20
© 2006 Prentice Hall, Inc. 12 1 บทที่ 8 การจัดการสินค้าคงคลัง

บทที่ 8 การจัดการสินค้าคงคลัง

Embed Size (px)

DESCRIPTION

การจัดการสินค้าคงคลัง

Citation preview

Page 1: บทที่ 8 การจัดการสินค้าคงคลัง

© 2006 Prentice Hall, Inc. 12 – 1

บทที ่8 การจัดการสินค้าคงคลงั

Page 2: บทที่ 8 การจัดการสินค้าคงคลัง

© 2006 Prentice Hall, Inc. 12 – 2

Types of Inventory

วัตถุดิบ

จัดซ้ือมาเพือ่ใช้ในกระบวนการผลติ

งานระหว่างท า

วัตถุดิบทีเ่ปลีย่นสภาพแล้วแต่ยงัไม่เป็นสินค้าส าเร็จรูปโดยสมบูรณ์

วัสดุซ่อมบ ารุง วัสดุหรืออะไหล่ทีมี่ส ารองไว้เพือ่การซ่อมบ ารุง เพือ่ป้องกนัไม่ให้เกดิ

ภาวะอะไหล่ขาดแคลน

สินค้าส าเร็จรูป

สินค้าทีผ่่านกระบวนการผลติขั้นสุดท้ายออกมาเป็นผลติภัณฑ์ส าเร็จรูป

Page 3: บทที่ 8 การจัดการสินค้าคงคลัง

© 2006 Prentice Hall, Inc. 12 – 3

วัตถุประสงค์ของการบริหารสินค้าคงคลัง

มีสินค้าบริการลกูค้าในปริมาณทีเ่พยีงพอต่อความต้องการตลาด เพือ่รักษาส่วนแบ่งตลาด และสร้างโอกาสในการขาย

สามารถลดระดบัการลงทุนในสินค้าคงคลงัต ่าทีสุ่ดเท่าที่จะท าได้ เพือ่ท าให้ต้นทุนการผลติต ่าลงด้วย

Page 4: บทที่ 8 การจัดการสินค้าคงคลัง

© 2006 Prentice Hall, Inc. 12 – 4

1) ตอบสนองความต้องการของลูกค้าทั้งใน และนอกฤดูกาล

2) รักษาการผลติให้มีคงที ่เพือ่รักษาการจ้างแรงงาน การเดินเคร่ืองจักร ฯลฯ เกบ็สินค้าทีข่ายไม่หมดไว้ขายตอนช่วงขายด ี

3) ได้ส่วนลดปริมาณจากการจัดซ้ือจ านวนมากต่อคร้ัง ป้องกนัการเปลีย่นแปลงราคาและผลกระทบเงินเฟ้อ

4) ป้องกนัของขาดมือด้วยสินค้าเผือ่ขาดมือ เมื่อเวลารอคอยล่าช้าหรือบังเอญิได้ค าส่ังซ้ือเพิม่ขึน้กรทนัหัน

5) ท าให้กระบวนการผลติด าเนินการต่อเน่ือง ไม่หยุดชะงัก เพราะของขาดมือจนเกดิความเสียหายแก่กระบวนการผลติซ่ึงจะท าให้คนงานว่างงาน เคร่ืองจักรถูกปิด ผลติไม่ทนัค าส่ังซ้ือของลูกค้า

ประโยชน์ของสินค้าคงคลัง

Page 5: บทที่ 8 การจัดการสินค้าคงคลัง

© 2006 Prentice Hall, Inc. 12 – 5

ต้นทุนสินค้าคงคลัง Inventory Cost

ค่าใช้จ่ายในการส่ังซ้ือ Ordering Cost

ค่าใช้จ่ายในการเกบ็รักษา Holding Cost

ค่าใช้จ่ายเน่ืองจากสินค้าขาดแคลน Shortage Cost

ค่าใช้จ่ายในการตั้งเคร่ืองจักรใหม่ Setup Cost

Page 6: บทที่ 8 การจัดการสินค้าคงคลัง

© 2006 Prentice Hall, Inc. 12 – 6

ระบบการควบคมุสินค้าคงคลัง

ระบบสินค้าคงคลงัอย่างต่อเน่ือง Continuous

Inventory System Perpetual

มีการบันทกึตันทุนสินค้าคงคลงัทุกคร้ังทีมี่การรับและการจ่ายของ เป็นระบบทีมี่ค่าใช้จ่ายด้านเอกสาร และการจ้างพนักงานสูง

