21
~ 1 ~

E-BOOK คู่มือเตรียมสอบ นักวิชาการพัสดุ 3 แนวข้อสอบกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น

  • Upload
    -

  • View
    2.803

  • Download
    0

Embed Size (px)

DESCRIPTION

E-BOOK คู่มือเตรียมสอบ นักวิชาการพัสดุ 3 แนวข้อสอบกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น ปี 57 ราคา 249 บาท สั่งซื้อได้ที่ :www.Sheetram.com บริษัท ชีทราม จำกัด ชมรมลูกพ่อขุนประยุกต์ สำนักงานใหญ่ 453 ถนนรามคำแหง(ปากซอย 53) หัวหมาก บางกระปิ กรุงเทพฯ 102 โทรศัพท์ : 02-7230950,02-5141422,085-9679080, 085-9993722,085-9993740 FAX : 02-718-6528 เปิดบริการ 8.15-21.30 น. ทุกวัน

Citation preview

Page 1: E-BOOK คู่มือเตรียมสอบ นักวิชาการพัสดุ 3 แนวข้อสอบกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น

~ 1 ~

 

Page 2: E-BOOK คู่มือเตรียมสอบ นักวิชาการพัสดุ 3 แนวข้อสอบกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น

~ 2 ~

ขอบเขตเนื้อหา

ความรูทั่วไปเกี่ยวกับกรมสงเสริมการปกครองทองถ่ิน ประวัติความเปนมา 5 กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น 5 อํานาจหนาท่ี 5 วิสัยทัศนและพันธกิจ 6 ประเด็นยุทธศาสตร (Strategic Issues) 7

ความรูเฉพาะตําแหนงพัสดุ ความสําคัญของการบริหารงานพัสดุ 8 ความหมายของการบริหารงานพัสดุ 8 ขอบเขตของการบริหารงานพัสดุ 8 กลยุทธการบริหารงานพัสด ุ 9 การจัดมาตรฐานพัสดุ 15 การจัดหา 20 การบริหารพัสดุคงเหลือ 30 การจัดการคลงัพัสดุ 33 การขนสง 45 การบํารุงรักษา 52 การจําหนายพัสดุออกจากบัญชี 58 การบริหารงานพัสดุและการจัดหาของสวนราชการ 61

กฎหมายที่เกี่ยวของกับการพัสดุ ระเบียบฯ วาดวยการพัสดุของหนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่น พ.ศ. 2535 และแกไขเพิ่มเติม 72 ระเบียบฯ วาดวยการตรวจสอบภายในขององคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ.2545 141 ระเบียบฯ วาดวยการรับเงิน การเบิกจายเงิน การฝากเงิน การเก็บรักษาเงินและการตรวจเงิน ขององคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ.2547 และแกไขเพิ่มเติม 145 พรบ.ขอมูลขาวสารของทางราชการ พ.ศ.2540 171 แนวขอสอบ พรบ.ขอมูลขาวสารของทางราชการ พ.ศ.2540 185 แนวขอสอบ ระเบียบฯ วาดวยการพัสดุของหนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่น พ.ศ. 2535

และแกไขเพิ่มเติม 193 แนวขอสอบ ระเบียบฯ วาดวยการรับเงิน การเบิกจายเงิน การฝากเงิน การเก็บรักษาเงินและ

การตรวจเงินขององคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ.2547 และแกไขเพิ่มเติม 215 แนวขอสอบ ระเบียบฯ วาดวยการตรวจสอบภายในขององคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ.2545 225 สรุประเบียบวาดวยรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ.2544 228 สรุป ระเบียบบริหารราชการแผนดินพ.ศ. 2534 และแกไขเพิ่มเติม 238

การจัดระเบียบบริหารราชการสวนกลาง 238 การจัดระเบียบบริหารราชการสวนภูมิภาค 240 การจัดระเบียบบริหารราชการสวนทองถิ่น 243 คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ 243

สรุปพ.ร.บ. องคการบริหารสวนจังหวัด พ.ศ. 2540 และแกไขเพิ่มเติม 243 สภาองคการบริหารสวนจังหวัด 246 นายกองคการบริหารสวนจังหวัด 247 อํานาจหนาท่ีขององคการบริหารสวนจังหวัด 248 การงบประมาณและการคลัง 248 การกํากับดูแล 250

สรุป พรบ.เทศบาล 2496 และที่แกไขเพิ่มเติมถึง ฉบับท่ี 13 พ.ศ.2552 252 การจัดตั้งเทศบาล 252 สภาเทศบาล 252 อํานาจหนาท่ีของนายกเทศมนตร ี 254 เทศบัญญัติ 254

Page 3: E-BOOK คู่มือเตรียมสอบ นักวิชาการพัสดุ 3 แนวข้อสอบกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น

~ 3 ~

การคลังและทรัพยสินของเทศบาล 255 การควบคุมเทศบาล 256 คณะกรรมการที่ปรึกษาการเทศบาล 256

สรุปพ.ร.บ.สภาตําบลและองคการบริหารสวนตําบล พ.ศ.2537 และแกไขเพิ่มเติมถึง 265 ฉบับท่ี 6 พ.ศ. 2552 สภาตําบล 265 การกํากับดูแลสภาตําบล 267 งบประมาณรายจายประจําป 270 การกํากับดูแลองคการบริหารสวนตําบล 271

สรุปพรบ.ระเบียบบริหารงานบุคคลสวนทองถิ่น พ.ศ. 2542 และแกไขเพิ่มเติมถึงฉบับท่ี 3 272 พ.ศ. 2551 การบริหารงานบุคคลในองคการบริหารสวนจังหวัด 272 การบริหารงานบุคคลในเทศบาล 273 การบริหารงานบุคคลในองคการบริหารสวนตําบล 274 การบริหารงานบุคคลในกรุงเทพมหานคร 275 การบริหารงานบุคคลในเมืองพัทยา 275 คณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลสวนทองถิ่น 275

สรุปสาระสําคัญพ.ร.บ.กําหนดแผนและข้ันตอนการกระจายอํานาจ ใหแกองคกรปกครอง 279 สวนทองถิ่น พ.ศ.2542 และแกไขเพิ่มเติมฉบับท่ี 2 พ.ศ.2549 คณะกรรมการการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น 279 แผนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น 280

สรุปสาระสําคัญ พระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี 282 พ.ศ. 2546 การบริหารกิจการบานเมืองที่ดี 282 การบริหารราชการเพื่อใหเกิดประโยชนสุขของประชาชน 282 การบริหารราชการเพื่อใหเกิดผลสัมฤทธิ์ตอภารกิจของรัฐ 283 การบริหารราชการอยางมีประสิทธิภาพและเกิดความคุมคาในเชิงภารกิจของรัฐ 284 การลดข้ันตอนการปฏิบัติงาน 285 การปรับปรุงภารกิจของสวนราชการ 286 การอํานวยความสะดวกและการตอบสนองความตองการของประชาชน 286 การประเมินผลการปฏิบัติราชการ 287

สรุปสาระสําคัญพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการเมอืงพัทยา พ.ศ.2552 และแกไขเพิ่มเติม 288 การบริหารเมอืงพัทยา 288 สภาเมืองพัทยา 288 นายกเมืองพัทยา 288 ระเบียบบริหารราชการเมืองพัทยา 289 ขอบัญญัติเมืองพัทยา 289 การกํากับดูแล 291

Page 4: E-BOOK คู่มือเตรียมสอบ นักวิชาการพัสดุ 3 แนวข้อสอบกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น

~ 4 ~

ประวัตคิวามเปนมา

กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น เปนสวนราชการที่จัดตั้งข้ึนใหมใน สังกัดกระทรวงมหาดไทยที่มีบทบาทภารกิจสําคัญในการสงเสริมสนับสนุนองคกร ปกครองสวนทองถิ่น โดยการพัฒนาและใหคําปรึกษา แนะนําองคกรปกครองสวนทองถิ่นในดานการจัดทําแผนพัฒนาทองถิ่น การบริหารงานบุคคล การเงินการคลัง และการบริหารจัดการ เพื่อให องคกรปกครองสวนทองถิ่น มีความเขมแข็ง และมีศักยภาพในการใหบริการสาธารณะ ทั้งนี้ อํานาจหนาที่และโครงสรางสวนราชการ ของกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น เปนไปตามกฏกระทรวงแบงสวนราชการกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่นกระทรวง มหาดไทย พ.ศ. 2545 ซึ่งกําหนดไวดังนี้

อํานาจหนาที่ 1. ดําเนินการพัฒนาระบบ รูปแบบ และโครงสรางขององคกรปกครองสวนทองถิ่น 2. สงเสริมและสนับสนุนในการจัดทํา ประสานและบรูณาการแผนพัฒนาทองถิ่นและวางระบบ

ในการติดตามและประเมนิ ผลการดําเนินงานตามแผนพัฒนาทองถิ่น 3. ดําเนินการจัดทํา แกไข ปรับปรุงกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวของกับองคกรปกครองสวน

ทองถิ่น รวมทั้งใหคําปรึกษา แนะนํา และกํากับดูแลการปฏิบัติงานตามอาํนาจ หนาที่ขององคการปกครองสวนทองถิ่น

4. กําหนดแนวทางและจัดทํามาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับการบรหิารงานบุคคลขององคกร ปกครองสวนทองถิ่น ทั้งนี้ ตามกฎหมายวาดวยการบริการงานบุคคลสวนทองถิ่น

5. สงเสริม สนบัสนุน และประสานการดําเนินงานดานการเงิน การคลัง การงบประมาณ การพัสดุการจัดเก็บรายได และการประกอบกิจการพาณิชยขององคกรปกครองสวน ทองถิ่น รวมทั้งวางระบบตรวจสอบระบบการเงิน การบัญช ีและ การพัสดุขององคการปกครองสวนทองถิ่น

6. สงเสริมสนับสนุนและประสานการจัดการบริการสาธารณะและการศึกษาในอํานาจหนาที่ขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

7. กําหนดแนวทาง วางระบบ และสรางตัวชีว้ัดเพือ่เปนมาตรฐานการดําเนินงานขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ตลอดจนกํากับดูแลใหเปนไปตามมาตรฐาน

8. สงเสริมภาคประชาชนใหมีสวนรวมในการบริหารงานและตรวจสอบการดําเนินงานขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

Page 5: E-BOOK คู่มือเตรียมสอบ นักวิชาการพัสดุ 3 แนวข้อสอบกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น

~ 5 ~

การบริหารงานพัสดุ

ความสําคัญของการบริหารงานพัสดุ ปจจัยสําคัญที่ทําใหการบริหารธุรกิจประสบผลสําเร็จ ไดแก 4’m อันประกอบดวย คน (Man), เงิน (Money), พัสดุ (Material) และการบริหาร (Management) ปจจัยดาน Material จึงเปนปจจัยที่มนุษยรูจักมาตั้งแตเกิด และพยายามท่ีจะคิดคนวิธีการท่ีจะหาพัสดุมาใชตามปริมาณ คุณภาพ เวลา และสถานท่ีที่ตองการไดอยางเหมาะสม การบริหารงานพัสดุเปนเรื่องสําคัญและมีความหมายตอธุรกิจ การบริหารงานพัสดุจึงมีบทบาทในองคการธุรกิจเปนอันมาก เนื่องจากทรัพยากรอันมีจํากัด และธุรกิจตองลงทุนซื้อพัสดุมาใชในธุรกิจของตน จึงตองมีการควบคุมใหมีการใชพัสดุอยางสัมฤทธิ์ผล หรือตองหาวิธีใชทรัพยากรท่ีมีอยูใหเกิดประโยชนมากที่สุด การบริหารงานพัสดุถือเปนงานหลักของทุกธุรกิจ เพราะจะมีผลตอความอยูรอดหรือกําไรของธุรกิจเทา ๆ กับหนาที่อื่น เชน การตลาด การบัญชี การผลิต การเงิน เปนตน

ความหมายของการบริหารงานพัสดุ การบริหารงานพัสดุ หมายถึง การนําเอาวิทยาการหรือศิลปะในการบริหารมาใชในการจัดพัสดุตาง ๆ ที่มีอยูในคลังและใชอยูในกิจการใหมีประสิทธิภาพมากที่สุด เพื่อใหเกิดสภาพคลองตัว และลดคาใชจายตาง ๆ ที่เกิดจากการจัดหา เก็บรักษา และเคล่ือนยายพัสดุนี้มา วิชาการบริหารงานพัสดุเริ่มมาจากทางทหารกอน ซึ่งเรียกวา “การสงกําลังบํารุง” (Logistic)อันเปนการจัดกิจกรรมทางดานยุทโธปกรณและยุทธภัณฑแกหนวยทหารที่ปฏิบัติ การอยูในพื้นที่ตาง ๆ เพื่อใหการปฏิบัติงานทางทหารบรรลุเปาหมาย

ขอบเขตของการบริหารงานพัสดุ การบริหารงานพัสดุจะตองดําเนินตามนโยบายขององคการ ฝายบริหารงานพัสดุจะตองทําการวางแผนใหสอดคลองกับนโยบายขององคการธุรกิจ ขอบเขตของการบริหารงานพัสดุ แบงออกไดตามลําดับดังนี้

1. การวางแผนหรือการกําหนดโครงการ 2. การกําหนดความตองการ

Page 6: E-BOOK คู่มือเตรียมสอบ นักวิชาการพัสดุ 3 แนวข้อสอบกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น

