149

หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

Embed Size (px)

DESCRIPTION

 

Citation preview

Page 1: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
Page 2: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

1

สารบาญ

หนา ชื่อหลักสูตร 2 ชื่อปริญญา 2 หนวยงานรับผิดชอบ 2 ปรัชญาและวัตถุประสงคของหลักสูตร 2 กําหนดการเปดสอน 4 คุณสมบัติผูเขาศึกษา 4 การคัดเลือกผูเขาศึกษา 4 ระบบการศึกษา 4 ระยะเวลาศึกษา 5 การลงทะเบียนเรียน 5 การวัดผลและการสําเร็จการศึกษา 5 อาจารยผูสอน 6 จํานวนนักศึกษา 6 สถานที่และอุปกรณการศึกษา 6 หองสมุด 6 งบประมาณ 7 หลักสูตร 7

- จํานวนหนวยกิตลอดหลักสูตร - โครงสรางหลักสูตร - รายวิชา - แผนการศึกษา - คําอธิบายรายวิชา

7 7 7 23 28

การประกันคุณภาพการศึกษา 111 เหตุผลของการปรับปรุงหลักสูตร 111 ปการศึกษาที่เริ่มใชหลักสูตรเดิมและปการศึกษาที่กําหนดใหใชหลักสูตรปรับปรุงใหม 111 การเปรียบเทียบหลักสูตรเดิมและหลักสูตรปรับปรุง 112 ภาคผนวก

- ภาคผนวก ก. - ภาคผนวก ข.

113 140

Page 3: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

2

หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต หลักสูตรปรับปรุง ฉบับป พ.ศ.2546

คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร 1. ชื่อหลักสูตร

ภาษาไทย : หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Pharmacy Program

2. ชื่อปริญญา

ชื่อเต็มภาษาไทย : เภสัชศาสตรบัณฑิต ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ : Bachelor of Pharmacy ชื่อยอภาษาไทย : ภ.บ. ชื่อยอภาษาอังกฤษ : B.Pharm.

3. หนวยงานที่รับผิดชอบ

คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร 4. ปรัชญาและวัตถุประสงคของหลักสูตร การศึกษาเภสัชศาสตร มีจุดมุงหมายหลักในการใหการศึกษา เรียนรู และพัฒนากุลบุตรกุลธิดา ใหเปนบัณฑิตที่พรอมดวย คุณธรรม สติปญญา ความคิด ความรู ความสามารถ และรับผิดชอบ เห็นการณไกลในการประกอบสัมมาชีวะแหงวิชาชีพเภสัชกรรม รวมทั้งเหมาะสมสอดคลองกับแผนพัฒนาสาธารณสุข แผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา และสภาพปญหาสังคมไทย วิชาชีพทางเภสัชศาสตร เปนวิชาชีพที่เก่ียวเนื่องดวยศิลปวิทยาการและวิทยาศาสตรของการเสาะแสวงหา การประดิษฐสารจากแหลงกําเนิดตามธรรมชาติหรือสารที่สังเคราะหข้ึนเปนยาสําเร็จรูปในรูปแบบตาง ๆ เพ่ือใหมีความเหมาะสมและสะดวกในการแจกจายและใชเพ่ือบําบัด บรรเทา ปองกัน พิเคราะหโรค และสรางเสริมสุขภาพ วิชาชีพนี้ครอบคลุมเนื้อหาวิชาการของการกําหนดจดจําเอกลักษณและการตรวจพิสูจน การเลือกสรรฤทธิ์หรือสรรพคุณของยา การเก็บถนอมรักษายามิใหเสื่อมคุณภาพ การปรุง การผสม การวิเคราะห และทําใหไดมาตรฐานตามกําหนดของยาและเวชภัณฑ การวิจัยและพัฒนาสูตรตํารับและเทคโนโลยีการผลิตยา อีกทั้งยังครอบคลุมถึงการแจกจาย การติดตามผล การประเมิน การทบทวน และการเลือกใชอยางถูกตองปลอดภัยโดยเหมาะสม ไมวาจะเปนการจายตามใบสั่งใชยาของผูประกอบวิชาชีพเวชกรรม หรือผูประกอบโรคศิลปะอ่ืนใด รวมทั้งสัตวแพทย หรือจะเปนการจายใหโดยตรง หรือขาย หรือใหบริการ ดานความรูแกผูบริโภคภายใตกรอบบัญญัติแหงกฎหมายและนิติธรรม อีกทั้งตองตามจรรยาบรรณแหงวิชาชีพ

Page 4: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

3

ในปจจุบัน ภารกิจอันใหญหลวงของวิชาชีพเภสัชกรรมไมอาจที่จะกระทําใหสําเร็จไดโดยเภสัชกรเพียงคนเดียว ภารกิจเหลานี้จะสําเร็จลงไดก็ดวยเภสัชกรจากหลาย ๆ ฝายรวมกันทําหนาที่ของตน ดังนั้น วัตถุประสงคของการศึกษาจึงเนนหนักเนื้อหาวิทยาการของภารกิจและพันธกิจหลักทั้งสิ้นทั้งมวลของเภสัชกร ตลอดจนความสัมพันธของภารกิจหลักของเภสัชกรที่มีตอระบบบริการสาธารณสุขและแนวนโยบายแหงชาติทางดานยา รวมทั้งเปนการศึกษาเพ่ือเพ่ิมพูนประสบการณตาง ๆ ใหมากข้ึน ดวยเหตุนี้ วัตถุประสงคและจุดมุงหมายของการศึกษาเภสัชศาสตรในมหาวิทยาลัยศิลปากรจึงเสนอเปนลําดับไดดังนี ้1. วัตถุประสงคทั่วไป : นักศึกษาเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร ควรมีลักษณะทั่วไปดังนี ้1.1 มีความรูและเขาใจ ปญหาสาธารณสุขของประเทศ ตลอดจนตระหนักถึงบทบาทของเภสัชกรที่ ตองมีสวนรวมในการแกปญหานั้น ๆ และรวมไปกับบุคลากรสาขาอ่ืนที่เก่ียวของ 1.2 มีความรอบรูในศิลปวิทยาตาง ๆ สมกับเปนเภสัชกรที่ดี ที่เพียบพรอมดวยคุณธรรม ยึดมั่นใน จรรยาบรรณแหงวิชาชีพ มีมนุษยสัมพันธอันดี รวมทั้งมีความรับผิดชอบตอหนวยงาน สังคม และประเทศชาติ และสามารถประยุกตความรู ทั้งในดานวิชาชีพและนอกวิชาชีพเพ่ือบริการ ประชาชนดานสุขภาพอนามัยอยางมีประสิทธิภาพ เปยมประสิทธิผล 1.3 มีความเขาใจวา "วิชาชีพเภสัชกรรม" เปนวิชาชีพที่ตองเรียนรูใฝศึกษาติดตอกันไปตลอดชีวิต เย่ียงวิชาชีพอ่ืน ๆ และมีความสามารถพอที่จะศึกษาคนควาดวยตนเองตอไปได 1.4 มีความสามารถวิเคราะหและปรับปรุงตนเองใหเหมาะสมกับสถานการณ เมื่อรวมทํางานกับ ผูอ่ืนทั้งในฐานะผูนําและผูรวมงาน 1.5 มีความตระหนักรูซึ้งถึงความจําเปนในการพัฒนาคุณภาพ ทั้งของตนเอง ของวิทยาการ และ

ของวิชาชีพ ใหสามารถปฏิบัติกิจกรรมที่รองรับและกําหนดไวตามพันธกิจและภารกิจ เพ่ือบรรลุวัตถุประสงคและเจตนารมณที่กําหนดไวเปนหลักฐานแหงบุคลากรในสายวิชาชีพ และในการคุมครองผูบริโภคทั้งในระดับปฐมภูมิ ทุติยภูมิ ตติยภูมิ หรือในระดับที่สูงข้ึนไปอีกตามทิศทางและแนวโนมการพัฒนาที่จักดําเนินตอไป

2. วัตถุประสงคเฉพาะ : นักศึกษาเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร ควรเปนผูมีความรูความสามารถดานวิชาการดังนี ้2.1 การเสาะแสวงหา ปรุง ผสม และประดิษฐวัตถุใด ๆ ข้ึนเปนยาที่มีลักษณะดี เหมาะสม 2.2 การควบคุมมาตรฐานของยา ใหมีคุณภาพและปลอดภัยถูกตองตามหลักวิชาการและมาตรฐาน 2.3 การจําแนกประเภท หมวดหมูของยา เพ่ือประโยชนในการใช การเก็บรักษา การผลิต และการ

จําแนกตามฤทธิ์หรือสรรพคุณของยา 2.4 การใหบริการและคําแนะนําเก่ียวกับยาใด ๆ อยางถูกตอง ตามหลักวิชาการ ประหยัด

ปลอดภัย เปนที่ยอมรับแกผูรับบริการ อันไดแกผูประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม ผูประกอบโรคศิลปะอ่ืน ๆ รวมทั้งประชาชนทั่วไป

2.5 การไตรตรองวินิจฉัยผลของยาที่มีตอรางกาย ทั้งในดานเปนคุณและเปนพิษ รวมทั้งการติดตามประเมินผลการใชยาในลักษณะตาง ๆ

Page 5: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

4

2.6 เขาใจอาการของโรคบางอยางที่ปรากฏมากในประเทศ และมีความสามารถที่จะดําเนิน การตามข้ันตอน เพ่ือชวยเหลือเยียวยา หรือคัดเลือกผูปวยสงตอโรงพยาบาลได 2.7 การเลือกสรรยา เพ่ือใชใหเหมาะสมกับเศรษฐภาวะและอาการของโรคได 2.8 การใหการศึกษา ฝกอบรม แพรกระจายขาวสารความรูเรื่องยาการสงเสริมสุขภาพ การ

ปองกันโรค และการชวยเหลือตนเองแกประชาชนและเจาหนาที่อ่ืน ๆ เพ่ือสนับสนุนการสาธารณสุขมูลฐานและการคุมครองประโยชนผูบริโภค

2.9 การจัดการ บริหาร วางแผน ตลอดจนการกําหนดนโยบายตาง ๆ ทั้งที่เก่ียวของกับงานเภสัชกรรมโดยตรง และงานอ่ืน ๆ ที่สัมพันธกัน

2.10 การวิจัยและพัฒนาเบ้ืองตนดานเทคโนโลยีเภสัชกรรม เพ่ือการพ่ึงพาตนเองไดมากที่สุด โดยไดเภสัชภัณฑที่มีคุณคา คุณภาพและมาตรฐานตามเกณฑมาตรฐานสากล

5. กําหนดการเปดสอน เริ่มเปดสอนตั้งแตภาคการศึกษาตน ปการศึกษา 2546

6. คุณสมบัติผูเขาศึกษา 6.1 เปนผูสําเร็จการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเทา และ/หรือ 6.2 มีคุณสมบัติครบถวนตามขอบังคับมหาวิทยาลัยศิลปากรวาดวยการศึกษาระดับปริญญา

บัณฑิต พ.ศ.2537 หรือ 6.3 ผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาบัณฑิตสาขาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีดานตางๆใหสามารถ

เขาศึกษาในหลักสูตรนี้ไดตามกระบวนการและข้ันตอนการคัดเลือกเขาศึกษา มีสิทธิ์ไดรับการพิจารณาเทียบโอนและ/หรือยกเวนรายวิชาและหนวยกิต ทั้งนี้จํานวนรายวิชาและหนวยกิตที่ไดรับการเทียบโอนและ/หรือยกเวน จะเปนไปตามธรรมชาติของสาขาที่สําเร็จการศึกษามากอน แตรวมแลวจะตองมีระยะเวลาศึกษาตามหลักสูตรไมนอยกวา 6 ภาคการศึกษาปกติ หรือ 3 ปการศึกษาปกต ิ

7. การคัดเลือกผูเขาศึกษา เปนไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัยศิลปากรและของทบวงมหาวิทยาลัยและตามลักษณะจําเพาะ

ของคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร โดยผานการสอบคัดเลือกของทบวงมหาวิทยาลัย หรือผานการสอบคัดเลือกตามโครงการรับสมัครโควตาพิเศษ โครงการพิเศษของกระทรวงมหาดไทย และหรือหนวยงานโครงการอ่ืนใดเปนกรณีพิเศษ

8. ระบบการศึกษา 8.1 การจัดการศึกษาใชระบบหนวยกิตทวิภาค โดยหนึ่งปการศึกษาแบงออกเปน 2 ภาค

การศึกษาปกติ หนึ่งภาคการศึกษาปกติมีระยะเวลาศึกษาไมนอยกวา 15 สัปดาห 8.2 การคิดหนวยกิต 8.2.1 รายวิชาบรรยาย 1 หนวยกิตเทากับ 1 ชั่วโมงตอสัปดาห 8.2.2 รายวิชาปฏิบัติการ 1 หนวยกิตเทากับ 2-3 ชั่วโมงตอสัปดาห

Page 6: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

5

8.2.3 รายวิชาฝกงาน 1 หนวยกิต ไมนอยกวา 45 ชั่วโมง ตอภาคการศึกษาปกต ิ 8.2.4 การทํางานโครงงาน 1 หนวยกิต ไมนอยกวา 45 ชั่วโมงตอภาคการศึกษาปกต ิ 8.3 เกณฑในการกําหนดหนวยกิต ในแตละรายวิชากําหนดเกณฑในการกําหนดคาของหนวยกิตจากจํานวนชั่วโมงบรรยาย (บ) ชั่วโมงปฏิบัติ (ป) และชั่วโมงที่นักศึกษาตองศึกษาดวยตนเองนอกเวลาเรียน (น) ตอ 1 สัปดาห แลวหารดวย 3 ซึ่งมีวิธีคิดดังนี้ จํานวนหนวยกิต = บ + ป + น 3 การเขียนหนวยกิตในรายวิชาตางๆ ประกอบดวยตัวเลขสี่ตัวคือ ตัวแรกอยูนอกวงเล็บเปนจํานวนหนวยกิตของรายวิชานั้น ตัวที่สอง สาม และสี่ อยูในวงเล็บ บอกจํานวนชั่วโมงบรรยาย ปฏิบัติ และศึกษาดวยตนเองนอกเวลาเรียน ตามลําดับ เชน 2(2-0-4) เลข 2 นอกวงเล็บ หมายถึง จํานวนหนวยกิต ตัวเลขในวงเล็บ เลข 2 หมายถึง จํานวนชั่วโมงบรรยาย เลข 0 หมายถึง จํานวนชั่วโมงปฏิบัติและเลข 4 ตัวหลัง หมายถึง จํานวนชั่วโมงที่นักศึกษาตองศึกษาดวยตนเองนอกเวลาเรียน

9. ระยะเวลาการศึกษา ระยะเวลาการศึกษาตลอดหลักสูตร 5 ป ทั้งนี้ไมเกิน 10 ป

10. การลงทะเบียนเรียน การลงทะเบียนเรียนใหเปนไปตามขอบังคับมหาวิทยาลัยศิลปากร วาดวยการศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต พ.ศ.2537 และ/หรือที่มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงภายหลัง โดยนักศึกษาลงทะเบียนเรียนไดไมนอยกวา 12 หนวยกิต และไมเกิน 22 หนวยกิต ในภาคการศึกษาปกติ สวนในภาคการศึกษาพิเศษฤดูรอนลงทะเบียนไดไมเกิน 9 หนวยกิต ยกเวนกรณีที่นักศึกษาเหลือจํานวนหนวยกิตตามหลักสูตรนอยกวา 12 หนวยกิตใหลงทะเบียนเรียนไดตามจํานวนหนวยกิตที่เหลือ

11. การวัดผลและการสําเร็จการศึกษา 11.1 การวัดผลการศึกษาใหเปนไปตามขอบังคับมหาวิทยาลัยศิลปากร วาดวยการศึกษาระดับ

ปริญญาบัณฑิต พ.ศ.2537 และ/หรือที่มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงภายหลัง 11.2 การสําเร็จการศึกษา

ผูสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต ตองมีคุณสมบัติดังนี ้11.2.1 สอบไดหนวยกิตสะสมครบตามหลักสูตรที่เขาศึกษาภายในระยะเวลาไมเกิน 2 เทาของ

เวลาการศึกษาตามหลักสูตร 11.2.2 ไดคาระดับเฉลี่ยสะสมไมนอยกวา 2.00 11.2.3 ไดคาระดับเฉลี่ยสะสมเฉพาะวิชาของคณะเภสัชศาสตร ไมนอยกวา 2.00

“เฉพาะวิชาของคณะเภสัชศาสตร” หมายถึง “รายวิชาที่ใชรหัสของคณะเภสัชศาสตรรวมถึงรายวิชาใด ๆ ซ่ึงจัดสอนโดยคณะเภสัชศาสตร และภาควิชาในคณะเภสัชศาสตรสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตรโดยเฉพาะ”

Page 7: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

6

11.2.4 ตองผานการฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดวยระดับการประเมินเปนที่พอใจ ไมนอยกวา 500 ชั่วโมงปฏิบัติการและจะตองทําจุลนิพนธตามแผนการเรียนการสอนแบบโครงการอีกไมนอยกวา 45 ชั่วโมงปฏิบัติการ

12. อาจารยผูสอน รายชื่อคณาจารยประจําหลักสูตร (ภาคผนวก ก)

13. จํานวนนักศึกษา จํานวนนักศึกษา (คน) ชั้นปที ่

ป 2546 ป 2547 ป 2548 ป 2549 ป 2550 ชั้นปที่ 1 180 180 180 180 180 ชั้นปที่ 2 - 180 180 180 180 ชั้นปที่ 3 - - 180 180 180 ชั้นปที่ 4 - - - 180 180 ชั้นปที่ 5 - - - - 180

รวม 180 360 540 720 900 จํานวนท่ีคาดวาจะสําเร็จการศึกษา - - - - 180

14. สถานที่และอุปกรณการสอน 14.1 สถานที ่ คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร คณะตาง ๆ ของมหาวิทยาลัยศิลปากร ที่มี

รายวิชาบรรจุในหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต โรงพยาบาล สถานบริการสาธารณสุขระดับ ตาง ๆ โรงงานอุตสาหกรรม และหนวยงานอ่ืนที่เก่ียวของกับงานและวิชาชีพเภสัชกรรม ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ทั้งนี้การศึกษานอกสถานที่เพ่ือเสริมทักษะและประสบการณการเรียนรูของนักศึกษาใหสามารถทําไดโดยเสนอขออนุมัติคณะวิชาเปนกรณี ๆ ไป

14.2 อุปกรณการสอน อุปกรณและครุภัณฑการศึกษาของคณะวิชาและหนวยงานตาง ๆ ดัง กลาวขางตน

15. หองสมุด หนังสือ ตํารา วารสาร และเอกสารวิชาการตาง ๆ ใชบริการจากสํานักหอสมุด มหาวิทยาลัย

ศิลปากร หองเอกสารอางอิงทางเภสัชศาสตร “ประโชติ เปลงวิทยา” และหนวยงานที่เก่ียวของอ่ืน ๆ รวมถึงระบบฐานขอมูล ระบบเครือขายสารสนเทศ ของคณะเภสัชศาสตร และของมหาวิทยาลัยอีกดวย ปจจุบันสํานักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร มีหนังสือและ วารสารที่ใชประกอบการสอนเภสัชศาสตร ดังนี ้ หนังสือ ภาษาไทย ประมาณ 2,165 ชื่อ ภาษาอังกฤษ ประมาณ 2,870 ชื่อ วารสาร ภาษาไทย ประมาณ 30 ชื่อ ภาษาอังกฤษ ประมาณ 60 ชื่อ

Page 8: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

7

ฐานขอมูล 1. ฐานขอมูลที่หอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร บอกรับ จํานวน 2 ฐานขอมูล ไดแก 1.1 ฐานขอมูล Sciences Direct 1.2. ฐานขอมูล H.W. ไดแก 1.2.1 ฐานขอมูล Applied Science & Technology 1.2.2 ฐานขอมูล Fulltext General Science Abstracts Fulltext 1.2.3 ฐานขอมูล CAB Abstract 2. ฐานขอมูลที่ทบวงมหาวิทยาลัย รวมกับ ThaiLIS (Thai Library Integrated System) บอกรับ จํานวน 2 ฐานขอมูล ไดแก 2.1 ฐานขอมูล MEDLINE 2.2 ฐานขอมูล Dissertation Abstracts Online (DAO) นอกจากนี้ยังมีฐานขอมูลสารสนเทศทางเภสัชศาสตรและที่เก่ียวของ ไมนอยกวา 1,482 พันลานตัวอักษร (1,482 Gigabytes) และกําลังพัฒนาเขาสูการสนับสนุนระดับ 10 พันพันลานตัวอักษร (10 Terabytes) ภายในป พ.ศ.2550 (ของคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร และสถาบันเครือขายความรวมมือทางเภสัชศาสตร)

16. งบประมาณ 16.1 งบประมาณสนับสนุนจากงบประมาณแผนดินที่ไดรับการจัดสรร และงบประมาณแผนดิน

ตามที่จะไดรับการจัดสรรประจําปตามแผนงาน 16.2 งบประมาณของคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร ทั้งนี้โดยใชหลักการของการจัดสรรและการใชสอยทรัพยากรรวมกัน

17. หลักสูตร 17.1 จํานวนหนวยกิตรวมตลอดหลักสูตร ไมนอยกวา 188 หนวยกิต 17.2 โครงสรางหลักสูตร 17.2.1 หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไมนอยกวา 30 หนวยกิต 17.2.2 หมวดวิชาเฉพาะ ไมนอยกวา 152 หนวยกิต กลุมวิชาพ้ืนฐานวิชาชีพ 30 หนวยกิต กลุมวิชาเฉพาะดาน ไมนอยกวา 122 หนวยกิต 17.2.3 หมวดวิชาเลือกเสรี ไมนอยกวา 6 หนวยกิต 17.3 รายวิชา รหัสวิชากําหนดใชเปนเลข 6 หลักโดยแบงเลขออกเปนสองกลุม กลุมละสามหลักโดยเวนวรรคหนึ่งชวง ระหวางสามหลักแรก และสามหลักหลัง กําหนดใหสามหลักแรกเปนเลขประจําหนวยงานที่รับผิดชอบรายวิชานั้น เชน

080 มหาวิทยาลัยศิลปากร 511 ภาควิชาคณิตศาสตร คณะวิทยาศาสตร

Page 9: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

8

512 ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร 513 ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร 514 ภาควิชาฟสิกส คณะวิทยาศาสตร 515 สาขาวิชาสถิติ ภาควิชาคณิตศาสตร คณะวิทยาศาสตร 550, 554 คณะเภสัชศาสตร

561 ภาควิชาชีวเภสัชศาสตร 562 ภาควิชาเภสัชกรรม 563 ภาควิชาเภสัชกรรมชุมชน 564 ภาควิชาเภสัชเคมี

565 ภาควิชาเภสัชวิทยาและพิษวิทยา 566 ภาควิชาเภสัชเวท 567 ภาควิชาเทคโนโลยีเภสัชกรรม

ตัวเลขสามหลักหลัง เปนตัวเลขบอกรหัสวิชา เลขตัวแรก หมายถึง ระดับ ชั้นป ของรายวิชา คือ

1 หมายถึง ระดับการศึกษาปริญญาบัณฑิตข้ันตน 2 หมายถึง ระดับการศึกษาปริญญาบัณฑิตข้ันปลาย 3 หมายถึง ระดับการศึกษาปริญญาบัณฑิตข้ันปลายและบัณฑิตศึกษาระดับตน

4-9 หมายถึง ระดับการศึกษาบัณฑิตศึกษาระดับปริญญาโท และระดับปริญญาเอก เลขตัวที่สองและสาม หมายถึง สาขายอยของวิชาเภสัชศาสตร เชน วิชาวิทยาศาสตร

การแพทยประยุกตดานเภสัชศาสตร วิชาที่เก่ียวกับแหลงกําเนิด คุณสมบัติ และการเตรียมตัวยา วิชา ที่เก่ียวกับการผลิตและการประดิษฐยา วิชาที่เก่ียวกับการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานของยา วิชาที่เก่ียวกับสรรพคุณ พิษ และการเลือกใชยา วิชาที่เก่ียวกับการปฏิบัติงานในวิชาชีพ เปนตน และหรือหมายถึงลําดับที่ของรายวิชา

รายวิชาปรับพื้นฐาน 8 หนวยกิต 556 101 วิทยาศาสตรชีวภาพสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร 3(3-0-6)

(Biological Sciences for Pharmacy Students) 556 102 วิทยาศาสตรกายภาพสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร 3(3-0-6)

(Physical Sciences for Pharmacy Students) 556 103 ปฏิบัติการวิทยาศาสตรชีวภาพสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร 1(0-3-0)

(Biological Sciences Laboratory for Pharmacy Students) 556 104 ปฏิบัติการวิทยาศาสตรกายภาพสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร 1(0-3-0) (Physical Sciences Laboratory for Pharmacy Students)

Page 10: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

9

1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป จํานวนรวมไมนอยกวา 30 หนวยกิต 1.1 วิชาบังคับ จํานวน 20 หนวยกิต - กลุมวิชาภาษา จํานวน 9 หนวยกิต 080 176 ภาษากับการสื่อสาร 3(3-0-6) (Language and Communication) 550 155 ภาษาอังกฤษสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร 1 3(2-2-5) (English for Pharmacy Students I) 550 158 ภาษาอังกฤษสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร 2 3(2-2-5) (English for Pharmacy Students II)

- กลุมวิชามนุษยศาสตร จํานวน 4 หนวยกิต 080 122 จริยธรรมในการประกอบวิชาชีพ 2(2-0-4) (Professional Ethics) 550 153 หลักการออกแบบทางเภสัชศาสตร 2(1-3-2) (Introductory Pharmaceutical Design)

- กลุมวิชาสังคมศาสตร จํานวน 2 หนวยกิต 080 144 หลักการวิจัยเบ้ืองตน 2(2-0-4) (Principles of Research) - กลุมวิชาวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร จํานวน 5 หนวยกิต 511 103 คณิตศาสตรสําหรับนักศึกษาวิทยาศาสตรชีวภาพ 3(3-0-6) (Mathematics for Biological Sciences Students) 563 251 พ้ืนฐานสาธารณสุข 2(2-0-4) (Basic Public Health)

1.2 วิชาบังคับเลือก จํานวนไมนอยกวา 6 หนวยกิต - กลุมวิชาภาษา จํานวนไมนอยกวา 6 หนวยกิต โดยเลือกภาษาใดภาษาหน่ึง ดังน้ี 080 177 ภาษาอังกฤษ 1 3(2-2-5) (English I) 080 178 ภาษาอังกฤษ 2 3(2-2-5) (English II) 080 179 ภาษาฝรั่งเศสเบ้ืองตน 1 3(2-2-5) (Basic French I) 080 180 ภาษาฝรั่งเศสเบ้ืองตน 2 3(2-2-5) (Basic French II)

Page 11: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

10

080 183 ภาษาเยอรมันเบ้ืองตน 1 3(2-2-5) (Basic German I) 080 184 ภาษาเยอรมันเบ้ืองตน 2 3(2-2-5) (Basic German II) 080 187 ภาษาจีนเบ้ืองตน 1 3(2-2-5) (Basic Chinese I) 080 188 ภาษาจีนเบ้ืองตน 2 3(2-2-5) (Basic Chinese II) 080 189 ภาษาญีปุ่นเบ้ืองตน 1 3(2-2-5) (Basic Japanese I) 080 190 ภาษาญี่ปุนเบ้ืองตน 2 3(2-2-5) (Basic Japanese II) 1.3 วิชาเลือก จํานวนไมนอยกวา 4 หนวยกิต ใหเลือกลงทะเบียนเรียนจากรายวิชาตาง ๆ ดังตอไปน้ี 080 101 มนุษยกับการสรางสรรค 3(3-0-6) (Man and Creativity) 080 107 ดนตรีวิจักษ 2(2-0-4) (Music Appreciation) 080 114 ศิลปวิจักษ 2(2-0-4) (Art Appreciation) 080 117 วรรณคดีวิจักษ 2(2-0-4) (Literary Appreciation) 080 119 อารยธรรมตะวันออก 2(2-0-4) (Eastern Civilization) 080 126 มนุษยกับสิ่งแวดลอม 3(3-0-6) (Man and His Environment) 080 127 จิตวิทยาเบ้ืองตน 2(2-0-4) (Introduction to Psychology) 080 133 เศรษฐศาสตรในชีวิตประจําวัน 2(2-0-4) (Economics in Everyday Life) 080 135 กฎหมายกับสังคม 2(2-0-4) (Law and Society) 080 151 มนุษยกับวิทยาศาสตร 3(3-0-6) (Man and Sciences)

Page 12: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

11

415 151 โลกเอเชียตะวันออกเฉียงใต 2(2-0-4) (Southeast Asian World) 449 106 การอนุรักษทรัพยากรและสิ่งแวดลอม 2(2-0-4) (Conservation of Resources and Environment) 550 101 การประยุกตคอมพิวเตอรข้ันพ้ืนฐานทางเภสัชศาสตร 2(1-3-2) (Basic Computer Applications in Pharmaceutical Sciences) 550 156 รูปแบบและเทคนิคของเภสัชภัณฑเบ้ืองตน 2(2-0-4) (Introduction to Pharmaceutical Dosage Forms and Technology) * 554 101 สมุนไพรพ้ืนฐาน 3(3-0-6) (Herbal Medicine) * 554 102 ความรูเรื่องยา 3(3-0-6) (Drug Education) * 554 103 มนุษยกับสารพิษ 3(3-0-6) (Man and Toxic Substances) * 554 104 อาหารเพ่ือสุขภาพ 3(3-0-6) (Food for Health) 565 151 ความรูเรื่องยาบําบัดโรค 3(3-0-6) (Drug Knowledges) 566 101 เภสัชพฤกษศาสตร 2(1-3-2) (Pharmaceutical Botany) * หมายเหตุ เปนรายวิชาที่เปดบริการสําหรับนักศึกษานอกคณะวิชา ทั้งนี้นักศึกษาเภสัชศาสตรอาจ

ขอลงทะเบียนไดภายใตเงื่อนไขและโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการประจําคณะเภสัชศาสตร

2. หมวดวิชาเฉพาะ จํานวน 152 หนวยกิต แบงเปน 2 กลุมวิชา ดังน้ี 2.1 กลุมวิชาพื้นฐานวิชาชีพ จํานวน 30 หนวยกิต ประกอบดวยวิชาดังน้ี 2.1.1. วิชาคณิตศาสตรและสถิติ จํานวน 3 หนวยกิต 515 203 สถิติสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร 3(2-2-5) (Statistics for Pharmacy Students)

2.1.2 วิชาวิทยาศาสตรพื้นฐาน จํานวน 27 หนวยกิต 512 101 ชีววิทยาทั่วไป 1 3(3-0-6) (General Biology I) 512 102 ชีววิทยาทั่วไป 2 3(3-0-6) (General Biology II)

Page 13: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

12

512 103 ปฏิบัติการชีววิทยาทั่วไป 1 1(0-3-0) (General Biology Laboratory I) 512 104 ปฏิบัติการชีววิทยาทั่วไป 2 1(0-3-0) (General Biology Laboratory II) 513 101 เคมีทั่วไป 1 3(3-0-6) (General Chemistry I) 513 102 เคมีทั่วไป 2 3(3-0-6) (General Chemistry II) 513 220 เคมีฟสิคัล 3(3-0-6) (Physical Chemistry) 513 250 เคมีอินทรีย 3(3-0-6) (Organic Chemistry) 514 101 ฟสิกสทั่วไป 1 3(3-0-6) (General Physics I) 514 102 ฟสิกสทั่วไป 2 3(3-0-6) (General Physics II) 514 105 ปฏิบัติการฟสิกสสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร 1(0-3-0) (General Physics Laboratory for Pharmacy Students) 2.2 กลุมวิชาเฉพาะดาน จํานวน 122 หนวยกิต ประกอบดวยวิชาดังน้ี 2.2.1 วิชาวิทยาศาสตรสุขภาพและคลินิก จํานวน 29 หนวยกิต 561 101 ชีวเภสัชศาสตร 1 2(2-0-4) (Biopharmacy I) 561 102 ชีวเภสัชศาสตร 2 2(2-0-4) (Biopharmacy II) 561 103 พ้ืนฐานชีววิทยาระดับโมเลกุลสําหรับเภสัชกร 1(1-0-2) (Basic Molecular Biology for Pharmacists) 561 131 ปฏิบัติการชีวเภสัชศาสตร 1 1(0-3-0) (Biopharmacy Laboratory I) 561 201 ชีวเภสัชศาสตร 3 3(3-0-6) (Biopharmacy III) 561 202 ชีวเภสัชศาสตร 4 2(2-0-4) (Biopharmacy IV) 561 203 ชีวเภสัชศาสตร 5 4(4-0-8) (Biopharmacy V)

Page 14: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

13

561 231 ปฏิบัติการชีวเภสัชศาสตร 3 1(0-3-0) (Biopharmacy Laboratory III) 561 232 ปฏิบัติการชีวเภสัชศาสตร 4 1(0-3-0) (Biopharmacy Laboratory IV) 561 233 ปฏิบัติการชีวเภสัชศาสตร 5 1(0-3-0) (Biopharmacy Laboratory V) 565 241 เภสัชวิทยา 1 3(3-0-6) (Pharmacology I) 565 242 เภสัชวิทยา 2 4(4-0-8) (Pharmacology II) 565 243 พิษวิทยา 2(2-0-4) (Toxicology) 565 261 ปฏิบัติการเภสัชวิทยา 1 1(0-3-0) (Pharmacology Laboratory I) 565 263 ปฏิบัติการพิษวิทยา 1(0-3-0) (Toxicology Laboratory) 2.2.2 วิชาแกนวิชาชีพ จํานวน 93 หนวยกิต ประกอบดวยวิชาดังน้ี - วิชาบังคับวิชาชีพ จํานวน 82 หนวยกิต 550 102 ปฏิบัติการพ้ืนฐานทางเภสัชศาสตร 1(0-3-0) (Basic Pharmaceutical Laboratory) 550 151 เภสัชนิเทศ 1(1-0-2) (Pharmacy Orientation) 550 251 ประสบการณวิชาชีพ 1 1(0-3-0) (Professional Practice I) 550 332 นิติเภสัช 1(1-0-2) (Pharmacy Law) 550 351 ประสบการณวิชาชีพ 2 3(0-9-0) (Professional Practice II) 550 352 ประสบการณวิชาชีพ 3 5(0-15-0) (Professional Practice III) 550 359 คอมพิวเตอรทางเภสัชกรรม 3(2-3-4) (Computer in Pharmacy) 550 361 การสัมมนาทางเภสัชศาสตร 1(0-3-0) (Seminar in Pharmaceutical Sciences)

Page 15: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

14

550 366 เภสัชบําบัด 2 4(3-3-6) (Pharmacotherapeutics II) 550 367 เภสัชบําบัด 3 4(3-3-6) (Pharmacotherapeutics III) 550 399 จุลนิพนธ 1(0-3-0) (Senior Project) 561 211 ชีววัตถ ุ 2(2-0-4) (Biological Products) 562 321 ชีวเภสัชกรรมและเภสัชจลนพลศาสตร 3(3-0-6) (Biopharmaceutics and Pharmacokinetics) 562 361 เภสัชกรรมปฏิบัต ิ 4(3-3-6) (Pharmacy Practice) 563 254 การบริหารเภสัชกิจเบ้ืองตน 1 2(2-0-4) (Basic Pharmacy Administrations I) 563 255 การบริหารเภสัชกิจเบ้ืองตน 2 2(1-3-2) (Basic Pharmacy Administrations II) 564 111 เภสัชเคมี 1 1(1-0-2) (Pharmaceutical Chemistry I) 564 121 ปฏิบัติการเภสัชเคมี 1 1(0-3-0) (Pharmaceutical Chemistry Laboratory I) 564 131 การควบคุมคุณภาพยา 1 3(3-0-6) (Pharmaceutical Quality Control I) 564 132 ปฏิบัติการการควบคุมคุณภาพยา 1 2(0-6-0) (Pharmaceutical Quality Control Laboratory I) 564 211 เภสัชเคมี 2 3(3-0-6) (Pharmaceutical Chemistry II) 564 212 เภสัชเคมี 3 4(4-0-8) (Pharmaceutical Chemistry III) 564 231 การควบคุมคุณภาพยา 2 3(3-0-6) (Pharmaceutical Quality Control II) 564 233 ปฏิบัติการการควบคุมคุณภาพยา 2 1(0-3-0) (Pharmaceutical Quality Control Laboratory II) 565 352 เภสัชบําบัด 1 3(3-0-6) (Pharmacotherapeutic I)

Page 16: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

15

566 111 เภสัชเวท 1 3(3-0-6) (Pharmacognosy I) 566 121 ปฏิบัติการเภสัชเวท 1 1(0-3-0) (Pharmacognosy Laboratory I) 566 211 เภสัชเวท 2 2(2-0-4) (Pharmacognosy II) 566 221 ปฏิบัติการเภสัชเวท 2 1(0-3-0) (Pharmacognosy Laboratory II) 567 221 เทคโนโลยีเภสัชกรรม 1 2(2-0-4) (Pharmaceutical Technology I) 567 222 เทคโนโลยีเภสัชกรรม 2 3(3-0-6) (Pharmaceutical Technology II) 567 223 เทคโนโลยีเภสัชกรรม 3 3(3-0-6) (Pharmaceutical Technology III) 567 224 เทคโนโลยีเภสัชกรรม 4 2(2-0-4) (Pharmaceutical Technology IV) 567 225 เทคโนโลยีเภสัชกรรม 5 2(2-0-4) (Pharmaceutical Technology V) 567 261 ปฏิบัติการเทคโนโลยีเภสัชกรรม 1 1(0-3-0) (Pharmaceutical Technology Laboratory I) 567 262 ปฏิบัติการเทคโนโลยีเภสัชกรรม 2 1(0-3-0) (Pharmaceutical Technology Laboratory II) 567 263 ปฏิบัติการเทคโนโลยีเภสัชกรรม 3 1(0-3-0) (Pharmaceutical Technology Laboratory III) 567 264 ปฏิบัติการเทคโนโลยีเภสัชกรรม 4 1(0-3-0) (Pharmaceutical Technology Laboratory IV) - วิชาเลือกวิชาชีพ จํานวนไมนอยกวา 11 หนวยกิต โดยใหเลือกรายวิชาในลักษณะของกลุมสาขาใดสาขาหน่ึงใน 3 กลุมสาขาตอไปน้ี กลุมสาขาการบริบาลทางเภสัชกรรม (Pharmaceutical Care) กลุมสาขาวิทยาการทางเภสัชศาสตร (Pharmaceutical Sciences)

Page 17: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

16

กลุมสาขาเภสัชกรรมสารสนเทศ (Pharmaceutical Informatics) วิชาเลือกวิชาชีพกลุมสาขาการบริบาลทางเภสัชกรรม 550 202 โภชนาการและโภชนบําบัด 2(2-0-4) (Nutrition and Nutritional Therapy) 550 207 ความสัมพันธระหวางโภชนาการและยา 2(2-0-4) (Nutrition and Drug Interactions) 550 208 การประเมินภาวะโภชนาการ 2(1-3-2) (Nutritional Assessment) 550 209 โภชนาการของเกลือแรและวิตามิน 2(1-3-2) (Minerals and Vitamins in Nutrition) 550 211 อุปกรณและวัสดุการแพทย 2(1-3-2) (Medical Equipment and Accessories) 550 212 ยาฉีดผสมทางหลอดเลือดดํา 2(1-3-2) (Intravenous Admixture) 550 213 รังสีเภสัชภัณฑ 2(2-0-4) (Radiopharmaceuticals) 550 215 ระบาดวิทยาทางเภสัชศาสตร 3(2-3-4) (Pharmacoepidemiology) 550 216 เศรษฐศาสตรดานยา 2(2-0-4) (Pharmacoeconomics) 550 221 เภสัชเวทประยุกต 2(2-0-4) (Applied Pharmacognosy) 550 311 เภสัชสนเทศทางการบริบาลทางเภสัชกรรม 3(2-3-4) (Drug Information in Pharmaceutical Care) 550 312 หัวขอปจจุบันของเภสัชกรรมปฏิบัติ 4(3-3-6) (Current Topics in Pharmacy Practice) 550 315 ชีวเภสัชกรรมข้ันสูง 3(2-3-4) (Advanced Biopharmaceutics) 550 316 เภสัชจลนพลศาสตรคลินิก 2(1-3-2) (Clinical Pharmacokinetics) 550 319 การประเมินผลทางยา 2(1-3-2) (Drug Assessment)

Page 18: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

17

550 320 การประเมินการใชยา 1 3(2-3-4) (Drug Use Evaluation I) 550 321 การประเมินการใชยา 2 3(2-3-4) (Drug Use Evaluation II) 550 324 การประเมินฤทธิ์ของยา 2(2-0-4) (Evaluation of Drug Action) 550 333 พฤกษบําบัดบนหลักฐานทางวิชาการ 2(2-0-4) (Evidence Base Phytotherapy) 550 334 เภสัชบําบัดปจจุบันของการบริบาลทางเภสัชกรรม 4(3-3-6) (Current Therapy in Pharmaceutical Care) 550 365 เภสัชกรรมคลินิกข้ันสูง 4(3-3-6) (Advanced Clinical Pharmacy) 550 369 ปญหาพิเศษของการบริบาลทางเภสัชกรรม 2(1-3-2) (Special Problems in Pharmaceutical Care) 552 101 การบริบาลทางเภสัชกรรมบนพ้ืนฐานของหลักฐานทางวิชาการ 2(2-0-4) (Evidence Base in Pharmaceutical Care) 552 102 ปฏิบัติการการบริบาลทางเภสชักรรมบนพ้ืนฐานของหลักฐาน ทางวิชาการ 1(0-3-0) (Evidence Base in Pharmaceutical Care Laboratory) 552 103 การประเมินผลลัพธในการใชเภสัชภัณฑ 2(2-0-4) (Outcomes Drug Assessment) 552 104 ปฏิบัติการการประเมินผลลัพธในการใชเภสัชภัณฑ 1(0-3-0) (Outcomes Drug Assessment Laboratory) 552 105 เภสัชกรรมสถานพยาบาล 3(3-0-6) (Hospital Pharmacy) 552 106 ปฏิบัติการเภสัชกรรมสถานพยาบาล 1(0-3-0) (Hospital Pharmacy Laboratory)