ระบบสินค้าคงคลังเมื่อส้ินงวด Periodic

Inventory System

มีการบันทกึต้นทุนสินค้าคงคลงัเฉพาะช่วงเวลาทีก่ าหนดไว้เท่าน้ัน เหมาะกบัสินค้าทีม่ีการเบิกใช้ในช่วงเวลาที่แน่นอน

Page 7: บทที่ 8 การจัดการสินค้าคงคลัง

© 2006 Prentice Hall, Inc. 12 – 7

ระบบการจ าแนกสินค้าคงคลังเป็นหมวด ABC

A ปริมาณน้อย (5-15%) แต่มูลค่ารวมสูง (70-80%)

B ปริมาณปานกลาง (30%) มูลค่ารวมปานกลาง (15%)

C ปริมาณมาก (50-60%) มูลค่ารวมต ่า (5-10%)

Page 8: บทที่ 8 การจัดการสินค้าคงคลัง

© 2006 Prentice Hall, Inc. 12 – 8

ช้ินส่วน ราคาขายต่อหน่วย อุปสงค์ต่อปี มูลค่า

1 1.5 5,000 7,500

2 8.0 1,500 12,000

3 10.5 10,000 105,000

4 2 6,000 12,000

5 0.5 7,500 3,700

6 13.6 6,000 81,600

7 0.75 5,000 3,750

8 1.25 4,500 5,625

9 2.5 7,000 17,500

10 2 3,000 6,000

Page 9: บทที่ 8 การจัดการสินค้าคงคลัง

© 2006 Prentice Hall, Inc. 12 – 9

ช้ินส่วน มูลค่ารวม %ของมูลค่ารวม หมวด

103 105,000 41.22 A

106 81,600 32.04

109

102

17,500

12,000

6.87 B

4.71

104 12,000 4.71

101

110

7,500

6,000

2.94

2.36

108 5,625 2.21 C

107 3,750 1.47

105 3,700 1.45

รวม 254,725 100

Page 10: บทที่ 8 การจัดการสินค้าคงคลัง

© 2006 Prentice Hall, Inc. 12 – 10

กลุ่ม รหัสสินค้า % ของสอนค้า % ของมูลค่ารวม

A 103,106 2/10 = 20% 73.26%

B 102,104,109 3/10 = 30% 16.25%

C 101,105,107,

108,110

5/10 = 50% 10.45%

Page 11: บทที่ 8 การจัดการสินค้าคงคลัง

© 2006 Prentice Hall, Inc. 12 – 11

ระบบการส่ังซ้ือทีป่ระหยดัทีสุ่ด

Economic Order Quantity (EOQ)

1. ทราบปริมาณอปุสงค์อย่างชัดเจนและอปุสงค์คงที ่

2. ได้รับสินค้าที่ส่ังซ้ือพร้อมกนัทัง้หมด 3. ระยะเวลาทีใ่ช้ต้ังแต่การออกใบส่ังซ้ือจนกระทัง่ได้รับวสัดุ

หรือสินค้าที่มีค่าคงที่สม ่าเสมอ

4. ต้นทุนการเกบ็รักษาสินค้าและต้นทุนการส่ังซ้ือคงที ่

5. ราคาที่ส่ังซ้ือคงที่

6. ไม่มีสภาวะสินค้าขาดแคลน

1 ปริมาณการส่ังซ้ือทีป่ระหยดัทีสุ่ดทีอ่ปุสงค์คงที่และสินค้าคงคลังไม่ขาดมือ

Page 12: บทที่ 8 การจัดการสินค้าคงคลัง

© 2006 Prentice Hall, Inc. 12 – 12

The EOQ Model

EOQ = ปริมาณการส่ังซ้ือต่อคร้ังทีป่ระหยดั (Q*)

Q = ปริมาณการส่ังซ้ือต่อคร้ัง (หน่วย) D = ความต้องการสินค้าต่อปี (หน่วย) S = ต้นทุนการส่ังซ้ือต่อคร้ัง (บาท)

H = ต้นทุนการเกบ็รักษาต่อหน่วยต่อปี (บาท)

