกยองเรื่องความกตัญูนี้ไวในฐานะสําคัญยิ่งเรื่องหนึ่ง จากผลของการศึกษาคําสอนเรื่อง “เสี้ยว” ในลัทธิขงจื๊อ กับ “กตัญู” ในพระพุทธศาสนาแลวพบวาไมมีความแตกตางกัน ทําใหเรามองเห็นวา ความกตัญู เปนเรื่องของจิตสํานึกรวมที่มีอยูในชนทุกชาติ ทุกภาษา อยางนอยท่ีสุดก็ระหวางบิดามารดากับบุตร หรือระหวางญาติพ่ีนอง สวนความเขมขนของคุณธรรมดังกลาวจะมีมากนอยเพียงใด ก็ขึ้นอยูกับการย้ําเนนของแตละสังคมวา จะใหน้ําหนักมากนอยเพียงใด ในสังคมจีนและสังคมไทย มี

Page 140 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๑๒๙

ลักษณะที่คลายกันในเรื่องนี้อาจเปนเพราะวา พระพุทธศาสนาเองก็มีบทบาทสําคัญในสังคมจีน ทําใหคนจีนมีสวนในการซึมซับเอาคําสอนเรื่องความกตัญูควบคูกับคําสอนเดิมที่มีอยูแลวในลัทธิขงจื๊อ ขณะที่สังคมไทย ไดรับอิทธิเรื่องความกตัญูผานพระพุทธศาสนา ขณะเดียวกันอิทธิพลจากวัฒนธรรมแบบขงจื๊อที่แพรขยายเขามาเมืองไทยพรอมกับคนจีนที่อพยพเขามาตั้งรกรากอยูในเมืองไทยก็ผสมผสานกลมกลืนเปนเนื้อเดียวกัน จนไมสามารถแยกออกวา กตัญูแบบไหนไดรับอิทธิพลมาจากขงจื๊อ แบบไหนไดมาจากพระพุทธศาสนา อยางไรก็ตาม ขอสังเกตนี้ก็ใชวาจะไมมีทางแยกไดเลย เพราะกรณีตัวอยางของความกตัญูที่ปรากฏในบริบทของสังคมจีน บางเรื่องก็ทําแยกไดโดยไมยาก เชน การสอนเรื่องความกตัญูชนิดที่เขมงวด หรือเชิงบังคับใหลูกตองกระทําตอนแทนในทางลบตอบุคคลที่มาทําอันตรายบุพพการีใหถึงที่สุดก็เปนตัวอยางหนึ่งที่พอจะนํามาพิจารณาได อยางที่ไดเคยอภิปรายในบทที่ ๒ ที่วา เมื่อมีคําถามขึ้นวา บุตรควรปฏิบัติอยางไรกับฆาตกรที่ฆาบิดามารดาของตน ขงจื๊อตอบวา “เขาควรจะหลับนอนบนกองฟอนโดยใชโลเปนหมอน เขาไมควรรับตําแหนงงานในสํานักงานของรัฐ เขาตองตกลงใจที่จะไมใชชีวิตอยูรวมฟาเดียวกันกับฆาตกรผูนั้น และถาเขาพบฆาตกรในทองตลาดหรือในศาล เขาตองไมกลับไปเอาอาวุธ แตจะตองตรงเขาไปตอสูกับฆาตกรทันที”๒ ซึ่งลักษณะดังกลาวนี้จะไมพบเห็นในคําสอนทางพระพุทธศาสนา อยางไรก็ตามประเด็นดังกลาวนี้ก็ปรากฏใหเห็นนอยมากในคําสอนของขงจื๊อ

๕.๒ ขอเสนอแนะ (๑) การศึกษาเรื่อง “เสี้ยว” ในลัทธิขงจื๊อ และ “กตัญู” ในพระพุทธศาสนา นําเสนอเฉพาะฝายบวก คือกลาวเฉพาะในแงดี ทําใหดูเหมือนวา สังคมนั้นเต็มไปดวยความกตัญู หรือเต็มไปดวยบุคคลที่รูคุณคน ความจริงหาเปนเชนนั้นไม ในสังคมก็ยังมีทั้งคนที่มีความกตัญู และอกตัญูคละเคลากันไป (๒) จากการศึกษาเรื่องนี้ ทําใหผูวิจัยไดคนพบชุดแหงคําสอนอื่น ๆ ที่สําคัญที่ควรนํามาศึกษาเปรียบเทียบกับพระพุทธศาสนา นั่นคือ แนวคําสอนเรื่อง “หลี่” กับ “วินัย” โดยเฉพาะประเด็นบทบาทของคําสอนเรื่องนี้ตอการพัฒนาสังคมวามีความเหมือนกันและแตกตางกันอยางไรหรือไม