552 113 เภสัชวิทยาคลินิก 2(2-0-4) (Clinical Pharmacology)

552 114 ปฏิบัติการเภสัชวิทยาคลินิก 1(0-3-0) (Clinical Pharmacology laboratory)

552 115 พิษวิทยาคลินิกของสิ่งแวดลอม 2 (2-0-2) (Environmental Clinical Toxicology)

552 116 ปฏิบัติการพิษวิทยาคลินิกของสิ่งแวดลอม 1(0-3-0) (Environmental Clinical Toxicology Laboratory)

Page 19: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

18

วิชาเลือกวิชาชีพกลุมสาขาวิทยาการทางเภสัชศาสตร 550 201 ความปลอดภัยของอาหารและน้ําด่ืม 3(1-6-2) (Safety of Foods and Drinking Water) 550 203 การควบคุมคุณภาพยา 4 2(2-0-4) (Pharmaceutical Quality Control IV) 550 204 ปฏิบัติการการควบคุมคุณภาพยา 4 1(0-3-0) (Pharmaceutical Quality Control Laboratory IV) 550 205 การเปลี่ยนแปลงทางชีวภาพของยา 1 3(3-0-6) (Drug Biotransformation I) 550 206 การเปลี่ยนแปลงทางชีวภาพของยา 2 3(3-0-6) (Drug Biotransformation II) 550 210 พยาธิวิทยาทางภูมิคุมกัน 3(3-0-6) (Immunopathology) 550 220 ยาใหมและยาปจจุบัน 2(2-0-4) (New Drugs and Current Drugs) 550 222 เทคโนโลยีชีวภาพระดับโมเลกุลสําหรับเภสัชกร 3(3-0-6) (Molecular Biotechnology for Pharmacists) 550 223 การควบคุมคุณภาพยา 3 4(2-6-4) (Pharmaceutical Quality Control III) 550 224 การควบคุมคุณภาพอาหารและเครื่องสําอาง 4(3-3-6) (Pharmaceutical Quality Control of Food and Cosmetics) 550 225 การวิเคราะหยาในสารชีวภาพ 4(3-3-6) (Biomedical Analysis) 550 226 เภสัชเคมีวิเคราะหของสารโภชนบําบัด 3(2-3-4) (Pharmaceutical Chemistry Analysis of Dietotherapeutics) 550 227 การตรวจสอบฤทธิ์กลายพันธุของยาและสารพิษในสิ่งแวดลอม 3(1-6-2) (Mutation Evaluation of Drugs and Environmental Toxic Substances) 550 228 เภสัชวิทยาระดับเซลลและโมเลกุลเบ้ืองตน 3(3-0-6) (Basic Cellular and Molecular Pharmacology) 550 229 การทดลองทางเภสัชวิทยา 2(0-6-0) (Experimental Pharmacology) 550 230 เทคนิคการสกัดแยกสารทางเภสัชศาสตร 3(2-3-4) (Separation Technique in Pharmaceutical Sciences)

Page 20: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

19

550 231 ยาสมุนไพรพ้ืนบาน 4(3-3-6) (Indigenous Medicines) 550 232 เกษตรเภสัชภัณฑ 4(3-3-6) (Agropharmaceutical Sciences) 550 233 เทคโนโลยีชีวภาพของพืชสมุนไพร 3(2-3-4) (Biotechnology of Medicinal Plants) 550 234 ระบบนําสงยาแบบใหม 2(2-0-4) (Novel Drug Delivery System) 550 235 วิทยาการเครื่องสําอาง 4(2-6-4) (Cosmeticology) 550 236 การบริหารการผลติ 4(3-3-6) (Manufacturing Management) 550 237 ระบบควบคุมและประกันคุณภาพ 4(3-3-6) (Quality Control and Quality Assurance Systems) 550 238 การเคลือบยาเม็ด 3(2-3-4) (Tablet Coating) 550 239 วิทยาการพอลิเมอรเบ้ืองตนทางเภสัชกรรม 2(2-0-4) (Introductory Polymer Sciences in Pharmacy) 550 240 อนามัยอุตสาหกรรม 4(3-3-6) (Industrial Hygiene) 550 301 ปญหาพิเศษของวิทยาการทางเภสัชศาสตร 3(2-3-4) (Special Problems in Pharmaceutical Sciences) 550 306 หัวขอปจจุบันของวิทยาการทางเภสัชศาสตร 2(2-0-4) (Current Topics in Pharmaceutical Sciences) 550 307 ชีวเภสัชศาสตรข้ันสูง 3(3-0-6) (Advanced Biopharmacy) 550 322 การสังเคราะหยา 3(2-3-4) (Pharmaceutical Synthesis) 550 331 เภสัชบรรจุภัณฑ 2(2-0-4) (Pharmaceutical Packagings) 550 338 หลักการเคมีของยา 3(3-0-6) (Principle of Medicinal Chemistry) 550 340 การออกแบบโครงสรางยา 4(3-3-6) (Drug Designs)

Page 21: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

20

550 343 เภสัชวิทยาและพิษวิทยาข้ันสูง 3(3-0-6) (Advanced Pharmacology and Toxicology) 550 347 การวิจัยและพัฒนาพืชสมุนไพร 3(2-3-4) (Research and Development in Medicinal Plants) 550 349 การออกแบบและพัฒนาสูตรตํารับเภสัชภัณฑ 4(2-6-4) (Pharmaceutical Formulation and Development) 550 355 เทคโนโลยีชีวภาพทางเภสัชศาสตร 3(2-3-4) (Pharmaceutical Biotechnology) 550 356 เภสัชวิทยาจีโนม 2(2-0-4) (Pharmacogenomics) 550 360 การประยุกตคอมพิวเตอรทางเภสัชศาสตร 3(1-6-2) (Computerized Applications in Pharmaceutical Sciences) 550 370 การวิจัยและพัฒนาเภสัชภัณฑ 2(2-0-4) (Research and Development of Pharmaceutical Products) 550 371 การจัดการทางเภสัชศาสตร 2(2-0-4) (Management in Pharmaceutical Sciences) 550 372 การประกันคุณภาพทางเภสัชศาสตร 3(3-0-6) (Quality Assurance in Pharmaceutical Sciences)

552 107 เภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธิ์ตอจิตประสาท 3(3-0-6) (Pharmacology of Neuropsychoactive Drugs)

552 108 ปฏิบัติการเภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธิ์ตอจิตประสาท 1(0-3-0) (Pharmacology of Neuropsychoactive Drugs Laboratory)

552 109 เภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธิ์ตอระบบหัวใจและหลอดเลือด 2(2-0-4) (Pharmacology of Cardiovascular Drugs)

552 110 ปฏิบัติการเภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธิ์ตอระบบหัวใจและหลอดเลือด 1(0-3-0) (Pharmacology of Cardiovascular Drugs laboratory)

552 111 เภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธิ์ตอระบบทางเดินอาหาร 2(2-0-4) (Pharmacology of Gastrointestinal Drugs)

552 112 ปฏิบัติการเภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธิ์ตอระบบทางเดินอาหาร 1(0-3-0) (Pharmacology of Gastrointestinal Drugs laboratory)

552 117 สัตวเภสัชภัณฑ 2(2-0-4) (Veterinary Pharmaceutical Products)

552 118 ปฏิบัติการสัตวเภสัชภัณฑ 1(0-3-0) (Veterinary Pharmaceutical Products Laboratory)

Page 22: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

21

552 119 พิษวิทยาของภาวะแวดลอม 3(3-0-6) (Environmental Toxicology)

552 220 ปฏิบัติการพิษวิทยาของภาวะแวดลอม 1(0-3-0) (Environmental Toxicology Laboratory) วิชาเลือกวิชาชีพกลุมสาขาเภสัชกรรมสารสนเทศ 550 215 ระบาดวิทยาทางเภสัชศาสตร 3(2-3-4) (Pharmacoepidemiology) 550 216 เศรษฐศาสตรดานยา 2(2-0-4) (Pharmacoeconomics) 550 241 เภสัชศาสตรชุมชน 3(2-3-4) (Community Pharmacy) 550 242 เภสัชศาสตรสาธารณสุข 3(2-3-4) (Public Health Pharmacy) 550 243 เภสัชกรและสุขอนามัยชนบท 4(2-6-4) (Pharmacists and Rural Health Care) 550 244 การตลาดและการเสนอแนะยา 3(2-3-4) (Drug Marketing and Detailing) 550 360 การประยุกตคอมพิวเตอรทางเภสัชศาสตร 3(1-6-2) (Computerized Applications in Pharmaceutical Sciences) 550 362 บริการเภสัชสนเทศ 3(2-3-4) (Drug Information Services) 550 363 การคุมครองผูบริโภคดานอาหารและยา 3(2-3-4) (Consumer Protection in Foods and Drugs) 550 364 ปญหาพิเศษทางเภสัชกรรมชุมชน 3(2-3-4) (Special Problems in Community Pharmacy) 550 368 การบริหารสาธารณสุข 3(2-3-4) (Public Health Administration) 550 373 การสื่อสารกับสุขภาพ 3(1-6-2) (Communication and Health) 550 374 การบริหารเภสัชกิจเชิงกลยุทธ 3(2-3-4) (Strategy in Pharmacy Administration) 550 375 การจัดการขอมูลทางเภสัชกรรม 3(2-3-4) (Pharmaceutical Information Management)

Page 23: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

22

551 201 ระบบคอมพิวเตอรและการเขียนโปรแกรมเบ้ืองตนสําหรับ 3(2-2-5) สารสนเทศศาสตรทางสุขภาพ (Introduction to Computers and Programming for Health Informatics) 551 202 ระบบการจัดการฐานขอมูลสําหรับสารสนเทศศาสตรทางสุขภาพ 3(2-2-5) (Database Management System for Health Informatics) 551 203 สถิติสําหรับสารสนเทศศาสตรทางสุขภาพ 3(2-3-4) (Statistics for Health Informatics) 551 204 การใชคอมพิวเตอรชวยในการคนหาและพัฒนายา 2(2-0-4) (Computer-Aided Drug Discovery and Development) 551 205 โครงสรางขอมูลและอัลกอริทึม 2(2-0-4) (Data Structure and Algorithms) 551 206 เทคนิคการจําลอง 3(3-0-9) (Simulation Techniques) 551 207 สารสนเทศศาสตรทางสุขภาพ 2(2-0-4) (Health Informatics) 551 208 การโปรแกรมคอมพิวเตอรสําหรับสารสนเทศศาสตรทางสุขภาพ 3(2-2-5)

(Computer Programming for Health Informatics) 551 209 การพัฒนาอินเตอรเน็ตเว็บไซต 3(2-2-5)

(Internet Web Site Development) 551 210 การพัฒนาอินเตอรเน็ตเว็บไซตข้ันสูง 3(2-2-5)

(Advanced Internet Web Site Development) 551 211 ซอฟทแวรแบบเปดเผยการโปรแกรมสําหรับสารสนเทศศาสตร

ทางสุขภาพ 3(2-2-5) (Open Source Software for Health Informatics) 551 212 ปญหาพิเศษทางสารสนเทศศาสตรทางสุขภาพ 1 1(0-3-0)

(Special problem in health informatics 1) 551 213 ปญหาพิเศษทางสารสนเทศศาสตรทางสุขภาพ 2 3(2-2-5)

(Special problem in health informatics 2) 551 214 การประยุกตคอมพิวเตอรทางสารสนเทศศาสตรทางสุขภาพ 3(2-2-5) (Computer Application in Health Informatics)

Page 24: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

23

นักศึกษาเภสัชศาสตรอาจเลือกวิชาเลือกวิชาชีพในกลุมสาขาอ่ืน ๆ ที่เอ้ือตอการปฏิบัติงานวิชาชีพเภสัชกรรมไดโดยไดรับความเห็นชอบจากคณะวิชา 3. หมวดวิชาเลือกเสรี จํานวนไมนอยกวา 6 หนวยกิต ใหเลือกรายวิชาใดวิชาหนึ่งที่มีการเปดสอนโดยคณะวิชาตาง ๆ ทุกคณะวิชาในมหาวิทยาลัย ศิลปากร และหรือนอกมหาวิทยาลัย หรือนอกประเทศตามกําหนด หากนักศึกษาเลือกศึกษารายวิชาของคณะวิชาในกลุมวิชาเลือกของหมวดวิชาเฉพาะดาน จะตองนําไปคิดคาระดับเฉลี่ยรวมกับกลุมวิชาวิทยาศาสตรสุขภาพ กลุมวิชาแกนวิชาชีพ และกลุมสาขา เพ่ือตรวจสอบเงื่อนไขการสําเร็จการศึกษา ดังกําหนดไวในเงื่อนไขสําเร็จการศึกษาเภสัชศาสตร

Page 25: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

24

17.4 แผนการศึกษา ทั้งนี้อาจมีการปรับเปลี่ยนไดตามความเหมาะสมตามสถานภาพและแนวโนมการ

เปลี่ยนแปลงของสาขาวิชาชพี เปนดังนี ้

แผนการศึกษาหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต ปที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จํานวนหนวยกิต 080 176 ภาษากับการสื่อสาร 3(3-0-6) 080 … ภาษาตางประเทศ 1 3(2-2-5) 511 103 คณิตศาสตรสําหรับนักศึกษาวิทยาศาสตรชีวภาพ 3(3-0-6) 512 101 ชีววิทยาทั่วไป 1 3(3-0-6) 512 103 ปฏิบัติการชีววิทยาทั่วไป 1 1(0-3-0) 513 101 เคมีทั่วไป 1 3(3-0-6) 514 101 ฟสิกสทั่วไป 1 3(3-0-6) 550 151 เภสัชนิเทศ 1(1-0-2)

รวมหนวยกิต 20

ปที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จํานวนหนวยกิต 080 … ภาษาตางประเทศ 2 3(2-2-5) 512 102 ชีววิทยาทั่วไป 2 3(3-0-6) 512 102 ปฏิบัติการชีววิทยาทั่วไป 2 1(0-3-0) 513 102 เคมีทั่วไป 2 3(3-0-6) 514 102 ฟสิกสทั่วไป 2 3(3-0-6) 514 105 ปฏิบัติการฟสิกสสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร 1(0-3-0) 515 203 สถิติสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร 3(2-2-5) 550 102 ปฏิบัติการพ้ืนฐานทางเภสัชศาสตร 1(0-3-0) 563 251 พ้ืนฐานสาธารณสุข 2(2-0-4)

รวมหนวยกิต 20

Page 26: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

25

ปที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จํานวนหนวยกิต 513 220 เคมีฟสิกัล 3(3-0-6) 513 250 เคมีอินทรีย 3(3-0-6) 550 153 หลักการออกแบบทางเภสัชศาสตร 2(1-3-2) 550 155 ภาษาอังกฤษสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร 1 3(2-2-5) 561 101 ชีวเภสัชศาสตร 1 2(2-0-4) 561 131 ปฏิบัติการชีวเภสัชศาสตร 1 1(0-3-0) 564 111 เภสัชเคมี 1 1(1-0-2) 564 121 ปฏิบัติการเภสัชเคมี 1 1(0-3-0) … … วิชาเลือกในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป 2

รวมหนวยกิต 18

ปที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จํานวนหนวยกิต 550 158 ภาษาอังกฤษสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร 2 3(2-2-5) 561 102 ชีวเภสัชศาสตร 2 2(2-0-4) 561 201 ชีวเภสัชศาสตร 3 3(3-0-6) 561 231 ปฏิบัติการชีวเภสัชศาสตร 3 1(0-3-0) 563 254 การบริหารเภสัชกิจเบ้ืองตน 1 2(2-0-4) 564 131 การควบคุมคุณภาพยา 1 3(3-0-6) 564 132 ปฏิบัติการการควบคุมคุณภาพยา 1 2(0-6-0) 567 221 เทคโนโลยีเภสัชกรรม 1 2(2-0-4) 567 261 ปฏิบัติการเทคโนโลยีเภสัชกรรม 1 1(0-3-0) … … วิชาเลือกในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป 2

รวมหนวยกิต 21

Page 27: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

26

ปที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จํานวนหนวยกิต 561 202 ชีวเภสัชศาสตร 4 2(2-0-4) 561 204 พ้ืนฐานชีววิทยาระดับโมเลกุลสําหรับเภสัชกร 1(1-0-2) 561 232 ปฏิบัติการชีวเภสัชศาสตร 4 1(0-3-0) 564 231 การควบคุมคุณภาพยา 2 3(3-0-6) 564 233 ปฏิบัติการการควบคุมคุณภาพยา 2 1(0-3-0) 565 241 เภสัชวิทยา 1 3(3-0-6) 565 261 ปฏิบัติการเภสัชวิทยา 1 1(0-3-0) 566 111 เภสัชเวท 1 3(3-0-6) 566 121 ปฏิบัติการเภสัชเวท 1 1(0-3-0) 567 222 เทคโนโลยีเภสัชกรรม 2 3(3-0-6) 567 262 ปฏิบัติการเทคโนโลยีเภสัชกรรม 2 1(0-3-0)

รวมหนวยกิต 20

ปที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จํานวนหนวยกิต 561 203 ชีวเภสัชศาสตร 5 4(4-0-8) 561 233 ปฏิบัติการชีวเภสัชศาสตร 5 1(0-3-0) 562 321 ชีวเภสัชกรรมและเภสัชจลนพลศาสตร 3(3-0-6) 565 242 เภสัชวิทยา 2 4(4-0-8) 566 211 เภสัชเวท 2 2(2-0-4) 566 221 ปฏิบัติการเภสัชเวท 2 1(0-3-0) 567 223 เทคโนโลยีเภสัชกรรม 3 3(3-0-6) 567 263 ปฏิบัติการเทคโนโลยีเภสัชกรรม 3 1(0-3-0)

รวมหนวยกิต 19

Page 28: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

27

ปที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จํานวนหนวยกิต 080 122 จริยธรรมในการประกอบวิชาชีพ 2(2-0-4) 080 144 หลักการวิจัยเบ้ืองตน 2(2-0-4) 550 251 ประสบการณวิชาชีพ 1 1(0-3-0) 550 332 นิติเภสัช 1(1-0-2) 561 211 ชีววัตถ ุ 2(2-0-4) 562 361 เภสัชกรรมปฏิบัต ิ 4(3-3-6) 564 211 เภสัชเคมี 2 3(3-0-6) 565 352 เภสัชบําบัด 1 3(3-0-6) 567 224 เทคโนโลยีเภสัชกรรม 4 2(2-0-4) 567 264 ปฏิบัติการเทคโนโลยีเภสัชกรรม 4 1(0-3-0)

รวมหนวยกิต 21

ปที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จํานวนหนวยกิต 550 359 คอมพิวเตอรทางเภสัชกรรม 3(2-3-4) 550 366 เภสัชบําบัด 2 4(3-3-6) 563 255 การบริหารเภสัชกิจเบ้ืองตน 2 2(1-3-2) 564 212 เภสัชเคมี 3 4(4-0-8) 565 243 พิษวิทยา 2(2-0-4) 565 263 ปฏิบัติการพิษวิทยา 1(0-3-0) 567 225 เทคโนโลยีเภสัชกรรม 5 2(2-0-4)

วิชาเลือกวิชาชีพ 4 รวมหนวยกิต 22

Page 29: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

28

ปที่ 5 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จํานวนหนวยกิต 550 351 ประสบการณวิชาชีพ 2 3(0-9-0) 550 361 การสัมมนาทางเภสัชศาสตร 1(0-3-0) 550 367 เภสัชบําบัด 3 4(3-3-6) 550 399 จุลนิพนธ 1(0-3-0)

วิชาเลือกวิชาชีพ 7 วิชาเลือกเสร ี 6 22

ปที่ 5 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จํานวนหนวยกิต 550 352 ประสบการณวิชาชีพ 3 5(0-15-0)

รวมหนวยกิต 5

การเทียบฐานะชั้นปของนักศึกษา ใหเทียบฐานะชั้นปโดยหลักการของนักศึกษาเภสัชศาสตร จากจํานวนหนวยกิตที่สอบไดตาม อัตราสวนของหนวยกิตรวมของหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต ดังนี้ - นักศึกษาที่มีจํานวนหนวยกิตสอบไดต่ํากวา 32 หนวยกิต ใหเทียบฐานะเปนนักศึกษาเภสัชศาสตร ชั้นปที่ 1 - นักศึกษาที่มีจํานวนหนวยกิตสอบไดตั้งแต 32 หนวยกิตข้ึนไป แตต่ํากวา 64 หนวยกิตใหเทียบ ฐานะเปนนักศึกษาเภสัชศาสตรชั้นปที่ 2 - นักศึกษาที่มีจํานวนหนวยกิตสอบไดตั้งแต 64 หนวยกิตข้ึนไป แตต่ํากวา 96 หนวยกิต ใหเทียบ ฐานะเปนนักศึกษาเภสัชศาสตรชั้นปที่ 3 - นักศึกษาที่มีจํานวนหนวยกิตสอบไดตั้งแต 96 หนวยกิตข้ึนไป แตต่ํากวา 128 หนวยกิต ใหเทียบ ฐานะเปนนักศึกษาเภสัชศาสตรชั้นปที ่4 - นักศึกษาที่มีจํานวนหนวยกิตสอบไดตั้งแต 128 หนวยกิตข้ึนไป ใหเทียบฐานะเปน นักศึกษาเภสัชศาสตรชั้นปที่ 5 อนึ่ง การกําหนดเทียบสถานะของชั้นปของนักศึกษาเภสัชศาสตรมิไดหมายความครอบคลุม ถึงเงื่อนไขการลงทะเบียนเรียนรายวิชาดังกําหนดไวในแผนการศึกษาและหลักสูตร

Page 30: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

29

17.5 คําอธิบายรายวิชา

17.5.1 คําอธิบายรายวิชาหมวดวิชาศึกษาท่ัวไป

080 122 จริยธรรมในการประกอบวิชาชีพ 2(2-0-4) (Professional Ethics)

จริยธรรมและจรรยาบรรณในการประกอบวิชาชีพของวิทยาการแขนงสาขา ตาง ๆ กฎ ระเบียบ เกณฑ มาตรการในการควบคุม เนนความรับผิดชอบที่มีตอวิชาชีพและสังคม

080 122 Professional Ethics 2(2-0-4) Codes and oaths of professional ethics of various disciplines; laws, rules,

regulations and ethical criteria concerning practice and control, with emphasis on privileges and responsibilities to professions and socials.

080 144 หลักการวิจัยเบ้ืองตน 2(2-0-4) (Principles of Research) แนวคิด ความหมาย หลักการของการวิจัย การจําแนกประเภท และ ชนิดของการวิจยั ข้ันตอนและกระบวนการของการวิจัย การประมวลผลขอมูลและ การรายงาน

080 144 Principles of Research 2(2-0-4) Conceptual aspects, definition and principles of research ; categorization,

differentiation and processes of performing research ; data collecting, valuating and reporting of results.

080 101 มนุษยกับการสรางสรรค 3(3-0-6) (Man and Creativity)

ศึกษาหลักความคิดเก่ียวกับความสํานึกในตน อันเกิดจากการพิจารณาเอกภาพของโลก ความสัมพันธระหวางปจเจกบุคคลกับเพ่ือนมนุษย ระหวางปจเจกบุคคลกับสิ่งแวดลอม การดํารงอยูของจักรวาล โลกและมวลมนุษย อันเปนปจจัยกอใหเกิดแรงสรางสรรคตอบุคคลและพลังรวมในการจรรโลงความเปนมนุษย ทั้งที่เปนในรูปของปรัชญา ศาสนา และความเชื่อ สภาวะทางจิต สภาวะทางธรรมชาติ และสังคมที่เอ้ือตอการสรางสรรคทางศิลปะ ตลอดจนการประดิษฐ คิดคน ทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ทั้งนี้ใหศึกษาตัวอยางที่สําคัญๆจากกิจกรรมสรางสรรคของมนุษยทั้งในอดีตและปจจุบัน รวมทั้งอุปสรรคที่มีตอการสรางสรรค

Page 31: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

30

080 107 ดนตรีวิจักษ 2(2-0-4) (Music Appreciation)

ศึกษาองคประกอบของตนตรี เครื่องดนตรีไทยและตางชาติ ผลงานของคีตกวีไทยและตางประเทศที่สําคัญ เปรียบเทียบลักษณะของดนตรีชาติตาง ๆ รวมทั้งดนตรีพ้ืนบาน ลักษณะเฉพาะของดนตรีประจําชาติไทย ความสัมพันธระหวางตีคศิลปกับศิลปะแขนงอ่ืน ทั้งนี้โดยใหนักศึกษาไดฟงดนตรีไทย และตางชาติใหมากที่สุดเทาที่จะมากได

080 114 ศิลปวิจักษ 2(2-0-4) (Art Appreciation)

ศึกษาลักษณะและความสําคัญของทัศนศิลป โดยมุงสรางรสนิยม ความชื่นชมและความสํานึกในคุณคาของงานสรางสรรคทางศลิปะ จากตัวอยางศิลปกรรมทั้งในอดีตและปจจุบัน บทบาทของทัศนศิลปในวัฒนธรรมของมนุษยชาติทั้งตะวันออกและตะวันตก โดยเฉพาะอยางย่ิงในการแสดงออก ทั้งนี้ใหเห็นอิทธิพลโดยตรงของทัศนศิลปที่มีตอการดํารงชีวิตของคนไทย

080 117 วรรณคดีวิจักษ 2(2-0-4) (Literary Appreciation)

ฝกการอานวรรณคดีไทยดีเดน โดยมุงสรางรสนิยม ความชื่นชม และความสํานึกในคุณคาของงานสรางสรรคทางวรรณศิลปโดยทั่วไป ศึกษาคุณลักษณะของวรรณคดีทั้งในสวนที่เปนสากลและในสวนที่เปนเอกลักษณของชาติ ทั้งนี้ใหสามารถแสดงความคิดเหน็เชิงวิเคราะหวิจารณเก่ียวกับวรรณกรรมที่อาน ได

080 119 อารยธรรมตะวันออก 2(2-0-4) (Eastern Civilization)

ศึกษาพัฒนาการของอารยธรรมจีน อินเดีย และอิสลาม ซึ่งมีสวนสําคัญในการหลอหลอมอารยธรรมในเอเชียตะวันออก เอเชียใต และเอเชียตะวันออกเฉียงใต การถายทอดและการผสมผสานระหวางอารยธรรมจีน อินเดีย อิสลาม กับวัฒนธรรมทองถิ่นอันกอใหเกิดลักษณะรวมกันและแตกตางกันไปตามสภาวะแหงพัฒนาการทางประวัติศาสตรของแตละภูมิภาค เนนศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางดานภูมิปญญา ลัทธิความเชื่อทางศาสนา วิทยาการ การสรางสรรคทางศิลปะ การเมืองการปกครอง เศรษฐกิจและสังคม จนถึงปจจุบัน

Page 32: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

31

080 126 มนุษยกับสิ่งแวดลอม 3(3-0-6) (Man and His Environment)

ศึกษาความสัมพันธระหวางมนุษยกับสิ่งแวดลอม ซึ่งอาจจําแนกเปนสิ่งแวดลอมที่เปนตัวมนุษย สิ่งแวดลอมที่เปนผลงานของมนุษยและสิ่งแวดลอมธรรมชาติ โดยพิจารณาอิทธิพลของสิ่งแวดลอมทั้งสามประเภทที่มีตอการปรับตัว วิวัฒนาการ และวัฒนธรรมของมนุษย อิทธิพลที่มนุษยมีตอสิ่งแวดลอม ซึ่งกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลง ทั้งในทางสรางสรรคและทําลาย ทั้งที่ตั้งใจและไมตั้งใจ หรือรูเทาไมถึงการณ ตลอดจนพิจารณาหาแนวปฏิบัติที่จะชวยยกระดับคุณภาพของชีวิตมนุษยใหสามารถดํารงอยูในสภาพแวดลอมทั้งในปจจุบัน และอนาคตไดอยางเหมาะสม ทั้งนี้เนนการยกตัวอยางจากสังคมไทย การประยุกตความรูตาง ๆ ไปใชกับสังคมไทย การไปศึกษาจากของจริงและการอภิปรายกลุมยอย

080 127 จิตวิทยาเบ้ืองตน 2(2-0-4) (Introduction to Psychology)

ศึกษาพ้ืนฐานของวิชาจิตวิทยา ความหมาย ประวัติและขอบขายของวิชาจิตวิทยา พฤติกรรม และการกอใหเกิดพฤติกรรมของมนุษยในสภาพแวดลอมตามธรรมชาติ การจูงใจ การรับรูบุคลิกภาพ ความขัดแยง การปรับตัว สุขภาพจิต และการนําวิชาจิตวิทยาไปใชใหเปนประโยชนในดานตาง ๆ

080 133 เศรษฐศาสตรในชีวิตประจําวัน 2(2-0-4) (Economics in Everyday Life)

ศึกษาภาพรวมของเศรษฐกิจในสังคมสมัยใหม โดยเฉพาะการทํางานของกลไกราคาในระบบตลาด และบทบาทของภาครัฐ ชุมชนและเอกชน เพ่ือเปนพ้ืนฐานในการวิเคราะหปรากฎการณทางเศรษฐกิจในชีวิตประจําวัน ภายใตกระแสการเปลี่ยนแปลงทางสังคม วัฒนธรรม การเมือง และพัฒนาการรวมสมัยอ่ืน ๆ

080 135 กฎหมายกับสังคม 2(2-0-4) (Law and Society)

ศึกษาปญหาของการรักษาระเบียบในสังคมมนุษย ความสัมพันธระหวางกฎหมายกับสังคม กลไก จุดประสงคและที่มาของกฎหมาย ขอบเขตและประเภทของกฎหมายที่เก่ียวของกับการดําเนินชีวิตประจําวัน กระบวนการยุติธรรมและระบบศาล รวมทั้งศึกษารัฐธรรมนูญ

Page 33: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

32

080 151 มนุษยกับวิทยาศาสตร 3(3-0-6) (Man and Sciences)

ศึกษาแนวความคิดพ้ืนฐานทางปรัชญาและเชิงประยุกตของวิทยาศาสตรทั้งในอดีต ปจจุบัน และอนาคต อิทธิพลของวิทยาศาสตรตอศาสตรอ่ืน ประโยชนและโทษของการนํา วิทยาศาสตรทางกายภาพและชีวภาพมาประยุกตใชใหสัมพันธ กับชีวิตประจําวันและสิ่งแวดลอม

080 176 ภาษากับการสื่อสาร 3(3-0-6) (Language and Communication)

ศึกษาหลักเกณฑและแนวความคิดที่เปนพ้ืนฐานของการสื่อสารและการใชภาษาเพ่ือการสื่อความหมายไปยังผูรับใหสัมฤทธิ์ผล ใหรูจักคิดและลําดับความคิดอยางมีเหตุผล ฝกการใชถอยคํา ประโยค สํานวน โวหาร ฝกการเตรียมและรวบรวมขอมูลในการสื่อสารตามจุดประสงค การใชภาษาในเชิงบรรยาย พรรณนา อธิบาย และอภิปราย

080 177 ภาษาอังกฤษ 1 3(2-2-5) (English I)

ทบทวนและฝกการใชภาษาอังกฤษทั้ง 4 ทักษะ คือ การฟง การพูด การอานและการเขียน ซึ่งนักศึกษาไดเรียนมาแลวในชั้นมัธยมศึกษา ฝกการฟง การพูดในเรื่องทั่วไป เนนฝกทักษะการอานซึ่งจําเปนในการศึกษาระดับอุดมศึกษา และฝกการเขียนใหสัมพันธกับเอกสารที่อาน

080 178 ภาษาอังกฤษ 2 3(2-2-5) (English II) วิชาบังคับกอน : 080 177 ภาษาอังกฤษ 1

ฝกการใชทักษะทั้ง 4 ในระดับที่สูงข้ึน และเนนทักษะการอาน โดยฝกอานเอกสารที่ยากข้ึน

080 179 ภาษาฝรั่งเศสเบ้ืองตน 1 3(2-2-5) (Basic French I)

ฝกทักษะผูเริ่มเรียนภาษาฝรั่งเศสในการฟง การพูด การอานและการเขียนที่ใชกันโดยทั่วไปในชีวิตประจําวัน โดยใชโสตทัศนศึกษา

Page 34: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

33

080 180 ภาษาฝรั่งเศสเบ้ืองตน 2 3(2-2-5) (Basic French II) วิชาบังคับกอน : 080 179 ภาษาฝรั่งเศสเบ้ืองตน 1

ฝกการฟง การพูด การอานและการเขียนตอจากรายวิชา 080 179 ภาษาฝรั่งเศสเบ้ืองตน 1

080 183 ภาษาเยอรมันเบ้ืองตน 1 3(2-2-5) (Basic German I)

ฝกทักษะผูเริ่มเรียนภาษาเยอรมันในการฟง การพูด การอาน และการเขียน ศึกษาไวยากรณเบ้ืองตนและรูปประโยคพ้ืนฐาน ฝกอานออกเสียงใหถูกตองตามหลักสัทศาสตร ฝกเขียนประโยคงาย ๆ ใหถูกตองตามหลักไวยากรณ และอักขรวิธี และฝกสนทนาเก่ียวกับชีวิตประจําวัน

080 184 ภาษาเยอรมันเบ้ืองตน 2 3(2-2-5) (Basic German II) วิชาบังคับกอน : 080 183 ภาษาเยอรมันเบ้ืองตน 1

ฝกการฟง การพูด การอาน และการเขียนตอจากรายวิชา 080 183 ภาษาเยอรมันเบ้ืองตน 1

080 187 ภาษาจีนเบ้ืองตน 1 3(2-2-5) (Basic Chinese I)

ศึกษาระบบเสียงภาษาจีนกลางทั้งหนวยเสียงสระ พยัญชนะ วรรณยุกต และสัทอักษรจีนระบบพินยิน (Pinyin) ศึกษาหลักการเขียนตัวอักษรจีนในระดับพ้ืนฐาน พรอมทั้งฝกการฟง การพูด การอาน และการเขียนจากคําศัพทที่เก่ียวกับธรรมชาติและสิ่งแวดลอมรอบๆ ตัวในชีวิตประจําวัน ศึกษาอักษรจีนอยางนอย 300 ตัว ศึกษาโครงสรางและรูปประโยคงาย ๆ

080 188 ภาษาจีนเบ้ืองตน 2 3(2-2-5) (Basic Chinese II) วิชาบังคับกอน : 080 187 ภาษาจีนเบ้ืองตน 1

ศึกษาคําศัพท โครงสรางและรูปประโยคพ้ืนฐานของภาษาจีน พรอมทั้งฝกการฟง การพูด การอาน และการเขียน ศึกษาอักษรจีนอยางนอย 800 ตัว

Page 35: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

34

080 189 ภาษาญี่ปุนเบ้ืองตน 1 3(2-2-5) (Basic Japanese I)

ฝกการอานออกเสียงและการเขียนอักษรฮิรากานะและอักษรคาตาคานะ ศึกษาหลักไวยากรณและรูปประโยคเบ้ืองตน ฝกการฟง การพูด การอาน และการเขียน เพ่ือใหสามารถใชในการสื่อสารไดอยางถูกตอง

080 190 ภาษาญี่ปุนเบ้ืองตน 2 3(2-2-5) (Basic Japanese II) วิชาบังคับกอน : 080 189 ภาษาญี่ปุนเบ้ืองตน 1

ศึกษาหลักไวยากรณและรูปประโยค ฝกการฟง การพูด การอานและการเขียนประโยคที่ซับซอนข้ึน

415 151 โลกเอเซียตะวันออกเฉียงใต 2(2-0-4) (Southeast Asian World)

ศึกษาการตั้งหลักแหลง ภูมิหลังทางประวัติศาสตรและวัฒนธรรม และพัฒนาการทางสังคมของภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใตตั้งแตสมัยกอนประวัติศาสตรจนถึงสงครามโลกครั้งที่ 2 ศึกษาการพัฒนาประเทศและการเปลี่ยนแปลงที่เกิดข้ึนในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 จนถึงปจจุบัน ทั้งในดานการเมือง เศรษฐกิจ สังคม ศิลปวัฒนธรรม และความสัมพันธกับตางประเทศ

449 106 การอนุรักษทรัพยากรและสิ่งแวดลอม 2(2-0-4) (Conservation of Resources and Environment)

ศึกษาความหมาย ลักษณะ ความสําคัญและประเภทของทรัพยากรและสิ่งแวดลอม ความสัมพันธระหวางทรัพยากรและสิ่งแวดลอมกับมนุษยในดานสังคม การเมือง เศรษฐกิจ กฎหมายและจริยธรรม แนวทางการแกปญหาและอนุรักษทรัพยากรและสิ่งแวดลอม โดยเนนใหตระหนักถึงคุณคาและมีจิตสํานึกตอการใชทรัพยากรและสิ่งแวดลอม โดยยกตัวอยางกิจกรรมที่สําคัญในระดับชุมชน ระดับชาติและระดับนานาชาติ

511 103 คณิตศาสตรสําหรับนักศึกษาวิทยาศาสตรชีวภาพ 3(3-0-6) (Mathematics for Biological Science Students) กราฟของสมการกําลังสองใน 2 ตัวแปร การหาอนุพันธและการอินทิเกรต

อนุกรมเทยเลอรและอนุกรมแมคลอริน สมการเชิงอนุพันธอันดับหนึ่ง การหาคําตอบของระบบสมการเชิงเสน

Page 36: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

35

550 101 การประยุกตคอมพิวเตอรขั้นพื้นฐานทางเภสัชศาสตร 2(1-3-2) (Basic Computer Applications in Pharmaceutical Sciences)

พ้ืนฐานการประยุกตคอมพิวเตอรทางเภสัชศาสตร โปรแกรมสําเร็จรูปที่เก่ียวของ และการประยุกตในงานเภสัชกรรม ทั้งการนําเสนอรายงาน การประมวลผล และการเก็บบันทึกขอมูล

550 101 Basic Computer Applications in Pharmaceutical Sciences 2(1-3-2) Basic principles of computer especially utilization of software in pharmaceutical fields; including concepts of data presentation, reporting, programming for application in pharmacy.

550 153 หลักการออกแบบทางเภสัชศาสตร 2(1-3-2) (Introductory Pharmaceutical Design) การออกแบบภาชนะบรรจุทางเภสัชภัณฑและเวชภัณฑ ตามขอกําหนดคุณสมบัติ และคุณลักษณะของการใชสอย พรอมดวยปฏิบัติการในหัวขอวิชาที่เก่ียวของ

550 153 Introductory Pharmaceutical Design 2(1-3-2) Appropriate design of pharmaceutical and medicinal packaging in

accordance with professional description and usages. 550 155 ภาษาอังกฤษสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร 1 3(2-2-5) (English for Pharmacy Students I) ฝกทักษะการพูดและการสื่อสาร โดยเนนการสื่อสารขอมูลทางวิทยาศาสตร สุขภาพ 550 155 English for Pharmacy Students I 3(2-2-5) Practicing skill in reading and speaking with emphasis on data or articles in

health sciences . 550 156 รูปแบบและเทคนิคของเภสัชภัณฑเบ้ืองตน 2(2-0-4) (Introduction to Pharmaceutical Dosage Forms and Technology)

เภสัชภัณฑรูปแบบตางๆ คําจํากัดความ ความหมาย การจําแนก ประเภท สวนประกอบสําคัญ การใชประโยชนทางเภสัชกรรม เทคนิคการเตรียมเบ้ืองตน

Page 37: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

36

550 156 Introduction to Pharmaceutical Dosage Forms and Technology 2(2-0-4) All pharmaceutical dosage forms including their definitions, classifications,

terminology, compositions, application in pharmacy and basic techniques of preparation.

550 158 ภาษาอังกฤษสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร 2 3(2-2-5) (English for Pharmacy Students II) ฝกทักษะการเขียนบทความ และการนําเสนอขอมูลบทความทางวิทยาศาสตร

สุขภาพ 550 158 English for Pharmacy Students II 3(2-2-5) Practicing skill in reading, writing, briefing and concluding, and

presenting, with emphasis on literatures, journal, text books, data or articles in health sciences.

