2
บทที่ 5 สรุปผลการดำเนินงาน 5.1 สรุปผลการดำเนินงาน จากการนำนิทานให้ความรู้ด้านสุขภาพ มาผนวกกับเทคโนโลยีที่ทันสมัย ผู้พัฒนาจึงได้ผลิต การ์ตูนแอนิเมชันที่เข้าถึงกลุ่มผู้ชมเด็กๆช่วงอายุ3-6 ปีได้ง่ายอีกทั้งยังเป็นการปลูกฝังอุปนิสัยเชิงบวก ให้แก่เด็กและช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ด้านการป้องกันฟันผุให้แก่เด็กผ่านการ์ตูนสองมิติ ซึ่งเป็น แอนิเมชันที่มีเนื้อหากระชับเข้าใจง่าย และสามารถนำข้อคิดไปประยุกต์ใช้ได้ในชีวิตประจำวัน สำหรับโครงงานการพัฒนาแอนิเมชันได้จัดทำตามหลักการสร้างแอนิเมชันตั้งแต่ ขั้นตอนก่อน การผลิต ขั้นตอนผลิต และขั้นตอนหลังการผลิต ทั้งนี้สามารถสรุปผลการดำเนินงานพิจารณาตาม วัตถุประสงค์ของการจัดทำโครงงานได้ดังนี5.1.1 แอนิเมชั่นสามารถเป็นสื่อกลาง ในการส่งเสริมการเรียนรู้ให้แก่เด็กและ เยาวชน หรือผูที่สนใจได้เรียนรู้ และแสดงให้เห็นถึงความสำคัญของนิทานพื้นบ้านภาคเหนือได้จริง 5.1.2 สามารถนำเสนอการผลิตผลงานตามหลักวิศวกรรมซอฟต์แวร์ ตั้งแต่ขั้นตอนก่อนการ ผลิต ขั้นตอนการผลิต และขั้นตอนหลังการผลิต ได5.1.3 สามารถทำให้การ์ตูนแอนิเมชั่นเป็นสื่อกลางแทนการเล่าเรื่องเพื่อที่จะได้มีความหลาก หลายมากขึ้นทำให้ผู้ชมที่อ่านนิทานจากหนังสือผ่านตัวอักษร สามารถรับชมนิทานเป็นแอนิเมชัน 2 มิติได้ 5.1.4 สามารถแสดงศักยภาพของสาขาวิชาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ โดยกำหนดให้น้องซอฟต์อิ๊ง เป็นตัวแทนของสาขาให้เป็นที่รู้จักมากขึ้น 5.1.5 สามารถนำผลงานที่ผลิตเผยแพร่สู่สาธารณะ ให้นักเรียนและบุคคลที่สนใจสามารถ ดาวน์โหลดเพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง และผู้ใกล้ชิด 5.1.6 เพื่อให้ประชาชนและเยาวชนที่รับชมแอนิเมชั่นเรื่อง ป้ องกันฟันผุ สามารถนำข้อคิดใน นิทานไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้

paijit.lpru.ac.thpaijit.lpru.ac.th/.../SE_Project/Track_57/117/Chapter5.docx · Web viewบทท 5สร ปผลการดำเน นงาน 5.1 สร ปผลการดำเน

  • Upload
    others

  • View
    1

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: paijit.lpru.ac.thpaijit.lpru.ac.th/.../SE_Project/Track_57/117/Chapter5.docx · Web viewบทท 5สร ปผลการดำเน นงาน 5.1 สร ปผลการดำเน

บทท 5สรปผลการดำเนนงาน

5.1 สรปผลการดำเนนงาน

จากการนำนทานใหความรดานสขภาพ มาผนวกกบเทคโนโลยททนสมย ผพฒนาจงไดผลตการตนแอนเมชนทเขาถงกลมผชมเดกๆชวงอาย3-6 ปไดงายอกทงยงเปนการปลกฝงอปนสยเชงบวกใหแกเดกและชวยสงเสรมการเรยนรดานการปองกนฟนผใหแกเดกผานการตนสองมต ซงเปนแอนเมชนทมเนอหากระชบเขาใจงาย และสามารถนำขอคดไปประยกตใชไดในชวตประจำวน

สำหรบโครงงานการพฒนาแอนเมชนไดจดทำตามหลกการสรางแอนเมชนตงแต ขนตอนกอนการผลต ขนตอนผลต และขนตอนหลงการผลต ทงนสามารถสรปผลการดำเนนงานพจารณาตามวตถประสงคของการจดทำโครงงานไดดงน