~ 6 ~

3. การกําหนดงบประมาณ

4. การจัดหา 5. การเก็บรักษา 6. การแจกจาย

7. การบํารุงรักษา 8. การจําหนาย

กลยุทธการบริหารงานพัสดุ

วัตถุประสงคที่สําคัญของการวางแผนงานพัสดุ คือ เพื่อใหมีพัสดุไวใชอยางพอเพียง ตอเนื่อง มีประสิทธิภาพ และเปนไปโดยประหยัด

ธุรกิจโดยทั่วไปยอมมีเปาหมายหลักในการดําเนินการ ซึ่งก็คือ การใหธุรกิจอยูรอดและมีกําไร การท่ีเปาหมายจะบรรลุวัตถุประสงคไดนั้นก็ข้ึนอยูกับปจจัยหลายดาน และปจจัยดานหนึ่งก็คือ การบริหารงานพัสดุที่ดี มีประสิทธิภาพ และเพื่อใหบรรลุผลผูบริหารงานพัสดุจะตองกําหนดกลยุทธการบริหารพัสดุ

กลยุทธการบริหารงานพัสดุ มีวิธีการดําเนินงานดังนี้ คือ

1. พยายามซ้ือพัสดุใหไดราคาที่ถูกตอง เพราะการซื้อพัสดุที่มีราคาแพงจะทําใหตนทุนการผลิตสูง มีผลทําใหสินคาขายไดยากข้ึน และกําไรลดลง

2. อัตราหมุนเวียนของพัสดุคงเหลือสูง หมายถึง มีการใชพัสดุออกไปเร็ว พัสดุคงเหลือมีสภาพคลอง ทําใหไดผลตอบแทนจากการลงทุนเร็ว ในขณะที่คาใชจายในการเก็บรักษาพัสดุจะต่ําลงดวย จึงมีผลตอกําไรของธุรกิจโดยตรง

3. พยายามใหคาใชจายของการเก็บรักษาต่ํา ถาการเก็บรักษาพัสดุมีประสิทธิภาพ จะทําใหความเสียหายของพัสดุลดลง และคาใชจายในการเก็บรักษาต่ํา แตถาการรับพัสดุและการเก็บรักษาไมถูกวิธีจะทําใหมีพัสดุเสียหายได

4. ใหการสนับสนุนทางดานพัสดุอยางตอเนื่อง ถาพัสดุขาดแคลนจะทําใหเกิดผลกระทบตอการดําเนินงานของธุรกิจ เชน การผลิตอาจตองหยุดชะงัก ผลิตสินคาไดทันตามกําหนด และทําใหเสียโอกาสทางธุรกิจ

5. พัสดุที่ใชมีคุณภาพดีสมํ่าเสมอ การใชพัสดุอุปกรณที่มีคุณภาพคงที่ คุณภาพ7ดีสม่ําเสมอจะเพิ่มพูน ประสิทธิภาพในการผลิต ปองกันการหยุดชะงักและสูญเสียไดอยางมาก

Page 7: E-BOOK คู่มือเตรียมสอบ นักวิชาการพัสดุ 3 แนวข้อสอบกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น

~ 7 ~

6. พยายามเลือกสรรผูขายท่ีดี หากกิจการเลือกผูขายไดถูกตองเหมาะสมก็จะมีผลทําใหกิจการไดมาซึ่งพัสดุที่มีคุณภาพดี มีปริมาณเพียงพอ ราคายุติธรรม และจัดสงไดทันเวลา 7. การพัฒนาบุคลากรและการจางแรงงานท่ีเหมาะสม การทํางานใหบรรลุเปาหมายไดนั้น จะตองอาศัยบุคลากรท่ีมีความรูความสามารถและความชํานาญ เพื่อใหการปฏิบัติงานไปสูจุดมุงหมาย ผูบริหารจําเปนตองใหความสําคัญตอการพัฒนาบุคลากร รวมทั้งตองคํานึงถึงคาใชจายในดานแรงงานดวย 8. มีระบบการเก็บบันทึกที่ดี การมีขอมูลทางดานพัสดุจะเปนแนวทางในการวางแผนและคาดคะเนลวงหนา และชวยใหตัดสินใจไดแมนยําย่ิงข้ึน 9. การกําหนดมาตรฐานของพัสดุที่ใชในกิจการ จะชวยใหสามารถขจัดรายการพัสดุอุปกรณที่ซ้ําซอนกันได ทําใหลดเนื้อที่คลังพัสดุ ลดงานดานจัดซื้อ ลดงานดานบัญชีและการควบคุมพัสดุลงได หลักในการพิจารณากําหนดมาตรฐานพัสดุ มีดังนี้ คือ

1. ราคา ใหคํานึงถึงการคุมคาในการใช 2. คุณภาพ ใหสนองตอบความตองการไดอยางมีประสิทธิภาพ 3. ความยากงายในการจัดซื้อ มีจําหนายกันแพรหลายในตลาด หาซื้อไดงาย 4. ชนิดและขนาด สามารถครอบคลุมการใชไดอยางกวางขวาง

10. กําหนดใหมีการพยากรณลวงหนา จะชวยใหการกําหนดสินคาคงเหลือ ราคาจัดซื้อ ระยะเวลาในการจัดหา ซึ่งจะทําใหการบริหารพัสดุคงเหลือมีประสิทธิภาพดีข้ึน

การบริหารงานพัสดุกับฐานะการเงินของธุรกิจ

การบริหารงานพัสดุมีความสําคัญตอกิจการอุตสาหกรรมโดยตรง เพราะธุรกิจแตละแหงตางก็มีขีดจํากัดในการลงทุนสรางโรงงาน ซื้อเครื่องมือ เครื่องจักร สรางสินคาคงคลัง ลูกหนี้ และคาใชจายในการดําเนินงาน ดังนั้น การลงทุนจึงตองพยายามใหเงินทุนนั้นไดประโยชนสูงสุด ซึ่งทําได 2 ทาง คือ

1. การเพิ่มกําไรสวนเกินสําหรับแตละหนวยผลิต 2. การเพิ่มผลผลิตใหมากข้ึนโดยใชปจจัยการผลิตเทาเดิม

ความสําเร็จของการบริหารพัสดุจะทําใหบรรลุถึงเปาหมายทั้ง 2 ขอ เพราะถาสามารถลดตนทุนหรือคาใชจายในการซื้อพัสดุไดจะทําใหผลกําไรเพิ่มข้ึน และการเพิ่ม

Page 8: E-BOOK คู่มือเตรียมสอบ นักวิชาการพัสดุ 3 แนวข้อสอบกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น

~ 8 ~

การจัดมาตรฐานพัสดุ

การกําหนดมาตรฐานพัสดุ (Standardization) หมายถึง กระบวนการของการจัดตั้งขอตกลงเกี่ยวกับคุณภาพ รูปแบบ สวนประกอบ และอื่น ๆ เพื่อใชเปนเกณฑในการกําหนดมาตรฐานใหเปนแบบอยางเดียวกัน การจัดมาตรฐานพัสดุ มีความหมายอยางกวาง ๆ วา หมายถึง การกระทําข้ันสุดทายในการคัดแยก เพื่อลดจํานวนพัสดุ ครุภัณฑ ที่มีอยูมากมายหลายชนิด ใหคงเหลือเทาที่เหมาะสมท่ีสุดเทานั้น และยังครอบคลุมไปถึงกรรมวิธีหรือวิธีปฏิบัติในการผลิต จัดหา เก็บรักษา แจกจาย และซอมบํารุงพัสดุครุภัณฑเหลานั้นดวย