รหัส 554 เปนรายวิชาที่เปดบริการสําหรับนักศึกษาคณะอ่ืน ๆ ของมหาวิทยาลัยศิลปากร

ซึ่งอาจเปดบริการใหนักศึกษาเภสัชศาสตรได โดยมีเงื่อนไขและผานความเห็นชอบจากคณะกรรมการประจําคณะฯ แลว

554 101 สมุนไพรพื้นฐาน 3(3-0-6) (Herbal Medicines)

พืชและผลิตภัณฑธรรมชาติอ่ืนๆ ที่มีความสัมพันธตอชีวิตประจําวัน และปจจัย 4 ของมนุษย

554 101 Herbal Medicines 3(3-0-6) Plants and natural products concerning living and surviving of human life

with emphasis on medicinal, food survival and poisonous plants. 554 102 ความรูเรื่องยา 3(3-0-6) (Drug Education)

ยาบําบัดโรคโดยทั่วไป โดยจะเรียนรูเก่ียวกับคุณสมบัติทั่วไปของยาบําบัดโรค แหลงที่มาของยา การแพรกระจายของยา ขนาดใช ความแรง พิษ การแบงประเภทของยา การใชยาในทางที่ถูกตอง การปองกันการใชยาผิด ยาสามัญประจําบาน ยาที่รับจากรานขายยาโดยไมตองใชใบสั่งยา สารเสพติด กฎหมายและระเบียบที่เก่ียวของกับยาที่บุคคลทั่วไปควรทราบ ลักษณะการใชยาในสังคมไทย

Page 38: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

37

554 102 Drug Education 3(3-0-6) General knowledges about drugs with emphasis on general properties,

sources, concepts, drug action, distribution, dosages, potency, toxicity, categorization, rational uses, safety measure, household remedies, over – the – counter drugs, drug abuses, laws and regulations, behavioural drug use patterns in Thai society.

554 103 มนุษยกับสารพิษ 3(3-0-6) (Man and Toxic Substances)

พิษจากสารเคมี อาหาร และสิ่งอ่ืน ๆ ที่พบทั่วไปในชีวิตประจําวัน รวมทั้งการปฐมพยาบาลเบ้ืองตน กฎหมายที่เก่ียวของ การปองกัน และการเลือกใชสารอุปโภคบริโภค เพ่ือใหผูใชปลอดภัยจากพิษเหลานั้น

554 103 Man and Toxic Substances 3(3-0-6)

Fundamental knowledge of toxicity from chemicals, food and others encountered in everyday life, first-aid treatments, relevant laws, prevention and selection of the consuming products in order to safeguard consumers from being intoxicated.

554 104 อาหารเพื่อสุขภาพ 3(3-0-6) (Food for Health)

ความรูพ้ืนฐานเก่ียวกับความตองการอาหารของรางกาย องคประกอบของอาหาร สุขลักษณะของอาหารกับสุขภาพ อาหารที่ไมไดสัดสวนกับโรค อุปนิสัยการรับประทานอาหารกับสุขภาพ ปญหาโภชนาการ

554 104 Food for Health 3(3-0-6)

Introduction to bodily need of food, compositions of food, food hygiene and health, imbalance diets and diseases, eating patterns and health: with special emphasis on prevention and treatment of the community nutritional problems.

Page 39: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

38

556 101 วิทยาศาสตรชีวภาพสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร 3(3-0-6) (Biological Sciences for Pharmacy Students) การประเมินผล : S / U

พ้ืนฐานชีวิตระดับเซลลและโมเลกุลของจุลชีพ เนื้อเย่ือพืชและสัตวที่เก่ียวของกับปญหาสุขภาพ พ้ืนฐานโครงสรางของรางกายทั้งดานกายวิภาคศาสตร และ สรีรวิทยาของระบบ ตาง ๆ ในรางกายรวมถึงหลักการทางชีวเคมีที่เก่ียวของ

556 101 Biological Sciences for Pharmacy Students 3(3-0-6) Course Evaluation : S/U

Basic cellular and molecular biology of health related micro organism, plant and animal tissue, basic anatomy and physiology of human cells, tissues and organ systems, including related biochemical principles.

556 102 วิทยาศาสตรกายภาพสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร 3(3-0-6) (Physical Sciences for Pharmacy Students) การประเมินผล : S / U

การศึกษาเชิงบูรณาการของวิทยาศาสตรในระดับอะตอมและโมเลกุล เนนหลักการทางคณิตศาสตรที่เก่ียวของกับการเปลี่ยนแปลงเชิงปริมาณของปรากฎการณตางๆ ทางเภสัชศาสตร หลักการทางเทอรโมไดนามิกส หลักการทางฟสิกส และหลักการทางเคมีระดับอะตอมและโมเลกุล ที่ ใชอธิบายการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของปรากฎการณทางเภสัชศาสตร

556 102 Physical Sciences for Pharmacy Students 3(3-0-6) Course Evaluation : S/U

Integrated study of physics, mathematics, thermodynamics, and chemistry at both atomic and molecular levels in terms of their applications in pharmaceutical phenomena.

556 103 ปฏิบัติการวิทยาศาสตรชีวภาพสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร 1(0-3-0) (Biological Sciences Laboratory for Pharmacy Students) การประเมินผล : S / U

ปฏิบัติการที่สอดคลองกับเนื้อหาในรายวิชา 556 101 วิทยาศาสตรชีวภาพสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร

Page 40: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

39

556 103 Biological Sciences Laboratory for Pharmacy Students 1(0-3-0) Course Evaluation : S/U

Laboratory practice to understand basic techniques and contents related to 556 101 Biological Sciences for Pharmacy Students.

556 104 ปฏิบัติการวิทยาศาสตรกายภาพสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร 1(0-3-0) (Physical Sciences Laboratory for Pharmacy Students) การประเมินผล : S / U ปฏิบัติการที่สอดคลองกับเนื้อหาในรายวิชา 556 102 วิทยาศาสตรกายภาพ

สําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร

556 104 Physical Sciences Laboratory for Pharmacy Students 1(0-3-0) Course Evaluation : S/U

Laboratory practice to understand basic techniques and contents related to 556 102 Physical Sciences for Pharmacy Students. 563 251 พื้นฐานสาธารณสุข 2(2-0-4) (Basic Public Health) พ้ืนฐานดานเวชศาสตรสังคม ระบาดวิทยา การสถิติพยากรณชีพ การวาง แผนครอบครัว ปญหาประชากร โภชนามัย สุขภาพจิต อนามัยสิ่งแวดลอม อาชีวอนามัยสุขศึกษา และระบบสุขภาพแหงชาติ

563 251 Basic Public Health 2(2-0-4) Basic knowledges in medical demography, epidemiology, biostatistics, family plannings, population problems, nutrition, mental health and hygiene, ecological environments, and national health system. 565 151 ความรูเรื่องยาบําบัดโรค 3(3-0-6) (Drug Knowledges)

จุดมุงหมาย แหลงกําเนิด และการจัดประเภทของยาตามหลักเภสัชวิทยา หลักการการเตรียมยาจากแหลงกําเนิด วิธีใชยา หลักการการออกฤทธิ์ และการทําลายฤทธของยาในรางกาย พิษและอันตรายจากการใชยาโดยทั่ว ๆ ไป กลวิธานการออกฤทธิ์ของยา สรรพคุณและวิธีใชยาสามัญประจําบาน

Page 41: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

40

565 151 Drug Knowledges 3(3-0-6)

Pharmacological concepts and origins of drugs and drugs actions, classification and categorization, principles and conceptual aspects of drug preparations from resources ; dosages, indications and rational uses: principles and concepts of drug actions, potency, toxicity and safety measures, drugs abuses, mechanisms of action, therapeutic values and indications of household remedies.

566 101 เภสัชพฤกษศาสตร 2(1-3-2) (Pharmaceutical Botany)

การจําแนกพวก การตรวจสอบ การพิสูจนเอกลักษณเบ้ืองตนทั้งทางเภสัชเคมี และเภสัชชีวภาพของเภสัชพฤกษตาง ๆ ที่มีคุณคาทางเศรษฐกิจ การบําบัดรักษาและปองกัน และระบบนิเวศ โดยเนนพันธุเภสัชพฤกษที่มีอยูในประเทศและภูมิภาคใกลเคียง

566 101 Pharmaceutical Botany 2(1-3-2)

Classification and identification of medicinal plants of economic, therapeutic and ecological potentials using chemical and biochemical properties, emphasizing on medicinal plants of Thailand and neighboring countries.

Page 42: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

41

17.5.2 คําอธิบายรายวิชาหมวดวิชาเฉพาะ

- กลุมวิชาพื้นฐานวิชาชีพ

512 101 ชีววิทยาทั่วไป 1 3(3-0-6) (General Biology I) วิชาบังคับกอน : * 512 103 ปฏิบัติการชีววิทยาทั่วไป 1 * อาจเรียนพรอมกันได

แนวคิดทางชีววิทยา พ้ืนฐานของชีวิตระดับโมเลกุล การจัดองคประกอบระดับเซลล เนื้อเย่ือและอวัยวะ พันธุกรรม การจัดการยีนและวิวัฒนาการ การสืบพันธุและการเจรญิของสัตว ระบบภูมิคุมกันของรางกาย มนุษยกับระบบนิเวศ การปรับตัวและพฤติกรรมของสัตว เทคโนโลยีทางพืช จุลินทรียและการประยุกต

512 102 ชีววิทยาทั่วไป 2 3(3-0-6) (General Biology II) วิชาบังคับกอน : * 512 104 ปฏิบัติการชีววิทยาทั่วไป 2 * อาจเรียนพรอมกันได

ความหลากหลายทางชีวภาพ เนื้อเย่ือและอวัยวะของพืช การหายใจระดับเซลลและการสังเคราะหดวยแสงในพืช โครงสรางและหนาที่ของระบบและอวัยวะตาง ๆ ของสัตวรวมทั้งกลไกควบคุมการทํางานของรางกาย

512 103 ปฏิบัติการชีววิทยาทั่วไป 1 1(0-3-0) (General Biology Laboratory I) วิชาบังคับกอน : * 512 101 ชีววิทยาทั่วไป 1 * อาจเรียนพรอมกันได ปฏิบัติการที่สอดคลองกับเนื้อหาในรายวิชา 512 101 ชีววิทยาทั่วไป 1 512 104 ปฏิบัติการชีววิทยาทั่วไป 2 1(0-3-0) (General Biology Laboratory II) วิชาบังคับกอน : * 512 102 ชีววิทยาทั่วไป 2 * อาจเรียนพรอมกันได ปฏิบัติการที่สอดคลองกับเนื้อหาในรายวิชา 512 102 ชีววิทยาทั่วไป 2

Page 43: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

42

513 101 เคมีทั่วไป 1 3(3-0-6) (General Chemistry I) ปริมาณสัมพันธ โครงสรางอะตอมและสมบัติของธาตุตามตารางธาตุ พันธะเคมี

แกส ของแข็ง เทอรโมไดนามิกส 513 102 เคมีทั่วไป 2 3(3-0-6) (General Chemistry II) วิชาบังคับกอน : 513 101 เคมีทั่วไป 1

ของเหลวและสารละลาย สมดุลเคมีและสมดุลของไอออน เคมีไฟฟา จลนเคมี เคมีอินทรียเบ้ืองตน

513 220 เคมีฟสิคัล 3(3-0-6) (Physical Chemistry) วิชาบังคับกอน : (1) 511 102 แคลคูลัส 2 513 102 เคมีทั่วไป 2 หรือ (2) 511 103 คณิตศาสตรสําหรับนักศึกษาวิทยาศาสตรชีวภาพ 513 102 เคมีทั่วไป 2

เทอรโมไดนามิกสของแกสและสารละลาย สมดุลเคมีและสมดุลของไอออน สาร ละลาย อิเล็กโทรไลต จลนเคมี ระบบของอนุภาคขนาดใหญ หลักของเคมีนิวเคลียรและ การประยุกตใชในทางชีวภาพ รังสีแมเหล็กไฟฟากับสสาร

513 250 เคมีอินทรีย 3(3-0-6) (Organic Chemistry) วิชาบังคับกอน : 513 102 เคมีทั่วไป 2

เคมีของสารประกอบอะลิฟาติก สารประกอบอะโรมาติกและสารประกอบที่มีหมูฟงกชันหลายหมู คารโบไฮเดรต กรดอะมิโน โปรตีนและลิปด อัลตราไวโอเลตและอินฟราเรดสเปกโทรสโกปเบ้ืองตน

514 101 ฟสิกสทัว่ไป 1 3(3-0-6) (General Physics I)

กลศาสตรของอนุภาคและวัตถุเกร็ง สมบัติของสสาร กลศาสตรของของไหล ทฤษฎีจลนของแกส เทอรโมไดนามิกส การสั่นและคลื่นแมเหล็กไฟฟา

Page 44: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

43

514 102 ฟสิกสทั่วไป 2 3(3-0-6) (General Physics II)

ไฟฟากระแส อิเล็กทรอนิกสเบ้ืองตน ทัศนศาสตร ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษและควอนตัมฟสิกส

514 105 ปฏิบัติการฟสิกสสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร 1(0-3-0) (General Physics Laboratory for Pharmacy Students) วิชาบังคับกอน : 514 101 ฟสิกสทั่วไป 1 * 514 102 ฟสิกสทั่วไป 2 * อาจเรียนพรอมกันได

การทดลองสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตรที่สอดคลองกับเนื้อหาในรายวิชา 514 101 ฟสิกสทั่วไป 1 และ 514 102 ฟสิกสทั่วไป 2

515 203 สถิติสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร 3(2-2-5) (Statistics for Pharmacy Students)

สถิติและความนาจะเปนเบ้ืองตน เทคนิคการสุมตัวอยางเบ้ืองตน การประมาณคา การทดสอบสมมติฐาน การถดถอยอยางงายและสหสัมพันธ การทดสอบโดยวิธีการทางสถิติที่ไมใชพารามิเตอร การวิเคราะหความแปรปรวนทางเดียวและสองทาง การวางแผนการทดลองเบ้ืองตน

- กลุมวิชาเฉพาะดาน

550 102 ปฏิบัติการพื้นฐานทางเภสัชศาสตร 1(0-3-0) (Basic Pharmaceutical Laboratory) ปฎิบัติการพ้ืนฐานทางเภสัชศาสตรเก่ียวกับเทคนิคเบ้ืองตนที่สําคัญทางดานชีว เภสัชศาสตร เทคโนโลยีเภสัชกรรม เภสัชเคมีและผลิตภัณฑทางธรรมชาต ิ 550 102 Basic Pharmaceutical Laboratory 1(0-3-0)

Basic pharmaceutical laboratory techniques in biopharmacy, pharmaceutical technology, pharmaceutical chemistry and natural products.

Page 45: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

44

550 151 เภสัชนิเทศ 1(1-0-2) (Pharmacy Orientation)

ประวัติการเภสัชกรรม มารยาทวิชาชีพ โครงสรางหลักสูตรเภสัชศาสตร ประเทศไทย บทบาทของเภสัชกรในวิชาชีพสาขาตางๆ ทั้งภาครัฐบาลและภาค เอกชน ความสัมพันธระหวางวิชาชีพในสายสาธารณสุข ตําราและวรรณกรรมทางเภสัชศาสตร การใชหองสมุดทางเภสัชศาสตร เปนวิชาที่มุงหมายใหเปนการปูพ้ืนฐานแกนักศึกษาที่จะเขาสูวิชาชีพเภสัชศาสตร

550 151 Pharmacy Orientation 1(1-0-2) An introductory course for pharmacy students about history of pharmacy,

professional ethics; structure of pharmaceutical curricula in Thailand; roles of pharmacists in various areas of concentration, both in government and private sectors; inter-relationship among professions in public health; pharmaceutical literatures.

550 201 ความปลอดภัยของอาหารและนํ้าดื่ม 3(1-6-2) (Safety of Foods and Drinking Water) วิชาบังคับกอน : 561 203 ชีวเภสัชศาสตร 5

สวนประกอบของอาหารที่มีประโยชน สิ่งเจือปนในอาหารและน้ําด่ืม ภาชนะบรรจุ มาตรฐานในการควบคุมคุณภาพอาหารและน้ําด่ืม การตรวจวิเคราะหที่เก่ียวของ โดยเนนการคุมครองผูบริโภคตามกําหนดในกฎเกณฑ ขอบังคับ และระเบียบที่เก่ียวของ

550 201 Safety of Foods and Drinking Water 3(1-6-2) Pre-requisite : 561 203 Biopharmacy V Useful components of food, contaminants in food and water, food

containers, quality control standards of food and water, related methods of analysis, emphasizing consumer protection stated in related rules and standards.

550 202 โภชนาการและโภชนบําบัด 2(2-0-4) (Nutrition and Nutritional Therapy) วิชาบังคับกอน : 561 202 ชีวเภสัชศาสตร 4 สารอาหาร ความตองการประจําวัน พลังงาน หลักโภชนาการที่ถูกตอง อาหาร

สําหรับผูปวยโรคหัวใจ เบาหวาน โรคอวน และอ่ืน ๆ ภาวะทุพโภชนาการ การปองกันและบําบัด

Page 46: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

45

550 202 Nutrition and Nutritional therapy 2(2-0-4) Pre-requisite : 561 202 Biopharmacy IV

Nutrients, daily needs and allowances, energy utilization and conservation, appropriate and proper nutrition for patients suffering from cardiac diseases, diabetis mellitus, obesity and others; malnutrition, preventives and treatments.

550 203 การควบคุมคุณภาพยา 4 2(2-0-4) (Pharmaceutical Quality Control IV) วิชาบังคับกอน : 561 203 ชีวเภสัชศาสตร 5

การควบคุมคุณภาพของยาโดยใชวิธีทางชีวภาพโดยเนนหลักการดานจุลชีว วิเคราะหของยาปฏิชีวนะ วิตามิน และอ่ืนๆ การทดสอบประสิทธิภาพทางชีวภาพของยา การทดสอบความเปนพิษทั่วไป และความปราศจากเชื้อของยา

550 203 Pharmaceutical Quality Control IV 2(2-0-4) Pre-requisite : 561 203 Biopharmacy V Quality control and assurance of pharmaceutical products utilizing biological

methods, emphasizing micro-bioassays of antibiotics, vitamins, and others, determination of bioavailability, general toxic effects and sterility.

550 204 ปฏิบัติการการควบคุมคุณภาพยา 4 1(0-3-0) (Pharmaceutical Quality Control Laboratory IV) วิชาบังคับกอน : 550 203 การควบคุมคุณภาพยา 4 * * อาจเรียนพรอมกันได

ปฏิบัติการเก่ียวกับการควบคุมคุณภาพของยาโดยใชวิธีทางชีวภาพ รวมถึงจุลชีววิเคราะหของยาปฏิชีวนะ วิตามิน และอ่ืน ๆ การทดสอบประสิทธิภาพทางชีวภาพของยา การทดสอบความเปนพิษทั่วไป และความปราศจากเชื้อของยา

550 204 Pharmaceutical Quality Control Laboratory IV 1(0-3-0) Pre-requisite : 550 203 Pharmaceutical Quality Control IV * *can be co-requisite Laboratory study of pharmaceutical quality control utilizing biological

methods, including micro-bioassays of antibiotics, vitamins, and others, determination of bioavailability, general toxic effects and sterility.

Page 47: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

46

550 205 การเปลี่ยนแปลงทางชีวภาพของยา 1 3(3-0-6) (Drug Biotransformation I) วิชาบังคับกอน : 562 321 ชีวเภสัชกรรมและเภสัชจลนพลศาสตร

หลักการเปลี่ยนรูปยาในรางกาย วัตภาคที่ 1 และที่ 2 ของการเปลี่ยนรูป ระบบ เอนไซม ออกซิเจนกับการเปลี่ยนรูปยาและสาร การเปลี่ยนแปลงทางชีวภาพนอกตับของยา วิถีการเปลี่ยนรูปตาง ๆ ของยาหลากรูปแบบพรอมกลวิธาน

550 205 Drug Biotransformation I 3(3-0-6) Pre-requisite : 562 321 Biopharmaceutics & Pharmacokinetics Transformation of drugs in the body, phase I, phase II and enzymes

involving in drug biotransformation, oxygen and transformation of drugs and substances, extrahepatic biotransformation of drugs, biotransformation pathways and mechanisms of drug in various dosage forms.

550 206 การเปลี่ยนแปลงทางชีวภาพของยา 2 3(3-0-6) (Drug Biotransformation II) วิชาบังคับกอน : 550 205 การเปลี่ยนแปลงทางชีวภาพของยา 1

ปจจัยตางๆ ทางสรีรภาพและพยาธิสภาพที่มีผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลงของยา การชักนําและการยับย้ังการเปลี่ยนรูปหรือสารของยา การเปลี่ยนแปลงทางชีวภาพของยาที่เปนพ้ืนฐานของอันตรกิริยาระหวางยาตอยา และยาตอสารหรืออาหาร การประยุกตความรูเก่ียวกับการเปลี่ยนแปลงทางชีวภาพของยากับการตั้งสูตรตํารับยา รูปแบบเภสัชจลนพลศาสตรของยา การประเมินคุณคาของยาเชิงบําบัด

550 206 Drug Biotransformation II 3(3-0-6) Pre-requisite : 550 205 Drug Biotransformation I

Physiological and pathological factors affecting drug biotransformation, induction and inhibition, drug biotransformation resulting in drug-drug interaction, drug-substance or drug-food interaction, application of drug biotransformation in drug formulation, pharmacokinetics, and evaluation of drug therapy.

550 207 ความสัมพันธระหวางโภชนาการและยา 2(2-0-4) (Nutrition and Drug Interactions) วิชาบังคับกอน : 562 321 ชีวเภสัชกรรมและเภสัชจลนพลศาสตร

ศึกษาผลกระทบระหวางยาและอาหาร อิทธิพลของยาตอเมตาบอลิสมและความ ตองการอาหารของผูปวย และภาวะโภชนาการของผูปวยที่มีผลตอเมตาบอลิสมของยา

Page 48: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

47

550 207 Nutrition and Drug Interactions 2(2-0-4)

Pre-requisite : 562 321 Biopharmaceutics and Pharmacokinetics Study of food-drug interaction effects including effects of drug on food

metabolism and requirement in patient, and effects of patient nutrition on drug metabolism.

550 208 การประเมินภาวะโภชนาการ 2(1-3-2) (Nutritional Assessment) วิชาบังคับกอน : 561 202 ชีวเภสัชศาสตร 4

การประเมินภาวะโภชนาการของบุคคลโดยศึกษาอาหารที่รับประทาน การวัดทางชีวเคมี ทางคลินิค และการวัดสัดสวนตางๆของรางกาย โดยครอบคลุมโรค และการปองกันภาวะทุพโภชนาการ

550 208 Nutritional Assessment 2(1-3-2) Pre-requisite : 561 202 Biopharmacy IV Evaluation of nutrition status in individuals; view on food intakes,

biochemical and clinical measurements, and body size index, including disease and malnutrition prevention.

550 209 โภชนาการของเกลือแรและวิตามิน 2(1-3-2) (Minerals and Vitamins in Nutrtion) วิชาบังคับกอน : 561 102 ชีวเภสัชศาสตร 2

ความรูใหมดานแหลงอาหารที่รางกายจะนําไปใช คุณคาทางโภชนาการและความตองการเกลือแรและวิตามิน ผลจากการขาดหรือไดรับเกลือแรและวิตามินมากเกินไป ตลอดจนการวิเคราะหหาสารนี้ในอาหาร

550 209 Minerals and Vitamins in Nutrition 2(1-3-2)

Pre-requisite : 561 102 Biopharmacy II Minerals and vitamins; novel data of usable food sources, nutritional value and requirements, effects of malnutrition and overuptake, including content analysis in food.

Page 49: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

48

550 210 พยาธิวิทยาทางภูมิคุมกัน 3(3-0-6) (Immunopathology) วิชาบังคับกอน : 561 203 ชีวเภสัชศาสตร 5

พยาธิวิทยาของระบบภูมิคุมกันที่เก่ียวของและมีผลตอระบบการทํางานของระบบตาง ๆ ในรางกาย รวมทั้งการเกิดโรคภูมิคุมกันตอตานตัวเอง

550 210 Immunopathology 3(3-0-6) Pre-requisite : 561 203 Biopharmacy V

Immunological pathology involve in systemic functions and autoimmune disease.

550 211 อุปกรณและวัสดุการแพทย 2(1-3-2) (Medical Equipment and Accessories)

อุปกรณและวัสดุการแพทยที่ใชในกระบวนการบําบัดรักษาผูปวย เนนการเรียกชื่อ ประโยชนใชสอย รวมถึงการบํารุง การดูแล และการเก็บรักษา

550 211 Medical Equipment and Accessories 2(1-3-2) Medical equipment and accessories, with emphasis on their usage,

handling, and storage. 550 212 ยาฉีดผสมทางหลอดเลือดดํา 2(1-3-2) (Intravenous Admixture ) วิชาบังคับกอน : 567 224 เทคโนโลยีเภสัชกรรม 4

ความเก่ียวของระหวางเทคนิคเภสัชกรรมกับการเติมน้ํายาตาง ๆ ลงในน้ํายาปริมาตรมากซึ่งใหแกผูปวยทางหลอดเลือดดํา เนนเทคนิคพิเศษที่ใชในระบบตาง ๆ ของการเติมตัวยาลงในน้ํายาปริมาตรมาก ความเขากันไมไดของตัวยาที่ใช ความคงตัวของน้ํายาที่เตรียมเสร็จ และแนวทางในการจัดตั้งบริการนี้ข้ึนใน โรงพยาบาล ตลอดจนการใหบริการจัดเตรียมสารอาหารที่ใหทางหลอดเลือดดํา

550 212 Intravenous Admixture 2(1-3-2) Pre-requisite : 567 224 Pharmaceutical Technology IV Preparation of intravenous admixture, focusing on preparation process,

incompatability, stability, and concepts in establishing the services for intravenous admixture and parenteral nutrition in the hospital.

Page 50: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

49

550 213 รังสีเภสัชภัณฑ 2(2-0-4) (Radiopharmaceuticals)

สารกัมมันตภาพรังสี ความปลอดภัยจากรังสี การออกแบบและจัดเตรียมเภสัชภัณฑ รังสี และการใชเภสัชภัณฑรังสีสําหรับการวินิจฉัยและรักษาโรคในผูปวย

550 213 Radiopharmaceuticals 2(2-0-4) Radioactive agents, safety and toxicity, preparations and use of

radiopharmaceutical products diagnosis for treatment in pateints. 550 215 ระบาดวิทยาทางเภสัชศาสตร 3(2-3-4) (Pharmacoepidemiology) วิชาบังคับกอน : 080 144 หลักการวิจัยเบ้ืองตน 563 251 พ้ืนฐานสาธารณสุข

พฤติกรรมการบริโภคยาของประชาชนทั้งโดยการสั่งจายโดยบุคลากรทางการแพทย และโดยวิธีการอ่ืน ๆ ทั้งนี้ อาศัยหลักการทางระบาดวิทยา เพ่ือวิเคราะหถึงประสิทธิภาพ ประโยชนในเชิงสัมพันธกับภาวะทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมของประเทศ ปญหาเรื่องการใชยา ผลกระทบตอปจเจกบุคคล และสังคมสวนรวม ตลอดจนการหาแนวทางการปองกันและการแกไข

550 215 Pharmacoepidemiology 3(2-3-4) Pre-requisite : 080 144 Principles of Research 563 251 Basic Public Health Study of drug consumers' behavior by using concepts of epidemiology ;

including evaluation of effectiveness based on socioeconomic status and culture ; rational use of drugs, individual and social impact, as well as preventive measures and problem solving.

550 216 เศรษฐศาสตรดานยา 2(2-0-4) (Pharmacoeconomics) วิชาบังคับกอน :563 255 การบริหารเภสัชกิจเบ้ืองตน 2 หลักการของเศรษฐศาสตรที่สามารถนํามาประยุกตในงานบริการสาธารณสุข บริการ

ทางเภสัชกรรม ระบบยา และเภสัชภัณฑ โดยเนนนโยบายการผลิตบุคลากร สาธารณสุข อุตสาหกรรม ตลาดยา การกําหนดราคายา การคํานวนตนทุนยา การบริการสาธารณสุขและการประเมินยา

Page 51: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

50

550 216 Pharmacoeconomics 2(2-0-4) Pre-requisite : 563 255 Basic Pharmacy Administrations II Application of economic concepts in health services, pharmaceutical

activities, drug system and pharmaceutical products; emphasizing on human resource management policy, pharmaceutical industry, marketing, and price regulation ; economic evaluation methods of health care and services.

550 220 ยาใหมและยาปจจุบัน 2(2-0-4) (New Drugs and Current Drugs) วิชาบังคับกอน : 565 242 เภสัชวิทยา 2

ติดตามความกาวหนาของยาใหมในแงคุณสมบัติทางเภสัชจลนศาสตร กลวิธานการออกฤทธิ์ของยา สรรพคุณ วิธีใช ผลไมพึงประสงค ขอควรระวัง ขอหามใช และปฏิกิริยาระหวางยา โดยเปรียบเทียบกับยาที่มีใชในปจจุบัน

550 220 New Drugs and Current Drugs 2(2-0-4) Pre-requisite : 565 242 Pharmacology II New drug development and comparative evaluation with currently available

products on pharmacokinetics, pharmacodynamics, therapeutic indication, dosage form and administration, adverse reaction and drug interaction.

550 221 เภสัชเวทประยุกต 2(2-0-4) (Applied Pharmacognosy) วิชาบังคับกอน : 565 242 เภสัชวิทยา 2 566 211 เภสัชเวท 2

การประยุกตความรูทางเภสัชเวทกับสถานการณการใชสมุนไพรในประเทศไทย โดยมุงเนนผลิตภัณฑที่ไดรับความสนใจในประเทศ การผสมผสานความรูดานการแพทยแผนปจจุบันกับการแพทยพ้ืนบาน การเลือกขอมูลและแนะนําการใชผลิตภัณฑไดอยางสมเหตุสมผลโดยอาศัยขอมูลทางวิทยาศาสตรสนับสนุน

550 221 Applied Pharmacognosy 2(2-0-4) Pre-requisite : 565 242 Pharmacology II 566 211 Pharmacognosy II

Application of pharmacognostic knowledge for current use of medicinal plants in Thailand emphasizing on products frequently used in the country: integration of both modern medical knowledge and indigeneous knowledge ;

Page 52: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

51

selection of appropiate information and rational counselling based on scientific evidences.

550 222 เทคโนโลยีชีวภาพระดับโมเลกุลสําหรับเภสัชกร 3(3-0-6) (Molecular Biotechnology for Pharmacists) วิชาบังคับกอน : 561 211 ชีววัตถ ุ

หลักการของเทคโนโลยีชีวภาพระดับโมเลกุล เทคโนโลยีของดีเอนเอสายพันธุผสม การวิจัยระดับโมเลกุล การควบคุมการแสดงออกของยีน การสรางโปรตีนตางชนิด วิศวกรรมโปรตีน การผลิตสารที่ใชรักษา ปองกัน และวินิจฉัยโรคในเซลลชั้นต่ําและเซลลชั้นสูง การนําอนูเทคโนโลยีชีวภาพไปใชในการรักษาโรค รวมทั้งการกํากับดูแล และการใชประโยชนจากอนูเทคโนโลยีชีวภาพ

550 222 Molecular Biotechnology for Pharmacists 3(3-0-6) Pre-requisite : 561 211 Biological Products

Principles of molecular biotechnology, recombinant DNA technology, molecular biology researches, regulation of gene expression, synthesis of various proteins, protein engineering, product engineering for use in therapy, prevention and diagnosis in primitive and higher cells; including biotechnology application in therapy.

550 223 การควบคุมคุณภาพยา 3 4(2-6-4) (Pharmaceutical Quality Control III) วิชาบังคับกอน : 564 231 การควบคุมคุณภาพยา 2

หลักการและเทคนิคข้ันสูงที่มีความซับซอนมากข้ึนในการวิเคราะหเภสัชภัณฑ โดยเนนการใชเครื่องมือข้ันสูงที่มีความซับซอน

550 223 Pharmaceutical Quality Control III 4(2-6-4) Pre-requisite : 564 231 Pharmaceutical Quality Control II Principles and advanced techniques in pharmaceutical analysis focusing

on the application of sophisticated instruments. 550 224 การควบคุมคุณภาพอาหารและเครื่องสําอาง 4(3-3-6) (Pharmaceutical Quality Control of Food and Cosmetics) วิชาบังคับกอน : 564 231 การควบคุมคุณภาพยา 2

Page 53: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

52

การควบคุมคุณภาพและมาตรฐานอาหารและเครื่องสําอาง โดยการพิสูจนเอกลักษณ และวิเคราะหหาปริมาณวัตถุเจือปนและสารปนเปอนในอาหาร และเครื่องสําอาง รวมทั้งสารสําคัญในเครื่องสําอาง

550 224 Pharmaceutical Quality Control of Food and Cosmetics 4(3-3-6) Pre-requisite : 564 231 Pharmaceutical Quality Control II Quality control of food and cosmetics by identification and quantitative

analysis of active ingredients and impurities. 550 225 การวิเคราะหยาในสารชีวภาพ 4(3-3-6) (Biomedical Analysis) วิชาบังคับกอน : 564 231 การควบคุมคุณภาพยา 2

หลักการ เทคนิค กระบวนการและข้ันตอนของการวิเคราะหหาปริมาณตัวยาสําคัญ และ/หรือเมตาโบไลทของตัวยาสําคัญในสารชีวภาพ โดยเนนการรูจักคิดคน การแปลผล การวางแผน และการพัฒนากระบวนการวิเคราะห

550 225 Biomedical Analysis 4(3-3-6) Pre-requisite : 564 231 Pharmaceutical Quality Control II

Principles, techniques and methods of the quantitative analysis of drugs and/or their metabolites in biological fluids, focusing on inquisition, data evaluation, planning and developing of analytical process.

550 226 เภสัชเคมีวิเคราะหของสารโภชนบําบัด 3(2-3-4) (Pharmaceutical Chemistry Analysis of Dietotherapeutics) วิชาบังคับกอน : 564 231 การควบคุมคุณภาพยา 2 องคประกอบของสารที่ใชในโภชนบําบัด แหลงที่มา วิธีการเก็บรักษา การควบคุมคุณภาพ การตรวจวิเคราะห การใชเทคนิคพิเศษในการตรวจดัชนีสลาย- ตัว การพิสูจนชนิด การตรวจสารปรุงแตง รวมถึงชนิดและปริมาณของสารที่ใช 550 226 Pharmaceutical Chemistry Analysis of Dietotherapeutics 3(2-3-4) Pre-requisite : 564 231 Pharmaceutical Quality Control II Compositions of the substances used in dietotherapeutics in the aspects of

sources, storage, quality control and analysis and uses of special techniques in determination of stability index as well as identification and determination of other ingredients

Page 54: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

53

550 227 การตรวจสอบฤทธ์ิกลายพันธุของยาและสารพิษในสิ่งแวดลอม 3(1-6-2) (Mutation Evaluation of Drugs and Environmental Toxic Substances) วิชาบังคับกอน : 565 243 พิษวิทยา

การทดสอบและประเมินผลฤทธิ์กลายพันธุของยาและสารพิษในสิ่งแวดลอม โดยใชเทคนิควิธีและรูปแบบที่เหมาะสม ความจําเปนในการทดสอบ ประโยชนและโทษที่มีผลตอมนุษยรวมถึงสิ่งแวดลอม

550 227 Mutation Evaluation of Drugs and Envirommental Toxic Substances 3(1-6-2)

Pre-requisite : 565 243 Toxicology Mutagenicity test and evaluation of drugs and environmental toxicants

employing both current and new protocols and techniques; rationale and necessity of the investigation are discussed as well.

550 228 เภสัชวิทยาระดับเซลลและโมเลกุลเบ้ืองตน 3(3-0-6) (Basic Cellular and Molecular Pharmacology) วิชาบังคับกอน : 565 242 เภสัชวิทยา 2

กลวิธานการออกฤทธิ์ของยาในระดับเซลลและโมเลกุล เนื้อหาครอบคลุมโครงสรางและการทํางานของตัวรับยาชนิดตางๆ กลวิธานการถายทอดสัญญาณ การทํางานและบทบาทสรีรวิทยาหรือพยาธิวิทยาของสารนําสงสัญญาณชนิดตาง ๆ รวมถึงกลวิธานการตอบสนองตอสัญญาณของเซลลเปาหมาย

550 228 Basic Cellular and Molecular Pharmacology 3(3-0-6)

Pre-requisite : 565 242 Pharmacology II Basic topics in cellular and molecular mechanism of drug actions covering

receptor structure and function, intracellular communication and signal transduction pathways, functional characterization of signaling molecules and target cell response and effector mechanisms.

550 229 การทดลองทางเภสัชวิทยา 2(0-6-0) (Experimental Pharmacology) วิชาบังคับกอน : 565 261 ปฏิบัติการเภสัชวิทยา 1

หลักการเบ้ืองตนในการทดลองทางเภสัชวิทยาระดับเซลลและโมเลกุล วิธีที่นิยมใชในการทดสอบฤทธิ์ของสารตอระบบตาง ๆ ในสัตวทดลองและหลักการศึกษาคุณสมบัติของยาหรือประสิทธิภาพของการใชยาในมนุษย

Page 55: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

54

550 229 Experimental Pharmacology 2(0-6-0) Pre – requisite : 565 261 Pharmacology Laboratory I Basic principles of experimentation in pharmacology covering basic

techniques and protocols for studying in cellular and molecular levels, animal models for studying drug actions in particular diseases and clinical trials.

550 230 เทคนิคการสกัดแยกสารทางเภสัชศาสตร 3(2-3-4) (Separation Technique in Pharmaceutical Sciences) วิชาบังคับกอน : 564 231 การควบคุมคุณภาพยา 2 566 211 เภสัชเวท 2

ทฤษฎีและปฏิบัติการ ในการสกัดแยกเภสัชภัณฑและสารจากพืชสมุนไพร เพ่ือใชในการวิเคราะห หาเอกลักษณและสูตรโครงสราง ตลอดจนพัฒนากระบวนการผลิตใหไดปริมาณมาก

550 230 Separation Technique in Pharmaceutical Sciences 3(2-3-4) Pre-requisite : 564 231 Pharmaceutical Quality Control II 566 211 Pharmacognosy II

Separation of bioactive and valuable compounds from medicinal plants for analyze, identification, structure elucidation and production process development.

550 231 ยาสมุนไพรพื้นบาน 4(3-3-6) (Indigenous Medicines) วิชาบังคับกอน : 565 242 เภสัชวิทยา 2 566 211 เภสัชเวท 2

การใชยาสมุนไพรในชุมชน แนวความคิดและปรัชญาของการแพทยแผนไทย รวมทั้งภูมิปญญาของชุมชนในการใชยาสมุนไพร ตํารับยาและการเตรียมยาแบบพ้ืนบาน

550 231 Indigenous Medicines 4(3-3-6) Pre-requisite : 565 242 Pharmacology II 566 211 Pharmacognosy II

Uses of finish-produced indigenous medicines in rural areas, conceptual thinkings and trends of people in general on indigenous medicines, local and modernized pharmaceutical galenical formulations, preparations and evaluations of indigenous medicines ; applications of phytochemical techniques in analyses.

Page 56: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

55

550 232 เกษตรเภสัชภัณฑ 4(3-3-6) (Agropharmaceutical Sciences) วิชาบังคับกอน : 566 211 เภสัชเวท 2

สารเคมีและยาที่ใชในการเกษตร โดยเนนยาฆาแมลง ยากําจัดหนูและสัตวรบกวน สารเรงการเจริญเติบโตของพืช ยารักษาโรคสัตว อาหารสัตว ปุย ยาฆาเชื้อรา ความสัมพันธระหวางเกษตรกรกับเภสัชกรในชนบท

550 232 Agropharmaceutical Sciences 4(3-3-6)

Pre-requisite : 566 211 Pharmacognosy II Chemical and pharmaceutical agents used in agriculture and

agroindustries, including insecticides, rodenticides, pesticides, auxins and others of agroindustrial interests, pharmaceutical therapeutics in veterinary sciences, animal foodstuffs, fertilizers, fungicides, herbicides; roles and interrelationship of people in agriculture and agro-industries with pharmacists working in rural areas.

550 233 เทคโนโลยีชีวภาพของพืชสมุนไพร 3(2-3-4) (Biotechnology of Medicinal Plants)

ปฏิบัติการการใชเทคโนโลยีชีวภาพเพ่ือประโยชนในการผลิตสารที่ใชเปนยา การเตรียมหองปฏิบัติการและอุปกรณ การเตรียมอาหารเพาะเลี้ยง เทคนิคและปจจัยตาง ๆ ตอการผลิตสารรวมถึงการประยุกตใชเทคนิคทางพันธุวิศวกรรมศาสตร การพัฒนาและการเก็บรักษา

550 233 Biotechnology of Medicinal Plants 3(2-3-4) Application of biotechnology for production of medicine/ bioactive

compounds, setting up operation and culturing room, preparation of culturing medium, sterile materials and containers ; techniques and factors affecting the production including application of genetic engineering techniques ; development and storage of cell lines.

550 234 ระบบนําสงยาแบบใหม 2(2-0-4) (Novel Drug Delivery System) เงื่อนไขลงทะเบียน : ตองเปนนักศึกษาเภสัชศาสตรเทียบชั้นเรียนปที่ 4 ข้ึนไป ระบบนําสงยาแบบใหม เนนเทคนิคและวิธีการเตรียมเพ่ือใหไดผลิตภัณฑที่มีความ

คงตัว และผลผลิตสูง

Page 57: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

56

550 234 Novel Drug Delivery System 2(2-0-4) Pre-requisite : Senior standing

Novel drug delivery system, focusing on techniques and preparation of stable products with high productivity.

550 235 วิทยาการเครื่องสําอาง 4(2-6-4) (Cosmeticology) วิชาบังคับกอน : 567 223 เทคโนโลยีเภสัชกรรม 3

หลักการและเทคนิคในการผลิตและประดิษฐเครื่องสําอาง รวมทั้งสิ่งปรุงแตงกลิ่น สี และการรักษาเสถียรภาพของเครื่องสําอางรูปแบบตาง ๆ หลักการในการปองกันและ ทดสอบความปลอดภัย การแพเครื่องสําอาง เครื่องสําอางที่มีตัวยาผสม การเลือกใช การควบคุมมาตรฐาน ลักษณะของการจําหนาย

550 235 Cosmeticology 4(2-6-4) Pre-requisite : 567 223 Pharmaceutical Technology III

Principle and techniques of cosmeticology including flavor, color and stability of all cosmetic products; preparation techniques, safety evaluation, selection and quality control of cosmetic products.

550 236 การบริหารการผลิต 4(3-3-6) (Manufacturing Management)

การจัดองคกรในโรงงานอุตสาหกรรมยา การวางแผนการผลิตและการควบคุม การบริหารงานบุคคล ระบบการจัดซื้อและระบบคลังพัสดุ งานซอมบํารุง การปองกันอุบัติเหตุและการกําจัดของเสีย

550 236 Manufacturing Management 4(3-3-6) Organizational management in pharmaceutical industrial firms, production

planning and controling, personnel administration; including purchasing, distributing and storing system, as well as mechanical system.

550 237 ระบบควบคุมและประกันคุณภาพ 4(3-3-6) (Quality Control and Quality Assurance Systems)

การวางแผนปฏิบัติการในระบบควบคุมและประกันคุณภาพของโรงงานเภสัชอุตสาหกรรม ตั้งแตวัตถุดิบจนเปนผลิตภัณฑสําเร็จรูป การวางแผนควบคุมและประกันคุณภาพ โดยใชระบบจัดการแบบตาง ๆ ระบบการปฏิบัติวิชาชีพทางอุตสาหกรรมที่ถูกตอง

Page 58: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

57

550 237 Quality Control and Quality Assurance Systems 4(3-3-6) Planning of operation in quality control and assurance system in pharmaceutical industrial firms covering raw materails unto finished pharmaceutical products; planning of management by using various appropriate models; principles and conceptual aspects of good professional manufacturing practice.

550 238 การเคลือบยาเม็ด 3(2-3-4) (Tablet Coating) วิชาบังคับกอน : 567 221 เทคโนโลยีเภสัชกรรม 2 เทคโนโลยีและศิลปะในการผลิตยาข้ันอุตสาหกรรมข้ันสูงของรูปแบบยาเม็ด

เคลือบน้ําตาล ยาเม็ดเคลือบฟลมชนิดตาง ๆ โดยศึกษาหลักการและเทคนิควิธีการเตรียม การทดสอบคุณภาพและมาตรฐาน ปญหาที่พบในการเตรียม ตลอดจนแนวทางแกไขพัฒนาสูตรตํารับ

550 238 Tablet Coating 3(2-3-4) Pre-requisite : 567 221 Pharmaceutical Technology II Advanced technology and arts of tablet coating especially sugar coating

and film coating, including principles and techniques of preparation, evaluation and standardization of dosage forms, process development and problem solving.

550 239 วิทยาการพอลิเมอรเบ้ืองตนทางเภสัชกรรม 2(2-0-4) (Introductory Polymer Sciences in Pharmacy) วิชาบังคับกอน : 567 225 เทคโนโลยีเภสัชกรรม 5

ความรูพ้ืนฐานเก่ียวกับคุณสมบัติทางเคมีและกายภาพของพอลิเมอรที่ใชทางดาน การแพทยทั้งในสภาวะที่อยูในสารละลาย และสภาวะของแข็ง รวมทั้งเทคโนโลยีทางเภสัชกรรมของการประดิษฐพอลิเมอรใหอยูในรูปแบบที่ตองการ การประยุกตใช และอนาคตของการใชพอลิเมอรในทางดานการแพทยอ่ืน

550 239 Introductory Polymer Sciences in Pharmacy 2(2-0-4) Pre-requisite : 567 225 Pharmaceutical Technology V Basic knowledge and physico-chemical properties of medical polymer both

in the solution and solid state covering technology of polymer modification and the application of novel polymer for medical usage.

Page 59: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

58

550 240 อนามัยอุตสาหกรรม 4(3-3-6) (Industrial Hygiene)

อนามัยของคนงานในโรงงานอุตสาหกรรม การปองกันอันตรายจากอุปทวเหตุ อันตรายจากปจจัยทางกายภาพ ทางเคมี และทางจิต ตอสุขภาพทางรางกายและสุขภาพจิตของผูใชแรงงาน การบริการทางอนามัย กฎและระเบียบ การสันทนาการและสวัสดิการ

550 240 Industrial Hygiene 4(3-3-6)

Industrial hygiene of employers and employees in pharmaceutical industry, preventive measures and precautions of dangers and hazards from accidents, physico-chemical factors and neuropsychological factors on bodily and mental healths of employees; hygiene and industrial health services, laws and regulation, recreations and social welfares.

550 241 เภสัชศาสตรชุมชน 3(2-3-4) (Community Pharmacy) วิชาบังคับกอน : 563 251 พ้ืนฐานสาธารณสุข

หลักการของการดําเนินงานในรานยา ทิศทางของงานทั้งในอดีต ปจจุบันและแนวโนมที่จะเกิดข้ึนทั้งภายในและภายนอกประเทศ หลักการบริหารธุรกิจที่จําเปนตอวิชาชีพ การวางแผนนโยบายที่เก่ียวของ ปญหาที่สําคัญและแนวทางแกไข เพ่ือนําไปประยุกตกับการเตรียมการจัดตั้งและดําเนินธุรกิจรานยา

550 241 Community Pharmacy 3(2-3-4) Pre-requisite : 563 251 Basic Public Health Concepts and trends of community pharmacy management in the world ;

application of management process in constructing and operating drugstores. 550 242 เภสัชศาสตรสาธารณสุข 3(2-3-4) (Public Health Pharmacy) วิชาบังคับกอน : 563 251 พ้ืนฐานสาธารณสุข โครงสรางและหลักการของการดําเนินงานสาธารณสุข นวัตกรรมตางๆ ของระบบ

สาธารณสุข ทิศทางของงานทั้งในอดีต ปจจุบัน และแนวโนมที่จะเกิดข้ึนในอนาคตทั้งภายในและภายนอกประเทศ พรอมปฏิบัติการปญหาสาธารณสุขที่สําคัญและแนวทางการแกไข

Page 60: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

59

550 242 Public Health Pharmacy 3(2-3-4) Pre-requisite : 563 251 Basic Public Health Concepts of administration and innovations of health system ; development

and trends of public health in the world, including practicing skill for problems solving.

550 243 เภสัชกรและสุขอนามัยชนบท 4(2-6-4) (Pharmacists and Rural Health Care) วิชาบังคับกอน : 563 251 พ้ืนฐานสาธารณสุข การแกปญหาทางสาธารณสุขในชนบทที่เภสัชกรมีบทบาทเก่ียวของ ความเชื่อมโยง

ของปญหาสุขภาพกับปญหาอ่ืนๆของชนบท เนนชนบทภูมิภาคตะวันตกของประเทศ 550 243 Pharmacists and Rural Health Care 4(2-6-4)

Pre-requisite : 563 251 Basic Public Health Roles of pharmacists in health problem solving in rural areas ; correlation

of health problems and other rural problems, emphasizing on rural areas in western region of Thailand.

550 244 การตลาดและการเสนอแนะยา 3(2-3-4) (Drug Marketing and Detailing) วิชาบังคับกอน : 550 366 เภสัชบําบัด 2 563 255 การบริหารเภสัชกิจเบ้ืองตน 2 การจัดการตลาดยา ปจจัยทางสังคมเศรษฐกิจตอการตลาดยา การบริหาร ธุรกิจ การขายยาระดับสูง รวมทั้งการวางนโยบาย แผนปฏิบัติ การควบคุม และ การฝกอบรมพนักงานขาย 550 244 Drug Marketing and Detailing 3(2-3-4)

Pre-requisite : 550 366 Pharmacotherapeutics II 563 255 Basic Pharmacy Administrations II

Concepts, principles, theories, procedures and other relevant dynamic factors concerning management of pharmaceutical marketing; socio- economics implications of marketing and detailing activities, business administration and higher detailing techniques including policy planning, operating plans and various aspects of development and control of medical representations.

Page 61: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

60

550 251 ประสบการณวิชาชีพ 1 1(0-3-0) (Professional Practice I) การประเมินผล : S / U วิชาบังคับกอน : นักศึกษาเทียบชั้นเรียนปที่ 3 ข้ึนไป การฝกงานของนักศึกษา เพ่ือสรางประสบการณในดานวิชาชีพสาขาตาง ๆ 550 251 Professional Practice I 1(0-3-0) Course Evaluation : S/U Pre-requisite : 3rd year students

Undergraduate practice to experience professional roles in various areas of pharmacy.

550 301 ปญหาพิเศษของวิทยาการทางเภสัชศาสตร 3(2-3-4) (Special Problems in Pharmaceutical Sciences)

เงื่อนไขการลงทะเบียน : ตองเปนนักศึกษาเภสัชศาสตรเทียบชั้นเรียนปที่ 4 ข้ึนไป ปญหาตาง ๆ ที่เก่ียวของกับชีวเภสัชศาสตร เภสัชวิทยาและพิษวิทยา เภสัชเคมี เภสัชเวท และเทคโนโลยีเภสชักรรม

550 301 Special Problems in Pharmaceutical Sciences 3(2-3-4) Pre-requisite : Senior standing Theoretical and laboratory studies of problems in biopharmacy,

pharmacology and toxicology, pharmaceutical chemistry, pharmacognosy and pharmaceutical technology.

550 306 หัวขอปจจุบันของวิทยาการทางเภสัชศาสตร 2(2-0-4) (Current Topics in Pharmaceutical Sciences) เงื่อนไขการลงทะเบียน : ตองเปนนักศึกษาเภสัชศาสตรเทียบชั้นเรียนปที่ 4 ข้ึนไป หัวขอปจจุบันทางเภสัชศาสตรที่อยูในความสนใจ ความรูใหมและความกาวหนา

ของวิทยาการดานเภสัชศาสตร 550 306 Current Topics in Pharmaceutical Sciences 2(2-0-4) Pre-requisite : Senior standing Academic advancements of interests in pharmaceutical sciences.

Page 62: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

61

550 307 ชีวเภสัชศาสตรขั้นสูง 3(3-0-6) (Advanced Biopharmacy) วิชาบังคับกอน : 565 242 เภสัชวิทยา 2

กระบวนการทางเภสัชศาสตรชีวภาพในสภาพปกติและพยาธิวิทยา โดยเนนความสัมพันธของเคมีบําบัดกับความผิดปกติตาง ๆ ของระบบรางกาย ทั้งเชิงจุลภาค และมหภาค ระบบเมตาบอลิสม กลวิธานของการเปลี่ยนแปลงตาง ๆ ที่เกิดข้ึน หรืออาจเกิดข้ึนภายใตสภาวะชีวภาพ หลักการประเมินคุณคาการบําบัดเคมี แนวปฏิบัติรวมถึงปจจัยกระทบตาง ๆ

550 307 Advanced Biopharmacy 3(3-0-6) Pre-requisite : 565 242 Pharmacology II Biopharmaceutical aspects in normal and pathological states, emphasizing

on chemotherapy, metabolism, mechanism of biological changes; principle of evaluation, including practical guidelines and factors affecting chemotherapy.

550 311 เภสัชสนเทศทางการบริบาลทางเภสัชกรรม 3(2-3-4) (Drug Information in Pharmaceutical Care) วิชาบังคับกอน : 565 352 เภสัชบําบัด 1 ฝกทักษะการเลือกใชแหลงขอมูลสําหรับการบริบาลทางเภสัชกรรมและการ

ใหบริการเภสัชสนเทศทางการบริบาลทางเภสัชกรรมแกเภสัชกร บุคลากรทางการแพทย ผูปวย ตลอดจนประชาชนทั่วไป รวมถึงแนวคิดในการจัดการดานเภสัชสนเทศทางการบริบาลทางเภสัชกรรม

550 311 Drug Information in Pharmaceutical Care 3(2-3-4) Pre-requisite : 565 352 Pharmacotherapeutics I Drug information sources in pharmaceutical care and drug information

services for pharmacists healthcare professionals, patients, and public; management of drug information in pharmaceutical care.

550 312 หัวขอปจจุบันของเภสัชกรรมปฏิบัติ 4(3-3-6) (Current Topics in Pharmacy Practice) วิชาบังคับกอน : 562 361 เภสัชกรรมปฏิบัต ิ ติดตามความกาวหนาทางวิชาการเก่ียวกับความรูทางเภสัชกรรมปฏิบัติในแงการบูร

ณาการดานการรักษาโรค เภสัชกรรมบริบาล การศึกษาวิจัย การอภิปรายเก่ียวกับการนําเสนอแนวคิดใหมบนพ้ืนฐานการพัฒนาดานเภสัชกรรมปฏิบัติ

Page 63: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

62

550 312 Current Topics in Pharmacy Practice 4(3-3-6)

Pre-requisite : 562 361 Pharmacy Practice Keeping up-to-date with recent knowledge in pharmacy practice concerning

disease management, pharmaceutical care, recent research; discussion of new concepts based on research evidence in pharmacy practice.

550 315 ชีวเภสัชกรรมขั้นสูง 3(2-3-4) (Advanced Biopharmaceutics) วิชาบังคับกอน : 562 321 ชีวเภสัชกรรมและเภสัชจลนพลศาสตร

ปจจัยที่มีผลตออัตราเร็วและปริมาณยาที่เขาสูรางกายจากเภสัชภัณฑรูปแบบตาง ๆ และผลที่เกิดจากการบริหารยาโดยวิธีตาง ๆ ตลอดจนอิทธิพลของขนาดยา และความถี่ในการใหยาตออัตราเร็วและปริมาณยาที่เขาสูรางกาย ศึกษาเนนดานการวิเคราะหบทความใหม ๆ เก่ียวกับหัวขอเหลานี้

550 315 Advanced Biopharmaceutics 3(2-3-4) Pre-requisite : 562 321 Biopharmaceutics and Pharmacokinetics

Factors affecting the rate and amount of drug entering the body from various pharmaceutical products, consequences of drug administration via different routes; influences of dosage and dosing interval on the rate and amount of drug entering the body; study focusing on the recent development in this field.

550 316 เภสัชจลนพลศาสตรคลินิก 2(1-3-2) (Clinical Pharmacokinetics) วิชาบังคับกอน : 562 321 ชีวเภสัชกรรมและเภสัชจลนพลศาสตร

การนําหลักการทางเภสัชจลนพลศาสตรมาใชในการกําหนดขนาดและความถี่ของการใหยา ตลอดจนติดตามตรวจปรับระดับยาใหเหมาะสม สําหรับผูปวยแตละราย การวัดและแปลผลระดับยาในเลือดหรือในของเหลวชีวภาพอ่ืนๆ และการประเมินความเสี่ยงในการเกิดพิษของยาจากขนาดและความถี่ของการใหยาตางๆ เพ่ือใหมีความปลอดภัยและประสิทธิภาพในการรักษา

550 316 Clinical Pharmacokinetics 2(1-3-2) Pre-requisite : 562 321 Biopharmaceutics and Pharmacokinetics Application of pharmacokinetics in adjusting dosage regimen; therapeutic

drug monitoring in individual patients, measuring and interpreting drug concentration in blood and biological fluids, assessing risk of toxicity of drug dosage.

Page 64: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

63

550 319 การประเมินผลทางยา 2(1-3-2) (Drug Assessment) วิชาบังคับกอน : 562 321 ชีวเภสัชกรรมและเภสัชจลนพลศาสตร

การประเมินผลการพัฒนายากอนการทดสอบทางคลินิก และการทดสอบทางคลินิก รวมถึงการประเมินผลทางเภสัชกรรม โดยเนนการจัดการขอมูลและประเมินผล

550 319 Drug Assessment 2(1-3-2) Pre-requisite : 562 321 Biopharmaceutics and Pharmacokinetics Drug development process and clinical trials with the emphasis on data

management and evaluation. 550 320 การประเมินการใชยา 1 3(2-3-4) (Drug Use Evaluation I) วิชาบังคับกอน : 565 352 เภสัชบําบัด 1 การประเมินการใชยารักษาโรคของยาในกลุมพ้ืนฐานที่มีผลกระทบตอสุขภาพและ

ระบบสาธารณสุข โดยเนนความสมเหตุผลทางวิชาการในการสั่งใชยาทั้งดานชนิดและปริมาณ ขอบงใช ขนาดยาและความถี่ในการใชยา คุณคาที่ดีของเภสัชภัณฑ แนวโนมในการใชทั้งดานปริมาณและมูลคายา การวัดและประเมินผลการรักษาในประเด็นเก่ียวกับประสิทธิภาพของยา พิษและอาการไมพึงประสงคจากการใชยา ตลอดจนวิธีการใชยาใหถูกตองเพ่ือใหเกิดผลในการรักษามากที่สุดและเกิดพิษนอยที่สุด

550 320 Drug use Evaluation I 3(2-3-4) Pre-requisite : 565 352 Pharmacotherapeutics I Evaluation of drug use with respect to therapeutic values, indication, dosage

regimen; assessing drug utilization in terms of amount and cost; measuring and evaluating efficacy and safety of drug treatment, focusing on basic drug groups with high impacts on health and public health system.

550 321 การประเมินการใชยา 2 3(2-3-4) (Drug Use Evaluation II) วิชาบังคับกอน : 565 352 เภสัชบําบัด 1

การประเมินการใชยารักษาโรคของยาในกลุมที่มีความเสี่ยงสูงหรือมีผลขางเคียงใน ระดับรุนแรง

Page 65: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

64

550 321 Drug use Evaluation II 3(2-3-4) Pre-requisite : 565 352 Pharmacotherapeutics I Extended study of drug use evaluation emphasizing on the use of drugs with

serious adverse effects. 550 322 การสังเคราะหยา 3(2-3-4) (Pharmaceutical Synthesis) วิชาบังคับกอน : 564 212 เภสัชเคมี 3

เทคนิควิธีตางๆ ที่ใชในกระบวนการสังเคราะหยา การควบคุมเงื่อนไขตาง ๆ การหาปริมาณของยาที่สังเคราะหข้ึนมาได การตรวจพิสูจนเอกลักษณ

550 322 Pharmaceutical Synthesis 3(2-3-4) Pre-requisite : 564 212 Pharmaceutical Chemistry III Techniques used in drugs synthesis, reaction control, quantitative analysis

and identification of synthesized products 550 324 การประเมินฤทธ์ิของยา 2(2-0-4) (Evaluation of Drug Action) วิชาบังคับกอน : 565 242 เภสัชวิทยา 2

การออกฤทธิ์ ประสิทธิภาพ และอาการขางเคียงของยาชนิดใหม โดยเปรียบเทียบกับยาที่มีอยูเดิมในกลุมการออกฤทธิ์แบบเดียวกัน และกลุมที่นํามาใชในการรักษาพยาธิสภาพเดียวกัน ทั้งในดานการใชในทางคลินิก และการติดตามการใชยาหลังจากการวางตลาดแลว

550 324 Evaluation of Drug Action 2(2-0-4) Pre-requisite : 565 242 Pharmacology II Study of new drugs emphasizing on drug action, drug efficacy and adverse

reactions by comparing with currently available drugs with similar mechanism of actions and therapeutic indication; clinical trials and postmarketing evaluation are also discussed.

550 331 เภสัชบรรจุภัณฑ 2(2-0-4) (Pharmaceutical Packagings) คุณสมบัติ ขอดี ขอดอย ของการใชวัสดุชนิดตาง ๆ มาเปนภาชนะ ในรูปแบบที ่

เหมาะสมในการบรรจุเภสัชภัณฑ การทดสอบ การเก็บรักษา

Page 66: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

65

550 331 Pharmaceutical Packagings 2(2-0-4)

Properties, advantages and disadvantages of materials used for pharmaceutical packagings, including evaluation and storage.

550 332 นิติเภสัช 1(1-0-2) (Pharmacy Law) พระราชบัญญัติยา กฎหมาย และระเบียบที่เก่ียวของกับการปฏิบัติงานของเภสัชกร

ในการประกอบวิชาชีพตางๆ ทั้งทางตรงและทางออม ความรับผิดชอบของเภสัชกรตอผูบริโภค ตอสังคม และหลักการทางนิติธรรมอ่ืนๆ ที่เก่ียวของ โดยเนนการประยุกตและการแกปญหาในกรณีศึกษาตางๆ

550 332 Pharmacy Law 1(1-0-2) Drug law and regulations related to pharmaceutical practices ; responsibility

of pharmacists to consumers and society; application of law concepts to solve the problems in case studies.

550 333 พฤกษบําบัดบนหลักฐานทางวิชาการ 2(2-0-4)

(Evidence Base Phytotherapy) วิชาบังคับกอน : 565 242 เภสัชวิทยา 2 566 211 เภสัชเวท 2

ประเมินและวิเคราะหประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการใชพืชสมุนไพรและเภสัชภัณฑจากสมุนไพรเพ่ือรักษาโรคและสงเสริมสุขภาพจากขอมูลทางวิทยาศาสตร รวมถึงแนวคิดทางการแพทยแบบพหุลักษณ โดยเนนพืชสมุนไพรและเภสัชภัณฑจากสมุนไพรที่พบในประเทศไทย

550 333 Evidence Base Phytotherapy 2(2-0-4)

Pre-requisite : 565 242 Pharmacology II 566 211 Pharmacognosy II

Evaluation and analysis of efficiency and efficacy of medicinal plants and products derived from medicinal plants for therapeutic and health promotion purposes based on scientific knowledge including complementary medical concepts emphasizing on medicinal plants and pharmaceutical products of medicinal plants available in Thailand.

Page 67: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

66

550 334 เภสัชบําบัดปจจุบันของการบริบาลทางเภสัชกรรม 4(3-3-6) (Current Therapy in Pharmaceutical Care) วิชาบังคับกอน : 562 361 เภสัชกรรมปฏิบัต ิ ติดตามความกาวหนาทางวิชาการและสถานการณปจจุบันเก่ียวกับการบริบาลทาง

เภสัชกรรม ศึกษาและอภิปรายเก่ียวกับการนําเสนอแนวคิดใหมบนพ้ืนฐานการพัฒนาดานเภสัชบําบัด

550 334 Current Therapy in Pharmaceutical Care 4(3-3-6) Pre-requisite : 562 361 Pharmacy Practice Keeping up-to-date with the recent knowledge in pharmaceutical care,

presentation and discussion of present concepts concerning the advancement in pharmacotherapy.

550 338 หลักการเคมีของยา 3(3-0-6) (Principle of Medicinal Chemistry) วิชาบังคับกอน : 564 212 เภสัชเคมี 3 565 242 เภสัชวิทยา 2

กระบวนการ วิธีการที่จะไดมาซึ่งรูปแบบสูตรโครงสรางตาง ๆ ของสารที่นํามาใชเปนยาโดยใชความรูทางอินทรียเคมี ชีวเคมีและเภสัชวิทยา ตลอดจนศึกษาการเปลี่ยนแปลงสูตรโครงสรางยา และสารแปลกปลอมอ่ืน ๆ ที่เนื่องจากเมตาบอลิสม ตลอดจนวิถีทางและกลไกทางเคมีในการเปลี่ยนแปลงสูตรโครงสรางนั้น

550 338 Principle of Medicinal Chemistry 3(3-0-6) Pre-requisite : 564 212 Pharmaceutical Chemistry III 565 242 Pharmacology II

Process and the method of structure elucidation of compounds used as drugs by the application of organic chemistry, biochemistry and pharmacology, including metabolism, process and chemical mechanism involving the structure change.

Page 68: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

67

550 340 การออกแบบโครงสรางยา 4(3-3-6) (Drug Designs) วิชาบังคับกอน : 564 212 เภสัชเคมี 3 565 242 เภสัชวิทยา 2

บูรณาการของความรูเรื่องความสัมพันธระหวางสูตรโครงสรางกับการออกฤทธิ์ ของยา ในการออกแบบสูตรโครงสรางใหม เพ่ือใหไดยาที่มีคุณสมบัติทั้งทางกายภาพชีวภาพ และเภสัชจลนพลศาสตรตามที่ตองการ การประยุกตคอมพิวเตอรในการคิดและออกแบบโครงสรางของยา

550 340 Drug Designs 4(3-3-6) Pre-requisite : 564 212 Pharmaceutical Chemistry III 565 242 Pharmacology II Integrated knowledges of structure and activity relationships in designing

new drugs with desired physical, biological and pharmacokinetic/dynamic properties, using computer application.

550 343 เภสัชวิทยาและพิษวิทยาขั้นสูง 3(3-0-6) (Advanced Pharmacology and Toxicology) วิชาบังคับกอน : 565 242 เภสัชวิทยา 2 565 243 พิษวิทยา

แนวคิดและหลักการในการวิจัยและทดลองแบบตาง ๆ ทางเภสัชวิทยา รวมทั้งแนวทางการศึกษากลไกการเกิดพิษเชิงชีวเคมีจากสารพิษที่เก่ียวของกับระบบตอมไรทอ ระบบหัวใจและหลอดเลือด ไต ระบบประสาทอัตโนมัติ ระบบประสาทสวนกลาง โดยเนนการศึกษาในระดับตัวรับเฉพาะ และการสงผานสัญญาณภายในเซลล

550 343 Advanced Pharmacology and Toxicology 3(3-0-6) Pre-requisite : 565 242 Pharmacology II 565 243 Toxicology Contemporary research concepts and experimental approaches in

investigative pharmacology as well as biochemical toxicology of drugs/ compounds affecting functions of endocrine system, cardiovascular and renal system, autonomic and central nervous systems, emphasizing on the levels of drug/compound-receptor interaction and intracellular signal transduction pathways.

Page 69: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

68

550 347 การวิจัยและพัฒนาพืชสมุนไพร 3(2-3-4) (Research and Development in Medicinal Plants) วิชาบังคับกอน : 080 144 หลักการวิจัยเบ้ืองตน 565 242 เภสัชวิทยา 2 566 211 เภสัชเวท 2

ศึกษา และวิจัยอยางมีระบบ การพัฒนาขอมูลของเภสัชพฤกษและสมุนไพรที่มี ใชในตํารับยาไทย

550 347 Research and Development in Medicinal Plants 3(2-3-4)

Pre-requisite : 080 144 Principles of Research 565 242 Pharmacology II 566 211 Pharmacognosy II

Systematic study and research, compilation and development of data of medicinal plants used in Thai remedies.

550 349 การออกแบบและพัฒนาสูตรตํารับเภสัชภัณฑ 4(2-6-4) (Pharmaceutical Formulation and Development)

เงื่อนไขการลงทะเบียน : ตองเปนนักศึกษาเภสัชศาสตรเทียบชั้นเรียนปที่ 4 ข้ึนไป หลักการและเทคนิควิธี เพ่ือสรางเสริมประสบการณ ทักษะความชํานาญใน การคิดคนและพัฒนาสูตรตํารับยารูปแบบตาง ๆ ตลอดจนการใชหลักการทางกายภาพและชีวภาพ เพ่ือปรับปรุงประสิทธิภาพและความคงตัวของผลิตภัณฑ

550 349 Pharmaceutical Formulation and Development 4(2-6-4) Pre-requisite : Senior standing Principle and technique for improvement of the physical properties and

biological action of dosage forms, as well as preparation techniques. 550 351 ประสบการณวิชาชีพ 2 3(0-9-0) (Professional Practice II) การประเมินผล : S / U

เงื่อนไขการลงทะเบียน : อยูในดุลยพินิจของคณะกรรมการประจําคณะฯ การฝกปฏิบัติงานของนักศึกษาเพ่ือสรางประสบการณในดานวิชาชีพสาขาตางๆ

โดยนักศึกษาจะเขาปฏิบัตงิานในโรงพยาบาล โรงงานอุตสาหกรรม สถาบันสาธารณสุข รานขายยา และสถาบันทางวิชาชีพอ่ืนๆ

Page 70: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

69

550 351 Professional Practice II 3(0-9-0) Course Evaluation : S/U Pre-requisite : with the consent of the faculty

A continuity of professional practice emphasizing major areas of hospital pharmacy, industries, public health institutes, community services, including other accredited institutes affiliated with pharmaceutical sciences.

550 352 ประสบการณวิชาชีพ 3 5(0-15-0)

(Professional Practice III) มีการประเมินผล : S / U เงื่อนไขการลงทะเบียนเรียน : นักศึกษาในกลุมสาขาที่ผานรายวิชาตามประกาศ คณะฯการฝกปฏิบัติงานเพ่ือสรางประสบการณวิชาชีพตามแนวทางของกลุมสาขาเนน

550 352 Professional Practice III 5(0-15-0) Course Evaluation : S/U

Pre-requisite : Senior standing and with consent of the faculty A continuity of professional practice emphasizing on pharmaceutical care or

pharmaceutical sciences or pharmaceutical informatics. 550 355 เทคโนโลยีชีวภาพทางเภสัชศาสตร 3(2-3-4) (Pharmaceutical Biotechnology) วิชาบังคับกอน : 561 203 ชีวเภสัชศาสตร 5

เนื้อหาเชิงบูรณาการของการประยุกตฐานขอมูล ยีน และโปรตีน เทคนิคทางพันธุวิศวกรรมศาสตร กรรมวิธีทางเทคโนโลยีชีวภาพ นาโนเทคโนโลยีในดานเวชบําบัด ระบบนําสงยา และวิทยาการทางเภสัชศาสตรเพ่ือผลิตเภสัชภัณฑและเครื่องสําอาง

550 355 Pharmaceutical Biotechnology 3(2-3-4) Pre-requisite : 561 203 Biopharmacy V Integrated study and application of gene, protein, genetic engineering,

biotechnology, nanotechnology and drug delivery systems in the production of pharmaceuticals and cosmetics.

Page 71: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

70

550 356 เภสัชวิทยาจีโนม 2(2-0-4) (Pharmacogenomics) วิชาบังคับกอน : 561 203 ชีวเภสัชศาสตร 5

ความแตกตางของพันธุกรรมในแตละบุคคลที่มีตอความไวของการเกิดโรค การตอบสนองตอยา การเกิดปฏิกิริยาไมพึงประสงค และการเกิดพิษของยา เพ่ือประยุกตใชในการศึกษาคนควา และออกแบบยา โดยมุงเนนการรักษาที่มีประสิทธิภาพเฉพาะบุคคล

550 356 Pharmacogenomics 2(2-0-4) Pre-requisite : 561 203 Biopharmacy V

Integrated study of genetic differences in individuals on the susceptibility of diseases, drug responses, drug adverse effect and toxicity, emphasizing on the research and development of drugs for efficient therapy of individuals.

550 359 คอมพิวเตอรทางเภสัชกรรม 3(2-3-4) (Computer in Pharmacy)

สวนประกอบหลักที่สําคัญของระบบคอมพิวเตอร การทํางานรวมกันของฮารดแวร ซอฟทแวร มโนทัศนการประมวลผลขอมูล มโนทัศนการทําโปรแกรมภาษาตาง ๆ การประยุกตใชเปนประโยชนทางเภสัชศาสตรสาขาตาง ๆ โดยเนนทางเภสัชการอุตสาหกรรม เภสัชกรรมโรงพยาบาล และเภสัชกรรมชุมชน

550 359 Computer in Pharmacy 3(2-3-4) Principles of major components of computer system, hardware and

softwares co-functions; concepts of data evaluation, programming and inventory controls; application of computer in pharmacy with an emphasis on industrial pharmacy, hospital pharmacy and community pharmacy.

550 360 การประยุกตคอมพิวเตอรทางเภสัชศาสตร 3(1-6-2) (Computerized Applications in Pharmaceutical Sciences)

โปรแกรมประยุกตขอมูลที่นํามาใชทางเภสัชกรรม โดยเนนระบบบริหารเวชภัณฑ ระบบการคนหาเอกสาร สิ่งพิมพทางวิทยาศาสตรสุขภาพและสาขาวิชาเก่ียวของจากหองสมุด ระบบการจัดการฐานขอมูล การติดตอสื่อสารดวยคอมพิวเตอรทั้งแบบเครือขายใกลเคียง และการสื่อสารทางไกล ระบบบริการเภสัชสนเทศ แหลงขอมูลทางยาและการฝกตอบปญหาทางยาดวยฐานขอมูลระบบคอมพิวเตอร รวมถึงการพัฒนาฐานขอมูลทางเภสัชศาสตร

Page 72: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

71

550 360 Computerized Applications in Pharmaceutical Sciences 3(1-6-2) Data-integrated programs in pharmaceutical applications; emphasis on

drug store and database administration, librarian printed documents in health sciences and related fields, electronic communication, drug information systems, sources of pharmaceutical information and problem solving on computerized and database basis; including database development in pharmaceutical sciences.

550 361 การสัมมนาทางเภสัชศาสตร 1(0-3-0) (Seminar in Pharmaceutical Sciences) เงื่อนไขการลงทะเบียนเรียน : นักศึกษาเภสัชศาสตรเทียบชั้นเรียนปที่ 5

การศึกษาคนควาประเด็นและแงมุมตาง ๆ ของยา หรือความรูใหม ๆ ที่เก่ียวของในดานเภสัชศาสตร ในลักษณะบูรณาการ ประมวลความรูเพ่ือนําเสนอ อภิปราย วิจารณ โดยอางอิงหลักทางวิชาการและเหตุผลประกอบ

550 361 Seminar in Pharmaceutical Sciences 1(0-3-0) Pre-requisite : Senior standing

Searching and compiling data in pharmaceutical sciences, analysis of information collected for presentation and discussion.

550 362 บริการเภสัชสนเทศ 3(2-3-4) (Drug Information Services) เงื่อนไขการลงทะเบียน : นักศึกษาเภสัชศาสตรเทียบชั้นเรียนปที่ 5

งานบริการเผยแพรความรูและขอมูลทางยา เนื้อหาวิชาครอบคลุมการ เลือกใชแหลงขอมูล การวิเคราะหและประเมินคุณคาเอกสารทางการแพทยประเภทตาง ๆ ที่เลือกสรรมา ระบบการจัดการขอมูลทางยาเพ่ือใหบริการแกผูมารับบริการรวมถึงทักษะในการสื่อสารดานเภสัชสนเทศ มีการฝกทักษะการใหบริการ

550 362 Drug Information Services 3(2-3-4) Pre-requisite : Senior standing

Study and practice of drug information service covering searching and evaluating drug information sources, critically appraising the literature; data management system; communication skills.

Page 73: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

72

550 363 การคุมครองผูบริโภคดานอาหารและยา 3(2-3-4) (Consumer Protection in Foods and Drugs) วิชาบังคับกอน : 550 332 นิติเภสัช 563 251 พ้ืนฐานสาธารณสุข

หลักการ นโยบาย และแผนงานของรัฐ รวมถึง กฎ ขอบังคับ ระเบียบในการคุมครองผูบริโภค สิทธิของผูบริโภค การดําเนินงานในปจจุบัน ทั้ ง ภ า ค รั ฐ แ ล ะภาคเอกชน บทบาทของเภสัชกรในการพิทักษสิทธิและการคุมครอง กลวิธีในการดําเนินงานโดยเนนทางดานอาหาร ยา และผลิตภัณฑที่เก่ียวของ

550 363 Consumer Protection in Foods and Drugs 3(2-3-4) Pre-requisite : 550 332 Pharmacy Law

563 251 Basic Public Health Concepts, policy, plans and regulation in consumer protection; consumers' right, implementation in public and private sectors, pharmacists' role in consumer protection; strategic plans with an emphasis on foods, drugs and health products.

550 364 ปญหาพิเศษทางเภสัชกรรมชุมชน 3(2-3-4) (Special Problems in Community Pharmacy) วิชาบังคับกอน : 563 251 พ้ืนฐานสาธารณสุข 563 255 การบริหารเภสัชกิจเบ้ืองตน 2 การแกปญหาในการปฏิบัติการของเภสัชกรในดานรานยา การตลาดยา การ

โฆษณายา และความสัมพันธระหวางรานยากับชุมชน 550 364 Special Problems in Community Pharmacy 3(2-3-4)

Pre-requisite : 563 251 Basic Public Health 563 255 Basic Pharmacy Administrations II

Problem solving in pharmaceutical practice emphasizing retail pharmacy, marketing, display advertising, and interrelationship between pharmacists and community.

Page 74: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

73

550 365 เภสัชกรรมคลินิกขั้นสูง 4(3-3-6) (Advanced Clinical Pharmacy) วิชาบังคับกอน : 550 366 เภสัชบําบัด 2

หลักการข้ันสูงและเภสัชกรรมคลินิกปฏิบัติในแนวลึกดานการบริการเภสัชสนเทศการให คําปรึกษาดานยา การปรับระดับยาเ พ่ือการบําบัดรักษา โภชนบําบัด การปฏิบัติงานบนหอผูปวย การแปลผลการตรวจทางหองปฏิบัติการของของเหลวชีวภาพและอนุมูลเกลือแรในรางกาย การติดตามผลการใชยา การเตรียมยาเฉพาะอยาง การเตรียมยาผสมที่ใหทางหลอดเลือดดํา การเตรียมยาที่มีพิษตอรางกาย และบูรณาการขององคความรูทางเภสัชศาสตรเชิงคลินิกปฏิบัติ การสัมมนาทางเภสัชกรรมคลินิก

550 365 Advanced Clinical Pharmacy 4(3-3-6) Pre-requisite : 550 366 Pharmacotherapeutics II In depth and integrated study and practice of clinical pharmacy concerning

drug information service, pharmacy counselling, therapeutic drug monitoring, dietotherapy, practice in patient wards, interpretation of laboratory results, drug therapy monitoring, preparation of intravenous admixture and toxic drugs.

550 366 เภสัชบําบัด 2 4(3-3-6) (Pharmacotherapeutics II) วิชาบังคับกอน : 565 241 เภสัชวิทยา 1 565 242 เภสัชวิทยา 2 พ้ืนฐานทางพยาธิสรีรวิทยา สาเหตุตางๆของการเกิดโรค และการใชยาเพ่ือรักษา

ความผิดปกติของระบบทางเดินปสสาวะ ระบบทางเดินหายใจ ระบบตอมไรทอ ระบบหัวใจและหลอดเลือด ระบบทางเดินอาหาร สมดุลของของเหลวและเกลือแร รวมถึงโรคติดเชื้อ โดยเนนการบูรณาการความรูในการวางแผนติดตามการใชยาอยางเหมาะสม รวมทั้งการพัฒนาทักษะของการแกปญหาทางคลินิกโดยใชกรณีศึกษา

550 366 Pharmacotherapeutics II 4(3-3-6) Pre-requisite : 565 241 Pharmacology I 565 242 Pharmacology II Basics of pathophysiology, etiology, and drug therapy in the diseases and

disorders of genitourinary system, respiratory system, endocrine system, cardiovascular system, gastroenterology system, electrolyte balance, and infectious diseases, with the emphasis on integrated study and practice in drug therapy monitoring employing case studies and visit to practice sites.

Page 75: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

74

550 367 เภสัชบําบัด 3 4(3-3-6) (Pharmacotherapeutics III) วิชาบังคับกอน : 565 241 เภสัชวิทยา 1 565 242 เภสัชวิทยา 2 สาเหตุตางๆของการเกิดโรค และการใชยารักษาความผิดปกติของกระดูกและขอ

กลามเนื้อ ระบบเลือด ระบบภูมิคุมกัน ความผิดปกติของระบบประสาท ความผิดปกติทางจิต โรคผิวหนัง โรคตา หู คอ จมูก โรคทางสูตินรีเวช โรคมะเร็ง การใชยาในเด็ก สตรีมีครรภ และผูสูงอายุ รวมถึงการโภชนาการ โดยเนนการบูรณาการความรูในการวางแผนติดตามการใชยาอยางเหมาะสม รวมทั้งการพัฒนาทักษะของการแกปญหาทางคลินิกโดยใชกรณศีึกษา

550 367 Pharmacotherapeutics III 4(3-3-6) Pre-requisite : 565 241 Pharmacology I 565 242 Pharmacology II Pathophysiology and pharmacotherapy of musculoskeletal disorders,

hematological, immunological, neurological, psychological, dermatological, eye-ear-nose-throat, obstetric-gynecological, cancer diseases ; rational uses of drugs in pediatrics, pregnancy and geriatrics, integrated problem solving and plan for rational drug use and monitoring, including problem-solving skills in clinical settings.

550 368 การบริหารสาธารณสุข 3(2-3-4) (Public Health Administration) วิชาบังคับกอน : 563 255 การบริหารเภสัชกิจเบ้ืองตน 2

ความคิดดานการบริหารงานสาธารณสุข โครงสราง แนวนโยบาย กลวิธีการพัฒนา งานสาธารณสขุ ปญหาการดําเนินงาน การวางแผนแกไขปญหา และแนวโนมการพัฒนางานวิชาชีพเภสัชกรรมตาง ๆ ทางดานสาธารณสุข โดยเฉพาะอยางย่ิงทางดานเภสัชกรรมโรงพยาบาล เภสัชสาธารณสุข

550 368 Public Health Administration 3(2-3-4)

Pre-requisite : 563 255 Basic Pharmacy Administrations II Approaches in public health administration, structure, policy and

strategy of health system development; obstructions in implementation and administration process; development in public health pharmacy especially in hospital and health centers.

Page 76: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

75

550 369 ปญหาพิเศษของการบริบาลทางเภสัชกรรม 2(1-3-2) (Special Problems in Pharmaceutical Care) วิชาบังคับกอน : 562 361 เภสัชกรรมปฏิบัต ิ ปญหาที่เก่ียวของกับการบริบาลทางเภสัชกรรม โดยเนนเภสัชบําบัด 550 369 Special Problems in Pharmaceutical Care 2(1-3-2) Pre-requisite : 562 361 Pharmacy Practice Problems concerning pharmaceutical care focusing on pharmacotherapy. 550 370 การวิจัยและพัฒนาเภสัชภัณฑ 2(2-0-4) (Research and Development of Pharmaceutical Products) เงื่อนไขการลงทะเบียน : ตองเปนนักศึกษาเภสัชศาสตรเทียบชั้นเรียนปที่ 4 ข้ึนไป การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑยา ผลิตภัณฑเครื่องสําอาง ชีววัตถุ สมุนไพร ใน

ข้ันตอนตางๆ ตั้งแตการวิจัยและพัฒนาวัตถุดิบ การศึกษาการออกฤทธิ์ ความเปนพิษของยา การออกแบบยาและรูปแบบยา การพัฒนาผลิตภัณฑ และการประเมินทางคลินิก

550 370 Research and Development of Pharmaceutical Products 2(2-0-4) Pre-requisite : Senior standing Research and development processes of pharmaceuticals, cosmetics,

biological products and herbal medicine, including pharmacology and toxicology of drugs, structural and dosage form designs, as well as clinical assessment.

550 371 การจัดการทางเภสัชศาสตร 2(2-0-4) (Management in Pharmaceutical Sciences) การวางแผน การจัดการเก่ียวกับบุคลากร ระบบการจัดซื้อ ระบบคลังพัสดุ การ

ประเมินทางคลินิก สําหรับการวิจัยและการผลิตเภสัชภัณฑในโรงงานเภสัชอุตสาหกรรม 550 371 Management in Pharmaceutical Sciences 2(2-0-4)

Planning, personnel management, purchasing and storing system, as well as clinical assessment for research and development of pharmaceutical products.

Page 77: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

76

550 372 การประกันคุณภาพทางเภสัชศาสตร 3(3-0-6) (Quality Assurance in Pharmaceutical Sciences) วิชาบังคับกอน : 564 231 การควบคุมคุณภาพยา 2 แนวคิด หลักการ และมุมมอง ที่เก่ียวของกับงานประกันคุณภาพทางเภสัช

ศาสตร โดยมีขอพิจารณาเก่ียวกับมาตรฐาน ขอตกลง และขอบังคับระดับชาติและนานาชาต ิ

550 372 Quality Assurance in Pharmaceutical Sciences 3(3-0-6) Concepts of quality assurance in pharmacy focusing on national and international standards, conceptional agreements and regulations. 550 373 การสื่อสารกับสุขภาพ 3(1-6-2) (Communication and Health) วิชาบังคับกอน : 550 366 เภสัชบําบัด 2 565 242 เภสัชวิทยา 2 ศึกษาเพ่ือเพ่ิมทักษะการสื่อสารกับผูปวยและบุคลากรทางสาธารณสุขที่ เก่ียวของ สําหรับการปฏิบัติงานในวิชาชีพ 550 373 Communication and Health 3(1-6-2)

Pre-requisite : 550 366 Pharmacotherapeutics II 565 242 Pharmacology II

Communication skills with patients and health care professionals in pharmacy practices.

550 374 การบริหารเภสัชกิจเชิงกลยุทธ 3(2-3-4) (Strategy in Pharmacy Administration) วิชาบังคับกอน : 563 255 การบริหารเภสัชกิจเบ้ืองตน 2

เทคนิคการบริหารงานที่จําเปนตอวิชาชีพเภสัชกรรม โดยเนนการบริหารองคกร การบริหารบุคคล การบริหารธุรกิจขนาดยอม การบริหารสินคาคงคลัง การบริหารการเงิน การวิเคราะหขอมูลทางการบัญชีเพ่ือประเมินผลการดําเนินงานของหนวยงานและประกอบการตัดสินใจในการดําเนินงานของหนวยงาน

Page 78: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

77

550 374 Strategy in Pharmacy Administration 3(2-3-4) Pre-requisite : 563 255 Basic Pharmacy Administrations II

Strategy in pharmacy management emphasize on organization and personnel management, small and medium enterprises, inventory control, financial and cost accounting; including managerial costing for evaluation and decision making.

550 375 การจัดการขอมูลทางเภสัชกรรม 3(2-3-4) (Pharmaceutical Information Management)

การเขาถึงขอมูลทางเภสัชกรรมทุกสาขา ทั้งลักษณะและการคนหารวบรวมขอมูล การประเมิน ประมวล จัดเก็บขอมูลอยางเปนระบบ และสามารถนําไปใชประโยชน รวมทั้งรูปแบบ เทคนิคการนําเสนอ กฎหมายและจริยธรรมที่เก่ียวของ

550 375 Pharmaceutical Information Management 3(2-3-4) Pharmaceutical specialties available in drug information, searching from

primary, secondary and tertiary sources, categorization, evaluation, data management, and provision ; analysis of drug information from leaflets and other sources; presentation techniques, as well as law and ethics in management of pharmaceutical information.

550 399 จุลนิพนธ 1(0-3-0) (Senior Project) วิชาบังคับกอน : 080 144 หลักการวิจัยเบ้ืองตน เงื่อนไขการลงทะเบียน : ตองเปนนักศึกษาเภสัชศาสตรเทียบชั้นเรียนปที่ 5

การศึกษาแบบโครงการเพ่ือเตรียมตัวนักศึกษาเปนเภสัชกรที่มีความพรอม ปฏิบัติงานในหนวยงานและพ้ืนที่ตางๆ ของประเทศ เนนการแกปญหา การบริหารระบบขอมูล การบริหารเวชภัณฑ การผลิตและควบคุมคุณภาพยา และการใหบริการทางวิชาการแกชุมชน โดยเนนการรวมปฏิบัติงานเปนหมูคณะ

550 399 Senior Project 1(0-3-0) Pre-requisite : Senior standing and 080 144 Principles of Research Preparatory programme for Pharmacy students to achieve higher standard

of scholastic pharmacists to serve in various organizations and regions, emphasizing on team working for problem solving, administration of information system, pharmaceutical and medical inventory administration, production and quality control, and academic services to community.

Page 79: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

78

551 201 ระบบคอมพิวเตอรและการเขียนโปรแกรมเบ้ืองตนสําหรับ 3(2-2-5) สารสนเทศศาสตรทางสุขภาพ (Introduction to Computers and Programming for Health Informatics) วิชาบังคับกอน : 565 352 เภสัชบําบัด 1 * * อาจเรียนพรอมกัน

ศึกษาระบบคอมพิวเตอร โดยเนนสวนประกอบหลักของคอมพิวเตอร ระบบปฏิบัติการ ระบบเครือขายคอมพิวเตอร และอุปกรณที่เก่ียวของ การประมวลผลขอมูลและการจัดการฐานขอมูล หลักการเขียนโปรแกรมเบ้ืองตนและการประยุกตสําหรับงานดานสารสนเทศศาสตรทางสุขภาพ

551 201 Introduction to Computers and Programming for Health Informatics 3(2-2-5) Pre-requisite : 565 352 Pharmacotherapeutics I * * can be co-requisite Study of computer system components, operating system, computer

network, data processing, and data base management ; programming languages and also concepts and practice of programming for the solution of simple problems in areas of health informatics.

551 202 ระบบการจัดการฐานขอมูลสําหรับสารสนเทศศาสตรทางสุขภาพ 3(2-2-5) (Database Management System for Health Informatics) วิชาบังคับกอน : 565 352 เภสัชบําบัด 1* * อาจเรียนพรอมกัน มโนทัศนของโมเดลขอมูลแบบตาง ๆ เทคนิคของการจัดการระบบแฟมขอมูล คํา

จํากัดความและการจัดการขอมูล การออกแบบและสรางฐานขอมูลที่เก่ียวของกับงานสารสนเทศศาสตรทางสุขภาพรวมถึงการบริหารจัดการระบบฐานขอมูลเบ้ืองตน

551 202 Database Management System for Health informatics 3(2-2-5) Pre-requisite : 565 352 Pharmacotherapeutics I* * can be co-requisite Data modeling concepts, various file management techniques, data definition

and manipulation, design and implementation of database applications in areas of health informatics and introduction to database administration.

Page 80: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

79

551 203 สถิติสําหรับสารสนเทศศาสตรทางสุขภาพ 3(2-3-4) (Statistics for Health Informatics) วิชาบังคับกอน : 550 359 คอมพิวเตอรทางเภสัชกรรม เทคนิคของการวิเคราะหขอมูลทางสถิติโดยเฉพาะเทคนิคการวิเคราะหความ

ถดถอย การวิเคราะหปจจัย การวิเคราะหตัวแปรหลายตัว การวิเคราะหจําแนกกลุม การวิเคราะหการถดถอยโลจิสติก การวิเคราะหต ัวแปรรวม การวิเคราะหความแปรปรวนตั้งแตสองปจจัยข้ึนไป การวิเคราะหความเที่ยง เทคนิคการพยากรณรวมถึงการแปลความหมายและสรุปผล

551 203 Statistics for Health Informatics 3(2-3-4) Pre-requisite : 550 359 Computer in Pharmacy Techniques for statistical data analysis, especially logistic regression

analysis, factor analysis, multivariate analysis, discriminant and cluster analysis, ANCOVA, ANOVA, reliability analysis, forecasting techniques, including data interpretation and conclusion.

551 204 การใชคอมพิวเตอรชวยในการคนหาและพัฒนายา 2(2-0-4) (Computer-Aided Drug Discovery and Development) วิชาบังคับกอน : 565 352 เภสัชบําบัด 1* * อาจเรียนพรอมกัน

เครื่องมือและวิธีการทางคอมพิวเตอรที่นิยมใชในการคนหาและพัฒนายาใหม หลักการพ้ืนฐานของการนําคอมพิวเตอรมาชวยในการออกแบบยา ทั้งชนิดที่ข้ึนกับ ลิแกนและโครงสราง ครอบคลุมการเตรียมขอมูล ฐานขอมูลทางเคมี การคัดเลือกยาโดยการใชวิธ ีทางคอมพิวเตอร และการออกแบบยาดวยเทคนิคตาง ๆ การทํานายคุณสมบัติทางเภสัชจลนศาสตรและพิษวิทยา

551 204 Computer-Aided Drug Discovery and Development 2(2-0-4) Pre-requisite : 565 352 Pharmacotherapeutic I * * can be co-requisite Computational methodologies and tools commonly used in drug discovery

and development; basic concepts of computer-aided drug design, both ligand-based and structure-based approaches; compound preprocessing, chemical databases, virtual screening, various techniques for drug design, as well as predictions of pharmacokinetic and toxicological properties.

Page 81: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

80

551 205 โครงสรางขอมูลและอัลกอริทึม 2(2-0-4) (Data Structure and Algorithms) วิชาบังคับกอน : 551 201 ระบบคอมพิวเตอรและการเขียนโปรแกรมเบ้ืองตนสําหรับ สารสนเทศศาสตรสุขภาพ

มโนทัศนของโครงสรางขอมูลและการโปรแกรม โครงสรางขอมูลแบบ สแตก คิว ลิงคลิสต ทรี กราฟ และโครงสรางขอมูลแบบอ่ืน ๆ อัลกอริทึมสําหรับการเรียกใชตัวเอง ตารางแบบแฮช การเรียงลําดับ การสืบคนโดยเนนการประยุกตทางสารสนเทศศาสตรทางสุขภาพ

551 205 Data Structure and Algorithms 2(2-0-4) Pre-requisite : 551 201 Introduction to Computers and Programming for Health Informatics

Concepts of data structures and programming ; various data structures : stacks, queues, linked lists, trees, graphs, and others ; recursion, hash tables, sorting and searching algorithms with an emphasis on applications in health informatics.

551 206 เทคนิคการจําลอง 3(3-0-9) (Simulation Techniques) วิชาบังคับกอน : 551 201 ระบบคอมพิวเตอรและการเขียนโปรแกรมเบ้ืองตนสําหรับ สารสนเทศศาสตรทางสุขภาพ 551 205 โครงสรางขอมูลและอัลกอริทึม ความหมายและประโยชนของการจําลองสถานการณ ความสําคัญของ

แบบจําลอง และข้ันตอนของการจําลองสถานการณ ครอบคลุม การกําหนดปญหา การรวบรวม และการวิเคราะหขอมูล การสรางตัวแบบ การสรางตัวเลขสุม การตรวจสอบความถูกตองของตัวแบบ การออกแบบการทดลอง การทําการทดลอง และการประเมินผลลัพธ รวมถึง การจําลองปญหาทางชีวสารสนเทศ

551 206 Simulation Techniques 3(3-0-9) Pre-requisite : 551 201 Introduction to Computers and Programming for Health Informatics 551 205 Data Structure and Algorithms

Definition and application of modeling simulation, values of simulation models and simulation techniques, including problem formulation, data collection and analysis, developing simulation models, random number federation, model verification and validation, model experimentation and optimization, implementing simulation results, and simulation techniques for Bioinformatics.

Page 82: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

81

551 207 สารสนเทศศาสตรทางสุขภาพ 2(2-0-4) (Health Informatics)

การศึกษาเปรียบเทียบขอมูลในสาขาตางๆ ทางระบบสุขภาพโดยเนนการนําเทคโนโลยีดานอิเลคทรอนิกมาใชในการจัดเก็บ การจัดระบบ การสืบคน และการนําขอมูลมาใชประโยชน ทั้งในโรงพยาบาล คลินิก สถานบริการสาธารณสุข และหนวยงานรัฐบาล รวมถึงการประยุกตใหเกิดประโยชนแกผูปวย บุคลากรในสาขาวิชาชีพดานสุขภาพและภาครัฐบาล

551 207 Health Informatics 2(2-0-4)

An overview of different data types and data model in health system focusing on comparing and contrasting data from different disciplines and how health information is strored, organized, retrieved and used, applications of health information in hospitals, clinics, public health settings, and government repositories, as well as the application on the use and analysis of health information by patient, professionals, and government sectors.

551 208 การโปรแกรมคอมพิวเตอรสําหรับสารสนเทศศาสตรทางสุขภาพ 3(2-2-5) (Computer Programming for Health Informatics)

วิชาบังคับกอน : 551 201 ระบบคอมพิวเตอรและการเขียนโปรแกรมเบ้ืองตน สําหรับสารสนเทศศาสตรทางสุขภาพ

มโนทัศนเบ้ืองตนของภาษาโปรแกรม ภาษาโปรแกรมแบบโครงสราง การกําหนดคา เงื่อนไข การวนรอบของโปรแกรม ประเภทของขอมูลแบบพ้ืนฐานและแบบซับซอน หลักการออกแบบอัลกอริทึมเบ้ืองตน สภาวะแวดลอมและเครื่องมือสําหรับการพัฒนาโปรแกรม เทคนิคการโปรแกรมที่มีประสิทธิภาพ และการประยุกตการเขียนโปรแกรมสําหรับสารสนเทศศาสตรทางสุขภาพ

551 208 Computer Programming for Health Informatics 3(2-2-5) Pre-requisite : 551 201 Introduction to Computer and Programming for

Health Informatics Introduction to basic concept of programming languages; structural

programming, assignment, condition and loop; primitive and complex data types; basic principles of algrorithm; programming environments and tools; techniques for efficient programming; and application in health informatics.

Page 83: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

82

551 209 การพัฒนาอินเตอรเน็ตเว็บไซต 3(2-2-5) (Internet Web Site Development)

แนะนําระบบเครือขายแบบเวิลดไวดเว็บ มโนทัศนและทักษะเบ้ืองตนของการออกแบบ การพัฒนา การเผยแพรและการบํารุงรักษาระบบเว็บไซตบนอินเตอรเน็ต หลักการพ้ืนฐานของเครือขายอินเตอรเน็ตสําหรับเว็บไซต ภาษาไฮเปอรเท็กซมารกอัพ แนะนําระบบสื่อผสมบนเครือขายอินเตอรเน็ต เครื่องมือและเทคนิคสําหรับการพัฒนาและการบํารุงรักษาเว็บไซต รวมถึงแนะนําการสรางหนาเว็บแบบพลศาสตร

551 209 Internet Web Site Development 3(2-2-5)

Introduction to the World Wide Web; basic concepts and skill in the design, development, publishing and maintenance of Internet Web site; Internet fundamentals for Web site; Hypertext Markup Language; introduction to multimedia on Internet; basic tools and techniques for Web sites development and maintenance, including introduction to dynamic web pages.

551 210 การพัฒนาอินเตอรเน็ตเว็บไซตขั้นสูง 3(2-2-5) (Advanced Internet Web Site Development)

วิชาบังคับกอน : 551 201 ระบบคอมพิวเตอรและการเขียนโปรแกรมเบ้ืองตน สําหรับสารสนเทศศาสตรทางสุขภาพ 551 202 ระบบการจัดการฐานขอมูลสําหรับสารสนเทศศาสตร ทางสุขภาพ

หลักการสําคัญและเทคโนโลยีข้ันสูงสําหรับการสราง การเผยแพร และการจัดการเว็บไซตบนอินเตอรเน็ต การสรางหนาเว็บแบบพลศาสตร เว็บไซตแบบเชื่อมโยงกับระบบฐานขอมูล เทคโนโลยีระดับกลางสําหรับสื่อแบบผสมบนเครือขายอินเตอรเน็ต การติดตั้งการใหบริการแบบเว็บ เครื่องมือและการโปรแกรมข้ันสูงสําหรับการพัฒนาและบํารุงรักษาเว็บไซต

551 210 Advanced Internet Web Site Development 3(2-2-5) Pre-requisite : 551 201 Introduction to Computers and Programming for Health Informatics 551 202 Database Management System for Health informatics

Principles and advanced technologies required to create, publish and manage Internet Web site; dynamic web pages, database driven Web sites; intermediate multimedia technology on Internet; Web server installation; advanced tools and programming for Web sites development and maintenance.

Page 84: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

83

551 211 ซอฟทแวรแบบเปดเผยการโปรแกรมสําหรับสารสนเทศศาสตรทาง

สุขภาพ 3(2-2-5) (Open Source Software for Health Informatics)

วิชาบังคับกอน : 551 201 ระบบคอมพิวเตอรและการเขียนโปรแกรมเบ้ืองตน สําหรับสารสนเทศศาสตรทางสุขภาพ

แนะนําซอฟทแวรแบบเปดเผยการโปรแกรม ระบบปฏิบัติการที่เปนแบบเปดเผยการโปรแกรม โปรแกรมประยุกตทั่วไป และทางดานสารสนเทศศาสตรทางสุขภาพ

551 211 Open Source Software for Health Informatics 3(2-2-5) Pre-requisite : 551 201 Introduction to Computers and Programming for Health Informatics

Introduction to open source software, open source operating systems, general applications and applications for health informatics.

551 212 ปญหาพิเศษทางสารสนเทศศาสตรทางสุขภาพ 1 1(0-3-0) (Special problem in health informatics 1) วิชาบังคับกอน : 551201 ระบบคอมพิวเตอรและการเขียนโปรแกรมเบ้ืองตนสําหรับ

สารสนเทศศาสตรทางสุขภาพ การปฏิบัติการของปญหาท่ีเกี่ยวของกับเภสัชกรรมสารสนเทศและสารสนเทศ

ศาสตรทางสุขภาพ โดยเนนปญหาพ้ืนฐานท่ีเกี่ยวของกับระบบสารสนเทศดานสุขภาพ

551 212 Special problem in health informatics 1 1(0-3-0) Pre – requisite : 551 201 Introduction to Computers and Programming for Health Informatics

Laboratory studies of problems which relate to pharmaceutical informatics and health informatics, focusing on basic problems in health informatics.

Page 85: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

84

551 213 ปญหาพิเศษทางสารสนเทศศาสตรทางสุขภาพ 2 3(2-2-5) (Special problem in health informatics 2) วิชาบังคับกอน : 551201 ระบบคอมพิวเตอรและการเขียนโปรแกรมเบ้ืองตนสําหรับ

สารสนเทศศาสตรทาง สุขภาพ หัวขอบรรยายและการปฏิบัติการของปญหาท่ีเกี่ยวของกับเภสัชกรรมสารสนเทศ

และสารสนเทศศาสตรทางสุขภาพ โดยเนนปญหาดานสุขภาพท่ีใชหลักการของปญญาประดิษฐเขามาประยุกตใช

551 213 Special problem in health informatics 2 3(2-2-5) Pre – requisite : 551 201 Introduction to Computers and Programming for Health informatics

Theoretical and laboratory studies of problems which relate to pharmaceutical informatics and health informatics. Focusing on advanced problems which apply artificial intelligence to solve problems.

551 214 การประยุกตคอมพิวเตอรทางสารสนเทศศาสตรทางสุขภาพ 3(2-2-5) (Computer Application in Health Informatics) วิชาบังคับกอน : 550 359 คอมพิวเตอรทางเภสัชกรรม

วิธีการทางคอมพิวเตอรและโปรแกรมประยุกตขอมูลท่ีนํามาใชทางสารสนเทศศาสตรทางสุขภาพ การจัดการ การสืบคน การวิเคราะห และนําเสนอขอมูลโดยเนนระบบบริหารเวชภัณฑ ระบบงานในโรงพยาบาล ระบบงานในโรงงานอุตสาหกรรมท่ีเกี่ยวของกับระบบสุขภาพ งานดานระบาดวิทยา สาธารณสุข คลินิก การตลาด และการใชโปรแกรมคอมพิวเตอรในงานดานวิทยาการทางเภสัชศาสตร เชน การวิเคราะหทางเคมี การออกแบบยา การคนหาและพัฒนายาใหม การทํานายคุณสมบัติทางเภสัชจลนศาสตรและพิษวิทยา รวมถึงการพัฒนาฐานขอมูลทางเภสัชศาสตร

551 214 Computer Application in Health Informatics) 3(2-2-5) Pre - Requisite : Computer in Pharmacy

Computational methodologies and data-integrated programs in health informatics. Management, searching, analysis and presentation of data with an emphasis on drug store and database administration, hospital pharmacy systems, industrial pharmacy related with health systems, epidemiology , public health, clinics, marketing and application programs in pharmaceutical sciences such as

Page 86: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

85

chemical analysis, drug design, drug discovery and development, prediction of ADME/tox properties; including database development in pharmaceutical sciences.

552 101 การบริบาลทางเภสัชกรรมบนพื้นฐานของหลักฐานทางวิชาการ 2(2-0-4) (Evidence Base in Pharmaceutical Care) วิชาบังคับกอน : 562 361 เภสัชกรรมปฏิบัต ิ

แนวคิดพ้ืนฐาน หลักการ และความสําคัญของการเลือกใชยาบนพ้ืนฐานของหลักฐานทางวิชาการ ระเบียบวิธีวิจัยและสถิติเบ้ืองตนที่เก่ียวของกับการวิจัยทางคลินิก การสืบคนหาหลักฐานทางวิชาการที่เก่ียวของ และการวิเคราะหและตีความรายงานการวิจัย

552 101 Evidence Base in Pharmaceutical Care 2(2-0-4) Pre-requisite : 562 361 Pharmacy Practice

Basic concepts and principles of drug therapy based on research evidence ; research methodology and statistics in clinical research ; retrieval and critical appraisal of research evidence.

552 102 ปฎิบัติการการบริบาลทางเภสัชกรรมบนพื้นฐานของหลักฐานทางวิชาการ 1(0-3-0) (Evidence Base in Pharmaceutical Care Laboratory)

วิชาบังคับกอน : 562 361 เภสัชกรรมปฏิบัต ิ 552 101 การบริบาลทางเภสัชกรรมบนพ้ืนฐานของหลักฐานทาง

วิชาการ * * อาจเรียนพรอมกัน

ฝกปฏิบัติการอาน และประเมินรายงานการวิจัยทางคลินิกแบบตางๆ แนวทางเวชปฏิบัติคลินิก และการประเมินผลดานเศรษฐศาสตรสาธารณสุข รวมทั้งการเลือกและนําเสนอขอมูลประกอบการตัดสินใจเลือกใชยาและผลิตภัณฑที่เก่ียวของกับสุขภาพอ่ืนๆ

552 102 Evidence Base in Pharmaceutical Care Laboratory 1(0-3-0) Pre-requisite : 562 361 Pharmacy Practice 552 101 Evidence Base in Pharmaceutical Care* * can be co-requisite

Practice in reading and critical appraisal of clinical research evidence, clinical practice guidelines, and health economic evaluation, selecting and presenting drug and other health-related products information to be used in decision-making process.

Page 87: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

86

552 103 การประเมินผลลัพธในการใชเภสัชภัณฑ 2(2-0-4) (Outcomes Drug Assessment) วิชาบังคับกอน : 562 361 เภสัชกรรมปฏิบัต ิ การวัดผลการรักษาดานคุณภาพชีวิต และเชิงเศรษฐศาสตร ที่สามารถนําไป

ประยุกตในการทํางานวิจัย เพ่ือวัดผลในงานบริการสาธารณสุข บริการทางเภสัชกรรม และเภสัชภัณฑ

552 103 Outcomes Drug Assessment 2(2-0-4) Pre-requisite : 562 361 Pharmacy Practice Assessment of treatment outcomes in terms of quality of life and economic

aspects; application in evaluating healthcare services and pharmaceutical products.

552 104 ปฏิบัติการการประเมินผลลัพธในการใชเภสัชภัณฑ 1(0-3-0) (Outcomes Drug Assessment Laboratory) วิชาบังคับกอน : 562 361 เภสัชกรรมปฏิบัต ิ

552 103 การประเมินผลลัพธในการใชเภสัชภัณฑ * * อาจเรียนพรอมกัน

ฝกปฏิบัติการวัดผลการใหบริการดานสุขภาพและการใชผลิตภัณฑสุขภาพดวยแบบสอบถามวัดคุณภาพชีวิต การทดสอบคุณสมบัติของแบบสอบถาม ฝกปฏิบัติการสรางและแปลแบบสอบถาม และการอานรายงานวิจัย

552 104 Outcomes Drug Assessment Laboratory 1(0-3-0)

Pre-requisite : 562 361 Pharmacy Practice 552 103 Outcome Drug Assessment* * can be co-requisite Practicing in evaluating healthcare services and pharmaceutical products

using a quality of life questionnaires, testing the psychometric properties of the questionnaire, developing and translating questionnaire and reading published paper.

Page 88: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

87

552 105 เภสัชกรรมสถานพยาบาล 3(3-0-6) (Hospital Pharmacy)

ระบบบริหารและองคกรของการบริการเภสัชกรรมในสถาบันตางๆที่ใหบริการ สาธารณสุข ไดแก โรงพยาบาล สถานีอนามัย และศูนยบริการสาธารณสุข เนนการปฏิบัติหนาที่ของบุคลากรในการบริการเภสัชกรรมของโรงพยาบาลระดับตาง ๆ

552 105 Hospital Pharmacy 3(3-0-6) Administrative systems and organizations of pharmaceutical services in

various accredited institutes of health services including hospitals, health service centres and others, emphasizing on professional practice and duties of personnels engaging in pharmaceutical services of different administrative levels and size of hospitals.

552 106 ปฏิบัติการเภสัชกรรมสถานพยาบาล 1(0-3-0) (Hospital Pharmacy Laboratory) วิชาบังคับกอน : 552 105 เภสัชกรรมสถานพยาบาล*

* อาจเรียนพรอมกัน ฝกปฏิบัติและอภิปรายเก่ียวกับระบบบริหารและองคกรของการบรกิารเภสัชกรรมในสถาบันตางๆที่ใหบริการสาธารณสุข การปฏิบัติงานในโรงพยาบาล และศูนยการใหบริการทางการแพทย เนนการปฏิบัติหนาที่ของบุคลากรในการบริการเภสัชกรรมของโรงพยาบาลระดับตาง ๆ

552 106 Hospital Pharmacy Laboratory 1(0-3-0)

Pre-requisite : 552 105 Hospital Pharmacy * * can be co-requisite Practicing and discussing about the administrative systems and

organizations of pharmaceutical services in various accredited institutes of health services including hospitals, health service centres and others, emphasizing on professional practice and duties of personnels engaging in pharmaceutical services of different administrative levels and size of hospitals.

552 107 เภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธ์ิตอจิตประสาท 3(3-0-6) (Pharmacology of Neuropsychoactive Drugs) วิชาบังคับกอน : 565 242 เภสัชวิทยา 2

ยาที่ออกฤทธิ์ตอจิตประสาท สารเสพติด สารที่ทําใหเกิดอาการประสาทหลอน พิษและการแกไข ปญหาสาธารณสุขที่เก่ียวของกับสารเสพติด สุขศึกษาและการปองกัน

Page 89: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

88

552 107 Pharmacology of Neuropsychoactive Drugs 3(3-0-6) Pre-requisite: 565 242 Pharmacology II

Therapeutic and other pharmacological agents with specific actions or side-effect actions as neuropsychological agents, narcotic and social addictives, and hallucinogenics, their toxic and hazardous effects,appropriate and specific treatments; public health problems relating to such agents, health education and preventive measures.

552 108 ปฏิบัติการเภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธ์ิตอจิตประสาท 1(0-3-0) (Pharmacology of Neuropsychoactive Drugs Laboratory) วิชาบังคับกอน : 552 107 เภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธิ์ตอจิตประสาท* * อาจเรียนพรอมกัน

ปฏิบัติการเก่ียวกับยาที่ออกฤทธิ์ตอจิตประสาท สารเสพติด สารที่ทําใหเกิดอาการประสาทหลอน รวมถึงกลวิธานการออกฤทธิ์ระดับเซลลและโมเลกุลและพิษของยา

552 108 Pharmacology of Neuropsychoactive Drugs Laboratory 1(0-3-0) Pre-requisite: 552 107 Pharmacology of Neuropsychoactive Drugs* * can be co-requisite

Laboratory course on therapeutic and other pharmacological agents with specific actions or side-effect actions as neuropsychological agents, narcotic and social addictives, and hallucinogenics drugs including cellular and molecular pharmacology and their toxic and hazardous effects

552 109 เภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธ์ิตอระบบหัวใจและหลอดเลือด 2(2-0-4) (Pharmacology of Cardiovascular Drugs) วิชาบังคับกอน : 565 242 เภสัชวิทยา 2

ความกาวหนาของยาที่ออกฤทธิ์ตอระบบหัวใจและหลอดเลือด รวมถึงกลวิธานการออกฤทธิ์ระดับเซลลและโมเลกุล การพัฒนาสมุนไพรที่ใชในการรักษาโรคของระบบหัวใจและหลอดเลือด ประเมินขอมูลปจจุบันเก่ียวกับการใชยาและปญหาของยาที่ออกฤทธิ์ตอระบบหัวใจและหลอดเลือด

Page 90: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

89

552 109 Pharmacology of Cardiovascular Drugs 2(2-0-4) Pre-requisite: 565 242 Pharmacology II

Academic advancement in cardiovascular drugs including cellular and molecular pharmacology and natural product development for cardiovascular diseases; evaluation of current uses and problems related to cardiovascular drugs.

552 110 ปฏิบัติการเภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธ์ิตอระบบหัวใจและหลอดเลือด 1(0-3-0) (Pharmacology of Cardiovascular Drugs laboratory) วิชาบังคับกอน : 552 109 เภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธิ์ตอระบบหัวใจและหลอดเลือด* * อาจเรียนพรอมกัน

ปฏิบัติการเก่ียวกับยาที่ออกฤทธิ์ตอระบบหัวใจและหลอดเลือด รวมถึงกลวิธานการ ออกฤทธิ์ระดับเซลลและโมเลกุล การพัฒนาสมุนไพรที่ใชในการรักษาโรคของระบบหัวใจและหลอดเลือด ประเมินขอมูลปจจุบันเก่ียวกับการใชยาและปญหาของยาที่ออกฤทธิ์ตอระบบหัวใจและหลอดเลือด

552 110 Pharmacology of Cardiovascular Drugs Laboratory 1(0-3-0) Pre-requisite: 552 109 Pharmacology of Cardiovascular Drugs* * can be co-requisite

Laboratory course on cardiovascular drugs including cellular and molecular pharmacology and natural product development for cardiovascular diseases; evaluation of current uses and problems related to cardiovascular drugs

552 111 เภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธ์ิตอระบบทางเดินอาหาร 2(2-0-4) (Pharmacology of Gastrointestinal Drugs) วิชาบังคับกอน : 565 242 เภสัชวิทยา 2

ความกาวหนาของยาที่ออกฤทธิ์ตอระบบทางเดินอาหารรวมถึงกลวิธานการออกฤทธิ ์ ระดับเซลลและโมเลกุล การพัฒนาสมุนไพรที่นํามาใชในการรักษาโรคของระบบทางเดินอาหาร ประเมินขอมูลการใชยา และปญหาของยาที่ออกฤทธิ์ตอระบบทางเดินอาหาร

552 111 Pharmacology of Gastrointestinal Drugs 2(2-0-4) Pre-requisite: 565 242 Pharmacology II

Academic advancement in gastrointestinal drugs including cellular and molecular pharmacology and natural product development for gastrointestinal diseases; evaluation of current uses and problems related to gastrointestinal drugs.

Page 91: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

90

552 112 ปฏิบัติการเภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธ์ิตอระบบทางเดินอาหาร 1(0-3-0) (Pharmacology of Gastrointestinal Drugs laboratory) วิชาบังคับกอน : 552 111 เภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธิ์ตอระบบทางเดินอาหาร* * อาจเรียนพรอมกัน

ปฏิบัติการเก่ียวกับยาที่ออกฤทธิ์ตอระบบทางเดินอาหารรวมถึงกลวิธานการออกฤทธิ ์ ระดับเซลลและโมเลกุล การพัฒนาสมุนไพรที่นํามาใชในการรักษาโรคของระบบทางเดินอาหาร ประเมินขอมูลการใชยา และปญหาของยาที่ออกฤทธิ์ตอระบบทางเดินอาหาร

552 112 Pharmacology of Gastrointestinal Drugs Laboratory 1(0-3-0) Pre-requisite: 552 111 Pharmacology of Gastrointestinal Drugs* * can be co-requisite

Laboratory course on gastrointestinal drugs including cellular and molecular pharmacology and natural product development for gastrointestinal diseases; evaluation of current uses and problems related to gastrointestinal drugs.

552 113 เภสัชวิทยาคลินิก 2(2-0-4) (Clinical Pharmacology) วิชาบังคับกอน : 565 342 เภสัชบําบัด 1

ความรูพ้ืนฐานทางเภสัชวิทยาคลินิก การใชยาอยางสมเหตุตามหลักการทั่วไปของการรักษาโรคที่ถูกตอง การใชยาตามขอบงใชรอง การเลือกใชยาใหเหมาะสมกับผูปวยโดยพิจารณาจากคุณสมบัติทางเภสัชจลนศาสตรและเภสัชพลศาสตร ผลไมพึงประสงคและปฏิกิริยาระหวางยา เนื้อหาครอบคลุมยาที่รักษาโรคของระบบหัวใจและหลอดเลือด โรคของระบบประสาท โรคของระบบภูมิคุมกัน โรคของระบบฮอรโมน โรคของระบบทางเดินอาหาร โรคของระบบทางเดินหายใจ โรคผิวหนัง โรคกระดูกและขอ และโรคติดเชื้อ ตลอดจนหลกัการของวิธีการรักษาโรคตามเภสัชวิทยาแนวใหมที่คาดวาจะเปนวิธีการรักษาโรคที่มีประสิทธิภาพ

552 113 Clinical Pharmacology 2(2-0-4) Pre-requisite: 565 342 Pharmacotherapeutic I

Basic clinical pharmacology, rational use and selection of drugs fo therapeutic indication with relevance to pharmacokinetic/ pharmacodynamics consideration, adverse drug reactions and interactions.

Page 92: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

91

552 114 ปฏิบัติการเภสัชวิทยาคลินิก 1(0-3-0) (Clinical Pharmacology laboratory) วิชาบังคับกอน : 552 113 เภสัชวิทยาคลินิก* * อาจเรียนพรอมกัน

ปฏิบัติการเก่ียวกับเภสัชวิทยาคลินิก การใชยาอยางสมเหตุตามหลักการทั่วไปของการรักษาโรคที่ถูกตอง การใชยาตามขอบงใชรอง การเลือกใชยาใหเหมาะสมกับผูปวยโดยพิจารณาจากคุณสมบัติทางเภสชัจลนศาสตรและเภสัชพลศาสตร ผลไมพึงประสงคและปฏิกิริยาระหวางยา เนื้อหาครอบคลุมยาที่รักษาโรคของระบบหัวใจและหลอดเลือด โรคของระบบประสาท โรคของระบบภูมิคุมกัน โรคของระบบฮอรโมน โรคของระบบทางเดินอาหาร โรคของระบบทางเดินหายใจ โรคผิวหนัง โรคกระดูกและขอ และโรคติดเชื้อ ตลอดจนหลักการของวิธีการรักษาโรคตามเภสัชวิทยาแนวใหมที่คาดวาจะเปนวิธีการรักษาโรคที่มีประสิทธิภาพ

552 114 Clinical Pharmacology Laboratory 1(0-3-0) Pre-requisite: 552 113 Clinical Pharmacology * * can be co-requisite

Laboratory course on clinical pharmacology, rational use and selection of drugs for therapeutic indication with relevance to pharmacokinetic/ pharmacodynamics consideration, adverse drug reactions and interactions.

552 115 พิษวิทยาคลินิกของสิ่งแวดลอม 2 (2-0-2) (Environmental Clinical Toxicology) วิชาบังคับกอน : 565 243 พิษวิทยา

ศึกษามลพิษในสิ่งแวดลอมโดยเนนสาเหตุ พยาธิสภาพ ผลกระทบตอมนุษย สัตว และระบบนิเวศ ขีดความปลอดภัยของการไดรับสารพิษชนิดตางๆ การปองกันและการแกไข

552 115 Environmental Clinical Toxicology 2(2-0-2) Pre-requisite: 565 243 Toxicology

Environmental pollution with emphasis on etiology, pathophysiology, impact on human and animal health, and ecological system ; threshold limits, prevention, and management of toxicant exposure also addressed.

Page 93: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

92

552 116 ปฏิบัติการพิษวิทยาคลินิกของสิ่งแวดลอม 1(0-3-0) (Environmental Clinical Toxicology Laboratory) วิชาบังคับกอน : 552 115 พิษวิทยาคลินิกของสิ่งแวดลอม* * อาจเรียนพรอมกัน

ปฏิบัติการเก่ียวกับมลพิษในสิ่งแวดลอมโดยเนนสาเหตุ พยาธิสภาพ ผลกระทบตอมนุษย สัตว และระบบนิเวศ ขีดความปลอดภัยของการไดรับสารพิษชนิดตางๆ การปองกันและการแกไข

552 116 Environmental Clinical Toxicology Laboratory 1(0-3-0) Pre-requisite: 550… Environmental Clinical Toxicology * * can be co-requisite

Laboratory course on Environmental pollution with emphasis on etiology, pathophysiology, impact on human and animal health, and ecological system ; threshold limits, prevention, and management of toxicant exposure also addressed.

552 117 สัตวเภสัชภัณฑ 2(2-0-4) (Veterinary Pharmaceutical Products) วิชาบังคับกอน : 565 243 พิษวิทยา

สัตวเภสัชภัณฑ เนนชนิดของเวชภัณฑที่มีจําหนายในทองตลาด ขอบงใช วิธีใช การคํานวณขนาดใช ขอควรระวัง ขอหามใช การตรวจสอบสารตกคาง อันตรกิริยาระหวางยา การเก็บรักษา รวมถึงกฎ ขอบังคับ และระเบียบที่เก่ียวของกับยาสัตว

552 117 Veterinary Pharmaceutical Products 2(2-0-4)

Pre-requisite: 565 243 Toxicology Veterinary pharmaceutical products including commercially available

medication, indications, uses, dosage calculation, precaution and contraindication, drug interaction, storage, as well as residual test ; law and legislation related to veterinary medications.

552 118 ปฏิบัติการสัตวเภสัชภัณฑ 1(0-3-0) (Veterinary Pharmaceutical Products Laboratory) วิชาบังคับกอน : 565 243 พิษวิทยา

ปฎิบัติการเก่ียวกับสัตวเภสัชภัณฑ เนนชนิดของเวชภัณฑที่มีจําหนายในทองตลาด ขอบงใช วิธีใช การคํานวณขนาดใช ขอควรระวัง ขอหามใช การตรวจสอบสารตกคาง อันตรกิริยาระหวางยา การเก็บรักษา รวมถึงกฎ ขอบังคับ และระเบียบที่เก่ียวของกับยาสัตว

Page 94: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

93

552 118 Veterinary Pharmaceutical Products Laboratory 1(0-3-0) Pre-requisite: 552 117 Veterinary Pharmaceutical Products * * can be co-requisite

Laboratory course on Veterinary pharmaceutical products including commercially available medication, indications, uses, dosage calculation, precaution and contraindication, drug interaction, storage, as well as residual test ; law and legislation related to veterinary medications.

552 119 พิษวิทยาของภาวะแวดลอม 3(3-0-6) (Environmental Toxicology) วิชาบังคับกอน : 565 243 พิษวิทยา

ผลกระทบตอมนุษยเมื่อไดรับสารเคมีที่เปนสิ่งปนเปอนจากภาวะแวดลอม เนนสาเหตุ ผล ขีดความปลอดภัย และผลตอระบบนิเวศ

552 119 Environmental Toxicology 3(3-0-6) Pre-requisite: 565 243 Toxicology

Effects of environmental chemical contaminants on living beings, emphasizing potential causes and incidences, phenomena, safety limits and ecological environments.

552 220 ปฎิบัติการพิษวิทยาของภาวะแวดลอม 1(0-3-0) (Environmental Toxicology Laboratory) วิชาบังคับกอน : 565 243 พิษวิทยา

ปฏิบัติการเก่ียวกับผลกระทบตอมนุษยเมื่อไดรับสารเคมีที่เปนสิ่งปนเปอนจากภาวะแวดลอม เนนสาเหตุ ผล ขีดความปลอดภัย และผลตอระบบนิเวศ

552 220 Environmental Toxicology Laboratory 1(0-3-0) Pre-requisite: 565 243 Toxicology

Laboratory course on Effects of environmental chemical contaminants on living beings, emphasizing potential causes and incidences, phenomena, safety limits and ecological environments.

Page 95: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

94

561 101 ชีวเภสัชศาสตร 1 2(2-0-4) (Biopharmacy I) วิชาบังคับกอน : 512 102 ชีววิทยาทั่วไป 2

เนื้อหาเชิงบูรณาการของชีวเภสัชศาสตร ในแงองคประกอบพ้ืนฐานภายใน เซลล คุณสมบัติและหนาที่ขององคประกอบของเซลล วิธีการศึกษาทางชีวเคมี โครงสรางและหนาที่ของสารชีวโมเลกุลในสภาพปกติและเมื่อเกิดพยาธิสภาพ

561 101 Biopharmacy I 2(2-0-4) Pre-requisite : 512 102 General Biology II Integrated study of cell structures, properties and functions of cell

organelles, methods in biochemistry, structures and functions of biomolecules in normal and pathological states.

561 102 ชีวเภสัชศาสตร 2 2(2-0-4) (Biopharmacy II) วิชาบังคับกอน : 561 101 ชีวเภสัชศาสตร 1

กระบวนการเมตาบอลิสมของสารชีวโมเลกุล หลักโภชนาการ ศึกษาแบบบูรณาการถึงชีววิทยาของเซลลในแงการทํางาน การติดตอระหวางโมเลกุลภายในเซลล

561 102 Biopharmacy II 2(2-0-4) Pre-requisite : 561 101 Biopharmacy I Metabolism of biomolecules, principle of nutrition, integrated study of cell

biology with special emphasis on cell function and molecular signelling.

561 103 พื้นฐานชีววิทยาระดับโมเลกุลสําหรับเภสัชกร 1(1-0-2) (Basic Molecular Biology for Pharmacists)

วิชาบังคับกอน : 561 102 ชีวเภสัชศาสตร 2 หลักการเบ้ืองตนทางชีววิทยาระดับโมเลกุล หลักการทางพันธุศาสตร โครงสรางและหนาที่การทํางานของยีนและโครโมโซม การควบคุมการทํางานระดับโมเลกุล หลักการทางพันธุวิศวกรรมเพ่ือประยุกตในการศึกษาทางเภสัชศาสตร

561 103 Basic Molecular Biology for Pharmacists 1(1-0-2) Pre-requisite : 561 102 Biopharmacy II Basic principles in molecular biology and genetics; structure and function of

genes and chromosomes, molecular controlling, principle aspects of genetic engineering in pharmaceutical applications.

Page 96: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

95

561 131 ปฏิบัติการชีวเภสัชศาสตร 1 1(0-3-0) (Biopharmacy Laboratory I) วิชาบังคับกอน : 550 102 ปฏิบัติการพ้ืนฐานทางเภสัชศาสตร : 561 101 ชีวเภสัชศาสตร 1 * * อาจเรียนพรอมกัน

ปฏิบัติการเพ่ือใหเขาใจดานเทคนิคพ้ืนฐานและเนื้อหาที่เสริมเพ่ิมหรือสอดคลองกับ รายวิชา 561 101 ชีวเภสัชศาสตร 1

561 131 Biopharmacy Laboratory I 1(0-3-0) Pre-requisite : 550 102 Basic Pharmaceutical Laboratory 561 101 Biopharmacy I * * can be co-requisite Laboratory practice to understand basic techniques and contents related to

561 101 Biopharmacy I. 561 201 ชีวเภสัชศาสตร 3 3(3-0-6) (Biopharmacy III) วิชาบังคับกอน : 561 101 ชีวเภสัชศาสตร 1

เนื้อหาเชิงบูรณาการของกายวิภาคศาสตร ชีวเคมี และสรีรวิทยาเนนถึงโครงสราง หนาที่และความสัมพันธระหวางกลุมเซลล เนื้อเย่ืออวัยวะและระบบตางๆ ของรางกายมนุษยในภาวะปกติ ไดแก ระบบประสาท กลามเนื้อ และระบบคํ้าจุนรางกาย ระบบตอมไรทอ และระบบสืบพันธุ

561 201 Biopharmacy III 3(3-0-6) Pre-requisite : 561 101 Biopharmacy I Integrated anatomical, biochemical and physiological study of structures,

functions and interaction of human cells, tissues and organ system in normal state ; emphasizing on nervous system, musculoskeletal system, endocrines, and reproductive system.

561 202 ชีวเภสัชศาสตร 4 2(2-0-4) (Biopharmacy IV) วิชาบังคับกอน : 561 201 ชีวเภสัชศาสตร 3

เนื้อหาเชิงบูรณาการของกายวิภาคศาสตร ชีวเคมี สรีรวิทยา เนนถึงโครงสราง หนาที่ ความสัมพันธระหวางกลุมเซลล เนื้อเย่ือ อวัยวะ และระบบตางๆ ของ รางกาย

Page 97: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

96

มนุษยในภาวะปกติ ไดแกระบบเลือด หัวใจและหลอดเลือด ระบบทางเดินปสสาวะ ระบบหายใจ ระบบทางเดินอาหาร รวมทั้งการรักษาภาวะธํารงดุลของรางกาย

561 202 Biopharmacy IV 2(2-0-4) Pre-requisite : 561 201 Biopharmacy III

Integrated study of anatomical, biochemical and physiological controls of structures, functions and interaction of human cells, tissues and organ system in

normal state ; emphasizing on hematology, cardiovascular, urinary, respiratory and gastrointestinal systems, including homeostasis.

561 203 ชีวเภสัชศาสตร 5 4(4-0-8) (Biopharmacy V) วิชาบังคับกอน : 561 102 ชีวเภสัชศาสตร 2

ชีวเคมี และสรีรวิทยาของจุลชีพที่ทําใหเกิดโรค การปองกัน หลักการทําใหปราศจากเชื้อ การสรางภูมิคุมกัน พยาธิในคนและสัตว โรคจากสัตวติดคน การทดสอบเชื้อและความไวของเชื้อตอยา การประยุกตจุลชีพในทางเภสัชกรรมหลักการพ้ืนฐานทางจุลชีววิทยา ปรสิตวิทยา และวิทยาอิมมูโน

561 203 Biopharmacy V 4(4-0-8) Pre-requisite : 561 102 Biopharmacy II Biochemical and physiological aspects of pathogenic microorganisms,

preventives, principles and techniques of asepsis, immunity, parasitic infestations in man and animals, animal-born diseases, identification of microorganisms and tests of susceptibility towards medicines, application of microorganisms in pharmaceutical interests, also covering other principle aspects and techniques in pharmaceutical microbiology, parasitology and immunology.

561 211 ชีววัตถุ 2(2-0-4) (Biological Products) วิชาบังคับกอน : 561 203 ชีวเภสัชศาสตร 5

แหลงกําเนิด วิธีการเตรียม การใช ขอควรระวังของชีววัตถุ โดยเนนวัคซีน ซีรั่ม ทอกซอยด สารทดสอบภูมิแพ ยาแกพิษงู พิษสุนัขบา และ ชีววัตถุอ่ืน ๆ ตลอดจนเทคโนโลยีชีวภาพที่เก่ียวของกับชีววัตถุ กฎ และระเบียบที่เก่ียวของกับการใช การควบคุมชีววัตถุ

Page 98: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

97

561 211 Biological Products 2(2-0-4) Pre-requisite : 561 203 Biopharmacy V Origins, preparations and standardization, utilization and precautions of

biological products including vaccines, sera, toxoids, allergenics, anti-venoms, anti-rabies and others; related biotechnological methods, laws and regulations concerning utilization and controls of such products.

561 231 ปฏิบัติการชีวเภสัชศาสตร 3 1(0-3-0) (Biopharmacy Laboratory III) วิชาบังคับกอน : 561 201 ชีวเภสัชศาสตร 3 * * อาจเรียนพรอมกัน

ปฏิบัติการเพ่ือใหเขาใจเทคนิคพ้ืนฐานทางสรีรวิทยาและเนื้อหาที่สอดคลองกับรายวิชา 561 201 ชีวเภสัชศาสตร 3

561 231 Biopharmacy Laboratory III 1(0-3-0) Pre-requisite : 561 201 Biopharmacy III * * can be co-requisite Laboratory practice to understand basic techniques in physiology and

contents related to 561 201 Biopharmacy III.

561 232 ปฏิบัติการชีวเภสัชศาสตร 4 1(0-3-0) (Biopharmacy Laboratory IV) วิชาบังคับกอน : 561 202 ชีวเภสัชศาสตร 4 * * อาจเรียนพรอมกัน

ปฏิบัติการที่เก่ียวกับระบบการควบคุมการทํางานของเซลลเนื้อเย่ือและอวัยวะ ในดานชีวเคมี และสรีรวิทยา โดยมีเนื้อหาสอดคลองกันรายวิชา 561 202 ชีวเภสัชศาสตร 4

561 232 Biopharmacy Laboratory IV 1(0-3-0) Pre-requisite : 561 202 Biopharmacy IV * * can be co-requisite Laboratory practice in biochemical and physiological regulatory systems of

cells, tissues and organs; with contents related to 561 202 Biopharmacy IV.

561 233 ปฏิบัติการชีวเภสัชศาสตร 5 1(0-3-0) (Biopharmacy Laboratory V) วิชาบังคับกอน : 561 203 ชีวเภสัชศาสตร 5 *

Page 99: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

98

* อาจเรียนพรอมกัน ปฏิบัติการเก่ียวกับชีวเคมีและสรีรวิทยาของจุลชีพที่ทําใหเกิดโรค การปองกัน โรค การทําใหปราศจากเชื้อ การสรางภูมิคุมกัน พยาธิในคนและสัตว การทดสอบ เชื้อและความไวของเชื้อตอยา การประยุกตใชจุลชีพในทางเภสัชกรรม โดยมีเนื้อหาสอดคลองกับรายวิชา 561 203 ชีวเภสัชศาสตร 5

561 233 Biopharmacy Laboratory V 1(0-3-0) Pre-requisite : 561 203 Biopharmacy V * * can be co-requisite Laboratory practice in biochemical and physiological aspects of pathogenic

microorganisms, preventives, principles and techniques of asepsis, immunity, parasitic infestations in man and animals, identification of microorganisms and tests of susceptibility towards medicines, application of microorganisms in pharmaceutical interests, also covering other principle aspects and techniques with contents related to 561 203 Biopharmacy V.

562 321 ชีวเภสัชกรรมและเภสัชจลนพลศาสตร 3(3-0-6) (Biopharmaceutics and Pharmacokinetics) วิชาบังคับกอน : 565 242 เภสัชวิทยา 2 * * อาจเรียนพรอมกัน ความสัมพันธระหวางคุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมีของยา ปจจัยทางชีวภาพ

และปจจัยอ่ืน ๆ ตอพลศาสตรและจลนพลศาสตรของการดูดซึม การกระจาย การเปลี่ยนรูปและการขับถายยา ตลอดจนชีวหิตสภาพของยาที่มีในรางกาย ศึกษาแบบจําลองทางคณิตศาสตรและการประยุกตใชหลักการเหลานี้ในแผนการประเมินคุณคาและความเหมาะสมของยาสําเร็จรูปในแงเภสัชวิทยาและเภสัชบําบัดเมื่อนําไปใชกับผูปวย

562 321 Biopharmaceutics and Pharmacokinetics 3(3-0-6) Pre-requisite : 565 242 Pharmacology II * * can be co-requisite

Effects of physical and chemical properties of drug, biological and other factors on dynamics and kinetics of drug absorption, distribution, metabolism, and excretion; bioavailability; mathematical models; the application of pharmacokinetic principles in assessing pharmaceutical products regarding pharmacological and pharmacotherapeutic aspects.

Page 100: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

99

562 361 เภสัชกรรมปฏิบัติ 4(3-3-6) (Pharmacy Practice) วิชาบังคับกอน : 562 321 ชีวเภสัชกรรมและเภสัชจลนพลศาสตร

ความรูพ้ืนฐานสําหรับการปฏิบัติงานดานเภสัชกรรมคลินิก รวมถึงระบบเอกสาร และพารามิเตอรตาง ๆ ที่จําเปนในกระบวนการใหการบริบาลทางเภสัชกรรมแกผูปวย โดยการบงชี้ แกไข และปองกันปญหาที่เก่ียวของกับการใชยา เพ่ือใหผูปวยมีคุณภาพชีวิตที่ดีข้ึน

562 361 Pharmacy Practice 4(3-3-6) Pre-requisite : 562 321 Biopharmaceutics and Pharmacokinetics

Basic concepts and principles in clinical pharmacy covering documentary system and essential parameters in pharmaceutical care, with the emphasis on identifying, correcting, and preventing drug-related problems.

563 254 การบริหารเภสัชกิจเบ้ืองตน 1 2(2-0-4) (Basic Pharmacy Administrations I)

พ้ืนฐานของงานดานการบริหารงานทั่วไป ทั้งในลักษณะของภาครัฐบาลและภาคเอกชน ลักษณะของธุรกิจ การบริหารความเสีย่งและการประกันภัย หลักเบ้ืองตนเศรษฐศาสตรจุลภาคและมหภาค ตลอดจนกลวิธีแนวทางตางๆ ที่สามารถนําไปประยุกตกับการบริหารงานเภสัชกรรม

563 254 Basic Pharmacy Administrations I 2(2-0-4) Fundamental principles of management in public and private sectors,

types of business, risk management and insurances ; basic principle of economics and its application in pharmacy administration.

563 255 การบริหารเภสัชกิจเบ้ืองตน 2 2(1-3-2) (Basic Pharmacy Administrations II) วิชาบังคับกอน : 563 254 การบริหารเภสัชกิจเบ้ืองตน 1 การบัญชีเพ่ือการบริหารและการตลาดยา ตนทุน กลวิธีและแนวทางตางๆ ที่

สามารถนําไปประยุกตกับการบริหารงานเภสัชกรรมในสาขาตาง ๆ

563 255 Basic Pharmacy Administrations II 2(1-3-2) Pre-requisite : 563 254 Basic Pharmacy Administrations I Application of managerial accounting , cost and strategy in administration of

pharmacy services.

Page 101: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

100

564 111 เภสัชเคมี 1 1(1-0-2) (Pharmaceutical Chemistry I) วิชาบังคับกอน : 513 102 เคมีทั่วไป 2

แหลงกําเนิดของยาประเภทอนินทรียเภสัชสาร วิธีการเตรียมข้ึนเปนตัวยา การทดสอบเอกลักษณ ความบริสุทธิ์ ประโยชนทางการบําบัด ขอควรระวัง การเก็บ รักษา

564 111 Pharmaceutical Chemistry I 1(1-0-2)

Pre-requisite : 513 102 General Chemistry II Sources, pharmaceutical preparations, identification, purification and purity

rubrics, limit test, therapeutic uses, precaution and storage of inorganic pharmaceutical compounds.

564 121 ปฏิบัติการเภสัชเคมี 1 1(0-3-0) (Pharmaceutical Chemistry Laboratory I) วิชาบังคับกอน : 564 111 เภสัชเคมี 1 * * อาจเรียนพรอมกัน

ปฏิบัติการเตรียมตัวยาทางเคมีอนินทรีย และเคมีอินทรีย รวมทั้งการทดสอบเอกลักษณ ความบริสุทธิ์ ประโยชนทางการบําบัด ขอควรระวัง และการเก็บรักษา

564 121 Pharmaceutical Chemistry Laboratory I 1(0-3-0)

Pre-requisite : 564 111 Pharmaceutical Chemistry I * * can be co-requisite

Laboratory in pharmaceutical preparation, identification, purification, therapeutic uses, precaution and storage of inorganic and organic pharmaceutical compounds.

564 131 การควบคุมคุณภาพยา 1 3(3-0-6) (Pharmaceutical Quality Control I) วิชาบังคับกอน : 513 102 เคมีทั่วไป 2

หลักการและความรูเชิงบูรณาการเก่ียวกับการควบคุมวัตถุดิบ วัสดุสําหรับการบรรจ ุและเภสัชภัณฑเชิงกายภาพ รวมถึงหลักการและเทคนิคในการวิเคราะหคุณภาพโดยวิธีวิเคราะหเชิงกายภาพในลักษณะตาง ๆ เนนการวิเคราะหและแปลผลทางเภสัชศาสตร

Page 102: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

101

564 131 Pharmaceutical Quality Control I 3(3-0-6) Pre-requisite : 513 102 General Chemistry II

Fundamental and integrated knowledges of physical control of raw materials and pharmaceuticals, including principles and qualitative analytical techniques involving various physical analytical methods, emphasizing analysis and interpretation in pharmacy.

564 132 ปฏิบัติการการควบคุมคุณภาพยา 1 2(0-6-0) (Pharmaceutical Quality Control Laboratory I) วิชาบังคับกอน : 550 102 ปฏิบัติการพ้ืนฐานทางเภสัชศาสตร 564 131 การควบคุมคุณภาพยา 1 * * อาจเรียนพรอมกัน

ปฏิบัติการการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานวัตถุดิบ วัสดุสําหรับการบรรจุและเภสัชภัณฑตามเภสัชตํารับ โดยวิธีวิเคราะหเชิงกายภาพในลักษณะตาง ๆ ที่สอดคลองกับเนื้อหาในรายวิชา 564 131 การควบคุมคุณภาพยา 1 เนนการวิเคราะหและแปลผลทางเภสัชศาสตร

564 132 Pharmaceutical Quality Control Laboratory I 2(0-6-0)

Pre-requisite : 550 102 Basic Pharmaceutical Laboratory 564 131 Pharmaceutical Quality Control I* * can be co-requisite Quality control laboratory of raw materials and pharmaceuticals according to pharmacopoeias by various analytical methods which conform to the contents in 564 131 Pharmaceutical Quality Control, emphasizing analysis and interpretation in pharmacy.

564 211 เภสัชเคมี 2 3(3-0-6) (Pharmaceutical Chemistry II) วิชาบังคับกอน : 513 250 เคมีอินทรีย

ยาประเภทอินทรียเภสัชสารจากสารสังเคราะห ประโยชนทางการบําบัด ความ สัมพันธระหวางโครงสรางทางเคมีกับฤทธิ์ของยา ความคงทน ความบริสุทธิ์ การทดสอบเอกลักษณ หลักการสังเคราะหยาประเภทนี้ เนื้อหาครอบคลุมยาประเภท ที่ใชในระบบประสาทและกลามเนื้อ ระบบหัวใจกับหลอดเลือด และระบบไต

Page 103: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

102

564 211 Pharmaceutical Chemistry II 3(3-0-6) Pre-requisite : 513 250 Organic Chemistry

Organic pharmaceutical and medicinal compounds from synthesis, pharmaceutical therapeutics, structure-activity relationships of pharmaceuticals, stability, purity, identification, principles and techniques of pharmaceutical syntheses covering those compounds employing in neuromuscular, cardiovascular and nephrotic system.

564 212 เภสัชเคมี 3 4(4-0-8) (Pharmaceutical Chemistry III) วิชาบังคับกอน : 564 211 เภสัชเคมี 2

เภสัชเคมีของยาตานจุลชีพ ฮอรโมน ยาตานอักเสบ ยาตานมะเร็ง และยาประเภทอ่ืน ๆ

564 212 Pharmaceutical Chemistry III 4(4-0-8) Pre-requisite : 564 211 Pharmaceutical Chemistry II

Pharmaceutical chemistry of synthetic compounds employing as antibiotics, hormones, anti-inflammatory drugs, antineoplastics and other categories.

564 231 การควบคุมคุณภาพยา 2 3(3-0-6) (Pharmaceutical Quality Control II) วิชาบังคับกอน : 564 131 การควบคุมคุณภาพยา 1

การควบคุมคุณภาพของยาโดยเนนความรูและเทคโนโลยีข้ันสูง ข้ึนของการวิเคราะหคุณภาพตามเภสัชตํารับ เทคนิคการแยกรวมถึงการทดสอบพิเศษอ่ืน ๆ ที่ใชในการควบคุมคุณภาพ เนนการวิเคราะหและแปลผลทางเภสัชศาสตร

564 231 Pharmaceutical Quality Control II 3(3-0-6) Pre-requisite : 564 131 Pharmaceutical Quality Control I

Pharmaceutical quality control focusing on principles and application of advanced instrumental analysis in pharmaceutical quality control including structure elucidation, separation techniques, data analysis and other special techniques.

Page 104: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

103

564 233 ปฏิบัติการการควบคุมคุณภาพยา 2 1(0-3-0) (Pharmaceutical Quality Control Laboratory II) วิชาบังคับกอน : 564 231 การควบคุมคุณภาพยา 2 * * อาจเรียนพรอมกัน

ปฏิบัติการการวิเคราะหคุณภาพและมาตรฐานวัตถุดิบและเภสัชภัณฑตามเภสัชตํารับที่ใชเครื่องมือวิเคราะหข้ันสูง เทคนิคการแยกและโครมาโตกราฟชนิดตาง ๆ รวม ถึงการทดสอบพิเศษอ่ืน ๆ ที่ใชในการควบคุมคุณภาพ เนนการวิเคราะหและแปลผล ทางเภสัชศาสตร

564 233 Pharmaceutical Quality Control Laboratory II 1(0-3-0) Pre-requisite : 564 231 Pharmaceutical Quality Control II * * can be co-requisite

Laboratory of pharmaceutical quality control emphasizing on practical approaches of advanced instrumental analysis in pharmaceutical quality control including structure elucidation, separation techniques, data analysis and other special techniques.

565 241 เภสัชวิทยา 1 3(3-0-6) (Pharmacology I) วิชาบังคับกอน : 561 202 ชีวเภสัชศาสตร 4 * * อาจเรียนพรอมกัน จุดมุงหมาย แหลงกําเนิด และการจัดประเภทของยาตามหลักเภสัชวิทยา

หลักการเตรียมยาจากแหลงกําเนิด วิธีใชยา หลักการการออกฤทธิ์ และการทําลายฤทธิ์ของยาในรางกาย พิษและอันตรายจากการใชยาโดยทั่ว ๆ ไป กลวิธานการออกฤทธิ์ของยา สรรพคุณ การใช ขอควรระวัง อาการขางเคียง อาการอันมิไดคาดหมาย ขอบงใช ขอหามใช ครอบคลุมยาประเภทที่ออกฤทธิ์ตอระบบประสาทอัตโนมัต ิ

565 241 Pharmacology I 3(3-0-6)

Pre-requisite : 561 202 Biopharmacy IV * * can be co-requisite Pharmacological principles and concepts of drugs as therapeutic

agents, indications and contra-indications, side-effects and precautions, adverse drug reactions, dosage and ulilization, and mechanisms of actions at molecular, cellular and organ levels in terms of pharmacodynamics, covering therapeutic agents acting on autonomic and central nervous systems.

Page 105: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

104

565 242 เภสัชวิทยา 2 4(4-0-8) (Pharmacology II) วิชาบังคับกอน : 561 202 ชีวเภสัชศาสตร 4 * * อาจเรียนพรอมกัน

เภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธิ์ตอระบบประสาทสวนกลาง ระบบการยอยอาหาร ระบบการหายใจ ยาตานจุลชีพ ยาตานมะเร็ง ฮอรโมน ยาเสริมภูมิคุมกัน

565 242 Pharmacology II 4(4-0-8) Pre-requisite : 561 202 Biopharmacy IV * * can be co-requisite

Pharmacology of therapeutic agents acting on cardiovascular and renal systems, gastrointestinal system, respiratory system and those as antibiotics, antineoplastics, hormones and immunological products.

565 243 พิษวิทยา 2(2-0-4) (Toxicology)

พิษของยา เครื่องสําอาง สิ่งเจือปนในอาหาร สารพิษในที่อยูอาศัย สารที่ใชใน ทางเกษตรกรรม ยาเสพติด เนื้อหาครอบคลุมอาการพิษ การแกไขอาการ การปองกันอันตราย การตรวจสอบทั้งวิธีวิเคราะหเบ้ืองตนและการทดสอบเพ่ือยืนยันทาง นิติเวช

565 243 Toxicology 2(2-0-4)

Toxicology of therapeutic agents, cosmetics, food additives, hazardous toxicants, household chemicals, agents used in agriculture, pollutants and narcotics, covering principles and aspects of mechanisms of actions, antidotal therapy and treatments, safety measures, methods in qualitative and quantitative analyses including forensic confirmation analysis.

565 261 ปฏิบัติการเภสัชวิทยา 1 1(0-3-0) (Pharmacology Laboratory I) วิชาบังคับกอน : 565 241 เภสัชวิทยา 1 * * อาจเรียนพรอมกัน ปฏิบัติการเก่ียวกับสรรพคุณ การใช ขอควรระวัง อาการขางเคียง อาการอัน มิไดคาดหมาย ขอบงใช ขอหามใช กลวิธานการออกฤทธิ์ของยา ครอบคลุมยา

Page 106: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

105

ประเภทที่ออกฤทธิ์ตอระบบประสาทสวนกลาง ระบบประสาทอัตโนมัติ ระบบ ประสาทสัมผัส ระบบการยอยอาหารและวิตามิน 565 261 Pharmacology Laboratory I 1(0-3-0) Pre-requisite : 565 241 Pharmacology I * * can be co-requisite

Laboratory course on therapeutic uses of drugs, precaution and adverse drug reaction, indications and contraindication, pharmacokinetics /pharmacodynamics of drugs for autonomic and central nervous system.

565 263 ปฏิบัติการพิษวิทยา 1(0-3-0) (Toxicology Laboratory) วิชาบังคับกอน : 565 243 พิษวิทยา * * อาจเรียนพรอมกัน ปฏิบัติการเก่ียวกับพิษของยา เครื่องสําอาง สิ่งเจือปนในอาหาร สารพิษใน ที่อยูอาศัย สารที่ใชในทางเกษตรกรรม ยาเสพติด เนื้อหาครอบคลุมอาการพิษ การ แกไขอาการ การปองกันอันตราย การตรวจสอบทั้งวิธีวิเคราะหเบ้ืองตนและการ ทดสอบเพ่ือยืนยันทางนิติเวช 565 263 Toxicology Laboratory 1(0-3-0) Pre-requisite : 565 243 Toxicology * * can be co-requisite

Laboratory course on toxic actions of drugs, cosmetics, food additive, household products, agricultural products as well as drug of abuse; emphasizing on toxic symptoms and management; primary analyses as well as forensic confirmation test of toxicants.

565 352 เภสัชบําบัด 1 3(3-0-6) (Pharmacotherapeutics I) วิชาบังคับกอน : 565 241 เภสัชวิทยา 1 565 242 เภสัชวิทยา 2

การเลือกใชยาในโรคตางๆ ตามกลุมทางพยาธิสภาพของรางกาย รวมถึงวิตามิน ปจจัยอ่ืน ๆ ตลอดจนผลของพันธุกรรมที่มีตอเภสัชวิทยาของยาภายในรางกาย โดยเนนหนักโรคที่พบมากในประเทศ ตลอดจนยาที่ใชในกรณีภยันตรายจากอุบัติเหตุและสารเคมี

Page 107: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

106

565 352 Pharmacotherapeutics I 3(3-0-6) Pre-requisite : 565 241 Pharmacology I

565 242 Pharmacology II Rational use and selection of drugs in various pathological disorders,

including vitamins and food supplement; pharmacogenetic basis of drug responses; drug use in medical emergency.

566 111 เภสัชเวท 1 3(3-0-6) (Pharmacognosy I) วิชาบังคับกอน : 566 101 เภสัชพฤกษศาสตร

พฤกษเคมีของสมุนไพรชนิดตาง ๆ รวมทั้งกระบวนการสังเคราะห การสลายตัว แหลงกําเนิดทางธรรมชาติ การแยกหมวดหมูของเภสัชสารจากธรรมชาติ ทั้งจากพืช สัตว แรธาตุ และการใชประโยชนทางการแพทยและเภสัชกรรม

566 111 Pharmacognosy I 3(3-0-6) Pre-requisite : 566 101 Pharmaceutical Botany

Phytochemical study of medicinal plants, including biosynthesis, decomposition, natural sources, classification of natural compounds from plants, animals and minerals as well as application in medical and pharmaceutical purposes.

566 121 ปฏิบัติการเภสัชเวท 1 1(0-3-0) (Pharmacognosy Laboratory I) วิชาบังคับกอน : 566 111 เภสัชเวท 1 * * อาจเรียนพรอมกัน ผลิตภัณฑจากธรรมชาติ ในสวนของพฤกษเคมี ทั้งในการสกัดแยกสารโดยเฉพาะ ในพืช และการตรวจสอบและพิสูจนเอกลักษณเบ้ืองตน

566 121 Pharmacognosy Laboratory I 1(0-3-0) Pre-requsite : 566 111 Pharmacognosy I * * can be co-requisite

Extraction of natural products, screening, analyse, and identification emphasizing on medicinal plants.

Page 108: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

107

566 211 เภสัชเวท 2 2(2-0-4) (Pharmacognosy II) วิชาบังคับกอน : 566 111 เภสัชเวท 1 แหลงผลิตภัณฑจากธรรมชาติที่ใชเปนยาทั้งจากพืช สัตว และแรธาตุ การพิสูจน เอกลักษณ การกําหนดมาตรฐาน การเตรียม การเพาะเลี้ยงเนื้อเย่ือพืชและการประเมิน คุณภาพสมุนไพรเบ้ืองตนเพ่ือใชประโยชนเปนยา 566 211 Pharmacognosy II 2(2-0-4)

Pre-requisite : 566 111 Pharmacognosy I Extended study of natural products, emphasizing on identification,

standardization, preparation and formulation of natural medicine, plant tissue culture, and evaluation for medicinal purposes.

566 221 ปฏิบัติการเภสัชเวท 2 1(0-3-0) (Pharmacognosy Laboratory II) วิชาบังคับกอน : 566 211 เภสัชเวท 2 * * อาจเรียนพรอมกัน

การตรวจสอบคุณภาพสมุนไพร การกําหนดมาตรฐาน พิสูจนเอกลักษณ การเตรียมยา การเพาะเลี้ยงเนื้อเย่ือพืชและการประเมินคุณภาพสมุนไพร โดยเฉพาะทางดานพฤกษเคมี และทางเภสัชวิทยา

566 221 Pharmacognosy Laboratory II 1(0-3-0) Pre-requisite : 566 111 Pharmacognosy II * * can be co-requisite

Quality control, setting up standardization, identification and preparation of crude drugs and herbal products, plant tissue culture, and herbal drug evaluation emphasizing on phytochemistry and pharmacology.

567 221 เทคโนโลยีเภสัชกรรม 1 2(2-0-4) (Pharmaceutical Technology I) วิชาบังคับกอน : 550 156 รูปแบบและเทคนิคของเภสัชภัณฑเบ้ืองตน

รูปแบบของยาสําเร็จรูป หลักการเทคนิค GMP เบ้ืองตน คุณสมบัติทางกายภาพ รวมถึงการละลายและเทคนิคในการเพ่ิมการละลาย สารละลายและคุณสมบัติของสารละลาย และหลักการอ่ืนๆที่ใชในการเตรียมยาสําเร็จรูปในรูปแบบยาน้ํา การปรุงยาผสมยา และการเก็บรักษา ตลอดจนศึกษาจลนพลศาสตรของความคงตัว และการสลายตัวของยา

Page 109: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

108

567 221 Pharmaceutical Technology I 2(2-0-4) Pre-requisite : 550 156 Introduction to Pharmaceutical Dosage Forms and Technology Drug dosage forms, introductory Good Manufacturing Practice, physical

properties of materials, including technique of solubilization and solution properties ; preparation, storage, and stability of solution dosage forms also discussed.

567 222 เทคโนโลยีเภสัชกรรม 2 3(3-0-6) (Pharmaceutical Technology II) วิชาบังคับกอน : 550 156 รูปแบบและเทคนิคของเภสัชภัณฑเบ้ืองตน

เทคโนโลยีของผงยา อาทิ ขนาดและการกระจายขนาด การวัดขนาดของผงยาในทางเภสัชกรรม การไหลของผงยา และคุณสมบัติอ่ืนที่เก่ียวของกับการประดิษฐยาในรูปแบบของแข็ง โดยเนน ยาเม็ด ยาแคปซูล ยาเม็ดเคลอืบ รวมทั้งเทคโนโลยีตาง ๆ ในการประดิษฐยา

567 222 Pharmaceutical Technology II 3(3-0-6) Pre-requisite : 550 156 Introduction to Pharmaceutical Dosage Forms and Technology Pharmaceutical powder technology such as size and size distribution,

measurement of particle size, flowability and other properties related to the preparation of solid dosage forms especially tablets, capsules and coated-tablets.

567 223 เทคโนโลยีเภสัชกรรม 3 3(3-0-6) (Pharmaceutical Technology III) วิชาบังคับกอน : 550 156 รูปแบบและเทคนิคของเภสัชภัณฑเบ้ืองตน รูปแบบ หลักการ เทคนิคในการเตรียม การรักษาเสถียรภาพ และการพัฒนา

ตํารับของเภสัชภัณฑสําเร็จรูปที่มีลักษณะเปนยาเตรียมประเภทเนื้อผสมทัง้จําพวกของแข็ง ของเหลว และก่ึงแข็ง รวมถึงคุณสมบัติทางกายภาพที่นําไปประยุกตใชกับเภสัชภัณฑรูปแบบเหลานี้

Page 110: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

109

567 223 Pharmaceutical Technology III 3(3-0-6) Pre-requisite : 550 156 Introduction to Pharmaceutical Dosage Forms and Technology Basic concepts, preparation techniques, physical properties, formulation

development, and stability of heterogeneous solid, liquid and semisolid dosage forms.

567 224 เทคโนโลยีเภสัชกรรม 4 2(2-0-4) (Pharmaceutical Technology IV) วิชาบังคับกอน : 567 221 เทคโนโลยีเภสัชกรรม 1

เทคโนโลยีและศิลปะในการผลิตยารูปแบบของแข็ง ก่ึงแข็งและของเหลวปราศ จากเชื้อ โดยเนนดานยาฉีด ยาตาและผลิตภัณฑที่ใหทางเสนเลือด การทดสอบคุณภาพและมาตรฐาน รวมทั้งหลักเกณฑการผลิตที่ดีของโรงงานผลิตยาในระดับอุตสาห-กรรม ตลอดจนการเลือกใชภาชนะบรรจุและการเก็บรักษาใหเหมาะสม

567 224 Pharmaceutical Technology IV 2(2-0-4) Pre-requisite : 567 221 Pharmaceutical Technology I Technology and arts of manufacturing of sterile solid, semi-solid and

solution dosage forms, focusing on injectable dosage forms, eye preparations, and parenteral dosage forms ; quality control of dosages, Good Manufacturing Practices, storage, and packaging also concerned.

567 225 เทคโนโลยีเภสัชกรรม 5 2(2-0-4) (Pharmaceutical Technology V) วิชาบังคับกอน : 550 156 รูปแบบและเทคนิคของเภสัชภัณฑเบ้ืองตน ประมวลความรูและเทคโนโลยีทางเภสัชกรรม ในกระบวนการผลิตยารูปแบบ ใหม

โดยคํานึงถึงความปลอดภัยตอสิ่งแวดลอม พรอมทั้งศึกษาผลิตภัณฑแอโรซอล รังสีเภสัชภัณฑ การเลือกภาชนะบรรจุภัณฑที่เหมาะสม ทนทาน การนําความรูทางสถิติมาใชประเมินคุณภาพผลิตภัณฑ

Page 111: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

110

567 225 Pharmaceutical Technology V 2(2-0-4) Pre-requisite : 550 156 Introduction to Pharmaceutical Dosage Forms and Technology

Comprehensive study of knowledge and technology for development of novel dosage forms, aerosols, radiopharmaceuticals, packaging selection and the application of statistics for products evaluation also included.

567 261 ปฏิบัติการเทคโนโลยีเภสัชกรรม 1 1(0-3-0) (Pharmaceutical Technology Laboratory I) วิชาบังคับกอน : 567 221 เทคโนโลยีเภสัชกรรม 1 * * อาจเรียนพรอมกัน

ฝกปฏิบัติการดานเทคโนโลยีและศิลปะในการตั้งตํารับยาน้ํา การทดสอบคุณภาพและมาตรฐานของยาเหลานั้นใหถูกตองตามเภสัชตํารับ การเลือกภาชนะบรรจุ ตลอดจนการตรวจสอบความถูกตองของกระบวนการผลิต

567 261 Pharmaceutical Technology Laboratory I 1(0-3-0) Pre-requisite : 567 221 Pharmaceutical Technology I * * can be co-requisite Practicing of technology and arts for development of solution dosage forms,

their quality controls according to pharmacopoeia, packaging selection and process validation.

567 262 ปฏิบัติการเทคโนโลยีเภสัชกรรม 2 1(0-3-0) (Pharmaceutical Technology Laboratory II) วิชาบังคับกอน : 567 222 เทคโนโลยีเภสัชกรรม 2 * * อาจเรียนพรอมกัน

ฝกปฏิบัติการดานเทคโนโลยีและศิลปในการตั้งตํารับยาในรูปแบบของแข็ง โดยเนนยาเม็ด ยาแคปซูล การทดสอบคุณภาพและมาตฐานของยาเหลานั้นใหถูกตองตามเภสัชตํารับ และการเลือกภาชนะบรรจุ ตลอดจนการตรวจสอบความถูกตองของกระบวนการผลิต

Page 112: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

111

567 262 Pharmaceutical Technology Laboratory II 1(0-3-0) Pre-requisite : 567 222 Pharmaceutical Technology II * * can be co-requisite Practicing of technology and arts for development of solid dosage forms

especially tablets and capsules, their quality controls according to pharmacopoeia, packaging selection and process validation.

567 263 ปฏิบัติการเทคโนโลยีเภสัชกรรม 3 1(0-3-0) (Pharmaceutical Technology Laboratory III) วิชาบังคับกอน : 567 223 เทคโนโลยีเภสัชกรรม 3 * * อาจเรียนพรอมกัน

ปฏิบัติการเก่ียวกับรูปแบบ เทคนิคในการเตรียม การรักษาเสถียรภาพ และการพัฒนาตํารับของเภสัชภัณฑสําเร็จรูปประเภทเนื้อผสมทั้งจําพวกของแข็ง ของเหลวและก่ึงแข็ง การทดสอบคุณภาพและมาตรฐานของยาเหลานั้นใหถูกตองตามเภสัชตํารับการเลือกภาชนะบรรจุ ตลอดจนการตรวจสอบความถูกตองของกระบวนการผลิต

567 263 Pharmaceutical Technology Laboratory III 1(0-3-0) Pre-requisite : 567 223 Pharmaceutical Technology III * * can be co-requisite Practicing skill in development of heterogeneous solid, liquid and semi-

solid dosage forms, techniques of preparation and stabilization of dosage forms, their quality controls according to pharmacopoeia, packaging selection and process validation.

567 264 ปฏิบัติการเทคโนโลยีเภสัชกรรม 4 1(0-3-0) (Pharmaceutical Technology Laboratory IV) วิชาบังคับกอน : 567 224 เทคโนโลยีเภสัชกรรม 4 * * อาจเรียนพรอมกัน

ฝกปฏิบัติการดานเทคโนโลยีและศิลปในการตั้งตํารับยาปราศจากเชื้อทั้งยาฉีด ปริมาตรมาก และยาฉีดปริมาตรนอย การทดสอบคุณภาพและมาตรฐานของยาปราศจากเชื้อใหถูกตองตามเภสัชตํารับ การเลือกภาชนะบรรจุ ตลอดจนการตรวจสอบความถูกตองของกระบวนการทําใหปราศจากเชื้อ

Page 113: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

112

567 264 Pharmaceutical Technology Laboratory IV 1(0-3-0) Pre-requisite : 567 224 Pharmaceutical Technology IV * * can be co-requisite Practicing of technology and arts for development of sterile dosage forms,

including large and small volume parenteral dosage forms ; their quality controls according to pharmacopoeia, packaging selection and process validation.

Page 114: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

113

18. การประกันคุณภาพหลักสูตร ใหมีการประกันคุณภาพหลักสูตรตามหลักการและแนวทางกําหนดของคณะเภสัชศาสตร ดังภาคผนวก ข.

19. เหตุผลของการปรับปรุงหลักสูตร 19.1 เพ่ือปรับโครงสรางของหลักสูตรใหสอดคลองกับเกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับ

ปริญญาตรี พ.ศ.2542 ของทบวงมหาวิทยาลัยที่กําหนดใหมีวิชาเลือกเสรีไมนอยกวา 6 หนวยกิต 19.2 เพ่ือปรับใหสอดคลองกับทิศทางและนโยบายของทบวงมหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัย

ศิลปากรในการพัฒนาทักษะการใชภาษาอังกฤษของนักศึกษาโดยจัดการเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษจํานวน 12 หนวยกิต ทั้งนี้โดยเปดโอกาสใหนักศึกษาสามารถเลือกเรียนภาษาตางประเทศอ่ืนๆดวย ตามความถนัด ความสนใจ และศักยภาพทางภาษาของนักศึกษา เนื่องจากคณะมีความรวมมือกับตางประเทศหลายประเทศ

19.3 เพ่ือปรับหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต (5 ป) ใหมีความยืดหยุนสูงในการรองรับทิศทางของหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต 6 ป และหลักสูตรตอเนื่องทางเภสัชศาสตร โดยการปรับรายวิชาเลือกวิชาชีพเปน 3 กลุมสาขาที่สอดคลองกับทิศทางระบบผูชํานาญการของสภาเภสัชกรรม

- กลุมสาขาการบริบาลทางเภสัชกรรม (Pharmaceutical Care) - กลุมสาขาวิทยาการทางเภสัชศาสตร (Pharmaceutical Sciences) - กลุมสาขาเภสัชกรรมสารสนเทศ (Pharmaceutical Informatics) 19.4 เพ่ือสนับสนุนใหนักศึกษาไดมีประสบการณในการฝกปฏิบัติงานวิชาชีพในสถาน

ปฏิบัติการจริงมากข้ึน โดยขยายระยะเวลาการฝกงานในชวงภาคเรียนสุดทาย ปรับจํานวนหนวยกิตรายวิชาฝกปฏิบัติงานวิชาชีพใหมากข้ึนใกลเคียงกับที่ควรจะเปน และใหนักศึกษามีโอกาสฝกปฏิบัติงานวิชาชีพตั้งแตระดับตนของหลักสูตร

19.5 ปรับลดความเปนหลักสูตรก่ึงเฉพาะทางในหลักสูตร 5 ป ลงโดยลดจํานวนหนวยกิตวิชาเลือกวิชาชีพและเนนองคความรู พ้ืนฐานที่จําเปนของเภสัชกรเพ่ือใหสามารถไปปฏิบัติงานในชุมชน ตามนโยบายรัฐบาลที่เนนการพัฒนาสุขภาพของประชาชนระดับฐานรากของสังคม

20. ปการศึกษาที่เริ่มใชหลักสูตรเดิมและปการศึกษาที่กําหนดใหใชหลักสูตรปรับปรุงใหม 20.1 หลักสูตรเดิมเริ่มใชภาคการศึกษาที่ 1 ปการศึกษา 2539

Page 115: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

114

20.2 หลักสูตรปรับปรุงเริ่มใชภาคการศึกษาที ่ 1 ปการศึกษา 2546 ทั้งนี้โดยขอใหนักศึกษา

ตามหลักสูตรเกา (รหัสประจําตัว 838… ถึง 845 …) สามารถขอเขาหลักสูตรใหมหรือขอลงทะเบียนเรียนรายวิชาในหลักสูตรใหมไดโดยผานความเห็นชอบของคณะกรรมการประจําคณะฯ เพ่ือประโยชนของนักศึกษาในชวงการเปลี่ยนแปลงหลักสูตร

21. การเปรียบเทียบหลักสูตรเดิมและหลักสูตรปรับปรุง 21.1 การเปรียบเทียบโครงสรางหลักสูตรเดิมกับหลักสูตรปรับปรุง

จํานวนหนวยกิต หมวดวิชา เกณฑ

ทบวง เดิม ปรับปรุง

จํานวนหนวยกิต ที่แตกตาง

1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 30 30 - 2 หมวดวิชาเฉพาะ กลุมวิชาพ้ืนฐานวิชาชีพ 30 30 - กลุมวิชาเฉพาะดาน 125 122 -3 - วิชาวิทยาศาสตรสุขภาพ และคลินิก

114 32 29 -3

- วิชาแกนวิชาชีพ 93 93 - 3. หมวดวิชาเลือกเสร ี 6 3 6 +3 จํานวนหนวยกิตรวม 150 188 188 - การปรับปรุงหลักสูตรครั้งน้ีไมกระทบจํานวนหนวยกิตโดยรวมแตกระทบโครงสรางยอยของหลักสูตร เพื่อใหมีความเหมาะสมและเพื่อรองรับความกาวหนาทางวิชาการและวิชาชีพ

Page 116: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

115

ภาคผนวก ก.

Page 117: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

116

รายชื่ออาจารยผูสอน

ที ่ ชื่อ-สกุล คุณวุฒิ ผลงาน ทางวิชาการ

ภาระงานสอน (ชม./สัปดาห)

1 อ.กรัณฑรัตน ทิวถนอม ภ.บ. มหาวิทยาลัยศิลปากร (2539) ภ.ม. (เภสัชกรรมคลินิก)มหาวิทยาลัยมหิดล (2541)

ภาคผนวก ลาศึกษาตอ

2

ผศ.ดร.เกษร จันทรศิร ิ ภ.บ. จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย(2529) ภ.ม. (เภสัชกรรม) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (2531)Ph.D.(Pharmaceutics) Purdue University , USA. (2540)

ภาคผนวก 2.87

3 อ.คนอง รัตนคร ภ.บ. มหาวิทยาลัยนเรศวร (2545) - 1.77 4 ผศ.ดร.คนาวรรณ

พจนาคม ภ.บ. มหาวิทยาลัยเชียงใหม (2531) ภ.ม. (Pharmaceutical Chemistry) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (2534)Dr.rer.Nat. (Pharmaceutical Chemistry) Bonn, Germany (2542)

ภาคผนวก 6.60

5 รศ.จันคนา บูรณะโอสถ ภ.บ. มหาวิทยาลัยเชียงใหม (2531) ภ.ม. (Pharmaceutical Chemistry) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (2536)

ภาคผนวก 3.67

6 อ.จันทนา เวสพันธ ภ.บ. มหาวิทยาลัยเชียงใหม (2522) วท.ม. (Microbiology) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (2529)

- 3.90

7 อ.ดร.จุรีย เจริญธีรบูรณ ภ.บ. มหาวิทยาลัยศิลปากร (2534) วท.ม. (Biochemistry) มหาวิทยาลัย มหิดล (2544) Ph.D. (Biochemistry) Mahidol University 2548

- -

8 รศ.ดร.จุไรรัตน นันทานิช ภ.บ. มหาวิทยาลัยมหิดล (2523) ภ.ม. (เภสัชศาสตร) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (2529) Ph.D. (Pharmaceutics) มหาวิทยาลัยมหิดล (2543)

ภาคผนวก 3.20

Page 118: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

117

ที ่ ชื่อ-สกุล คุณวุฒิ ผลงาน ทางวิชาการ

ภาระงานสอน (ชม./สัปดาห)

9 ผศ.ดร.ฉัตชัย ฉ่ินไพศาล ภ.บ.จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (2543) Ph.D. (Pharmacology) University of Minnesota, USA. (2542)

ภาคผนวก 9.00

10 อ.ฉัตรชัย เผาทองจีน ภ.บ.จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (2528) ภ.ม. (Physiology) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (2536)

- 4.87

11 อ.เฉลิมพล วนวงศไทย ภ.บ. มหาวิทยาลัยศิลปากร (2544) ลาศึกษาตอ 2.70 12 ผศ.ดร.ชนกพรหม

สุคนธพันธุ ภ.บ. มหาวิทยาลัยเชียงใหม (2530) ภ.ม.(เภสัชการ) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (2535) Ph.D. (Medical – Chemistry) University of Wisconsin, USA. (2545)

- 3.34

13 ผศ.ดร.ชวลิต สิทธิสมบัต ิ ภ.บ. มหาวิทยาลัยเชียงใหม (2523) ภ.ม. (เภสัชศาสตร) มหาวิทยาลัยเชียงใหม (2532) Ph.D.(Pharmacognosy) University of Paris 5, France (2546)

- 3.67

14 รศ.ดร.ชุติมา ล้ิมมัทวาภิรัติ ์ ภ.บ. มหาวิทยาลัยศิลปากร (2534) Ph.D.(Pharmaceutical Chemisty) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (2543)

ภาคผนวก 4.34

15 อ.ณัฎฐิญา คาผล ภ.บ. มหาวิทยาลัยศิลปากร (2536) ภ.ม. (เภสัชกิจ) มหาวิทยาลัยมหิดล (2540)

ลาศึกษาตอ ลาศึกษาตอ

16 ผศ.ดร.ณัฐวัฒนณัฐพูลวัฒน ภ.บ. มหาวิทยาลัยศิลปากร (2534) ว.ทม.(เภสัชศาสตร) มหาวิทยาลัยมหิดล (2538) Ph.D.(Pharmaceutics) มหาวิทยาลัยมหิดล (2544)

ภาคผนวก 4.67

17 ผศ.ดนิตา ภานุจรัส ภ.บ. จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (2527) ภ.ม. (เภสัชกรรม) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (2530)

ภาคผนวก 6.14

18 ผศ.อ.ตอศักดิ์ อินทรไพโรจน

ภ.บ. มหาวิทยาลัยศิลปากร (2534)

- -

19 อ.ทสมาพร สุขวัฒนาสินิทธิ ์ ภ.บ. มหาวิทยาลัยศิลปากร (2544)

ลาศึกษาตอ ลาศึกษาตอ

Page 119: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

118

ที ่ ชื่อ-สกุล คุณวุฒิ ผลงาน ทางวิชาการ

ภาระงานสอน (ชม./สัปดาห)

20 อ.ทิพาพร พงษเมษา ภ.บ.มหาวิทยาลัยศิลปากร (2546) ลาศึกษา ลาศึกษา 21 รศ.ดร.ธนะเศรษฐ

งาวหิรัญพัฒน ภ.บ. มหาวิทยาลัยมหิดล (2536) ว.ทม.(เภสัชศาสตร) มหาวิทยาลัยมหิดล (2538) Ph.D.(Pharmaceutical Sciences) Toyama Medical and Pharmaceutical University, Japan (2545)

ภาคผนวก 4.14

22 รศ.ดร.ธวัชชัย แพชมัด ภ.บ. มหาวิทยาลัยศิลปากร (2534) ภ.ม. (เภสัชศาสตร) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (2538) Ph.D. (Pharmaceutics) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (2542)

ภาคผนวก 6.00

23 ผศ.ดร.ธีรศักดิ์ โรจนราธา ภ.บ. มหาวิทยาลัยศิลปากร (2538) ปร.ด.(จุลชีววิทยา) มหาวิทยาลัยมหิดล (2547)

- -

24 อ.ดร.นพรัตน ฐิติวัฒนาการ ภ.บ. มหาวิทยาลัยศิลปากร (2536) - - 25 ผศ.ดร.นลินี พูลทรัพย ภ.บ. มหาวิทยาลัยมหิดล (2534)

วท.ม.(เภสัชศาสตร) มหาวิทยาลัยมหดิล (2536) Ph.D. (Evidence base Pharmacotherapy) Aston University, UK. (2543)

ภาคผนวก 6.80

26 อ.นันทลักษณ สถาพรนานนท

ภ.บ.จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (2529) วท.ม. (Hospital and Clinical Pharmacy) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (2536)

- ลาศึกษาตอ

27 อ.นํ้าฝน ศรีบัณฑติ ภ.บ. มหาวิทยาลัยศิลปากร (2537) MBA.มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร (2543)

- 3.60

28 ผศ.นุชนาฏ กิจเจริญ ภ.บ. จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (2530) ภ.ม. จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (2536)

- 4.47

Page 120: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

119

ที ่ ชื่อ-สกุล คุณวุฒิ ผลงาน ทางวิชาการ

ภาระงานสอน (ชม./สัปดาห)

29 รศ.ดร.นุศรา ปยะพลรุงโรจน

ภ.บ.จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (2529) ภ.ม. (Food Chemistry) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (2533) Ph.D. (Pharmaceutics)University of Michigan, USA. (2541)

ภาคผนวก 4.54

30 อ.บุญญาภา หวังวัฒนา ภ.บ.มหาวิทยาลัยมหิดล (2542) ภ.ม. (เภสัชวินิจฉัย) มหาวิทยาลัยมหิดล (2546)

ลาศึกษาตอ ลาศึกษาตอ

31 ผศ.ดร.บุรินทร ต.ศรีวงษ ภ.บ. มหาวิทยาลัยศิลปากร (2536) M.S.,Ph.D.(Social and Administrative) University of Wisconsin , USA. (2545)

- 4.80

32 ผศ.บุษบา เผาทองจีน ภ.บ. มหาวิทยาลัยเชียงใหม, (2531) ภ.ม. (Pharmaceutics) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (2536)

- ลาศึกษาตอ

33 ผศ.ดร.ปนัดดา พัฒนวิศิน ภ.บ. มหาวิทยาลัยศิลปากร (2534) Ph.D.(Medicinal Chemistry) Ohio State University USA. (2541)

ภาคผนวก 3.67

34 ผศ.ดร.ประเสริฐ อัครมงคลพร

ภ.บ. มหาวิทยาลัยศิลปากร (2535) ภ.ม. (เภสัชศาสตร) มหาวิทยาลัยมหิดล (2538) Ph.D. Chulalongkorn University 2549

ภาคผนวก -

35 ผศ.ดร.ปราณีต โอปณะโสภิต

ภ.บ. มหาวิทยาลัยศิลปากร (2535) ภ.ม. (เภสัชอุตสาหกรรม) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (2538) Ph.D.(Pharmaceutical Sciences) Kyoto University , Japan (2545)

ภาคผนวก 2.34

36 อ.ปญจพล เหลาพูนพัฒน ภ.บ. มหาวิทยาลัยมหิดล (2533) - 2.80 37 อ.ดร.ปทมวรรณ เผือกผอง ภ.บ. มหาวิทยาลัยเชียงใหม (2539)

Ph.D. (Applied Biopharmaceutical Science) Osaka University, Japan (2547)

- -

38 อ.ปารณีย มีแตม ภ.บ. มหาวิทยาลัยมหิดล (2533) วท.ม. (Physiology) มหาวิทยาลัยมหิดล (2535)

ภาคผนวก ลาศึกษาตอ

Page 121: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

120

ที ่ ชื่อ-สกุล คุณวุฒิ ผลงาน ทางวิชาการ

ภาระงานสอน (ชม./สัปดาห)

39 อ.ดร.ปาริชาต ชมโท ภ.บ. มหาวิทยาลัยมหิดล (2533) ภ.ม. (เภสัชอุตสาหกรรม) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (2535) Ph.D จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย(2543)

- 4.34

40 อ.ดร.ผกามาศ ไมตรีมิตร ภ.บ.จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (2521) ส.ม. มหาวิทยาลัยมหิดล (2535) Ph.D.มหาวิทยาลัยมหิดล (2543)

- 5.47

41 อ.ดร.พนิดา อัศวพิชยนต ภ.บ. จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (2527) ภ.ม. (เภสัชกรรม) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (2530) Ph.D. (Pharmacy) University of Saskatchewan, Canada. (2543)

ภาคผนวก 5.00

42 รศ.ดร.พรศักดิ์ ศรีอมรศักดิ ์ ภ.บ. มหาวิทยาลัยมหิดล (2537) วท.ม.(เภสัชศาสตร) มหาวิทยาลัยมหิดล (2539) Ph.D. (Pharmaceutics) Charles Sturt University, Australia (2545)

ภาคผนวก 4.50

43 อ.พีรยศ ภมรศิลปธรรม ภ.บ. มหาวิทยาลัยนเรศวร (2541) ภ.ม. มหาวิทยาลัยศิลปากร (2546)

ภาคผนวก 5.34

44 ผศ.ดร.เพ็ญพรรณ เวชวิทยาขลัง

ภ.บ. มหาวิทยาลัยมหิดล (2534) ภ.ม. (เภสัชเคมี) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (2538) Dr.rer.nat (Pharm Chem) University of Vienna , Austria. (2544)

ภาคผนวก 6.24

45 ผศ.เพ็ญศรี เน่ืองสิกขาเพียร

ภ.บ.จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (2521) M.S. (Radiopharmacy) University of Southern California , USA. (2524)

- 3.67

46 ดร.ไพบูลย นันทนากรณ ภ.บ.จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (2535) ภ.ม. (เภสัชกรรม) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (2539) Ph.D. (Phytochemistry) University of Newyork 2005

- -

47 อ.ภานุพัฒน พุมพฤกษ ภ.บ. มหาวิทยาลัยศิลปากร (2544) ลาศึกษาตอ 3.50

Page 122: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

121

ที่ ช่ือ-สกุล คุณวุฒิ ผลงาน ทางวิชาการ

ภาระงานสอน (ชม./สัปดาห)

48 ผศ.ดร.มนฤดี สุขมา ภ.บ. มหาวิทยาลัยเชียงใหม (2537) วท.ม.(เภสัชศาสตร)มหาวิทยาลัยมหิดล (2539) Ph.D. (Basic in Pharmaceutical Sciences) TMPU, JAPAN (2546)

- 4.87

49 รศ.ดร.มนัส พงศชัยเดชา ภ.บ. มหาวิทยาลัยเชียงใหม (2529) M.Sc (Clinical Pharmacy) University of Strathchyde UK(2532) Ph.D. (Pharmacy) University of Manchester , UK. (2536)

ภาคผนวก 7.30

50 รศ.ดร.มานี เหลืองธนะอนันต

ภ.บ. มหาวิทยาลัยเชียงใหม (2526) M.Phil, Ph.D. (Pharmaceutics)Manchester, UK (2532)

ภาคผนวก 3.20

51 ผศ.ร.ต.อ.มาลัย สถิรพันธ ภ.บ.จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (2530) ภ.ม. (Pharmaceutical Chemistry) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (2535)

- 3.54

52 อ.เยาวลักษณ อ่ํารําไพ ภ.บ.จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (2529) ส.ม. มหาวิทยาลัยมหิดล (2538)

ลาศึกษาตอ ลาศึกษาตอ

53 รศ.ระพีพรรณ ฉลองสุข ภ.บ.จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (2522) น.บ.(มหาวิทยาลัยรามคําแหง) (2527) ภ.ม.(เภสัชศาสตร) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (2531) MBA (2536)

ภาคผนวก 6.20

54 อ.ลาวัลย เซ่ียงจง ภ.บ. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (2546)

- -

55 รศ.ลาวัลย ศรีพงษ ภ.บ. จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (2529) ภ.ม. (Pharmaceutical Chemistry) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (2533) พณ.ม. (บริหารธุรกิจ) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร (2537)

ภาคผนวก 3.54

56 อ.วรวุฒิ ออนเอี่ยม

ภ.บ. มหาวิทยาลัยเชียงใหม, (2542) ภ.ม. ( Microbiology) มหาวิทยาลัยมหิดล (2547)

- -

Page 123: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

122

ที ่ ชื่อ-สกุล คุณวุฒิ ผลงาน ทางวิชาการ

ภาระงานสอน (ชม./สัปดาห)

57 อ.ดร.วราภรณ ศกศวัตเมฆินทร

ภ.บ. มหาวิทยาลัยศิลปากร (2541) ลาศึกษาตอ ลาศึกษาตอ

58 ผศ.ดร.วันชัย สุทธะนันท ภ.บ. มหาวิทยาลัยมหิดล (2526) วท.ม.(เภสัชศาสตร) มหาวิทยาลัยมหิดล (2529) Ph.D. (Pharmaceutical Technology) University of London , UK. (2535)

ภาคผนวก 2.8

59 ผศ.ดร.วันดี ญาณไพศาล ภ.บ. มหาวิทยาลัยเชียงใหม (2526) วท.ม.(เภสัชศาสตร) มหาวิทยาลัยมหิดล (2530) Ph.D.(Biotechnology) University of New South Wales, Australia (2540)

ภาคผนวก 2.34

60 อ.วารณี บุญชวยเหลือ ภ.บ. มหาวิทยาลัยศิลปากร (2544) ลาศึกษาตอ ลาศึกษาตอ 61 อ.ดร.วิเชียร ลีลาสงาลักษณ ภ.บ.จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (2524)

วท.ม.(เภสัชศาสตร) มหาวิทยาลัยมหิดล (2527) Ph.D.จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย(2539)

- 3.14

62 อ.ดร.วิภาลักษณ ปฐมชัยวิวัฒน

ภ.บ. มหาวิทยาลัยมหิดล (2533) ภ.ม. (เภสัชกรรม) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (2543) Ph.D. Chulalongkorn University 2005

- -

63 อ.วิไล ตระกูลโอสถ ภ.บ.มหาวิทยาลัยศิลปากร (2543) ลาศึกษาตอ 6.44 64 ผศ.ดร.วิสิฐ ตั้งเคียงศิริสิน ภ.บ. มหาวิทยาลัยศิลปากร (2537)

Ph.D. (Pharmaceutical Science) University of Maryland, Baltimore, MD, USA. (2547)

- -

Page 124: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

123

ที ่ ชื่อ-สกุล คุณวุฒิ ผลงาน ทางวิชาการ

ภาระงานสอน (ชม./สัปดาห)

65 ผศ.ดร.วีรยุทธ เลิศนท ี ภ.บ. จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (2532) วท.ม.(เภสชัศาสตร) มหาวิทยาลัยมหิดล (2534) วท.ม.(วิทยาศาสตรคอมพิวเตอร) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (2537) Ph.D. (Technology) Sirindhorn, International Institute of Technology, Thailand (2547)

ภาคผนวก -

66 ศ.นพ.วีระ กสานติกุล พ.บ. จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (2515) Residency Anatomic Pathology : Vanderbilt University. (2521), Fellowship Neuropathology : University of California at Los Angeles, USA. (2525)

ภาคผนวก .27

67 รศ.ศรีสมบัติ นวนพรัตนสกุล

ภ.บ.มหาวิทยาลัยเชียงใหม (2530) วท.ม.(เภสัชศาสตร) มหาวิทยาลัยเชียงใหม (2533)

- 7.77

68 รศ.ดร.สนทยา ล้ิมมัทวาภิรัติ ์

ภ.บ. มหาวิทยาลัยมหิดล (2532) ภ.ม. จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (2534) Ph.D.(Pharmaceutical Technology) Chiba University ,Japan (2541)

ภาคผนวก 4.37

69 รศ.ดร.สมลักษณ คงเมือง ภ.บ. จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (2530) ภ.ม. (เภสัชอุตสาหกรรม) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (2534) Ph.D.(Pharmaceutics) Purdue University , USA. (2542)

ภาคผนวก 6.07

70 ผศ.ดร.สรวง รุงประกายพรรณ

ภ.บ. มหาวิทยาลัยศิลปากร (2537) MAGR (Molecular biotechnology) Nagoya university, Japan (2544) Ph.D.(Molecular Biotechnology) Nagoya university, Japan (2547)

- -

71 อ.สรายุทธ จันทรมหเสถียร ภ.บ. มหาวิทยาลัยเชียงใหม (2534) - ลาศึกษาตอ

Page 125: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

124

ที ่ ชื่อ-สกุล คุณวุฒิ ผลงาน ทางวิชาการ

ภาระงานสอน (ชม./สัปดาห)

72 อ.ดร.สราวุธ นุกูลการ ภ.บ. มหาวิทยาลัยมหิดล (2539) ปร.ด. (Biopharmaceutical Sciences) มหาวิทยาลัยมหิดล (2547)

- -

73 อ.ดร.สาธิต นิรัติศัย ภ.บ.จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (2534) ภ.ม.จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (2537) Ph.D. University of Minnesota (2546)

- 1.60

74 ผศ.สินธพ โฉมยา ภ.บ. จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (2523) ภ.ม. (Pharmaceutical Botany) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (2527)

ภาคผนวก 7.17

75 รศ.ดร.สินธุชัย แกวกิติชัย

ภ.บ. มหาวิทยาลัยมหิดล (2515) M.Phil. University of London (2521) Ph.D. (Biochemistry) University of London, UK. (2523)

ภาคผนวก .14

76 ผศ.ดร.สิริพรรณ ล้ิมศิริชัยกุล

ภ.บ. มหาวิทยาลัยขอนแกน (2535) วท.ม.(เภสัชศาสตร) มหาวิทยาลัยมหิดล (2538) Ph.D.(Medicine) Nagoya University School of Medicine, Japan (2547)

- -

77 ผศ.ดร.สุชาดา พิริยะประสาธน

ภ.บ. มหาวิทยาลัยมหิดล (2537) วท.ม.(เภสัชศาสตร) มหาวิทยาลัยมหิดล (2539) Ph.D.(Pharmaceutics Sciences) Kyoto University , Japan (2546)

ภาคผนวก 5.34

78 ผศ.ดร.สุนีย เตชะอาภรณกุล

ภ.บ. มหาวิทยาลัยเชียงใหม(2527) วท.ม. (Microbiology) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (2532) Ph.D. (Molecular Virology) (2541)

ภาคผนวก 5.77

79 อ.ดร.สรุวุฒิ วัฒนา ภ.บ.จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (2531) ภ.ม.(เภสัชวิทยา)จุฬาลงกรณ (2535) Ph.D. University of Wisconsin , USA. (2546)

- 3.37

80 อ.สุรสิทธิ์ ลอจิตรอํานวย ภ.บ. มหาวิทยาลัยศิลปากร (2544) ลาศึกษาตอ 1.00

Page 126: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

125

ที ่ ชื่อ-สกุล คุณวุฒิ ผลงาน ทางวิชาการ

ภาระงานสอน (ชม./สัปดาห)

81 อ.สุรัสวดี สุนทรสัจ ภ.บ.จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (2534) ภ.ม.(เภสัชกรรม) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (2536)

ลาศึกษาตอ ลาศึกษาตอ

82 ผศ.ดร.สุวรรณี พนมสุข ภ.บ. มหาวิทยาลัยเชียงใหม (2530) ภ.ม. (เภสัชอุตสาหกรรม) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (2532) Ph.D.(Pharmaceutics) Toyama Medical and Pharmaceutical University, Japan (2539)

ภาคผนวก 3.87

83 ผศ.ดร.อมรรัตน ไชยเดชกําจร

ภ.บ.มหาวิทยาลัยศิลปากร (2537) Ph.D. (Analytical Chemistry) Chiba University (2544)

ภาคผนวก 3.57

84 รศ.ดร.อรอุมา โตะยามา ภ.บ. มหาวิทยาลัยมหิดล (2529) ภ.ม. (Pharmaceutics) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (2531) Ph.D. (Pharmacognosy) University of Illinois at Chicago, USA. (2540)

ภาคผนวก 3.50

85 ผศ.ดร.อวยพร อภิรักษอรามวง

ภ.บ. มหาวิทยาลัยเชียงใหม (2533) วท.ม. (เภสัชศาสตร) มหาวิทยาลัยมหิดล (2535) Ph.D. (Clinical Biochemistry) Chiba University, Japan. (2542)

ภาคผนวก 2.67

86 อ.อินทิรา กาญจนพิบูลย ภ.บ.จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (2532) วท.ม. (Hospital and Clinical Pharmacy) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (2541)

ภาคผนวก ลาศึกษาตอ

87 ผศ.ดร.อุทัย โสธนะพันธุ ภ.บ. จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (2531) ภ.ม. (Pharmaceutical Botany) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (2533) Ph.D (Pharmaceutical Chemistry and Natural Products) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (2540)

ภาคผนวก 6.94

Page 127: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

126

ผลงานทางวิชาการ ภก.รศ.ดร.สินธุชัย แกวกิติชัย งานวิจัย 1. Wrigglesworth, JM;Keokitchai, S;Wooster,MS & Millar, FA

"Modificatrtion of Glyceraldehyde-3-phosphate Dehydrogenase Actiivty by adsorption to Erythorcyte Membrane and Phospholipid vesicles "563 rd Biochem. Soc. Meeting, London, UK Vol 4:637-640 (1976)

2. Keokitichai, S & Wrigglesworth, JM "Association of Glyceraldehyde-3 - phosphate dehydrogenase with the Membrane of the intact Erythrocyte" XI th International Congress of Biochemistry, IUB, Toronto. Canada. (1979)

3. Keokitichai, S & Wrigglesworth, JM "Association of Glyceraldehyde-3-phosphate dehydroenase with the Membrane of the Inteact Human Erythrocyte "Biochem, J. 187-841 (1980)

4. Chen, SM, Keokitichai S & Wrigglesworth JM "Association of Glycolytic Enzymes with the Erythrocyte Membrane" 592 nd Biochem. Soc. Meeting, London, UK page 139-140 (1981)

5. มณฑล สงวนเสริมศร,ีประโชติ เปลงวิทยา, สินธุชัย แกวกิติชัย ,สุรางค อัศวมั่นคง และสมชาย เมฆอรุณเรือง : สารยับย้ังการสลายตัวของโปรตนี ในระหวางกรรมวิธีการแยกไซโต โครมบีเอฟคอมเพล็กซ (เงินอุดหนุนวิจัยงบประมาณแผนดินป พ.ศ. 2527 และ 2529)

ศ.นพ.วีระ กศานติกุล งานวิจัย

1. Srikiatkhachon A, Anantasethakul T, Phansuwan-Pujito P, Pathumraj S,Kasantikul V. Effect of serotonin depletion in nitric oxide induced cerebrovascular nociceptive response. Neuro-Report 2001; 12: 967-971.

2. Achavanuntakul B, Eiam-Ong S, Tantawichien T, Nualboonma P, Kasantikul V. Exchange transfusion in severe falciparum malaria: a simple method modified from hemodialysis circuit. J Med Assoc Thai 2001;84:314-322.

3. Kasantikul V. Motorcycle accident causation and identification of countermeasure in Thailand. Vol. 1 : Bangkok study, 2001, 322 pp

4. Kasantikul V. Motorcycle accident causation and identification of Countermeasure in Thailand. Vol. II : Upcountry study, 2001, 309 pp.

5. Piyavisetpat N, Pantongrag-Brown L, Kasantikul V. CT features of adult ilms’ tumor: a case report. Chula Med J 2002; 46: 65 – 71.

Page 128: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

127

ภก.อ. พีรยศ ภมรศิลปธรรม

งานวิจัย 1. Quan, C.P., Watanabe, S., Pamonsinlapatham, P., Bouvet, J.P. (2001). Different dysregulations

of the natural antibody repertoire in treated and untreated HIV-1 patients. Journal of Autoimmunity :(in press).

ภญ.ผศ.ดร. นุศรา ปยะพลรุงโรจน

งานวิจัย 1. A. Apirakaramwong, and N. Piyapolrungroj (2002): Effect of antimicrobial supplement on drug

transport across Caco-2 monolayer (in Thai). Srinakharinwirot Journal of Pharmaceutical Sciences 7:30-40.

2. N. Piyapolrungroj, and V. Leelasangaluk (2002): Effect of H2-antagonists on Paracellular Drug Absorption. The Thai Journal of Pharmaceutical Sciences 26:45-51

3. A. Apirakaramwong, and N. Piyapolrungroj (2002): Effect of Antimicrobial Supplement on Caco-2 Cells. The Thai Journal of Pharmaceutical Sciences 26 (Suppl.):28.

4. S. Kongmuang, and N. Piyapolrungroj (2002): Effect of Solubilizer for Riboflavin on Caco-2 Cell Monolayer Morphology. The Thai Journal of Pharmaceutical Sciences 26 (Suppl.):53.

5. N. Piyapolrungroj, C. Li, H. Bockbrader, G. Liu, and D. Fleisher (2001): Mucosal Uptake of Gabapentin (Neurontin) vs. Pregabalin in the Small Intestine. Pharmaceutical Research 18:1126-1130.

ภญ.อ. ปารณีย มีแตม

งานวิจัย 1. ปารณีย มีแตม. (2540). Gynecomastia. ไทยเภสชัสาร 21(2)

ภญ.อ.ดร. สุนีย เตชะอาภรณกุล

งานวิจัย 1. Techaarpornkul, S., Barretto, N., and Peeples, M.E. (2001). Functional analysis of recombinant

respiratory syncytial virus deletion mutants lacking the small hydrophobic and /or attachment glycoprotein gene. J. Virol. 75(15).

ภญ.ผศ.ดร. อวยพร อภิรักษอรามวง

บทความทางวิชาการ/งานวิจัย 1. อวยพร อภิรักษอรามวง. (2544). ไรโบโซมโมดูเลชันแฟคเตอร. ไทยเภสัชสาร 25:11-16. 2. อวยพร อภิรักษอรามวง และ นุชจิรา พงษนิมิตประเสริฐ. (2543). พอลิเอมีนกับฤทธิ์ตานออกซิเดชัน. ศรี

Page 129: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

128

นครินทรวิโรฒเภสัชสาร 5:50-59. 3. Raj, V.S., Tomitori, H., Yoshida, M., Apirakaramwong, A., Kashiwagi, K., Takio, K., Ishihama, A.,

and Igarashi, K. (2001). Properties of a revertant of Escherichia coli viable in the presence of spermidine accumulation: increase in L-glycerol 3-phosphate. J. Bacteriol. 183:4493-4498.

4. Apirakaramwong, A., Kashiwagi, K., Raj, V.S., Kasata, K,. Kakinuma, Y., Ishihama, A., and Igarashi, K. (1999). Involvement of ppGpp, ribosome modulation factor, and stationary phase-specific sigma factor s in the decrease in cell viability caused by spermidine.Biochem. Boiophys. Res. Commun. 264:643-347.

5. Apirakaramwong, A., Fukuchi, J., Kashiwagi, K., Kakinuma, Y., Ito, E., Ishihama, A., and Igarashi, K. (1998). Enhancement of cell death due to decrease in Mg2+ uptake by OmpC (cation-selective porin) deficiency in ribosome modulation factor-deficient mutant. Biochem. Boiophys. Res. Commun. 251:482-487.

ภญ.อ.ดร. อินทิรา กาญจนพิบูลย

งานวิจัย 1. ระพีพรรณ ฉลองสุข สินธพ โฉมยา และอินทิรา กาญจนพิบูลย. (2540). ความนิยมของประชาชนในการ

ใชยาไทยและยาสามัญประจําบานแผนโบราณในเขตจังหวัดนครปฐม. วารสารสาธารณสุขศาสตร 27(1):33-43.

ภก.รศ.ดร. มนัส พงศชัยเดชา

บทความทางวิชาการ/งานวิจัย 1. มนัส พงศชัยเดชา และอภิสิทธิ์ ฉัตรทนานนท. (2542). โฮโมซีสตีอีนและภาวะหลอดเลือดแดงแข็ง

(Homocysteine and atherosclerosis). วารสารเภสัชกรรมโรงพยาบาล (ประเทศไทย) 9(1):78-83. 2. มนัส พงศชัยเดชา. (2542). ความสัมพันธ ระหวางโฟเลท วิตามินบี-12 และวิตามินบี-6 กับระดับสารโฮ

โมซิสเทอีนในเลือด. วารสารโภชนบําบัด 10(2):34-42. 3. มนัส พงศชัยเดชา สุรวฒุิ วัฒนา ศรีสมบัติ นวนพรัตนสกุล รัตยา สุตกวีวงศ. (2541).

การทดสอบหาพิษเฉียบพลันของสารสกัดโสมในหนูขาวและหนูถีบจักร. วารสารมหาวิทยาลัยศิล ปากร ฉบับคณะเภสัชศาสตร 18(1)

4. Daley-Yates, P.T., Cal, J.C., Cockshott, A., Pongchaidecha, M., and Gilchrist, K. (1992). Plasma protein binding of APD: role of calcium and tranferrin. Chem.-Biol. Interactions. 81:79-89.

5. Daley-Yates, P.T., Dodwell, D.J., Pongchaidecha, M., Coleman, R.E., and Howell, A. (1991). The clearance and bioavailability of paridronate in patients with breast cancer and bone metastases. Calcif. Tissue Int. 49:433-435.

Page 130: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

129

ภญ.ผศ.ดร. นลินี พูลทรัพย

งานวิจัย 1. Li Wan Po, A., Herxheimer, A., Poolsup, N., Aziz, Z. (2001). How do Cochrane reviewers

address adverse effects of drug therapy?MG Newsletter. (June):20-21. 2. Poolsup, N., Li Wan Po, A., Knight, T.L. (2000). Pharmacogenetics and psychopharmacotherapy.

J. Clin. Pharm. Ther. 25:197-220. 3. Poolsup, N., Li Wan Po, A., and de Oliveira, I.R. (2000). Systematic overviews of lithium

treatment in acute mania. J. Clin. Pharm. Ther. 25:139-156. 4. Poolsup, N., Li Won Po, A., Oye bade, F. (1999). Measuring mania: a critical appraisal of rating

scales. J. Clin. Pharm. Ther. 24:433-443. ภญ.อ.กรัณฑรัตน ทิวถนอม งานวิจัย 1. Tewthanom K., Thongnopnua P., Pitragool R., Tewthanom K., Lukanajuntachod P, Koikul J,

Jainark P. Relationship between serum and saliva theophylline level in patient with respiratory tract disease: A case study at Samutsakorn hospital in Jidavijak B, Chulavatnatol S, Montakantikul P, Tunyasansuk K. Facing Changes in Pharmacotherapy and Pharmacy profession. 1 st ed, The asscociation of hospital pharmacist (Thailand), Bangkok, Thailand, 2002.

2. Tewthanom K. Therapeutic Drug Monitoring of antiretroviral: differences viewpoint. Silpakorn University Journal 2001:Vol 21;107-121.

3. Tewthanom K. Saliva Therapeutic Drug Monitoring; new strategy for drug monitoring. Silpakorn University Journal 2000:Vol 19-20;130-42.

4. Sompubut J., Sangpoum P., Tongplub R., Tewthanom K., Pongchaidacha M. Chaipak V., Prukpakpoom A, Pitragool W. Monitoring of patient's serum theophylline level: case study at Samutsakorn hospital in Chulavatnatol S,Suthisrisang C. Evidence-based medicine for pharmacists. 1 st ed, The asscociation of hospital pharmacist (Thailand), Bangkok, Thailand, 2000.

5. Sompubut J., Sangpoum P., Tongplub R., Tewthanom K., Pongchaidacha M. Chaipak V., Prukpakpoom A, Pitragool W. Monitoring of patient's serum theophylline level: case study at Samutsakorn hospital. Thailand regional and general hospital society 2000;8(10):10-14.

ภญ.รศ. ระพีพรรณ ฉลองสุข

บทความทางวิชาการ/งานวิจัย ผลงานทางวิชาการ

Page 131: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

130

1. ณัฏฐิญา คาผล ระพีพรรณ ฉลองสุข เยาวลักษณ อ่ํารําไพ กุลชนา ศรวณีย ดนิตา ภาณุจรัส. สถานการณการใชยาของประชาชน: ขอมูลเบ้ืองตนในเขตภูมิภาคตะวันตก. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ปที่ 21 ฉ.พิเศษ คณะเภสัชศาสตร 2544 หนาที่ 74-93.

2. ระพีพรรณ ฉลองสุข ณัฏฐิญา คาผล เยาวลักษณ อ่ํารําไพ กุลชนา ศรวณีย และ ไกรสร ชัยโรจนกาญจนา. การบริการเภสัชกรรมชุมชนในภาคตะวันตก(Pharmaceutical Service in the West of Thailand). วารสารวิชาการสาธารณสุข ปที่ 11 ฉ.2 หนาที่ 153-166.

3. ระพีพรรณ ฉลองสุข. โครงการสํารวจความคิดเห็นสาธารณะ เรื่องช่ือสามัญทางยา(Public hearing of Generic name). 2539. นําเสนอตอสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข

4. ระพีพรรณ ฉลองสุข. การทดสอบแบบประเมินมาตรฐานรานยาโครงการพัฒนารานยาเปนสถานบริการสาธารณสุขชุมชน.2541 นําเสนอตอสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข

5. ระพีพรรณ ฉลองสุข จรัสพร ตันติไชยากุล. ผลกระทบของนโยบายอัตราการแลกเปล่ียนระบบลอยตัวแบบจัดการตอตนทุนยา : กรณีศึกษาโรงพยาบาลบานโปง จังหวัดราชบุร(ีIMPACT OF MANAGED FLOAT EXCHANGE RATE ON DRUG COST : BANPONG HOSPITAL). วารสารการวิจัยระบบสาธารณสุข ปที่ 6 ฉ.2 2541 หนาที่ 125-132.

ภญ.ผศ.ดนิตา ภาณุจรัส งานวิจัย 1. “ตลาดยาแผนโบราณในจังหวัดนครปฐม” วารสารวิชาการสาธารณสุข ปที่ 6 ฉบับที่ 3,2540 หนา 414-

423 2. “ความสัมพันธระหวางระบบการคัดเลือกเขาศึกษาตอในระดับอุดมศึกษาของรัฐกับความสามารถในการ

เรียนของนักศึกษาคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร” วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ปที ่18 ฉบับที ่1,2541 หนา 93-101

3. “สถานการณการใชยาของประชาชน : ขอมูลเบ้ืองตนในเขตภูมิภาคตะวันตก” วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ปที่ 21 ฉบับพิเศษ คณะเภสัชศาสตร, 2544 หนา 74-93

ภญ.รศ.ดร. อรอุมา โตะยามา

งานวิจัย 1. Chantasitiporn, J., Chumchit, C., Tanamatayarat, P., Wongtieng, W., Yaipakdee, P., and

Poobrasert, O. (2000). Biological activity of plant extracts from Thai traditional medical text for cancer therapy. J. Multidisciplinary Res. 13:24-28.

2. Poobrasert, O. (1999). Physostigmine: A revisit. Silpakorn Univ. J. 18:116-128. 3. Poobrasert, O., Constant, H.L., Beecher, C.W.W., Farnsworth, N.R., Kinghorn, A.D., Pezzuto,

J.M., Cordell, G.A., Santisuk, T., and Reutrakul, V. (1998). Zanthones from the twigs of Mammae siamensis. Phytochemistry 47:1661-1663.

4. Poobrasert, O., Cordell, G.A., and Bobzin, S.C. (1997). Blue degredation products of rubreserine. J. Nat. Prod. 60:578-580.

Page 132: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

131

5. Shao, Y., Ho, C.-T., Chin, C.-K., Poobrasert, O., Yang, S.-W., and Cordell, G.A. (1997). Asterlingulatosides C and D, cytotoxic triterpenoid saponins from Aster Lingulatus. J. Nat. Prod. 60:743-746.

ภญ.รศ. ลาวัลย ศรีพงษ

บทความทางวิชาการ/งานวิจัย 1. Grobuschek, N., Sriphong, L., Schmid, M. G., Lorand, T., Aboul-Enein, H. Y. and Gubitz, G.

(2002) Chiral separation of bioactive cyclic Mannich ketones by HPLC and CE using cellulose derivatives and cyclodextrins as chiral selectors, J. Biochem. Biophys. Methods 53:25-36.

2. Sriphong, L. (2002) Topical drugs : Computer-assisted instruction in pharmaceutical chemistry course, Proceeding in the 19th Asian Congress of Pharmaceutical Sciences of the Federal of Asian Pharmaceutical Associations, 5-8 October 2002.

3. Sriphong, L., Limsirichaikul, S., Wetwitayaklung, P., and Sotanaphun, U. (2000). A novel

cytotoxic alkaloid from the flowers of Senna spectabillis D.C. The symposium of young scientists of the European Phytochemistry Society: Future Trends in Phytochemistry, Rolduc, The Netherlands 7-11 May 2000.

4. Sriphong, L., Shik, K.Y., Toida, T., and Imanari, T. (2000). Isolation and characterization of acharan sulfate from the giant snail Achatina fulica. The JSPS-NRCT fifth joint seminar: Natural Medicine, Chulalongkorn University, Bangkok, Thailand, 15-17 November 2000.

5. Sriphong, L., Burana-Osott, J., Toida, T. and Imanari, T. (1999). Establishment of disaccharide analysis from fully N-acetyled heparin and heparin sulfate. The Japaneses Pharmaceutical Sciences Meeting, Tokushima, Japan, 27-31 March.

ภญ.ผศ.ดร. ปนัดดา ใยภักด ี

บทความทางวิชาการ/งานวิจัย 1. Yaipakdee, P. and Robertson, L.W. (2001). Enzymatic halogenation of flavanones and flavones.

Phytochemistry 57(3):341-347. 2. Chantasitiporn, J., Chumchit, C., Tanamatayarat, P., Wongtieng, W., Yaipakdee, P., and

Poobrasert, O. (2000/2001). Biological activity of plant extracts from Thai traditional text for cancer therapy. Journal of Multidisciplinary Research 13:24-28.

3. Yaipakdee, P. (2000). Application of combinatorial synthesis in drug discovery process. Thai J. Pharm. Sci. 24(3-4):121-142.

4. Yaipakdee, P. (2000). Drug discovery from microorganisms. Silpakorn University Journal 19-20(2):70-94.

5. Yaipakdee, P. (1998). Cyclic peptides: a new target for antifungal therapy. Silpakorn University

Page 133: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

132

Journal 18(1):156-166. ภญ.รศ.ดร. ชุติมา ลิ้มมัทวาภิรัต์ิ

งานวิจัย 1. Jaruchoktaweechai, C., Suwanborirux, K., Tanasupawat, S., Kittakoop, P., and Menasresta, P.

(2000). New macrolactins from a marine Bacillus sp. Sc026. J. Nat. Prod. 63:984-986. 2. ชุติมา ล้ิมมัทวาภิรัติ์ (2545) สารผลิตภัณฑธรรมชาติจากทะเลที่มีศักยภาพเปนยาใหม วารสารไภษัชย

นิพนธ ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤษภาคม-สิงหาคม 2545 หนา 17-43 ภญ.ผศ. จันคนา บูรณะโอสถ

บทความทางวิชาการ/งานวิจัย 1. จันคนา บูรณะโอสถ เทคนิคการวิจัยทางอโรมาเทอราป. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับพิเศษ คณะ

เภสัชศาสตร หนา 174-185 พ.ศ. 2544. 2. อรอุมา ภูประเสริฐ และคณะ การวิเคราะหหาสเตียรอยดในตัวอยางยาแผนโบราณที่สงมารับบริการจาก

ภาควิชาเภสัชเคมี คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร ในปการศึกษา 2542. วารสารไภษัชยนิพนธ ปที่ 1 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2545.

3. วิไล ตระกูลโอสถ รุงรัตน ปยนันทจรัสศรี วัฒนาพร แพทยประสิทธิ์ วงศธร งามเอนก จันคนา บูรณะโอสถ และ ลาวัลย ศรีพงษ การวิเคราะหหาปริมาณซาลบูทามอลที่ตกคางในเน้ือสุกรดวยวิธีไฮเพอรฟอรแมนซลิควิดโครมาโทกราฟ : การศึกษาเบ้ืองตน (กําลังตีพิมพในวารสารศิลปากร ปที่ 21-22 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2544-2545)

4. Burana-osot, J and Buchbauer, J., Determination of volatile compounds from Hoya carnosa, (L.f.) R.Br. (Asclepiadaceae) flowers. Thai J. Pharm. Sci. 26 (1-2): 39-44 (2002).

5. Burana-osot, J. and Yanpaisan, W. (2002) Simple and simultaneous determination of individual catechins and xanthines in green tea. Proceeding of the 19th Congress of FAPA, Seminar on Asian Congress of Pharmaceutical Science and Practice, 5-8 October, Seoul, Korea.

ภญ.อ.ดร.อมรรัตน ไชยเดชกําจร งานวิจัย 1. Chaidedgumjorn A, Suzuki A, Toyoda H, Toida T, Imanari T, Linhardt RJ. Conductivity detection

for molecular mass estimation of per-O-sulfonated glycosaminoglycans separated by high-performance size-exclusion chromatography. J Chromatogr A. 2002;

2. Chaidedgumjorn A, Toyoda H, Woo ER, Lee KB, Kim YS, Toida T, Imanari T. Effect of (1 3)-and (1 4)-linkages of fully sulfated polysaccharides on their anticoagulant activity Carbohydr Res. 2002;337 (01):925-33.

Page 134: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

133

3. Sudo M, Sato K, Chaidedgumjorn A, Toyoda H, Toida T, Imanari T. 1H nuclear magnetic resonance spectroscopic analysis for determination of glucuronic and iduronic acids in dermatan sulfate, heparin, and heparan sulfate. Anal Biochem. 2001;297(1):42-51.

4. Toida T, Suzuki A, Nakajima K, Chaidedgumjorn A, Imanari T. Effect of 6-O-sulfonate hexosamine residue on anticoagulant activity of fully O-sulfonated

5. Chaidedgumjorn A, Todida T, Imanari T,Woo ER,Park H, Linhardt RJ, Woo SJ and Kim YS. A new sulfated beta-galactan from clams with anti-HIV activity. Carbohydr Res, 1999;337(10):925-33.

ภก.ผศ.ดร. ฉัตชัย ฉิ่นไพศาล งานวิจัย 1. Wei, L-N., Hu, X., and Chinpaisal, C. (2000). Constitutive activation of retinoic acid receptor

beta2 promoter by orphan nuclear receptor TR2. J. Biol. Chem. 27(16):11907-11914. 2. Lee C.H., Chinpaisal, C. and Wei, L.N. (1998). A novel nuclear receptor heterodimerization

pathway mediated by orphan receptors TR2 and TR4. J. Biol. Chem. 273(39):25209-25215. 3. Chinpaisal C., Lee, C.H., and Wei, L.N. (1998). Mechanisms of the mouse orphan nuclear

receptor TR2-11-medicated gene suppression. J. Biol. Chem. 273(29):18077-18085. 4. Yu, Z., Lee, C.H., Chinpaisal, C., and Wei, L.N. (1998). A constitutive nuclear localization signal

from the second zinc-finger of orphan nuclear receptor TR2. J. Endocrinol. 159(1):53-60. 5. Lee, C.H., Chinpaisal, C., and Wei, L.N. (1998). Cloning and characterization of mouse RIP140,

a corepressor for nuclear orphan receptor TR2. Mol. Cell. Biol. 18(11):6745-6755.

ภญ.ผศ.ดร. วันดี ญาณไพศาล บทความทางวิชาการ/งานวิจัย 1. Yanpaisan, W. (2543). มะขามปอม: ตัวแทนผลิตภัณฑสมุนไพรใหม. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร 19-

20(2):41-56. 2. Yanpaisan, W., King, N.J.C., and Doran, P.M. (1999). Flow cytometry of plant cells with

applications in large-scale bioprocessing. Biotechnology Advances 17:3-27. 3. Yanpaisan, W., King, N.J.C., and Doran, P.M. (1998). Analysis of cell cycle activity and

population dynamics in heterogeneous plant cell suspension using flow cytometry. Journal of Biotechnology and Bioengineering 58:515-528.

4. Yanpaisan W. (1989). The effect of phytohormones and some additives on tissue culture establishment and in vitro production of alkaloids from Arcangelsa flava Merr. Journal of the National Research Council of Thailand 21(1).

5. Yanpaisan, W., King, N.J.C., and Doran, P.M. (1997). Flow cytometry analysis of cell cycle activity and population dynamics in suspended plant cell culture. American Institute of Chemiscal

Page 135: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

134

Engineers 1997 Annual Meeting, Los Angeles, CA, 16-21 November. ภญ.ผศ.ดร.เพ็ญพรรณ เวชวิทยาขลัง งานวิจัย 1. Wissenschaftliche Tagung der Osterreichischen Pharmazeutischen Gesellschaft, 30 September –

2 October 1999, In Innsbruck.” P.Wetwitayaklung, G.Ecker and W.Fleischhacker 2. XVIth International Symposium on Medicinal Chemistry, 18-22 September 2000, In Bologna,

Italy. “Synthesis and MDR-Modulating Activity of Enantiopure 1-Benzopyrano[3,4-b][1,4]oxazines” P.Wetwitayaklung, P.Chiba and G.Ecker

3. 222nd American Chemical Society National Meeting, 26-30 August 2001, In Chicago. Illinois. “A Hologram QSAR analysis of Benzopyrane-type Modulators of Multidrug Resistance” P.Wetwitayaklung, D.Kaiser, P.Chiba and G.Ecker

4. 16th Scientific Congress of the Austrian Pharmaceutical Society to gether with 4th Central European Symposium on Pharmaceutical Technology, 23-25 September 2001, In Vienna, Austria. “Synthesis and MDR Modulating Activity of Enantiopure Benzopyrano[3,4-b][1,4]oxazines” P.Wetwitayaklung, S.Kopp, P.Chiba and G.Ecker

ภก.ผศ. สินธพ โฉมยา

บทความทางวิชาการ/งานวิจัย 1. สินธพ โฉมยา. (2541). สมุนไพรตังกุย. วารสารพยาบาลกองทัพบก 16(1):26-27. 2. ระพีพรรณ ฉลองสุข สินธพ โฉมยา และอินทิรา กาญจนพิบูลย. (2540). ความนิยมของประชาชนในการ

ใขยาไทยและยาสามัญประจําบานแผนโบราณในเขตจังหวัดนครปฐม. วารสารสาธารณสุขศาสตร 27(1):33-43.

3. สินธพ โฉมยา. (2536). ไฟเบอร: อนาคตที่นามอง. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร 13:93-99. 4. สินธพ โฉมยา. (2536). อะฟลาทอกซิน (Aflatoxins) ในขาวโพดสงออก. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร

13:18-23. 5. สินธพ โฉมยา. (2532). พืชสมุนไพรที่เปนพิษตอตับ. วารสารวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

17(1):12-15.

ภก.ผศ.ดร. อุทัย โสธนะพันธุ

งานวิจัย 1. Ngamkham, J., Ondee, S., Sotanaphun, U., Sittisombut, C. and Picha, P. (2001). Cytotoxicity of

leaf extracts of Plu, Piper betle on cultured mammalian neoplastic cells. 16th Asian-Pacific cancer congress 2001. Manila, Philippine, 18-21 Nov.

Page 136: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

135

2. Sotanaphun, U., Lipipun, V. and Bavovada, R. (2001). Phenolic-(98)-D:A-friedo-24-noroleananes : A new class of antiviral agents. Pharma Indochina II, Hanoi, Vietnam, 20-23 Oct.

3. Bavovada, R., Chavalittumrong, P., Pingsuthiwong, C., Sotanaphun, U., Sukhakul, T., Thongphasuk, P. and Thanakijcharoenpath, W. Chemical and ethnobotanical in vestigation of Thai Strychnos species. NRCT-JSPS core university system on pharmaceutical sciences. The fifth joint seminar : Natural medicines. Bangkok, Thailand, 15-17 Nov.

4. Sripong, L., Sotanaphun, U., Vajvittayaklung, P. and Limsirichaikul, S. (2000). The alkaloids from the flower of Cassia spectabilis D.C. and their cytotoxic activity. The symposium of young scientists of the European Phytochemistry Society : Future trends in phytochemistry. Rolduc, Natherlands, 7-11 May.

5. Sotanaphun, U., Suttisri, R., Lipipun, V. and Bavovada, R. (2000). A new 3,4-seco-ursane triterpenoid from Glyptopetalum sclerocarpum. Chem. Pharm. Bull. 48(9), 1347-1349.

ภก.ผศ.ดร. วันชัย สุทธะนันท

งานวิจัย 1. Sutananta, W., Craig, D.Q.M., and Newton, J.M. (1996). The use of low frequency dielectric

spectroscopy as a means of characterising the effects of moisture uptake by pharmaceutical glyceride bases. Int. J. Pharm. 132:1-8.

2. Sutananta, W., Craig, D.Q.M., and Newton, J.M. (1995). The use of low frequency dielectric spectroscopy as a novel means of investigating the structure of pharmaceutical glyceride bases. Int. J. Pharm. 125:123-132.

3. Sutananta, W., Craig, D.Q.M., and Newton, J.M. (1995). An evaluation of the mechanism of drug release from glyceride bases. J. Pharm. Pharmacol. 47:182-187.

4. Sutananta, W., Craig, D.Q.M., and Newton, J.M. (1995). An Investigating into the effect of preparation conditions and storage on the rate of drug release from pharmaceutical glyceride bases. J. Pharm. Pharmacol. 47:355-359.

5. Sutananta, W., Craig, D.Q.M., and Newton, J.M. (1994). The investigating into the effect of preparation conditions on the structure of pharmaceutical glycerides using differential scanning calorimetry and polarized light microscopy. Int. J. Pharm. 110:75-91.

ภญ.รศ.ดร. สุวรรณี พนมสุข บทความทางวิชาการ/งานวิจัย

1. สุวรรณี พนมสุข. (2542). คราบงู: ผิวหนังตนแบบชนิดใหมที่ใชในการประเมินระบบนําสงยาทางผิวหนัง (Shed snake skin: a new model barrier for transdermal drug delivery systems evaluation). วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับคณะเภสัชศาสตร :137-144.

2. ปราณีต โอปณะโสภิต สุวรรณี พนมสุข ธนะเศรษฐ งาวหิรัญพัฒน ขวัญตา มีอิ่ม จิตติมา สุรทานต

Page 137: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

136

นนท และเจริญลักคณา ธนิกกุล. (2541). การพัฒนาและการประเมินผลมาทริกซ พอลิเมอรสําหรับระบบนําสงยาไอโซซอบายดไดไนเตรตทางผิวหนัง. วารสารไทยเภสัชสาร 22(4):125-136.

3. Koizumi, T., Panomsuk, S.P., Hatanaka, T., and Katayama, K. (1996). Kinetics of swelling of compressed cellulose matrices : A mathematical model. Pharm. Res. 13:329-333.

4. Panomsuk, S.P., Hatanaka, T., Aiba, T., Katayama K., and Koizumi. (1996). A study of the hydrophilic cellulose matrix : Effect of drugs on swelling properties. Chem. Pharm. Bull. 44:1039-1042.

5. Koizumi, T. and Panomsuk, S.P. (1995). Release of medicaments from the spherical matrices containing drug in suspension : Theoretical aspects. Int. J. Pharm. 166:45-49.

ภก.ผศ.ดร. สนทยา ลิ้มมัทวาภิรัต์ิ

งานวิจัย 1. Luangtana-Anan, M. Limmatvapirat, S. Development of readily soluble and less irritate

indomethacine tablet, วารสาร มหาวิทยาลัยศิลปากร 2536;13:24-32. 2. Limmatvapirat, S. Inclusion compound formation between deoxycholic acid and guest by grinding

and sealed heating, Proceeding of the 116th Annual Meeting of Association of Pharmacy, Japan, 1996, 17.

3. Limmatvapirat, S. Yonemochi, E. Oguchi, T. Yamamoto K. Complex formation between deoxycholic acid and menadione by grinding and sealed heating method. Chem Pharm Bull 1997;45:1358-1362.

4. Limmatvapirat, S. Inclusion compound formation between deoxycholic acid and salicylic acid by grinding method. Yakuzaigaku 1997;57:176-177.

5. Limmatvapirat, S. Yamaguchi, K. Yonemochi, E. Oguchi, T. A 1:1 deoxycholic-salicylic acid complex. Acta Cryst C 1997;C53:803-805.

ภก.รศ.ดร.พรศักดิ์ ศรีอมรศักดิ ์งานวิจัย 1. Sriamornsak P, Nunthanid J, Wanchana S, and Luangtana-anan A. Composite film-coated

tablets intended for colon-specific delivery of 5-aminosalicylic acid using desterified pectin. Pharmaceutical Development and Technology 2003; in press.

2. Nunthanid J, Wanchana S, Sriamornsak P, Limmatavapirat S, Luangtana-anan and Puttipipatkhachorn S. Effect of heat on characteristics of chitosan film coated on theophylline tablets. Drug Development and Industrial Pharmacy 2002; 28: 919-930.

3. Sriamornsak P. Effect of calcium concentration, hardening agent and drying condition on

Page 138: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

137

release characteristics of oral proteins from calcium pectinate gel beads. European Journal of Pharmaceutical Sciences 1999; 8(3): 221-227.

4. Sriamornsak P and Nunthanid J. Calcium pectinate gel beads for controlled release drug delivery: II. Effect of formulation and processing variables on drug release. Journal of Microencapsulation 1999; 16(3): 303-313.

5. Sungthongjeen S, Pitaksuteepong T, Somsiri A and Sriamornsak P. Studies on pectins as potential controlled-release matrix tablets. Drug Development and Industrial Pharmacy 1999; 25: 1271-1276.

ภก.รศ.ดร. สมลักษณ คงเมือง งานวิจัย 1. Kongmuang, S. (1991). Mechanism of increasing dissolution by solid dispersion technique. Thai.

J. Pharm. Sci. 16 ภญ.รศ.ดร. จุไรรัตน นันทานิช

งานวิจัย 1. Puttipipatkhachorn, S., Nunthanid, J., Yamamoto, K., and Peck, G.E. (2001). Drug physical state

and drug-polymer interaction on drug release from chitosan matrix films. J. Control. Rel. 75(1-2):143-153.

2. Nunthanid, J., Puttipipatkhachorn, S., Yamamoto, K., and Peck, G.E. (2001). Physical properties and molecular behaviors of chitosan films. Drug Dev. Ind. Pharm. 27(2):143-157.

3. Sriamornsak, P. and Nunthanid, J. (1999). Calcium pectinate gel beads for controlled release drug delivery: II. Effect of formulation and processing variables on drug release. J. Microencap. 16(3):303-313.

4. Sriamornsak, P. and Nunthanid, J. (1998). Calcium pectinate gel beads for controlled release drug delivery: I. Preparation and in-vitro release studies. Int. J. Pharm. 160:207-212.

5. Nunthanid, J., Chalongsuk, R., and Leelasa-ngaluk, V. (1993). Study of knowledge, attitude, and practice of people on Village-Drug-Co-Operatives in Nakornpathom province. Silpakorn Unviersity Journal 13:35-47.

ภญ.ผศ.ดร. เกษร จันทรศิร ิ

บทความทางวิชาการ/งานวิจัย 1. Chansiri, G., Lyon, R.T., Patel, M.V., and Hem, S.L. (1999). Effect of Surface Charge on the

Stability of Oil/Water Emulsions during Steam Sterilization. J. Pharm. Sci. 88(4):454-458. 2. Chansiri, G. (1998). Lipid Emulsions : A Potential Carrier for Drug Targeting to the

Page 139: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

138

Reticuloendothelial System. Silpakorn University Journal 18(1):192-199. 3. Chansiri, G., Chansiri, K., Tan-ariya, P., Nokdhes, C., and Sarataphan, N. (1998). Efficacy of

Medicinal Plants as Anti-parasitic Drugs Against Theileria Sp. In In-Vitro Culture of Infected Bovine Erythrocytes. Silpakorn University Journal 18(1):39-50.

4. Gruenhagen, S.E., Schulze, D.G., Chansiri, G., Hem, K.J., White, J.L., and Hem, S.L. (1997) Effect of Sorbitol on the Phosphate Adsorptive Capacity of Ferrihydrite Suspension. Pharm. Dev. Technol. 2(1):81-86.

ภก.ผศ.ดร.ณัฐวัฒน ณัฐพูลวัฒน งานวิจัย 1. Palanuphap S, Mitrevej A, Sinchaipanid N, Natpoolwat C. Study on deformation of direct

compression fillers using computerized technology. Presented at The Academic Annual Meeting, The Pharmaceutical Association of Thailand under Royal Patronage, Petchaburi, April 1995.

2. Natpoolwat C, Mitrevej A, Junyaprasert V, Sinchaipanid N, Naratikornrit N. Study of aqueous colloidal ethylcellulose on drug release from propanolol hydrochloride pellets. Presented at The Academic Annual Meeting, The Pharmaceutical Association of Thailand under Royal Patronage, Petchaburi, April 1995.

3. Mitrevej A, Sinchaipanid N, Natpoolwat N, Sermsuppasuk P, Supattanawong P. Preparation of sustained release phenylpropanolamine hydrochloride - wax matrices in hard gelatin capsules. Asian J Pharm 1996; 16: D-17.

4. Sinchaipanid N, Mitrevej A, Natpoolwat N. Enteric film coating with methacrylic acid – methacrylate copolymer aqueous dispersion (Eudragit L30D-55). J Ind Pharm 1997; 2(3): 70-5.

5. Mitrevej A, Sinchaipanid N, Natpoolwat N, Naratikornrit N. Design and fabrication of multi – unit controlled release phenylpropanolamine hydrochloride capsules and tablets. Drug Dev Ind Pharm 1998; 24(8): 793-6.

ภก.รศ.ดร. ธนะเศรษฐ งาวหิรัญพัฒน งานวิจัย 1. Tanasait Ngawhirunpat, Hiroshi Yoshikawa , Tomomi Hatanaka, Tamotsu Koizumi, Isao Adachi.

Age-related changes in skin permeability of hydrophilic and lipophilic compounds in rats. Pharmazie 56 , 3, 231-234 (2001).

2. Tanasait Ngawhirunpat, Tomomi Hatanaka, Junichi Kawakami, Isao Adachi. Age difference in simultaneous permeation and metabolism of ethyl nicotinate in rat skin. Biol. Pharm. Bull.24 (4) 414-417 (2001).

3. Tanasait Ngawhirunpat, Hiroshi Yoshikawa , Tomomi Hatanaka, Kazunori Katayama, Junichi Kawakami, Isao Adachi. Change in electrophysiological properties of rat skin with age. Change in electrophysiological properties of rat skin with age. Biol. Pharm. Bull.25 (9) 1192-1196 (2002).

Page 140: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

139

4. Tanasait Ngawhirunpat, Praneet Opanasopit, Korakot Chaturon, Jamaree Leewansangthong, Suwannee Panomsuk. In vitro permeation of ketoprofen gel: Effect of Carbopol 940 and Pluronic F-127. Silpakon J. 18 (1), 79-86 (1998)

5. ประเสริฐ อัครมงคลพร, ธนะเศรษฐ งาวหิรัญพัฒน ปฏิกิริยาของการปลดปลอยยาภายนอกรางกายเม่ือใหยาอยูในรูปเรซิเนท. วารสารศิลปากร ปที่ 18 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2541 หนา 65-78.

ภญ.อ.ดร.ปราณีต โอปณะโสภิต

งานวิจัย 1. Praneet Opanasopit, Keiko Shiraishi, Makiya Nishikawa, Fumiyoshi Yamashita, Yoshinobu Takakura, and

Mitsuru Hashida In vivo recognition of mannosylated proteins by hepatic mannose receptors and mannan-binding protein. Am. J. of Physiol. Gastrointest liver Physiol, 280, G879-G889 (2001)

2. Praneet Opanasopit, Yuriko Higuchi, Shigeru Kawakami, Fumiyoshi Yamashita, Makiya Nishikawa, and Mitsuru Hashida Involvement of serum mannan binding proteins and mannose receptors in uptake of mannosylated liposomes by macrophages. Biochim. Biophys. Acta. 1511(1):134-145. (2001)

3. Praneet Opanasopit, Makiya Nishikawa, Fumiyoshi Yamashita, Yoshinobu Takakura, and Mitsuru Hashida Pharmacokinetic analysis of Lectin-dependent biodistribution of fucosylated bovine serum albumin: A possible carrier for kupffer cells. J. Drug Targeting, Vol 9: 341-351 (2001)

4. Praneet Opanasopit, megumi Sakai, Makiya Nishikawa, Shigeru Kawakami, Fumiyoshi Yamashita, and Mitsuru Hashida Inhibition of experimental liver metastasis by lectin-mediated targeting of immunomodulators to liver nonparenchymal cells using mannosylated liposomes. J. Controlled Release, 80 (1-3),283-294 (2002).

5. Praneet Opanasopit, Kenji Hyoudou, Makiya Nishikawa, Fumiyoshi Yamashita, and Mitsuru Hashida Serum mannan binding protein inhibits mannosylated liposome-mediated transfection to macrophages. Biochim. Biophys. Acta. 1570, 203-209 (2002).

ภก.รศ.ดร. ธวัชชัย แพชมัด บทความทางวิชาการ/งานวิจัย 1. Rittidej, G.C., Phaechamud, T., and Koizumi, T. (2001). Moist heat treatment on physicochemical

change of chitosan salt films. Int. J. Pharm. (In press) 2. Koizumi, T., Rittidej, G.C., and Phaechamud, T. (2001). Mechanistic modeling of drug release

from chitosan coated tablets. J. Control. Rel. 70:277-841. 3. Phaechamud, T., Koizumi, T., and Ritthidej, G.C. (2000). Chitosan citrate as film former:

compatibility with water-soluble anionic dyes and drug dissolution from coated tablet. Int. J. Pharm. 198:97-111.

4. Ritthidej, G.C., Phaechamud, T., and Koizumi, T. (2000). Additives in moist-heat-treated chitosan

Page 141: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

140

acetate films: a method to extend the release of propranolol hydrochloride-coated tablets. STP. Pharma. Sci. 10(1):112-119.

5. Phaechamud, T. (1997). Colonic drug delivery: study and strategy. Thai J. Pharm. Sci. 21:7-20.

ภญ.อ.ดร. พนิดา อัศวพิชยนต

งานวิจัย 1. Asavapichayont, P. and Foldvari, M. (2000). Improved method for high performance liquid

chromatograghic analysis of tetracaine and its metabolite in human skin homogenate. Manuscript in preparation

2. Asavapichayont, P., and Foldvari, M. (2000). Kinetic study of tetracaine hydrolysis in human skin homogenate. Manuscript in preparation.

3. Asavapichayont, P., Naik, R., and Foldvari, M. (2000). Development of an in vitro viable skin model for the simultaneous assessment of delivery and cutaneous metabolism of ester drugs. Manuscript in preparation; to be submitted to the Journal of Investigative Dermatology.

4. Asavapichayont, P. and Foldvari, M. (1998). Dermal delivery of ester type drugs: the fate of tetracaine in human skin homogenate. Pharm. Sci. 1(1):S-373.

5. Asavapichayont, P., Hu, J. and Foldvari, M. (1997). Development of an HPLC method for simultaneous analysis of tetracaine and its metabolite in dosage forms and biological fluids, with comparison to capillary electrophoresis method. Pharm. Res. 14(11):S-565.

ภญ.รศ.ดร. มานี เหลืองธนะอนันต

งานวิจัย 1. Luangtana-Anan, M. Limmatavapirat S, Sripong L. and Fell J.T. (1996). Physical and chemical

stability of film coated ranitidine tablets. Archives of Pharm. Res. 2. Luangtana-Anan, M. and Limmatavapirat, S. (1993). Development of readily soluble and less

Irritated indomethacin tablet. Journal of Silpakorn University 13:24-32. 3. Luangtana-Anan, M., Catellani P.L., Colombo, P., Dinarvand, R. and Fell, J.T. (1992). The role of

bond weakening by liquids in the disintegration of tablets. The European Jounal of Pharmaceutics and Biopharmaceutics 38(5):169-171.

4. Luangtana-Anan, M. and Fell, J.T. (1990). Bonding Mechanisms in Tableting. International Journal of Pharmaceutics 60:197-202.

5. Luangtana-Anan, M. and Fell, J.T. (1988). Surface energies of Pharmaceutical solids before and after compaction. International Journal of Pharmaceutics 41:237-240.

Page 142: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

141

ภก.ผศ.ประเสริฐ อัครมงคลพร

งานวิจัย 1. ประเสริฐ อัครมงคลพร และ ธนะเศรษฐ งาวหิรัญพัฒน. (2541). ปฏิกิริยาตอกันของการปลดปลอยยา

ภายนอกรางกายเม่ือใหรูปเรซิเนท. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร 18(1):65-78. 2. Akkaramongkolporn P., Etsuo Y. and Terada K. (2000). Molecular state of chlorpheniramine in

resinates. Chem. Pharm. Bull. 48(2):231-234. 3. Akkaramongkolporn P. (1997). Behavior of drug loading onto cation-exchange resin by batch

multiple equilibria method. Thai J. Pharm. Sci. 21(2):99-106. 4. Akkaramongkolporn P. (1997). Kinetic of Drug Loading onto Cation-exchange Resin and Effect of

Concurrent Counter-ions. Thai J. Pharm. Sci. 21(1):33-42. 5. Akkaramongkolporn P. and Prakongpan S. (1996). Production of sustained release dosage form

using ion-exchange resin. J. Indust. Pharm. 1(1):1-9.

Page 143: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

142

ภาคผนวก ข.

Page 144: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

143

ประกาศนโยบายการประกันคุณภาพการศึกษา ของมหาวิทยาลัยศิลปากร

Page 145: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

144

ประกาศมหาวิทยาลัยศิลปากร

เรื่อง นโยบายการประกันคุณภาพการศึกษา ของมหาวิทยาลัยศิลปากร

---------------------------- ตามที่มหาวิทยาลัยศิลปากรไดเล็งเห็นความสําคัญและความจําเปนของการประกันคุณภาพการศึกษา ตามดําริและนโยบายของทบวงมหาวิทยาลัย เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษา อันแสดงถึงปณิธานและความรับผิดชอบตอสังคมและประเทศชาติในการดําเนินภารกิจหลังของมหาวิทยาลัย คือ การผลิตบัณฑิต การวิจัย การใหบริการทางวิชาการแกชุมชน และการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม แลวนั้น เพื่อใหการดําเนินการในเร่ืองนี้เปนไปอยางสอดคลองในทิศทางเดียวกันทั้งมหาวิทยาลัย จึงไดกําหนดแนวนโยบายดานการประกันคุณภาพของมหาวิทยาลัยศิลปากร ดังนี้ ๑. มหาวิทยาลัยศิลปากรมีนโยบายที่จะพัฒนาคุณภาพการศึกษาทั้งในระดับปริญญาตรีและบัณฑิตศึกษาใหเปนที่ยอมรับทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ โดยมุงเนนทั้งการพัฒนาระบบการบริหารจัดการและสนับสนุนการศึกษาคนควา วิจัย ตลอดจนการจัดการศึกษาในลักษณะสหสาขาวิชา เพื่อความเปนเลิศทางวิชาการ ๒. มหาวิทยาลัยศิลปากร มีนโยบายที่จะใหการประกันคุณภาพการศึกษาดําเนินไปในทุกสวนอยางประสานสอดคลองและมีเอกภาพ เปนไปตามมาตรฐานของทบวงมหาวิทยาลัยและมาตรฐานสากล โดยมุงเนนที่ความรวมมือ ประสานงานอยางตอเนื่องระหวางมหาวิทยาลัย คณะวิชาและหนวยงานตางๆ ของมหาวิทยาลัย เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพ และไดรับประโยชนสูงสุด ๓. มหาวิทยาลัยศิลปากร สนับสนุนใหคณะวิชาและหนวยงานภายในมหาวิทยาลัยพัฒนาระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษา รวมทั้งจัดทําโครงการและกิจกรรมที่เก่ียวของตางๆ ตามสภาวะเง่ือนไขเก่ียวกับความพรอม ความจําเปน และเง่ือนไขอื่น ๆ ได โดยจะพยายามใหการดําเนินการในดานตางๆ เหลานี้เปนไปอยางประสานสอดคลองกันทั่วทั่งมหาวิทยาลัยมากที่สุด ๔. มหาวิทยาลัยศิลปากรเปดโอกาสใหหนวยงานภายนอกที่เก่ียวของ ไดเขามามีสวนในกระบวนการประกันคุณภาพการศึกษา รวมทั้งจัดใหมีการทํารายงานเก่ียวกับการประกันคุณภาพการศึกษา เผยแพรตอสาธารณะชน จึงประกาศมาเพื่อทราบทั่วกัน ประกาศ ณ วันที่ ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๑ (ศาสตราจารย ดร.ตรึงใจ บูรณสมภพ) อธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร

Page 146: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

145

ประกาศมหาวิทยาลัยศิลปากร

เรื่อง แนวทางการปฏิบัติในการประกันคุณภาพการศึกษา ของมหาวิทยาลัยศิลปากร

---------------------------- เพื่อใหการดําเนินการตามนโยบายและหลักการเก่ียวกับการประกันคุณภาพการศึกษาในระดับอุดมศึกษาของมหาวิทยาลัยศิลปากร สามารถดําเนินไปได จึงเห็นสมควรใหกําหนดแนวปฏิบัติเพื่อใชเปนแนวทางในการดําเนินการ ดังนี้ ๑. แตงต้ังคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา ทําหนาที่รับผิดชอบพัฒนาระบบประกันคุณภาพกําหนดแนวทางดําเนินการเก่ียวกับการประกันคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัยศิลปากร ๒. จัดต้ังหนวยประกันคุณภาพ ทําหนาที่ ๒.๑ รับผิดชอบและดําเนินการในเร่ือง การประกันคุณภาพการศึกษา ตามนโยบายของคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา และประสานงานกับคณะกรรมการประสานงานการประกันคุณภาพการศึกษา ๒.๒ จัดเก็บรวบรวมขอมูล และสถิติที่ใชในการพจิารณาในการดําเนินการประกันคุณภาพการศึกษา ของมหาวิทยาลัย ๒.๓ จัดทําแบบประเมิน คูมือ และเอกสารเผยแพรประชาสัมพันธการดําเนินการประกันคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัย ๒.๔ ติดตอประสานงานกับหนวยงานตางๆ ทั้งภายในและภายนอกในเร่ือง การประกันคุณภาพการศึกษา ๓. แตงต้ังคณะกรรมการประสานงานประกันคุณภาพการศึกษา ทําหนาที ่ ๓.๑ เสนอความคิดและวางกรอบแนวทางและขั้นตอนในการดําเนินการประกันคุณภาพการศึกษา และประสานงานกับคณะวิชาในการประกันคุณภาพการศึกษาระดับคณะ ๓.๒ กําหนดวิธีการในการตรวจสอบการประกันคุณภาพภายใน ๔. ให คณะ สํานกั สถาบัน แตงต้ังคณะกรรมการรับผิดชอบในการดําเนินการดานการประกันคุณภาพการศึกษา โดยมีหนาที่พัฒนา บริหาร และติดตามการดําเนินการดานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน คณะ สํานัก สถาบัน โดยใกลชิด ๕. ใหคณะ สํานัก สถาบัน และหนวยประกันคุณภาพ จัดทําเอกสารระบบประกันคุณภาพการศึกษา เพื่อใชกํากับและตรวจสอบการดําเนินการจัดการศึกษาใหมีประสิทธิภาพ ภายใตกรอบนโยบายและหลักการที่มหาวิทยาลัยกําหนดไวในคูมือการประกันคุณภาพการศึกษา ของมหาวิทยาลัยศิลปากร โดยเนนการจัดใหมีระบบการประกันคุณภาพขององคประกอบตางๆ ที่ใชในการผลิตบัณฑิต ซ่ึงจะมีผลโดยตรงตอคุณภาพบัณฑิตและอาจครอบคลุมกิจกรรม ดังตอไปนี้

Page 147: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

146

๕.๑ การเผยแพรหลักการ วัตถุประสงค และความสําคัญของการมีระบบประกันคุณภาพขึ้นภายใน คณะ สํานัก สถาบัน ใหบุคลากรไดรับทราบโดยชัดเจน ๕.๒ การพัฒนาระบบขอมูลในดานตางๆ ในระดับ คณะ สํานัก สถาบัน เพื่อใชเปนเคร่ืองมือในการพัฒนางาน ๕.๓ จัดใหมีระบบการพัฒนา ติดตาม และประเมินผลการดําเนินการหลักสูตร โดยตอเนื่อง ชัดเจน และรัดกุม เพื่อใหหลักสูตรที่ใชในการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพ สามารถใชผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพได ๕.๔ จัดใหมีระบบการประเมินผลการเรียนการสอนโดยสมํ่าเสมอ เพื่อนําผลที่ไดมาปรับปรุงรายวิชาตางๆ ใหมีคุณภาพย่ิงขึ้น ๕.๕ มีการพัฒนาคุณภาพคณาจารยและบุคลากรอยางตอเนื่อง ๕.๖ จัดระบบการตรวจสอบ และประเมินผล การใชงานอาคารสถานที่ หองสมุดและทรัพยากรดานตางๆ อยางสมํ่าเสมอ ๕.๗ จัดใหมีระบบการวัดผลการศึกษา และสัมฤทธิผลในการเรียนของนักศึกษาอยางมีประสิทธิภาพ ๕.๘ ใหการสนับสนุนกิจกรรมนักศึกษาที่ทําใหเกิดการพัฒนาในดานภูมิปญญา ทักษะ คานิยม และความรับผิดชอบตอการดํารงชีวิตในสังคม โดยมีความสอดคลองกับการเรียนการสอน ตลอดจนวัฒนธรรมประเพณีที่ดีงาม ๕.๙ จัดใหมีกระบวนการติดตามผลบัณฑิตในรูปแบบตางๆ เพื่อนํามาใชเปนขอมูลในการพัฒนาการดําเนินงานดานตางๆ ของมหาวิทยาลัย เพื่อใหสอดคลองกับการเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม ๕.๑๐ มีนโยบายและระบบการสงเสริมสนับสนุนและติดตามผลการวิจัยและสรางสรรคของคณาจารยและบุคลากร ตลอดจนการบริการทางวิชาการ รวมถึงการทํานุบํารุงและเสริมสรางศิลปวัฒนธรรมที่ชัดเจนและมีประสิทธิภาพ ๕.๑๑ ใหมีการดูแลระบบการบริหารงานงบประมาณและทรัพยากร ทั้งในดานการวางแผนโครงสรางอัตรากําลัง การใชงบประมาณอยางมีประสิทธิภาพ เพื่อใหสอดคลองกับนโยบายของมหาวิทยาลัย ๖. ให คณะ สํานัก สถาบัน จัดตั้งคณะกรรมการติดตามและประเมินผลภายใน ระดับคณะ สํานัก สถาบัน เพื่อประเมินความพรอมของระบบกอนรับการประเมินจากมหาวิทยาลัยและจากภายนอก ตามลําดับ ๗. ให คณะ สํานัก สถาบัน ซ่ึงจัดทําระบบการประกันคุณภาพเสร็จสมบูรณและพรอมที่จะใหหนวยงานภายนอกเขาทําการประเมิน จัดทําเอกสารแบบรายงานการศึกษาตนเองพรอมทั้งระบุดัชนีบงช้ีคุณภาพการดําเนินงานของ คณะ สํานัก สถาบัน เพื่อรับการประเมิน ทั้งนี้ ใหแตละ คณะ สํานัก สถาบัน และหนวยประกันคุณภาพ ดําเนินการในสวนงานที่รับผิดชอบและอาจเพิ่มเติมกิจกรรมดานตางๆ ที่เห็นวามีประโยชน และจําเปนมากกวาที่ไดกลาวมานี้ไดตามความเหมาะสม ประกาศ ณ วันที่ ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๑ (ศาสตราจารย ดร.ตรึงใจ บูรณสมภพ) อธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร

Page 148: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

147

นโยบาย การประกนัคุณภาพการศึกษาของคณะเภสัชศาสตร

Page 149: หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม

148

ประกาศคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

นโยบายการประกันคุณภาพการศึกษา -----------------

คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร ตระหนักถึงความสําคัญและความ จําเปนของการประกันคุณภาพการศึกษา ซ่ึงเปนปจจัยสําคัญที่สุดอยางหนึ่งในการสงเสริมและพัฒนาการศึกษาใหดําเนินไปอยางมีประสิทธิภาพ และมีคุณภาพตามมาตรฐานสากลทั่วไป ซ่ึงเปนการตอบสนองใน พ.ร.บ. การศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 หมวด 6 ที่ระบุถึงมาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา เพื่อเปนแนวปฏิบัติในการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ ซ่ึงรวมถึงระดับอุดมศึกษา และตามประกาศทบวงมหาวิทยาลัย เร่ือง นโยบายและแนวปฏิบัติในการประกันคุณภาพการศึกษา ลงวันที่ 8 กรกฎาคม 2539

เพื่อใหการดําเนินการในเรื่องนี้เปนไปอยางมีประสิทธิภาพ คณะเภสัชศาสตร จึงเห็นสมควรกําหนดนโยบายการประกันคุณภาพการศึกษา เพื่อใชเปนแนวทางในการจัดระบบของการประกันคุณภาพการศึกษา ดังนี ้

1. สงเสริมใหมีการพัฒนาระบบ และกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาคณะเภสัชศาสตร เพื่อประกันคุณภาพการดําเนินงานตามภารกิจ 4 ประการ ของคณะวิชาอยางตอเนื่อง

2. สงเสริมใหมีการดําเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาอยางตอเนื่อง และสรางความพรอมท่ีจะใหหนวยงานภายนอกเขาไปตรวจสอบ เพื่อรับรองคุณภาพได

3. สงเสริมใหบุคลากรภายในคณะฯ ไดมีสวนรวมในการดําเนินงานตามระบบประกันคุณภาพการศึกษา 4. สนับสนุนใหมีการประชาสัมพันธ และเผยแพรกิจกรรมการประกันคุณภาพการจัดการศึกษาแก

สาธารณชน ประกาศ ณ วันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2544

(เภสัชกร รองศาสตราจารย ดร.สินธุชัย แกวกิติชัย) คณบดีคณะเภสัชศาสตร