๒ ดูบทที่ ๒ หนา ๓๒ ของวิทยานิพนธเลมนี้

Page 141 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๑๓๐

(๓) หลักคําสอนของขงจื๊อ และหลักคําสอนของพระพุทธศาสนามีหลายสวนที่คลาย ๆ กัน ประเด็นนี้ก็นาจะมีการศึกษาเปรียบเทียบดูวา ในบรรดาคําสอนของขงจื๊อทั้งหมด มีอะไรบางที่ไมมี หรือไมปรากฏอยูในคําสอนของพระพุทธศาสนา หรือการที่คําสอนขงจื๊อหลายตอหลายเรื่องคลายคลึงกับพระพุทธศาสนา ก็ชวนใหศึกษาในเชิงลึกตอไปอีกวา ในที่สุดแลวมีความเปนไปไดหรือไมที่คําสอนของพระพุทธศาสนาไดเขามามีอิทธิตอขงจื๊อ หรืออยางนอยก็ศิษยของขงจื๊อรุนหลังตอมา และศิษยเหลานั้นก็นํามาประยุกตใหเขากบั “จริต” ของตน และนํามาแสดงใหมในนามของขงจื๊อ

Page 142 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๑๓๑

บรรณานุกรม ก.เอกสารชั้นปฐมภูมิ

พระไตรปฏกภาษาบาลี ฉบับมหาจุฬาเตปฏกํ, ๒๕๐๐. กรุงเทพฯ : โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณ-

ราช วิทยาลัย, ๒๕๓๕. พระไตรปฏกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพมหาจุฬาลง- กรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๙. พระไตรปฎกพรอมอรรถกถาแปล ๙๑ เลม. (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพมหามกุฏราช- วิทยาลัย, ๒๕๔๒. The Hsiao King : The Classic of Filial Piety. (Translated by James Legge) http://www.sacred-texts.com/cfu/sbe03/hsiao.htm Confucian Analects . (Translated by James Legge). http://www.sacred-texts.com/cfu/conf1.htm The Liki (Translated by James Legge). http://www.sacred-texts.com/cfu/liki/index.htm ข.เอกสารชั้นทุติยภูมิ ๑. ภาษาไทย จิตรา กอนันทเกียรติ. ธรรมเนียมจีน. กรุงเทพฯ : บริษัท อมรินทร พริ้นติ้ง จํากัด, ๒๕๔๖. จํานงค ทองประเสริฐ, ผูแปล. บอเกิดลัทธิประเพณีจีน ภาค ๑-๕. กรุงเทพมหานคร : ราช- บัณฑิตยสถานจัดพิมพ, ๒๕๓๘. เจือจันทน อัชพรรณ, ผูแปล. “หลี” มงคลธรรมของจีน. กรุงเทพ ฯ : พับลิคบิสเนสพริ้นจํากัด ,๒๕๒๙. เดชชาติ วงศโกมลวิเชษฐ. ประวัติปรัชญาจีน. กรุงเทพมหานคร : สมาคมสังคมศาสตร- แหง ประเทศไทย,๒๕๐๕. ไดซากุ อิเคดะ. มนุษยนิยมแนวใหม. (ฉัตรสุมาลย กบิลสิงห ผูแปล). กรุงเทพ ฯ : สํานักพิมพ เคล็ดไทย, ๒๕๔๑.

