28
Business Research Method 100-009 วิธีการวิจัยทางธุรกิจ [.นิธินพ ทองวาสนาสง] ตัวแปรและสมมุติฐานในการวิจัย

3 ตัวแปร,สมมุติฐาน,กรอบแนวคิด

Embed Size (px)

Citation preview

Business Research Method

100-009

วิธีการวิจัยทางธุรกิจ

[อ.นิธินพ ทองวาสนาสง]

ตัวแปรและสมมุติฐานในการวิจัย

หัวขอสําคัญในบท

2

• ความหมายของตัวแปร (Variables)

• ชนิดของตัวแปร แบงตามบทบาท

• รูปแบบหรือทิศทางของความสัมพนัธ

• ความหมาย ของ สมมุติฐาน (Hypothesis)

• แหลงที่มาของสมมุติฐาน

• ประโยชนของสมมุติฐาน

• ประเภทของสมมุติฐาน

• สัญลักษณในการต้ังสมมุติฐาน

• ลักษณะของสมมุติฐานที่ดี

• ขอแนะนําในการต้ังสมมุติฐาน

• คุณสมบัติหรือคุณลักษณะของสิ่งตาง ๆ ทั้งที่ เปน

สิ่งมีชีวิตและไมมีชีวิต เชน เพศ อายุ อาชีพ รายได

ฯลฯ

ความหมายของตัวแปร(Variables)

3

A. ตัวแปรตน (Independent Variable)

B. ตัวแปรตาม (Dependent Variable)

C. ตัวแปรแทรกซอน (Extraneous Variable)

ชนิดของตัวแปร แบงตามบทบาท

4

• เปนตัวแปรที่เกิดข้ึนกอน เปนเหตุที่กอใหเกิดผลหรือเกิด

การผันแปรของปรากฎการณ

• ผูวิจัยมักเปนผูกําหนดเพื่อศึกษาผลที่เกิดข้ึน

• แทนดวยสัญลักษณ X

ชนิดของตัวแปร แบงตามบทบาท

5

A. ตัวแปรตน (Independent Variable)

• ตัวแปรที่เปนผลจากการเปลี่ยนแปลงคาของตัวแปรตน

• นํามาวิเคราะหเพื่อตอบคําถามของการวิจัย

• แทนดวยสัญลักษณ Y

ชนิดของตัวแปร แบงตามบทบาท

6

B. ตัวแปรตาม(Dependent Variable)

• เปนตัวแปรที่ไมไดมุงศึกษาโดยตรง แตอาจมีผลกระทบ

ตอตัวแปรตามได

• ตัวแปรแทรกซอนอาจเกิดไดจากแหลงตาง ๆ เชน กลุม

ตัวอยาง สิ่งแวดลอม วิธีดําเนินการวิจัย

ชนิดของตัวแปร แบงตามบทบาท

7

C. ตัวแปรแทรกซอน(Extraneous Variable)

เรื่อง : การเปรยีบเทยีบผลการทํางานโดยใชพนักงานชายกับพนักงานหญิง

• ตัวแปรตน คือ เพศ

• ตัวแปรตาม คือ ผลการทํางาน

• ตัวแปรแทรกซอน คือ ระดับการศกึษา อายุ ประสบการณ

ชนิดของตัวแปร แบงตามบทบาท

8

ตัวอยาง ตัวแปรบทบาทตาง ๆ

แบบสมมาตร ไมสามารถบอกไดวาเปนตัวแปรใด แตมีความสัมพันธกัน

เชน คนไทยกินขาว

แบบตอบโต มีความสัมพันธกันแตไม มีตัวแปรใดเปนตัวแปรตน

ตลอดไป เชน ความนิยมพรรคฯกับการติดตามขาวสารพรรคฯ

แบบอสมมาตร มีความสัมพันธที่ตัวแปรตนมีผลตอตัวแปรตาม เชน

ระดับการศึกษามีผลตอการบริโภคสนิคา

ชนิดของตัวแปร แบงตามบทบาท

9

ความสัมพันธระหวางตัวแปร มี 3 ชนิด

• ทิศทางเดียวกัน (ทางบวก) เชน ประสบการณในการทํางานที่มากขึ้น

สงผลใหผลผลิตมากขึ้น (เขียนกราฟ)

