14
WEEKLY BRIEF TFPA Trade & Technical Vol. 2 issue 30 23 - 29 Aug 2011 www.thaifood.org Thai Food Processors’ Association Pineapple Sweet Corn Tuna Seafood Fruits&Vegetables Food Ingredient&Ready-to-Eat ศาลปกครอง”รับฟ้องเอกชน เบรก กษ.ขึ้นทะเบียนสารเคมี อินเดียท�าลายแหล่งประมงเกิน 80 % บิ๊กบอส’อะโกร-ออน’คัมแบ็ก เร่งปลดล็อกน�้าตาลล ้านกระสอบ ส่งขายนอก อุตสาหกรรมล�าปาง ค้านขึ้น ค่าแรง 300 บาท

weekly_brief_2_aug_23_-_aug_29_issue_30_web

Embed Size (px)

DESCRIPTION

weekly_brief_2_aug_23_-_aug_29_issue_30_web

Citation preview

Page 1: weekly_brief_2_aug_23_-_aug_29_issue_30_web

WEEKLY BRIEF TFPA Trade & Technical Vol. 2

issue 30

23 - 29 Aug 2011

www. tha i food.org

Thai Food Processors’ Association

Pineapple

Sweet Corn

Tuna

Seafood

Fruits&Vegetables

Food Ingredient&Ready-to-Eat

ศาลปกครอง”รับฟ้องเอกชน เบรก กษ.ขึ้นทะเบียนสารเคมี

อินเดียท�าลายแหล่งประมงเกิน 80 %

บิ๊กบอส’อะโกร-ออน’คัมแบ็ก

เร่งปลดล็อกน�้าตาลล้านกระสอบส่งขายนอก

อุตสาหกรรมล�าปาง ค ้านข้ึนค ่าแรง 300 บาท

Page 2: weekly_brief_2_aug_23_-_aug_29_issue_30_web

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

Vol. 2 Issue 3023 Aug - 29 Aug 2011

2 3

ContentsContents3

4 5 5 6 6 7 9 9 10

11 12 13 14 15 17

18

18 20

04

09

11

18

21

03 สถานการณ ์นโยบายครม.ชุดใหม ่ และประเด็นแรงงาน • อุตสาหกรรมล�าปาง ค้านขึ้นค่าแรง 300 บาท

สถานการณด์้านมาตรฐานและความปลอดภยั อาหาร • RASFF 1 ก.ค. - 26 ส.ค. 54 (Rapid Alert System for Food and Feed; RASFF) (เอกสารแนบ1) • น�้าส้มสายชูปนเปื้อนผู้เสียชีวิต 11 รายในจีน • จีนปราบปรามผู้ท�าผิดกม.ความปลอดภัยอาหาร จับผู้ต้องหา 2,000 คน • มาตรฐานนม (Milk Formula) • “ศาลปกครอง”รับฟ้องเอกชน เบรก กษ.ขึ้นทะเบียนสารเคมี • ต่อยอดความร่วมมือ FAO “ธีระ”ถกว่าที่ผู้อ�านวยการคนใหม่/สร้างความม่ันคงทางอาหารต่อเน่ือง

สถานการณด์้านประมง • อินเดียท�าลายแหล่งประมงเกิน 80 % • อียูอาจอนุญาตน�าเข้าอาหารทะเลปากีสถาน • วิจัยเล้ียงกุ้งก้ามกรามอินทรีย์ในนา ส่งเสริมใช้พื้นที่เต็มศักยภาพ ช่วยเพิ่มรายได้ให้”เกษตรกร”

สถานการณด์้านเกษตร• ถกด่วน!ช่วยเหลือเกษตรกรประสบภัยน�้าท่วม • เร่งคลอดแผนพัฒนาเกษตร มุ่ง 3 ยุทธศาสตร์พัฒนาการผลิต • บ๊ิกบอส’อะโกร-ออน’คัมแบ็ก • กอน.เตรียมคืนน�้าตาลให้เอกชนส่งออก • เร่งปลดล็อกน�้าตาลล้านกระสอบส่งขายนอก • เร่งสร้างเครือข่ายหมอดิน พด.เข็นเป้าสร้างศูนย์กลางถ่ายทอดเทคโนโลยีถึงแปลงเกษตรกร

สถานการณด์้านการค้า• พาณิชย์ เผยส่งออก เดือน ก.ค.54 โต 38.3% น�าเข้าโต 13.5% เกินดุล 2.7 พันล้านดอลล์ รวม 7 เดือนแรกขยายตัว 25.7% เกินดุลการค้า 6,245 ล้านดอลลาร ์• พาณิชย์ปลื้มส่งออก ก.ค. ทุบสถิติใหม่ ตะลึง!ทองค�าโต 3,919% - สินค้าเกษตรดาวรุ่ง • พาณิชย์ส่งสัญญาณรับมือประเด็นร้อนค้าโลก

อตัราแลกเปลีย่น

สถานการณ์ นโยบายครม.ชุดใหม่ และประเด็นแรงงาน

อุตสาหกรรมล�าปาง ค้านข้ึนค่าแรง 300 บาท

เมื่อวันท่ี 29 ส.ค.54 นายอธิภูมิ ก�าธรวรรินทร์

ประธานสภาอุตสาหกรรมจังหวัดล�าปาง เปิดเผยว่า ตาม

ท่ีรัฐบาลชุดใหม่ โดย นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายก

รัฐมนตรี ได้พร้อมเดินหน้านโยบายค่าแรงขั้นต�่า 300

บาทต่อวัน ซึ่งในส่วนของจังหวัดล�าปาง ท่ีมีโรงงาน

อุตสาหกรรมขนาดใหญ่ ท้ังเซรามิก และไม้แปรรูป ส่ง

ออก รวมกว่า 300 แห่ง มีความคิดเห็นท่ีคัดค้าน หาก

รัฐบาลประกาศขึ้นค่าแรงขั้นต�่า 300 บาทต่อวัน จริง

ซึ่งถือว่าเป็นการโยนภาระมาให้ผู ้ประกอบการมากจน

เกินไป โดยในส่วนของจังหวัดล�าปางนั้น ค่าแรงขั้นต�่าท่ี

เหมาะสม ควรจะไม่เกิน 220 บาท หากขึ้นค่าแรงขั้นต�่า

300 บาท จะท�าให้โรงงานอุตสาหกรรมในจังหวัดล�าปาง

ต้องปรับลดพนักงานลงทันทีกว่า 50 %

เพื่อลดต้นทุนในการด�าเนินงาน ทั้งนี้ ทางเจ้าของ

โรงงานอุตสาหกรรมได ้มีการเป ิดรับฟังเสียงความคิด

เห็นจากกลุ ่มแรง งานของแต่ละโรงงาน ท�าให้ได้รับ

ทราบว ่า ส ่วนใหญ ่ไม ่ดี ใจกับรัฐบาลจะประกาศใช ้

ค ่าแรงขั้นต�่า 300 บาท เพราะเป็นการปรับขึ้นแบบ

ก้าวกระโดด จะท�าให ้ผู ้ประกอบการอยู ่ ไม ่ได ้ และ

จะต ้องปรับลดแรงงานลง ซึ่ งจะท�าให ้แรงงานต ้อง

ตกงาน โดยแรงงานส ่วนใหญ ่ยอมรับค ่าแรงขั้นต�่ า

ไม่ถึง 300 บาท จะดีกว่า เพื่อให้ยังมีงานท�าต่อไป

ที่มา: สยามรัฐ(Submitted by kittipong) 29 ส.ค. 54

Page 3: weekly_brief_2_aug_23_-_aug_29_issue_30_web

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

Vol. 2 Issue 3023 Aug - 29 Aug 2011

4 5

WEEKLY BRIEF

สถานการณ์ด้านมาตรฐานและความปลอดภัยอาหาร

RASFF : ข้อมูลสินค้าอาหารส่งออกของไทยไปยังสหภาพยุโรป (EU) ที่พบปัญหา ระหว่าง 1 กรกฎาคม-26 สิงหาคม 2554 (เอกสารแนบ1)

น�้าส้มสายชูปนเปื้อนผู้เสียชีวิต 11 รายในจีน เมื่อวันท่ี 22 สิงหาคม 2554 ส�านักข่าว

ซินหัวรายงานว่า สาเหตุท่ีท�าให้มีผู ้เสียชีวิตจ�านวน 11

รายและเจ็บป่วย 120 ราย ในการรับประทานอาหารใน

ช่วงเดือนรอมฎอนท่ีเขตปกครองตนเองซินเจียงเมื่อวันท่ี

20 สิงหาคม 2554 คาดว่าเกิดจากการบริโภคน�้าส้ม

สายชูซึ่งปนเปื้อนสารต้านการเยือกแข็ง (antifreeze)