Page 143 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๑๓๒

ทวี ภุมรินทร, ผูชวยศาสตราจารย. มงคลชีวิต. กรุงเทพ ฯ : โรงพิมพสหธรรมิก, มปป. ทรงวิทย แกวศรี. บรรณาธิการ. มหาจุฬา ฯ วิชาการ : ปรัชญาบุรพทิศ. กรุงเทพมหานคร : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๒. นวม สงวนทรัพย, พ.อ. ปรมาจารยขงจื๊อ. กรุงเทพ ฯ : จักรานุกูลการพิมพ, ๒๕๒๐. บาหม, อารชี เจ. หัวใจคําสอนของขงจื๊อ. ครองแผน ไชยธนะสาร,บรรณาธิการแปล. กรุงเทพ ฯ : สํานักพิมพเดลฟ, ๒๕๔๐. แปลก สนธิรักษ. พิธีกรรมและประเพณี. กรุงเทพ ฯ : โรงพิมพการศาสนา, มปป. ปญญานันทภิกขุ. กตัญูกตเวทีเปนเครื่องหมายของคนดี. กรุงเทพมหานคร : บริษัท เอส. อาร. พริ้นติ้ง จํากัด, ๒๕๓๙. ปน มุทุกันต, พ.อ. มงคลชีวิต . กรุงเทพ ฯ : พับลิเคชั่น เซนเตอร, ๒๕๑๙. ________.คําบรรยายพุทธศาสตร. กรุงเทพ ฯ : คลังวิทยา, ๒๕๑๙. ________.แนวสอนธรรมะตามหลักสูตรนักธรรมตรี. กรุงเทพ ฯ : มหามกุฎราชวิทยาลัย, ๒๕๓๕. พ.สถิตวรรณ, (พิจิตร ฐิตวณฺโณ ป.ธ. ๙), อุดมมงคลในพระพุทธศาสนา ฉบับรวมเลม., กรุงเทพฯ : โรงพิมพธรรมสภา, ๒๕๔๘. พุทธทาสภิกขุ : ปญญานันทภิกขุ. พอพระในบาน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพธรรมสภา, ๒๕๔๓. ________. แมพระในบาน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพธรรมสภา, ๒๕๔๓. พระสิริมังคลาจารย. มงฺคลตฺถทีปนี ปฐโม ภาโค. พิมพครั้งที่ ๑๒, กรุงเทพฯ : มหามกุฏ - ราช วิทยาลัย, ๒๕๓๖. พระสิริมังคลาจารย. มงฺคลตฺถทีปนี ทุติโย ภาโค. พิมพครั้งที่ ๑๒, กรุงเทพฯ : มหามกุฏราช- วิทยาลัย, ๒๕๓๖. พระธรรมโกศาจารย , (พุทธทาสภิกขุ). ๒๔ ยอดกตัญู. กรุงเทพฯ : โรงพิมพธรรมสภา. พระธรรมโกศาจารย (พุทธทาสภิกขุ), พระพรหมคุณาภรณ, (ป.อ.ปยุตฺโต), พระเทพโสภณ

(ประยูร ธมฺมจิตฺโต).คุณบิดามารดาสุดพรรณนามหาศาล รวมปาฐกถา ๓ ปราชญ รวม สมัย (พิมพอนุสรณงานพระราชทานเพลิงศพหลวงพอหยวก อินฺทวณฺโณ) กรุงเทพฯ : หจก.สมาลดา, ๒๕๔๘.

พระธรรมปฎก, (ป.อ.ปยุตฺโต). พจนานุกรมพุทธศาสน.(ฉบบัประมวลศัพท). พิมพครั้งที่๙. กรุงเทพฯ : โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๓.