• ทิศทางตรงขาม (ทางลบ) เชน ตนทุนการผลิตที่สูงขึ้นสงผลใหกําไรของ

กิจการลดลง

• เปนเสนโคง เชน 6 ชม.การทํางาน/วันเปนเวลาทํางานที่มีประสิทธิภาพ

มากที่สุด จะเปนเสนโคงควํ่า แสดงถึงจุดสูงสุด ผลผลิต 200 ช้ิน/วันเปน

ผลใหตนทุนตอหนวยตํ่าสุด จะเปนเสนโคงหงาย แสดงถึงจุดตํ่าสุด

รูปแบบหรือทิศทางของความสัมพันธ

10

• คําตอบที่คาดการณไวลวงหนาอยางสมเหตุสมผลตอปญหาที่จะศึกษา

• เขียนในลักษณะที่ขอความกลาวถึงความสัมพันธของตัวแปรต้ังแต 2 ตัว

แปรขึ้นไป

• ตัวอยางสมมุติฐาน เชน สตรีที่อยูในเมืองทํางานนอกบานมากกวาสตรีที่

อยูในชนบท

• เด็กที่ถูกเลี้ยงดูแบบเขมงวดมีวินัยมากกวาเด็กที่เลี้ยงดูแบบปลอยปละ

ละเลย

ความหมาย ของ สมมุติฐาน(Hypothesis)

11

• ความรูและประสบการณของผูวิจัย

• การใชหลักเหตุผลวิเคราะหแยกแยะวาอะไรสัมพันธกับอะไร

• การเปรียบเทียบกับสิ่งท่ีเปนธรรมชาติหรือความจริงท่ีพบใน

สาขาอ่ืน

• ความเชื่อและปรัชญา

• ผลการวิจัยของผูอ่ืน

• ทฤษฎีและหลักการ

แหลงท่ีมาของสมมุติฐาน

12

• สามารถเลือกตัวแปรท่ีจะศึกษาวามีตัวแปรอะไรบาง

• เลือกขอมูลท่ีจะศึกษาไดตรงประเด็น

• ชวยใหทราบวาจะใชการวิจัยแบบใด

• ชวยใหทราบวาจะใชกลุมตัวอยางแบบใด เก็บขอมูลอยางไร ใช

เครื่องมืออะไรในการทดสอบสมมุติฐาน

ประโยชนของสมมุติฐาน

13

1. สมมุติฐานการวิจัย

- มีทิศทาง หญิงมีความสนใจทางการเมืองนอยกวาชาย

- ไมมีทิศทาง หญิงกับชายมีความสนใจทางการเมืองตางกัน

2. สมมุติฐานทางสถิติ

- หลัก แทนดวยสัญลักษณ Ho อธิบายคุณลักษณะที่ไมแตกตางกัน

- ทางเลือก แทนดวยสัญลักษณ H1 อธิบายถึงความสัมพันธวามีความสัมพันธกันไปในทางใด

ประเภทของสมมุติฐาน มี 2 ประเภท

14

สมมุติฐานหลัก • เปนสมมุติฐานที่กลาวถึงลักษณะของประชากร หรือ

เ รี ยกว า สมมุ ติ ฐ าน ไร นั ยสํ า คัญ สมมุ ติ ฐ านว า ง

สมมุติฐานสูญ สมมุติฐานแรก แทนดวย H0

• คาเฉลี่ยของประชากรชายเทากับ 50

H0 : µ = 50

สัญลักษณ µ (มิว) แทนคาเฉลี่ยของประชากร

สัญลักษณในการตั้งสมมุติฐาน

15

ความแปรปรวนของคะแนนของประชากรหนึ่งเปน 40

H0 :σ2 = 40

สัญลักษณ σ2 (ซิกมากําลังสอง เปนสัญลักษณแทนความแปรปรวนของประชากร)