ความมุงหมายหรือวัตถุประสงคของการจัดมาตรฐานพัสดุ มีดังนี้

1. เพื่อลดจํานวนรายการพัสดุ ครุภัณฑ ที่มีลักษณะและการใชงานที่เหมือน ๆ กัน ใหมีขนาด ชนิด แบบ เหลือนอยที่สุด รวมทั้งกรรมวิธีปฏิบัติในการออกแบบ การพัฒนา การผลิต และการสงกําลังบํารุง 2. เพื่อเปนการประหยัดในดานการเงิน กําลังเจาหนาที่ เวลา เครื่องอํานวยความสะดวก และทรัพยากรธรรมชาติ 3. เพื่อใหมีวัสดุครุภัณฑที่เชื่อถือไดแนนอน มีชิ้นสวน อะไหล หรือสวนประกอบที่สามารถสับเปล่ียนใชแทนกันไดมากท่ีสุด เพื่อการบํารุงรักษาพัสดุครุภัณฑใหคงสภาพไดนานที่สุด

ประเภทของมาตรฐาน แบงได 5 ประเภทใหญ ๆ คือ

1. มาตรฐานสําหรับวัดคา เปนพื้นฐานการวัดคาทางวิทยาศาสตรสําหรับวัดความยาว มวลสาร ความหนาแนน และปริมาตร เชน ระบบมาตรฐานอังกฤษ ระบบเมตริก และระบบ เอส. ไอ. (S.I. Unit)

2. มาตรฐานคาคงที่ เปนคาคงท่ีที่แสดงถึงความสัมพันธระหวางหนวยวัดตาง ๆ ที่ใชในอุตสาหกรรม

3. มาตรฐานคุณภาพ หมายถึง ขอกําหนดคุณลักษณะเฉพาะของพัสดุที่บอกถึงคุณสมบัติตาง ๆ โดยมีระดับตัวเลขของคุณลักษณะที่ตองการ ซึ่งอาจรวมถึงการวัดคาและทดสอบดวย

4. มาตรฐานสมรรถภาพ หมายถึง คุณลักษณะเฉพาะท่ีกําหนดสมรรถนะการปฏิบัติงานของเครื่องจักรและอุปกรณตาง ๆ ในการใชงาน เชน กําลังสงของมอเตอร ความทนทานของเหล็ก ความเร็วรอบแรงดึงของเหล็กเสน ฯลฯ

Page 9: E-BOOK คู่มือเตรียมสอบ นักวิชาการพัสดุ 3 แนวข้อสอบกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น

~ 9 ~

การจัดทําสมุดรายการพัสดุ

การจัดทําสมุดรายการพัสดุมีจุดมุงหมายท่ีสําคัญ คือ 1. เพื่อชวยในการกําหนดความตองการเปนไปโดยรวดเร็ว ถูกตอง และแนนอน 2. เพื่อชวยในการกําหนดมาตรฐานของพัสดุ ครุภัณฑ 3. เพื่อลดจํานวนการสํารวจตรวจสอบพัสดุ 4. เพื่อสะดวกในการคนหาเพื่อเลือกหรือกําหนดพัสดุที่สามารถสับเปล่ียนใชแทนกัน

ได 5. เพื่อเปดโอกาสใหมีการแขงขันการผลิตสินคา และขยายแหลงที่มาของพัสดุให

กวางขวางย่ิงข้ึน 6. เพื่อใหการใชพัสดุครุภัณฑเปนไปอยางถูกตอง 7. เพื่อเปนเครื่องมือในการทําสถิติขอมูลเกี่ยวกับการจัดทํางบประมาณ

การจัดทําสมุดรายการพัสดุจะประกอบดวยสิ่งตาง ๆ ดังนี้

1. การบัญญัติชื่อ (Naming) คือ การตั้งชื่อพัสดุจะตองเปนมาตรฐานอยางเดียวกัน 2. การบรรยายลักษณะ (Describing) คือ การบรรยายลักษณะพัสดุใหละเอียด

ชัดเจน 3. การจําแนกประเภท (Classifying) โดยจําแนกออกตามประเภทการใชงาน 4. การกําหนดหมายเลข (Identifying) โดยใชหมายเลขลําดับกอนหลังแตละรายการ

ระบบ Bar Code มี 2 ระบบ คือ

1. Universal Product Code (UPC) เปนระบบที่ใชในสหรัฐอเมริกา 2. European Article Numbering (EAN) เปนระบบที่ใชในยุโรป และเอเชีย-แปซิฟก

รวม 58 ประเทศ ซึ่งรวมทั้งประเทศไทยเราดวยที่ใชระบบนี้ ตัวเลขในระบบ Bar Code มี 2 แบบ คือ แบบตัวเลข 13 หลัก และแบบตัวเลข 8 หลัก ซึ่งทั้ง 2 แบบนั้น ตัวเลข 3 ตัวแรกจะเปนหมายเลขที่แสดงรหัสประเทศ ประโยชนของ Bar Code คือ ปองกันความผิดพลาดและเพิ่มความรวดเร็วในการคิดราคา, สามารถควบคุมสินคาคงคลังไดอยางมีประสิทธิภาพ, ลดข้ันตอน ประหยัดเวลา และเพิ่มประสิทธิภาพในการวางแผนการบริหารงาน, ทําใหตลาดของสินคาเปดกวางข้ึน เปนผลดีตอการแขงขัน ฯลฯ

การจัดหา ความหมายของการจัดหาพัสดุ

Page 10: E-BOOK คู่มือเตรียมสอบ นักวิชาการพัสดุ 3 แนวข้อสอบกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น

~ 10 ~

“การจัดหา” หมายถึง การดําเนินการเพื่อใหไดมาซึ่งพัสดุที่มีคุณภาพที่ตองการ ในปริมาณที่ถูกตอง ทันเวลา และในราคาที่เหมาะสม หรือ “การจัดหา” หมายถึง กรรมวิธีในการดําเนินงานเพื่อใหไดมาซึ่งวัสดุอุปกรณ และการบริการตาง ๆ ภายในขอบเขตของกฎหมายหรือบริการ การจัดหามีวิธีการตาง ๆ ดังนี้คือ

1. การซ้ือ ไดแก การซื้อพัสดุทุกชนิดท้ังที่มีการติดตั้ง ทดลอง และบริการท่ีเกี่ยวเนื่องอื่น ๆ เพื่อใชในหนวยงาน