เจ้าหน้าที่คาดการณ์ว่า ผู้เสียชีวิตและผู้ป่วยชาวมุสลิม

ซึ่งร่วมรับประทานอาหารค�่าหลังถือศีลอดใน เดือนรอม

ฎอน ในหมู่บ้านแห่งหนึ่งใกล้กับเมือง Hotan ซึ่งติด

พรมแดนอัฟกานิสถาน ปากีสถาน และเอเชียกลาง ได้

บริโภคน�้าส้มสายชูบรรจุในถังพลาสติกซึ่งก่อนหน้านี้ ถัง

ดังกล่าวเคยใช้บรรจุสารต้านการเยือกแข็ง ซึ่งเป็นสารพิษ

โดยในกลุ่มผู้เสียชีวิตมีเด็กอายุ 6 ขวบ และมีผู ้ล้มป่วย

120 ราย หนึ่งในนั้นมีอาการสาหัส

ขณะนี้เจ้าหน้าที่ก�าลังสืบหาสาเหตุที่แท้จริงของการเสีย

ชีวิตและการเจ็บป่วยดังกล่าว

ที่มา :มกอช. (Xinhua) วันที่ 24 ส.ค. 54

จีนปราบปรามผู้ท�าผิดกม.ความปลอดภัยอาหาร จับผู้ต้องหา 2,000 คน

รัฐบาลจีนได้จับกุมประชาชน

2,000 คน และปิดธุรกิจเกือบ 5,000 แห่ง ในการ

ปราบปรามธุรกิจอาหารที่ผิดกฎหมายจากความหว่ัน

เกรงเกี่ยวกับอาหารปนเปื้อนในประเทศจีน

จีนเริ่มรณรงค์ด้านความปลอดภัยอาหารเมื่อเดือน

เมษายน 2554 หลังจากเกิดเรื่องอื้อฉาวเกี่ยวกับการฉีด

สีในเนื้อสัตว์เพื่อให้ดูดีเพ่ือ เพ่ิมราคาแพง

มีการสอบสวนธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับอาหารเกือบ 6

ล้านแห่ง และต�ารวจได้ท�าลายโรงงานผลิตอาหาร

ใต้ดินท่ีผิดกฎหมายหลายแห่ง

ที่มา :มกอช. วันที่ 24 ส.ค. 54

โดยสินค้าที่เกี่ยวข้องกับสมาชิกสมาคมผู้ผลิตอาหารส�าเร็จรูป ที่พบการแจ้งเตือนมี 2 กลุ่ม

สินค้า ดังนี้

1. สินค้ากลุ่มประมงอันตรายทางเคมี : พบปริมาณ histamine สูง (282 mg/kg - ppm) ใน

สินค้าปลาแมคเคอเรลรมควันในน�้ามัน

2. สินค้ากลุ่มผักและผลไม้อันตรายทางเคมี : พบปริมาณดีบุกสูง (296 mg/l) ในสินค้า

สับปะรดบรรจุประป๋อง

ทั้งนี้สามารถดูรายละเอียดการแจ้งเตือนของทุกประเภทสินค้าได้จาก http://ec.europa.eu/food/food/rapida-

lert/rasff_portal_database_en.htm

Page 4: weekly_brief_2_aug_23_-_aug_29_issue_30_web

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

Vol. 2 Issue 3023 Aug - 29 Aug 2011

6 7

Vol. 2 Issue 2

66 7

มาตรฐานนม (Milk Formula)

หน่วยงานของรัฐที่จีนได้ด�าเนิน

การตรวจสอบมาตรฐานนมโดยผู้ท�าผิดกฎหมายจะต้อง

ถูกลงโทษอย่างรุนแรง เน่ืองจากเหตุการณ์การพบสาร

เมลามีนในนมผงส�าหรับเล้ียงเด็กทารก ซ่ึงท�าให้เด็ก

เสียชีวิต 6 คน เจ็บป่วยกว่า 300,000 คนในปี 2551

ท�าให้รัฐบาลจึงต้องเรียกคืนผลิตภัณฑ์นมจากทั่วโลก ซึ่ง

เป็นการท�าลายความน่าเชื่อถือในเร่ืองมาตรฐานและความ

ปลอดภัยอาหารของจีนเป็นอย่างมาก

เมื่อต้นปี 2554 รัฐบาลจีนได้ปิด

โรงงานกว่าครึ่งของโรงงาน 1,176 ของจีน เนื่องจาก

การรณรงค์เพื่อก�าจัดสิ่งผิดกฎหมายในอุตสาหกรรมนม

นอกจากนี้ยังมีค�าสั่งศาลในการลงโทษประหารชีวิตในกรณี

ที่ท�าให้ประชาชนถึงแก่ความตายจากอาหารที่ไม่ปลอดภัย

อย่างไรก็ตาม มักจะมีการละเมิด

กฎต่างๆ ในจีนและเนื่องจากราคาอาหารที่สูงขึ้น ท�าให้

ผู ้ผลิตยังคงด�าเนินการในการลดต้นทุนเพื่อเพิ่มผลก�าไร

ที่มา : มกอช. และ Reuters วันที่ 24 ส.ค. 54

“ศาลปกครอง”รับฟ้องเอกชน เบรก กษ.ขึ้นทะเบียนสารเคมี

ดร.วีรวุฒิ กตัญญูกุล นายกสมาคมคนไทยธุรกิจ

เกษตร แจ้งว่า ตามที่สมาคมคนไทยธุรกิจเกษตร

ก�าหนดจัดแถลงข่าวเรื่องผลกระทบจากพ.ร.บ.วัตถุ

อันตราย พ.ศ.2551 ในวันที่ 26 สิงหาคม 2554 ณ

โรงแรมโซฟิเทล เซ็นทารา แกรนด์ ลาดพร้าว นั้น

สมาคมฯ ได้ขอยกเลิกการแถลงข่าว เนื่องจากศาล

ปกครองกลางได้ประทับรับฟ้องคดีที่มีผู ้เสียหายเป็น

โจทก์ยื่นฟ้องกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป็นจ�าเลยท่ี

1 และกรมวิชาการเกษตร เป็นจ�าเลยที่ 2 โดยโจทก์

ระบุในค�าฟ้องว่า ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

โดยจ�าเลยที่ 1 และประกาศกรมวิชาการเกษตร โดย

จ�าเลยที่ 2 ในการข้ึนทะเบียนวัตถุอันตราย หรือสาร

ก�าจัดศัตรูพืชของโจทก์ และผู้ประกอบธุรกิจสารเคมี

เกษตร เป็นการออกกฎที่เป็นการเพิ่มภาระ สร้างขั้น

ตอนที่ไม่จ�าเป็นแก่ผู ้ขอเกินสมควร อีกทั้งเป็นการใช้

ดุลพินิจที่ไม่เหมาะสม และไม่เป็นธรรม เนื่องจากมิได้

ค�านึงถึงทางปฏิบัติที่ไม่สามารถท�าได้โดยแจ้งชัด อัน

เป็นการขัดต่อวัตถุประสงค์แห่งบทบัญญัติของกฎหมาย

ดังกล่าว การกระท�าของจ�าเลยทั้งสอง ท�าให้โจทก์และ

ผู้ประกอบการธุรกิจเคมีเกษตร ได้รับความเดือดร้อน

หรือเสียหายได้

พ.ร.บ.วัตถุอันตราย พ.ศ.2551 ก�าหนดให้ผู ้ผลิต

ผู้น�าเข้า และผู้จ�าหน่ายสารก�าจัดศัตรูพืช ต้องขึ้นทะเบียน

สารก�าจัดศัตรูพืชใหม่ท้ังหมด โดยให้เวลาหลังออกพ.ร.บ.

3 ปี ซึ่งก�าหนดภายในวันท่ี 22 สิงหาคม แต่เนื่องจาก

ความล่าช้าในการออกประกาศของสองหน่วยงาน และ

รายละเอียดการขึ้นทะเบียนที่มีข้อโต้แย้งถึงความชัดเจน

บางประเด็น ท�าให้สิ้นสุดวันท่ี 22 สิงหาคมท่ีผ่านมา มี

บริษัทฯ ยื่นเอกสารขึ้นทะเบียนกว่า 2,000 รายการ แต่

สามารถขึ้นทะเบียนได้จริงประมาณ 40 รายการ ไม่ถึง

1% ของจ�านวนทะเบียนเดิมท่ีมีอยู่กว่า 20,000 รายการ

ที่มา : แนวหน้า วันที่ 26 ส.ค. 54

ต่อยอดความร่วมมือ FAO “ธีระ”ถกว่าที่ผู้อ�านวยการคนใหม่/สร้างความมั่นคงทางอาหารต่อเนื่อง

รมว.เกษตรฯหารือว่าที่ผอ.เอฟเอโอคนใหม่ ต่อย

อดความร่วมมือด้านวิชาการ พร้อมสนับสนุนการสร้าง

ความมั่นคงและความปลอดภัยทางอาหารต ่อเนื่อง

ระหว่างสองฝ่าย

นายธีระ วงศ์สมุทร รมว.เกษตรและสหกรณ์ เปิด

เผยภายหลังการหารือร่วมกับ นายโจเซ่ กราเซียอา

โน ดา ซิลวา ซึ่งได้รับเลือกให้ด�ารงต�าแหน่งผู้อ�านวย

การใหญ่องค์การอาหารและเกษตรแห่งสห ประชาชาติ

(FAO) คนใหม่ ในโอกาสเดินทางมาเยือนประเทศไทย

ว่า FAO ได้ให้ความช่วยเหลือแก่ประเทศไทยมาโดย

ตลอด อาทิ โครงการความร่วมมือทางวิชาการในระดับ

ประเทศ (Technical Cooperation Programme)