3. จ านวนคร้ังของการส่ังซ้ือทีป่ระหยดัทีสุ่ด

4. รอบการส่ังซ้ือทีป่ระหยดัทีสุ่ด

= D

Q* days

จ านวนคร้ังในการส่ังซ้ือ =

1. ปริมาณการส่ังซ้ือทีป่ระหยดัทีสุ่ด Q* = 2DS

H

2. ต้นทุนรวมทีต่ ่าทีสุ่ด TC = S + H D

Q

Q

2

Page 13: บทที่ 8 การจัดการสินค้าคงคลัง

© 2006 Prentice Hall, Inc. 12 – 13

An EOQ Example

D = 10,000 ช้ิน

S = 150 บาทต่อคร้ัง H = 0.75 ต่อช้ิน

Q* = 2DS

H

Q* = 2(10,000)(150)

0.75 = 4,000,000

= 2,000 ช้ิน

Page 14: บทที่ 8 การจัดการสินค้าคงคลัง

© 2006 Prentice Hall, Inc. 12 – 14

An EOQ Example

D = 10,000 ช้ิน Q* = 2000 ช้ิน

S = 150 บาทต่อคร้ัง

H = 0.75 ต่อช้ิน

ต้นทุนรวม = ต้นทุนการส่ังซ้ือต่อปี + ต้นทุนการเกบ็รักษาต่อปี

TC = S + H D

Q

Q

2

TC = (150) + (.75) 10,000

2000

2000

2

TC = (5)(150) + (1000)(.75) = 750 + 750 = 1,500

Page 15: บทที่ 8 การจัดการสินค้าคงคลัง

© 2006 Prentice Hall, Inc. 12 – 15

An EOQ Example

= จ านวนคร้ังของการส่ังซ้ือทีป่ระหยดัทีสุ่ด

D

Q*

N = = 5 คร้ังต่อปี 10,000

2,000

D = 10,000 ช้ิน Q* = 2000 ช้ิน

S = 150 บาทต่อคร้ัง

H = 0.75 ต่อช้ิน

Page 16: บทที่ 8 การจัดการสินค้าคงคลัง

© 2006 Prentice Hall, Inc. 12 – 16

An EOQ Example

= รอบเวลาการส่ังซ้ือ Day

จ านวนคร้ังในการส่ังซ้ือ

= = 62.2 วนั 311

5

D = 10,000 ช้ิน Q* = 2000 ช้ิน

S = 150 บาทต่อคร้ัง N = 5

H = 0.75 ต่อช้ิน Day = 311 วัน

Page 17: บทที่ 8 การจัดการสินค้าคงคลัง

© 2006 Prentice Hall, Inc. 12 – 17

Reorder Points

EOQ เป็นการตอบค าถามว่าจะซ้ือด้วยจ านวนเท่าใด

The reorder point (ROP) เป็นการตอบค าถามว่าจะซ้ือเมื่อใด

ROP = เวลาน าในการส่งมอบ ปริมาณความต้องการต่อวัน

= d x L

d = D

จ านวนวันท างานใน 1 ปี

Page 18: บทที่ 8 การจัดการสินค้าคงคลัง

© 2006 Prentice Hall, Inc. 12 – 18

Reorder Point Example

ความต้องการ = 10,000 ช้ิน ต่อปี

จ านวนวนัท างาน = 250 วนั

เวลาน าในการส่งมอบ = 3 วันท าการ

ROP = d x L

= 10,000/250 = 40 ช้ิน

= 40 ช้ินต่อวัน x 3 days = 120 ช้ิน

d = D

จ านวนวันท างานใน 1 ปี

Page 19: บทที่ 8 การจัดการสินค้าคงคลัง

© 2006 Prentice Hall, Inc. 12 – 19

จดุส่ังซ้ือใหม่ทีป่ริมาณสินค้าเพือ่ความปลอดภยั Safety Stock

ใช้เมื่อความต้องการของสินค้ามีความไม่แน่นอน

ใช้ปริมาณสินค้าเพือ่ความปลอดภัยเพือ่ป้องกนัสินค้าขาดแคลน

ROP = d x L + ss

โดยที่ SS คอืปริมาณสินค้าเพือ่ความปลอดภัย

Page 20: บทที่ 8 การจัดการสินค้าคงคลัง

© 2006 Prentice Hall, Inc. 12 – 20

Reorder Point with Safety Stock

ความต้องการ = 25,000 ช้ิน ต่อปี

จ านวนวนัท างาน = 250 วนั

เวลาน าในการส่งมอบ = 5 วันท าการ สินค้าเพือ่ความปลอดภัย = 80 ช้ิน

ROP = d x L+SS

= 25,000/250 = 100 ช้ิน

= 100 ช้ินต่อวัน x 5 days + 80 = 580 ช้ิน

d = D

จ านวนวันท างานใน 1 ปี