2. การเชา ไดแก การเชาทรัพยสินตาง ๆ ทั้งสังหาริมทรัพยและอสังหาริมทรัพย เชน ที่ดิน อาคาร สถานที่ เครื่องจักรอุปกรณ เพื่อใชประกอบกิจการ

3. การโอน ไดแก การโอนพัสดุเหลือใชเพื่อนําไปใชในงานอื่น ๆ 4. การจาง ไดแก การจางทําของ จางแรงงาน และจางเหมาตาง ๆ ตลอดจนการ

รับขนตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย 5. การยืม เปนการยืมพัสดุคงรูปและใชส้ินเปลืองระหวางหนวยงาน 6. การผลิตเอง เปนการจัดทําข้ึนมาเอง เพื่อประหยัดและปองกันการขาดแคลน

พัสดุ หรือเพื่อปองกันความลับรั่วไหล 7. การแลกเปล่ียน ตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ. 2535

นั้น การแลกเปล่ียนพัสดุใหกระทําไดเฉพาะการแลกเปลี่ยนครุภัณฑกับครุภัณฑ และการแลกเปล่ียนวัสดุกับวัสดุ

8. การบริจาค เปนการใหทรัพยสินแกมูลนิธิหรือหนวยราชการ 9. การยึด ซึ่งปกติมักทําในยามสงครามหรือกรณีฉุกเฉิน ซึ่งกระทําโดย

หนวยงานของรัฐ วัตถุประสงคของการจัดหาพัสดุ

วัตถุประสงคของการจัดหาพัสดุที่สําคัญ มีดังนี้คือ 1. เพื่อใหการผลิตเปนไปอยางสม่ําเสมอและตอเนื่อง 2. เพื่อใหเกิดการประหยัดดานคาใชจายในการจัดหา การเก็บรักษา และตนทุนดาน

พัสดุ 3. เพื่อใหไดพัสดุที่มีคุณสมบัติและมาตรฐานตามตองการ 4. เพื่อสรางความสัมพันธอันดีระหวางผูขายกับผูซื้อ

Page 11: E-BOOK คู่มือเตรียมสอบ นักวิชาการพัสดุ 3 แนวข้อสอบกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น

~ 11 ~

ระเบียบกระทรวงมหาดไทย

วาดวยการพัสดุของหนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่น พ.ศ. 2535

แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2539 (ฉบับที่ 3 - 5) พ.ศ. 2541 (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2543

(ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2545 (ฉบับที่ 8) พ.ศ. 2547 (ฉบับที่ 9) พ.ศ. 2553

โดยที่เปนการสมควรปรบัปรุงระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยการพัสดุของหนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่นเสียใหมใหเหมาะสมกับสภาพการณในปจจุบัน

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 43 และมาตรา 49 แหงพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการสวนจังหวดั พ.ศ. 2498 ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการสวนจังหวัด(ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2499 มาตรา 69 และมาตรา 77 แหงพระราชบัญญตัิเทศบาล พ.ศ. 2496 มาตรา 5 และมาตรา 88 แหงพระราชบัญญตัิสภาตําบลและองคการบริหารสวนตําบล พ.ศ. 2537 รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทยจึงออกระเบียบไว ดังตอไปนี ้

ขอ 1 ระเบียบนี้เรียกวา “ระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยการพัสดุของหนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่น พ.ศ. 2535”

ขอ 2 ระเบียบนี้ใชบังคบัตั้งแตวันที ่1 ตุลาคม พ.ศ. 2535

ขอ 3 ใหยกเลิก

(1) ระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยการพัสดุของหนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่น พ.ศ. 2528

(2) ระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยการพัสดุของหนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่น (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2532

(3) ระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยการซื้อ การจาง และการจางที่ปรึกษาภายใต โครงการที่ดําเนินการดวยเงินกูจากตางประเทศของเทศบาลและเมืองพัทยา พ.ศ. 2528 บรรดาระเบียบ ขอบังคับ คําสัง หรือหนังสือสัง การอื่นใด ที่ขัดหรือแยงกับระเบียบนี้หรือที่มี กําหนดไวแลวในระเบียบนี้ ใหใชระเบียบนี้แทน

ขอ 4 ใหปลัดกระทรวงมหาดไทยรักษาการตามระเบียบนี้ และใหมีอํานาจตีความวินิจฉัยปญหา กําหนดหลักเกณฑและวิธีปฏิบัติเพื่อดําเนินการใหเปนไปตามระเบียบนี้

ในกรณีที่องคกรปกครองสวนทองถิน่ไมสามารถปฏิบัติตามหลักเกณฑและวิธีปฏิบตัิที่กําหนดในวรรคหนึ่ง ใหขอทําความตกลงกับปลัดกระทรวงมหาดไทยกอนการปฏิบตัิ

ปลัดกระทรวงมหาดไทยอาจมอบอาํนาจตามวรรคสอง ใหอธิบดีกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่นหรือผูวาราชการจังหวัด ก็ได

Page 12: E-BOOK คู่มือเตรียมสอบ นักวิชาการพัสดุ 3 แนวข้อสอบกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น

~ 12 ~

หมวด 1

ขอความทั่วไป

สวนที ่1

นิยาม

ขอ 5 ในระเบียบนี้

“การพัสดุ” หมายความวา การจัดทําเอง การซื้อ การจาง การจางที่ปรึกษาการจาง ออกแบบและควบคุมงาน การแลกเปล่ียน การเชา การควบคุม การจําหนาย และการดําเนินการอื่นๆ ที่กําหนดไวในระเบียบนี้

“พัสดุ” หมายความวา วัสดุ ครุภัณฑ ที่ดินและสิ่งกอสราง ที่กําหนดไวในหนังสือการ จําแนกประเภทรายจายตามงบประมาณ หรือการจําแนกประเภทรายจายตามสัญญาเงินกูจากตางประเทศ

“การซื้อ” หมายความวา การซื้อพัสดุทุกชนิดท้ังที่มีการติดตั้ง ทดลอง และบริการ ที่เกี่ยวเนื่องอื่นๆ แตไมรวมถึงการจัดหาพัสดุในลักษณะการจาง

“การจาง” ใหหมายความรวมถึง การจางทําของและการรับขนตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยและการจางเหมาบริการ แตไมรวมถึงการจางลูกจางของหนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่น

การรับขนในการเดินทางไปราชการตามระเบียบวาดวยคาใชจายในการเดินทางไปราชการของเจาหนาที่ทองถิ่น การจางที่ปรึกษา การจางออกแบบและควบคุมงาน และการจางแรงงานตามประมวลกฎหมายแพงและพาณชิย

“การจางที่ปรึกษา” หมายความวา การจางบริการจากที่ปรึกษา แตไมรวมถึงการจางออกแบบและควบคมุงานกอสรางอาคารดวยเงินงบประมาณ

"การจางออกแบบและควบคุมงาน" หมายความวา การจางบริการจากนิติบุคคลหรือบุคคลธรรมดา ที่ประกอบธรุกิจบริการดานงานออกแบบและควบคมุงานกอสรางอาคารดวยเงินงบประมาณ

“เงินงบประมาณ” หมายความวา งบประมาณรายจายประจําป งบประมาณรายจายเพิ่มเติม แตไมรวมถึงเงนิกู และเงินชวยเหลือตามระเบียบนี ้

“เงินนอกงบประมาณ” หมายความวา เงินที่หนวยการบรหิารราชการสวนทองถิ่นจัดหารายไดเปนครั้งคราวหรือมีผูอุทศิใหเปนการเฉพาะเจาะจง

“เงินกู” หมายความวา เงินกูจากตางประเทศ

“เงินชวยเหลือ” หมายความวา เงินที่ไดรับความชวยเหลือจากรัฐบาลตางประเทศ

Page 13: E-BOOK คู่มือเตรียมสอบ นักวิชาการพัสดุ 3 แนวข้อสอบกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น

~ 13 ~

แนวขอสอบระเบียบกระทรวงมหาดไทย

วาดวยการพัสดุของหนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่น พ.ศ. 2535

และที่แกไขเพิ่มเติม ถึง (ฉบับที่ 9) พ.ศ. 2553 5. ขอใด หมายถึง “พัสดุ” ก. วัสดุ ข. ครุภัณฑ ค. ที่ดินและสิ่งกอสราง ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ

“พัสดุ” หมายความวา วัสดุ ครุภัณฑ ที่ดินและสิ่งกอสราง ที่กําหนดไวในหนังสือการ จําแนกประเภทรายจายตามงบประมาณ หรือการจําแนกประเภทรายจายตามสัญญาเงินกูจากตางประเทศ 6. เงินที่หนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่นจัดหารายไดเปนครั้งคราวหรือมีผูอุทิศใหเปนการเฉพาะเจาะจง หมายความถึงขอใด ก. เงินเฉพาะกิจ ข. เงินนอกงบประมาณ

ค. เงินกู ง. เงินยืม ตอบ ข. เงินนอกงบประมาณ

“เงินนอกงบประมาณ” หมายความวา เงินที่หนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่นจัดหารายไดเปนครั้งคราวหรือมีผูอุทิศใหเปนการเฉพาะเจาะจง 7. เงินกูจากตางประเทศ หมายถึงเงินขอใด ก. เงินยืม ข. เงินกู ค. เงินชวยเหลือ ง. เงินกูเฉพาะกิจ

ตอบ ข. เงินกู

“เงินกู” หมายความวา เงินกูจากตางประเทศ 8. “เงินชวยเหลือ” หมายความถึงเงินชวยเหลือจากขอใด ก. มูลธินิปวีณา ข. สถาบันการเงินระหวางประเทศ ค. เงินชวยเหลือจากรัฐบาล ง. ถูกทุกขอ

ตอบ ข. สถาบันการเงินระหวางประเทศ

Page 14: E-BOOK คู่มือเตรียมสอบ นักวิชาการพัสดุ 3 แนวข้อสอบกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น

~ 14 ~

“เงินชวยเหลือ” หมายความวา เงินที่ไดรับความชวยเหลือจากรัฐบาลตางประเทศ องคการระหวางประเทศ สถาบันการเงินระหวางประเทศ องคการตางประเทศทั้ง ในระดับรัฐบาลและท่ีมิใชระดับรัฐบาล มูลนิธิหรือเอกชนตางประเทศ 9. ขอใด หมายถึง “หนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่น” ก. องคการบริหารสวนจังหวดเทศบาล ข.องคการบริหารสวนตําบล

ค. กิจการพาณิชยของหนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่น ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ “หนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่น” หมายความวา องคการบริหารสวน

จังหวดเทศบาล และองคการบริหารสวนตําบล ทั้งนี้ ใหหมายความรวมถึงกิจการพาณิชยของหนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่นดวย

10. “หัวหนาฝายบริหารของหนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่น” หมายถึงใคร ก. นายกองคการบริหารสวนจังหวัด ข. นายกเทศมนตรี ค. นายกองคการบริหารสวนตําบล ง. ถูกทุกขอ

ตอบ ง. ถูกทุกขอ “หัวหนาฝายบริหารของหนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่น” หมายถึง นายก

องคการบริหารสวนจังหวัด นายกเทศมนตรี และนายกองคการบริหารสวนตําบล 11. “รัฐวิสาหกิจ” หมายความถึง

ก. รัฐวิสาหกิจตามกฎหมายวาดวยวิธีการงบประมาณ ข. รัฐวิสาหกิจตามกฎหมายวาดวยวิธีการคลัง ค. รัฐวิสาหกิจตามกฎหมายวาดวยวิธีการพัสดุ ง. ถูกทุกขอ ตอบ ก. รัฐวิสาหกิจตามกฎหมายวาดวยวิธีการงบประมาณ “รัฐวิสาหกิจ” หมายความวา รัฐวิสาหกิจตามกฎหมายวาดวยวิธีการงบประมาณ

12. คําวา “ผูถือหุนรายใหญ” ใหหมายความวาผูถือหุนซึ่งถือหุนเกินกวารอยละเทาใดในกิจการนั้น ก. รอยละย่ีสิบ ข. รอยละย่ีสิบหา

Page 15: E-BOOK คู่มือเตรียมสอบ นักวิชาการพัสดุ 3 แนวข้อสอบกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น

~ 15 ~

ค. รอยละสี่สิบหา ง. รอยละหาสิบเอ็ด ตอบ ข. รอยละยี่สิบหา

คําวา “ผูถือหุนรายใหญ” ใหหมายความวาผูถือหุนซึ่งถือหุนเกินกวารอยละย่ีสิบหา ในกิจการนั้นหรือในอัตราอื่น ตามที่ปลัดกระทรวงมหาดไทยเห็นสมควรประกาศกําหนดสําหรับกิจการบางประเภทหรือบางขนาด 13.ผูเสนอราคาหรือผูเสนองานที่ถูกตัดรายชื่อออกจากการเปนผูเสนอราคาหรือผูเสนองานเพราะเหตุเปนผูเสนอราคาที่มีผลประโยชนรวมกัน อาจอุทธรณคําส่ังดังกลาวตอผูใด

ก. ปลัดอําเภอ ข. ผูวาราชการจังหวัด ค. นายกองคการบริหารสวนตําบล ง. นายกองคการบริหารสวนจังหวัด ตอบ ข. ผูวาราชการจังหวัด

14.ผูเสนอราคาหรือผูเสนองานที่ถูกตัดรายชื่อออกจากการเปนผูเสนอราคาหรือผูเสนองานเพราะเหตุเปนผูเสนอราคาที่มีผลประโยชนรวมกัน อาจอุทธรณคําส่ังโดยตองอุทธรณภายในระยะเวลาใด ก. 3 วัน ข. 5 วัน ค. 7 วัน ง. 15 วัน ตอบ ก. 3 วัน