ความร่วมมือระหว่างไทยและ FAO ภายใต้กรอบความ

ร่วมมือระยะปานกลาง (National Medium-Term

Priority Framework) ซึ่งเป็นการส่งเสริมความร่วมมือ

ระหว่างประเทศก�าลังพัฒนา โดยการใช้ประโยชน์จาก

ประสบการณ์และความเชี่ยวชาญจากประเทศที่พัฒนา

มากกว่า ในรูปของทีมผู้เชี่ยวชาญ และเจ้าหน้าที่ด้าน

เทคนิค ส�าหรับช่วยเหลือประเทศที่ด้อยกว่า ซึ่งเป็น

โครงการความร่วมมือ 3 ฝ่าย ระหว่าง FAO ประเทศ

ผู ้รับ และประเทศผู ้ให้ความร่วมมือ โดยแต่ละฝ่าย

มีหน้าท่ีความรับผิดชอบที่แตกต่างกัน

Page 5: weekly_brief_2_aug_23_-_aug_29_issue_30_web

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

Vol. 2 Issue 3023 Aug - 29 Aug 2011

8 98

สถานการณ์ด้านประมง ส่วนโครงการส�าคัญอีกโครงการหนึ่ง คือ โครงการ

เพื่อความมั่นคงด้านอาหาร หรือ Telefood ซึ่งเป็น

โครงการขนาดเล็ก มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมความ

มั่นคงด้านอาหาร โดยการจัดหาปัจจัยการผลิตทางการ

เกษตร ประมง และปศุสัตว์ เพื่อช่วยเหลือเกษตรกร

ยากจนในระดับรากหญ้า ซึ่งประเทศไทยได้รับความช่วย

เหลือตั้งแต่เริ่มจัดตั้งโครงการคือ ปี 2541 เป็นต้นมา

จ�านวน 38 โครงการ และในช่วงปลายเดือนธันวาคม

2552 ทาง FAO ได้อนุมัติข้อเสนอโครงการจ�านวน 3

โครงการแล้ว โดยประเทศไทยและ FAO จะร่วมมือกัน

เพื่อบรรลุเป้าประสงค์ของกรอบความร่วมมือต่อไป ทั้ง

ในส่วนของการลดความอดอยากหิวโหยให้กับประชากร

การสร้างความมั่นคงทางอาหาร และความปลอดภัยทาง

อาหาร

ทั้งนี้ นายโจเซ่ กราเซียอาโน ดา ซิลวา ปัจจุบัน

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ช่วยผู้อ�านวยการใหญ่และผู้แทน เอฟ

เอ โอ ประจ�าภูมิภาคลาตินอเมริกาและคาริบเบียน มี

ความเช่ียวชาญในสาขาความมั่นคงอาหาร เกษตร และ

การพัฒนาชนบท ได้รับเลือกตั้งจากประเทศสมาชิก ให้

ด�ารงต�าแหน่งผู้อ�านวยการใหญ่ FAO คนใหม่ ในระหว่าง

การประชุมสมัชชา FAO สมัยที่ 37 เมื่อเดือนมิถุนายน

ที่ผ่านมา โดยจะเข้ารับต�าแหน่งตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม

2555 เป็นต้นไป

ที่มา: แนวหน้า วันที่ 25 ส.ค. 54

อินเดียท�าลายแหล่งประมงเกิน 80 %

เมื่อวันท่ี 19 สิงหาคม 2554 รัฐบาลอินเดียเปิดเผย

ว่าอินเดียได้จ�ากัดการท�าประมงของเรือประมงน�้าลึก แต่

กลับพบว่าอินเดียมีการท�าประมงจนสร้างความเสียหาย

แหล่งทรัพยากรทางน�้าถึง 82% ของแหล่งน�้าท่ียังสามารถ

ใช้จับปลาได้

นอกจากนี้รัฐบาลอินเดียยังระบุว่าได้ให้ความช่วย

เหลือชาวประมงอินเดียในการซื้อเรือประมงและเรือลาก

อวน

ที่มา : มกอช. (FIS) วันที่ 24 ส.ค. 54

อี ยู อ าจอนุญาตน� า เ ข ้ า อ าห ารท ะ เ ลปากีสถาน

สหภาพยุโรปอาจยกเลิกการ

ระงับน�าเข้าอาหารทะเลปากีสถานภายในหนึ่งเดือน หลัง

กรมประมงทางทะเลของปากีสถาน (MFD) เริ่มส่งค�าขอ

อย่างเป็นทางการเพื่อให้สหภาพยุโรปยกเลิกการระงับน�า

เข้าสินค้า ทะเลปากีสถาน

หากสหภาพยุโรปยกการระงับน�าเข ้าอาหารทะเล

จะท�าให้ปากีสถานส่งออกอาหารทะเลเพ่ิมข้ึน 50-350

ล้านยูโร

ทั้งนี้ สหภาพยุโรปขอให้ MFD ส่งผลการสังเกตการณ์

การทวนสอบท่าเรือและอาหารทะเลปากีสถานไปยัง

สหภาพยุโรป เพื่อให้สามารถตรวจสอบคุณภาพอาหาร

ทะเลก่อนที่จะอนุญาตให้ส่งออก โดย MFD เริ่มส่ง

ผลการสังเกตการณ์อย่างเป็นทางการในเดือนสิงหาคม

2554 ซึ่งเป็นช่วงท่ีฤดูการจับปลาเริ่มต้นขึ้น

ที่มา : มกอช. (FIS) วันที่ 26 ส.ค. 54

Page 6: weekly_brief_2_aug_23_-_aug_29_issue_30_web

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

Vol. 2 Issue 3023 Aug - 29 Aug 2011

10 1111

วิจัยเลี้ยงกุ ้งก้ามกรามอินทรีย์ในนา ส่งเสริมใช้พ้ืนท่ีเต็มศักยภาพ ช่วยเพิ่มรายได้ให้”เกษตรกร”

วช.หนุนงานวิจัยการเลี้ยงกุ้งก้ามกรามแบบอินทรีย์

ในนาข้าว ท�าให้ใช้พื้นที่ที่มีอย่างจ�ากัดได้เต็มศักยภาพ

และสร้างทางเลือกรายได้ให้เกษตรกร

ผศ.ดร.ส�าเนาว์ เสาวกูล อาจารย์ประจ�าสาขาวิชา

ประมง คณะเกษตรศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัย

เทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ เปิดเผยว่า

ได้รับการสนับสนุนจากส�านักงานคณะกรรมการวิจัยแห่ง

ชาติ (วช.) ด�าเนินการวิจัยการเลี้ยงกุ้งก้ามกรามแบบ

อินทรีย์ในนาข้าว ท้ังนี้เพราะเกษตรอินทรีย์เป็นระบบการ

ผลิตที่ค�านึงถึงสภาพแวดล้อมรักษาสมดุล ของธรรมชาติ

และความหลากหลายทางชีวภาพ โดยมีระบบการจัดการ

นิเวศวิทยาที่คล้ายคลึงกับธรรมชาติ และหลีกเลี่ยงการใช้

สารสังเคราะห์ไม่ว่าจะเป็นปุ๋ยเคมี สารเคมีก�าจัดศัตรูพืช

และฮอร์โมนต่างๆ ตลอดจนไม่ใช้พืชหรือสัตว์ที่เกิดจาก

การตัดต่อทางพันธุกรรมที่อาจก่อให้เกิด มลพิษในสภาพ

แวดล้อม เน้นการใช้อินทรียวัตถุ เช่น ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก

ปุ๋ยพืชสด และปุ๋ยชีวภาพ ในการปรับปรุงบ�ารุงดินให้มี

ความอุดมสมบูรณ์ เพื่อให้ต้นพืชมีความแข็งแรงสามารถ

ต้านทานโรคและแมลงได้ด้วยตนเอง รวมถึงการน�าเอา

ภูมิปัญญาชาวบ้านมาใช้ประโยชน์ด้วย ผลผลิตท่ีได้จะ

ปลอดภัยจากอันตรายของสารพิษตกค้าง ท�าให้ปลอดภัย

ทั้งผู้ผลิต ผู้บริโภค และไม่ท�าให้สภาพแวดล้อมเส่ือมโทรม

ลงอีกด้วย

ส�าหรับการผลิตสินค้าเกษตรอินทรีย์ในประเทศไทย

เริ่มเม่ือปี พ.ศ.2535 โดยกรมวิชาการเกษตร ร่วมกับบริษัท

ในเครือนครหลวงและบริษัทในเครือสยามวิวัฒน์ ผลิตข้าว

อินทรีย์ในท้องที่จังหวัดพะเยา และจังหวัดเชียงราย เนื้อที่

ประมาณ 10,000 ไร่ ได้ผลผลิตรวม 1,200-1,500 ตัน ส่ง

ไปจ�าหน่ายยังต่างประเทศภายใต้การควบคุมขององค์กร

ตรวจสอบคุณภาพของประเทศ อิตาลี ซึ่งเป็นสมาชิกของ

สมาพันธ์การเกษตรอินทรีย์ระหว่างประเทศ (IFOAM)