สัญลักษณในการตั้งสมมุติฐาน

16

สมมุติฐานท่ีกลาววาไมมีความสัมพันธหรือไมมีความแตกตาง

• คาสหสัมพัทธในประชากรจะเปนศูนย

H0 : ρ = 0

สัญลักษณ ρ แทนคาสหสัมพัทธที่คิดมาจากขอมูลของประชากร

สัญลักษณในการตั้งสมมุติฐาน

17

• คาเฉล่ียของประชากรกลุม ก และกลุม ข ไม

แตกตางกัน

H0 : µก ≠ µข

*สมมุติฐานหลักคือสมมุติฐานที่จะใชทดสอบทาง

สถิต ิ

สัญลักษณในการตั้งสมมุติฐาน

18

สมมุติฐานรอง • คือสมมุติฐานตรงขามกับสมมุติฐานหลัก เขียนแทนดวย

สัญลักษณ

HA หรือ H1 โดยท่ัวไปสมมุติฐานในการวิจัยจะเปนสมมุติฐานประเภทนี้

สัญลักษณในการตั้งสมมุติฐาน

19

• การทดสอบสมมุติฐานไมสามารถทดสอบสมมุติฐานรองไดแตจะอาศัย

การทดสอบสมมุติฐานหลักแทน เพราะถาหากสมมุติฐานหลักไมจริง

แสดงวาตองยอมรับสมมุติฐานรอง

• ปฏิเสธ H0 ยอมรับ HA

• ปฏิเสธ HA ยอมรับ H0

สมมุติฐานรอง มี 2 แบบ คือ

• แบบที่มีทิศทาง (Directional alternative H)

• แบบที่ไมมีทิศทาง (Non-directional alternative

Hypothesis)

สัญลักษณในการตั้งสมมุติฐาน

20

HA : µ > 50

HA : µ < 50

HA : µก > µข

HA : µก < µข

สัญลักษณในการตั้งสมมุติฐาน

21

แบบไมมีทิศทาง • คาเฉลี่ยของประชากรไมเทากับ 50

HA : µ ≠ 50

• คาเฉลี่ยของประชากรกลุม ก ไมเทากับกลุม ข

HA : µก ≠ µข

สัญลักษณในการตั้งสมมุติฐาน

22

1. ตองสอดคลองกับจุดมุงหมาย

2. แตละขอตองใชตอบคําถามเพียงประเด็นเดียว

3. สอดคลองกับสภาพท่ีเปนจริงและยอมรับกันท่ัวไป

4. สมเหตุสมผลตามทฤษฎ ี

5. เขียนดวยถอยคําท่ีอานเขาใจงาย

6. มีขอบเขตพอเหมาะไมแคบหรือกวางเกินไป

ลักษณะของสมมุติฐานท่ีดี

23

• ควรทําหลังจากท่ีไดศึกษาและทบทวนเอกสารท่ีเก่ียวของแลว

• ควรเขียนในรูปของประโยคบอกเลามากกวาประโยคคําถาม

• งานวิจัยท่ีทําควรมีเรื่องประเด็นท่ีจะศึกษามากพอท่ีจะตั้ง

สมมุติฐาน

• คําหรือกลุมคําท่ีใชในประโยคสมมุติฐานตองชัดเจน

ขอแนะนําในการตั้งสมมุติฐาน

24

ตัวอยางสมมุติฐานตอไปนี้ใหนักศึกษาระบุตัวแปรตนและตัวแปรตาม

1. นักเรียนชายสนใจขาวกีฬามากกวานักเรียนหญิง

2. คนจีนมีความสามารถทางการคามากกวาคนไทย

3. เด็กที่รับการอบรมเลีย้งดูตางกันมีการปรบัตัวแตกตางกัน

4. ระดับการศึกษากับประสทิธิภาพในการทํางานมีความสัมพนัธกัน

ทางบวก

คําถามและอภิปราย

25

ตัวอยางตอไปนี้ใหนักศึกษาระบุวาเปนสมมุติฐานการวิจัยประเภทใด

1. ความคิดสรางสรรคกับผลสมัฤทธิ์ทางการเรียนมีความสัมพนัธกัน

2. การสูบบุหรี่กับความสามารถในการดูดซับออกซิเจนของปอดมีความสัมพันธกันทางลบ

3. นักเรียนชายสนใจขาวกีฬามากกวานักเรียนหญิง

4. คนจีนมีความสามารถทางการคามากกวาคนไทย

5. เด็กที่รับการอบรมเลีย้งดูตางกันมีการปรบัตัวแตกตางกัน

6. ระดับการศึกษากับประสทิธิภาพในการทํางานมีความสัมพนัธกันทางบวก

คําถามและอภิปราย

26

• ใหนักศึกษาเขียนสมมุติฐานจากหัวขอการวิจัยท่ีไดตั้งไวจาก

สัปดาหกอน

คําถามและอภิปราย

27

Q&A อาจารย นิธินพ ทองวาสนาสง

E-mail: [email protected]

Tel: 085-352-1050