5.1.1 แอนเมชนสามารถเปนสอกลาง ในการสงเสรมการเรยนรใหแกเดกและ เยาวชน หรอผทสนใจไดเรยนร และแสดงใหเหนถงความสำคญของนทานพนบานภาคเหนอไดจรง

5.1.2 สามารถนำเสนอการผลตผลงานตามหลกวศวกรรมซอฟตแวร ตงแตขนตอนกอนการผลต ขนตอนการผลต และขนตอนหลงการผลต ได

5.1.3 สามารถทำใหการตนแอนเมชนเปนสอกลางแทนการเลาเรองเพอทจะไดมความหลากหลายมากขนทำใหผชมทอานนทานจากหนงสอผานตวอกษร สามารถรบชมนทานเปนแอนเมชน 2 มตได

5.1.4 สามารถแสดงศกยภาพของสาขาวชาวศวกรรมซอฟตแวร โดยกำหนดใหนองซอฟตองเปนตวแทนของสาขาใหเปนทรจกมากขน

5.1.5 สามารถนำผลงานทผลตเผยแพรสสาธารณะ ใหนกเรยนและบคคลทสนใจสามารถดาวนโหลดเพอใหเกดประโยชนแกตนเอง และผใกลชด

5.1.6 เพอใหประชาชนและเยาวชนทรบชมแอนเมชนเรอง ปองกนฟนผสามารถนำขอคดในนทานไปปรบใชในชวตประจำวนได

Page 2: paijit.lpru.ac.thpaijit.lpru.ac.th/.../SE_Project/Track_57/117/Chapter5.docx · Web viewบทท 5สร ปผลการดำเน นงาน 5.1 สร ปผลการดำเน

5.2 อปสรรคการดำเนนงาน

ปญหาและอปสรรคทพบระหวางการพฒนาแอนเมชนทผพฒนาไดพบอปสรรคในการดำเนนงานสามารถสรปไดดงตอไปน

5.2.1 คอมพวเตอรทใชในการพฒนาแอนเมชนมทรพยากรทจำกด ทำใหมขอจำกดในการผลตชนงานในดานรายละเอยดของแอนเมชน

5.2.2 การผลตแอนเมชนใชเวลานานเนองจากมความถของเฟรมเปนจำนวนมาก5.2.3 สถานทในการบนทกเสยง มเสยงรบกวน ทำใหคณภาพของเสยงทบนทกมาไมดเทา

ทควร5.2.4 ในกรณการออกแบบเบองตน บางครงเมอมความตองการภาพหรอการเคลอนไหวท

เปลยนแปลงจากเดม ทำใหผพฒนาตองเปลยนแปลงบางสวนของบทดำเนนเรองและสตอรบอรดเพอใหสอดคลอง ทำใหตองเสยเวลาในการแอนเมชน และเอกสารใหม

ควรเพม ปญหาหลายเรอง

5.3 ขอเสนอแนะ

การพฒนาการตนแอนเมชนใหความรดานสขภาพ เรอง “ปองกนฟนผ”หากนกศกษาหรอบคคลใดสนใจทจะพฒนาตอ ควรพฒนาเพมเตมใหเกดประสทธภาพในสวนงานตอไปน

5.3.1 ในสวนการออกแบบตวละคร ควรมการออกแบบตวละครใหเหมาะสมกบวยของผชมมากยงขนโดยทำการสำรวจอาย รปแบบตวละคร และสภาพแวดลอมทเดกชอบในยคปจจบน

5.3.2 ในสวนของเสยงพากย ควรพากยใหมเสยงสงตำ ชดเจนในถอยคำ นาตดตาม ใหเหมาะสมกบเนอเรองในแตละฉากของแอนเมชน

5.3.3 ในสวนของเสยงประกอบ ควรมการเพมเสยงประกอบใหมากขน เพอเพมความนาสนใจ และชวนใหตดตาม

5.3.4 ในสวนของการเคลอนไหว ควรเพมความละเอยดในการเคลอนไหวใหเหมอนจรงมากขน เชน การเดน โดยการจำลองการเคลอนไหวสงตางๆ ใหเหมอนจรงมากขน เปนตน

5.3.5 ในการทำแอนเมชนควรใช Hardware ทมคณภาพสง จะชวยทำใหลดระยะเวลาในการแอนเมชนแตละครง

ควรเพม ขอเสนอแนะเพอปรบปรงในผลงานหลายเรอง