Page 144 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๑๓๓

พระธรรมปฏก,(ป.อ.ปยุตฺโต) พจนานุกรมพุทธศาสตร.(ฉบับประมวลธรรม). พิมพครั้งที่ ๙. กรุงเทพฯ : โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๓. ________. ธรรมนูญชีวิต.(ฉบับปรับปรุงเพิ่มเติม). กรุงเทพฯ :โรงพิมพกรมการ ศาสนา, ๒๕๔๐. ________. พุทธรรม.(ฉบับปรับปรุงและขยายความ). พิมพครั้งที่๘. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๒. ________. จิตวิทยาเพื่อการพัฒนาคนตามแนวธรรมชาติ. กรุงเทพมหานคร : มูลนิธิพุทธ- ธรรม, ๒๕๔๓. ________. คุณบิดามารดาสุดพรรณนามหาศาล. กรุงเทพ ฯ : ธรรมสภา จัดพิมพ, ๒๕๔๖. พระพิพิธธรรมสุนทร, (ญาณสุนฺทโร ป.ธ.๕). ธรรมกับวิถีชีวิตและสังคมไทยรวมสมัย. กรุงเทพ ฯ : โรงพิมพเลี่ยงเซียง, ๒๕๔๓. พระธรรมกิตติวงศ,(ทองดี สุรเตโช). ภาษาธรรม. กรุงเทพ ฯ : สํานักพิมพเลี้ยงเซียง, ๒๕๔๕. พระธรรมโกศาจารย, (ปญญานันทภิกขุ). พอ พระในบาน. กรุงเทพ ฯ : ธรรมสภา จัดพิมพ, ๒๕๔๓. พระเทพดิลก (ระแบบ ฐิตญาโณ), ศาสนทายาทคุณภาพ. กรุงเทพ ฯ : ศิวพรการพิมพ, ๒๕๔๓. พระมหาอุดม สารเมธี, กตัญูกตเวทิตา การรูจักตอบแทนคุณ. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพระฆัง- ทอง, ๒๕๔๘. มหามกุฏราชวิทยาลัย. มังคลัตถทีปนี ภาค ๑-๒. กรุงเทพ ฯ : มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๔๓. ยิปซี, (เรียบเรียง). ไขปริศนาชาวจีน. กรุงเทพ ฯ : สํานักพิมพแสงดาว, ๒๕๔๑. ลูเชี่ยน ดับเบิ้ลยู. พาย, ศ.ดร. จีนสามยุค, แปลโดยคณิน บุญสุวรรณ. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ สุขภาพใจ, ๒๕๔๗. ล. เสถียรสุต. ผูแปล. คัมภีรขงจื๊อ. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ ก.ไก, ๒๕๓๖. ละเอียด ศิลานอย. ผูแปล. สรางชีวิตและสังคมตามหลักคําสอนขงจื๊อ. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพดอกหญา, ๒๕๓๕. หลี่ฉางจือ. เจาะประวัติขงจื๊อ. สิน วิภาวสุ แปล. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพสมาพันธ, ๒๕๓๗.

Page 145 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๑๓๔

เลาเซี่ยงชุน, เปาบุนจิ้น ผูทรงความยุติธรรม. กรุงเทพ ฯ : ประพันธสาสน,๒๕๔๙. วศิน อินทสระ. สาระสําคัญแหงมงคล ๓๘ เลม ๑-๒. กรุงเทพ ฯ : บรรณาคาร, ๒๕๑๔. สารสิน วีระพล, ดร. (ผูแปล). คัมภีรคุณธรรมเยาวชน. ปทุมธานี : วิถีเรียนรู จํากัด, ๒๕๔๘. สุวรรณา สถาอานนท,บรรณาธิการ. ความเรียงใหมรื้อสรางปรชัญาตะวันออก. กรุงเทพ ฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, ๒๕๔๗. สัมพันธ กองสมุทร, แมจา. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพดอกโมกข, ๒๕๔๖. สมเด็จพระสังฆราช, (จวน อุฏฐายี).มงคลชีวิตในพระพุทธศาสนา. กรุงเทพ ฯ : สํานักพิมพ ประชาชน, ๒๕๒๒. สมเด็จพระมหาวีรวงศ, (พิมพ ธมฺมธโร). มงคลยอดชีวิต. กรุงเทพ ฯ : ชวนพิมพ, ๒๕๑๘. สุชีพ ปญญานุภาพ. พระไตรปฏก ฉบับประชาชน. พิมพครั้งที่ ๑๖, กรุงเทพฯ : มหามกุฏ- ราช วิทยาลัย, ๒๕๓๙. สุทธิปภาโส ภิกขุ. แสงสวางอันบริสุทธ์ิ. กรุงเทพ ฯ : รามซุปเปอร ปริ้น จํากัด, ๒๕๔๘. สุนทร ณ รังสี. พุทธปรัชญาจากพระไตรปฎก. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพจุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย, ๒๕๔๑. เสถียรพงษ วรรณปก. คําบรรยายพระไตรปฎก. กรุงเทพฯ : หอรัตนชัยการพิมพ, ๒๕๔๐. หงอิ้งหมิง. สายธารแหงปญญา. (บุญศักดิ์ แสงระวี ผูแปล). กรุงเทพ ฯ : เยลโลการพิมพ, ๒๕๓๖. อองซก. ขงจื๊อฉบับปราชญชาวบาน. (อธิคม สวัสดิญาณ ผูแปล). กรุงเทพ ฯ : สํานักพิมพ เตาประยุกต, ๒๕๔๐. ๒. วิทยานิพนธ พระมหาบุญเรือง ปฺญาวชิโร (เจนทร). มนุษยนิยมในปรัชญาขงจื๊อ. วิทยานิพนธพุทธ- ศาสตรมหาบัณฑิต, กรุงเทพ ฯ : มหาจุฬาลง กรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๔. พระมหาบุญกอง คุณาธโร (มาหา). การศึกษาวิเคราะหความกตัญู(กตฺุตา)ในพระพุทธ- ศาสนาเถรวาท. วิทยานิพนธพุทธศาสตรมหาบัณฑิต, กรุงเทพฯ : มหาจุฬาลง- กรณราชวิทยาลัย. ๒๕๔๘. พระมหาอภิวิชญ ธีรปฺโญ (ศรียะอาจ). การศึกษาเปรียบเทียบปรัชญาการเมืองของขงจื้อ กับพุทธปรัชญาเถรวาท. วิทยานิพนธพุทธศาสตรมหาบัณฑิต, กรุงเทพฯ : มหา- จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. ๒๕๔๓.

