44
พุทธปรัชญาเถรวาท บทที่ ๒ พื้นฐานพุทธปรัชญา

วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา

Embed Size (px)

DESCRIPTION

วิชาพุทธปรัชญา บทที่ ๒ พื้นฐานพุทธปรัชญา ๑) พื้นฐานความเชื่อของอินเดียก่อนเกิดพุทธปรัชญา ๒) ปรัชญาร่วมสมัยกับพุทธปรัชญา ๓) ประวัติพระพุทธเจ้า ๔) พระพุทธเจ้าสอนอะไร ๕) สาขาของพุทธปรัชญา

Citation preview

พุทธปรัชญาเถรวาท บทที่ ๒ พื้นฐานพุทธปรัชญา

ขอบข่ายเนื้อหา

๑) พื้นฐานความเชื่อของอินเดียก่อนเกิดพุทธปรัชญา

๒) ปรัชญาร่วมสมัยกับพุทธปรัชญา

๓) ประวัติพระพุทธเจ้า

๔) พระพุทธเจ้าสอนอะไร

๕) สาขาของพุทธปรัชญา

สังคมอินเดียในยุคโบราณยกย่อความศักดิ์สิทธิ์ของคัมภีร์พระเวท ศึกษาได้เฉพาะชนชั้นสูง คือ กษัตริย์และพราหมณ์เท่านั้น

พื้นฐานความเชื่อของอินเดียก่อนเกิดพุทธปรัชญา

ห้ามคนชั้นต่่าคือศูทรศึกษา พระเวท

ถ้าเจตนาฟังการสาธยาย พระเวท จะถูกลงโทษด้วยการเอาคลั่งกรอกหู

หรือถ้าสาธยายพระเวท จะถูกตัดลิ้น

ถ้าจ่าความในคัมภีร์พระเวทได้จะถูกผ่าร่างกายออกเป็น ๒ ซีก

พื้นฐานความเชื่อของอินเดียก่อนเกิดพุทธปรัชญา

ประเด็นความเชื่อที่พัฒนามาจากคัมภีร์พระเวทมีดังนี้

พื้นฐานความเชื่อของอินเดียก่อนเกิดพุทธปรัชญา

๑. ความเชื่อเรื่องเทพเจ้า

๒. ความเชื่อเกี่ยวกับโลกและชีวิตหลักงความตาย

๓. ความเชื่อเรื่องโชครางและไสยศาสตร์

๕. การแบ่งชนชั้นในสังคม ๖. ลักษณะวิถีชีวิต

๔. การยึดถือพิธีกรรม

๑. ความเชื่อเรื่องเทพเจ้า

พระพรหมเป็นผลของการวิวัฒนาการจากยุคความเชื่อในคัมภีร์พระเวทมาสู่ยุคศาสนาพราหมณ์

พระพรหมคือผู้สร้างโลกและสรรพสิ่งรวมทั้งมนุษย์

พระพรหมมีอ่านาจสูงสุด แม้กระทั่งชะตาชีวิตของมนุษย์ก็ถูกพระพรหมเป็นผู้ก่าหนดไว้ล่วงหน้า ที่ เรียกว่า “พรหมลิขิต”

สัสสตทิฏฐิ เชื่อว่าทุกสิ่งทุกอย่างเที่ยงแท้ ไม่มีอะไรดับสูญ

อุจเฉททิฏฐิ เชื่อว่าไม่มีอะไรที่เที่ยงแท้ ทุกสิ่งไม่มีอยู่จริง แม้กระทั่งความดีความชั่ว

๒. ความเชื่อเกี่ยวกับโลกและชีวิตหลังความตาย

โลกหน้ามีจริงหรือไม่ ?

การทายลักษณะผ้า

การทายลักษณะดาบ

การทายลักษณะกุมาร

การทายลักษณะธนู

การพยากรณ์ปรากฏการณ์ต่างๆ

การดูฤกษ์งามยามดี-ยามร้าย

๓. ความเชื่อเรื่องโชครางและไสยศาสตร์

ฯลฯ

การบูชายัญเกิดจากคติความเชื่อเรื่อง “พรหมสหายตา” หมายถึงความเป็นสหายของพรหม การเป็นอันหนึ่งอันเดียวกับพรหมด้วยวิธีการใช้สัตว์มาบูชายัญเทพเจ้า เพื่อหวังให้เทพเจ้าดลบาลความสุขมาให้ทั้งในชีวิตนี้และชีวิตหน้า

๔. การยึดถือพิธีกรรม

Animal Sacrifice

กุมภเมลา (Kembhamela)

๕. การแบ่งชนชั้นในสังคม

๖. ลักษณะวิถีชีวิต วิถีการด่าเนินชีวิตของชาวอินเดียยึดถือ ตามหลัก “อาศรม ๔”

๑. พรหมจาร ี๒. คฤหัสถ ์๓. วนปรัสถ ์๔. สันยาส ี

อาศรม ๔ (ในคัมภีร์มนูธรรมศาสตร์ )

ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ได้แบ่งขั้นตอนของชีวิตออกเป็น ๔ ขั้น

๑. พรหมจารี ขั้นตอนของชีวิตที่ ยังศึกษาเล่าเรียนในส่านักของอาจารย์

๒. คฤหัสถ์ การครองเรือนโดยการแต่งงานและตั้งครอบครัว

๓. วนปรัสถ์ ขั้นตอนการแยกจากครอบครัว เพื่อไปปฏิบัติธรรมในป่า

๔. สันยาสี : เป็นขั้นตอนสุดท้ายของชีวิต เป็นผู้ครองเพศบรรพชิต สละชีวิตทางโลกโดยสิ้นเชิง อุทิศตนในการแสวงหาความจริงเกี่ยวกับชีวิต

ปรัชญาร่วมสมัยกับพุทธปรัชญา

นอกจากการด่าเนินชีวิตตามหลักพราหมณ์แล้ว ในสมัยพุทธกาลยังมีแนวคิดต่างๆ ที่มีอิทธิพลต่อสังคมอยู่มาก

ในบันทึกของศาสนาเชน มีลัทธิต่างๆ ถึง ๓๖๓ ลัทธิ

ในคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนากล่าวถึงเพียง ๖๒ ลัทธิ

ส่าหรับลัทธิส่าคัญ ที่ปรากฏใน สามัญญผลสูตร มี ๖ ลัทธิ

ปรัชญา ๖ ส่านัก

ตัวอย่างแนวคิด ปรัชญา ๖ ส่านัก

ปกุธกัจจายนะ ปูรณกัสสปะ มักขลโิคศาล เชื่อว่า บุญ บาป ไม่มี ทุกอย่างที่ท าไปแล้วไม่ว่าดีหรือชั่วเมื่อจบสิ้นแล้วย่อมแล้วกันไป ไม่มีผลตอบสนองภายหลัง

เชื่ อ ว่ า สุ ข ทุกข์ ความดี ความชั่ว เป็นสิ่งที่ เกิดเองโดยธรรมชาติ เหตุการณ์ที่เ กิ ด ขึ้ น ใ น ชี วิ ต ห นึ่ ง ๆ เป็นเรื่องของการโชคดีและเคราะห์ร้าย ไม่ เกี่ยวกับก ร ร ม ดี แ ล ะ ก ร ร ม ชั่ ว แตอ่ย่างใด

สภาวะ ๗ กอง คือ กองดิน ก อ ง น้ า ก อ ง ไ ฟ ก อ ง ลม สุข ทุกข์ ชีวะ นี้ ไม่มีใครท าหรือ เนรมิต มีอยู่ ยั่ งยืนไม่แปรปรวน ไม่มีผู้กระท าการใด ๆ ต่อกัน แม้การเอามีดตัดศีรษะกันก็ไม่มีผู้ ใดฆ่าใคร เ ป็ น แ ต่ เ อ า มี ด ผ่ า น ช่ อ งระหว่ า งสภาวะ ๗ กองนี้เท่าน้ัน

ตัวอย่างแนวคิด ปรัชญา ๖ ส่านัก

สัญชัยเวลัฏฐบุตร นิครนถนาฏบุตร อชิตเกสกัมพล

เชื่อว่าการทรมานกายว่าเป็นทางไปสู่ความพ้นทุกข์ มีความเป็นอยู่เข้มงวดกวดขันต่อร่างกาย เช่น อดข้าว อดน้ า ตากแดด ตากลม ไม่นุ่งห่มผ้า

ความเป็นอยู่หรือเป็นไปของสัตว์ทั้งหลาย ไม่มีเหตุ ไม่มีปัจจัย ย่อมเป็นไปเอง ไม่อยู่ในวิสั ยที่ จะท าให้ เป็นไปอย่างใดอย่างหนึ่งได้ แม้การที่จะบรรลุถึงความพ้นทุกข์สิ้ น เชิ ง ในวัฏสงสารนี้ ก็เป็นไปเอง มิ ใช่ด้ วยการกระท าใด ๆ เป็นเหตุ

มีความเชื่อไม่แน่นอน ซัดส่ายไ ห ล ลื่ น เ ห มื อ นป ล า ไ ห ล ปฏิเสธว่า อย่างนี้ก็ไม่ใช่อย่างนั้นก็ไม่ใช่ ไม่ยอมรับและไม่ยืนยันอะไรทั้งหมด

เ จ ้า ช า ย สิท ธ ัต ถ ะ ป ร ะ สูต ิเ มื ่อ ว ัน เพ็ญ ๑๕ ค่่า เดือน ๖ ก่อน พ .ศ .๘๐ ปี เ ป ็น พระร าช โอรสข อ ง พ ร ะ เ จ ้า ส ุท โ ธ ท น ะ แ ห ่ง กรุงกบิลพัสดุ์

ท ่า น ท ร ง ไ ด ้ร ับ ก า ร เ ลี ้ย ง ดู ท น ุถ น อ ม อ ย ่า ง ด ี ป ร น เ ป ร อ ด ้ว ย ค ว า ม ส่า ร า ญ อ ย ่า ง เ ต ็ม ที่ เพื่อหวังจะให้เป็นพระจักรพรรดิผู ้ยิ ่ง ใ ห ญ่ส ืบ ต ่อ พ ร ะ บิด า ม ิใ ช่เป็นพระศาสดาตามค่าท่านาย

ประวัติพระพุทธเจ้า

ค ร า ว ห นึ ่ง เ จ ้า ช า ย ไ ด ้มีโอกาสไปชมบ้านเมืองด้านน อ ก ว ัง แ ล ะ ไ ด ้พ บ ก ับ ค น แ ก ่ ค น เ จ ็บ ค น ต า ย จึงบังเกิดความสลดสังเวชก ับ ค ว า ม จ ร ิง ที ่พ บ . . . จึงใคร่ครวญแสวงหาความพ้นทุกข์ และน้อมพระทัยไปในการบวช

ในที่สุดท่านจึงตัดสินพระทัยออกผนวชเป็นบรรพชิตที่ริมฝั่งแม่น้่าอโนมา เมื่อพระชน มายุ ๒๙ พรรษา

ท ่า น ท ร ง พ ย า ย า ม ศ ึก ษ าปฏิบัติหลากหลายวิธีเพื่อการพ้นทุกข์ รวมทั ้งการทรมานต น เ อ ง ด ้ว ย ( ท ุก ร ก ิร ิย า ) เป็นเวลา ๖ ปี

ใ น ที ่ส ุด ท ่า น ด่ า ร ิไ ด ้ว ่า การทรมานต น เองมิใ ช ่ท า ง ตรัสรู้ เปรียบเสมือนสายพิณที ่ข ึง ต ึง เ ก ิน ไ ป ด ัง นั ้น จ ึง ค ว ร ป ฏิบ ัต ิบ่า เ พ ็ญ เ พ ีย รท า ง จ ิต ด ้ว ย ค ว า ม พ อ ดี(มัชฌิมาปฏิปทา)

กระทั่งวันขึ้น ๑๕ ค่่า เดือน ๖ ก่อนพุทธศักราช ๔๕ ปี

ท่านประทับนั่งใต้ต้นพระศรีมหาโพธิ์ แคว้นมคธ ป.อินเดีย และตั้งสัตยาธิษฐานว่า

“ถ้ายังไม่ได้ตรัสรู้ พระอนุตรสัมมาสัมโพธิญาณ

..จักไม่เสด็จลุกขึ้นจากบัลลังก์...ถึงแม้ว่าเนื้อและ

เลือดในกายจักเหือดแห้งไป ก็ตามที”

จนกระทั่งปัจฉิมยาม ของวันนั้น พระองค์ได้เกิด

ปัญญาญาณ ตรัสรู้ พระธรรม “อริยสัจ ๔” บรรลุถึงการดับกิเลส

และพ้นทุกข์โดยสิ้นเชิง... และทรงได้พระนามว่า.. “พระสัมมาสัมพุทธเจ้า” ขณะมีพระชนมายุได้

๓๕ พรรษา

พระพุทธเจ้าสอนอะไร?

“...โลกตั้งอยู่บนกองทุกข์ .....

เรา ตถาคต แสดงแต่เรื่อง ทุกข์ และความดับทุกข์ เท่านั้น”

“...เรื่องที่เราสอน ก็คือ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค..เพราะประกอบด้วยประโยชน์ เป็น

เบื้องต้นแห่งพรหมจรรย์ เป็นไปเพื่อความหน่ายคลายก่าหนัด ดับ

สงบ รู้ยิ่ง ตรัสรู้ และนิพพาน”

พระพุทธเจ้าสอนอะไร?

สอนให้มองโลกตามความเป็นจริง

. . . .สิ ่งแรกที ่มนุษย์ควรท่า คือ การมองความจริงและท่าความรู้จักกับสิ่งต่างๆ ตามที่มันเป็น และเข้าไปเกี่ยวข้องกับสิ่งต่างๆ ด้วยความรอบรู้และเข้าใจ เพื่อให้มีทุกข์น้อยที่สุด หรือ ไม่มีทุกข์เลย

พระพุทธเจ้าสอนมุ่งให้คนเกิดปัญญา....และเมื่อรู้แล้วก็ควรน่าไปปฏิบัติเพื่อเกิดปร ะโยชน์แก่ชีวิต คือ ดับทุกข์ได้

พระพุทธเจ้าสอนอะไร?

สาขาของพุทธปรัชญา

หลังจากที่พระพุทธเจ้า ปรินิพพานได้ ๓ เดือน ได้มีการสังคายนาธรรมวินัย ใหม่ และอีก ๑๐๐ ปี ต่อมาได้เกิดความขัดแย้งในเรื ่องการแปลความหมายของธรรมวินัย แ ล ะ ม ีภ ิก ษ ุบ า ง ส ่ว น ย ่อ ห ย ่อ น ต ่อ พ ร ะ ว ิน ัย จ ึง ม ีก า รสังคายนาครั้งที่ ๒ ซึ่งน่าไปสู่ความขัดแย้งทางความคิด...

สาขาของพุทธปรัชญา

นิกายเถรวาท (หีนยาน)

• เป็นนิกายดั้งเดิม ยึดถือหลักพระธรรมวินัยที่ได้สังคายนาไว้เมื่อพุทธปรินิพพาน ได้ ๓ เดือน เจริญอยู่ทางตอนใต้ของอินเดีย ได้แพร่หลายไปยังประเทศเอเชียใต้ เช่น ศรีลังกา พม่า ไทย ลาว และเขมร เป็นต้น

นิกายมหายาน

• เป็นนิกายที่แยกออกมาใหม่ ยึดถือหลักธรรมตามการตีความใหม่ และการปฏิบัติของอาจารย์ตน เจริญอยู่ตอนเหนือของอินเดีย ได้แพร่เข้าไปสู่ประเทศธิเบต จีน เกาหลี เวียดนามและญี่ปุ่น

เถรวาท มหายาน

ประเด็น เถรวาท (หีนยาน) มหายาน (อาจาริยวาท)

เป้ายหมายชีวิต มุ่งให้ตนเองพ้นทุกข์ก่อนและมุ่งที่อรหัตตภูม ิ

มุ่งช่วยสรรพสัตว์ ให้พ้นทุกข์ก่อน จึงจะช่วยตนเอง และมุ่งที่พุทธภูมิ

ภาวะจิต (พุทธภาวะ) ไม่ยืนยันภาวะจิตเดิม ยืนยันจิตเดิมว่ามีอยู่ในทุกคน

การมีอยู่ของพระพุทธเจ้า (หลังปรินิพพาน)

ไม่ยืนยันหรือปฏิเสธการมีอยู่หรือการดับสูญ

ยืนยันว่าพระพุทธเจ้ามีอยู่ในรูปสัมโภคกาย ในพุทธเกษตร

หลักธรรมวินัย ยึดถือค่าสอนดั้งเดิมทั้งหมด เปลี่ยนแปลงและปรับปรุงใหม่

การยกย่องสาวก ยกย่องผู้บ่าเพ็ญตนเป็นอริยบุคคล

ยกย่องผู้ปฏิบัติแบบพระโพธิสัตว์

ความแตกต่างระหว่างเถรวาทและมหายาน

ประเด็น เถรวาท (หีนยาน) มหายาน (อาจาริยวาท)

เป้ายหมายชีวิต มุ่งให้ตนเองพ้นทุกข์ก่อนและมุ่งที่อรหัตตภูม ิ

มุ่งช่วยสรรพสัตว์ ให้พ้นทุกข์ก่อน จึงจะช่วยตนเอง และมุ่งที่พุทธภูมิ

ภาวะจิต (พุทธภาวะ) ไม่ยืนยันภาวะจิตเดิม ยืนยันจิตเดิมว่ามีอยู่ในทุกคน

การมีอยู่ของพระพุทธเจ้า (หลังปรินิพพาน)

ไม่ยืนยันหรือปฏิเสธการมีอยู่หรือการดับสูญ

ยืนยันว่าพระพุทธเจ้ามีอยู่ในรูปสัมโภคกาย ในพุทธเกษตร

หลักธรรมวินัย ยึดถือค่าสอนดั้งเดิมทั้งหมด เปลี่ยนแปลงและปรับปรุงใหม่

การยกย่องสาวก ยกย่องผู้บ่าเพ็ญตนเป็นอริยบุคคล

ยกย่องผู้ปฏิบัติแบบพระโพธิสัตว์

พระอรหันต์ตายแล้วเกิด หรือไม่เกิด ?

เถรวาทตอบอย่างไร?

มหายานตอบอย่างไร?

เมื่อนิพพานมี ที่ตั้งของนิพพานก็น่าจะมี ?

เอกสารอ้างอิง

วิโรจ นาคชาตรี . พุทธปรัชญาเถรวาท. กรุงเทพฯ : ส่านักพิมพ์ รามค่าแหง, ๒๕๔๗.

สุเชาวน์ พลอยชุม . พุทธปรัชญาเถรวาทในสุตตันตปิฎก . กรุงเทพฯ : ม.เกษตรศาสตร์ , ๒๕๔๘.

เดือน ค่าดี. พุทธปรัชญา. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์ , ๒๕๓๕.

ติดตามผลงานอื่นๆ ของเราได้ที่

www.padvee.com Education for all.