ส่วนการเลี้ยงกุ ้งก้ามกรามอินทรีย์ในนาข้าว เพื่อ

ให้มีการใช้พื้นที่ที่มีอยู ่อย่างจ�ากัดให้ได้ประโยชน์เพิ่มมาก

ขึ้น อีกทั้งเป็นการเพิ่มรายได้ให้กับเกษตรกรท่ีท�านาข้าว

อินทรีย์ เนื่องจากได้รับรายได้จากกุ้งก้ามกรามอีกทางหนึ่ง

เพื่อเป็นการส่งเสริม และเพิ่มรายได้ให้กับเกษตรกร ซึ่งใน

งานวิจัยดังกล่าวนี้เป็นการศึกษาการเลี้ยงกุ้งก้ามกรามแบบ

อินทรีย์ใน นาข้าวที่ท�าการผลิตแบบอินทรีย์ ในจังหวัด

สุรินทร์ซึ่งเป็นจังหวัดที่ได้รับการส่งเสริมจากนายกรัฐมนตรี

ให้ เป็นจังหวัดน�าร่องในการท�าการเกษตรแบบอินทรีย์ของ

ประเทศไทย ซึ่งการวิจัยดังกล่าวสามารถช่วยสร้างรายได้

และผลตอบแทนแก่เกษตรกรได้อย่างดี

ท่ีมา: แนวหน้า วันที่ 25 ส.ค. 54

สถานการณ์ด้านเกษตร

ถกด่วน!ช่วยเหลือเกษตรกรประสบภัยน�้าท่วม

นริศ ชัยสูตร ผู้อ�านวยการ

ส� านักงานเศรษฐกิจการคลั ง

(สศค.) ในฐานะโฆษกกระทรวง

การคลัง

คลังถกด่วน!ช ่วงบ ่ายของวันนี้หารือธกส. ช ่วยเหลือ

เกษตรกรผู้ประสบภัยน�้าท่วม 8 แบงก์ออกมาตรการช่วย

เหลือลูกหนี้เต็มท่ีท้ังพักหนี้-ลดดอกเบ้ีย

นายนริศ ชัยสูตร ผู้อ�านวยการ ส�านักงานเศรษฐกิจ

การคลัง (สศค.) ในฐานะโฆษกกระทรวงการคลัง แถลง

ว่า กระทรวงการคลังได้ ก�าหนดมาตรการในการให้

ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยธรรมชาติดังกล่าว ท้ังด้านการ

เงิน การให้ความช่วยเหลือของกรมบัญชีกลาง และกรม

สรรพากร ดังน้ี มาตรการด้านการเงินผ่านสถาบันการ

เงินเฉพาะกิจของรัฐท้ัง 8 แห่ง ได้แก่ ได้แก่ ธนาคาร

เพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ธนาคารออมสิน

ธนาคารอาคารสงเคราะห์ ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาด

กลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย ธนาคารอิสลาม

แห่งประเทศไทย ธนาคารเพื่อการส่งออกและน�าเข้าแห่ง

ประเทศไทย บรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาด

ย่อม และบรรษัทตลาดรองสินเชื่อท่ีอยู่อาศัย

รวมท้ังธนาคารกรุงไทย จ�ากัด (มหาชน) เพื่อให้ความ

ช่วยเหลือแก่ลูกค้าเดิมของธนาคารในเรื่องการพักช�าระหนี้

ขยายระยะเวลาช�าระหนี้ และลดดอกเบี้ย รวมทั้งให้เงิน

กู้ใหม่แก่ลูกค้าเดิมและประชาชนทั่วไป เพ่ือฟื้นฟูอาชีพ

และซ่อมแซมบ้าน/อาคารที่เสียหาย โดยลดอัตราดอกเบี้ย

ให้ต�่ากว่าปกติ และลดหย่อนเกณฑ์การพิจารณา โดยมี

รายละเอียดการให้ความช่วยเหลือของแต่ละสถาบันการ

เงิน ดังนี้

รายละเอียดเพิ่มเติม http://www.bangkokbiznews.com/

home/detail/finance/finance/20110826/406652/%E0%B8%96%E0%B8%81

%E0%B8%94%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%99!%E0%B8%8A%E0%B9%88

%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B7

%E0%B8%AD%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%95%E0%B8%A3

%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%AA

%E0%B8%9A%E0%B8%A0%E0%B8%B1%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B9%89%

E0%B8%B3%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%A1.html

ที่มา : กรุงเทพธุรกิจ วันที่ 26 สิงหาคม 2554

Page 7: weekly_brief_2_aug_23_-_aug_29_issue_30_web

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

Vol. 2 Issue 3023 Aug - 29 Aug 2011

12 1312 13

เ ร ่ งคลอดแผนพัฒนา เกษตร มุ ่ ง 3 ยุทธศาสตร์พัฒนาการผลิต

นาย เฉลิ มพร

พิ รุ ณส า ร ปลั ด

กระทรวง เกษตร

และสหกรณ์ เปิด

เผยว่า กระทรวง

เกษตรฯ โดยส�านักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) ได้

จัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่องแผนพัฒนา การเกษตร ใน

ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11

(พ.ศ.2555- 2559) ซึ่งถือเป็นแผนหลักของภาคเกษตร

ส�าหรับใช้เป็นกรอบการพัฒนาการเกษตรของประเทศ ใน

ระยะ 5 ปี ซึ่งภาพรวมของแผนและยุทธศาสตร์จะเป็น

ไปในทิศทางเดียวกันกับแผนพัฒนาระดับ ชาติ เพื่อให้

เกิดความร่วมมือของทุกภาคส่วนในการท�าให้คุณภาพชีวิต

ของเกษตรกรดี ขึ้น ประชาชนมีความมั่นคงด้านอาหาร

ด้านนายอภิชาต จงสกุล เลขาธิการ สศก. กล่าวว่า

แผนพัฒนาการเกษตรดังกล่าว จะใช้เป็นกรอบแนวทาง

และยุทธศาสตร์การพัฒนาการเกษตรของประเทศโดยให้

ความส�าคัญ ในการท�าให้ทุกภาคส่วนทั้งภาครัฐ เอกชน

สถาบัน การเงิน สถาบันการศึกษาโดยเฉพาะ อย่างยิ่ง

เกษตรกรและสถาบันเกษตรกร มีส่วนร่วมในกระบวนการ

จัดท�าแผนอย่างเป็นขั้นตอน

โดยการจัดท�าแผนฉบับนี้ มีการประมวลและวิเคราะห์

สถานการณ์เศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากร นโยบาย

การเกษตรตลอดจน วิเคราะห์สภาพแวดล้อม (SWOT

Analysis) รวมทั้งปัจจัยเสี่ยงและภูมิคุ ้มกันน�ามาประกอบ

การก�าหนดวิสัยทัศน์ ได้ว่า “เกษตรกร มีคุณภาพชีวิต

ที่ดี ประชาชนมีความม่ันคงด้านอาหาร เป็นฐานสร้าง

รายได้ให้แผ่นดิน” และได้ก�าหนดเป็นยุทธศาสตร์การ

พัฒนาการ เกษตรที่ส�าคัญช่วงระยะเวลา 5 ปี จ�านวน

3 ยุทธศาสตร์ ได้แก่ ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาคุณภาพ

ชีวิตเกษตรกร ยุทธศาสตร์ ที่ 2 พัฒนาขีดความสามารถ

ในการผลิต การจัดการสินค้าเกษตรและความมั่นคง ด้าน

อาหาร และยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาทรัพยากรการเกษตร

อย่างมีประสิทธิภาพ สมดุลและยั่งยืน

นอกจากนี้ ได ้ ให ้ความส�าคัญกับกระบวนการ

ขับเคลื่อนแผนสู ่การปฏิบัติให้มีกลไกในการ เชื่อมโยง

ยุทธศาสตร์ต่างๆ ในแผนพัฒนาการเกษตร ลงสู่แผนการ

บริหารราชการแผ่นดิน แผนปฏิบัติราชการ ฯลฯ โดย

พิจารณาความสอดคล้องของยุทธศาสตร์พัฒนาสินค้า

(Commodity Based) และยุทธศาสตร์พัฒนาพื้นท่ี (Area

Based) รวมทั้งก�าหนดแผนงานที่ส�าคัญ เป็นกลไกรองรับ

ให้เกิดการพัฒนาท้องถิ่น ชุมชนและเกษตรกรอย่างชัดเจน

ท่ีมา: หนังสือพิมพ์แนวหน้า วันที่ 29 ส.ค. 54

บิ๊กบอส’อะโกร-ออน’คัมแบ็ก

พรชัย ปิ่นวิเศษ ประธานบริษัท อะโกร-ออน (ประเทศไทย)

ฯ คัมแบ็กเก้าอี้ประธานกลุ่มข้าวโพดหวาน สมาคมผู้ผลิต

อาหารส�าเร็จรูป หลัง “อักษร โกมลภูติ” ผู้บริหารริเวอร์

แควลาออกจากวงการ เผยภารกิจเร่งด่วนเสนอรัฐบาล

จัดสรรงบจ้างทนายความเจรจายุโรปลดภาษีตอบโต้ ทุ่ม

ตลาด

แหล่งข่าวสมาคมผู้ผลิตอาหารส�าเร็จรูป เปิดเผย

กับ “ฐานเศรษฐกิจ” ว่าเมื่อกลางเดือนสิงหาคม 2554

ท่ีผ่านมา นายอักษร โกมลภูติ ประธานกลุ่มข้าวโพด

หวาน สมาคมผู้ผลิตอาหารส�าเร็จรูป และเป็นผู้บริหาร

ของบริษัท ริเวอร์แควอินเตอร์เนชั่นแนล จ�ากัด ได้ลา

ออกจากบริษัท ริเวอร์แควฯ ท�าให้ต�าแหน่งประธาน

กลุ่มข้าวโพดหวานต้องหมดวาระลงด้วย ดังนั้นสมาชิก

กลุ ่มข้าวโพดหวานได้ลงมติเลือกนายพรชัย ปิ ่นวิเศษ

ประธานบริษัท อะโกร-ออน (ประเทศไทย) จ�ากัด ขึ้น

มารับต�าแหน่งประธานกลุ่มแทน ทั้งนี้นายพรชัย เคยนั่ง

เก้าอี้ประธานกลุ่มข้าวโพดหวานมาแล้วในปี 2551-2552

และช่วงปี 2552-2553

ต่อเรื่องนี้นายพรชัย ในฐานะประธานกลุ่มข้าวโพด

หวานคนใหม่ เปิดเผยถึงภารกิจส�าคัญของกลุ่มข้าวโพด

หวาน ว่านับจากนี้เป็นต้นไปคือการหารือร่วมกับภาครัฐ

เจรจาให้สหภาพยุโรป (อียู)ยกเลิกหรือลดการเก็บภาษี

ตอบโต้การทุ่มตลาด(เอดี)สินค้าข้าวโพด หวานกระป๋อง

ซึ่งอียูได้ใช้มาตรการเอดีสินค้าข้าวโพดหวานกระป๋องกับ

ประเทศไทยมาตั้งแต่ มิถุนายน 2551 ซึ่งมิถุนายน 2555

จะครบ 5 ปีท่ีจะมีการทบทวนเป็นครั้งแรก โดยขณะนี้ใน

ส่วนของภาคเอกชนซึ่งเป็นผู้ส่งออกข้าวโพดหวานกระป๋อง

ท้ัง 26 บริษัทได้เตรียมเอกสารหลักฐานต่างๆ พร้อมที่

จะช้ีแจงว่าผู ้ประกอบการของไทยไม่ได้ทุ ่มตลาดอียูแต่

อย่างใด

ขณะเดียวกันเร็วๆ นี้จะได้ท�าหนังสือถึงนางสาวยิ่ง

ลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี และนายกิตติรัตน์ ณ

ระนอง รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวง

พาณิชย์ เพื่อให้จัดสรรงบประมาณว่าจ้างทนายความ

ด�าเนินการให้อียูลดหรือยกเลิกภาษีเอ ดี เนื่องจากการ

ด�าเนินการดังกล่าวต้องใช้เม็ดเงินจ�านวนมาก ภาคเอกชน

ไม่มีก�าลังพอท่ีจะว่าจ้างทนายความได้

“ปีหน้าเป ็นปีแรกที่จะมีการทบทวนการเก็บภาษี

ตอบโต้การทุ ่มตลาดสินค้าข ้าว โพดหวานกระป๋องผู ้

ประกอบการคาดหวังเพียงว ่าอียูจะลดภาษีเอดีลงจาก

ปัจจุบัน อัตราภาษีเอดีเฉลี่ยอยู ่ที่ 3.1-14.3% โดยผู้ส่ง

ออกส่วนใหญ่ถูกเรียกเก็บที่ 14.3% มีเพียงไม่กี่บริษัทที่

ถูกเรียกเก็บอัตราต�่า 3.1% ขณะที่ภาษีน�าเข้าปกติอยู ่ที่

15% เพราะฉะนั้นเมื่อรวมภาษีทั้งสองแล้ว ผู้น�าเข้าของอี

ยูจะต้องจ่ายภาษีน�าเข้าเกือบ 30% ท�าให้สินค้าข้าวโพด

หวานกระป๋องของไทยมีราคาสูงไม่สามารถแข่งขันกับข้าว

โพด หวานกระป๋องของฝรั่งเศสและฮังการีได้”นายพรชัย

กล่าวและว่า

Page 8: weekly_brief_2_aug_23_-_aug_29_issue_30_web

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

Vol. 2 Issue 3023 Aug - 29 Aug 2011

14 15

ต ้องยอมรับว ่าตลาดอียูมีความส�าคัญกับสินค ้า

ข้าวโพดหวานกระป๋องของไทย แต่ตลอดเวลา 4 ปีที่

สินค้าไทยถูกตอบโต้การทุ่มตลาด ผู้ประกอบการได้ดิ้นรน

หาตลาดใหม่ อาทิ เอเชีย รัสเซีย และปฏิเสธไม่ได้ว่า

ประสบความส�าเร็จเพราะปริมาณและมูลค่าส่งออกได้เพิ่ม

ข้ึน ปี 2553 ที่ผ่านมาประเทศไทยส่งออกข้าวโพดหวาน

กระป๋อง 173,619 ตัน มูลค่า 5,108.49 ล้านบาท หรือ

เป็นผู้ส่งออกอันดับหนึ่งของโลก เพราะฝรั่งเศสและฮังการี

คู่แข่งส�าคัญส่งออกได้ประมาณ 1 แสนตันเศษ แต่ไทยและ

ยุโรปยังต้องพึ่งพาซึ่งกันและกันในฐานะผู้ผลิตและผู้น�าเข้า

อนึ่ง ข้อมูลสมาคมผู้ผลิตอาหารส�าเร็จรูปรายงาน

ปริมาณการส ่งออกข ้าวโพดหวานกระป๋อง ปี 2550

ปริมาณส่งออก 151,276 ตัน มูลค่า 4,611.80 ล้านบาท

ปี 2551 ปริมาณส่งออก 153,384 ตัน มูลค่า 4,843.43

ล้านบาท ปี 2552 ปริมาณส่งออก 160,818 ตัน มูลค่า

5,105.16 ล้านบาท ปี 2553 ปริมาณส่งออก 173,619 ตัน

มูลค่า 5,108.49 ล้านบาท ปี 2554 (มกราคม-มีนาคม)

ปริมาณส่งออก 40,614 ตัน มูลค่า 1,220 ล้านบาท

ที่มา: หนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจฉบับที่ 2,665 26 ส.ค. 54

กอน.เตรียมคืนน�้าตาลให้เอกชนส่งออก

นาย วิฑูรย์ สิมะโชคดี ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม

เปิดเผยว่า ในวันที่ 30 ส.ค. 2554 จะมีการประชุมคณะ

กรรมการอ้อยและน�้าตาลทราย (กอน.) โดยในท่ีประชุม

จะพิจารณาเรื่อง น�้าตาลที่ส�ารองไว้ 1 ล้านกระสอบ จะ

ส่งกลับคืนให้สามารถน�าไปส่งออกได้ เนื่องจากเคยมีมติให้

รอดูสถานการณ์จนถึงปลายเดือนส.ค. หากน�้าตาลไม่ตึงตัว

กลับสู่สภาพปกติ ก็จะส่งคืนให้ไม่ต้องส�ารองต่อ

นาย ชลัช ชินธรรมมิตร์ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่

สายงานธุรกิจ และสายงานผลิตและเทคนิค บริษัทน�้าตาล

ขอนแก่น กล่าวว่า ที่ประชุมคงต้องพิจารณาน�้าตาล 1

ล้านกระสอบสุดท้ายที่ให้ส�ารองไว้ เพื่อไม่ให้เสียโอกาส

ทางธุรกิจ เนื่องจากปัจจุบันมียอดน�้าตาลเหลือจากการ

จ�าหน่าย (น�้าตาลค้างกระดาน) อยู่จ�านวน 2.41 ล้าน

กระสอบ และหากรวมกับที่ส�ารองไว้ อีก 1 ล้านกระสอบ

จะมียอดค้างกระดานทั้งหมด 3.4 ล้านกระสอบ ซึ่งถือ

เป็นจ�านวนที่สูงมาก หากเทียบกับช่วงปกติที่จะมียอดน�้า

ตาลค้างกระดานประมาณ 1 ล้านกระสอบ

ทั้ง นี้ การที่มียอดน�้าตาลเหลือค้างกระดานเป็นจ�านวน

มาก เป็นผลมาจากการบริโภคของประชาชนที่น ้อยลง

โดยในแต่ละสัปดาห์ที่น�าน�้าตาลออกจ�าหน่าย (ข้ึนงวด)

สัปดาห์ 4.03 หม่ืนกระสอบ ก็ขายไม่หมดและเหลือมา

ตลอด เนื่องจากในปีนี้ฝนตกมาก ท�าให้ยอดขายน�้าอัดลม

เครื่องด่ืมหดตัวลง ซึ่งในกลุ่มอุตสาหกรรมนี้เป็นกลุ่มท่ีใช้

น�้าตาลมาก จึงท�าให้ยอดขายน�้าตาลลดลงตามไปด้วย

ขณะ ที่การบริโภคในครัวเรือนก็ปรับเพิ่มข้ึนไม่มากอยู่

แล้ว รวมทั้งการจัดสรรน�้าตาลทรายส่วนใหญ่จะให้ความ

ส�าคัญในช่วงหน้าร้อนมากกลัวว่า จะมีน�้าตาลไม่พอต่อ

การบริโภค จึงท�าให้มีการเก็บน�้าตาลส�ารองไว้

“น�้าตาล ที่ค้างกระดานเยอะเป็นต้นทุนของโรงงาน

น�้าตาล เพราะโรงงานจ่ายเงินค่าอ้อย ค่าผลิตน�้าตาลไป

หมดแล้ว แต่น�้าตาลขายไม่ออก และยังต้องมีค่าใช้จ่าย

ในการจัดเก็บน�้าตาลด้วย” นายชลัช กล่าว

อย่างไรก็ตาม การบริหารจัดการน�้าตาล หรือการ

จัดสรรน�้าตาลในฤดูกาลผลิตหน้า คงจะต้องท�าให้ดีเพราะ

ที่ผ่านถือว่าผู ้ดูแลเข้าใจผิด และไม่เข้าใจว่าน�้าตาลค้าง

กระดาน ก็เท่ากับน�้าตาลท่ีเหลือส�ารองอยู่ จึงไม่จ�าเป็น

ต้องมีการกันน�้าตาลมาส�ารองซ�้าซ้อนอีกแล้ว และการที่

เพิ่มปริมาณน�้าตาลโควตา ก. (น�้าตาลเพื่อการบริโภคใน

ประเทศ) เป็น 25 ล้านกระสอบ ก็ถือว่าเพียงพอต่อความ

ต้องการใช้ในประเทศอยู่แล้ว

เร่งปลดล็อกน�้าตาลล้านกระสอบส่งขายนอก

นาย วิฑูรย์ สิมะโชคดี ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม

เปิดเผยว่า ในท่ีประชุมคณะกรรมการอ้อยและน�้าตาล

ทราย (กอน.) วันท่ี 30 ส.ค.นี้ จะพิจารณาเรื่องน�้าตาล

ท่ีส�ารองไว้ 1 ล้านกระสอบ เพ่ือส่งกลับคืนให้น�าไปส่ง

ออกได้ เนื่องจากเคยมีมติให้รอดูสถานการณ์จนถึงปลาย

เดือนส.ค. หากน�้าตาลไม่ตึงตัวกลับสู ่สภาพปกติ ก็ไม่

ต้องส�ารอง

นาย ชัยวัฒน์ ค�าแก่นคูณ ประธานชมรมสถาบันชาวไร่

อ้อยภาคอีสาน กล่าวว่า ควรรีบพิจารณาให้โรงงานน�า

น�้าตาลจ�านวน 1 ล้านกระสอบที่ส�ารองไว้ไปท�าตลาด ไม่

ควรปล่อยให้เสียโอกาสและสร้างภาระให้กับโรงงาน และ

ที่ผ่านมารัฐบาลกังวลว่าการบริโภคในประเทศจะไม่เพียง

พอ เพราะไปดูแต่การซื้อขายในโมเดิร์นเทรดเท่านั้น ซึ่ง

ปริมาณน�้าตาลในโมเดิร์นเทรดมีปริมาณคงที่อยู่แล้ว ไม่ได้

เกี่ยวข้องกับปริมาณน�้าตาลในตลาดโดยรวม

ส�าหรับ สถานการณ์น�้าตาล ณ วันที่ 25 ส.ค. 2554

น�้าตาลทรายโควตา ก จ�านวน 25 ล้านกระสอบ ขึ้นงวด

ไปแล้ว 18 ล้านกระสอบ จ�าหน่ายไปแล้ว 15.6 ล้าน

กระสอบ ยังไม่ได้ขึ้นงวดอีก 6.91 ล้านกระสอบ รวม

ยอดน�้าตาลค้างกระดานทั้งหมด 2.41 ล้านกระสอบ

ท่ีมา: หนังสือพิมพ์ไทยโพสต์ วันที่ 26 ส.ค. 54

Page 9: weekly_brief_2_aug_23_-_aug_29_issue_30_web

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

Vol. 2 Issue 3023 Aug - 29 Aug 2011

16 17

Vol. 2 Issue 26

17

นาย ชลัช ชินธรรมมิตร์ ผู้ช่วยกรรมการผู ้จัดการ

ใหญ่ สายงานธุรกิจ และสายงานผลิตและเทคนิค บริษัท

น�้าตาลขอนแก่น จ�ากัด (มหาชน) กล่าวว่า ที่ประชุมคง

ต้องพิจารณาน�้าตาล 1 ล้านกระสอบสุดท้ายที่ให้ส�ารองไว้

เพื่อไม่ให้เสียโอกาสทางธุรกิจ เนื่องจากปัจจุบันมียอดน�้า

ตาลเหลือจากการจ�าหน่าย (น�้าตาลค้างกระดาน) อยู ่

จ�านวน 2.41 ล้านกระสอบ และหากรวมกับที่ส�ารองไว้ อีก

1 ล้านกระสอบ จะมียอดค้างกระดานทั้งหมด 3.4 ล้าน

กระสอบ ซ่ึงถือเป็นจ�านวนที่สูงมาก หากเทียบกับช่วงปกติ

ที่จะมียอดน�้าตาลค้างกระดานประมาณ 1 ล้านกระสอบ

ทั้งนี้ การท่ีมียอดน�้าตาลเหลือค้างกระดานเป็นจ�านวน

มาก เนื่องจากในแต่ละสัปดาห์ที่น�าน�้าตาลออกจ�าหน่าย

(ข้ึนงวด) 4.03 หมื่นกระสอบ เหลือมาตลอด เนื่องจาก

ปีนี้ฝนตกมาก ท�าให้ยอดขายน�้าอัดลม เครื่องดื่มหดตัว

ลง ซ่ึงในกลุ่มอุตสาหกรรมนี้เป็นกลุ่มที่ใช้น�้าตาลมาก จึง

ท�าให้ยอดขายน�้าตาลลดลงตามไปด้วย ขณะที่การบริโภค

ในครัวเรือนก็ปรับเพิ่มขึ้นไม่มากอยู่แล้ว

เร่งสร้างเครือข่ายหมอดิน พด.เข็นเป้าสร้างศูนย์กลางถ่ายทอดเทคโนโลยีถึงแปลงเกษตรกร นายเกรียงศักดิ์ หงษ์โต รองอธิบดีกรมพัฒนาที่ดิน เปิดเผยว่า กรมพัฒนาที่ดิน

ให้ความส�าคัญกับการพัฒนาหมอดินอาสา ท้ังหมอ

ดินอาสาประจ�าหมู่บ้าน ต�าบล อ�าเภอ และจังหวัด

ซึ่งมีอยู ่มากกว่า 78,000 ราย ให้มีองค์ความรู ้ด้าน

การพัฒนาที่ดินอย่างต่อเนื่อง โดยน�ากิจกรรมต่างๆ

พร้อมอุปกรณ์ในการถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดิน

ปัจจัยการผลิตแจกจ่ายให้กับหมอดินอาสาท่ัวประเทศ

ตลอดจนเข้าพัฒนาพื้นท่ีของหมอดินอาสาให้เป็นศูนย์

เรียนรู ้การพัฒนาที่ดินตาม แนวเศรษฐกิจพอเพียง

เพื่อเป็นตัวอย่างการพัฒนาท่ีดินของเกษตรกรในหมู่

บ้านนั้นๆ และให้หมอดินอาสาเป็นศูนย์กลางส�าหรับ

เกษตรกรในการเข้าถึงงานบริการของกรมพัฒนาที่ดิน

ได้อย่างเต็มท่ี ซ่ึงขณะน้ีได้เร่งเพิ่มอัตราหมอดินอาสา

ให้ครอบคลุมพื้นที่ทั่วประเทศจะได้ ให้บริการเกษตรกร

ได้มากขึ้น

ด้าน นายผล มีศรี หมอดินอาสาดีเด่นประจ�าอ�าเภอ

ภูซาง จังหวัดพะเยา กล่าวว่า ตั้งแต่สมัครเข้ามาเป็นหมอ

ดินอาสาของกรมพัฒนาที่ดิน ได้รับการถ่ายทอดความรู ้

และเทคโนโลยีด้านการพัฒนาที่ดินทุกแขนง รวมทั้งได้รับ

การสนับสนุนปัจจัยการผลิตต่างๆ โดยเฉพาะผลิตภัณฑ์

สารเร่ง พด.ชนิดต่าง ๆ เมล็ดพันธุ์พืชปุ๋ยสด กล้าหญ้า

แฝก เพื่อน�ามาปรับปรุงสภาพพ้ืนที่ทางการเกษตรของ

ตนเองให้มีความอุดมสมบูรณ์ สามารถใช้ประโยชน์ในการ

ปลูกและเพิ่มผลผลิตได้อย่างเต็มประสิทธิภาพมากขึ้น ที่

ส�าคัญตนได้ยึดหลักการท�าเกษตรตามแนวทฤษฎีใหม่ของ

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่ หัว ที่เน้นการพึ่งพาตนเองตาม

หลักเศรษฐกิจพอเพียงประกอบกับน�าหลักวิชาการพัฒนา

ท่ีดินมาใช้อย่างต่อเน่ือง ท�าให้ผลผลิตทางการเกษตรสูง

ขึ้น ขณะท่ีต้นทุนการผลิตลดลง มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น สิ่ง

แวดล้อม ความสมดุลต่างๆ กลับคืนมา

ทั้งนี้ กรมพัฒนาที่ดินได้คัดเลือกให้พื้นที่ของหมอ

ดินผล มีศรี จัดตั้งเป็นศูนย์เรียนรู ้การพัฒนาที่ดินตาม

แนวเศรษฐกิจพอเพียง ที่ เป ิดให้เกษตรกรและผู ้สนใจ

เข้ามาศึกษาดูงานตามจุดเรียนรู้ต่างๆ โดยเฉพาะการใช้

ผลิตภัณฑ์สารเร่ง พด. เพิ่มผลผลิตน�้ายางในสวนยางพารา

ซึ่งเขาเป็นผู ้ริเริ่มในการน�ายางพารามาปลูกในสวนล�าไย

เป็นคนแรกๆ ของจังหวัดพะเยา ตั้งแต่ปี 2549 จน

กระทั่งปัจจุบันได้รับการยอมรับจากเกษตรกรในพ้ืนที่และ

ใกล้เคียงให้เป็น แบบอย่างในการท�าการเกษตรผู ้สนใจ

ติดต่อนายผล มีศรี ได้ท่ี 130 หมู่ 6 ต.ภูซาง อ.ภูซาง

จ.พะเยา เบอร์โทรศัพท์ 087-1749928

ที่มา: แนวหน้า วันที่ 26 ส.ค. 54

“น�้าตาล ที่ค้างกระดานเยอะเป็นต้นทุนของโรงงาน

น�้าตาล เพราะโรงงานจ่ายเงินค่าอ้อย ค่าผลิตน�้าตาลไป

หมดแล้ว แต่น�้าตาลขายไม่ออก และยังมีค่าใช้จ่ายในการ

เก็บน�้าตาลด้วย ซึ่งการบริหารและจัดสรรน�้าตาลที่ผ่านมา

ไม่เข้าใจกันว่าน�้าตาลค้างกระดาน เท่ากับน�้าตาลท่ีเหลือ

ส�ารองอยู่ จึงไม่จ�าเป็นต้องกันน�้าตาลมาส�ารองซ�้าซ้อนอีก

และการเพิ่มปริมาณน�้าตาลโควตา ก. (น�้าตาลเพื่อการ

บริโภคในประเทศ) เป็น 25 ล้านกระสอบ ก็เพียงพอใช้

ในประเทศแล้ว” นายชลัช กล่าว

ท่ีมา: หนังสือพิมพ์ข่าวสด วันที่ 26 ส.ค. 54

Page 10: weekly_brief_2_aug_23_-_aug_29_issue_30_web

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

Vol. 2 Issue 3023 Aug - 29 Aug 2011

18 19

สถานการณ์ด้านการค้า

พาณิชย์ เผยส่งออก เดือน ก.ค.54 โต 38.3% น�าเข้าโต 13.5% เกินดุล 2.7 พันล้านดอลล์ รวม 7 เดือนแรก ขยายตัว 25.7% เกินดุลการค้า 6,245 ล้านดอลลาร์

นายยรรยง พวงราช ปลัดกระทรวงพาณิชย์

เปิดเผยถึงภาวะการค้าระหว่างประเทศของไทยเดือนก.ค.

54 ว่า การส่งออกในเดือนนี้ขยายตัว 38.3% จากช่วง

เดียวกันของปีก่อน คิดเป็นมูลค่า 21,521 ล้านดอลลาร์

โดยมูลค่าการส่งออกถือว่าสูงสุดเป็นประวัติการณ์ ส่วน

การน�าเข้า ขยายตัว 13.5% คิดเป็นมูลค่า 18,723 ล้าน

ดอลลาร์ ส่งผลให้ไทยเกินดุลการค้า 2,798 ล้านดอลลาร์

“ยอดส ่ งออกเดือนนี้ ถื อว ่ าสู งสุด เป ็น

ประวัติการณ์...การส่งออกยังโตต่อเนื่องติดต่อกันเป็น

เดือนที่ 22” ปลัดกระทรวงพาณิชย์ กล่าว

ขณะที่การส่งออกในช่วง 7 เดือนแรกของปี

นี้(ม.ค.-ก.ค.) ขยายตัว 25.7% คิดเป็นมูลค่า 136,499

ล้านดอลลาร์ การน�าเข้า ขยายตัว 26.1% คิดเป็นมูลค่า

130,254 ล้านดอลลาร์ ท�าให้ 7 เดือนแรกปีนี้ไทยยังเกิน

ดุลการค้า 6,245 ล้านดอลลาร์

ที่มา: Submitted by jarune on Thu, 25/08/2011

พาณิชย์ปล้ืมส่งออก ก.ค. ทุบสถิติใหม่ ตะลึง!ทองค�าโต 3,919% - สินค้าเกษตรดาวรุ่ง

นาย ยรรยง พวงราช ปลัดกระทรวงพาณิชย์ กล่าว

ว่า การส่งออกของไทยในเดือนก.ค.54 ขยายตัวสูงสุดเป็น

ประวัติการณ์ โดยมีมูลค่าสูงถึง 21,521 ล้านเหรียญสหรัฐ

เพิ่มข้ึน 38.3% หรือ 652,087 ล้านบาท เพ่ิมขึ้น 30.4%

เม่ือเทียบกับช่วงเดียวกับปีก่อน ส�าหรับการส่งออกระยะ 7

เดือนที่ผ่านมา มูลค่า 136,499 ล้านเหรียญสหรัฐ เพิ่มข้ึน

25.7% ในรูปเงินบาทการส่งออกมีมูลค่า 4,113,842 ล้าน

บาท เพิ่มข้ึน 16.9% โดยสินค้าเกษตรและอุตสาหกรรม

เกษตร ข้าว ยางพารา ผลิตภัณฑ์มันส�าปะหลัง สินค้า

อาหาร มีการขยายตัวสูงถึง 53.5%

นอก จากนี้ สินค ้าอุตสาหกรรม เช ่น เครื่อง

อิเล็กทรอนิกส์ เครื่องใช้ไฟฟ้า ยานยนต์ เม็ดพลาสติก

และผลิตภัณฑ์ ขยายตัว 34.9% โดยทองค�าขยายตัว

3,919% ส่วนสินค้าท่ีส่งออกลดลงคือ เฟอร์นิเจอร์และชิ้น

ส่วน เนื่องจากขาดแคลนไม้ โดยลดลง 10.4% ประกอบ

กับต้องแข่งขันกับจีน เวียดนามและไต้หวัน รวมถึงการ

ส่งออกของเล่นก็ลดลง 10.2% โดยตลาดหลักอยู่ท่ีสหรัฐ

และญี่ปุ่น เนื่องจากปัญหาขาดแคลนวัตถุดิบ ขาดแคลน

แรงงาน และการกีดกันทางการค้า

ท้ัง นี้ การส่งออกในเดือนก.ค.พบว่า ขยายตัวทุก

กลุ่มตลาดโดยเฉพาะตลาดศักยภาพรองท่ีมีแนวโน้มปรับ

ตัวดีขึ้น โดยเพิ่มขึ้นถึง 28.4% เนื่องจากส่งออกไปรัสเซีย

และประเทศท่ีแยกตัวออกมาจากสหภาพโซเวียต รวมท้ัง

ตลาดศักยภาพสูง เช่น จีน ฮ่องกง กลุ่มประเทศอาเซียน

อินเดีย ไต้หวัน เพิ่มขึ้นถึง 47% ขณะท่ีตลาดหลักส่งออก

เพิ่มขึ้น 21.4% คือ ยุโรป เพิ่มขึ้น 35.5% และญี่ปุ่น เพิ่ม

ขึ้น 23% ขณะท่ีสหรัฐ ขยายตัว 8.1% ซึ่งเป็นการชะลอ

ตัวต่อเนื่องเป็นเดือนท่ีสอง

ส�าหรับ การน�าเข้าเดือนก.ค. มีมูลค่า 18,723 ล้าน

เหรียญสหรัฐ เพิ่มขึ้น 13.5% หรือ 547,433 ล้านบาท เพิ่ม

ขึ้น 7.1% ซึ่งในระยะ 7 เดือน มีมูลค่า 130,254 ล้าน

เหรียญสหรัฐ เพิ่มขึ้น 26.1% หรือ 3,973,541 ล้านบาท

เพิ่มขึ้น 17.3% ส่งผลให้ไทยเกินดุลการค้า 2,798 ล้าน

เหรียญสหรัฐ ส่วนช่วงเดือนม.ค.-ก.ค.54 ไทยได้ดุลการค้า

6,244 ล้านเหรียญสหรัฐ

นาย ยรรยง กล่าวถึงนโยบายของรัฐบาลที่ต้องการ

ส่งเสริม ให้มีการบริโภคภายในประเทศมากกว่าพึ่งพา

การส่งออกว่า นโยบายดังกล่าวไม่มีผลท�าให้กระทรวง

พาณิชย์ต้องปรับลดเป้าการส่งออกที่ตั้ง ไว้ 15% เพราะ

ถึงอย่างไรการส่งออกก็เป็นตัวน�าในการก�าหนดอัตราการ

เติบโตทางเศรษฐกิจ ของประเทศ และทั้งสองแนวทาง

ต้องท�าควบคู่กันไป

ส่วน ท่ีหลายฝ่ายวิตกว่าราคาทองค�าที่มีความผันผวน

ค่อนข้างมาก อาจส่งผลต่อภาคการส่งออกนั้น นายยรรยง

กล่าวว่า ทองค�าไม่ได้เป็นสินค้าส่งออกหลักของไทย แต่

ในเดือนก.ค.ที่การส่งออกทองค�า มีการปรับตัวถึง 3,919%

หรือคิดเป็นมูลค่า 995 ล้านดอลลาร์สหรัฐ เป็นผลมาจาก

ภาวะเศรษฐกิจโลกท่ีชะลอตัวลง ทิศทางตลาดหุ้นทั่วโลกมี

ความผันผวน ส่งผลให้มีการเก็งก�าไรทองค�ามากขึ้น และ

ราคาทองค�าปรับตัวสูงขึ้น

นาง นันทวัลย์ ศกุลตนาค อธิบดีกรมส่งเสริมการส่ง

ออก กล่าวว่า ระยะต่อไปต้องจับตาเศรษฐกิจของสหรัฐ

และยุโรปท่ีเห็นได้จากการสั่งน�าเข้าของ เล่น เฟอร์นิเจอร์

ลดลง รวมท้ัง ส่อเค้าว่ามีการชะลอน�าเข้าสินค้าเครื่อง

ใช้ไฟฟ้า สิ่งทอ ลดลงด้วย ซึ่งอาจมีผลต่อการส่งออกใน

อนาคตของไทย

ที่มา: พิมพ์ข่าวสด วันที่ 26 ส.ค. 54

Page 11: weekly_brief_2_aug_23_-_aug_29_issue_30_web

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

Vol. 2 Issue 3023 Aug - 29 Aug 2011

20 21

อัตราแลกเปลี่ยน

ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย ตัวเลขวันที่ 30, 31 กรกฏาคม 2554 ธนาคารแห่งประเทศไทยไม่มีข้อมูล

พาณิชย์ส่งสัญญาณรับมือประเด็นร้อนค้าโลก

จากการส่งออกของไทยที่ขยายตัวเพิ่มขึ้นอย่างต่อเน่ือง

ทุกปี ล่าสุดในปี 2553 ที่ผ่านมาสามารถส่งออกได้ถึง

6.1 ล้านล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนประมาณ 70% ของจี

ดีพี ตัวเลขดังกล่าวนอกจากเป็นผลพวงจากศักยภาพใน

การแข่งขันของภาคเอกชนไทยแล้ว อีกด้านหนึ่งเป็นผล

พวงจากนโยบาย และยุทธศาสตร์ของรัฐบาลที่เดินหน้า

เจรจาเปิดเขตการค้าเสรี(เอฟทีเอ) เพื่อสร้างแต้มต่อให้

กับผู้ส่งออกไทยในการขยายช่องทางการส่งออก รวมถึง

การเจรจาเพื่อลดปัญหาอุปสรรคทางการค้า ซึ่งในปัจจุบัน

บทบาทหน้าท่ีดังกล่าว กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ

ในสังกัดกระทรวงพาณิชย์ถือเป็นหน่วยงานหลักที่ก�ากับ

ดูแลภารกิจข้างต้น

ในโอกาสเปล่ียนผ่านรัฐบาลใหม่ ต่อทิศทางการ

เจรจาการค้าของไทยจะเป็นอย่างไร “ฐานเศรษฐกิจ”ฉบับ

นี้ได้สัมภาษณ์ นางศรีรัตน์ รัษฐปานะ อธิบดีกรมเจรจา

การค้าระหว่างประเทศ ถึงเรื่องเร ่งด่วนที่ได ้น�าเสนอ

ต่อนายกิตติรัตน์ ณ ระนอง รองนายกรัฐมนตรีฝ่าย

เศรษฐกิจ และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ รวมถึง

มุมมองประเด็นการค้าใหม่ๆ ที่จะส่งผลกระทบต่อการค้า

ของไทย และการค้าของโลกในทศวรรษใหม่ที่ผู ้ประกอบ

การไทยต้องเร่งปรับตัว ++ชง 3 กลุ่มงานเร่งด่วน

นางศรีรัตน์ กล่าวถึงภารกิจเร่งด่วนของกรมเจรจาการ

ค้าฯ ได้น�าเสนอต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ไป

แล้วเม่ือสัปดาห์ก่อน แยกได้เป็น 3 กลุ่มตามล�าดับความ

ส�าคัญ โดยกลุ่มที่มีความส�าคัญในล�าดับแรกคือ เรื่องของ

ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือเออีซี ที่ไทยจะต้องเร่ง

ด�าเนินการตามเออีซี บลูปริ๊นท์ (การเป็นตลาดเดียวและ

ฐานการผลิตร่วม,การสร้างความสามารถในการแข่งขัน

ทาง เศรษฐกิจของอาเซียน,การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอ

ภาค,การบูรณาการเข้ากับ เศรษฐกิจโลก) ในปี 2558 ถัด

มาคือ การเร่งรัดผลักดันการจัดท�าเอฟทีเออาเซียนพลัส

พลัส โดยจะบวก 3 (จีน ญ่ีปุ่น เกาหลีใต้)หรือบวก 6 (

จีน ญ่ีปุ่น เกาหลีใต้ อินเดีย ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์)ยัง

ไม่ได้ข้อสรุป แต่อาเซียนมีหลักการร่วมกันว่าจะให้ประเทศ

ภาคีทั้ง 6 เข้าร่วมโดยสมัครใจ

กลุ่มความส�าคัญเร่งด่วนล�าดับรองลงมา คือการ

เจรจาเอฟทีเอกับกลุ่มใหม่ๆ กลุ่มที่ยังเจรจาไม่แล้วเสร็จ

และยังไม่มีผลบังคับใช้ กลุ่มที่เตรียมน�าเสนอต่อรัฐบาล

เพื่อเปิดเจรจา และกลุ ่มที่ความตกลงมีผลบังคับใช้แล้ว

ที่ต้องพัฒนาต่อ โดยกลุ ่มเอฟทีเอใหม่ๆ ได้แก่ ไทย-

ชิลี กลุ่มที่ยังเจรจาไม่แล้วเสร็จ ได้แก่ ไทย-เปรู ซึ่งจะ

ได้เร่งด�าเนินการให้แล้วเสร็จและมีผลบังคับใช้ในปีหน้า

นอกจากนี้มี ไทย-อินเดีย ไทย-บิมสเทค และอาเซียน-

อินเดีย

อ่านเพิ่มเติม http://www.thannews.th.com/index.

php?option=com_content&view=article&id=81043:2011-08-

26-11-18-32&catid=87:2009-02-08-11-23-26&Itemid=423

ท่ีมา: หนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจฉบับท่ี 2,665 วันที่ 26 ส.ค. 54

Page 12: weekly_brief_2_aug_23_-_aug_29_issue_30_web

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

Vol. 2 Issue 3023 Aug - 29 Aug 2011

22 23

อัตราแลกเปลี่ยน

33.31 34.2931.69

61.60

53.5748.97

48.93 47.7142.04

32.3436.72

36.12

4.80 5.02 4.68

0.00

10.00

20.00

30.00

40.00

50.00

60.00

70.00

2551 2552 2553

THB

Year

YEARLY MID RATES OF EXCHANGE OF COMMERCIAL BANGKOK IN BANGKOK

THB / 1 USD THB /1 GBP THB / 1 EUR THB / 100 JPY THB/CNY

23

อัตราแลกเปลี่ยน

Page 13: weekly_brief_2_aug_23_-_aug_29_issue_30_web

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

23 Aug - 29 Aug 2011

24

THAIFOODPROCESSORS’ASSOCIATIONTel : (662) 261-2684-6 Fax : (662) 261-2996-7E-mail: [email protected]

สมาคมผู้ผลิตอาหารส�าเร็จรูป

ขอขอบคุณเว็ปไซต์ ดังต่อไปนี้1. http://www.thannews.th.com 2. http://www.thairath.co.th 3. http://www.bangkokbiznews.com 4. http://www.tnsc.com 5. http://www.prachachat.net6. http://www.dailynews.co.th7. http://www.acfs.go.th8. http://www.posttoday.com9. http://www.matichon.co.th10. http://www.naewna.com

เสนอขอ้คดิเห็น/ขอ้เสนอแนะ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………......................................................

Executive Director

วิกรานต์ โกมลบุตร E-mail: [email protected]

Administrative Manager

ลินดา เปลี่ยนประเสริฐ E-mail: [email protected]

Trade and Technical Manager

สุพัตรา ริ้วไพโรจน์ E-mail: [email protected]

Division-Fruit and Vegetable Products

E-mail : [email protected]

Head of Trade & Technical

วิภาพร สกุลครู E-mail: [email protected]

Trade and Technical Officer

อัญชลี พรมมา E-mail: [email protected]

ธณัฐยา จันทรศรี E-mail: [email protected]

Division-Fisheries Products

E-mail : [email protected]

Head of Trade & Technical

ชนิกานต์ ธนูพิทักษ์ E-mail: [email protected]

Trade and Technical Officer

รัตนา ชูศรี E-mail: [email protected]

ธนัญญา ตั้งจินตนา E-mail: [email protected]

IT Support Officer

ปวัณรัตน์ ใจกล้า E-mail: [email protected]

Data Management Office

ญดา ชินารักษ์ E-mail: [email protected]

Commercial Relation Executive

กัญญาภัค ชินขุนทด E-mail: [email protected]

Administrator

วสุ กริ่งรู้ธรรม E-mail: [email protected]

ศิริณีย์ ถิ่นประชา E-mail: [email protected]

Accountant

วิมล ดีแท้ E-mail: [email protected]

TFPA TEAM

Page 14: weekly_brief_2_aug_23_-_aug_29_issue_30_web

RASFF : ขอ้มลูสนิคา้อาหารสง่ออกของไทยไปยงัสหภาพยโุรป (EU) ทีพ่บปญัหา ระหวา่ง 1 กรกฎาคม-26 สงิหาคม 2554

Product category Classfication Date of

case

Last

change Reference Country Subject

fruits and

vegetables

border

rejection 3/3/2011 13/07/2011 2011.AMK Italy tin (296 mg/l) in canned pineapple.

information

for attention 4/7/2011 04/07/2011 2011.0885 Netherland

carbofuran (0.36 mg/kg - ppm) in water

mimosa.

herbs and spices

border

rejection 3/8/2011 04/08/2011 2011.BPB French clothianidin (0.42 mg/kg - ppm) in coriander.

border

rejection 6/7/2011 13/07/2011 2011.BKQ Denmark

carbofuran (0.21 mg/kg - ppm) in fresh

coriander.

information

for attention 4/12/2009 07/07/2011 2009.1686 Spain

triazophos (0.70 mg/kg - ppm) in fresh chilli

peppers.

information 2/7/2009 21/07/2011 2009.0846 Slovenia too high content of sulphite (157 mg/kg - ppm)

in ginger slices.

fish and fish

product

alert 24/6/2010 20/07/2011 2010.0842 Germany histamine (282 mg/kg - ppm) in mildly smoked

mackerel in oil.

cephalopods and

products thereof

border

rejection 15/12/2010 01/08/2011 2010.CFZ Italy

cadmium (1.7 mg/kg - ppm) in frozen whole

cleaned squid (Loligo formosana).

food contact

materials

border

rejection 5/7/2011 05/07/2011 2011.BKJ Finland

migration of formaldehyde (9.1-16 mg/dm²)

from melamine wares.