Page 146 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๑๓๕

โกวิทย ราชิวงค, หลักคําสอนเรื่องความกตัญูกตเวทีในพระพุทธศาสนา : กรณีศึกษา- ทัศนะของคนชราวาดวยการทอดทิ้งบุพการีในสังคมไทย, วิทยานิพนธปริญญา-

อักษรศาสตรมหาบัณฑิต, กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล, ๒๕๔๕.

๓. ภาษาอังกฤษ Chen Jingpan. Confucius As a Theacher. Malasia : Delta Publishing Sdn Bhd, 1993. Fung Yu-lan. A History of Chinese Philosophy. 2 vols. (tr.by Derk Bodde.). New Jersey : Princeton University Press, 1973. ________. A Short History of Chinese Philosophy. (ed.by Derk Bodde). New York : The Free Press, 1966. Moore, Charles A., ed. The Chinese Mind. Honolulu : University of Hawai Press, 1976. Radhakrishnan and P.T. Raju, (ed.) The Concept of Man. London : George Allen & Unwin Ltd., 1960.

Page 147 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย

๑๓๖

ประวัติผูวิจัย

ชื่อ-ฉายา พระมหาวชิรพงษ ฉายา ปฺญาวชิโร นามสกุล มะะพารัมย วัน เดือน ป เกิด ๑๒ เมษายน ๒๕๑๖ สถานที่เกิด บานโคกเหล็ก ตําบลโคกเหล็ก อําเภอหวยราช จังหวัดบุรีรัมย บรรพชา-อุปสมบท ๔ พฤษภาคม ๒๕๓๖ ณ วัดบานโคกเหล็ก ตําบลโคกเหล็ก

อําเภอหวยราช จังหวัดบุรีรัมย ปจจุบันจาํพรรษาอยูที่ วัดเทวสุนทร ถนนงามวงคงาน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร

กรุงเทพมหานคร ๑๐๙๐๐ การศึกษา  ป ๒๕๒๙ จบการศึกษาชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ จากโรงเรียนวัดบานโคกเหล็ก ตําบลโคกเหล็กอําเภอหวยราช จังหวัดบุรีรัมย ป ๒๕๓๑ สอบไดนักธรรมเอก จากสํานักเรียนคณะเขตหนองแขม วัดหนอง-แขม แขวงหนองแขม เขตหนองแขม กรุงเทพมหานคร ป ๒๕๓๗ สอบไดเปรียญธรรม ๕ ประโยค จากสํานักเรียนคณะจังหวัด-ปทุมธานี วัดมูลจินดาราม ตําบลบึงยี่โถ อําเภอธัญญบุรี จังหวัดปทุมธานี ป ๒๕๔๒ สําเร็จการศึกษาพุทธศาสตรบัณฑิต จากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง-กรณราชวิทยาลัย ประสบการณทํางาน -เปนครูสอนพระปริยัติธรรม วัดเทวสุนทร -เปนครูผูชวยสอนนักเรียนตามโรงเรียน

Page 148 of 148

ลิขสิทธิ์เป

็นของมห

าวิทยาลัยมห

าจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย