26
ห น า | 1 ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ

แนวข้อสอบกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง นักวิชาการพัสดุ E-BOOK แนวข้อสอบ

  • Upload
    -

  • View
    344

  • Download
    3

Embed Size (px)

DESCRIPTION

แนวข้อสอบกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง นักวิชาการพัสดุ E-BOOK แนวข้อสอบ สกย คู่มือเตรียมสอบ สกย ราคา 249 บาท สั่งซื้อได้ที่ : www.Sheetram.com สอบถามรายละเอียด Facebook http://www.facebook.com/Sheetram LINE ID : sheetram บริษัท ชีทราม จำกัด ชมรมลูกพ่อขุนประยุกต์ สำนักงานใหญ่ 453 ถนนรามคำแหง(ปากซอย 53) หัวหมาก บางกระปิ กรุงเทพฯ 102 โทรศัพท์ : 02-7230950,02-5141422,085-9679080, 085-9993722,085-9993740 FAX : 02-718-6528 เปิดบริการ 8.15-21.30 น. ทุกวัน

Citation preview

Page 1: แนวข้อสอบกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง นักวิชาการพัสดุ E-BOOK แนวข้อสอบ

ห น า | 1

ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ

Page 2: แนวข้อสอบกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง นักวิชาการพัสดุ E-BOOK แนวข้อสอบ

ห น า | 2

ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ

คํานํา

E-BOOKคูมือ+แนวขอสอบ นักวิชาการพัสดุ (สํานักงานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง) เนื้อหาประกอบดวยความรูเกี่ยวกับ ประกอบดวย สวนที่ 1 ความรูเกี่ยวกับกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง สวนที่ 2 กฎหมายที่เกี่ยวของ พระราชบัญญัติควบคุมยาง พ.ศ. 2542 พระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง พ.ศ. 2503 แกไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2530 แนวขอสอบพรบ.กองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง พ.ศ. 2503 (ฉบับที่ 4) แกไขเพิ่มเติมถึงพ.ศ. 2530 แนวขอสอบพระราชบัญญัติควบคุมยาง พ.ศ. 2542สวนที่ 3 ความรูเฉพาะตําแหนง การบริหารงานพัสดุ กลยุทธการบริหารงานพัสดุ การจัดมาตรฐานพัสดุ การจัดหา การบริหารพัสดุคงเหลือ การจัดการคลังพัสดุ การขนสง การบํารุงรักษา การจําหนายพัสดุออกจากบัญชี การบริหารงานพัสดุและการจัดหาของสวนราชการ สวนที่ 4 กฎหมายท่ีเกี่ยวของกับการพัสดุ แนวขอสอบระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ.2535 และที่แกไขเพิ่มเติม ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส พ.ศ. 2549 แนวขอสอบ ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยพัสดุดวยวิธีทางอิเล็กทรอนิกส พ.ศ. 2549 แนวขอสอบ การบริหารงานพัสดุ

ขอใหทุกทานโชคดีในการสอบ

Page 3: แนวข้อสอบกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง นักวิชาการพัสดุ E-BOOK แนวข้อสอบ

ห น า | 3

ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ

ขอบเขตเนื้อหา

สวนที่ 1 ความรูเก่ียวกับกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง ประวัติ สกย. 5 ภารกิจ/ยุทธศาสตร สกย. 11 วิสัยทัศน 12 คานิยมองคกร 12 พันธกิจ 13 วัตถุประสงค 13 เปาหมายหลัก 13 ยุทธศาสตร 14 ภารกิจ/บริการ 15 ความรูท่ัวไปเกี่ยวกับสวนยาง 18 การปลูกยางพารา 18 การบํารุงรักษา 31 โรคและศัตรูพืชท่ีสําคัญของยางพารา 36 การปฏิบัติระยะตนยางใหผลผลิต 44 การแปรรูปผลผลิต 47 มาตรฐานคุณภาพของยางแผนดิบ 50

สวนที่ 2 กฎหมายท่ีเก่ียวของ พระราชบัญญัติควบคุมยาง พ.ศ. 2542 52 พระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง พ.ศ. 2503 แกไขเพิ่มเติม 67 แนวขอสอบพรบ.กองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง พ.ศ. 2503 แกไขเพิ่มเติม 78 แนวขอสอบพระราชบัญญัติควบคุมยาง พ.ศ. 2542 85

สวนที่ 3 ความรูเฉพาะตําแหนง การบริหารงานพัสดุ 92 กลยุทธการบริหารงานพัสดุ 93 การจัดมาตรฐานพัสดุ 99 การจัดหา 104 การบริหารพัสดุคงเหลือ 114 การจัดการคลังพัสดุ 117 การขนสง 129 การบํารุงรักษา 136 การจําหนายพัสดุออกจากบัญชี 142 การบริหารงานพัสดุและการจัดหาของสวนราชการ 145

สวนที่ 4 กฎหมายท่ีเก่ียวของกับการพัสดุ ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ.2535 และท่ีแกไขเพิ่มเติม 156 แนวขอสอบระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ.2535 และท่ีแกไขเพิ่มเติม 232 ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส พ.ศ. 2549 239 แนวขอสอบ ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยพัสดุดวยวิธีทางอิเล็กทรอนิกส พ.ศ. 2549 248 แนวขอสอบ การบริหารงานพัสดุ 258

Page 4: แนวข้อสอบกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง นักวิชาการพัสดุ E-BOOK แนวข้อสอบ

ห น า | 4

ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ

ความรูเกี่ยวกับกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง

ประวัติ สกย. ทศวรรษแรก (ป 2503-2513) สรางความเช่ือม่ันแกชาวสวนยาง

การ ดําเนินงานในทศวรรษแรก สมัยรัฐบาลจอม พลสฤษด์ิ ธนรัชต มีสํานักงานใหญตั้งอยูที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ และมีสํานักงานสวนภูมิภาค ตั้งอยูในเขตปลูกยาง หนาแนน ในภาคใต และภาคตะวันออก รวม 6 เขต ไดแก ภูเก็ต นครศรีธรรมราช สงขลา ยะลา และจันทบุรี มีขุนวิจิตรพา หนการ เปนผูอํานวยการ คนแรก ดํารงตําแหนงระหวางวันที่ 1 มกราคม 2504 – 30 กันยายน 2508 คณะทํางานชุดแรกเปน พนักงานที่สําเร็จการศึกษาระดับ ปริญญาตรีดานการเกษตร จํานวน 11 คนเปนหลัก ทํางานทั้งดานภาคสนามและการเงิน การบัญชี ซึ่งพนักงานชุดแรกนี้ตอมาไดเปน ผอ.สกย. ถึง 3 คน คือนายณรงค สุจเร นายสมศักด์ิ โรหิตรัตนะ และนายเสวต ทองรมย หลังจากนั้นอีก ประมาณ 5-6 เดือน จึงมีพนักงาน ดานการเกษตรและดานการเงินและบัญชี เขามาปฏิบัติงานเสริมอีก 25 คน ทําใหการสงเคราะห ดําเนินการไดรวดเร็ว และ คลองตัวย่ิงข้ึน ดวยความที่งานดานการสงเคราะหเปนงานใหมของประเทศ ไทย การทํางานในยุคเริ่มตน จึงประสบความ ลําบาก ในการทําความเขาใจกับประชาชน พอสมควร แตดวยความมุงมั่น และอุดมการณอันแรงกลา ที่จะพลิกสถานการณ การผลิตยาง ของประเทศ และนํามาซึ่งความอยูดีกินดีของชาวสวนยาง ในขณะนั้น ทําใหเกษตรกรเขาใจในเหตุผล และ ประโยชนที่จะไดรับในท่ีสุด อีกท้ังใหความเชื่อมั่นและไววางใจเปนอยางสูง อยางที่ไมมีหนวยงานราชการใดเคยไดรับมากอน โดยเฉพาะอยาง ย่ิงส่ิงที่พนักงาน สกย. ตองจดจํา ไวเปนพิเศษ คือในชวงป 2505 หลังจากกอตั้ง สกย. เพียง 2 ปเศษ ไดเกิดวาตภัยครั้งใหญที่ จ.นครศรีธรรมราช สงผลให ประชาชนตองประสบความเสียหายทั้งชีวิตและทรัพยสิน สกย. ไดระดมพนักงานจํานวนมาก ไปชวยเหลือเกษตรกร ชาว สวนยางที่ประสบภัยพิบัติอันรายแรงอยางไมเคยเปนมากอน พนักงาน สกย. ทั้งหมดตางเรงเขาไปในพื้นที่ ระดมพลังทุมเท ความสามารถที่มีอยู เพื่อบรรเทาความเดือดรอนใหเกษตรกรผูประสบภัยเหลานั้น อยางไมเห็นแกเหน็ดเหนื่อย แมทุกคนจะ ทุกขกายแตตางสุขใจและภาคภูมิที่ได ชวยเหลือสังคมอยางเต็มกําลัง ทําใหชื่อเสียงของ สกย. โดดเดนข้ึนมาอยูในความ ทรงจําของชาวสวนยางพาราทั่วไป

Page 5: แนวข้อสอบกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง นักวิชาการพัสดุ E-BOOK แนวข้อสอบ

ห น า | 5

ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ

วิสัยทัศน "มุงพัฒนายางพาราครบวงจร นําสังคมชาวสวนยางไปสูความเขมแข็งและย่ังยืน”

พัฒนายางพาราจากการผลิต เริ่มตั้งแตการปลูกจนกระทั่งเก็บเกี่ยวผลผลิต การแปรรูปเบื้องตน เปนผลิตภัณฑยางอุตสาหกรรมและการตลาด โดยเริ่มจากตัวเกษตรกรมีความรูสูครอบครัวที่อบอุน ชุมชน และสังคมชาวสวนยางเขมแข็ง

คานิยมองคกร สกย. ไดกําหนดคานิยมองคกรที่จะใชเปนบรรทัดฐานสําหรับพนักงานไดนําไปใชเปน

หลักปฏิบัติเพื่อรวมกันขับเคล่ือนองคกรใหกาวหนาบรรลุสูเปาหมายของ องคกร ดังนี้ O : Outcome มุงผลสําเร็จของการทํางาน R : Responsibility ความรับผิดชอบ R : Relationship สรางความสัมพันธที่ดีระหวางกัน A : Active Teamwork การทํางานเปนทีม F : Faith ซื่อสัตยสุจริต

พันธกิจ 1. สงเสริมและพัฒนาศักยภาพการผลิตของเกษตรกรเพื่อเพิ่มผลผลิตตอหนวยพื้นที่

ลดตนทุนการผลิต และปลูกยางเพิ่มในพื้นที่ที่เหมาะสม 2. สงเสริมการดําเนินการเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตเกษตรกร และสรางความเขมแข็ง

ใหกับสถาบันเกษตรกร 3. เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการตลาดยางพารา และขยายตลาดยางพารา

ระดับทองถิ่น ใหครอบคลุมทุกพื้นที่ที่สงเสริมใหปลูกยาง บนพื้นฐานความรวมมือของเกษตรกร

4. สงเสริมการปลูกสรางสวนยางใหมีมาตรฐาน เกื้อกูลระบบนิเวศนและส่ิงแวดลอม 5. พัฒนาระบบการบริหารจัดการองคกร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ

วัตถุประสงค 1. เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตยางพารา และพัฒนาระบบตลาด เพิ่มรายได

และลดตนทุนการผลิตใหกับเกษตรกร

Page 6: แนวข้อสอบกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง นักวิชาการพัสดุ E-BOOK แนวข้อสอบ

ห น า | 6

ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ

2. เพื่อใหเกษตรกรมีความมั่นคงในการประกอบอาชีพ และสถาบันเกษตรกร มีการดําเนินการที่มีมาตรฐานอยางตอเนื่อง

3. เพื่อใหการใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพ คุมคา และฟนฟูทรัพยากรใหมีความเหมาะสมตอการผลิต โดยเกษตรกร และสถาบันเกษตรกรเขามามีสวนรวมในการบริหารจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดลอม

4. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการองคกร บุคลากรสามารถปฏิบัติงานอยางเต็มศักยภาพ สอดรับกับการเปล่ียนแปลง ใหการปฏิบัติงานเปนไปตาม วัตถุประสงค เปาหมาย และเปนองคกรที่ดําเนินกิจกรรมภายใตหลักธรรมาภิบาล

เปาหมายหลัก 1. เพิ่มผลผลิตโดยการใหการสงเคราะหปลูกแทนโดยใชพันธุยางท่ีใหผลิตสูงกวา ตน

ยางเกา และใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อใหสวนสงเคราะหตั้งแตรุนป 2555 สามารถใหผลผลิตไดภายใน 6 ป และสงเสริมใหมีการปลูกยางเพิ่มในพื้นที่เหมาะสม

2. ลดตนทุนการผลิตโดยการสงเสริมใหเกษตรกรชาวสวนยาง ใชทรัพยากรอยางคุมคา อนุรักษส่ิงแวดลอมและมีความรูสามารถใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการดูแล รักษาสวนและเก็บเกี่ยวผลผลิต รวมทั้งรวมกันในการบริหารจัดการผลผลิต และการจําหนายผลผลิตอยางมีประสิทธิภาพ

3. สรางความมั่นคงใหกับเกษตรกร โดยสงเสริมใหมีการรวมตัวเพื่อดําเนินกิจกรรม และชวยเหลือซึ่งกันและกัน ในเรื่องการผลิต การแปรรูป การตลาด อาชีพเสริม และอื่นๆ ตามความเหมาะสม และพัฒนาไปสูเปนสถาบันเกษตรกรที่เปนนิติบุคคล

4. ดําเนินการตลาดประมูลยางระดับทองถิ่น ครอบคลุมพื้นที่ที่สงเสริมใหปลูกยางพารา และตลาดไดรับการยอมรับจากผูใชบริการ ราคาซื้อขายเปนราคาอางอิงของราคาในตลาดทองถิ่น

5. ปรับปรุงระบบบริหารจัดการองคกร ใหเทียบเทามาตรฐานสากล และเสริมสรางทัศนคติ คานิยม วัฒนธรรมการทํางาน พรอมรับการเปล่ียนแปลง รวมถึง เสริมสรางศักยภาพในการดําเนินงานสูความเปนเลิศภายใตหลักธรรมาภิบาล

Page 7: แนวข้อสอบกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง นักวิชาการพัสดุ E-BOOK แนวข้อสอบ

ห น า | 7

ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ

ความรูทั่วไปเก่ียวกับสวนยาง

การปลูกยางพารา การเตรียมพื้นที่ การเตรียมพื้นที่ปลูกสรางสวนยาง เปนการปรับพื้นที่ใหมีสภาพเหมาะสมสําหรับปลูก

ยางท้ังดานการปฏิบัติงานในสวนยางและการอนุรักษดินและน้ํา จําเปนตองวางแผนการใชพื้นที่อยางมีประสิทธิภาพ เพื่อความสะดวกในการดูแลบํารุงรักษาตนยาง การเตรียมพื้นที่ปลูกยาง ไดแก การทําความสะอาดพื้นที่ การวางแนว การขุดหลุม และการจัดทําข้ันบันไดเปนตน

การวางแนวปลูก การวางแนวปลูกในพื้นที่ราบ เริ่มจากการวางแถวหลัก หางจากแนวเขตสวนไมนอย

กวา 1.5 เมตร ตามแนวตะวันออก-ตะวันตก ไมขวางทิศทางลม การวางแนวปลูกในพื้นที่ลาดเท ในพื้นที่ลาดเทหรือพื้นที่ที่อยูบนควนเขา การวาง

แนวปลูกไมสามารถใชวิธีแบบเดียวกับพื้นที่ราบได เนื่องจากที่ลาดเทหรือที่ควนเขามีการไหลบาของน้ําในขณะที่มีฝนตก เปนผลใหเกิดการชะลางและพังทลายของหนาดิน ดังนั้น เพื่อปองกันการชะลางและการพังทลายของดินจึงจําเปนตองวางแนวปลูกตามแนวระดับ หากพื้นที่มีความลาดเทมากกวา 15 องศา ตองทําข้ันบันได

ประโยชนของการทาํแนวระดับและขั้นบันได - ปองกันการพังทลายของหนาดิน - ปองกันการชะลางปุยที่ใสใหกับตนยาง - ทําใหรากตนยางยึดแนนกับดิน ไมถูกน้ําเซาะลมไดงาย - ชวยรักษาความชุมชื้นในดิน - งายและสะดวกแกการปฏิบัติงานในสวน ระยะปลูก เพื่อปองกันความเสียหายที่อาจเกิดข้ึนกับตนยาง จึงกําหนดระยะปลูกเปน 2 ระยะ

ตามความตองการปลูกพืชแซมและลักษณะประจําพันธุยาง การเตรียมหลุมปลูก การขุดหลุมปลูกยางใหขุดดานใดดานหนึ่งของไมชะมบตลอดแนว โดยแยกดินที่ขุด

เปน 2 กอง คือ ดินชั้นบนและดินชั้นลาง ผ่ึงแดดไวประมาณ 10 วัน เพื่อใหดินแหง แลวยอย

Page 8: แนวข้อสอบกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง นักวิชาการพัสดุ E-BOOK แนวข้อสอบ

ห น า | 8

ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ

ดินชั้นบนใสรองกนหลุม สวนดินชั้นลางใหผสมกับปุยหินฟอสเฟต (0-3-0) อัตราหลุมละ 170 กรัม ในแหลงปลูกยางใหมควรใสปุยอินทรียตนละ 5 กก. รองกนหลุมรวมกับปุยหินฟอสเฟต แลวกลบหลุม ขนาดของหลุม 50 x 50 x 50 เซนติเมตร (กวาง x ยาว x ลึก)

สําหรับการขุดหลุมปลูกในพื้นที่ลาดเท เมื่อปกไมชะมบเรียบรอยแลวควรขุดหลุมเย้ืองไปดานในควนเล็กนอย เมื่อปลูกยางไปแลวอาจตองแตงชานเพิ่มเติม โดยขุดดินบนควนมากลบดานนอก ซึ่งจะทําใหตนยางอยูกลางขั้นบันไดพอดี การปลูก

วัสดุปลูกและวิธีการปลูก วัสดุปลูก วัสดุปลูก หรือตนยางท่ีใชปลูก แบงออกเปน ตนตอตาและตนยางชําถุงขนาด 1-2

ฉัตร ควรเลือกวัสดุปลูกท่ีแข็งแรงสมบูรณปราศจากโรคและศัตรูพืช ตนตอตา ตนตอตา หมายถึง ตนกลายางที่ไดรับการติดตาดวยยางพันธุดี แตตายังไมแตก

ออกมา มีแผนตาและตาที่เปนตุมติดอยูเทานั้น ขุดถอนแลวตัดตนเดิมเหนือแผนตาขึ้นไปไมนอยกวา 8 ซม. เพื่อนําไปปลูกในแปลงที่เตรียมพื้นที่ไวเรียบรอยแลว

ตนยางชําถุง ตนยางชําถุง หมายถึง วัสดุปลูกท่ีไดจากการนําเอาตนตอตามาชําในถุง โดยใชเวลา

ชําในถุงประมาณ 2-3 เดือน จนไดตนยางชําถุงขนาด 1-2 ฉัตร ซึ่งมีสภาพพรอมที่จะนําไปปลูกในแปลงได ขนาดของถุงที่ใชชําคือ 5 x 15 นิ้ว สีดํา เจาะรูขนาด 3 มม. ประมาณ 3 แถว ๆ ละ 5-7 รู

พันธุยาง กรมวิชาการเกษตร ไดแนะนําพันธุยาง 3 กลุม 1. กลุมพันธุยางผลผลิตน้ํายางสูง เปนพันธุที่ใหผลผลิตเนื้อยางสูงเปนหลัก มี4 พันธุคือ พันธุสาถาบันวิจัยยาง 251

สถาบันวิจัยยาง226 BPM 24 และ RRIM 600 2. กลุมพันธุยางผลผลิตน้ํายางและเนื้อไมสูง

เปนพันธุที่ใหผลผลิตเนื้อยางสูงและมีการเจริญเติบโตดีลักษณะลําตนตรง และใหปริมาตรเนื้อไมในสวนลําตนสูง มี4 พันธุ คือ พันธุPB 235 PB 255 PB 260 และ RRIC 110

3. กลุมพันธุยางผลผลิตเนื้อไมสูง

Page 9: แนวข้อสอบกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง นักวิชาการพัสดุ E-BOOK แนวข้อสอบ

ห น า | 9

ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ

มาตรฐานคุณภาพของยางแผนดิบ ยางแผนดิบคุณภาพ 1

- แผนยางมีความสะอาดและปราศจากฟองอากาศตลอดแผน - มีความชื้นในแผนยางไมเกิน 1.5 เปอรเซ็นต - มีความยืดหยุนดี และมีลายดอกเดนชัดตลอดแผน - บาง มีความหนาของแผนไมเกิน 3 มิลลิเมตร - เนื้อยางแหงใส มีสีสวยสม่ําเสมอตลอดแผน สีเหลืองทอง เหลืองออน - น้ําหนักเฉล่ียตอแผน 800-1,200 กรัม - แผนยางเปนรูปส่ีเหล่ียมผืนผา กวาง 38-46 ซม. ยาว 80-90 ซม.

ยางแผนดิบคุณภาพ 2 - แผนยางมีความสะอาดตลอดแผน หรืออาจมีส่ิงสกปรกและฟองอากาศอยูในแผน

ยางไดบางเล็กนอย - มีความชื้นในแผนยางไมเกิน 2 เปอรเซ็นต - ความยืดหยุนดีมีลายดอกเดนชัด - บาง มีความหนาของแผนยางไมเกิน 4 มิลลิเมตร - เนื้อยางแหงมีสีสม่ําเสมอตลอดแผน ลักษณะสีคอนขางคลํ้าหรืออาจมีรอยดางดําได

บางเล็กนอย - น้ําหนักเฉล่ียตอแผน 1,000-1,200 กรัม - แผนยางเปนรูปส่ีเหล่ียมผืนผา กวาง 38-46 ซม. ยาว 80-90 ซม.

ยางแผนดิบคุณภาพ 3

- แผนยางมีความสะอาด หรืออาจมีส่ิงสกปรกและฟองอากาศอยูในแผนยางไดบางเล็กนอย

- มีความชื้นในแผนยางไมเกิน 3 เปอรเซ็นต - มีความยืดหยุนดี และมีลายดอกเดนชัด - แผนยางคอนขางหนา ความหนาของแผนยางไมเกิน 4 มิลลิเมตร - เนื้อยางแหงมีสีคลํ้าคอนขางทึบ ไมโปรงใสเทาที่ควร - น้ําหนักเฉล่ียตอแผนไมเกิน 1,500 กรัม - แผนยางเปนรูปส่ีเหล่ียมผืนผา กวาง 38-46 ซม. ยาว 80-90 ซม.

Page 10: แนวข้อสอบกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง นักวิชาการพัสดุ E-BOOK แนวข้อสอบ

ห น า | 10

ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ

พระราชบัญญัตคิวบคุมยาง พ.ศ. 2542 ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.

ใหไว ณ วันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2542 เปนปที่ 54 ในรัชกาลปจจุบัน

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ ใหประกาศวา

โดยที่เปนการสมควรปรับปรุงกฎหมายวาดวยการควบคุมยาง พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพ

ของบุคคล ซึ่งมาตรา 29 ประกอบกับมาตรา 35 มาตรา 36 มาตรา 48 และมาตรา 50 ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย บัญญัติใหกระทําไดโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย

จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญัติข้ึนไวโดยคําแนะนําและยินยอมของรัฐสภา ดังตอไปนี้

มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติควบคุมยาง พ.ศ. 2542”

มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป

มาตรา 3 ใหยกเลิก (1) พระราชบัญญัติควบคุมยาง พุทธศักราช 2481 (2) พระราชบัญญัติควบคุมยาง (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2483 (3) พระราชบัญญัติควบคุมยาง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2490 มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี้ “ตนยาง” หมายความวา ตนยางพารา (Hevea brasiliensis) และหมายความ

รวมถึงตนยางชนิดอื่นซึ่งรัฐมนตรีประกาศกําหนดใหเปนตนยางที่อยูภายใตการควบคุมตามพระราชบัญญัตินี้

“ตนยางพันธุดี” หมายความวา ตนยางที่รัฐมนตรีประกาศกําหนดวาเปนตนยางพันธุที่เหมาะสมท่ีจะใชปลูกเปนสวนยาง

“ยาง” หมายความวา น้ํายางสด ยางกอน เศษยาง น้ํายางขน ยางแผน ยางแทง ยางเครพ หรือยางในลักษณะอื่นใดอันผลิตขึ้นหรือไดมาจากสวนใด ๆ ของตนยาง และ

Page 11: แนวข้อสอบกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง นักวิชาการพัสดุ E-BOOK แนวข้อสอบ

ห น า | 11

ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ

หมายความรวมถึงยางผสมไมวาในสภาพของแข็งหรือของเหลวซึ่งมียางธรรมชาติผสมกับสารเคมีหรือสารอื่น แตไมรวมถึงวัตถุประดิษฐสําเร็จรูปจากยาง

“เนื้อยาง” หมายความวา เนื้อยางที่มีอยูในน้ํายางหรือยางแตละชนิดโดยคํานวณเปนน้ําหนักตามกรรมวิธีที่กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณกําหนด

“สวนยาง” หมายความวา ที่ดินซึ่งมีตนยางปลูกอยูในเนื้อที่ไมนอยกวาหนึ่งไร แตละไรมีตนยางไมนอยกวาสิบตน หรือในกรณีที่มีเนื้อที่ปลูกยางติดตอกันมากกวาหนึ่งไร ตองมีสวนเฉล่ียไมนอยกวาไรละย่ีสิบหาตนของจํานวนเนื้อที่ทั้งหมด

“ทําสวนยาง” หมายความวา ปลูกตนยางในสภาพที่เปนสวนยาง บํารุงรักษาตนยาง กรีดตนยาง หรือทําน้ํายางสดใหเปนยางกอน เศษยาง หรือยางแผนดิบ

“เขตควบคุมการขนยายยาง” หมายความวา เขตพื้นที่ที่รัฐมนตรีประกาศกําหนดเปนเขตควบคุมการขนยายยาง

“โรงทํายาง” หมายความวา สถานที่ที่ใชน้ํายางสด ยางกอน เศษยาง หรือยางแผนดิบมาแปรรูปเปนน้ํายางขน ยางผ่ึงแหง ยางแผนรมควัน ยางแทง ยางเครพ ยางดิบชนิดอื่น ๆ อยางหนึ่งอยางใดหรือหลายอยางรวมกัน และหมายความรวมถึงสถานที่ที่ผลิตยางผสม แตไมรวมถึงสถานที่ที่ทํายางแผนดิบ

“ปริมาณควบคุมเนื้อยาง” หมายความวา ปริมาณเนื้อยางท่ีรัฐมนตรีประกาศกําหนดใหผูทําสวนยางทําการผลิตเนื้อยางไดตามปริมาณและระยะเวลาที่รัฐมนตรีประกาศกําหนด

“ปริมาณจัดสรรเนื้อยาง” หมายความวา ปริมาณเนื้อยางที่รัฐมนตรีประกาศจัดสรรใหผูนํายางเขาหรือผูสงยางออก นําเนื้อยางเขามาในหรือสงเนื้อยางออกไปนอกราชอาณาจักรได ตามปริมาณและระยะเวลาที่รัฐมนตรีประกาศกําหนด

“มาตรฐานยาง” หมายความวา ลักษณะของยางแตละชนิดหรือชั้นตามที่รัฐมนตรีประกาศกําหนด

“วิธีการมัดยางและการบรรจุหีบหอยาง” หมายความวา วิธีการมัดยางและการบรรจุหีบหอยางตามวิธีการท่ีรัฐมนตรีประกาศกําหนด

“คายาง” หมายความวา ซื้อ ขาย หรือแลกเปล่ียนยาง และหมายความรวมถึงซื้อยาง ขายยาง ตามตราสารที่บุคคลหน่ึงบุคคลใดเปนผูออกตราสารนั้นหรือโดยประการอื่น แตไมรวมถึงกรณีที่ผูทําสวนยางขายน้ํายางสด ยางกอน เศษยาง หรือยางแผนดิบ ซึ่งเปนผลิตผลจากสวนยางของตน

“ผูอนุญาต” หมายความวา อธิบดีหรือผูซึ่งอธิบดีมอบหมาย

Page 12: แนวข้อสอบกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง นักวิชาการพัสดุ E-BOOK แนวข้อสอบ

ห น า | 12

ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ

“คณะกรรมการ” หมายความว า คณะกรรมการควบคุมยางตามพระราชบัญญัตินี้

“พนักงานเจาหนาที่” หมายความวา ผูซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้งใหปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้

“อธิบดี” หมายความวา อธิบดีกรมวิชาการเกษตร “รัฐมนตรี” หมายความวา รัฐมนตรีผูรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ มาตรา 5 ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณรักษาการตาม

พระราชบัญญัตินี้ และใหมีอํานาจดังตอไปนี้ (1) ออกกฎกระทรวงกําหนดคาธรรมเนียมไมเกินอัตราทายพระราชบัญญัตินี้

ลดคาธรรมเนียม ยกเวนคาธรรมเนียม และกําหนดกิจการอื่น (2) ออกประกาศ (3) แตงตั้งพนักงานเจาหนาที่ ทั้งนี้ เพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ กฎกระทรวงหรือประกาศนั้น เมื่อไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลวใหใช

บังคับได มาตรา 6 เพื่อประโยชนในการผลิตยาง การคายาง การนํายางเขาและการสง

ยางออก ใหรัฐมนตรีโดยคําแนะนําของคณะกรรมการมีอํานาจประกาศในราชกิจจานุเบกษากําหนด

(1) ตนยางชนิดอื่นเปนตนยางที่อยูภายใตการควบคุมตามพระราชบัญญัตินี้ (2) ตนยางพันธุดี (3) เขตทําสวนยาง (4) การแจงเนื้อที่สวนยาง จํานวนตนยาง และพันธุของตนยางท่ีปลูกในสวน

ยาง รวมทั้งปริมาณเนื้อยางที่ผูทําสวนยางทําไดในแตละป (5) เขตหามปลูกตนยาง (6) วิธีการทําสวนยางในบางทองที่ (7) เขตควบคุมการขนยายยาง (8) ปริมาณควบคุมเนื้อยาง ปริมาณจัดสรรเนื้อยาง ตามความเหมาะสมแก

สถานการณยางของประเทศ (9) การจัดตั้งตลาดกลางแลกเปลี่ยนยางธรรมชาติ รวมทั้งวิธีดําเนินงาน

อํานาจหนาที่ และการควบคุมตลาดกลางแลกเปล่ียนยางธรรมชาติดังกลาว

Page 13: แนวข้อสอบกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง นักวิชาการพัสดุ E-BOOK แนวข้อสอบ

ห น า | 13

ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ

แนวขอสอบพระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะหการทาํสวนยาง พ.ศ. 2503 (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2530

7. สําหรับยางที่สงออกนอกราชอาณาจักรเพื่อเปนตัวอยางซึ่งมีน้ําหนักไมเกินกวาเทาใดไดรับยกเวนไมตองเสียเงินสงเคราะห ก. 1 กิโลกรัม ข. 3 กิโลกรัม ค. 5 กิโลกรัม ง. 7 กิโลกรัม

ตอบ ค. 5 กิโลกรัม สําหรับยางที่สงออกนอกราชอาณาจักรเพื่อเปนตัวอยางซึ่งมีน้ําหนักไมเกินหา

กิโลกรัม หรือยางที่กระทรวง ทบวง กรม เปนผูสงออกเพื่อประโยชนใด ๆ อันมิใชเพื่อการคา ไมวาจะมีน้ําหนักเทาใด ใหไดรับยกเวนไมตองเสียเงินสงเคราะห 8. ขอใดเจาของสวนยางจะไดรับการสงเคราะหสวนยาง ก. ตนยางอายุย่ีสิบหาปข้ึนไป ข. ตนยางทรุดโทรมเสียหาย

ค. ตนยางที่ไดผลนอย ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ ผูจะไดรับการสงเคราะหตามพระราชบัญญัตินี้ตองเปนเจาของสวนยางที่มีตนยางอายุ

กวาย่ีสิบหาปข้ึนไป หรือตนยางทรุดโทรมเสียหาย หรือตนยางที่ไดผลนอย 9. คณะกรรมการเพื่อดําเนินกิจการกองทุนสงเคราะหการทําสวนยางคณะหนึ่งเรียกโดยยอวาอะไร

ก. ก.ส.ย. ข. กสย. ค. คสย. ง. ค.ส.ย. ตอบ ก. ก.ส.ย.

10. รองประธานกรรมการเพื่อดําเนินกิจการกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง คือผูใด ก. รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ

ข. ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ ค. เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

Page 14: แนวข้อสอบกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง นักวิชาการพัสดุ E-BOOK แนวข้อสอบ

ห น า | 14

ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ

ง. ผูอํานวยการสถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร ตอบ ข. ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ

11.กรรมการที่คณะรัฐมนตรีแตงตั้งจากเจาของสวนยางและบุคคลอื่นซึ่งมีสวนเกี่ยวของกับการยางมีจํานวนเทาใด ก. 2 คน / 2 คน ข. 4 คน / 2 คน ค. 4 คน / 4 คน ง. 5 คน / 2 คน ตอบ ข. 4 คน / 2 คน

คณะกรรมการเพื่อดําเนินกิจการกองทุนสงเคราะหการทําสวนยางคณะหนึ่งเรียกโดยยอวา “ก.ส.ย.” ประกอบดวยรัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ หรือรัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ ซึ่งรัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณมอบหมายเปนประธานกรรมการ ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ เปนรองประธานกรรมการ เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ผูอํานวยการสํานักงบประมาณ อธิบดีกรมวิชาการเกษตร อธิบดีกรมสงเสริมการเกษตร อธิบดีกรมศุลกากร ผูอํานวยการสถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร เปนกรรมการ และกรรมการอื่นอีกไมเกินหกคนซ่ึงคณะรัฐมนตรีแตงตั้งจากเจาของสวนยางสี่คนและบุคคลอื่นซึ่งมีสวนเกี่ยวของกับการยางสองคน 12. คณะกรรมการเพื่อดําเนินกิจการกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง มีวาระอยูในตําแหนงคราวละกี่ป ก. 1 ป ข. 2 ป ค. 3 ป ง. 4 ป

ตอบ ข. 2 ป กรรมการซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงตั้งมีวาระอยูในตําแหนงคราวละสองป

13. ทุก ๆ ปสงเคราะห ใหคณะกรรมการจัดสรรเงินสงเคราะห เปนคาใชจายในการดําเนินงานคนควาทดลองเกี่ยวกับกิจการยาง จํานวนเทาใด ก. รอยละหา ข. รอยละเจ็ด ค. รอยละเกา ง. รอยละสิบ ตอบ ก. รอยละหา

Page 15: แนวข้อสอบกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง นักวิชาการพัสดุ E-BOOK แนวข้อสอบ

ห น า | 15

ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ

ทุก ๆ ปสงเคราะห ใหคณะกรรมการจัดสรรเงินสงเคราะหที่เก็บได จํานวนไมเกินรอยละหา เปนคาใชจายในการดําเนินงานคนควาทดลองเกี่ยวกับกิจการยางในอันที่จะเปนประโยชนแกเจาของสวนยางโดยเฉพาะ มอบไวแกกรมวิชาการเกษตรเปนงวด ๆ ตามหลักเกณฑและวิธีการท่ีรัฐมนตรีกําหนด เงินที่กรมวิชาการเกษตรไดรับนี้มิใหถือวาเปนรายรับตามกฎหมายวาดวยวิธีการงบประมาณ 14. ทุก ๆ ปสงเคราะห ใหคณะกรรมการจัดสรรเงินสงเคราะห เปนคาใชจายในการบริหารงานการสงเคราะหการทําสวนยางของสํานักงานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง จํานวนเทาใด ก. รอยละหา ข. รอยละเจ็ด ค. รอยละเกา ง. รอยละสิบ ตอบ ง. รอยละสิบ

ทุก ๆ ปสงเคราะห ใหคณะกรรมการจัดสรรเงินสงเคราะหที่เก็บได จํานวนไมเกินรอยละสิบ เปนคาใชจายในการบริหารงานการสงเคราะหการทําสวนยางของสํานักงานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง หากเงินจํานวนที่ตั้งไวนี้ไมพอจายในงานตาง ๆ ดังกลาว ใหรัฐบาลตั้งรายจายเพิ่มเติมในงบประมาณประจําปตามความจําเปน 15.เงินสงเคราะหที่ไดจัดสรรไวเพื่อสงเคราะหเจาของสวนยางแตละป ใหแบงสวนสงเคราะหเจาของสวนยางตามประเภทของสวนยางประเภทขนาดเล็ก จัดสรรเทาใด ก. รอยละสิบ ข. รอยละย่ีสิบ ค. รอยละหาสิบ ง. รอยละเจ็ดสิบ ตอบ ง. รอยละเจ็ดสิบ 16. เงินสงเคราะหที่ไดจัดสรรไวเพื่อสงเคราะหเจาของสวนยางแตละป ใหแบงสวนสงเคราะหเจาของสวนยางตามประเภทของสวนยางประเภทขนาดกลาง จัดสรรเทาใด ก. รอยละสิบ ข. รอยละย่ีสิบ ค. รอยละหาสิบ ง. รอยละเจ็ดสิบ

ตอบ ข. รอยละยี่สิบ

Page 16: แนวข้อสอบกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง นักวิชาการพัสดุ E-BOOK แนวข้อสอบ

ห น า | 16

ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ

17. เงินสงเคราะหที่ไดจัดสรรไวเพื่อสงเคราะหเจาของสวนยางแตละป ใหแบงสวนสงเคราะหเจาของสวนยางตามประเภทของสวนยางประเภทขนาดใหญ จัดสรรเทาใด ก. รอยละสิบ ข. รอยละย่ีสิบ ค. รอยละหาสิบ ง. รอยละเจ็ดสิบ ตอบ ก. รอยละสิบ

เงินสงเคราะหที่ไดจัดสรรไวเพื่อสงเคราะหเจาของสวนยางนั้น แตละป ใหแบงสวนสงเคราะหเจาของสวนยางตามประเภทของสวนยาง ดังตอไปนี้

ประเภทสวนขนาดใหญ รอยละสิบ ประเภทสวนขนาดกลาง รอยละย่ีสิบ ประเภทสวนขนาดเล็ก รอยละเจ็ดสิบ

18.ภายในกําหนดเวลาใดนับแตวันส้ินปสงเคราะหทุกป ใหคณะกรรมการจัดทํางบดุลแสดงฐานะการเงิน เสนอตอรัฐมนตรี ก. สามสิบวัน ข. หกสิบวัน ค. เกาสิบวัน ง. หนึ่งรอยย่ีสิบวัน

ตอบ ง. หนึ่งรอยยี่สิบวัน ภายในกําหนดเวลาหน่ึงรอยย่ีสิบวันนับแตวันส้ินปสงเคราะหทุกป ใหคณะกรรมการ

จัดทํางบดุลแสดงฐานะการเงิน โดยมีคํารับรองการตรวจสอบของคณะกรรมการตรวจเงินแผนดิน และทํารายงานแสดงผลการปฏิบัติงานเสนอตอรัฐมนตรี 19.ผูใดกระทําดวยประการใด ๆ เสียเงินสงเคราะหนอยกวาที่ควรเสีย ตองระวางโทษอยางไร

ก.จําคุกไมเกินหกเดือน ข.ปรับไมเกินสิบเทาของเงินสงเคราะหที่ยังตองชําระ ค. ตองไมนอยกวาหนึ่งพันบาท ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ ผูใดกระทําดวยประการใด ๆ เพื่อหลีกเล่ียงไมเสียเงินสงเคราะห หรือเพื่อเสียเงิน

สงเคราะหนอยกวาที่ควรเสีย ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหกเดือน หรือปรับไมเกินสิบเทาของเงินสงเคราะหที่ยังตองชําระ แตตองไมนอยกวาหนึ่งพันบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ

Page 17: แนวข้อสอบกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง นักวิชาการพัสดุ E-BOOK แนวข้อสอบ

ห น า | 17

ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ

การบริหารงานพัสดุ

ความสําคัญของการบริหารงานพัสดุ ปจจัยสําคัญที่ทําใหการบริหารธุรกิจประสบผลสําเร็จ ไดแก 4’m อันประกอบดวย คน (Man), เงิน (Money), พัสดุ (Material) และการบริหาร (Management) ปจจัยดาน Material จึงเปนปจจัยที่มนุษยรูจักมาตั้งแตเกิด และพยายามท่ีจะคิดคนวิธีการท่ีจะหาพัสดุมาใชตามปริมาณ คุณภาพ เวลา และสถานท่ีที่ตองการไดอยางเหมาะสม การบริหารงานพัสดุเปนเรื่องสําคัญและมีความหมายตอธุรกิจ การบริหารงานพัสดุจึงมีบทบาทในองคการธุรกิจเปนอันมาก เนื่องจากทรัพยากรอันมีจํากัด และธุรกิจตองลงทุนซื้อพัสดุมาใชในธุรกิจของตน จึงตองมีการควบคุมใหมีการใชพัสดุอยางสัมฤทธิ์ผล หรือตองหาวิธีใชทรัพยากรท่ีมีอยูใหเกิดประโยชนมากที่สุด การบริหารงานพัสดุถือเปนงานหลักของทุกธุรกิจ เพราะจะมีผลตอความอยูรอดหรือกําไรของธุรกิจเทา ๆ กับหนาที่อื่น เชน การตลาด การบัญชี การผลิต การเงิน เปนตน

ความหมายของการบริหารงานพัสดุ การบริหารงานพัสดุ หมายถึง การนําเอาวิทยาการหรือศิลปะในการบริหารมาใชในการจัดพัสดุตาง ๆ ที่มีอยูในคลังและใชอยูในกิจการใหมีประสิทธิภาพมากที่สุด เพื่อใหเกิดสภาพคลองตัว และลดคาใชจายตาง ๆ ที่เกิดจากการจัดหา เก็บรักษา และเคล่ือนยายพัสดุนี้มา วิชาการบริหารงานพัสดุเริ่มมาจากทางทหารกอน ซึ่งเรียกวา “การสงกําลังบํารุง” (Logistic)อันเปนการจัดกิจกรรมทางดานยุทโธปกรณและยุทธภัณฑแกหนวยทหารที่ปฏิบัติ การอยูในพื้นที่ตาง ๆ เพื่อใหการปฏิบัติงานทางทหารบรรลุเปาหมาย

ขอบเขตของการบริหารงานพัสดุ การบริหารงานพัสดุจะตองดําเนินตามนโยบายขององคการ ฝายบริหารงานพัสดุจะตองทําการวางแผนใหสอดคลองกับนโยบายขององคการธุรกิจ ขอบเขตของการบริหารงานพัสดุ แบงออกไดตามลําดับดังนี้

1. การวางแผนหรือการกําหนดโครงการ

Page 18: แนวข้อสอบกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง นักวิชาการพัสดุ E-BOOK แนวข้อสอบ

ห น า | 18

ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ

2. การกําหนดความตองการ 3. การกําหนดงบประมาณ 4. การจัดหา 5. การเก็บรักษา 6. การแจกจาย 7. การบํารุงรักษา 8. การจําหนาย

กลยุทธการบริหารงานพัสดุ

วัตถุประสงคที่สําคัญของการวางแผนงานพัสดุ คือ เพื่อใหมีพัสดุไวใชอยางพอเพียง ตอเนื่อง มีประสิทธิภาพ และเปนไปโดยประหยัด ธุรกิจโดยทั่วไปยอมมีเปาหมายหลักในการดําเนินการ ซึ่งก็คือ การใหธุรกิจอยูรอดและมีกําไร การท่ีเปาหมายจะบรรลุวัตถุประสงคไดนั้นก็ข้ึนอยูกับปจจัยหลายดาน และปจจัยดานหนึ่งก็คือ การบริหารงานพัสดุที่ดี มีประสิทธิภาพ และเพื่อใหบรรลุผลผูบริหารงานพัสดุจะตองกําหนดกลยุทธการบริหารพัสดุ กลยุทธการบริหารงานพัสดุ มีวิธีการดําเนินงานดังนี้ คือ 1. พยายามซ้ือพัสดุใหไดราคาที่ถูกตอง เพราะการซื้อพัสดุที่มีราคาแพงจะทําใหตนทุนการผลิตสูง มีผลทําใหสินคาขายไดยากข้ึน และกําไรลดลง 2. อัตราหมุนเวียนของพัสดุคงเหลือสูง หมายถึง มีการใชพัสดุออกไปเร็ว พัสดุคงเหลือมีสภาพคลอง ทําใหไดผลตอบแทนจากการลงทุนเร็ว ในขณะที่คาใชจายในการเก็บรักษาพัสดุจะต่ําลงดวย จึงมีผลตอกําไรของธุรกิจโดยตรง 3. พยายามใหคาใชจายของการเก็บรักษาต่ํา ถาการเก็บรักษาพัสดุมีประสิทธิภาพ จะทําใหความเสียหายของพัสดุลดลง และคาใชจายในการเก็บรักษาต่ํา แตถาการรับพัสดุและการเก็บรักษาไมถูกวิธีจะทําใหมีพัสดุเสียหายได 4. ใหการสนับสนุนทางดานพัสดุอยางตอเนื่อง ถาพัสดุขาดแคลนจะทําใหเกิดผลกระทบตอการดําเนินงานของธุรกิจ เชน การผลิตอาจตองหยุดชะงัก ผลิตสินคาไดทันตามกําหนด และทําใหเสียโอกาสทางธุรกิจ 5. พัสดุที่ใชมีคุณภาพดีสมํ่าเสมอ การใชพัสดุอุปกรณที่มีคุณภาพคงที่ คุณภาพ7ดีสม่ําเสมอจะเพิ่มพูน ประสิทธิภาพในการผลิต ปองกันการหยุดชะงักและสูญเสียไดอยางมาก

Page 19: แนวข้อสอบกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง นักวิชาการพัสดุ E-BOOK แนวข้อสอบ

ห น า | 19

ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ

การจัดหา ความหมายของการจัดหาพัสดุ “การจัดหา” หมายถึง การดําเนินการเพื่อใหไดมาซึ่งพัสดุที่มีคุณภาพที่ตองการ ในปริมาณที่ถูกตอง ทันเวลา และในราคาที่เหมาะสม หรือ “การจัดหา” หมายถึง กรรมวิธีในการดําเนินงานเพื่อใหไดมาซึ่งวัสดุอุปกรณ และการบริการตาง ๆ ภายในขอบเขตของกฎหมายหรือบริการ การจัดหามีวิธีการตาง ๆ ดังนี้คือ

1. การซ้ือ ไดแก การซื้อพัสดุทุกชนิดท้ังที่มีการติดตั้ง ทดลอง และบริการท่ีเกี่ยวเนื่องอื่น ๆ เพื่อใชในหนวยงาน

2. การเชา ไดแก การเชาทรัพยสินตาง ๆ ทั้งสังหาริมทรัพยและอสังหาริมทรัพย เชน ที่ดิน อาคาร สถานที่ เครื่องจักรอุปกรณ เพื่อใชประกอบกิจการ

3. การโอน ไดแก การโอนพัสดุเหลือใชเพื่อนําไปใชในงานอื่น ๆ 4. การจาง ไดแก การจางทําของ จางแรงงาน และจางเหมาตาง ๆ ตลอดจนการ

รับขนตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย 5. การยืม เปนการยืมพัสดุคงรูปและใชส้ินเปลืองระหวางหนวยงาน 6. การผลิตเอง เปนการจัดทําข้ึนมาเอง เพื่อประหยัดและปองกันการขาดแคลน

พัสดุ หรือเพื่อปองกันความลับรั่วไหล 7. การแลกเปล่ียน ตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ. 2535

นั้น การแลกเปล่ียนพัสดุใหกระทําไดเฉพาะการแลกเปลี่ยนครุภัณฑกับครุภัณฑ และการแลกเปล่ียนวัสดุกับวัสดุ

8. การบริจาค เปนการใหทรัพยสินแกมูลนิธิหรือหนวยราชการ 9. การยึด ซึ่งปกติมักทําในยามสงครามหรือกรณีฉุกเฉิน ซึ่งกระทําโดย

หนวยงานของรัฐ วัตถุประสงคของการจัดหาพัสดุ วัตถุประสงคของการจัดหาพัสดุที่สําคัญ มีดังนี้คือ

1. เพื่อใหการผลิตเปนไปอยางสม่ําเสมอและตอเนื่อง 2. เพื่อใหเกิดการประหยัดดานคาใชจายในการจัดหา การเก็บรักษา และตนทุนดาน

พัสดุ

Page 20: แนวข้อสอบกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง นักวิชาการพัสดุ E-BOOK แนวข้อสอบ

ห น า | 20

ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ

3. เพื่อใหไดพัสดุที่มีคุณสมบัติและมาตรฐานตามตองการ 4. เพื่อสรางความสัมพันธอันดีระหวางผูขายกับผูซื้อ 5. เพื่อสรางความสัมพันธอันดีระหวางแผนกงานตาง ๆ ในธุรกิจ

ขั้นตอนในการจัดหาพัสดุ ข้ันตอนในการจัดหาพัสดุ มีดังนี้คือ 1. การสํารวจความตองการ ถาพัสดุที่ตองการมีอยูในคลังพัสดุแลวก็จะเบิกจายไดทันที แตถาไมมีอยูในคลังพัสดุก็จะตองใหฝายจัดซื้อหรือฝายจัดหาดําเนินงานจัดซื้อหรือจัดหาตอไป 2. การกําหนดคุณลักษณะเฉพาะ ถือเปนสิ่งสําคัญและขาดไมไดในกระบวนการจัดหา เพราะทําใหการจัดหาพัสดุเปนไปอยางรวดเร็ว และทําใหสามารถจัดหาพัสดุไดตรงกับความตองการของผูใช 3. การแสวงหาแหลงขาย ซึ่งแหลงที่ใหความรูเกี่ยวกับพัสดุหาไดจากแหลงที่เคยติดตอซื้อขายกันมากอน เชน สมุดโทรศัพทหนาเหลือง วารสารการคา และโฆษณาในหนังสือพิมพ ฯลฯ 4. การวิเคราะหราคา โดยควรนําขอเสนอดานราคาและเงื่อนไขตาง ๆ มาพิจารณา เชน ราคาจากผูขายแตละราย เงื่อนไขการชําระเงิน การใหสวนลด การขนสง และบริการอื่น ๆ 5. การสั่งซ้ือพัสดุ อาจกระทําไดตั้งแตโทรศัพท โทรเลข หรือโทรพิมพ แตถาเปนการจัดหาจํานวนมาก ๆ ก็มักจะทําการส่ังซื้อเปนลายลักษณอักษร หรือเปนสัญญาซื้อขาย 6. การติดตามเร่ือง โดยตองคอยติดตามวาไดรับพัสดุตามใบส่ังซื้อหรือยัง ถายังก็จะตองติดตามสอบถามไปยังผูขาย เพื่อใหไดพัสดุตามกําหนดเวลา 7. การตรวจรับพัสดุ โดยแผนกตรวจรับของคลังพัสดุจะทําการตรวจรับพัสดุที่สงมานั้นใหมีคุณลักษณะ ปริมาณ สภาพ ที่ถูกตองตรงตามคําส่ังซื้อ 8. การเก็บรักษา โดยจะนําไปเก็บในคลังพัสดุเพื่อรอการเบิกจายตอไป 9. การตรวจสอบใบกํากับสินคา คือ ใบบิลสงสินคาที่แสดงรายละเอียดของพัสดุที่จัดสงหรือบริการท่ีไดรับจากผูขาย ดังนั้นใบสงของจึงเปนใบแสดงสิทธิที่จะรับคาพัสดุจากผูซื้อ

Page 21: แนวข้อสอบกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง นักวิชาการพัสดุ E-BOOK แนวข้อสอบ

ห น า | 21

ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ

การจัดการคลังพัสดุ คลังพัสดุ หมายถึง สถานที่เก็บรักษาพัสดุตาง ๆ ใหอยูในสภาพที่ดี และพรอมที่จะแจกจายไปยังหนวยใช ซึ่งหนาที่พื้นฐานของคลังพัสดุ คือ การเก็บรักษาพัสดุไวอยางปลอดภัย พรอมที่จะนําออกมาแจกจายหรือใชประโยชนไดอยางรวดเร็วเมื่อมีผูมาขอเบิก วัตถุประสงคของการจัดการคลังพัสดุ มีดังนี้

1. เพื่อใหมีพัสดุเพียงพอกับความตองการ 2. เพื่อใหมีการใชพื้นที่คลังพัสดุอยางคุมคาและไดประโยชนสูงสุด 3. เพื่อใหเกิดการประหยัดเวลา แรงงาน และคาขนสง 4. เพื่อปองกันพัสดุสูญหาย เส่ือมสภาพ และประสบอัคคีภัย 5. เพื่อสนับสนุนการใหบริการท่ีดีแกลูกคา เพราะมีสินคาพรอมอยูเสมอ

การเก็บรักษาพัสดุ การเก็บรักษาพัสดุ หมายถึง การครอบครองและการเก็บรักษาพัสดุเพื่อการใชประโยชนในอนาคต ซึ่งหมายรวมถึง การเตรียมการหรือการวางแผนในการปฏิบัติ พัสดุที่จะรับเขาเก็บรักษา กรรมวิธีในการเก็บรักษาและการสงพัสดุใหแกผูซื้อ แบบของการเก็บรักษาพัสดุ โดยทั่วไปการเก็บรักษาพัสดุมี 2 แบบ คือ 1. การเก็บรักษาพัสดุภายในอาคารคลัง หมายถึง การนําพัสดุเขาเก็บรักษาในอาคารหรือส่ิงปลูกสรางอื่นใดที่มีหลังคาเปนโครงสรางปกคลุมอยู และรวมถึงการเก็บรักษาพัสดุที่อาศัยสวนหนึ่งสวนใดของอาคารภายใตหลังคาที่อยูนอกผนัง เชน ชายคาหรือกันสาดในการเก็บรักษา 2. การเก็บรักษาพัสดุกลางแจง มักใชกับพัสดุที่ทนตอความเปล่ียนแปลงของดินฟาอากาศและสภาพของดินฟาอากาศไมเปนอันตรายตอคุณลักษณะของพัสดุ ประเภทของอาคารคลังพัสดุ อาคารคลังพัสดุสามารถแยกตามวัตถุประสงคของการใชงานไดดังนี้ 1. คลังทั่วไป เปนคลังที่สรางข้ึนเพื่อใชเก็บรักษาพัสดุหลาย ๆ ชนิด ลักษณะของคลังจะมิดชิด มีทั้งคลังชั้นเดียวและคลังหลายชั้น นอกจากนี้ยังมีบริเวณที่ใชเปนสถานที่ถายเทสินคาและทางเดินตามความเหมาะสม 2. คลังพิเศษ เปนอาคารคลังที่สรางข้ึนเพื่อเก็บรักษาพัสดุที่มีคุณลักษณะพิเศษเฉพาะอยางเพื่อความปลอดภัยในการเก็บรักษาพัสดุ

Page 22: แนวข้อสอบกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง นักวิชาการพัสดุ E-BOOK แนวข้อสอบ

ห น า | 22

ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ

แนวขอสอบระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ.2535 และที่แกไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 7 พ.ศ. 2552

___________________________ 6. คณะกรรมการวาดวยการพัสดุ มีอักษรยอวาอยางไร ก. ควพ. ข. คกว. ค. กวก. ง. กวพ. 7. การซื้อและการจาง กระทําไดกี่วิธี ก. 4 วิธี ข. 5 วิธี ค. 6 วิธี ง. 7 วิธี 8. การซื้อหรือการจางโดยวิธีสอบราคา คือการซื้อหรือการจางครั้งหนึ่งมีวงเงินเทาใด ก. มีราคาเกิน 100,000 บาท แตไมเกิน 2,000,000 บาท ข. มีราคาเกิน 200,000 บาท แตไมเกิน 2,000,000 บาท ค. มีราคาเกิน 300,000 บาท แตไมเกิน 4,000,000 บาท ง. มีราคาเกิน 400,000 บาท แตไมเกิน 4,000,000 บาท 9. การซื้อพัสดุเพื่อใชในราชการลับ การซื้อครั้งหนึ่งซึ่งมีราคาเกิน 100,000 บาท เปนการซื้อแบบใด

ก. การซื้อโดยวิธีสอบราคา ข. การซื้อโดยวิธีประกวดราคา ค. การซื้อโดยวิธีพิเศษ ง. การซื้อโดยวิธีกรณีพิเศษ

10. การซื้อยาของสวนราชการ ใหจัดซื้อตามชื่อสามัญ (GENERIC NAME) ในบัญชียาหลักแหงชาติตามที่คณะกรรมการแหงชาติทางดานยากําหนด โดยใหใชเงินงบประมาณจัดซื้อยาดังกลาวไมนอยกวารอยละเทาใด ก. รอยละ 40 ข. รอยละ 50 ค. รอยละ 60 ง. รอยละ 70

Page 23: แนวข้อสอบกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง นักวิชาการพัสดุ E-BOOK แนวข้อสอบ

ห น า | 23

ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ

11. การส่ังซื้อหรือส่ังจางครั้งหนึ่ง ในวงเงิน 50,000,000 บาท แตไมเกิน 100,000,000 บาท อยูในอํานาจหนาที่ของใคร

ก. หัวหนาสวนราชการ ข. ปลัดกระทรวง ค. รัฐมนตรีเจาสังกัด ง. ถูกทุกขอ

12. การจางออกแบบและควบคุมงาน กระทําไดกี่วิธี ก. 2 วิธี ข. 3 วิธี ค. 4 วิธี ง. 5 วิธี 13. การจางออกแบบและควบคุมงานที่ผูวาจางเลือกจางผูใหบริการรายหนึ่งรายใด ซึ่งเคยทราบหรือเคยเห็นความสามารถแลว และเปนผูใหบริการที่มีหลักฐานดี ใหใชกับการกอสรางที่มีวงเงินงบประมาณคากอสรางตามโครงการหนึ่ง ๆ ไมเกิน 2,000,000 บาท เปนการจางแบบใด

ก. การจางโดยวิธีตกลง ข. การจางโดยวิธีคัดเลือก ค. การจางโดยวิธีคัดเลือกแบบจํากัดขอกําหนด ง. การจางโดยวิธีพิเศษ

14. ขอใดเปนการวาจางโดยการประกวดแบบ

ก. อนุสาวรีย ข. รัฐสภา ค. พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ ง. ถูกทุกขอ

15. อาคารท่ีมีงบประมาณคากอสรางไมเกิน 10,000,000 บาท ใหจายคาออกแบบหรือคาคุมงาน อยางใดอยางหนึ่งในอัตรารอยละเทาใดของวงเงินงบประมาณคากอสราง

ก. รอยละ 0.5 ข. รอยละ 1.0 ค. รอยละ 1.5 ง. รอยละ 2.0

16."ราคาสูงสุด" นั้น หมายถึงราคากลาง วงเงินงบประมาณทีม่ีอยูหรือราคาสูงสุดท่ี

ราชการจะพงึไดรับตามหลักเกณฑที่ผูใดกําหนด ก. กว.พอ. ข. กวพ.อ. ค. กพร. ง. กพ.ร.

Page 24: แนวข้อสอบกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง นักวิชาการพัสดุ E-BOOK แนวข้อสอบ

ห น า | 24

ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ

แนวขอสอบ นักบริหารงานพัสดุ 1. เพราะอะไรการบริหารงานพัสดุจึงมีความสําคัญ (1) เปนงานหลักของธุรกิจ (2) ทําใหหาพัสดุมาใชไดตามปริมาณที่ตองการ (3) เปนปจจัยในการบริหารธุรกิจ (4) ชวยใหการบริหารประสบความสําเร็จ (5) ทําใหใชทรัพยากรท่ีมีอยูไดประโยชนสูงสุด ตอบ 4 การบริหารงานพัสดุเปนเรื่องสําคัญและมีความหมายตอธุรกิจมาก เพราะจะมีผลตอความอยูรอดหรือกําไรของธุรกิจ โดยพัสดุถือเปนปจจัยหนึ่งที่ทําใหการบริหารธุรกิจประสบผลสําเร็จ ซึ่งปจจัยการบริหารธุรกิจ ประกอบดวย คน (Man), เงิน (Money), พัสดุ (Material), และการบริหาร (Management) 2. ทานสามารถลดตนทุนการผลิตทางดานพัสดุไดอยางไร (1) ประหยัดคาใชจายในการจัดหาและคาเก็บรักษา (2) ลดการสูญเสียจากการเก็บรักษาไมถูกวิธี และซ้ือสินคาที่ดีราคาถูก (3) คํานวณความตองการไดถูกตองตามความตองการ (4) ถูกท้ังขอ 1 และ 2 (5) ถูกท้ังขอ 1, 2 และ 3

ตอบ 5 การบริหารงานพัสดุมีบทบาทตอผลการดําเนินงานทั้งตอธุรกิจเอกชนและหนวยงานของรัฐ ผูบริหารงาน จึงควรใหความสนใจงานดานการพัสดุนับตั้งแตการประมาณความตองการ การจัดหาจัดซื้อ การบริหารงาน คลังพัสดุ การจัดการคลังพัสดุ การขนสง การบํารุงรักษา ตลอดจนการจําหนายพัสดุออกจากบัญชี ซึ่งการ บริหารงานพัสดุที่ดีมีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผลจะทําใหสามารถลดตนทุนตางๆ ได

3. ขอใดคือกลยุทธในการบริหารงานพัสดุ (1) ไดแหลงผูขายที่ดี มีพัสดุใชอยางตอเนื่อง (2) มีแรงงานที่มีคุณภาพและไดรับการพัฒนาอยางสม่ําเสมอ (3) ซื้อพัสดุไดในราคาถูก คุณภาพดี (4) ถูกท้ังขอ 1 และ 2 (5) ถูกท้ังขอ 2 และ 3

Page 25: แนวข้อสอบกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง นักวิชาการพัสดุ E-BOOK แนวข้อสอบ

ห น า | 25

ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ

ตอบ 4 กลยุทธในการบริหารงานพัสดุ มีดังนี้ 1. ซื้อพัสดุไดในราคาที่ถูกตองสมคุณภาพ 2. อัตราหมุนเวียนของพัสดุสูง 3. คาใชจายในการเก็บรักษาต่ํา 4. มีพัสดุใชอยางตอเนื่อง 5. พัสดุมีคุณภาพดีสม่ําเสมอ 6. ไดแหลงผูขายที่ดี 7. มีการพัฒนาบุคลากรและการจางแรงงานที่เหมาะสม 8. มีระบบการเก็บบันทึกท่ีดี 9. มีการกําหนดมาตรฐานของพัสดุ 10. กําหนดใหมีการพยากรณลวงหนา 4. ทําอยางไรการลงทุนในธุรกิจจะไดประโยชนสูงสุด (1) มีการสนับสนุนทางดานพัสดุอยางตอเนื่อง (2) มีระบบการบันทึกท่ีดี (3) ตนในสินคาต่ําดวยการซื้ออยางประหยัด (4) การเพิ่มผลผลิตและกําไรสวนเกิน (5) คาใชจายในการส่ังซื้อและคาใชจายในการเก็บรักษาต่ํา ตอบ 4 การลงทุนทางธุรกิจใหไดประโยชนสูงสูด สามารถทําได 2 ทาง คือ 1. การเพิ่มกําไรสวนเกินสําหรับแตละหนวยผลิต 2. การเพิ่มผลผลิตใหมากข้ึนโดยใชปจจัยการผลิตเทาเดิม 5.เพราะอะไรจึงกระจายอํานาจในการสั่งซื้อ (1) ทําใหเกิดความสะดวก และสามารถเลือกผูขายไดอยางประสิทธิภาพ (2) ทําใหการดําเนินงานมีประสิทธิภาพ (3) ทําใหการติดตอประสานงานระหวางผูจัดหากับผูใชเปนไปไดสะดวก (4) ถูกท้ังขอ 1 และ 3 (5) ถูกท้ังขอ 1, 2 และ 3 ตอบ 5 เหตุผลของการกระจายอํานาจในการจัดซื้อ มีดังนี้ 1. ทําใหการติดตอประสานงานระหวางผูจัดหากับผูใชเปนไปไดสะดวก 2. ทําใหเกิดความสะดวกรวดเร็วในการปฏิบัติงาน และกอใหเกิดประสิทธิภาพในการดําเนินงาน

Page 26: แนวข้อสอบกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง นักวิชาการพัสดุ E-BOOK แนวข้อสอบ

ห น า | 26

ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ

ส่ังซื้อไดท่ี www.SheetRam.com

โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,

085-9679080,085-9993722,085-9993740

แจงการโอนเงิน พรอมช่ือ และอเีมลลที ่

LINE ID : sheetram โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,085-9679080,

085-9993722,085-9993740