ผูเสนอราคาหรือผูเสนองานที่ถูกตัดรายชื่อออกจากการเปนผูเสนอราคาหรือผูเสนองานเพราะเหตุเปนผูเสนอราคาที่มีผลประโยชนรวมกัน อาจอุทธรณคําส่ังดังกลาวตอผูวาราชการจังหวัด โดยอุทธรณภายใน 3 วัน นับแตวันที่ไดรับแจงพรอมทั้ง แสดงเหตุผลของการอุทธรณและเอกสารที่เกี่ยวของมาดวย 15. การซื้อหรือการจางกระทําไดกี่วิธี ก. 3 วิธี ข. 4 วิธี ค. 5 วิธี ง. 6 วิธี

ตอบ ค. 5 วิธี

วิธีซ้ือและวิธีจาง

การซื้อหรือการจางกระทําได 5 วิธี คือ (1) วิธีตกลงราคา

Page 16: E-BOOK คู่มือเตรียมสอบ นักวิชาการพัสดุ 3 แนวข้อสอบกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น

~ 16 ~

44. อาคารที่มีงบประมาณคากอสรางไมเกิน 10,000,000 บาท ใหจายคาออกแบบ หรือคาคุมงาน อยางใดอยางหนึ่งในอัตรารอยละเทาใดของวงเงินงบประมาณคากอสราง

ก. รอยละ 2 ข. รอยละ 3

ค. รอยละ 10 ง. รอยละ 50

ตอบ ก. รอยละ 2

การจายเงินคาออกแบบและควบคุมงาน อาคารท่ีมีงบประมาณคากอสรางไมเกิน 10,000,000 บาท ใหจายคาออกแบบ หรือคาคุมงาน อยางใดอยางหนึ่งในอัตรารอยละ 2 ของวงเงินงบประมาณคากอสราง

45. อาคารที่มีงบประมาณคากอสรางเกิน 10,000,000 บาท สําหรับ ในสวนที่เกิน 10,000,000 บาท ใหจายคาออกแบบหรือคาคุมงาน อยางใดอยางหนึ่งในอัตรารอยละเทาใด ของวงเงินงบประมาณคากอสราง

ก. รอยละ 1 ข. รอยละ 1.25

ค. รอยละ 1.5 ค. รอยละ 1.75

ตอบ ค. รอยละ 1.75

อาคารท่ีมีงบประมาณคากอสรางเกิน 10,000,000 บาท สําหรับ ในสวนที่เกิน 10,000,000 บาท ใหจายคาออกแบบหรือคาคุมงาน อยางใดอยางหนึ่งในอัตรารอยละ 1.75 ของวงเงินงบประมาณคากอสรางการจายเงินคาออกแบบและควบคุมงาน ไมรวมถึงคาสํารวจและวิเคราะหดินฐานราก

46.ครุภัณฑที่ไดรับจากการแลกเปล่ียนเมื่อลงทะเบียนครุภัณฑของหนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่นนั้นแลว ใหแจงหนวยงานใดใหรับทราบ

ก. สํานักงานตรวจเงินแผนดิน ข. สํานักงบประมาณ

ค. กรมบัญชีกลาง ง. กองคลัง

ตอบ ก. สํานักงานตรวจเงินแผนดิน

ครุภัณฑที่ไดรับจากการแลกเปล่ียนเมื่อลงทะเบียนครุภัณฑของหนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่นนั้นแลว ใหแจงสํานักงานตรวจเงินแผนดิน หรือสํานักงานตรวจเงินแผนดินภูมิภาค แลวแตกรณี ทราบภายใน 30 วัน นับแตวันที่ไดรับครุภัณฑ

Page 17: E-BOOK คู่มือเตรียมสอบ นักวิชาการพัสดุ 3 แนวข้อสอบกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น

~ 17 ~

47.ในกรณีที่มีความจําเปนตองจายเงินคาเชาลวงหนาในการเชาอสังหาริมทรัพยและสังหาริมทรัพย ใหกระทําไดเฉพาะกรณีการเชาซึ่งมีระยะเวลาไมเกินเทาใด

ก. 1 ป ข. 2 ป ค. 3 ป ง. 4 ป ตอบ ค. 3 ป

ในกรณีที่มีความจําเปนตองจายเงินคาเชาลวงหนาในการเชาอสังหาริมทรัพยและสังหาริมทรัพย ใหกระทําไดเฉพาะกรณีการเชาซึ่งมีระยะเวลาไมเกิน 3 ป 48.การเชาสังหาริมทรัพย และการเชาอสังหาริมทรัพยจากสวนราชการ หนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่นอื่น หนวยงานอื่น ซึ่งมีกฎหมายบัญญัติใหมีฐานะเปนราชการบริหารสวนทองถิ่น หรือรัฐวิสาหกิจ จายไดไมเกินรอยละเทาใดของคาเชาทั้งสัญญา ก. รอยละ 25 ข. รอยละ 35 ค. รอยละ 45 ง. รอยละ 50 ตอบ ง. รอยละ 50

การเชาจากสวนราชการ หนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่นอื่น หนวยงานอื่น ซึ่งมีกฎหมายบัญญัติใหมีฐานะเปนราชการบริหารสวนทองถิ่น หรือรัฐวิสาหกิจ จายไดไมเกินรอยละหาสิบของคาเชาทั้งสัญญา 49.การเชาสังหาริมทรัพย และการเชาอสังหาริมทรัพยจากเอกชนจายไดไมเกินรอยละเทาใดของคาเชาทั้ง ก. รอยละ 25 ข. รอยละ 35 ค. รอยละ 45 ง. รอยละ 50 ตอบ ก. รอยละ 25

การเชาจากเอกชนจายไดไมเกินรอยละย่ีสิบของคาเชาทั้ง สัญญาการจายเงินคาเชาลวงหนานอกเหนือจากหลักเกณฑขางตน ใหขอทําความตกลงกับผูวาราชการจังหวัดกอน 50.กอนดําเนินการเชาสังหาริมทรัพย และการเชาอสังหาริมทรัพย ใหเจาหนาที่พัสดุทํารายงานเสนอหัวหนาฝายบริหารของหนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่น โดยตองมีรายการใด

ก. เหตุผลและความจําเปนที่จะตองเชา

Page 18: E-BOOK คู่มือเตรียมสอบ นักวิชาการพัสดุ 3 แนวข้อสอบกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น

~ 18 ~

แนวขอสอบระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยการรับเงิน การเบิกจายเงิน การฝากเงิน การเก็บรักษาเงินและการตรวจเงินขององคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2547 แกไขเพิ่มเตมิถึง(ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2543

4. สภาทองถิ่น หมายความถึงขอใด

ก. สภาองคการบริหารสวนจังหวัด ข. สภาเทศบาล ค. สภาองคการบริหารสวนตําบล ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ

“สภาทองถิ่น” หมายความวา สภาองคการบริหารสวนจังหวัด สภาเทศบาล

สภาองคการบริหารสวนตําบล และสภาทองถิ่นอื่นที่มีกฎหมายจัดตั้ง 5. “ผูบริหารทองถิ่น” หมายความถึงขอใด

ก. นายกองคการบริหารสวนจังหวัด ข. นายกเทศมนตรี ค. นายกองคการบริหารสวนตําบล ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ

ผูบริหารทองถิ่น” หมายความวา นายกองคการบริหารสวนจังหวัด นายกเทศมนตรี คณะเทศมนตรี นายกองคการบริหารสวนตําบล และผูบริหารทองถิ่นอื่นที่มีกฎหมายจัดตั้ง 6. กําปนหรือตูเหล็กหรือหีบเหล็กอันมั่นคง ซึ่งใชสําหรับเก็บรักษาเงินขององคกรปกครองสวนทองถิ่น หมายถึง ก. ตูนิรภัย ข. กลองบรรจุ ค. หีบหอ ง. ตูเซฟ ตอบ ก. ตูนิรภัย

“ตูนิรภัย” หมายความรวมถึง กําปนหรือตูเหล็กหรือหีบเหล็กอันมั่นคงซึ่งใชสําหรับเก็บรักษาเงินขององคกรปกครองสวนทองถิ่น 7. หลักฐานแสดงวาไดมีการจายเงินใหแกผูรับหรือเจาหนี้ตามขอผูกพันแลว เรียกวา ก. หลักฐานจายเงิน ข. หลักฐานการจาย ค. ใบสําคัญคูจาย ง. ใบสําคัญจาย

Page 19: E-BOOK คู่มือเตรียมสอบ นักวิชาการพัสดุ 3 แนวข้อสอบกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น

~ 19 ~

ตอบ ก. หลักฐานจายเงิน

“หลักฐานการจาย” หมายความวา หลักฐานแสดงวาไดมีการจายเงินใหแก

ผูรับหรือเจาหนี้ตามขอผูกพันแลว

8.หลักฐานการนําเงินเขาบัญชีเงินฝากของผูรับที่ธนาคาร เรียกวา

ก. หลักฐานจายเงิน ข. หลักฐานการจาย

ค. ใบสําคัญคูจาย ง. ใบสําคัญจาย

ตอบ ค. ใบสําคัญคูจาย

“ใบสําคัญคูจาย” หมายความวา หลักฐานการจายเงินที่เปนใบเสร็จรับเงินหลักฐานของธนาคารแสดงการจายเงินแกเจาหนี้ หรือหลักฐานการนําเงินเขาบัญชีเงินฝากของผูรับที่ธนาคาร และใหรวมถึงใบนําสงเงินตอหนวยงานคลังดวย

9.เงินทั้งปวงที่องคกรปกครองสวนทองถิ่นจัดเก็บ เรียกวา

ก. เงินรายรับ ข. เงินจัดเก็บ

ค. เงินนอกงบประมาณ ง. เงินทุน

ตอบ ก. เงินรายรับ

“เงินรายรับ” หมายความวา เงินทั้งปวงที่องคกรปกครองสวนทองถิ่นจัดเก็บหรือไดรับไวเปนกรรมสิทธิ์ตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ หรือจากนิติกรรม

10. เงินทั้งปวงที่อยูในความรับผิดชอบขององคกรปกครองสวนทองถิ่น เวนแตเงินที่ปรากฏตามงบประมาณรายจาย และเงินที่รัฐบาลอุดหนุนใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นโดยระบุวัตถุประสงค เรียกวา

ก. เงินรายรับ ข. เงินจัดเก็บ

ค. เงินนอกงบประมาณ ง. เงินทุน

ตอบ ค. เงินนอกงบประมาณ

“เงินนอกงบประมาณ” หมายความวา เงินทั้งปวงที่อยูในความรับผิดชอบขององคกรปกครองสวนทองถิ่น เวนแตเงินที่ปรากฏตามงบประมาณรายจาย และเงินที่รัฐบาล

อุดหนุนใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นโดยระบุวัตถุประสงค

Page 20: E-BOOK คู่มือเตรียมสอบ นักวิชาการพัสดุ 3 แนวข้อสอบกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น

~ 20 ~

11. เงินงบประมาณหรือเงินนอกงบประมาณที่องคกรปกครองสวนทองถิ่นจายใหแกบุคคลใดยืมเพื่อเปนคาใชจายในการเดินทางไปราชการหรือปฏิบัติราชการอื่นใด เรียกวา ก. เงินงบประมาณ ข. เงินนอกงบประมาณ ค. เงินยืม ง. เงินยืมจาย ตอบ ค. เงินยืม

“เงินยืม” หมายความวา เงินงบประมาณหรือเงินนอกงบประมาณที่องคกร

ปกครองสวนทองถิ่นจายใหแกบุคคลใดยืมเพื่อเปนคาใชจายในการเดินทางไปราชการหรือปฏิบัติราชการอื่นใด 12. แผนยุทธศาสตรการพัฒนาและแผนพัฒนาสามปขององคกรปกครองสวนทองถิ่น หรือตามท่ีกฎหมายกําหนด เรียกวา ก. แผนยุทธศาสตรการพัฒนา ข. แผนพัฒนาสามป ค. แผนพัฒนา ง. แนวนโยบายของรัฐ ตอบ ค. แผนพัฒนา

“แผนพัฒนา” หมายความรวมถึง แผนยุทธศาสตรการพัฒนาและแผนพัฒนาสามปขององคกรปกครองสวนทองถิ่น หรือตามที่กฎหมายกําหนด 13. แผนแสดงรายละเอียดการใชจายเงินของหนวยงานผูเบิกในชวงระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง ซึ่งหนวยงานผูเบิกไดย่ืนตอหนวยงานคลัง ทุกระยะเวลาใด

ก. สามเดือน ข. หกเดือน ค. หนึ่งป ง. ปครึ่ง ตอบ ก. สามเดือน

“แผนการใชจายเงิน” หมายความวา แผนแสดงรายละเอียดการใชจายเงิน

ของหนวยงานผูเบิกในชวงระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง ซึ่งหนวยงานผูเบิกไดย่ืนตอหนวยงานคลัง ทุระยะสามเดือน 14. ยอดเงินสะสมประจําทุกส้ินปงบประมาณ เพื่อรักษาเสถียรภาพการเงินการคลังขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ควรอยูที่เทาใด ก. รอยละหา ข. รอยละสิบ ค. รอยละสิบหา ง. รอยละย่ีสิบหา

Page 21: E-BOOK คู่มือเตรียมสอบ นักวิชาการพัสดุ 3 แนวข้อสอบกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น

~ 21 ~

ส่ังซื้อไดท่ี

www.SheetRam.com

โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,

085-9679080,085-9993722,085-9993740